สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
1
2
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
1
สารบัญ หน้า
๔ ๒๐ ๓๒ ๔๘ ๕๒ ๕๘ ๖๒ ๖๔ ๖๖ ๗๔ ๗๖ ๘๖ ๘๖ ๙๔ ๙๘
2
งานพัฒนาเด็ก
• • • • • • • • • •
บ้านทานตะวัน โรงเรียนอนุบาลหมู่บ้านเด็กสานรัก มูลนิธิเด็ก โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก โครงการพัฒนาครอบครัวคิดดี (KIDS DEE) ห้องวัดแววและส่งเสริมเด็กตามความถนัด (Exploring Center) โยคะเพื่อสุขภาพ กล่องเรียนรู้แสนสนุก ห้องศิลปหัตถกรรม ห้องมัดย้อมและทอผ้า ห้องงานไม้ งานด้านจิตวิทยา และงานด้านพัฒนาการเด็ก โครงการปฎิรูปการศึกษาเพื่อเด็กและชุมชน โครงการอาหารเพลเพื่อสามเณรในชนบท โครงการอาหารกลางวันเพื่อเด็กในชนบท โครงการอุปการะเด็กและทุนการศึกษาเพื่อเด็กยากไร้ในชนบท
-
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
หน้า
งานพัฒนาการอ่าน
งานศิลปะ
๑๐๒ ๑๑๒ ๑๒๐ ๑๒๔ ๑๒๘
๑๓๐ ๑๔๐
• • • • •
โครงการศาลาห้องสมุดพริ้งพวงแก้ว โครงการตู้หนังสือในบ้านเด็ก มูลนิธิเด็ก โครงการรถเข็นนิทาน มูลนิธิเด็ก ส�ำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก แผนกหนังสือเด็ก ส�ำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก โครงการสรรพสาส์น
• โครงการ Arts Space : พื้นที่ศิลปะเพื่อการเรียนรู้ • ส�ำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก แผนกผลิตภัณฑ์พิเศษ งานทั่วไป
• • • • •
๑๕๒ งานฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพบุคลากร งานเว็บไซต์มูลนิธิเด็ก www.ffc.or.th ๑๕๖ งานจัดเก็บฐานข้อมูลสื่อ ๑๕๘ สื่อสร้างสรรค์สังคมอุดมสุข ๑๖๒ ห้องเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ “เกษตรธรรมชาติแบบผสมผสาน” ๑๖๖
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
3
โครงการบ้านทานตะวัน บ้านที่สอง ของเด็กเล็กด้อยโอกาส ปั จ จุ บั น บ้ า นทานตะวั น ได้ พั ฒ นาการท� ำ งานบ้ า นพั ก ฟื ้ น ให้พร้อมส�ำหรับการดูแลทารกและเด็กเล็กจนถึงอายุ ๓ ปีครึง่ โดยเน้นพัฒนาเด็กตามแนวทางแบบมอนเตสเซอรี่ หลักสูตร การพัฒนาเด็กปฐมวัย การพัฒนาสมอง การนวดกระตุ้น กล้ามเนื้อ การโอบกอด และงานโภชนาการ เพื่อให้เด็กได้มี พัฒนาการที่สมวัยทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ ความคิด และศักยภาพเชิงสังคม มีการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อ การพัฒนาเด็ก โดยมีผู้ดูแลเด็กด้วยความรัก ความอบอุ่น และเข้าใจพัฒนาการตามวัย
4
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
5
เด็กพักฟื้ นในบ้านทานตะวัน มีการหมุนเวียน จ�ำนวน ๖๑ ราย ดังนี้ สาเหตุ ขาดสารอาหาร ทารุณกรรม ถูกทอดทิง้ พัฒนาการล่าช้า ครอบครัวยากจน แม่ใช้สารเสพติดขณะตัง้ ครรภ์ สภาพแวดล้อมใช้ความรุนแรง แม่เลีย้ งเดีย่ ว รวม
6
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
เพศ ชาย ๑ ๑ ๑ ๒ ๓ ๓ ๑๔ ๑๓ ๓๘
หญิ ง ๑ ๑ ๔ ๘ ๙ ๒๓
รวม
ร้อยละ
๒ ๒ ๑ ๒ ๗ ๓ ๒๒ ๒๒ ๖๑
๓.๒๘ % ๓.๒๘ % ๑.๖๔% ๓.๒๘% ๑๑.๔๘% ๔.๙๒% ๓๖.๐๖% ๓๖.๐๖% ๑๐๐%
งานประเมินภาวะโภชนาการเด็ก จ�ำนวน ๖๑ คน ตารางน�้ำหนักตัว น�้ำหนักแรกรับ
น�้ำหนักหลังรับ
ปกติ ค่อนข้าง น้อยกว่า ค่อนข้าง น�้ำหนัก ปกติ ค่อนข้าง น้อยกว่า ค่อนข้าง น�้ำหนัก ๓๐
น้อย
เกณฑ์
มาก
เกิน เกณฑ์
๒๑
๘
๒
-
๕๖
น้อย
เกณฑ์
มาก
เกิน เกณฑ์
๑
๓
-
๑
ตารางส่วนสูง ส่วนสูงแรกรับ
ส่วนสูงหลังรับ
ปกติ
เตีย้ ค่อนข้าง ค่อนข้าง สูงกว่า ปกติ เตีย้ สูง เกณฑ์
เตีย้ ค่อนข้าง ค่อนข้าง สูงกว่า เตีย้ สูง เกณฑ์
๕๔
๕
๕
๑
๑
-
๕๔
๑
๑
-
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
๑. จัดอาหารให้ครบ ๕ หมู่ เน้นอาหารเพิ่มน�้ำหนักเด็ก ที่มีน�้ำหนักค่อนข้างน้อย ๒. เด็ ก ที่ มี ป ั ญ หาน�้ ำ หนั ก ที่ เ กิ ด จากโรคประจ� ำ ตั ว จะพา ไปพบแพทย์ เพื่อขอค�ำปรึกษาในการดูแลเรื่องอาหาร และรักษาอาการป่วยควบคู่ไปด้วยกัน ๓. การนวดสั ม ผั ส รั ก เพื่ อ เป็ น การกระตุ ้ น ให้ เ กิ ด การ ยืดหยุ่นของร่างกายมากขึ้น ๔. เด็กที่เดินได้จะพาเดินออกก�ำลังกายทุกเช้า เพื่อให้เด็ก ได้ใช้พลังงานมากขึน้ ท�ำให้รบั ประทานอาหารได้มากขึน้ ๕. เสริมนมที่มีคุณค่าทางอาหารที่เหมาะกับเด็กน�้ำหนัก น้ อ ย ให้ กั บ เด็ ก เล็ ก ที่ ยั ง รั บ ประทานอาหารไม่ ไ ด้ สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
7
งานด้านสุขภาพ
• ตรวจสุขภาพเบื้องต้นให้กับเด็กแรกรับ ผลการตรวจส่วนใหญ่เด็กมีภาวะซีด จากการขาดสารอาหาร • เด็กพัฒนาการล่าช้า จ�ำนวน ๔ คน พาพบแพทย์เฉพาะทางด้านกระดูก และพัฒนาการ • มีเด็กเจ็บป่วยตามฤดูกาล เช่น ไข้หวัดช่วงอากาศเปลี่ยน และมีโรคติดต่อ ที่ต้องเฝ้าระวัง เช่น ไข้หวัดใหญ่ ปอดอักเสบ หูน�้ำหนวก • มีเด็กป่วยเป็นโรคธาลัสซีเมีย ระดับความรุนแรง จ�ำนวน ๑ คน พาไปพบแพทย์ ตามนัดและให้เลือด เดือนละ ๑ ครั้ง • เด็กมีเกิดอุบัติเหตุ เช่น วิ่งหกล้มหน้าผากแตก พาไปรักษาที่โรงพยาบาล ราชพิพัฒน์ • มีการชั่งน�้ำหนัก วัดส่วนสูง ประเมินภาวะโภชนาการ เดือนละ ๑ ครั้ง • พาเด็กรับการฉีดวัคซีน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลกระทุ่มล้ม เดือนละ ๑ ครั้ง • นวดสัมผัสกระตุน้ พัฒนาการกล้ามเนือ้ มัดใหญ่ - มัดเล็ก เด็กอายุแรกเกิด - ๑.๖ ปี วันละ ๑ ครั้ง • เด็กทีป่ ว่ ยได้รบั การตรวจรักษาจาก นพ.เกษม กอร์ปศรีเศรษฐ์ แพทย์อาสาสมัคร ตรวจรักษาโรค เดือนละ ๔ ครั้ง
