ปี
39 years of the Foundation for Children (FFC.)
WWW.FFC.OR.TH
1
2Poster เทศกาลหนังสารคดี DOC NYC ที่นิวยอร์ค ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๐
1
สารบัญ 1•1วิวิถถีมีมูลูลนินิธธิเด็ิเด็กก 2พั •2 พัฒฒนาการ นาการ๓๘๓๙ปีปีมูลมูนิลธนิิเธด็ิเกด็ ก 3สถาบั •3 สถาบันการศึ นการศึกษาทางเลื กษาทางเลือกอก •4 บ้านทานตะวัน •4บ้ านทานตะวั ่บ้านเด็ กสานรัก •5 โรงเรี ยนอนุบนาลหมู •5โรงเรี •6 กล่อยงเรีนอนุ ยนรูบ้แาลหมู สนสนุ่บก้านเด็กสานรัก •6ห้ •7 ห้อองงานไม้ งงานไม้ •7ห้ •8 ห้อองศิงศิลลปะประดิ ปะประดิษษฐ์ฐ์หหัตัตถกรรม ถกรรม •8ห้ •9 ห้อองมังมัดดย้ย้ออมและทอผ้ มและทอผ้าา •9ห้ ยนรู ้เกษตรทฤษฎี ใหม่ใหม่ “๑ •10 อห้งเรี องเรี ยนรู ้เกษตรทฤษฎี “๑ไร่ไร่๑ ๑แสน” แสน”เกษตรธรรมชาติ เกษตรธรรมชาติ •10ห้ •11 ห้อองวังวัดดแวว แวว : ห้อ ง ดร.อุษณี ย์ •11ห้ •12 ห้อองโยคะเด็ งโยคะเด็กกและผู และผู้ใ้ใหญ่ หญ่ •12ห้ •13 ห้อองเทควั งเทควันนโด โด •13โรงเรี •14 โรงเรียยนหมู นหมู่บ่บ้านเด็ ้านเด็ก ก •14ศู •15 ศูนนย์ย์กการเรี ารเรียยนมั นมัธธยมหมู ยมหมู่บ่บ้า้านเด็ นเด็กก •15โครงการโรงเรี •16 โครงการโรงเรียยนปลอดขยะ นปลอดขยะ •16ชุ •17 ชุมมชนวิ ชนวิททยาศาสตร์ ยาศาสตร์แและเทคโนโลยี ละเทคโนโลยี •17ห้ •18 ห้อองสมุ งสมุดดมูมูลลนินิธธิเด็ิเด็กก •18งานศิ •19 งานศิลลปะ ปะดนตรี ดนตรีการละคร การละครงานสถาปั งานสถาปัตตยกรรม ยกรรม •19สวนสองสมเด็ •20 สวนสองสมเด็จจฯ ฯ •20โครงการหุ •21 โครงการหุบบเขาแห่ เขาแห่งงอุอุดดมคติ มคติ
2
114 118 123 24 125 128 130 132 133 134 137 138 140 142 144 145 146 148 150 152 1 54
•22 สถาบันนปฏิ ปฏิรรูปูปการศึ การศึกกษา ษา •21สถาบั •23 ศาลาห้อองสมุ งสมุดดพริ พริ้ง้งพวงแก้ พวงแก้วว ศู ศูนนย์ย์เยาวชนและชุ เยาวชนและชุมมชนเพื ชนเพื่อ่อการเรี การเรียยนรู นรู้ ้ •22ศาลาห้ •24 พัฒฒนาโรงเรี นาโรงเรียยนขนาดเล็ นขนาดเล็กกให้ให้เป็เป็นนโรงเรี โรงเรียยนดี นดีขของชุ องชุมมชน ชน •23พั •25 เครืออข่ข่าายศู ยศูนนย์ย์พพัฒัฒนาเด็ นาเด็กกเล็เล็กกอบต.ที อบต.ที่เป็่เป็นนทางเลื ทางเลืออกที กที่ม่มีคีคุณุณภาพส� ภาพส�ำำหรั หรับบเด็เด็กกยากจน ยากจน •24เครื •26 เครืออข่ข่าายอาศรมสามเณร การศึ ยอาศรมสามเณร การศึกกษาทางเลื ษาทางเลืออกส� กส�ำำหรั หรับบเด็เด็กกยากจน ยากจน •25เครื •27 เครืออข่ข่าายโรงเรี ยโรงเรียยนในบ้ นในบ้าานนHome HomeSchool Schoolของพ่ ของพ่ออแม่ แม่ชชนชั นชั้น้นกลาง กลาง •26เครื •28 โครงการพัฒฒนาครอบครั นาครอบครัววคิคิดดดีดี •27โครงการพั •29 เครืออข่ข่าายมู ยมูลลนินิธธิอิอันันดามั ดามันน ส� ส�ำำหรั หรับบชาวประมงเรื ชาวประมงเรืออขนาดเล็ ขนาดเล็กก •28เครื •30 สถาบันนศิศิลลปวั ปวัฒฒนธรรมและหนั นธรรมและหนังงสืสืออเพืเพื่อ่อเด็เด็กกครอบครั •29สถาบั ครอบครัววสัสังงคม คม •31 ส�ำำนันักกพิพิมมพ์พ์หหนันังงสืสืออเด็เด็กก •30ส� •32 ส�ำำนันักกพิพิมมพ์พ์กการ์าร์ตตูนูนไทย ไทย •31ส� •33 ส�ำำนันักกพิพิมมพ์พ์สสรรพสาส์ รรพสาส์นน •32ส� •34 โครงการสิ่ง่งพิพิมมพ์พ์พพิเศษ ิเศษ •33โครงการสิ •35 โครงการรถเข็นนนินิททานในหอผู านในหอผู้ป้ป่ว่วยเด็ ยเด็กกโรงพยาบาล โรงพยาบาล •34โครงการรถเข็ •36 โครงการตู้ห้หนันังงสืสืออในบ้ ในบ้าานเด็ นเด็กก •35โครงการตู •37 โครงการหนังงสืสืออเล่เล่มมละ ละ๑๑บาท บาท •36โครงการหนั •38 โครงการพาเด็กกไปร้ ไปร้าานหนั นหนังงสืสืออ •37โครงการพาเด็
156 157 158 160 162 164 166 168 170 171 172 173 174 176 177 180 184
•39 สถาบันนวิวิชชาการและสื าการและสื่อ่อเพืเพื่อ่อการพั การพัฒฒนาเด็ นาเด็กกครอบครั ครอบครัว วและการศึ และการศึกษาทางเลื กษาทางเลือก อก •38สถาบั •40 โครงการโทรทัศศน์น์ •39โครงการโทรทั •41 โครงการกลุ่ม่มสืสื่อ่อเพืเพื่อ่อเด็เด็กกและสั และสังงคม คม •40โครงการกลุ •42 โครงการArts ArtsSpace Space •41โครงการ •43 โครงงานร่ววมกั มกับบสถาบั สถาบันนแห่ แห่งงชาติ ชาติเพืเพื่อ่อการพั การพัฒฒนาเด็ นาเด็กกและครอบครั และครอบครัวว มหาวิ มหาวิททยาลั ยาลัยยมหิ มหิดดล ล •42โครงงานร่ •44 โครงการสลับบผูผู้บ้บริริหหารและคนท� ารและคนท�ำำงาน งาน •43โครงการสลั •45 การประชุมมทีที่ม่มีคีคุณุณภาพ ภาพ •44การประชุ
3
186 187 188 189 192 193 194
INDEX The direction (FFC) (1) The directionofofthe theFoundation Foundationfor for Children Children (FFC.) 38 years of of thetheFoundation (2) 39 years FoundationforforChildren Children(FFC) (FFC.) The Alternative (3) The AlternativeEducation EducationInstitute Institute •(4) Baan Tan tawan •Ban Tantawan Baan Dek Sarnrak Kindergarten •(5) Moo •San Rak Kindergarten learning boxes •(6) Funny •Carpentry Workshop Workshop •(7) Carpentry •Art andand Handicraft workshop Handicraft workshop •(8) Art •Tie-dye andand weaving workshop weaving workshop •(9) Tie-dye •New Theory of Rice Farming ‘One‘One Rai One Theory of Rice Farming Rai One •(10) New Hundred Hundred Thousand’ Thousand’ Workshop •Wad Waew Room / Dr. Ussanee Room Waew Room •(11) Wad •Yaga roomclass for children andand adults for children adults •(12) Yoga •Taekwondo Room Do Class •(13) Tae Kwon •Moo BaanBaan DekDek •(14) Moo •Middle School Center School Center •(15) Middle •Zero Waste School Waste School •(16) Zero •Science and and Technology Community Technology Community •(17) Science •FFC LibraryLibrary •(18) FFC. •Art, Theater and and Architecture Art, Music, Theater Architecture •(19) Music, •The TwoTwo Somdejs ParkPark Somdejs •(20) The •The Valley of Idealism Valley of Idealism •(21) The
4
1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
14 18 23 24 25 28 30 32 33 34 37 38 40 42 44 45 46 48 50 52 54
The Reform Institute •(22) Education The Education Reform Institute •Pringpuangkaew Library Pavilion / Youth andand Community Learning Center / Youth Community Learning Center •(23) Pringpuangkaew Library Pavilion •Small School Development as a Model School for Community •(24) Small School Development as a Model School for Community •Daycare Center by TAOs, an alternative andand quality Center by TAO., an alternative quality •(25) Daycare education for impoverished children education for impoverished children •Buddhist Novice Ashram: Alternative education for for impoverished children Novice Ashram : Alternative education impoverished children •(26) Buddhist •Homeschool Network: Homeschool for middle class parents •(27) Homeschool Network : Homeschool for middle class parents •KIDS DEE Family Development Project DEE Family Development Project •(28) KIDS •The Save Andaman Network: For small scalescale fisherfisher folk folk •(29) The Save Andaman Network : For small
621 641 661 681
The Art, Art, Culture andand Books for for Children, Family andandSociety Culture Books Children, Family SocietyInstitute Institute •(30) The •Children’s Storybook Publishing House •(31) Children’s Storybook Publishing House •Thai Cartoon Publishing House Cartoon Publishing House •(32) Thai •Sanphasan Publishing House •(33) Sanphasan Publishing House •Special editions publishing editions publishing •(34) Special •Trolleys of Children’s Stories for for child patients Stories child patientsin inhospitals hospitals •(35) Trolleys of Children’s •Bookshelves in children’s home •(36) Bookshelves in children’s home •One baht- book baht books •(37) One •Taking children to bookshops to bookshops •(38) Taking children
701 711 721 731 741 761 771 801 841
The andand Media Institute forfor thetheDevelopment The Academic Media Institute DevelopmentofofChildren, Children, •(39) Academic Families and Alternative Education Families and Alternative Education •TV program •(40) TV. program •Media for children andand society for children society •(41) Media •Arts Space •(42) Arts Space •Collaboration withwith Mahidol’s Mahidol’sNational NationalInstitute InstituteforforChild Child •(43) Collaboration and Family Development and Family Development •Swapping of administrative staffstaff andand other staffers of administrative other staffers •(44) Swapping •Quality meeting •(45) Quality meetings
1 86 871 881 891 1 921 931 941
561 571 581 601
5
6
7
เด็ก ๆ กับหนังสือ
คืออนาคตประเทศไทย เด็ก ๆ กับนิทานและหนังสือเป็ นของคูก่ นั เพราะเด็ก ๆ ชอบฟงั นิทานและอ่านหนังสือ ถ้าเด็ก ๆ อ่านหนังสือ นิทานแล้วสนุก จะท�ำให้ อยากอ่านอีก เมือ่ เด็ก ๆ อ่าน ..อ่าน ..อ่าน จินตนาการ จะไปกระตุน้ สมองส่วนหน้า สมองของเด็ก ๆ และของผูใ้ หญ่ทกุ คนมี ๓ ส่วน ส่วนหลัง เขาเรียกว่า สมองสัตว์เลือ้ ยคลาน ส่วนกลางเขาเรียกว่า สมองสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ส่วนหน้ าเป็ นสมองมนุ ษย์ เกีย่ วกับสติปญั ญา และความดีงาม ถ้าเด็ก ๆ ได้รเิ ริม่ คิดเองท�ำเอง มีจนิ ตนาการสูง สมอง ั และมีความ ส่วนหน้าจะเจริญ ท�ำให้เป็นคนดี มีสติปญญา สุข เด็ก ๆ กับหนังสือจึงคืออนาคตของประเทศไทย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นพ.ประเวศ วะสี ประธานกรรมการมูลนิธิเด็ก
8
Children and storybooks are born together. Children like to listen to stories and to read them. Once they find it fun, they want to read even more. The more they read the more it helps to spur the growth of their imagination and prefrontal lobe. Adult and child brains are alike and consist of three parts including reptilian brain in the back, mammalian brain in the middle and prefrontal cortex, the latter of which deals with wisdom and virtue. Reading helps them become highly creative and be able to create things by themselves. With the growth of their prefrontal cortex, they will become good persons imbued with wisdom and happiness. Children and books are the future of Thailand. Professor Emeritus Prawase Wasi Chairperson of the Foundation for Children
9
Fun stories make a child happy. Such happiness is triggered by the release of endorphin which also helps to give them immunity. This is much better than any panacea. Even cancer patients could get cured with such immunity. Professor Emeritus Prawase Wasi Chairperson of the Foundation for Children นิทานทีส่ นุ กท�ำให้เด็กอารมณ์ดมี คี วามสุข เมื่อมีความสุขร่างกายจะ หลังสารเอ็นโดฟิน ท�ำให้เกิดภูมคิ มุ้ กันโรคนี้ดกี ว่ายาวิเศษใด ๆ เสียอีก เพราะแม้กระทังคนป ่ ว่ ยมะเร็งก็อาจหายถ้าร่างกายสร้างภูมพิ วกนี้ได้ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นพ. ประเวศ วะสี ประธานกรรมการมูลนิธิเด็ก
10 10
11
มูลนิธิเด็ก
ก่อตั้ง พ.ศ. ๒๕๒๒ เพือ่ สนับสนุนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิเด็กแห่งองค์การ สหประชาชาติ ๓๙ ปีของการท�ำงาน เริม่ ที่ บ้านทานตะวัน เพือ่ รณรงค์ ให้สงั คมไทยตระหนักถึงปญั หาความเหลื่อมล�ำ้ ซึ่ง ท�ำให้มเี ด็กยากจนขาดสารอาหารกว่าครึง่ ประเทศพร้อม กับสร้าง โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก เป็ น “โรงเรียนทาง เลือก” ทีเ่ น้นความสุขและเสรีภาพในการเรียนรูข้ องเด็ก ในระบบ “การศึกษาทางเลือก” เมื่อพบว่ามีการละเมิดสิทธิเด็กมากขึน้ จึงสร้าง ศูนย์ พิทกั ษ์สิทธิ เด็ก ตามด้วยโครงการเพือ่ เด็กและครอบครัว อีกมากมาย ทัง้ หมดกลายเป็ นสือ่ รณรงค์ปญั หาเด็กใน สังคมทุกด้าน ซึง่ น�ำไปสูน่ โยบายทางสังคมและสาธารณะ จนไปปรากฏในรัฐธรรมนูญ ๒๕๔๐ และ ๒๕๕๐ รวมถึง รัฐธรรมนูญฉบับล่าสุด ในอนาคตข้างหน้ า มูลนิธเิ ด็กจะขยายงานไปสู่ระดับ รากหญ้า โดยท�ำงานร่วมกับองค์การบริหารส่วนต�ำบล (อบต.) ส่วนในระดับภูมภิ าค มูลนิธเิ ด็กจะมุง่ สูก่ ารแลก เปลี่ยนข้อมูลและร่วมรณรงค์ปญั หาเด็กในประชาคม อาเซียน (ASEAN Community)
12
The Foundation for Children (FFC.) was founded in 1979 to promote the Convention on the Rights of the Child (CRC). 39 years since inception and its initial achievement of Baan Tantawan, FFC. has been a pinnacle to raise public awareness in Thailand about inequality which should be attributed as a root cause of starvation facing half of the child population then. At the same time, Moo Baan Dek was established as an “alternative school” stressing joy and freedom in the learning path of the child paving the way for “alternative education”. As more violations against the rights of the child happened, the Center for the Protection of Children’s Rights (CPCR.) was then founded, followed by a range of projects for children and families. They all are geared toward raising the awareness of the problems inflicted on the children in all aspects. Our campaign has led to the fostering of social and public policies, many of which were enshrined in the 1997 and 2007 Constitutions and even the latest Constitution. In the future, Foundation for Children (FFC.) plans to expand its work more at the grassroots level to be working with the Tambon Administration Organizations (TAO.). At the regional level, FFC. strives to promote an exchange and joint campaign on children’s issues within the ASEAN Community.