โดยส่วนใหญ่เด็กจะป่วยด้วยโรคติดเชื้อทางเดิน หายใจ เช่น หวัด ไข้หวัด หลอดลมอักเสบ ปอดติด เชื้อ หูน�้ำหนวก เป็นต้น หรือโรคติดเชื้อทางระบบ ทางเดินอาหาร เช่น ท้องเสีย ไวรัสลงกระเพาะ ล�ำไส้อักเสบ เป็นต้น มีโรคติดเชื้อที่ผิวหนัง เช่น ผื่น แผลพุพอง ผื่นแพ้ และมีเด็กติดเชื้อหูดข้าวสุกที่ผิวหนัง ซึ่งได้รับการ รักษาจากแพทย์เฉพาะ สถาบันโรคผิวหนัง
8
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
งานด้านพัฒนาการ มีการประเมินพัฒนาการเด็ก จาก แพทย์หญิงแก้วตา นพมณีจ�ำรัสเลิศ และคลินิก เด็กและวัยรุน่ สถาบันแห่งชาติเพือ่ การพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่ อ คั ด กรองพั ฒ นาการเด็ ก บ้ า นทานตะวั น โดยใช้ เ ครื่ อ งมื อ Denver II ได้ผล ดังนี้
พัฒนาการ
ปกติ ล่าช้า ไม่ทำ� กิจกรรม (จ�ำนวนคน) (จ�ำนวนคน) (จ�ำนวนคน) สังคมและการช่วยเหลือตนเอง ๒๕ ๒ ๓ กล้ามเนื้อมัดเล็ก และ ๒๑ ๖ ๓ การปรับตัว ภาษา ๑๙ ๘ ๓ พบว่า เด็กมีที่สงสัยมีภาวะออทิสติก จ�ำนวน ๑ คน และมีเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าใช้ด้านต่าง ๆ จ�ำนวน ๔ คน ทั้งนี้ จึงได้ให้ครูท�ำกิจกรรมกระตุ้นพัฒนาการอย่าง ต่อเนื่อง โดยเฉพาะด้านภาษาที่พบว่าเด็กบ้านทานตะวันมี ความล่าช้ามากเป็นพิเศษ ครูจึงได้จัดกิจกรรมเพื่อเสริม พัฒนาการ เช่น การใช้บัตรค�ำ การพูดคุยกับเด็ก และการ เล่านิทาน เป็นต้น เด็กที่พัฒนาการล่าช้ารอบด้าน ได้พาไปกระตุ้น พัฒนาการที่คลินิกเด็กและวัยรุ่น สถาบันแห่งชาติเพื่อการ พัฒนาเด็กและครอบครัว โดยเริ่มจากการให้เด็กได้รู้จัก สังคมให้มากขึ้น เน้นการเล่นสนุกกับคนอื่น ๆ เพื่อกระตุ้น ให้เด็กได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้างและสอดแทรก ทักษะในกระบวนการเล่นปัจจุบนั เด็กมีพฒ ั นาการด้านสังคม ที่ดีขึ้น รู้จักเล่นกับคนอื่น สามารถแก้ปัญหาง่ายได้ดีขึ้น สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
9
กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการตามวัย จัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับเด็กแบบบูรณาการกับกิจกรรมต่าง ๆ ผ่านห้องเรียน มอนเตสเซอรี่และสร้างประสบการณ์การเรียนรู้นอกสถานที่ให้เด็กได้เรียนรู้จาก ของจริง เพราะเด็กในช่วงอายุตั้งแต่แรกเกิด ถึง ๔ ปี ต้องการการพัฒนาด้าน ร่างกาย สติปัญญา ภาษา อารมณ์ และสังคมให้เหมาะสมตามวัย โดยยึดหลัก แผนการส่งเสริมพัฒนาการของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข และหลักสูตร ปฐมวัย
โดยการแบ่งเด็กออกเป็ น ๒ กลุ่ม ดังนี้
• กลุ่มเด็กเล็ก อายุตั้งแต่
๐ - ๑ ปี
จัดกิจกรรมเสริมพัฒนาการ เช่น การนวด การฝึกเดินทางต่างระดับและทาง ลาดชัน การท�ำกิจกรรมเสริมกล้ามเนื้อมัดเล็ก ให้สัมพันธ์ระหว่างตา มือ เช่น การต่อก้อนไม้ แป้งโดว์ ขีดเขียนสีเทียนแท่งใหญ่ การฝึกฟังและฝึกพูดโดยใช้ หนังสือนิทานกับเด็กแบบตัวต่อตัว นอกจากนี้เน้นการให้ความรักดูแลเอาใจใส่ ใกล้ชิด โดยมีจ�ำนวนผู้ใหญ่ต่อเด็ก ๓ - ๔ คน เป็นต้น
ด้านร่างกาย
พบว่า มีเด็กพัฒนาการด้านร่างกายกล้ามเนื้อมัดใหญ่ไม่แข็งแรง ช้า ๑ คน และ ได้ท�ำด�ำเนินการตรวจรักษาที่โรงพยาบาลนครปฐม เด็กส่วนใหญ่จะมีพัฒนาการ ด้านร่างกายที่ปกติสมวัย เด็กสามารถเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระ ทั้งนี้บ้านทานตะวันได้ จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของเด็ก
ด้านภาษาและสติปัญญา รู้จักสื่อสารภาษาได้มากขึ้นโดยการออกเสียงดัง แต่ยังไม่มีความหมายเพื่อให้ พีเ่ ลีย้ งได้หนั มามอง รูจ้ กั เลียนแบบท่าทางต่าง ๆ เช่นการ กวาดบ้าน การเลีย้ งน้อง เป็นต้น เด็ก ๆ สามารถปรบมือ ยกมือไหว้ เปิดหนังสือ เล่นลูกบอลกลิ้งไปมา หาของเล่นใต้โต๊ะได้
10
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สังคมอารมณ์ เด็กร่าเริงแจ่มใสจะหันมายิ้มให้ แม้บางคนไม่สบายเมื่อได้ยินเสียงเรียกชื่อก็ดีใจ ลุกขึ้นจากเตียงเกาะยืนให้มองเห็นหน้ากัน เด็กในกลุ่มนี้บางคนยังต้องช่วยป้อน ข้าวและบางคนเริ่มฝึกรับประทานอาหารเองแล้ว ยังต้องช่วยดูแลการขับถ่าย เด็ก ๆ สามารถเข้ากับผู้อื่นได้ดี
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
11
• กลุ่มเด็กโต อายุตั้งแต่ ๑.๖ - ๓.๕ ปี
จั ด กิ จ กรรมแบบห้ อ งเรี ย นรู ้ ม อนเตสซอรี่ โดยแบ่ ง ออกเป็ น ๒ กลุ ่ ม ย่ อ ย แบบคละวัย เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสเรียนรู้กัน เช่น พี่จะได้รู้จักดูแลน้อง และน้อง ได้เรียนรู้การเลียนแบบพี่ เป็นต้น ด้านร่างกาย การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและมัดใหญ่สัมพันธ์กันดีกับสายตาในการเคลื่อนไหว ตามที่เด็กต้องการ เช่น การเดิน วิ่ง กระโดด ปีน หยิบ จับ ดึง ลาก เป็นต้น สติปัญญา เด็กรูจ้ กั ชือ่ เล่นของตนเอง แต่ชอื่ จริง-นามสกุลจะบอกได้ในบางคน เด็กร้องเพลง ท่องค�ำคล้องจองตามตัวอย่างได้ บอกชื่อสัตว์ได้อย่างน้อย ๓ ชนิด ต่อบล็อก ได้สูง ๔ - ๖ ชิ้น จับคู่สีที่เหมือนกันได้อย่างน้อย ๒ สี ท�ำตามค�ำสั่งได้ ๒ ขั้นตอน สามารถบอกชื่อพี่เลี้ยงและพนักงานภายในบ้านได้ถูกต้อง สังคมและอารมณ์ เด็กมีสมาธิมากขึ้นในการท�ำกิจกรรมประจ�ำวัน มีการช่วยเหลือตนเองได้นาน และมีขั้นตอนมากขึ้น รวมทั้งช่วยงานบ้านพร้อมกับพี่เลี้ยง เช่น เก็บหมอน เก็บผ้าเช็ดตัว เอาเสื้อผ้าที่ใช้แล้วใส่ตะกร้า ช่วยหยิบกล่องแก้วน�้ำของเด็กไปวาง บนโต๊ะอาหาร ใช้ช้อนตักอาหารกินเองได้แต่ยังมีหกบ้าง กินอาหารได้ดีทั้งผัก ผลไม้ นม รูจ้ กั บอกความต้องการของตนเอง เช่น ขอน�ำ้ หรือข้าวอีก ปวดท้องเข้า ห้องน�ำ้ เป็นต้น
12
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
กิจกรรมภายใน
• กิจกรรมหนังสือ-นิทานสื่อรัก
เด็กมีความสนใจหนังสือนิทานมาก มักจะเลือกอ่านหนังสือนิทานก่อนกิจกรรม อืน่ ๆ และมีสมาธิได้นานเมือ่ อยูก่ บั หนังสือ ครูและพีเ่ ลีย้ งจะใช้นทิ านสอดแทรก การสอนเด็กให้เด็กรู้จักสิ่งของ หรือสีต่าง ๆ ที่เพิ่มเติมไปจากเนื้อหาในนิทาน
• กิจกรรมแปลงเกษตร
ท�ำให้เด็กรู้จักอุปกรณ์การท�ำเกษตร และสามารถใช้อุปกรณ์ได้อย่างถูกวิธี เช่น จอบไว้ขุดดิน ฝักบัวไว้ใช้รดน�้ำต้นไม้ เป็นต้น สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
13
กิจกรรมภายนอก
• ทัศนศึกษาที่พิพิธภัณฑ์เด็ก
เด็กได้เห็น ได้สมั ผัส และได้ยนิ เสียงไดโนเสาร์จำ� ลอง ได้เข้าแบบจ�ำลองอาชีพ เช่น อาชีพท�ำสวน แม่คา้ นักบิน เป็ นต้น • พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศ เด็กได้รจู้ กั เครือ่ งบิน ได้เห็นของจริง ได้พบเจอกับผูค้ นหลากหลาย ท�ำให้เด็ก ไม่กลัวคนแปลกหน้า ไม่กลัวทีจ่ ะปรับเปลีย่ นสภาพแวดล้อมใหม่ ๆ และท�ำให้ เด็กกล้าแสดงออก • ท�ำบุญวัดไร่ขิงและเดินตลาด เด็กได้เรียนรู้วฒ ั นธรรมไทย รู้จกั การกราบพระ รู้จกั แยกพระพุทธรูปและ พระสงฆ์ รูจ้ กั การแบ่งปนั เด็กได้หดั ใช้เงินซือ้ ของทีต่ ลาด • เที่ยวทะเลหัวหิ น จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ เด็กได้เรียนรูก้ ารท�ำกิจกรรมร่วมกับ เพือ่ น ได้เรียนรูเ้ รือ่ งสัตว์ทะเลและช่วยกันเก็บขยะเป็ นการสอนให้เด็กอนุรกั ษ์ สิง่ แวดล้อม และเรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ ของคนในท้องถิน่
14
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
งานสังคมสงเคราะห์ งานจัดกิ จกรรมผูป้ กครองเด็กแบ่งเป็ น ๒ กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ ๑ กิจกรรมผู้ปกครองเด็กในบ้านพักฟื้น
• อบรมเรือ่ งการเก็บออม มีผเู้ ข้าร่วม จ�ำนวน ๔๔ คน • อบรมการท�ำรายรับรายจ่าย มีผเู้ ข้าร่วม จ�ำนวน ๒๑ คน • กิจกรรมสร้างสัมพันธ์กบั ลูก (เทีย่ วทะเลหัวหิน จ.ประจวบคีรขี นั ธ์) มีผเู้ ข้าร่วม จ�ำนวน ๑๐ คน ั อ่ งเศรษฐกิจครัวเรือน • อบรมให้ความรูเ้ ฉพาะกลุม่ ทีม่ ปี ญหาเรื มีผเู้ ข้าร่วม จ�ำนวน ๓๐ คน • จัดกิจกรรมให้ผปู้ กครองสร้างความสัมพันธ์กบั เด็กทีบ่ า้ นทานตะวัน มีผเู้ ข้าร่วม จ�ำนวน ๒๒ คน
ผลที่ได้จากกิ จกรรม • ผู้ปกครองเข้าใจและมีการเปิ ดบัญชีเงินฝากให้ลูกโดยฝากอย่างสม�่ำเสมอ จ�ำนวน ๑๔ ราย • ผูป้ กครองเด็กมาเยีย่ มลูกทุกอาทิตย์ จ�ำนวน ๑๒ ราย
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
15
กลุ่มที่ ๒ กิจกรรมผู้ปกครองเด็กรับนม จ�ำนวน ๖ ครั้ง
• แนะน�ำการดูแลเด็กปว่ ย เวลามีไข้ มีผเู้ ข้าร่วม ๒๙ คน • อบรมการให้อาหารเสริมเด็ก ๖ เดือน - ๓ ปี รวม ๒ ครัง้ มีผเู้ ข้าร่วม ๒๘ คน • อบรมเรือ่ งหนังสือเล่มแรกของลูก BOOK START รวม ๒ ครัง้ มีผเู้ ข้าร่วม ๓๒ คน • ท�ำแบบประเมินพลังสุขภาพจิต RQ ฉบับ ๒๐ ข้อ มีผเู้ ข้าร่วม ๒๐ คน ผลที่ได้จากกิ จกรรม • จากการอบรมให้คำ� แนะน�ำอย่างต่อเนื่อง ผูป้ กครองสามารถน�ำความรูไ้ ปใช้ ดูแลลูกได้ เช่น ปฐมพยาบาลลูกเมื่อป่วยเบื้องต้นได้อย่างถูกวิธี โดยการ ประเมินแบบสุ่มถามจากผูป้ กครองทีเ่ คยเข้าร่วมอบรม และเวลานักสังคมฯ ลงเยีย่ มบ้าน จากการสังเกตการปฏิบตั กิ บั ลูก • จากการอบรมจะเห็นว่าผูป้ กครองให้ความสนใจการเล่นนิทานให้ลกู ฟงั โดย หลังจากอบรมนักสังคมฯ ลงเยีย่ มบ้าน และให้แม่เด็กลองเล่านิทานให้ลกู ฟงั และสังเกตเห็นว่าแม่เด็กมีความช�ำนาญในการเล่านิทานให้ลูกฟ งั มากขึ้น กว่าตอนทีม่ าอบรม
งานติ ดตามเยี่ยมครอบครัว รวม ๑๘๙ ครัง้ มีรายละเอียด ดังนี้
• เยีย่ มบ้านประเมินรับความช่วยเหลือเข้าพักฟื้น รวม ๕๘ ครัง้ • เยีย่ มบ้านประเมินสงเคราะห์นมผง รวม ๔๐ ครัง้ • เยีย่ มบ้านแนะน�ำการประกอบอาชีพ รวม ๑๐ ครัง้ • เยีย่ มบ้านเพือ่ วางแผนครอบครัว รวม ๒๙ ครัง้ • เยีย่ มบ้านเพือ่ พิจารณายุตคิ วามช่วยเหลือนมผง รวม ๑๒ ครัง้ • เยีย่ มบ้านเพือ่ พิจารณายุตคิ วามช่วยเหลือเด็กพักฟื้น รวม ๑๔ ครัง้ • เยีย่ มบ้านติดตามความก้าวหน้าการเก็บออม รวม ๑๐ ครัง้ • เยีย่ มบ้านเพือ่ ติดตามโครงการ Book Start รวม ๑๔ ครัง้ • เยีย่ มบ้านเพือ่ ติดตามเอกสาร รวม ๒ ครัง้ งานสงเคราะห์นมผง ช่วยเหลือเด็กและทารก
แบ่งเป็ น กรุงเทพฯ จ�ำนวน ๒๖๔ ราย และต่างจังหวัด จ�ำนวน ๒๔๘ ราย รวม ๕๑๒ ราย
16
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
งานสงเคราะห์นมกล่อง (ยู.เอช.ที)
แบ่ ง เป็ น กรุ ง เทพฯ จ�ำ นวน ๑๐๔ ราย และต่ า งจัง หวัด จ�ำ นวน ๑๒ ราย รวม ๑๑๖ ราย
งานสงเคราะห์ครอบครัว ประเภทข้าวสารอาหารแห้งและเครื่อง อุปโภค
แบ่ ง เป็ น กรุง เทพฯ จ�ำ นวน ๒๘๑ ราย และต่ า งจัง หวัด จ� ำ นวน ๘๒ ราย รวม ๓๖๓ ราย
กิ จกรรมระดมทุน
• บริษทั อัมรินทร์ พริน้ ติง้ แอนด์ พับลิชชิง่ จ�ำกัด (มหาชน) จัดวิง่ การกุศล Amarin Run For Kids. มอบเงินบริจาค จ�ำนวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท • กองทุนวิจติ รพงศ์พนั มอบเงินบริจาค จ�ำนวน ๕๐๐,๐๐๐ บาท สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
17
งานพัฒนาบุคลากร
• ประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารทีมวิทยากรนักส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย • อบรมการส่งเสริมพัฒนาการเด็กล่าช้า จัดโดย สถาบันแห่งชาติเพือ่ การพัฒนา เด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล • อบรมเชิงปฏิบตั กิ ารเสริมสร้างทักษะสมองเด็กในยุค ๔.๐ ด้วย EF จัดโดย สถาบันแห่งชาติเพือ่ การพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล • อบรมการศึกษาเพือ่ สร้างความเป็นพลเมือง (Civic Education)
18
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
งานปรับปรุงอาคารสถานที่ ปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายในอาคารบ้านทานตะวัน ดังนี้ • ขยายพืน้ ทีใ่ นห้องครัว • กัน้ ห้องดูแลเด็กข้างล่างให้มหี น้าต่างและประตูปิด - เปิด • ขยายพืน้ ทีช่ นั ้ สองทีเ่ ป็นห้องเก็บของเก่าให้เป็นระเบียงซักล้าง ห้องน�้ำ และห้องอาบน�้ำส�ำหรับพีเ่ ลีย้ ง • ปรับปรุงห้องน�้ำเด็กชัน้ สอง
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
19
โรงเรียนอนุบาล หมู่บ้านเด็กสานรัก มูลนิธิเด็ก การจัดการเรียนการสอนแบบ มอนเตสซอรี่ จะต้ อ งพั ฒ นาการสอนให้ สั ม พั น ธ์ กั บ พั ฒ นาการความ ต้องการตามธรรมชาติของเด็กผ่านการฝึกประสาทสัมผัส และการเคลือ่ นไหวโดยมีครูเป็นผูจ้ ดั เตรียมสิง่ แวดล้อมและ เครื่องมืออุปกรณ์ไว้อย่างเป็นระบบ จากสิ่งแวดล้อมที่จัด เอาไว้ให้นี้เองเป็นตัวที่ท�ำให้เด็กมีอิสระ การที่เด็กได้เรียน รู้อย่างอิสระ จะท�ำให้เด็กได้ในสิ่งที่ต้องการจากการค้นหา การเรียนรู้ ได้รับเสรีภาพในขอบเขตที่จ�ำกัด และจะท�ำให้ เด็กได้รับผลส�ำเร็จตามความต้องการของเขาเอง ให้เด็กได้ ลงมือท�ำด้วยตนเองจากอุปกรณ์ที่ง่ายไปสู่อุปกรณ์ที่ยาก เป็นไปตามพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็กและครูจะเป็นผู้ สาธิตอุปกรณ์ให้แก่เด็ก มอนเตสซอรี่ เน้นว่า “มือคือครูที่ ส�ำคัญของเด็ก” การประเมินผลระบบมอนเตสซอรี่จะใช้การสังเกต ความ สามารถในการท�ำกิจ กรรม ของเด็ก ในแต่ละกลุ่มวิชา การใช้อุปกรณ์การเรียนในแต่ละชิ้น
20
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
ระดับชั้นอนุบาล จะพัฒนาเด็กเป็นรายบุคคลจะดูตามพัฒนาการของเด็กเป็นหลักจัดการเรียนการ สอนในแต่ละห้องแบบคละอายุมีเด็ก รวม ๔๗ คน ดังนี้ ห้องเรียนที่ ๑ เตรียมอนุบาล อายุตั้งแต่ ๓ - ๔ ปี (ชาย ๑๐ คน หญิง ๑ คน) จ�ำนวน ๑๑ คน เน้นการเตรียมความพร้อมทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม และ ทักษะการดูแลกิจส่วนตน โดยจัดการเรียนการสอนแบ่งออกเป็น ๓ กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการตามวัย จ�ำนวน ๕ คน และเด็กที่มีปัญหาพูดไม่ชัด จ�ำนวน ๓ คน กลุ่มที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการช้าทางด้านการพูดและการเคลื่อนไหว จ�ำนวน ๒ คน กลุ่มที่ ๓ เด็กพิเศษ จ�ำนวน ๑ คน ห้องเรียนที่ ๒ - ๓ อายุตั้งแต่ ๔ - ๖ ปี จ�ำนวน ๑๒ คนเด็กในห้องเรียนนี้เทียบ ตามระดับชั้นคือ อนุบาล ๒ และอนุบาล ๓ เน้นการเตรียมความพร้อมในทุก ๆ ด้านจากรูปธรรมสู่นามธรรม แต่ยังคงเป็นไปตามความสามารถของเด็กราย บุคคลโดยครูได้ตั้งเป้าหมายหลักไว้ ดังนี้
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
21
ระดับประถมศึกษาตอนต้น ระดับประถมศึกษาตอนต้น จ�ำนวน ๑๒ คน (หญิง ๘ คน ชาย ๔ คน) การจัดการเรียนการสอนแบ่งเด็กออกเป็น ๓ กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ ๑ ประถมศึกษาปีที่ ๒ มีเด็กที่พัฒนาการตามวัยจ�ำนวน ๔ คน กลุ่มที่ ๒ ประถมศึกษาปีที่ ๑ จ�ำนวน ๕ คน - มีเด็กป่วยเป็นโรคไฮโป แต่สามารถเรียนรู้ได้ตามวัยและได้กลับสู่ ครอบครัวแล้วจ�ำนวน ๑ คน - มีเด็กพัฒนาการเท่ากับเด็ก ๕ ขวบ แต่สามารถเรียนรู้ได้ตามระดับ ของพัฒนาการ จ�ำนวน ๑ คน ปัจจุบันเรียนต่อ รร.หมู่บ้านเด็ก กลุม่ ที่ ๓ อนุบาลปีที่ ๓ มีเด็กทีพ่ ฒ ั นาการเรียนรูเ้ ร็วสามารถเรียนเนือ้ หาของ เด็กประถมต้นได้ จ�ำนวน ๓ คน
22
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
ห้องเรียนประถมศึกษาตอนต้น
จัดการเรียนการสอนรายบุคคลโดยดูจาก ระดับพัฒนาการของเด็กแต่ละคน และส่ง เสริมด้านการอ่าน ให้ครูผู้ช่วยท�ำหน้าที่เป็น คลินิกการอ่านเพื่อใช้สื่อการอ่านประเภท แบบเรียน บทความ นิทาน โดยให้เด็กเลือก น�ำมาอ่านให้ครูฟงั เป็นรายบุคคล และมีการ บันทึกผลทุกครั้งเพื่อดูพัฒนาการอ่านของ เด็กแต่ละคน พอจบปีการศึกษาครูจะน�ำผล มาสรุปเป็นรายงานผลการเรียน ผลการคัดกรองพัฒนาการเด็กของโรงเรียนอนุบาลหมู่บ้านเด็กสานรัก
จ�ำนวนเด็ก ๕๘ คน (ชาย ๔๔ คน / หญิง ๑๔ คน)
เด็กปกติ ด้านร่างกาย ออทิสติก สงสัยแอลดี (LD)
สมาธิสนั ้ การพูดและภาษา การมองเห็น สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
23
กิจกรรมค่ายพัฒนาทักษะชีวิต
เพื่อเสริมสร้างทักษะในการด�ำเนินชีวิตและให้เด็กได้เห็นคุณค่าตนเอง และผู้อื่น ให้รู้จักคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจและรู้จักแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ สามารถจัดการกับอารมณ์ ความเครียดได้ และที่ส�ำคัญต้องเรียนรู้ที่จะสร้าง สั ม พั น ธภาพที่ ดี กั บ ผู ้ อื่ น ด้ ว ย ได้ มี ก ารจั ด ค่ า ยพั ฒ นาทั ก ษะชี วิ ต ให้ กั บ เด็ ก รวม ๒ ครั้ง ณ ศูนย์ปราชญ์ชาวบ้านฯ อ.บ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร โดยแบ่งเด็กออก เป็น ๒ กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ ๑ เด็กจ�ำนวน ๒๒ คน (ชาย ๑๘ คน / หญิง ๔ คน) กลุ่มที่ ๒ เด็กจ�ำนวน ๒๑ คน (ชาย ๑๔ คน / หญิง ๗ คน)