13
วิถีมูลนิธิเด็ก
อ
"เราจะก้าวเดินไปข้างหน้าได้อย่างไร กับอีกหนึง่ ปีที่จะก้าวสู่ทศวรรษที่ ๕๐"
อาจารย์เสม พริง้ พวงแก้ว อาจารย์ประเวศ วะสี กับผม และคณะกรรมการ ท่านอื่น ๆ ทีร่ ว่ มกันสร้างมูลนิธเิ ด็กมาด้วยกันถึง ๔ ทศวรรษ กับคนร่วมงานที่ ต่างมีอายุงาน ๒๐ ปีบา้ ง ๓๐ ปีบา้ ง เกือบ ๔๐ ปีบา้ ง และเด็ก ๆ ทีอ่ ยูก่ บั เรา มาตัง้ แต่แรกตัง้ โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก ทีห่ วนกลับมาช่วยงานและกับเด็ก ๆ ทีเ่ วียนเข้าเวียนออกนับพันคน เขาเหล่านี้มอี ายุตงั ้ แต่ ๑๕ ปี ถึง ๔๐ ปีกว่า ๆ ต่างลงแรงกาย แรงใจ และแรงคิด มากับมูลนิธเิ ด็กแต่ตน้ ต่างตระหนักดีวา่ งาน ยังไม่สน้ิ สุด และจะต้องเดินหน้าต่อไป เวลาช่างผ่านไปอย่างรวดเร็ว จนถึงเวลาทีจ่ ะต้องส่งไม้ต่อไปยังคนรุน่ ใหม่ ๆ และคนหนุ่มสาวทีโ่ ตมากับเรา เมือ่ หวนกลับไปเมือ่ แรกตัง้ หมูบ่ า้ นเด็ก งานพา เรามาไกลมาก และดูเหมือนจะเกิดมิตใิ หม่ ๆ ทีห่ ลากหลายมากกว่าเมือ่ แรกตัง้ เมือ่ ปี ๒๕๒๒
เราคิด ตลอดเวลาว่า ยังมี เด็กนั บล้ านที่ ยากล�ำบากและยากจน แต่ เรา สามารถช่ วยเด็กเหล่านี้ ได้จำ� นวนหลักร้อยหลักพันเท่ านัน้ เราจึงต้อง ใช้งานของพวกเราไปเปลีย่ นแปลงสังคม เปลีย่ นแปลงแนวคิดเกีย่ วกับการเลีย้ ง ดูเด็ก เปลีย่ นแนวคิดเกีย่ วกับการจัดการศึกษา การจัดโรงเรียน และกระบวนการ เรีย นรู้ข องเด็ก ให้เ ป็ น ธรรมชาติท่ีผ สมผสานกับ ความรู้ใ หม่ ๆ ที่เ ป็ น วิทยาศาสตร์ “เพื่อส่งผลต่อเด็ก ๆ ที่ไม่ได้ผา่ นมือเรา” ออกไปในวงกว้าง
14
การเกิดโรงเรียนทางเลือก (Alternative School) การเกิดการศึกษาในบ้าน (Home School) การเกิดนิทานจินตนาการ การตระหนักถึงการอ่านหนังสือ ของเด็ก การตระหนักถึงสิทธิเด็ก การตระหนักถึงเสรีภาพในการเรียนรู้ ของเด็กให้มากขึน้ การทีส่ งั คมเห็นปญั หาในโรงเรียน เห็นปญั หาการรวม ศูนย์อำ� นาจทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาฯ ก็มาจากส่วนหนึ่งของงาน มูลนิธเิ ด็ก จนสังคมมีเจตจ�ำนงร่วมกันว่า “ต้องปฏิ รปู การศึกษา” และ “วัฒนธรรมการเรียนรู”้ ของเด็กเสียใหม่ จึงจะเกิดการเปลีย่ นแปลงสังคม ให้ดขี น้ึ ได้ พูดง่าย ๆ ว่า “เด็กของเราจะอยู่แบบเดิ มไม่ได้อีกแล้ว” “สังคมจะอยู่แบบเดิ มไม่ได้อีกแล้ว” แต่ไม่วา่ เราจะท�ำอะไรมามากมาย งานแท้จริงของเรา คือ “งานปกป้ องเด็ก” นี่คอื งานของมูลนิธเิ ด็ก ทีจ่ ะก�ำหนดเป็นวิถขี องมูลนิธเิ ด็ก กับการก้าวย่างไป ข้างหน้าในทศวรรษที่ ๕๐ พิ ภพ ธงไชย เลขาธิ การมูลนิ ธิเด็ก พฤศจิ กายน ๒๕๖๐
15
The direction of the Foundation for Children (FFC.) How will we proceed in the future and the one year before hitting the fifth decade of our work? For the past four decades, Dr. Sem Prinpruangkaew, Dr. Prawase Wasi, I and other members of the board of directors have been fostering the growth of Foundation for Children (FFC.). We have been working with people in their 20’s, 30’s or 40’s. Some children who used to live with us at Moo Baan Dek have now grown up and come back to help us. Thousands of children who have benefited from our programs. They are aged from 15 to around 40. All the sweat and tears that have been invested to help develop (FFC.). and we all know full well our task is far from finishing and there is much to do. Time flies. We now have to pass the torch on to the next generation and the young people who have been growing with us. Reminiscing when Moo Ban Dek was just founded, I feel we have made such a long stride. There is much more dynamism added to our work compared to then it first began in 1979.
16
Recalling the time when Moo Baan Dek was first founded, I realize how big the stride we have made and how our work has become even more multifaceted compared to when it was first conceived in 1979. We all bear in mind millions of children who have been living a difficult and destitute life, although we could only manage to help hundreds or just thousands of them. Our work aims at fostering social transformation. We want a change in how child rearing is perceived, a change in educational pedagogy, schooling, and a natural learning process that is informed by new scientific knowledge. This should help to shape our children’s minds before they leave us and venture in the world outside. An emergence of alternative schools. An emergence of home school. An emergence of stories that spur imagination. A realization of the importance of reading for children, a realization of the rights of the child, a realization of freedom in learning for children, how centralization by the Ministry of Education has wreaked havoc our education system, could be attributed to our work at the Foundation for Children (FFC.). We have galvanized and mobilized the whole society making them pledging to “reform the education” and “learning culture” of the children. Then, social transformation for the better would begin. To put it simply, “our children can no longer live just the way it was before”. “Our society can no longer live the way it was before”. However, much we have done, our real work is “child protection”. And this is what we have been working for at FFC. and it would guide us into our fifth decade. Pibhop Dhongchai Executive Secretary, Foundation for Children (FFC.) November 2017
17
พัฒนาการ ๓๙ ปี มูลนิธิเด็ก มุ่งสู่ "สังคมทางเลือก" ที่เด็กทุกคนจะเติบโต โดยได้รับในความหลากหลายนานาประการ ๒๕๒๒
๒๕๒๔
๒๕๓๒
•ตั้งมูลนิธิเด็ก •บ้านทานตะวัน •ร.ร.หมู่บ้านเด็ก •ศูนย์ศิลปะเพื่อเด็ก
•ตั้งศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก •กองทุนช่วยเหลือเด็กทาง
•สมุดบันทึกนิทาน
กฎหมาย •โครงการอาหารกลางวัน
๒๕๒๓
๒๕๒๕
•ตั้งส�ำนักพิมพ์ •ศูนย์เด็กเล็กเคลื่อนที่ •ศูนย์เด็กเล็กลูกคนงาน
•เกิดนโยบายแห่งชาติว่าด้วย
ก่อสร้าง
18
ปัญหาเด็กขาดสารอาหาร
๒๕๒๗ •ตั้งโรงเรียนในบ้าน (Home School)
๒๕๓๓ •เกิดนโยบายแห่งชาติว่าด้วย สิทธิเด็ก
๒๕๓๔ •สร้างงานเกษตรธรรมชาติ ที่หมู่บ้านเด็ก
๒๕๓๕
๒๕๕๐
๒๕๕๗
•เกิด พรบ.กองทุนอาหาร กลางวันในโรงเรียน
•รัฐธรรมนูญบัญญัตเิ รือ่ งการ ศึกษาทางเลือก
๒๕๔๐
๒๕๕๒
•งานโยคะเด็กและผู้ใหญ่ ส่ง เสริมพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจและสมาธิ
•รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
•สร้างสื่อโทรทัศน์สังคม
บัญญัติเรื่องการศึกษาตาม อัธยาศัย
๒๕๔๒ • พรบ.การศึ ก ษาแห่ ง ชาติ บัญญัติเรื่องโรงเรียนในบ้าน (Home School)
๒๕๔๖ •ตั้ง ร.ร.อนุบาลหมู่บ้านเด็ก สานรัก •สถาบันการ์ตูนไทย •เกิด พรบ. คุ้มครองเด็ก
๒๕๔๘ •โครงการพาเด็กและลูก
ไปร้านหนังสือ
๒๕๕๐
อุดมสุข “สะพานสายรุ้ง” •ตัง้ โครงการรถเข็นนิทานเพือ่ เด็กป่วยในโรงพยาบาล
๒๕๕๓
•สร้างศาลาห้องสมุดพริง้ พวง
แก้ว : ศูนย์เยาวชนและชุมชน เพื่อการเรียนรู้
๒๕๕๘ •ตัง้ โครงการตูห้ นังสือในบ้าน เด็ก และหนังสือเล่มละ ๑ บาท •สร้างห้องวัดแววเด็ก
๒๕๕๙
•ตัง้ โครงการปฏิรปู การศึกษา เพื่อเด็กและชุมชน •ท�ำนาเกษตรทฤษฎีใหม่ “๑ ไร่ ๑ แสน”
•รัฐธรรมนูญฉบับประชามติ บั ญ ญั ติ ก า ร ศึ ก ษา หลา ย รูปแบบ •สร้างกล่องเรียนรู้แสนสนุก -ห้องงานไม้ -ห้องศิลปะประดิษฐ์ -ห้องมัดย้อมและทอผ้า -ห้องเรียนสวนเกษตร ธรรมชาติ
๒๕๕๖
๒๕๖๐
•เข้าร่วมปฏิรูปประเทศไทย โดยเน้ น เฉพาะเรื่ อ งเด็ ก ครอบครัว การศึกษาสังคม
• รั ฐ ธรรมนู ญ ฉบั บ ๒๕๖๐ บั ญ ญั ติ ใ ห้ มี ก ารปฏิ รู ป การ ศึกษา
๒๕๕๕
19
39 years of the Foundation for Children (FFC.) Toward an ‘alternative society’ in which every child grows in diversity and accepted as they are.
1979
1981
1984
•FFC. was founded •Baan Tan Tawan •Moo Baan Dek •Art for Children Center
• The Center for the Protection of Children’s Rights (CPCR.) was founded. •Legal Assistance Fund for Children •Children’s Lunch Program
• Homeschool Program was founded.
1982
•National policy about the
•National policy to tackle children’s starvation was mulled.
1991
1980 •FFC. Publishing House
was founded. • Mobile Center for Children •Center for Children of Construction Workers
1989 •Children’s stories diary
1990 rights of a child was mulled.
•Natural farming at Moo Baan Dek
20
1992
2009
2014
•The Law for Children’s Lunch in School was enacted.
• ‘Saphan Sai Rung’
• Yoga for children
1997 •The People’s Constitution recognizes informal education.
1999 •The National Education Act recognizes homeschool.
2003 •Moo Baan Dek Sarnrak Kindergarten was founded. •Thai Cartoon Institute was founded. •The Child Protection Act was enacted.
2005 •Program to encourage
parents to take their children to bookshops
2007
TV. Program was first launched. •Trolleys of Children’s Stories for child patients in hospitals
2010 •Pringpuangkaew Library Pavilion : Learning Center for Youth and Community
2012 •The Education Reform
for Children and Community Program • New Theory of Rice Farming ‘One Rai One Hundred Thousand’
2013 • Participated in the
movement for the reform of Thailand focusing on children, families, education and society
and adults for physical, mental and spiritual enhancement
2015 •Bookshelves for children, One Book for One Bath Program •Wad Waew Room was built.
2016 •The Constitution
adopted in a referendum recognizes a variety forms of education. •Fun Learning Boxes - Carpentry workshop - Handicraft workshop - Tie-dye and weaving workshop - Natural farming class
2017 •The 2017 Constitution has a provision supporting education reform.
•The Constitution
recognizes alternative education.