24
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
กิจกรรมเด็กดีมีมารยาท
ครูทุกห้องเรียนจะสอนมารยาทให้กับเด็กในเรื่องการพูดจาให้ไพเราะและมีหาง เสียงครับหรือคะทุกครั้งที่พูดกับผู้ใหญ่ รู้จักขอบคุณและขอโทษให้เป็นนิสัยไม่พูด เสียงดังหรือตะโกนโหวกเหวกโวยวายและไม่พดู ค�ำหยาบคาย ครูจะคอยสังเกตเด็ก เพือ่ คัดเลือกเด็กทีป่ ฏิบตั ไิ ด้ดแี ละให้รางวัล เช่น พาไปเทีย่ วทีเ่ ด็กอยากไปมากทีส่ ดุ เพือ่ เป็นแรงจูงให้เด็กท�ำดีกนั มากขึน้ เป็นกิจกรรมทีจ่ ะท�ำอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ให้เด็ก เกิดความเคยชินที่จะปฏิบัติจนเป็นนิสัยต่อไป
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
25
กิจกรรมงานวัฒนธรรม จัดกิจกรรมในช่วงเปิดภาคเรียนเป็น “งานวัฒนธรรมไทย” แบบตลาดย้อนยุค เป็นการจ�ำลองวิถีชีวิตของชุมชน ทั้งอาหารการกินและการละเล่น และจะใช้ EF (Executive Functions) ทัง้ ๙ ด้าน มาจัดกระบวนการคิดให้กบั เด็ก ผ่านกิจกรรม การซือ้ ขายของในตลาดย้อนยุค เพือ่ ให้เด็กได้วางแผนการใช้จา่ ยตามงบประมาณ ที่ตนมี
กิจกรรมแข่งขันกีฬาสี เพือ่ ปลูกฝังให้เด็กมีนำ�้ ใจนักกีฬา รู ้ จั ก แพ้ รู ้ จั ก ชนะ รู ้ จั ก อภั ย มีระเบียบวินยั ความสามัคคี และ อดทน เรียนรู้การปฏิบัติตามข้อ ตกลง และยังเป็นการฝึกทักษะ การคิดโดยใช้ EF (Executive Functions) ทั้ง ๙ ด้านในแต่ละ เกมการแข่ ง ขั น ไว้ ด ้ ว ย เช่ น เกมเลีย้ งลูกบอล เกมห่วงสามัคคี เกมกู้ระเบิดเกมน�้ำขึ้นให้รีบตัก เป็นต้น
26
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
กิจกรรมพาเด็กไปวัด เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงผ่าน บริ บ ทของวั ด การส� ำ รวมกายวาจาให้ ส งบนิ่ ง ฝึกการเดินสมาธิ นั่งสมาธิ ท่องบทสวดมนต์สั้น ๆ กิจกรรมพาเด็กไปวัดจะจัดอย่างต่อเนื่อง เป็นการ ปลูกฝังให้เด็กได้ซึมซับเข้าใจในวิถีชีวิตชาวพุทธ เช่น การตักบาตร ถวายสังฆทาน บริจาคทาน ให้ อาหารปลา และการบ�ำเพ็ญประโยชน์ เช่น กวาด ลานวัด เก็บขยะ เป็นต้น
กิจกรรมพาลูกซื้อหนังสือ เป็นอีกวิธกี ารหนึง่ ทีท่ ำ� ให้เด็กได้คนุ้ เคย กับการอ่านและสภาพแวดล้อมของร้าน หนัง สือ ที่มีทั้งนักอ่านและมีห นังสือ มากมายหลายประเภท เด็กได้เลือกซื้อ หนังสือที่ตนอยากอ่านด้วยตัวเองถือ เป็นการปลูกฝังนิสัยรักการอ่านให้แก่ เด็กได้เป็นอย่างดี
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
27
กิจกรรมพละศึกษา (เทควันโด) เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้ศิลปะการป้องกันตัวด้วยมือ เปล่า นอกจะเป็นการออกก�ำลังกายให้ร่างกาย แข็งแรงแล้ว ยังช่วยในเรือ่ งของการฝึกสมาธิให้กบั เด็กอีกด้วย เพราะเด็กจะต้องคอยจับตาดูการ เคลื่อนไหวของคู่ต่อสู้ตลอดเวลา พร้อมกันนั้น สมองก็จะคิดถึงกลวิธีการต่อสู้กับคู่แข่งขันไปด้วย และเด็กได้เรียนรู้การมีน�้ำใจนักกีฬา คือ รู้จักแพ้ รู้จักชนะ และการให้อภัย
28
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อให้เด็กได้รู้จักสังคมภายนอกและรู้จักการเคารพกติกาสังคมในการอยู่ร่วม กัน ให้เด็กได้มโี อกาสท�ำความดี รูจ้ กั การแบ่งปัน เอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่ ช่วยเหลือดูแล ซึ่งกันและกัน ด้วยการแบ่งปันสิ่งของที่ได้รับบริจาคไปมอบให้กับสถานศึกษา ต่าง ๆ เช่น ศูนย์การศึกษาพิเศษ จ.สมุทรสงคราม
กิจกรรมอิสระ ภายใต้ “โครงการกล่องเรียนรู้แสน สนุ ก ” เป็ น กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ นอกห้ อ งเรี ย น เพื่ อ เสริ ม สร้ า ง ประสบการณ์ชีวิต ผ่านการเล่นและ ลงมือท�ำให้เด็กได้มที กั ษะในการช่วย เหลือตัวเองติดตัวไปใช้ได้ในอนาคต ปัจจุบนั มี ๗ กิจกรรม ได้แก่ ห้องวัดแวว ห้ อ งงานไม้ ห้ อ งศิ ล ปหั ต ถกรรม ห้ อ งมั ด ย้ อ มและทอผ้ า กิ จ กรรม เกษตร โยคะ และกิจกรรมอิสระ สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
29
สถิติการรับเด็กเข้าเรียน รร.อนุบาลหมู่บ้านเด็กสานรัก จ�ำนวน (ชาย)
จ�ำนวน (หญิ ง)
บ้านทานตะวัน
๗
๐
แผนกจิตเวชเด็กและวัยรุน่ รพ.ศิรริ าช
-
๑
บ้านพักเด็กและครอบครัว จ.นครปฐม บ้านพักเด็กและครอบครัว จ.สมุทรสาคร
-
๑
-
๑
ครอบครัวของเด็ก
๑
๕
รวม
๘
๘
ชื่อหน่ วยงาน
การส่งต่อเด็ก กรณี เรียนจบชัน้ แระถมศึกษาปี ที่ ๒ จ�ำนวน ๑๖ คน ดังนี้
• กลับสูค่ รอบครัว (ชาย ๖ คน หญิง ๕ คน) รวม ๑๑ คน • เรียนต่อ รร.หมูบ่ า้ นเด็ก (ชาย ๑ คน หญิง ๒ คน) รวม ๓ คน • ส่งต่อมูลนิธสิ ร้างสรรค์เด็ก (หญิง ๒ คน) รวม ๒ คน
30
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
31
โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก
ปัจจุบนั มีเด็กอยู่ในอุปการะ รวม ๑๑๖ คน (ชาย ๖๔ คน หญิ ง ๕๒ คน) แยกประเภท ดังนี้
32
• เด็กต่างด้าว จ�ำนวน ๗ คน • เสีย่ งถูกทารุณกรรม จ�ำนวน ๑๑ คน • ถูกทอดทิง้ จ�ำนวน ๓๔ คน • เร่รอ่ น จ�ำนวน ๒ คน • ไร้รากเหง้า จ�ำนวน ๑ คน • ครอบครัวยากจน จ�ำนวน ๖๑ คน
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
แบ่งเด็กตามระดับชั้นเรียน จ�ำนวน ๑๑๖ คน
ระดับชัน้
เพศชาย
เพศหญิ ง
รวม/คน
ระดับประถมโรงเรียนหมูบ่ า้ นเด็ก
๒๓
๑๒
๓๕
ศูนย์การเรียนรูห้ มูบ่ า้ นเด็ก
๑๔
๒
๑๖
ระดับมัธยมโรงเรียนกีฬา ระดับมัธยมโรงเรียนเทพศิรนิ ทร์
๑ ๒
๑ ๖
๒ ๘
ระดับมัธยมโรงเรียนช่องสะเดา
๒
๔
๖
ระดับมัธยม ต้น/ปลาย (กศน.)