21
๔ สถาบัน เพื่อการปฏิรูปการศึกษา Four Institutes for Education Reform ๑
๒
สถาบัน การศึกษาทางเลือก
สถาบัน ปฏิ รปู การศึกษา
The Alternative Education Institute
The Education Reform Institute
๓
22
๔
สถาบัน ศิ ลปวัฒนธรรมและ หนังสือเพื่อเด็ก ครอบครัว สังคม
สถาบัน วิ ชาการและสื่อ เพื่อ พัฒนาเด็ก ครอบครัว และการศึกษาทางเลือก
The Art, Culture and Books for Children and Families Institute
The Academic and Media Institute for the Development of Children, Families and Alternative Education
๑
สถาบัน ก ษาทางเลื อ ก . การศึ 1. The Alternative Education Institute
ท�ำโรงเรียนในฝันของเด็กให้เป็นจริงและเหมาะกับเด็ก
Making a dream school for children possible and making it suit the children
มูลนิธเิ ด็กร่วมขับเคลื่อนปฏิรูปการศึกษา ของไทยให้มคี ณ ุ ภาพ โดยมีแผนพัฒนา ๓ โครงการการศึก ษา คือ ห้อ งเรีย นบ้า น ทานตะวัน โรงเรียนอนุบาลหมูบ่ า้ นเด็กสาน รัก และโรงเรียนหมู่บา้ นเด็ก ให้เป็ นศูนย์ ทดลองเพื่อการศึกษาดูงานและฝึ กอบรม พัฒนาเด็กและการศึกษาทางเลือกส�ำหรับ เด็กในระดับอาเซียนโดยมีความรูจ้ ากการ ทดลองรองรับ
The Foundation for Children (FFC.) has been mobilizing for a quality education through three major education programs including Baan Tan Tawan Classroom, Moo Baan Dek Sarnrak Kindergarten and Moo Baan Dek. Being part of an experimental program on experiential learning, all the places welcome visitors interested in child development and alternative education at the ASEAN level.
23
บ้านทานตะวัน Baan Tan Tawan
เพาะรัก/ปลูกปัญญา/พัฒนาเด็กเล็ก
Fostering Love and Intelligence in our Children เป็นห้องเรียน ห้องทดลองการเลีย้ งดูเด็กแรกเกิด ถึง ๔ ขวบ โดยใช้แนวทางการจัดการเรียนรู้ท่ี พัฒนาสมอง การฝึกโยคะสายอินเดีย ร่วมกับ แนวการศึกษาแบบมอนเตสซอรี มีการปรับปรุง พื้นที่ จัดสภาพแวดล้อม และเพิ่มความช�ำนาญ ของครู เพื่อพัฒนาการด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะ ด้านสมองของเด็ก ให้พร้อมเรียนรูใ้ นช่วงปฐมวัย
24
It is a classroom for newborn to four year old children focusing on brain development education, Indian yoga in tandem with Montessori education. The environment is specially arranged and the teachers have received empowerment, particularly on children’s brain development and how to prepare for preschool education.
โรงเรียนอนุบาล หมู่บ้านเด็กสานรัก
เป็นห้องเรียน ห้องทดลองแนวการศึกษาแบบมอนเตสซอรี และกระบวนการ เรียนรู้แบบพุทธ ส�ำหรับเด็ก ๔-๘ ขวบ มีการปรับปรุงพื้นที่ จัดสภาพ แวดล้อมให้เหมาะสม เพื่อให้เด็กแต่ละคน โดยมีครูเป็นผู้ให้การสนับสนุน กระตุ้นให้เด็ก ๆ เรียนด้วยความสุขและสนุกสนาน ผ่านกิจกรรมและ ประสบการณ์หลากหลาย ทั้งศิลปะ ดนตรี โยคะ (สายอินเดีย) งานท�ำของ เด็กเล่น งานประดิษฐ์ งานทอผ้า และกีฬา เชื่อมกับการพัฒนาสมอง
25
Moo Baan Dek Sarnrak Kindergarten It is a Montessori-based classroom in tandem with Buddhist education for children from 4-8. The environment arranged catering to the need of each of the children and the teachers play a role of facilitator to encourage each child to learn in a fund and enjoyable climate through activities and diverse experience including music, Indian yoga, toy making, handicraft, weaving and sports to stimulate brain development.
26
27
กล่องเรียนรู้ แสนสนุก สร้างจากตูค้ อนเทนเนอร์ เป็ นกล่องการเรียนรูท้ ส่ี นุกสนาน ส�ำหรับเด็ก ๆ เช่น ห้องงานไม้ ห้องศิลปะประดิษฐ์ ห้องมัด ย้อมและทอผ้า กระตุน้ ให้เด็ก ๆ ลงมือจนเกิดกระบวนการ เรียนรูด้ ว้ ยตนเอง และจัดให้เด็กเรียนรูธ้ รรมชาติจากสวน เกษตรธรรมชาติ
28
Funny learning boxes It is a Montessori-based classroom in tandem with Buddhist education for children from 4-8. The environment arranged catering to the need of each of the children and the teachers play a role of facilitator to encourage each child to learn in a fund and enjoyable climate through activities and diverse experience including music, Indian yoga, toy making, handicraft, weaving and sports to stimulate brain development.
29
ห้องงานไม้ อยูใ่ นตูค้ อนเทนเนอร์และพืน้ ทีร่ อบ ๆ ได้จดั ไม้ ตะปู ค้อน เลือ่ ย ให้ เด็กท�ำของเล่นกันอย่างสนุก โดยเข้าใจธรรมชาติวยั เด็ก ว่าอยากท�ำของเล่นเอง อยากเลือ่ ยไม้เอง อยากตอกตะปูเอง แต่มกั จะถูกผูใ้ หญ่หา้ ม ห้องแบบนี้ทห่ี มูบ่ า้ นเด็ก เปิดให้เด็กมาใช้อย่างอิสระ ตัง้ แต่แรกตัง้ โรงเรียน สมัยนัน้ มีชาวญีป่ นุ่ ชือ่ ยูค ิ มานังเล่ ่ นกับเด็ก ทัง้ ทีไ่ ม่มฝี ีมอื ช่างไม้ แต่พยายามท�ำของเล่นแบบเด็ก ๆ และอดทนทีจ่ ะอยูก่ บั เด็ก ๆ ได้ แต่ ห้องช่างไม้ในตูค้ อนเทนเนอร์วนั นี้ เราได้ศษิ ย์เก่าหมูบ่ า้ นเด็ก ชือ่ “เอก” มาดูแล ซึง่ โตมาจากห้องช่างไม้และห้องเฟอร์นิเจอร์ทห่ี มูบ่ า้ นเด็ก
30
Carpentry Workshop Inside the cargo container, all the tools, wood, nails, hammers, saws, etc. are provided for children to have fun making their own toys. Understanding that they are in the age of wanting to make their own toys to saw the wood themselves, to hammer the nails and in most cases, children are barred from doing that, we thus provide freedom to children to make things of their own and since we began our school.
31
ห้องศิลปะประดิษฐ์หัตถกรรม Art and Handicraft workshop
เป็นห้องให้เด็กมาท�ำงานประดิษฐ์ผา้ ที่ ตัวเองชอบ โดยมีศษิ ย์เก่าหมูบ่ า้ นเด็ก ชือ่ “สาว” ทีโ่ ตมาจากห้องทอผ้า มานัง่ ท�ำงานกับเด็ก ๆ ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นเด็ก ผู้ ห ญิ ง จะเข้า มาตอนบ่ า ย ๆ นั ง่ ประดิษฐ์งานผ้าเล็ก ๆ น้อย ๆ อย่าง อิสระและสวยงาม
32
This is where the children can make fabric into things they like. “Sao”, one of the alumni from Moo Baan Dek who grew up in our weaving workshop, works with the children, most of whom are girls. They usually get into the workshop in the afternoon working with the fabric works with freedom and making beautiful things of it.
ห้องมัดย้อมและทอผ้า Tie-dye and weaving workshop
ได้ศษิ ย์เก่าหมูบ่ า้ นเด็กชือ่ “วิภา” ทีโ่ ตมากับงานทอผ้าและงานบาติก มาเล่นกับ เด็ก ๆ ท�ำมัดย้อมสีธรรมชาติ และทอผ้ากีเ่ ล็ก ๆ เด็กจะพัฒนาจินตนาการงาน ศิลปะทีไ่ ปเสริมการพัฒนาการทางด้านจิตใจ อารมณ์และร่างกาย ได้ความรัก ความอบอุน่ จากผูใ้ หญ่ทเ่ี ข้าใจเด็ก เพราะโตมาจากโรงเรียน “เสรีภาพ” แบบ หมูบ่ า้ นเด็ก “Wipa”, one of the alumni from Moo Baan Dek who grew up in weaving and batik workshops guides the children to make tie-dye works using natural dye and to weave from small handlooms. It helps to spur the children’s imagination and strengthen their mental, emotional and physical beings exposing them to warmth and love from adults who understand them as these adults have grown up in a school of ‘freedom’ or Moo Baan Dek.
33
New Theory of Rice Farming ‘One Rai One Hundred Thousand’ Workshop
ห้องเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ “๑ ไร่ ๑ แสน”และเกษตร ธรรมชาติ เมือ่ แรกตัง้ หมูบ่ า้ นเด็ก โดยเริม่ จากหนังสือ Summerhill ของ A.S.Neill เมือ่ ย้าย โรงเรียนหมูบ่ า้ นเด็กจากบ้านท่าเสา ไทรโยค ริมแควน้อย มาต�ำบลวังด้ง โดย มูลนิธจิ นิ ดา อิม่ จ�ำเรียง ภังคานนท์ บริจาคให้ใช้ท่ี ๑๕๐ ไร่ และทีด่ นิ มูลนิธเิ ด็ก ั่ อีก ๕๐ ไร่ ริมฝงแควใหญ่ โรงเรียนจึงมีแผนท�ำเกษตรกรรม เพือ่ การเรียนรูข้ อง เด็กและผลิตอาหาร จึงเลือกเกษตรกรรมธรรมชาติ จากหนังสือ The One-Straw Revolution ของ Masanobu Fukuoka ซึง่ มีหลักการการพัฒนาเด็กและการปลูก ต้นไม้ เป็ นแนวปรัชญาเดียวกัน ต่อมาได้น�ำรูปแบบการจัดแปลงนาแบบเศรษฐกิจพอเพียง ๑ ไร่ ๑ แสน มาจัด ทีน่ าของมูลนิธเิ ด็ก ทีพ่ ทุ ธมณฑล สาย ๔ ทัง้ สองแห่งกลายเป็ นศูนย์การเรียนรู้ เกษตรธรรมชาติทงั ้ ของหมูบ่ า้ นเด็กและงานชุมชนทีโ่ ครงการตูห้ นังสือในบ้าน เด็ก ทีล่ งไปปฏิบตั งิ านในต่างจังหวัด โดยทีเ่ ด็ก ๆ จะเข้ามาเรียนรูธ้ รรมชาติของต้นไม้ สัตว์ต่าง ๆ ทีอ่ ยูใ่ นสวนผักและนา น�ำไปเชือ่ มโยงกับวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ เราได้ “อุ บ ล” ที่โ ตมากับ การเรีย นแบบ “เด็ก รัก ป่ า ” ส่งไปฝึกงาน นา ๑ ไร่ ๑ แสน มาเป็ นครูเล่นกับเด็กเพือ่ ให้ เกิดการเรียนรูธ้ รรมชาติรอบ ๆ ตัว ไปกับนิสยั รักต้นไม้ ปลูก ต้นไม้ ปลูกผัก เลีย้ งปลา
34
35
New Theory of Rice Farming
‘One Rai One Hundred Thousand’ Workshop Moo Baan Dek has been inspired by A.S. Neill’s Simmer Hill School in England. When it was moved from its original site in Tha Sao, Sai Yoke to the present location in Tambon Wang Dong on the 150-rai-land donated by the Jinda Imjamriang Bhangkhanon Foundation plus another 50 rai owned by the Foundation for Children (FFC.) by the Kwae Yai River, it was planned that Moo Baan Dek would embark on natural farming project for the children’s learning and for food production. The natural farming approach was based on Masanobu Fukuoka’s One-Straw Revolution and we have found child development and cultivation based on very similar philosophies. Later, the self-sufficiency model ‘One Rai One Hundred Thousand’ has been added to enrich our program at Moo Baan Dek and part of the land of the headquarters of Foundation for Children (FFC.) in Buddha Monthon4 making both sites learning centers for natural farming. The idea has been implemented in our Bookshelves for children which is carried out different provinces as well. The children would learn to appreciate the nature of plants and animals in our vegetable orchards and paddy fields and how they are linked with natural science. “Ubon” who grew up with the “Dek Rak Pa” group and has been with us for a long time has received training on the New Theory of Rice Farming ‘One Rai One Hundred Thousand’. He has since come back to instill the knowledge among the children making them appreciate nature around them and growing the habit of caring for plants, growing trees, growing food and raising fish.
36 36
ห้องวัดแวว Wad Waew Room
ห้องวัดแววหรือห้องอุษณีย์ เป็นผูร้ เิ ริม่ กระบวนการนี้ ตัง้ อยูใ่ นบ้าน “เพิม่ หวาน โชติกล่อม” เป็นห้องเรียนในรูปแบบพิเศษ ทีจ่ ะช่วยให้เด็กแต่ละคนค้นพบความ ถนัดและความสนใจเฉพาะทางของตนเอง โดยผ่านการ “เล่น” เพือ่ “พัฒนา สมอง” ในห้องมีของเล่นและอุปกรณ์ เสริมพัฒนาการหลากหลายประเภท เด็ก ๆ มีความสุข สนุ ก และพัฒนาสมองไปพร้อมกัน ครูจะช่วยสังเกตและ สนับสนุนให้เด็กค้นพบความถนัดทีซ่ ่อนอยู่ เพือ่ ค้นหาแววของเด็ก Wad Waew or Dr. Ussanee’s Room, Dr.Ussanee was the pioneer of the process. Located in “Perm Wan ChoteKlom” House, it is a specially arranged classroom aiming to help each child discover their own talents and interests through ‘play’. The room is fully equipped with a variety of toys and objects which help to ‘develop brain’ and foster development. The children can enjoy and have their brain developed at the same time. Teachers help to observe and encourage each child to discover their talents hidden in themselves.
37
ห้องโยคะเด็กและผู้ใหญ่
Yoga class for children and adults
โยคะส�ำหรับเด็ก โดยใช้โยคะสายอินเดีย นอกจากจะเป็ นการออกก�ำลังกายที่ ดีแล้ว ยังท�ำให้เด็กและผูใ้ หญ่ได้รจู้ กั ควบคุมส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย พร้อม กับการก�ำหนดลมหายใจและจิตใจภายในให้สงบเป็ นสมาธิ ซึง่ จะส่งผลดีต่อ การท�ำงานของระบบต่าง ๆ ในร่างกายเด็ก ให้มสี ขุ ภาพจิตทีส่ ดชืน่ แจ่มใส มี สมาธิในการเรียนสูงขึน้ Apart from being a good physical exercise, yoga for children based on Indian Yoga helps children and adults to gain better control of different parts of their bodies. BY concentrating on their breathing, they can attain a peaceful mind which helps to invigorate their physical system making them refreshed, bright, and highly concentrated suitable for their study.
38
39
Tae Kwon Do Class
ห้องเทควันโด
วิถสี ติปญั ญาแห่งการใช้มอื และเท้าในการต่อสู้ และป้องกันตัว อย่างมีสติ เป็ นกีฬาทีโ่ รงเรียน ทัง้ สองแห่งเลือกมาฝึ กให้กบั เด็ก ๆ เพื่อออก ก�ำลังกาย และสร้างวินยั กับเสริมการฝึกสติกบั สมาธิ The use of one’s limbs in martial art and mindful self-defense based on wisdom, Taekwondo is adopted in both schools for physical exercise and discipline of the children as well as for boosting their concentration.
40
41
โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก Moo Baan Dek It is a learning center and teacher training center. It provides an education for disadvantageous children whose rights have been violated. Based on Summer Hill School, Buddhism and psychotherapy, it bestows of the children freedom and allows them to participate with the kind of education that link from head, heart ที่โ รงเรีย นหมู่ บ้ า นเด็ก เราอยู่ ร่ ว มกับ and hand. ธรรมชาติอย่างเกื้อกูล เด็กและผูใ้ หญ่อยู่ ร่วมกันเป็นชุมชนทีม่ งุ่ พึง่ พาตนเองให้มาก At Moo Baan Dek, we live with nature ทีส่ ดุ มีการปลูกพืชผักแบบธรรมชาติ เพือ่ harmoniously. Both children and adults ผลิตอาหารทีป่ ลอดภัย และพัฒนาพลังงาน aim to create a self-dependent ทางเลือกทีส่ ะอาด ประหยัด พึง่ พาตนเอง community, as much as possible. They ได้ เช่น การใช้โซลาร์เซลล์ การพัฒนาเตา grow their own food and produce safe แกลบ การพัฒ นาเตาเผาขยะ การท� ำ food as well as produce clean and green กระดาษสารีไซเคิล ปลูกข้าว เลีย้ งสัตว์ การ alternative energy including solar ท�ำให้เป็ นโรงเรียนใสสะอาด และการท�ำ energy, the use of biomass stove, incinerator, Sa recycled paper. They ไบโอแก๊ส พัฒนาใช้ในครัวชุมชน also grow rice, raise animals, make the school clean and produce biogas for consumption in all households in the community.
เป็ นแหล่งเรียนรูแ้ ละพัฒนาครูสำ� หรับเผย แพร่การจัดการศึกษาให้เด็กด้อยโอกาสที่ ถูกละเมิดสิทธิทกุ รูปแบบ โดยใช้การศึกษา แบบซัมเมอร์ฮลิ แบบพุทธ และจิตวิทยา บ�ำบัด ที่ค�ำนึงถึงเสรีภาพและการมีส่วน ร่วมของเด็กและชุมชน สัมพันธ์กบั อารมณ์ จิตใจ และสมอง
42
43
ศูนย์การเรียนมัธยมหมู่บ้านเด็ก
Middle School Center เป็ น โครงการขยายโอกาสทางการ ศึกษาให้เด็ก ๆ หมู่บา้ นเด็กกับกลุ่ม เด็ก Home School ทีไ่ ด้รบั อนุ ญาต จากกระทรวงศึกษาธิการ บริหารโดย เครื อ ข่ า ยผู้ ป กครอง สามารถจั ด หลัก สูต รที่เ หมาะกับ ความสามารถ และความสนใจของเด็ก จะท�ำให้เกิด สัง คมของเด็ ก หมู่ บ้ า นเด็ ก กับ เด็ ก ชนชัน้ กลาง
44
It is an education extension program for children at Moo Baan Dek and other homeschool children. With endorsement form the Ministry of Education, the Middle School Center is run by a network of parents who want to develop curriculum that suit their children the best and meet their interest. It has created a community of children from Moo Baan Dek living together with children from the middle class families.
โครงการโรงเรียนปลอดขยะ
Zero Waste School จะท�ำทีโ่ รงเรียนอนุบาลหมูบ่ า้ นเด็กสานรัก บ้านทานตะวัน และชุมชนหมูบ่ า้ นเด็ก โดยการริเริม่ ของผูอ้ �ำนวยการโรงเรียนอนุ บาลหมู่บา้ นเด็กสานรัก จากผลของ โครงการแลกเปลีย่ นผูบ้ ริหาร ท�ำให้เกิดความคิดริเริม่ ใหม่ ๆ กับสถานทีใ่ หม่ ๆ โครงการนี้จะเชือ่ มกับการท�ำปุ๋ยในแปลงเกษตร ส�ำหรับปลูกผักในชุมชน และการ ท�ำเกษตรธรรมชาติ แปลงนาธรรมชาติ
A project planned for Moo Baan Dek Sarnrak Kindergarten, Baan Tan Tawan and Moo Baan dek, it has been initiated by the Director of the Moo Baan Dek Sarnrak Kindergarten. The inspiration came from his participating in a meeting in which an exchange was made among school administrators. This project will lead to the development compose fertilizer made of waste to be used to grow food in our community based on natural farming and natural paddy growing.
45
ชุมชนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Science and Technology Community It has been initiated by a volunteer, a former science official from the Ministry of Science and Technology, who offers to help develop a science class for both children and adults in the community. The output includes paper house, handicraft made of recycled material, biogas production, how to apply science in farming, science lab, and solar energy house, etc.
46
ทางโรงเรียนหมูบ่ า้ นเด็กได้อาสาสมัครอดีต ข้ า ราชการที่ เ ป็ นนั ก วิ ท ยาศาตร์ จ าก กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ มาปฏิบตั กิ ารเพือ่ สร้า งผลงานวิท ยาศาสตร์ใ ห้ก บั เด็ก และ ผูใ้ หญ่ในชุมชน โดยจะรวบรวมผลงานทาง ด้านนี้ เช่น บ้านกระดาษ การรีไซเคิลขยะ มาสร้างงานประดิษฐ์ การท�ำไบโอแก๊ส การ ใช้ ค วามรู้ ว ิ ท ยาศาสตร์ ใ นการเกษตร ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ และบ้านพลังงาน แสงอาทิตย์ เป็ นต้น
47
ห้องสมุดมูลนิธิเด็ก มูล นิ ธิเ ด็ก ได้ส ร้า งห้อ งสมุ ด ส�ำ หรับ เด็ก แห่งแรกทีโ่ รงเรียนหมู่บา้ นเด็ก แห่งที่ ๒ ทีโ่ รงเรียนอนุบาลหมูบ่ า้ นเด็กสานรัก แห่ง ที่ ๓ ส�ำหรับผูใ้ หญ่ ทีส่ ำ� นักงานกลางมูลนิธิ เด็ก แห่งที่ ๔ ห้องสมุดประชาชน ทีอ่ าคาร เสมพริง้ พวงแก้ว สมุทรสงคราม แห่งที่ ๕ รถเข็ น นิ ท านในหอผู้ ป่ ว ยเด็ ก ในโรง พยาบาล ๑,๓๗๓ แห่ง แห่งที่ ๖ ตูห้ นังสือ ในบ้านเด็ก ๑,๐๘๗ ตู้ ทีจ่ ะพัฒนาเป็น “ห้อง สมุดหมูบ่ า้ น“ เราเชื่อว่าการปฏิรปู การศึกษา ต้องมีฐาน ของการรักการอ่าน ถ้าเทียบการศึกษาใน ฟินแลนด์ ในกลุม่ ประเทศสแกนดิเนเวีย ใน ญีป่ นุ่ ในจีน ในยุโรป ในอเมริกา ประชาชน และเด็ก ๆ ต่างเข้าถึงหนังสือและรักการ อ่าน การค้นคว้า มูลนิธเิ ด็กจึงสร้างงานห้อง สมุดเพือ่ ส่งเสริมการอ่าน และให้เด็กเข้าถึง หนังสือ งานนี้ ไ ด้ ร ั บ การสนั บ สนุ นจากศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ เนาวรั ต น์ พงษ์ ไ พบู ล ย์ , อัศศิร ิ ธรรมโชติ, สนพ.บ้านพระอาทิตย์, สนพ.มูลนิธโิ กมลคีมทอง, สนพ.เคล็ดไทย, สนพ.หมอชาวบ้าน และอีกหลายส�ำนัก พิมพ์ทจ่ี ะส่งหนังสือเข้าห้องสมุดดังกล่าว
48
FFC. Library FFC. helps to build the first library for children at Moo Baan Dek, second one at Moo Baan Dek Sarnrak Kindergarten, third one for adults at the FFC.’s headquarters office, fourth one for general public at the Sem Pringpuangkaew Building in Samut Songkhram, fifth one the trolley of books for sick child patients in 1,373 hospitals, sixth one 1,087 bookshelves which shall be developed into a “village library”. It is believed that reading habit is an important foundation for education reform. Comparatively, children and adults in Finland and Scandinavian countries, Japan, China, Europe and America have more access to books and grow reading habit and research. Therefore, FFC. has been keen on developing libraries to stimulate reading habit and to increase access to books among children. This project has garnered support from National Artists including Naowarat Pongpaiboon, Assiri Thammachote, Ban Phra Arthit Publishing House, Komol Keemthong Foundation Publishing House, Kled Thai Publishing House, Mor Chao Ban Publishing House, and several other publishing houses who help to make donations including books to the libraries.
49
งานศิลปะ ดนตรี การละคร งานสถาปัตยกรรม มูลนิธเิ ด็กท�ำงานศิลปะ ดนตรี และละคร มาตัง้ แต่ตงั ้ โรงเรียนหมูบ่ า้ นเด็ก ซึง่ จัดให้มกี าร แสดงทุกสัปดาห์ และมีหอ้ งศิลปะ ห้องฟงั ดนตรี ต่อมาก็ได้เชิญชวนศิลปิน นักดนตรี นัก เขียน มาสร้างงานศิลปะ งานจิตรกรรม เช่น งานในสมุดบันทึกนิทานประจ�ำปี (Diary) และงานหนัง สือ นิ ท าน งานแสดงละครนิ ท านเพลง งานสร้า งภาพยนตร์ เป็ น ต้น ศิลปิน นักเขียน และสถาปนิก ทีร่ ว่ มงานกับมูลนิธเิ ด็กตลอด ๓๙ ปี เช่น ชาญ ฮวดสวัสดิ,์ ส.ศิวรักษ์, เทพศิร ิ สุขโสภา, คุณหญิงจ�ำนงศรี หาญเจนลักษณ์ , ดนู ฮันตระกูล, บรูซ แกสตัน, รัศมี เผ่าเหลืองทอง, ไทวิจติ พึ่งเกษมสมบูรณ์ , สุชาติ วงษ์ทอง, เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์, ชมัยภร แสงกระจ่าง, ผดุง พรมมูล, กีรติ ชนา, มานพ อุดมเดช, ดร.สุกรี เจริญสุข, หงษ์จร เสน่หง์ ามเจริญ, สิทธิชยั สุวรรณกุล, สิน พงษ์หาญยุทธ เป็นต้น ั งานสถาปตยกรรมของมู ลนิธเิ ด็ก นับว่าโดดเด่นมาตัง้ แต่ตงั ้ โรงเรียนหมูบ่ า้ นเด็กทีห่ น้าผา ั่ ั่ ริมฝงแควน้ อย จนถึงริมฝงแควใหญ่ และทีพ่ ทุ ธมณฑล สาย ๔ ในท่ามกลางปา่ ทีถ่ กู ฟื้นฟู ขึน้ มาใหม่ กลายเป็ นโรงเรียนในปา่ และหุบเขากาญจนบุร ี สิง่ ต่าง ๆ เหล่านี้มสี ว่ นช่วยพัฒนาการเด็กยากจน ให้เข้าถึงความงาม และความดี และ การแสดงความสามารถผ่านงานศิลปะสาขาต่าง ๆ ทีเ่ ป็ นสิง่ แวดล้อมรอบตัวเด็ก ๆ
50
Art, Music, Theater and Architecture Art, music, and theater have been developed by FFC. at Moo Baan Dek since its inception. Theatrical performance is presented every week and Moo Baan Dek features art and music workshops. Artists, musicians, and writers from outside have been invited to share their skills and create their art works including in the production of our yearly story diary, our story books, children’s musicals, films, etc.
Architectural work by FFC. has been a focus since the founding of Moo Baan Dek at its original site by the Kwae Noi River and after it has been moved to by the Kwae Yai River and our school at Buddha Monthon 4. The land has been left to rejuvenate itself and become a lush forest making Moo Baan Dek a school nestled in a forest and valleys in Kanchanaburi. All these are geared toward exposing the poor children to beauty and virtue and they can express themselves spontaneously through the immediate natural surroundings.
Artists, writers and architects who have been collaborating with FFC in the past 39 years including Chan Huadsawat, S. Sivaraksa, Thepsiri Suksopha, Khun Ying Chamnongsri Hanjaneluck, Danu Huntrakool, Suchart Wonghtong, Bruce Gaston, Rassmi Phaoluangthong, Thaiwijit Pungkasemsomboon, Naowarat Pongpaiboon, Kirati Chana, C h a m a ip o r n Sa e n g k ra c h a n g , Padung Prommoon, Manop Udomdet, Hongchon Sanehngamcharoen, Sitthichai Suwankul, Sin Ponghanyuth, Dr.Sukree Charoensuk, etc.
51
สวนสองสมเด็จฯ หมูบ่ า้ นเด็ก มีพระสงฆ์ทเ่ี คารพนับถือ ๒ รูป คือสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก (เจริญ สุวฑฺฒโน) และสมเด็จพระพุทธ โฆษาจารย์ (ประยุท ธ์ ปยุตฺ โ ต) โดยเฉพาะประธานกรรมการมูลนิ ธิก บั คุณกระแสร์ ภังคานนท์และภรรยา ผูบ้ ริจาคทีด่ นิ ให้โรงเรียนหมูบ่ า้ นเด็ก ต่าง เคารพนับถือสมเด็จพระญาณสังวรฯ มาก ทัง้ พระองค์ทา่ นมีเมตตามาวางศิลา ฤกษ์อาคารเรียน เมือ่ ปี ๒๕๒๗ ส่วนสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นัน้ ก็เป็ นทีเ่ คารพนับถือมาช้านาน เมือ่ ครบ ๕๐ พรรษา ก็มเี มตตามาท�ำบุญอายุ ๕๐ ทีห่ มูบ่ า้ นเด็ก ประธานกรรมการมูลนิธเิ ด็ก จึงมีดำ� ริให้สร้าง “สวนสองสมเด็จฯ” เพือ่ เผยแผ่ พระธรรมค�ำสังสอนของทั ่ ง้ สองท่าน ณ โรงเรียนหมูบ่ า้ นเด็ก ทีม่ โี ครงการสร้าง หุบเขาแห่งอุดมคติอยูแ่ ล้วด้วย
52
The Two Somdejs Park At Moo Baan Dek, two senior monks garner our heist reverence including SomdejPhraYannaSangworn, the former Supreme Patriarch (Charoen Suwatthano) and SomdejPraBuddhaKosachan (Prayuth Payutto). Both the Chairperson of FFC. and Mr. Krasae Bhangkhanond and his wife who have donated the land to Moo Baan Dek hold much reverence in Somdej PhraYanna Sangworn. He used to grace the School and perform a groundbreaking ceremony for a school building in 1984. SomdejPra Buddha Kosachan has also been revered by people for a long time. At his fiftieth anniversary, he kindly performed a merit making ceremony at Moo Baan Dek . Therefore, the FFC. Chairperson has proposed to have the “Two Somdejs Park� built to help propagate the teaching of both senior Buddhist monks. The Park will be located at Moo Baan Dek where the Valley of Idealism is being developed.