๕
๗
๑๒
อาชีวะ/สารพัดช่าง
๕
๔
๙
ปริญญาตรี
๒
๕
๗
ทัวไป/รอเรี ่ ยน
๑
๑
๒
มอบทุนและโรงเรียนให้การช่วยเหลือ
๙
๑๐
๑๙
๖๔
๕๒
๑๑๖
รวม
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
33
เด็กพักในโรงเรียนหมู่บ้านเด็ก จ�ำนวน ๙๗ คน
อายุ / ปี
เพศชาย
เพศหญิง รวม
๗ - ๑๒ ๑๓ - ๑๕
๑๔ ๒๓
๗ ๑๕
๒๑ ๓๘
๑๖ - ๑๙ ๒๐ ปีขึ้นไป รวม
๑๖ ๕ ๕๘
๑๑ ๖ ๓๙
๒๗ ๑๑ ๙๗
เด็กเรียนข้างนอกแต่อยู่ในความอุปการะของโรงเรียน จ�ำนวน ๑๙ คน
34
อายุ/ปี
เพศชาย
๗ - ๑๒ ๑๓ - ๑๕
-
๓
๓
๑๖ - ๑๙ ๒o ปีขึ้นไป
๔ ๓
๕ ๔
๙ ๗
รวม
๗
๑๒
๑๙
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
เพศหญิง รวม
งานสังคมสงเคราะห์
• ติดตามเอกสารหลักฐานเพื่อแจ้งเกิด เพิ่มชื่อในทะเบียนประวัติ รวมทั้งด�ำเนิน การขอสัญชาติ และท�ำบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้กับเด็กใหม่ จ�ำนวน ๓ คน หมายเหตุ : เด็กทั้ง ๓ คน ยังไม่ได้ขึ้นทะเบียนบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียน และในขณะนี้เป็นช่วงติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด�ำเนินการให้เด็กท�ำบัตรประชาชนครบทุกคน และมีเด็กที่อายุครบ ๑๕ ปี เปลี่ยนค�ำน�ำหน้าบัตรประชาชนใหม่ จ�ำนวน ๑๒ คน พาเด็กที่มีอายุครบ ๑๗ ปี ขึ้นทะเบียนทหาร จ�ำนวน ๖ คน
• •
งานติดตามหาครอบครัวเด็ก มีการติดตามหาครอบครัวให้กับเด็กที่ไม่เจอ ครอบครัว จากสูตบิ ตั รของเด็กและตรวจสอบ ประวัติบิดาและมารดาจากฐานข้อมูลกลาง เพื่อส�ำรวจว่ายังมีชีวิตอยู่หรือไม่ ซึ่งขณะนี้ เด็กหลายคนได้พบกับครอบครัว แต่ยงั มีเด็ก อีกจ�ำนวนหนึ่งที่อยู่ระหว่างขั้นตอนติดต่อ ประสานงานกับครอบครัวว่าอยากจะเจอกับ เด็กหรือไม่
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
35
งานติดตามหาครอบครัวเด็ก
• •
เยี่ยมบ้านเด็กเพื่อเก็บข้อมูลชีวิตความเป็นอยู่ของครอบครัว จ�ำนวน ๑๕ ราย มีเด็กใหม่ที่ต้องได้รับการตรวจสุขภาพ จ�ำนวน ๕ คน เพื่อหาวัณโรค HIV ไวรัสตับอักเสบ ABC รวมทั้งเอกซเรย์ปอด และมีการสังเกตบันทึกพฤติกรรมเด็ก เป็นระยะ ๆ เพื่อให้เข้าใจนิสัยของเด็ก และหากมีพฤติกรรมไม่เหมาะสมหรือเกิด ปัญหาก็จะท�ำการพูดคุย และมีการประชุมวางแผนเพือ่ ช่วยปรับเปลีย่ นพฤติกรรม ให้กับเด็ก โดยใช้วิธีและหลักทางจิตวิทยาเข้ามาร่วมด้วย มีเด็กกลับสู่ครอบครัว และออกไปท�ำงาน จ�ำนวน ๑๙ คน
•
ด้านสุขภาพ เด็กทั้งหมดจะได้รับการตรวจวัดไอคิวและพบจิตแพทย์อย่างต่อเนื่อง โดยเริ่มจาก กลุ่มเด็กที่มีความบกพร่องแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนที่มีผลกระทบต่อตนเองและ ผู้อื่น มีการประเมินด้านการเรียน สังคม อารมณ์ และจิตใจ เพื่อให้แพทย์วินิจฉัย และแก้ไขความบกพร่องตามประเภทของอาการมีจ�ำนวน ๖๕ คน ดังนี้
• • • • • •
บกพร่องเชาว์ปัญญา (IQ) จ�ำนวน ๓๖ คน ปัญหาด้านสติปัญญาและสายตา จ�ำนวน ๒ คน ปัญหาด้านสติปัญญาและการได้ยิน จ�ำนวน ๑ คน ปัญหาด้านพฤติกรรม อารมณ์ และการใช้ความรุนแรง (บ�ำบัด) จ�ำนวน ๑๕ คน ปัญหาด้านสายตา จ�ำนวน ๕ คน ขึ้นทะเบียนคนพิการ จ�ำนวน ๖ คน
หมายเหตุ : มีเด็กที่ต้องพบจิตแพทย์ต่อเนื่อง จ�ำนวน ๑๐ คน มีเด็กต้องพบแพทย์ตามนัด เพื่อรักษาอาการเจ็บป่วยต่อเนื่อง จ�ำนวน ๔ คน
36
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
งานแนะแนวการเรียนและอาชีพ เพื่อให้เด็กเห็นในศักยภาพในตนเองพร้อมกับการแนะแนวด้านการเรียนให้ สอดคล้องกับอาชีพ และส่งเสริมประสบการณ์ให้มีการพัฒนาทุกด้านทั้งทาง ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปญ ั ญา เพือ่ ให้เด็กตัดสินใจเลือกอาชีพทีถ่ นัด และอยากเรียนรู้ด้วยตนเอง โรงเรียนก�ำหนดเกณฑ์ในการเรียนต่อ ดังนี้ ๑. ระดับมัธยมต้น (ข้างนอก) ต้องมีเงินจากการท�ำงาน จ�ำนวน ๑o,ooo บาท ๒. ระดับมัธยมปลาย ต้องมีเงินจากการท�ำงาน จ�ำนวน ๒o,ooo บาท ๓. ระดับมัธยม (กศน.) ต้องมีเงินจากการท�ำงาน จ�ำนวน ๔,ooo บาท ๔. ระดับปริญญาตรี ต้องมีเงินจากการท�ำงาน จ�ำนวน ๔o,ooo บาท หมายเหตุ : มีการสรุปยอดเงินรายได้จากการท�ำงานรวมถึงการเบิกถอน ทุกวันที่ ๒๕ ของทุกเดือน และช่วงปิดเทอม มีเด็กท�ำงานพิเศษร้านอาหารจักรเพชร จ�ำนวน ๑๐ คน
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
37
กิจกรรมพัฒนาเด็ก
• เทควันโด มีการเปลีย่ นแปลงการฝึกสอนจากเดิมสอนเฉพาะเด็กทีม่ คี วามสนใจ
และมีพัฒนาการล่าช้า ปัจจุบันได้จัดการเรียนการสอนเข้าหลักสูตรวิชาเรียน สุขศึกษา พลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ส่วนมัธยมศึกษาให้ผู้ที่สนใจ สามารถเข้าเรียนได้ การฝึกสอนมุ่งเน้นเรื่อง ระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ และ พัฒนาการของร่างกาย จัดการสอนทุกวันอังคารเวลา ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. มีเด็ก เรียน จ�ำนวน ๔๐ คน มีครูเข้าร่วมเรียน จ�ำนวน ๕ คน