53
โครงการหุบเขาแห่งอุดมคติ ั่ ริมฝงแควใหญ่ บนพืน้ ทีข่ องโรงเรียนหมูบ่ า้ นเด็ก เกิดจากความคิด ของประธานมูล นิ ธิเ ด็ก ที่ไ ด้ไ ปร่ ว มงานเปิ ด รูป หล่ อ ท่ า นอัง คาร ั่ กัลยาณพงศ์ กวีซไี รต์ ณ ริมฝงแควใหญ่ เห็นความงามของหุบเขา และสายน�้ำแควใหญ่ กับหอประชุมอะกาติโน และบ้านเรือนไทยหมอ เสม พริง้ พวงแก้ว จึงเสนอให้ใช้พน้ื ทีน่ ้ี เป็ นทีต่ งั ้ งานประติมากรรม “คนในอุดมคติ ” และรวมถึง “ความคิ ดอุดมคติ ” ความคิด “เด็ก ๆ กับ หนัง สือ คือ อนาคตของประเทศไทย” กับ ประติมากรรมสวย ๆ เป็ นรูปเด็กกับหนังสือ เป็ นต้น
54
The Valley of Idealism Located by the Kwae Yai River in Moo Baan Dek land, this project has been initiated by the FFC.’s Chairperson after his presiding over a ceremony to open a statue of Angkarn Kalayanapong, a S.E.A. Write Award laureate which is located by the Kwae Yai River. The Chairperson was so enchanted by the beauty of the valley and the stream of Kwae Yai River, the Agatino Hall and the Sem Pringpuangkaew Traditional Thai House. So he proposes that this site should be used for the location of sculpture “The Idealist” and “Idealism”. The concept is “children and books are the future of Thailand” so there should be beautiful sculptures of children books.
55
๒
สถาบัน . ปฏิรูปการศึกษา
2. The Education Reform Institute
ส่ ง เสริ ม ให้ ชุ ม ชนน� ำ แนวทางของบ้ า น ทานตะวัน โรงเรียนอนุ บาลหมู่บ้านเด็กฯ และโรงเรี ย นหมู่ บ้ า นเด็ ก ไปปรั บ และ ประยุกต์ใช้ เป็ นเป้าหมายให้เกิดชุมชนที่ พัฒนาเด็กได้ในทุกด้าน และสามารถจัดการ ศึกษาทางเลือกทีส่ อดคล้องกับวิถชี วี ติ ของ คนในชุมชนและเด็ก
56 56
Communities are encouraged to adopt the approaches of Baan Tan Tawan, Moo Baan Dek Sarnrak Kindergarten and Moo Baan Dek to adapt and apply aiming to help the communities develop children in all aspects and the development of alternative education that suits the way of life of members of the community and the children.
ศาลาห้องสมุดพริ้งพวงแก้ว ศูนย์เยาวชนและชุมชนเพือ่ การเรียนรู้ Pringpuangkaew Library Pavilion
Youth and Community Learning Center
ตัง้ อยูท่ ว่ี ดั บางประจัน อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม เป็ นศูนย์ท�ำงาน เพื่อส่งเสริมการอ่านและ กระตุน้ ให้เด็กและเยาวชนในพืน้ ทีไ่ ด้คน้ คว้า หาความรูด้ ว้ ยตนเอง และให้เป็ นศูนย์ของ การศึกษาชุมชนและโรงเรียนใกล้เคียง
Located at Wat Baan Prachan, Muang District, Samut Songkhram, the center encourages reading habit among local children and youth stimulating them to research for information by themselves. It can be a learning center that serves the interest of local communities and schools.
57
พัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก ให้เป็นโรงเรียนดีของชุมชน เมือ่ กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายยุบโรงเรียนขนาดเล็กในชุมชน เด็ก ๆ และพ่อแม่วติ กกังวลไปทัวว่ ่ าจะมีผลกระทบต่อครอบครัวทีเ่ ด็กเคยเรียน ใกล้บา้ น ต้องออกไปเรียนในเมือง ซึง่ ไกลบ้าน ปญั หาจะตามมามากมาย มูลนิธเิ ด็ก โดยโรงเรียนหมูบ่ า้ นเด็ก จึงรวมตัวกับโรงเรียนขนาดเล็กต่อ ต้านนโยบายนี้ ในขณะเดียวกัน ก็เข้าไปช่วยท�ำให้โรงเรียนมีคณ ุ ภาพดีขน้ึ และเสนอหลักสูตร ๓ ส่วน ส่วนที่ ๑ ให้เป็ นหลักสูตรกลางของประเทศ ส่วนที่ ๒ เป็ นหลักสูตรชุมชน ส่วนที่ ๓ เป็ นหลักสูตรทีเ่ ด็กอยากเรียนตาม ความถนัดของตัวเอง หรือตามแววของเด็ก โรงเรียนขนาดเล็กเหล่านี้ พร้อมจะเป็ นฐานการเรียนรูแ้ บบ Home School ให้เด็กชนชัน้ กลางด้วย
58
Small School Development as a Model School for Community With the policy of the Ministry of Education to disband small schools, there is a growing concern among parents that they cannot send their children to a small and nearby school and have to manage to send their children afar to attend school in the city. It bring about many problems.
FFC. and Moo Baan Dek have thus organized small schools and mobilized against the policy to disband small schools. Meanwhile, we have made an effort to improve the quality of the existing small schools. We propose that the school curriculum should be divided into three parts (1) national curriculum, (2) community-based curriculum and (3) curriculum that suits the need of children serving their interest and skills. These small schools are also ready to cater to children who have been educated through homeschool and those who belong to the middle class families.
59
เครือข่ายศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต. ที่เป็นทางเลือกทีม ่ ีคุณภาพส�ำหรับเด็กยากจน ทันทีทร่ี ฐั บาลประกาศนโยบายให้ อบต.ทัวประเทศ ่ ตัง้ ศูนย์เด็ก เล็ก ซึง่ จะมีเด็กเล็ก อายุระหว่าง ๒-๔ ขวบ จ�ำนวน ๗๖๐,๒๐๐ คนในขณะที่ อบต. ไม่มคี วามพร้อมทางความรูก้ ารพัฒนาเด็ก เล็ก จะท�ำให้เด็กเจริญเติบโตไม่สมบูรณ์ เหมือนก่อนปี พ.ศ. ๒๕๒๕ เรามีเด็กขาดสารอาหารเต็มบ้านเต็มเมือง มูลนิธเิ ด็ก จึงตัง้ “บ้านทานตะวัน” รับเด็กแรกเกิดทีข่ าดสารอาหารมา เลีย้ งดู ถึงแม้จะเป็นบ้านเล็ก ๆ แต่กลับมีผลกระทบต่อสาธารณะ ท�ำให้ สังคมตระหนักถึงภาวะการขาดสารอาหารในเด็กเล็ก จึงเกิด นโยบายของรัฐบาล รณรงค์การขาดสารอาหารทัวประเทศ ่ และ มีโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน วันนี้ถา้ เราไม่ตระหนักถึงเรือ่ งนี้ เราจะมี “เด็กโง่” แทน “เด็ก ขาดสารอาหาร” มูลนิธเิ ด็กจะร่วมมือกับ อบต.ท�ำศูนย์ตวั อย่าง ไปพร้อม ๆ โครงการตูห้ นังสือในบ้านเด็กและห้องสมุดหมูบ่ า้ น ตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็ นต้นไป
60
Daycare Center by TAO., an alternative and quality education for impoverished children As the government has launched a policy for the Tambon Administrative Organizations (TAO.) to open Daycare Centers for 760,200 children from 2-4 years while the TAO. are not ready and not capable to provide for child development, this might make the children more vulnerable. It would be similar to 1982 when there were so many malnourished children countrywide. FFC. has founded Ban Tantawan to care for the starving newborns. However small the project, it has much impact in society. It has raised social awareness about the problem of malnourishment which was prevalent among young children and it has led the government to launch a policy to campaign against malnourishment throughout the country including the lunch program in schools. If we do not realize the importance of this problem, our children would become idiot rather than malnourished like before. FFC. will thus collaborate with the TAO. to develop pilot Daycare Centers along with the book cabinet for young children project and the library in community project starting from 2017.
61
เครือข่ายอาศรมสามเณร
การศึกษาทางเลือกส�ำหรับเด็กยากจน สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) เคยปรารภว่า วัดคือสถานทีร่ องรับเด็กยากจน ทีส่ ดุ มาอาศัยเพือ่ ได้อาหารและการศึกษา มูลนิ ธิเด็กจึงร่วมมือกับโรงเรียนสามเณรใน จังหวัดน่ าน คือ โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมวัด นิโครธาราม อ.ท่าวังผา และโรงเรียนพระปริยตั ิ ธรรมวัดดอนมงคลสันติสุขวิทยา อ.สันติสุข ท�ำการศึกษาแนวใหม่กบั โรงเรียนสามเณร ให้ เป็ นอาศรมการศึกษาทางเลือกของสามเณร และครัง้ หนึ่งเคยร่วมมือกับเสมสิกขาลัย โดย ประชา หุตานุ วตั ร จัดฝึ กอบรมแนวคิดการ ศึกษาใหม่สำ� หรับสามเณร ณ อาศรมแห่งนี้ดว้ ย
62
Buddhist Novice Ashram : Alternative education for impoverished children
Somdej Pra Buddha Kosachan (Prayuth Payutto) once reckoned that a temple is a place to host the poorest of the poor children giving them shelter, food and education. FFC. has thus collaborated with the Buddhist Novice Schools in Nan Province including the Wat Nikotharam PhraPariyatidhamma School, Tha Wang Pha District, and Wat Don Mongkhon PhraPariyatidhamma Santisuk wittaya School, Santisuk District. Both schools adopt a new approach to education making it an “ashram for alternative education� of the Buddhist novices. A collaboration used to be made with Spirit in Education Movement (SEM.) by Pracha Hutanuwatra to develop a new and alternative education for the novices at the ashrams as well.
63
เครือข่ายโรงเรียนในบ้าน Home School ของพ่อแม่ชนชั้นกลาง เมือ่ สมัยตัง้ โรงเรียนหมูบ่ า้ นเด็ก หมอคนหนึ่งทีน่ บั ถือศาสนาคริสต์ นิกาย Seven Day Adventists ขอส่งลูก ๓ คน มาเข้าเรียนทีห่ มูบ่ า้ นเด็ก โดยขอจัดการเรียน การสอนเองทีบ่ า้ น และต่อมาก็มหี มอจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ มีลกู ๑ คน ทีม่ ลี กั ษณะพิเศษ และลูกชายคนเล็กของตัวครูใหญ่เอง ที่ อยากเรียนเองทีบ่ า้ น โดยลงทะเบียนนักเรียนหมูบ่ า้ นเด็ก และต่อมาก็สามารถลง ทะเบียนตามโรงเรียนทัวไปได้ ่ เพราะกระทรวงศึกษามีระเบียบรองรับ นี่คอื จุดก�ำเนิด “โรงเรียนในบ้าน - Home School” ซึง่ ปจั จุบนั มีครอบครัวโรงเรียน ในบ้าน ร่วม ๕๐๐ กว่าครอบครัว โดยพ่อแม่สอนเอง จัดหลักสูตรเอง แต่หมูบ่ า้ น เด็กก็คงยังเป็ นศูนย์กลางเรือ่ งนี้ ซึง่ เราจะน�ำศักยภาพของพ่อแม่ครอบครัวเหล่า นี้ มาช่วยงานปฏิรปู การศึกษาในวันข้างหน้าต่อไป
64
Homeschool Network : Homeschool for middle class parents When Moo Baan Dek was first founded, a medical doctor who was a Seven Day Adventist follower had asked to have his three children enrolled into our school, though he wanted to design his own education and teach his children at home. Later, a child with special need of a medical doctor from the Faculty of Medicine, Prince of Songkhla University and the youngest child of Moo Baan Dek’s Principal were enrolled here though they were home-educated. Later, the Ministry of Education’s new procedure makes it possible for parents to get their children enrolled in any school and teach them at home. This is how the homeschool has begun. There are now at least 500 homeschool families and the parents design their own curriculum and teach the children by themselves. Still, Moo Baan Dek continues to play an important role to draw out the potential from those families to help us in our education reform effort in the future.
65
โครงการพัฒนา ครอบครัวคิดดี (KIDS DEE)
๓๙ ปี ทต่ี งั ้ หมูบ่ า้ นเด็กและบ้านทานตะวัน และต่อมาได้ตงั ้ โรงเรียนอนุ บาลหมูบ่ า้ นเด็ก สานรักมาสิบกว่าปี เพือ่ ให้การศึกษาและเลีย้ งดูเด็ก ทีม่ าจากการขาดสารอาหาร ถูกทารุณ กรรม และครอบครัวแตกแยก พบว่า เด็กหลายคนมีพฤติกรรมทีล่ กึ ถึงระดับเป็ นปมทาง จิตวิทยา ทีต่ อ้ งอาศัยการบ�ำบัด แต่หลายคนเมือ่ มาอยูใ่ นสภาพแวดล้อมใหม่ ปญั หาทาง จิตวิทยาก็คลีค่ ลายไป แต่เมือ่ กลับไปบ้าน แม้ในช่วงเวลาสัน้ ๆ ไปอยูก่ บั พฤติกรรมของ พ่อหรือแม่ ทีย่ งั ไม่เปลีย่ นพฤติกรรมการเลีย้ งดู เมื่อเด็กกลับมาทีโ่ รงเรียน ก็กลับไปมี พฤติกรรมเหมือนเมือ่ ก่อนแรกเข้า เราจึงสร้าง “โครงการพัฒนาครอบครัวคิ ดดี” เพือ่ ให้การศึกษาปรับเปลีย่ นพฤติกรรม พ่อแม่ใหม่ ไปพร้อมกับการพัฒนาเด็ก อาจใช้เวลาเป็ นปีในช่วงทีเ่ ด็กอยูก่ บั เรา เชือ่ ว่าจะ เป็ นการปรับเปลีย่ นทุกอย่างให้ดขี น้ึ ครอบครัวของเด็ก ๆ เหล่านี้มนี บั ร้อยครอบครัว
66
KIDS DEE Family Development Project 39 years since the inception of Moo Baan Dek and Baan Tantawan and the subsequent establishment of the Moo Baan Dek Sarnrak Kindergarten in over the past ten years, we aim to provide for an education and raise the children who have suffered from malnourishment, abuse and broken families. We have found some children suffer quite an intense psychological trauma and need therapy. Some can get better once being placed in a new and nourishing environment. But when they return to their home, even to stay there briefly and given the unchanged behavior and child care of the parents, when the children return to our school they would revert to become the same old personalities when they first arrived here. We therefore launch the “KIDS DEE Family Development Project� to educate and help change the parents’ behavior along with working for child development. It might take years for them to change. But once changed, thing will get better. There are hundreds of families for these children.
67
เครือข่ายมูลนิธิอันดามัน ส�ำหรับชาวประมงเรือขนาดเล็ก The Save Andaman Network : For small scale fisher folk ั่ เมือ่ ชาวประมงขนาดเล็กในอ่าวไทย และฝงทะเลอั นดามัน ได้ถกู รังแกจากเรือประมง ขนาดใหญ่ ชาวประมงขนาดเล็กจึงรวมตัวกันจับปลาส่งผูบ้ ริโภคโดยตรง โดยชูเรือ่ ง การจับปลาทีใ่ ช้เครือ่ งมืออนุรกั ษ์ธรรมชาติและไม่แช่สาร Formalin มูลนิธเิ ด็กจึงร่วมกับมูลนิธอิ นั ดามัน สร้างเครือข่ายผูบ้ ริโภคกับกลุม่ Home School และเชื่อมโยงกับการผลิตผักธรรมชาติ ของสวนและนา ทีม่ ูลนิธเิ ด็กกับโรงเรียน หมูบ่ า้ นเด็ก ให้เป็ นตลาดทางเลือก Being exploited by large trawlers, the small scale and coastal fisher folk have come together to supply their products directly to the consumers. Their selling point is the environment friendly fishing gears they use and how they refrain from using formalin. The Foundation for Children (FFC.) and the Save Andaman Network have worked with the parents who are members of the homeschool network linking them to the producers of natural food including food produced from the orchard and paddy field of Moo Baan Dek and provide them an alternative market.
68
69
๓
.
สถาบันศิลปวัฒนธรรม และหนังสือเพื่อเด็ก ครอบครัว สังคม
3.
The Art, Culture and Books for Children, Family and Society Institute
มีหน้าทีผ่ ลิตหนังสือคุณภาพ ทีจ่ ะเป็นเครือ่ ง มือในการพัฒนาเด็กตามแนวทางการศึกษา ทางเลือก รวมถึงการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม เพื่อเด็กและครอบครัว เพราะการศึกษา ทีแ่ ท้ไม่ได้หมายถึงความรอบรูเ้ ท่านัน้ แต่ หมายถึงความเจริญงอกงามในจิตใจและ สมองด้วย ส่วนศิลปวัฒนธรรมก็เป็ นส่วน หนึ่งของการศึกษา
70
It helps to produce quality books which can be a told to nourish a child based on an alternative education. It yearns to promote art and culture for children and families since an education does not encompass just knowledge, but also the cultivation of mental wellbeing and brain. Art and culture are a part of education.
ส�ำนักพิมพ์หนังสือเด็ก Children’s Storybook Publishing House It aims to produce children’s storybooks which can be used as a “tool” by parents for their child development. The books are developed based on child development psychology and brain development. The children’s storybooks by our publishing house are selected titles that are enjoyable to the children and help to stimulate their brain development, linguistic skills and expose their little hearts to virtue, beauty, truth and love. เป็ นส�ำนักพิมพ์ทม่ี งุ่ ผลิตหนังสือส�ำหรับ เด็ก ให้เป็ น “เครื่องมือ” ของพ่อแม่ใช้ พัฒนาลูกด้วยตนเอง บนพืน้ ฐานความรู้ เรื่ อ งจิ ต วิ ท ยาพั ฒ นาการเด็ ก และ พัฒนาการทางสมอง หนังสือนิทานของส�ำนักพิมพ์หนังสือเด็ก คั ด เลื อ ก และจั ด พิ ม พ์ นิ ท านแนว จินตนาการทีส่ ร้างความสุข และความ สนุ กสนาน ส่งผลดีต่อพัฒนาการสมอง พัฒนาการด้านภาษา รวมทัง้ ประทับ ความดี ความงาม ความจริง และความ รัก ลงในหัวใจดวงน้อยของเด็ก ๆ
71
ส�ำนักพิมพ์การ์ตูนไทย Thai Cartoon Publishing House
พิมพ์หนังสือการ์ตูนทีส่ ่งเสริมการสร้าง กระบวนการเรี ย นรู้ ส� ำ หรับ เด็ ก และ เยาวชน ส� ำ นั ก พิม พ์ ก าร์ ตู น ไทยจึ ง สร้างสรรค์หนังสือการ์ตูนทางเลือก มุ่ง หวังให้เด็กทุกคนเข้าถึงหนังสือดี เหมาะ สมวัย และร่วมสร้างวัฒนธรรมการอ่าน ั น�ำไปสูส่ งั คมแห่งปญญาและความเกื อ้ กูล นอกจากนัน้ ยังผลิตหนังสือการ์ตูนทีน่ � ำ เสนอประเด็นทางสังคมในมิตติ า่ ง ๆ ทีท่ งั ้ สนุ กและเข้าใจง่าย เพือ่ ให้เด็กตระหนัก ถึงปญั หาสังคมและร่วมกันหาทางออก ท�ำให้หนังสือการ์ตูนของส�ำนักพิมพ์ได้ รับรางวัลทัง้ ระดับประเทศและนานาชาติ ครอบครัวหัวแห้ว รางวัลหนังสือดีเด่นประจ�ำปี ๒๕๕๘ โดยส�ำนักงานการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) Cartoon book “Hua Haew Family” Awarded 2015 Outstanding Book by Thailand’s Office of the Basic Education Commission (OBEC)
72
Aiming to produce cartoon books that stimulate learning process of children and youth, the Thai Cartoon Publishing House would publish alternative cartoons to expose all children to good books and to stimulate reading culture paving the way for a society filled with wisdom and compassion. Cartoon books that portrait social issues which are fun and easy to understand will also be published to raise the awareness about social problems and to foster solutions collectively. That explains why previous cartoon books by our publishing house have been recognized by national and international awards.
ส�ำนักพิมพ์สรรพสาส์น Sanphasan Publishing House
จัดพิมพ์หนังสือส�ำหรับพ่อแม่ ครู และผู้ ทีม่ หี น้าทีด่ แู ลเด็ก เพือ่ ใช้เป็ นแนวทาง ในการเลี้ยงดูเด็กอย่างเข้าใจ ไร้ความ รุนแรง เน้นความเสมอภาคระหว่างเด็ก กับผูใ้ หญ่ ตลอดจนจัดพิมพ์หนังสือแนว การศึกษาทางเลือกและปฏิรปู การศึกษา อาทิ การศึ ก ษาแบบมอนเตสซอรี ซัมเมอร์ฮลิ และโรงเรียนในบ้าน (Home School) เพื่อ เสนอเป็ น ทางเลือ กที่ เหมาะกับเด็กแต่ละคน และเด็กพิเศษ เด็กออทิสติก เด็กดาวน์ซนิ โดรม และจัด พิมพ์หนังสือความรู้ร่วมสมัยที่เหมาะ ั ญาของ ส�ำ หรับ ครอบครัว และสติป ญ สังคม
It publishes books targeting parents, teachers and caretakers of young children. Our publications give guidelines on informed and nonviolent child rearing, focusing equality between children and adults, and alternative education and education reform including Montessori education, Summer Hill School, homeshool, etc. The books are made choices that fit the need of each individual child including children with special needs, children with autism, children with down syndrome, and other books providing contemporary knowledge and suitable for families and enriching wisdom in society.
73
โครงการสิง่ พิมพ์พิเศษ Special editions publishing The project has been developed for children at Moo Baan Dek to produce their works of art in collaboration with artists and to disseminate them far and wide through printing orders such as greetings cards.
เป็ น โครงการที่ต ัง้ ขึ้น มาเพื่อ ให้ เ ด็ ก หมู่บ้านเด็กได้ท�ำงานศิลปะ เผยแพร่ ออกไปในวงกว้าง เช่น ท�ำบัตรอวยพร ร่วมกับศิลปิน นอกจากนัน้ โครงการนี้ยงั รับผิดชอบใน การท�ำสมุดบันทึกนิทานประจ�ำปี (Tale Diary) มาถึงปีน้ีเป็ นปีท่ี ๒๙ และยังท�ำ ของช� ำ ร่ ว ยเพื่อ บริก ารผู้บ ริจ าคของ มูลนิธเิ ด็ก เช่น สมุดน่ารักน่าโน้ต กล่อง กระดาษโน้ตป๊อปอัพ แก้วเซรามิค สมุด จดบันทึก หนังสือธรรมะนิทาน
74
The project is also responsible for producing an annual tale diary which has entered its 29th year and for producing gifts to be offered to donors who make contribution to the Foundation for Children (FFC.) such as cute notebooks, popup notepapers, ceramic cups, tales and Dhamma books.
75
โครงการรถเข็นนิทาน ในหอผู้ป่วยเด็กโรงพยาบาล Trolleys of Children’s Stories for child patients in hospitals เป็ นโครงการหนึ่งของมูลนิธเิ ด็ก ทีจ่ ดั หนังสือให้เด็กตามวัยต่าง ๆ ใส่รถเข็น มอบให้โรงพยาบาลของรัฐทัวประเทศ ่ ตามแผนกพัฒนาการเด็กทีค่ อยให้ บริการเด็กป่วย และไม่ป่วย โดยการใช้หนังสือเพื่อกระตุน้ พัฒนาการของ เด็ก ๆ ปจั จุบนั ส่งมอบรถเข็นนิทานไปตามโรงพยาบาลถึง ๑,๓๗๓ แห่ง รถเข็นนิทาน ๑,๕๖๔ คัน จ�ำนวนหนังสือ ๑๗๒,๕๒๑ เล่ม The project involves supplying books suitable for children at various ages and a trolley to carry them. The trolleys shall be donated for use in child development ward in public hospitals throughout the country. They can be available for both sick and healthy children. The books can help to stimulate child development. Insofar, we have supplied trolleys and books to 1,173 hospitals including 1,564 trolleys and 172,521 books.
76
โครงการตู้หนังสือในบ้านเด็ก
หลังจากเปิดตัวโครงการนี้ไปเมือ่ ๔ ปีทแ่ี ล้ว เราได้เด็กที่ “กระหายการอ่าน” ถึง ๑,๐๘๗ ราย ใน ๒๗ จังหวัด ๘๔ อ�ำเภอ ๑๔๕ ต�ำบล ๒๒๗ โรงเรียน ท�ำค่ายรักการอ่าน ๑๒ ครัง้ ส่งหนังสือไปแล้ว ๗๖,๗๖๗ เล่ม งานได้พฒ ั นาจากสร้างเด็กให้มหี นังสืออ่านต่อเนื่อง ไปถึงให้เด็กสามารถท�ำ หน้าที่ “บรรณารักษ์น้อย” ประจ�ำหมูบ่ า้ น โดยเราก�ำหนดผังหมูบ่ า้ น ให้มตี หู้ นังสือในบ้านเด็ก ๑๐ บ้าน ๆ ละ ๕๐ เล่ม รวม ๑ หมูบ่ า้ นจะมีหนังสือ ๕๐๐ เล่ม และจะเติมหนังสือไปเรือ่ ย ๆ เด็ก ๆ จะ มีการแลกเปลีย่ นหนังสือกันอ่าน และให้เด็กในหมูบ่ า้ นอืน่ และหมูบ่ า้ นใกล้เคียง ได้ยมื อ่าน เราเชือ่ ว่า เด็กทีร่ กั การอ่านจะรักหนังสือ ถนอมหนังสือ ดูแลหนังสือได้ โดย เราเติมจิตใจทีเ่ อือ้ เฟื้อให้เพือ่ นยืมอ่านเข้าไปในใจของเด็กอีกด้วย ห้องสมุดประจ�ำหมูบ่ า้ นทีก่ ระจายตัวไปทีบ่ า้ นเด็ก ๑ หลังคาเรือน จะกลายเป็น ห้องสมุดทีย่ งยื ั ่ น และจะเป็ นแรงจูงใจให้ผใู้ หญ่ในบ้านมาอ่านหนังสือด้วย
77
Bookshelves in children’s home Since its launch four years ago, we have recruited 1,087 children who are so hungry for books from 27 provinces, 84 districts, 145 Tambons and 227 schools. 12 reading camps have been organized and 76,767 books have been shipped to the community. From avid readers, we have also developed them into good librarians to look after the books in their villages. In each villager, the bookshelves, each with 50 books will be placed in each of the ten households. So one village would have 500 books. More books will be supplied to them and the children would exchange their books within their village and with nearby villages. It is believed that children who love reading would care for the books and they also learn about compassion by letting other children borrow the books for their read. A library located in each household in a village would become a sustainable library and would also draw the attention from adults getting them to read the books as well.