• ส่งเสริมด้านดนตรี มีการสอนดนตรีทกุ วันอาทิตย์ และมีเด็กทีส่ นใจมาฝึกซ้อม เป็นประจ�ำจนได้ไปแสดงในงานวันเด็กและงานนอกสถานที่ จ�ำนวน ๘ คน
38
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
งานด้านการเรียนการสอน (ฝ่ ายประถมศึกษา) นักเรียนจบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ ๖ จ�ำนวน ๑๕ คน และศึกษาต่อ ระดับมัธยมต้นในระบบ จ�ำนวน ๓ คน ศึกษาต่อในระดับมัธยมต้นทีศ่ นู ย์การเรียนรู้ โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก จ�ำนวน ๑๒ คน เกรดเฉลีย ่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาอยู่ในระดับ ๓ ขึ้นไป
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๙
ประวัตศิ าสตร์ ภาษาอังกฤษ การงานอาชีพฯ ศิลปะ
สุขศึกษา สังคมศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
39
งานพัฒนาการเรียนการสอน จัดท�ำหลักสูตรเพือ่ พัฒนาทักษะให้นกั เรียนอ่านออก เขียนได้ คิดค�ำนวณ รูจ้ กั คิดวิเคราะห์ และรูจ้ กั ตัง้ ค�ำถาม จะจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้อง กับความสนใจและความสามารถของผูเ้ รียน และส่งเสริมการเรียนรูท้ งั้ ภายในและ ภายนอกโรงเรียนให้เด็กได้รู้จักตนเอง ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เด็กรู้เท่าทันและปรับตัวให้ทันต่อสถานการณ์โลกปัจจุบัน เพื่อฝึก ทักษะการแก้ปญ ั หาจากสถานการณ์ทไี่ ม่ปลอดภัย รูจ้ กั ฝึกตัง้ ค�ำถามจากเหตุการณ์ และสรุปหาแนวทางป้องกันหรือหลีกเลี่ยงจากความเสี่ยงนั้น ผ่านสื่อต่าง ๆ เช่น สื่อ ICT เล่นบทบาทสมมุติ ละคร ศิลปะ เกม เพลง เป็นต้น
40
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้
•
ค่ายเรียนรู้วิถีชีวิตชุมชนภูมิปัญญาชาวกะเหรี่ยง กิจกรรมส�ำหรับนักเรียนระดับ ชัน้ ป.๕ – ม.๑ ณ ศูนย์การเรียนชุมชนศรีสวุ รรณสะเนพ่อง (วิถกี ะเหรีย่ งทุง่ ใหญ่นเรศวร) ต.ไล่โว่ อ.เมือง จ.กาญจนบุรี นักเรียนได้เรียนรู้วิธีเก็บผักแบบภูมิปัญญาของชนเผ่าพื้น เมืองกะเหรี่ยง และได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรมประเพณีและอาหารการกินของท้อง ถิ่นด้วย
•
เรียนรู้ธรรมชาติ เด็กได้เรียนรู้พันธุ์ไม้ จากการเดินส�ำรวจ บันทึก ชื่อ ลักษณะ ประโยชน์ โดยให้ธรรมชาติเป็นครู เกิดเรือ่ งเล่าผ่านการสังเกต เขียนเล่าเรือ่ งได้ และรูจ้ กั น�ำความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ เช่น ท�ำสีจากใบไม้ เปลือกไม้ ผลไม้ มาต้มย้อมผ้า จาก สีธรรมชาติ สัมผัสธรรมชาติ วาดรูปตามจินตนาการ
•
ละครสร้างสรรค์ โดยน�ำเอากระบวนการละครมาช่วยพัฒนาทักษะในการฟัง จาก กิจกรรมจะเห็นว่านักเรียนมีความกระตือรือร้น รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย รู้จัก การท�ำงานเป็นทีม เรียนรูว้ ธิ กี ารจัดการกับปัญหา และเปิดใจยอมรับฟังความคิดเห็นของ คนอื่นมากขึ้น สามารถควบคุมอารมณ์ตัวเองได้ดีขึ้น
•
ศิลปะสื่อภาษา ฝึกฝนให้เด็กเป็นคนช่างสังเกต รู้จักค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม และสามารถเขียนเล่าเรื่องราวได้ด้วยภาษาที่ถูกต้อง
•
หนังสือคือโลกของภาษา นักเรียนชั้น ป.๑ - ป.๖ จะอ่านบทกวี บทกลอน บทความ สั้น ๆ ทุกเช้าก่อนเข้าห้องเรียน การที่เด็กได้ อ่านตัวหนังสือจะท�ำให้เด็กได้บริหารสมอง ใ น ก า ร ใ ช ้ ค ว า ม คิ ด แ ล ะ จิ น ต น า ก า ร ในการเรียนรูค้ วามหมายของค�ำต่าง ๆ ท�ำให้ นักเรียนต้องจัดระบบความคิด เพื่อจะได้ ถ่ายทอดความคิด ออกมาเป็นค�ำพูด และ การเขียน สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
41
• กิจกรรมปันน�้ำใจสร้างรอยยิ้มเพื่อนสู่เพื่อน เพือ่ ให้นกั เรียนได้มโี อกาสเรียน
รูช้ วี ติ ทีห่ ลากหลายผ่านการท�ำกิจกรรมทีเ่ ป็ นประโยชน์เพือ่ สังคม รูจ้ กั ช่วยเหลือ แบ่งปนั และเสียสละตนเอง โดยการน�ำสิง่ ของทีไ่ ด้รบั บริจาคไปมอบให้กบั โรงเรียน ต่างๆ ในเขตอ�ำเภอบ่อพลอย นักเรียนเกิดความภาคภูมใิ จและรูส้ กึ ตนเองมีคณ ุ ค่า ทีไ่ ด้ทำ� ประโยชน์เพือ่ ผูอ้ ่นื
• ลูกเสือส�ำรอง นักเรียนชัน้ ป.๑ - ป.๖ จะท�ำกิจกรรมลูกเสือส�ำรองในช่วงบ่าย
ของทุกวันพฤหัสบดี เป็ นการสร้างจิตส�ำนึกความเป็ นพลเมืองในเรือ่ งระเบียบวินยั รูจ้ กั หน้าทีท่ จ่ี ะต้องช่วยเหลือผูอ้ ่นื รูจ้ กั การท�ำงานเป็ นกลุ่ม และความสามารถน�ำ เอาทักษะเหล่านี้ไปใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน เช่น การตรงต่อเวลา รูจ้ กั รับผิดชอบหน้าที่ ของตนเอง ซึง่ เป็ นพืน้ ฐานส�ำคัญทีท่ กุ คนควรมี
•
เรียนรู้ภาษาต่างประเทศกับอาสาสมัคร เป็ นการเรียนรูภ้ าษาอังกฤษในรูป แบบของกิจกรรมโดยผ่านการลงมือปฏิบตั จิ ริง พร้อมฝึกสนทนาไปด้วยในระหว่าง การท�ำกิจกรรม นักเรียนมีความกล้าสือ่ สารโต้ตอบเป็ นประโยคสัน้ ๆ กับชาวต่าง ประเทศมากขึน้ และใช้เรื่องวัฒนธรรม อาหารการกิน ศิลปะ ดนตรี หรือ เกม มาช่วยในการเรียนรูค้ ำ� ศัพท์ใหม่ ๆ เพิม่ ขึน้