78
79
โครงการหนังสือเล่มละ ๑ บาท เป็ นความมหัศจรรย์ ทีภ่ าษาฝรังเรี ่ ยก Miracle เมือ่ เราปิดพิธกี ารแจกตูห้ นังสือ ในบ้านเด็กเสร็จ เด็กในโรงเรียนทีไ่ ม่ได้รบั ตูห้ นังสือ ต่างเฮโลไปทีก่ องหนังสือ เล่มละ ๑ บาท เลือกซือ้ หนังสือทีต่ นอยากอ่านกันคนละ ๕ เล่ม ๑๐ เล่ม ดูวา่ ถูกเหมือนได้เปล่า แต่หาไม่เลย เด็กเห็นคุณค่าของเงิ น ๑ บาท ต่างเลือก ซือ้ กันอย่างระมัดระวัง เฉพาะหนังสือทีต่ วั เองอยากอ่านเท่านัน้ ครูทงั ้ หลายก็รว่ ม หาซือ้ หนังสือไปอ่าน เข้าห้องสมุด เพราะหนังสือทีน่ �ำมาเปิดตลาดหนังสือเล่มละ ๑ บาทนัน้ เป็ นหนังสือดี ๆ ทีเ่ หมาะกับผูอ้ ่านในวัยต่าง ๆ กัน บางครัง้ มีคุ ณ ยายมาเลือ กหนัง สือ ธรรมะไปอ่านด้วย เราพบว่ า ในหลายอ� ำ เภอไม่ ม ีร้า น หนังสือ ในจังหวัดก็มไี ม่กร่ี า้ น ทีม่ กั อยูใ่ นห้างสมัยใหม่ มีรา้ นเช่าหนังสือ อยูบ่ า้ ง แต่กป็ ิดไปหลายที่ เด็ก และผู้ค นต่ า งเข้า ไม่ถึง หนัง สือ งานสัปดาห์หนังสือในกรุงเทพฯ มีปี ละสองครัง้ มีหนังสือใหม่นับพันปก แต่คนต่างจังหวัดและเด็ก ๆ กลับเข้า ไม่ถงึ
80
ตลาด “หนังสือเล่มละ ๑ บาท” จึงเป็ นทีต่ อ้ งการ เหมือนหนังขายยาในสมัย ก่อนทีไ่ ม่มโี ทรทัศน์ เป็ นทีก่ ระหายใคร่ดหู นัง ฉันใดก็ฉนั นัน้ เราจึงว่าไม่ได้ ทีก่ ล่าวหาว่าคนไทยอ่านหนังสือน้ อย ก็เพราะไม่ร้จู ะหา หนังสือที่ไหน แม้แต่หนังสือพิมพ์ เพราะไม่สามารถเข้าถึงหนังสือได้นนเอง ั่ จนถึงวันนี้หนังสือถึงมือเด็กและผูใ้ หญ่ ๒๙,๔๓๑ เล่ม
81
One - baht
books
It was a miracle that after the ceremony to offer the bookshelves, children from the schools that were not given the bookshelves thronged a pile of books for sale at one baht each. Some bought five, other bought ten books. They did not look down on the books because of their supercheap prices. Instead, they learned to value the money, the one baht they spent to carefully select the books they really wanted to read. Teachers also helped to buy the books to be supplied to the school libraries. The one-baht-books are all good books and suitable for the read of people at all ages. Sometimes, an auntie would buy a Dhamma book to read. We have found several districts have no bookshops, not even in the cities. There could be some bookshops in modern department stores. Many book rental shops have been closed as well. The children and other people have little access to books. The Book Fair is organized twice a year in Bangkok featuring thousands of new titles every year, but these children have no access to such books. The market of “one-baht-books� is therefore desirable, just like the mobile outdoor film screening in the olden days when TV was still not available. So it is not entirely incorrect to say that Thai people read so few books since they have no access to books, not even newspapers. Until now, our 29,431 books have been acquired by children and adults.
82
83
โครงการพาเด็ก ไปร้านหนังสือ ทัง้ ครูอนุ บาลและครูหมูบ่ า้ นเด็ก จะหมุนเวียนพาเด็ก ไปร้านหนังสือ ให้เด็กเลือกซือ้ หนังสือตามใจชอบ เมือ่ อ่านเสร็จก็แบ่งให้เพือ่ นอ่าน เด็กจะชินกับการไปร้าน หนังสือ และหาซือ้ หนังสืออ่าน จะท�ำให้เด็กติดนิสยั รัก การอ่านไปจนโต เราท�ำโครงการนี้เพือ่ กระตุน้ ให้พอ่ แม่พาลูก ๆ ไปร้าน หนังสือ แล้วให้สตางค์ลูกซื้อหนังสือที่ลูกอยากอ่าน ด้วยตนเอง เพือ่ สร้างนิสยั ซือ้ หนังสือด้วยตนเอง เด็ก ๆ อนุบาลและหมูบ่ า้ นเด็กจะได้ไปร้านหนังสือทุก สัปดาห์
84
Taking children to bookshops Preschool teachers and other teachers at Moo Baan Dek would take turn to bring our children to visit bookshops and allow them to choose the books they want to read. This will get them familiar with bookshops and how to buy books. It will grow in them reading habit as well. This project has been developed to stimulate parents to take their children to visit bookshops and to given them money to buy books they want to read. They will learn to buy books they want to read. Our preschool children at Moo Baan Dek Sarnrak Kindergarten and Moo Baan Dek would visit bookshops once a week.
85
๔
.
สถาบันวิชาการและสื่อเพื่อการพัฒนาเด็ก ครอบครัว และการศึกษาทางเลือก
4.
The Academic and Media Institute for the Development of Children, Families and Alternative Education
ท�ำหน้าทีค่ น้ หา รวบรวม และพัฒนาความรู้ และทักษะเรือ่ งการเลีย้ งดูเด็ก จิตวิทยาเด็ก พัฒนาการทางสมองของเด็ก และการศึกษา ทางเลือ กแบบต่ า ง ๆ โดยน� ำ เสนอผ่า น รายการโทรทัศน์ และ Social Media ให้พอ่ แม่ ครู และบุคคลทัวไป ่ มีเป้าหมายปฏิรปู ความคิด เรื่อ งการเลี้ย งดูเ ด็ก การศึก ษา เศรษฐกิจทางเลือก ชุมชนทางเลือก และ เทคโนโลยีทางเลือก ทัง้ ในสังคมไทยและ สังคมอาเซียน
86 86
It is a resource center that explores, compiles and develop knowledge and skill in child rearing, child psychology, child brain development and various forms of alternative education. The finding would be presented through TV. programs and social media targeting parents, teachers and general public. It aims to reform concept about child rearing, alternative economics,alternative community and alternative technology in Thailand and ASEAN community.
โครงการโทรทัศน์ TV. program จากรายการสะพานสายรุง้ จะมีการปรับรายการครึง่ หลังของปี ๒๕๖๐ ให้เป็ นรายการที่ สามารถเชือ่ ม TV. กับระบบ YouTube ได้ เพือ่ ตอบโจทย์การศึกษาทางเลือก Home School โรงเรียนขนาดเล็ก จิตวิทยา และการพัฒนาเด็ก ให้ถงึ ผูช้ ม ซึง่ รายการจะมีทงั ้ พูด คุย สัมภาษณ์ ท�ำสารคดีสนั ้ ส่วนการคุยหนัง จะเป็ นหนังเกีย่ วกับการศึกษา จิตวิทยา ความเป็ นมนุษย์ เพือ่ ให้ผชู้ มซึง่ เป็ นพ่อแม่ น�ำไปใช้กบั เด็กและครอบครัวได้ โดยมีอาจารย์สกุล บุณยทัต เป็ นผูบ้ รรยาย หลัก There shall be an overhaul of the SaphanSairung TV. program in the latter half of 2017 making it viewable from TV. and YouTube. It should address the needs of alternative education, homeschool, small schools, child psychology and child development and reach out to our audience. The program would consist of talk, interview and short documentaries. Film review would cover films about education, psychology, and humanity, the knowledge of which is useful for parents to apply to their children and their families. Ajahn Sakul Boonyathat is our main MC.
87
โครงการกลุ่มสือ่ เพือ่ เด็กและสังคม Media for children and society มีหน้าทีเ่ พือ่ ท�ำเว็บไซต์และเผยแพร่งานของมูลนิธเิ ด็กผ่าน YouTube และโทรทัศน์ ละคร นิทรรศการ แผ่นพับ ของทุกโครงการ เพือ่ สือ่ แนวคิดการพัฒนาการเด็ก การ ปฏิรปู การศึกษา การทดลองห้องเรียนแนวใหม่ ออกไปในโลกของสือ่ สังคมออนไลน์ (Social Media)
The unit helps to produce websites and disseminate information about the Foundation for Children (FFC.) through YouTube, TV., theatrical performance, exhibitions, and leaflets of every project under FFC. The media aims at raising the awareness about child development, education reform, innovative classrooms, and disseminate the information through social media.
88
โครงการ Arts Space เราพบว่าคนไทยทัวไปไม่ ่ ใส่ใจสิง่ แวดล้อม ทีเ่ ป็ นงานศิลปะนอกจากงานศิลปะของวังและ วัด ดังภาพประวัตศิ าสตร์ทแ่ี สดงถึงความงดงามของกรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา และ กรุงเทพฯ รวมทัง้ วัดวาอารามต่าง ๆ แต่เมืองโดยรวม กลับเต็มไปด้วยสิง่ ก่อสร้างทีข่ าดความงามทางศิลปะ ผิดกับประเทศที่ เจริญแล้ว เราจึงจะเริม่ พัฒนาพืน้ ทีข่ องมูลนิธเิ ด็ก เริม่ ทีพ่ ทุ ธมณฑล สาย ๔ และโรงเรียน หมูบ่ า้ นเด็ก โดยวางพืน้ ทีใ่ ห้มคี วามเป็น Arts Space ด้วยความร่วมมือของ ๒ สถาปนิก ทีเ่ ป็นกรรมการ มูลนิธเิ ด็ก และคนท�ำงานในกลุม่ สือ่ รวมทัง้ ข้อเสนอแนะของประธานกรรมการ ทีเ่ สนอ “สวนสองสมเด็จฯ” กับ “หุบเขาแห่งอุดมคติ ” และ “งานประติ มากรรมการอ่าน” งาน Arts Space ได้เริม่ ไปบางส่วนแล้ว เช่น ตูค้ อนเทนเนอร์ “กล่องเรียนรู้แสนสนุก” และงานเกษตร การเลีย้ งไก่ เป็ นต้น และจะท�ำสวนผักให้เป็ นงานศิลปะไปด้วยในตัว พูดง่าย ๆ คือ เป็ นงานศิลปะทีเ่ ชื่อมกับงานการศึกษา งานพัฒนาเด็ก และงานผลิต การเกษตร จะท�ำให้พน้ื ทีข่ องมูลนิธมิ คี วามงาม ตามทีส่ ถาปนิกคุณสิน พงษ์หาญยุทธ จากบริษทั แปลน อาคิเต็ค จ�ำกัด และสถาปนิกคุณสิทธิชยั สุวรรณกุล ได้ออกแบบอาคาร ไว้ทพ่ี ทุ ธมณฑล สาย ๔ และหมูบ่ า้ นเด็ก แควใหญ่ กาญจนบุร ี
89
Arts Space It has been found that Thai people in general are not quite aware of the importance of the art works in their immediate surrounding. They tend to pay attention to art works in palaces and temples, i.e. the mural paintings showing the history of Sukhothai Kingdom, Ayutthaya Kingdom and Bangkok and found in different temples. But the atheistic of buildings in the cities in general leaves much to be desired when compared to more developed nations. We have thus developed arts space in the premises of our headquarters of the Foundation for Children (FFC.) located on Buddha Monthon 4 and at Moo Baan Dek. The arts space has been carefully planned and installed with cooperation from two architects who are members of the board of directors of the Foundation for Children (FFC.) and other people in media groups. One idea that came from the Chairperson and was materialized as the “Two Somdejs Park” and the “Valley of Idealism” plus the “Reading Sculpture”. Some Arts Spaces’ work has already begun with the container building made into the Fun Learning Boxes and farming, chicken raising, etc. Even vegetable growing can be a work of art. In other word, art shall permeate in education work, child development work, and agricultural work. The land of FFC. would be made beautiful according to the vision of Mr. Sin Ponghanyuth, architect from Plan Architect Co.,Ltd. and Mr. Sitthichai Suwankul, who helped design the building at Buddha Monthon 4 and at Moo Baan Dek by the Kwae Yai River, Kanchanaburi.
90
91
โครงงานร่วมกับสถาบันแห่งชาติ เพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล
Collaboration with Mahidol’s National Institute for Child and Family Development
The Foundation for Children (FFC.) has signed a MOU. with the National Institute for Child and Family Development, Mahidol University represented by Associate Professor SuriyadeoTripathi, MD. for a collaboration on developing child development scholarship and to train FFC’s personnel onvarious skills including how to disseminate knowledge, and tools useful for child ถ่ า ยทอดความรู้แ ละเครื่อ งมือ การสร้า ง rehabilitation and the enhancement ต้นทุนชีวติ และท�ำวิจยั ด้านเด็กร่วมกัน ให้ of child development. คนท� ำ งานมู ล นิ ธิเ ด็ก เข้า เรีย นหลัก สู ต ร ปริญญาโทส�ำหรับบุคคลภายนอก หลักสูตร People from FFC. would gain capacity พัฒนามนุษย์ กับ หลักสูตรจิตวิทยาเด็กและ building in terms of knowledge วัยรุ่น และให้มูลนิธเิ ด็กเป็ นทีฝ่ ึ กงานของ dissemination and tools for creating life นักศึกษาสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนา capital and to collaborate with the เด็กและครอบครัว และพัฒนางานศูนย์เรียน Institute on child research. On one hand, our personnel would be enrolled into a รูใ้ นชุมชนชนบทร่วมกัน post graduate program for outsiders on human development and child and teen psychology. On the other hand, FFC. would become a place of internships of students from the Institute, apart from another collaboration to develop a learning center in rural area. มูลนิธเิ ด็ก ได้ลงนามข้อตกลง (MOU.) กับ สถาบัน แห่ง ชาติเ พื่อ การพัฒ นาเด็ก และ ครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล โดยนาย แพทย์ สุรยิ เดว ทรีปาตี เพือ่ ท�ำงานวิชาการ การพัฒนาเด็ก และฝึกความช�ำนาญการให้ กับคนท�ำงานมูลนิธเิ ด็ก ในเรือ่ งต่าง ๆ เช่น การถ่ายทอดความรูแ้ ละเครื่องมือเพือ่ การ ฟื้ นฟูและส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้กบั คน ท�ำงานมูลนิธเิ ด็ก
92
เ
โครงการสลับผู้บริหารและคนท�ำงาน Swapping of administrative staff and other staffers
เพือ่ ให้ผบู้ ริหารและคนท�ำงาน ๓ โครงการ คือ โรงเรียนหมูบ่ า้ นเด็ก โรงเรียนอนุบาล หมูบ่ า้ นเด็กสานรัก และบ้านทานตะวัน มีความเข้าใจในแต่ละส่วนงานและมีความเข้าใจ เด็กในแต่ละวัย เพือ่ การส่งต่อเด็กของ ๓ โครงการ จากเด็กเล็กถึงเด็กอนุบาลและเด็ก ประถมต่อมัธยม จึงให้มกี ารสลับผูบ้ ริหารงานให้มาท�ำงานตลอดปี ในแต่ละโครงการเป็ นช่วง ๆ ละ ๑ เดือน หรือ ๒ เดือน และส�ำหรับครู ก็ให้มกี ารสลับกัน เพือ่ ให้เข้าใจการพัฒนาการเด็ก แต่ละช่วงวัย โดยเฉพาะระหว่างโรงเรียนอนุบาลฯ และห้องเรียนบ้านทานตะวัน นอกจากนัน้ ยังมีการสลับแม่ครัวระหว่างบ้านทานตะวันกับโรงเรียนอนุ บาลฯ เพื่อให้ เข้าใจการท�ำอาหารส�ำหรับเด็กแต่ละวัย ให้ถกู หลักโภชนาการ
To help administrative staff and other staffers of the three projects, Moo Baan Dek, Moo Baan Dek Sarnrak Kindergarten and Baan Tantawan learn and understand different components of work and development of children at different ages and for the sake of referrals of children among the three projects from preschool children and primary school students going on to secondary school, the administrative staff of the three institutes would be rotated year round, each time for one or two months. It is hoped that they can get to come to terms with development of children at different ages, particularly among Moo Baan Dek, Moo Baan Dek Sarnrak Kindergarten and Baan Tantawan. The swapping would involve cooks between Moo Baan Dek Sarnrak Kindergarten and Baan Tantawan so that the cooks learn how to cater to the nutritious needs of children at different ages.
93
การประชุมทีม ่ ีคุณภาพ
Quality meetings
ตัง้ แต่ตน้ ปี ๒๕๖๐ มูลนิธเิ ด็กได้มกี ารจัดการประชุม ๒ แบบ แบบหนึ่ง คือ การประชุม บริ หารจัดการ แบบที่ ๒ คือ การประชุมความรู้ เราพบว่า คนท�ำงานมูลนิธฯิ หลายคนตามงานการพัฒนาเด็กไม่ทนั ว่าเราก�ำลังท�ำอะไรกัน อยู่ ในเรือ่ งการศึกษา การพัฒนาเด็ก กับงานทีส่ ง่ ผลต่อการเปลีย่ นแปลงสังคม เพราะไม่ ได้ตดิ ตามอย่างใกล้ชดิ อีกทัง้ หลายคนไม่อา่ นหนังสือ ไม่ดรู ายการโทรทัศน์ “สะพานสายรุง้ ” ทีไ่ ด้สมั ภาษณ์คนในวงการศึกษา และการพัฒนาเด็ก เป็ นเหตุให้หลายคนตามงานของ องค์กรตัวเองไม่ทนั ทัง้ ปรัชญา ความรู้ และเทคนิค วิธกี ารคือ จัดให้มีการประชุมเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ โดยทุกคนต้องอ่านหนังสือ คนละ ๑ เล่ม ดูรายการทีวที เ่ี ราสร้าง และหนังทางการศึกษา แล้วมาอภิปรายแลกเปลีย่ น กัน เล่าถึงงานทีต่ วั เองท�ำว่าเกีย่ วข้องกับการพัฒนาการศึกษาและการพัฒนาเด็กอย่างไร การประชุมใช้เวลาครัง้ ละ ๑ ชัวโมงต่ ่ อสัปดาห์ กลุม่ ละประมาณ ๑๐ - ๑๕ คน วันจันทร์ถงึ ศุกร์ เวียนกลุม่ กันไป จะท�ำติดต่อ ๑ ปี โดยแต่ละคนจะได้รว่ มประชุมปีละ ๕๒ ครัง้ รวม ๕๒ ชัวโมง ่ ในขณะเดียวกัน การฝึกอบรมเฉพาะทางวิชาการและเทคนิค โดยผูเ้ ชีย่ วชาญ ข้างนอก และกับสถาบันทางวิชาการต่าง ๆ ก็ยงั ท�ำอยูโ่ ดยสถาบันวิชาการฯ ของมูลนิธเิ ด็ก การประชุมแบบนี้ เรียกว่า การประชุมความรู้ ในขณะการบริหารจัดการ ก็จะจัดประชุม แบบ การบริ หารจัดการ ทีผ่ า่ นมา คนท�ำงานมูลนิธเิ ด็ก ต่างมีความรูแ้ ละทัศนคติต่อเด็กไม่ตรงกัน เพราะขาดการ เรียนรูจ้ ากการอ่าน การฟงั การดูหนังและสารคดี นี่เป็ นการทดลองใหม่ ซึง่ คงจะเห็นผล ภายใน ๑ ปี
94
Since early 2017, the Foundation for Children (FFC.) has been conducting two types of meetings, one “management meeting” and another “knowledge meeting”. We have found several of our staffers have had a difficult catching up with knowledge pertaining to child development. They may get perplexed at what we are doing in terms of education, child development, and work that contributes to social transformation. It could be because they have not followed the trend closely enough and some simply do not read. They may not get to watch “SaphanSairung”, our TV. program which conducts interviews with people working on education and child development. As a result, the staffers might not even be aware of the work of their own organization in terms of philosophy, knowledge and technique. Therefore, a meeting aimed to engender understanding has been adopted. Basically, each participant is assigned to read one book, or watch our TV. program or a film about education beforehand, and then they get together to discuss the issues and to share the work they are involved including about education development and child development. The one-hour-meeting takes place once a week, and each group has about 10-15 participants. It can happen on any working day and the staffers would rotate to join different meeting groups year round. So each staffer has to attend at least 52 different meetings or 52 hours. Meanwhile, academic and technical skill training would be provided for them by experts from outside and from academic institutions which have been having collaboration with the Academic Institute of the Foundation for Children (FFC.). We call this “knowledge meeting” whereas the “management meeting” would deal with managerial issues. Until now, staffers at Foundation for Children (FFC.) may have different levels of understanding and different attitudes toward children due to a lack of knowledge from reading, listening, watching films and documentaries. We hope this new experiment will bear some fruit within one year.
95
การติ ดต่อสื่อสารกับมูลนิ ธิเด็กผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ติ ดต่อได้ที่ เฟสบุค๊ (Facebook), เว็บไซต์ (Website), อีเมล (E-mail) ดังนี้ เฟซบุค๊ (Facebook) ๑. มูลนิธเิ ด็ก ๒. มูลนิธเิ ด็ก โทรทัศน์ ๓. โรงเรียนหมูบ่ า้ นเด็ก มูลนิธเิ ด็ก ๔. โรงเรียนอนุบาลหมูบ่ า้ นเด็กสานรัก มูลนิธเิ ด็ก ๕. บ้านทานตะวัน มูลนิธเิ ด็ก ๖. หนังสือเด็กและเยาวชน มูลนิธเิ ด็ก ๗. ของช�ำร่วย มูลนิธเิ ด็ก ๘. มูลนิธเิ ด็ก ส�ำนักพิมพ์มลู นิธเิ ด็ก ๙. รายการสะพานสายรุง้ มูลนิธเิ ด็ก ๑๐. โครงการสรรพสาส์น ส�ำนักพิมพ์มลู นิธเิ ด็ก ๑๑. โครงการตูห้ นังสือในบ้านเด็ก มูลนิธเิ ด็ก ๑๒. สถาบันการ์ตนู ไทย มูลนิธเิ ด็ก ๑๓. ศาลาห้องสมุดพริง้ พวงแก้ว มูลนิธเิ ด็ก ๑๔. โครงการรถเข็นนิทาน มูลนิธเิ ด็ก เพือ่ หอผูป้ ว่ ยเด็กในโรงพยาบาล เว็บไซต์ (Website) ๑. มูลนิธเิ ด็ก www.ffc.or.th ๒. โรงเรียนหมูบ่ า้ นเด็ก www.moobaandek.ac.th, www.childrensvillagethailand.org ๓. ส�ำนักพิมพ์มลู นิธเิ ด็ก www.ffcbook.com ๔. โรงเรียนอนุบาลหมูบ่ า้ นเด็กสานรัก www.sarnrak.ac.th ๕. ของขวัญของช�ำร่วยมูลนิธเิ ด็ก www.shareforchild.com อีเมล (E-mail) ๑. มูลนิธเิ ด็ก children@ffc.or.th และ donation@ffc.or.th ๒. ส�ำนักพิมพ์มลู นิธเิ ด็ก product_ffc@hotmail.com และ ffcbook2525@gmail.com ๓. โรงเรียนหมูบ่ า้ นเด็ก mbd.ffc@ffc.or.th และ mbd.ffc@gmail.com ๔. โครงการรถเข็นนิทาน rodkennitan@gmail.com
96
การติ ดต่อสื่อสารกับมูลนิ ธิเด็กผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ ติ ดต่อได้ที่ ไลน์ กลุ่ม (Group Line) ดังนี้ ไลน์ กลุ่ม (Group Line) ๑. มูลนิธเิ ด็ก ๔. กลุม่ งานมอนเตสฯ ๗. อนุบาลสานรัก ๑๐. สะพานสายรุง้ ๑๓. กลุม่ สือ่ มูลนิธเิ ด็ก ๑๖. สังผั ่ กมูลนิธเิ ด็ก
๒. โฮมสคูล ม.เด็ก ๓. ห้องผูบ้ ริหาร ๕. ตูห้ นังสือ&รถเข็นฯ ๖. บ้านทานตะวัน ๘. สนพ.มูลนิธเิ ด็ก ๙. ห้อง อ.อุษณีย์ EC ๑๑. กก.บ้านทานตะวัน ๑๒. อาชีพ มด. ๑๔. กล่อง&ห้องแสนสนุก ๑๕. ห้องสมุดและหนัง มด. ๑๗. ผักธรรมชาติอาหารทะเล ๑๘. yoga.ffc
ทัง้ นี้ หากต้องการเข้าร่วมในกลุ่มไลน์ ของมูลนิ ธิเด็ก ติ ดต่อได้ที่ นางสาวชิ นาภา ชิ นานุรกั ษ์ โทร.081-564-4778 หรือ LINE ID : rainy8288 นางสาวพรรณวดี อุ่นจิ ตต์ โทร. / LINE ID 081-694-4091 ติ ดต่อมูลนิ ธิเด็กทุกโครงการผ่านทาง LINE ID : @ffcthailand
97
Contact information : Foundation for Children (FFC.) via social media including Facebook, website and email as follows; Facebook
1. Foundation for Children (FFC.) 2. Foundation for Children (FFC.) TV. 3. Moo Baan Dek Foundation for Children (FFC.) 4. Moo Baan Dek Sarnrak Kindergarten, Foundation for Children (FFC.) 5. Baan Tantawan, Foundation for Children (FFC.) 6. Children and youth publications, Foundation for Children (FFC.) 7. Gifts and souvenirsFoundation for Children (FFC.) 8. FFC. Publishing House, Foundation for Children (FFC.) 9. SaphanSairung (rainbow bridge), Foundation for Children (FFC.) 10. Sanphasan, Foundation for Children (FFC.) 11. Bookshelves in children’s house, Foundation for Children (FFC.) 12. Thai Cartoon Institute, Foundation for Children (FFC.) 13. Pringpraungkaew Library Pavilions, Foundation for Children (FFC.)
Websites
1. Foundation for Children (FFC.) www.ffc.or.th 2. Moo Baan Dek, www.moobaandek.ac.th, www.childrensvillagethailand.org 3. FFC. Publishing House www.ffcbook.com 4. Moo Baan Dek Sarnrak Kindergarten www.sarnrak.ac.th 5. Gifts and souvenirs, Foundation for Children (FFC.) www.shareforchild.com
E-mails
1. Foundation for Children (FFC.) children@ffc.or.th and donation@ffc.or.th 2. FFC. Publishing House product_ffc@hotmail.com and ffcbook2525@gmail.com 3. Moo Baan Dek mbd.ffc@ffc.or.th and mbd.ffc@gmail.com 4. Trolleys of Children’s Stories rodkennitan@gmail.com
98
Communication with the Foundation for Children (FFC.) can be made through social media including Line groups as follows; FFC.’s Line groups
1. Foundation for Children 2. FFC. Homeschool 3. Admin staffers group 4. Montessori group 5. Bookshelves and book trolleys group 6. Baan Tantawan group 7. San Rak Kindergarten group 8. FFC. Publishing House group 9. Ussanee EC group 10. SaphanSairung group 11. Board of directors of Baan Tantawan group 12. MBD’s vocational group 13. FFC. Media group 14. Fun boxes group 15. Library & Movie FFC. 16. Vegetable delivery group 17. Natural vegetables and seafoods 18. FFC. Yoga group If you want to join any FFC.’s Line group, please contact; Ms. Chinapa Chinanurak Phone 081-564-4778 or LINE ID : rainy8288 Ms. Panwadee Unjit Phone / LINE ID : 081-694-4091 Or contact all projects under the Foundation for Children (FFC.) through LINE ID @ffcthailand
99
100
101
102
103
คณะกรรมการมูลนิธิเด็ก ผู้ร่วมก่อตั้งมูลนิธิเด็ก : ศ.นพ.เสม พริ้งพวงแก้ว ประธานกรรมการ : ศ. (เกียรติคุณ) นพ.ประเวศ วะสี รองประธานกรรมการ : นพ.วิชัย โชควิวัฒน กรรมการและผู้จัดการ : รศ.ดร.ประกอบ คุปรัตน์ กรรมการและเหรัญญิก : นายสมเกียรติ อภิญญาชน กรรมการและประธานกรรมการบริหาร : นายโสภณ สุภาพงษ์ กรรมการ : ดร.นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ ดร.ประภาพรรณ จูเจริญ นายสกุล บุณยทัต นายสิทธิชัย สุวรรณกุล นายสิน พงษ์หาญยุทธ กรรมการเเละเลขานุการ : นายพิภพ ธงไชย กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ : นางทศสิริ พูลนวล เลขาธิการ : นายพิภพ ธงไชย
Board of Directors of Foundation of Children Co-founder of the Foundation for Children, : Prof. Sem Pringpruangkaew, M.D. President : Prof. Emeritus Prawase Wasi Vice President : Dr. Vichai Chokwiwat, M.D. Manager : Assoc. Prof. Dr. Pracob Cooparat Treasurer : Mr. Somkiat Apinyachon Executive President : Mr. Sophon Supapong Director : Dr. Komatra Chuengsatiansup, M.D. Director : Dr. Prapapun Chucharoen Director : Mr. Sakul Bunyatat Director : Mr. Sittichai Suwannakul Director : Mr. Sin Ponghanyut Secretary General : Mr. Pibhop Dhongchai Assistant Secretary : Mrs. Todsiri Poolnuan Executive Secretary : Mr. Pibhop Dhongchai
104
39 years of the Foundation for Children (FFC.)
พัฒนาการ ๓๙ ปี มูลนิธิเด็ก
105
39 years of the Foundation for Children (FFC.)
พัฒนาการ ๓๙ ปี มูลนิธิเด็ก ๓๙ ปี มูลนิธิเด็ก จัดพิมพ์ครั้งที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ พิภพ ธงไชย บรรณาธิการและผู้เขียน พรรณวดี อุ่นจิตต์ กองบรรณาธิการ อัฐ เปียงน้อย จัดรูปเล่ม 39 years of the Foundation for Children (FFC.) 3rd Published November 2017 Pibhop Dhongchai Editor and Writer Panwadee Unjit Editorial Aut Piangnoi Layout Designs
เลขที่ ๙๕/๒๔ หมู่ ๖ ซ.กระทุม่ ล้ม ๑๘ (ซอยเกียรติรว่ มมิตร) ถ.พุทธมณฑลสาย ๔ ต.กระทุม่ ล้ม อ.สามพราน จ.นครปฐม ๗๓๒๒๐
95/24 Moo 6, Soi Kratumlom 18, (Soi KiatRuammitra) Buddhamonthon 4 Rd., Kratumlom, Samphran, Nakonpathom 73220
106
บริจาคผ่านทาง