• วันส�ำคัญต่างๆ เรียนรูก้ ารสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีตา่ งๆ จากวันส�ำคัญตาม ปฏิทนิ ประจ�ำปี เช่น วันครู วันเด็ก วันสงกรานต์ วันแม่ วันพ่อ เป็ นต้น ตลอดจน ท�ำบุญตักบาตร ถวายสังฆทาน ฟงั เทศน์ ฟงั ธรรม
42
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
โรงเรียนหมู่บ้านเด็กได้จัดตั้งศูนย์การเรียนมัธยม และได้รับอนุมัติให้เปิดเมื่อเดือน พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ศูนย์การเรียนแบ่งเด็กออกเป็น ๒ แบบ ได้แก่ ๑. เด็กศูนย์การเรียนแบบประจ�ำ ๒. เด็กศูนย์การเรียนไม่ประจ�ำ คือ กลุ่มเด็กโฮมสคูล ที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เด็กศูนย์การเรียนแบบประจ�ำ จ�ำนวน ๑๔ คน ภาคเช้าเป็นการเรียนวิชาการ ส่วนภาคบ่ายเป็นการฝึกอาชีพตามทีเ่ ด็กสนใจ เช่น การเลีย้ งปลาดุกและท�ำอาหารปลา ดุก เพาะเห็ดนางฟ้า เห็นภูฐาน เห็ดฮังการี่ การปลูกผักอินทรีย์ และปลูกข้าวในแปลง นาทดลอง และในทุกศุกร์กจ็ ะมีฐานการเรียนรู้ ทีท่ ำ� ให้เด็กได้คน้ คว้า ทดลอง และลงมือ รวมทั้งน�ำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ มีเด็กมัธยมบางส่วนทีเ่ รียนการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) เนือ่ งจากศูนย์การ เรียนเปิดไม่ทนั จึงให้เด็กสมัครเรียน กศน. ไปก่อน และเด็กกลุม่ นีก้ ก็ ำ� ลังจะจบชัน้ มัธยม ต้นในปีการศึกษา ๒๕๖๐ จ�ำนวน ๙ คน
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
43
กิจกรรมบูรณาการเรียนการสอน เพื่อไม่ให้เด็กเบื่อและรู้สึกสนุกกับการเรียนรู้ จึงใช้ กิจกรรมในเรื่องของการท�ำอาหารเข้ามาบูรณาการ เพือ่ สร้างการเรียนรูใ้ ห้กบั นักเรียนได้ลงมือปฏิบตั จิ าก ของจริง เพราะเรื่องอาหารการกินเป็นเรื่องใกล้ตัว นักเรียนจะต้องไปค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมตามโจทย์ ทีค่ รูให้ในแต่ละสัปดาห์ นักเรียนจะน�ำข้อมูลมาเชือ่ ม โยงผสมผสานกันเพือ่ ให้เกิดความคิดใหม่ทสี่ ร้างสรรค์ และมาน�ำเสนอแนวคิดผลงานของตัวเอง
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
• •
กิจกรรมเรียนรู้โลกกว้าง ผ่านการดูหนังในช่วงคุยหนังในรายการสะพานสายรุ้ง โครงการบริการวิชาการด้านการวางแผนชีวิตและอาชีพ “ฉันรู้จักตนเอง” ณ บ้านยิ้มละมัย ต.ห้วยเขย่ง อทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี ตั้งแต่วันที่ ๗ - ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ จากความแตกต่างของแต่ละคนที่เป็นสาเหตุท�ำให้เกิดปัญหาระหว่างบุคคล การท�ำความเข้าใจความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น เพื่อรู้จักยอมรับความแตกต่างของ แต่ละบุคคล ว่าแต่ละมีนสิ ยั อย่างไร ชอบอะไร ไม่ชอบอะไร เก่งอะไร ไม่เก่งอะไร และ ที่ส�ำคัญจะต้องเท่าทันและรู้จักจัดการกับอารมณ์ของตนเองให้ได้ด้วย
44
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
•
ค่าย “การเป็นผู้น�ำที่แท้และความรักที่แท้” ณ ศูนย์การเรียนรู้ชาวดินบ้าน โคกกลาง ต.หว้าทอง อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่น ตั้งแต่วันที่ ๑๕ - ๑๙ ตุลาคม ๒๕๖๐ มีเยาวชนเข้าร่วม จ�ำนวน ๕๐ คน ท�ำให้เด็กได้พัฒนาทักษะภาวะผู้น�ำโดยเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ นักเรียนได้รู้จักเครื่องมือในการสืบค้นชุมชนด้วยการสังเกต สัมภาษณ์ เขียนแผนที่ ถ่ายภาพ ตั้งค�ำถามและบันทึกข้อมูล นักเรียนได้ฝึกทักษะ การพูดในทีส่ าธารณะ ได้รบั รูค้ วามรูส้ กึ ของตนเองทีก่ า้ วผ่านความกลัวความไม่กล้า และอยากพัฒนาตัวเองให้มีทักษะในการพูดมากยิ่งขึ้น
• กิจกรรมจิตอาสา ณ ศูนย์การเรียนดุลยพัฒน์ อ.เมือง จ.ขอนแก่น ตั้งแต่วันที่
๒๓ - ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๐ มีเยาวชนจากศูนย์การเรียนมัธยมหมู่บ้านเด็ก เข้าร่วม จ�ำนวน ๑๕ คน เพื่อช่วยสร้างบ้านดินที่จะเป็นห้องสมุดและห้องพักครูของศูนย์ การเรียนดุลยพัฒน์ และมีคนในชุมชนสนใจมาร่วมเป็นอาสาสมัครในครั้งนี้ด้วย และจากการท�ำงานจิตอาสาครั้งนี้ท�ำให้กลุ่มเยาวชนรู้สึกภาคภูมิใจในตนเองที่มี โอกาสได้ท�ำประโยชน์ให้กับชุมชน
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
45
•
การจ�ำลองอาชีพ นักเรียนจะต้องจัดกิจกรรมหรือโครงการ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจและความสามารถเป็นพื้นฐานน�ำไปสู่งานอาชีพในอนาคตได้ โดยการ จ�ำลองอาชีพนั้นจะต้องสอดคล้องกับธรรมชาติและสุขภาพของทุกคนในชุมชน หมู่บ้านเด็กด้วย จึงมีการแบ่งการจ�ำลองอาชีพออกเป็น ๒ แบบ แบบที่ ๑ อาชีพที่มัธยมด�ำเนินการเองทั้งหมด ได้แก่ การจ�ำลองอาชีพ การดูแลเห็ด การเลี้ยงปลาดุก แปลงสาธิตการปลูกข้าวเม็ดเดียว ปลูกต้นอ่อน ทานตะวัน ปลูกต้นอ่อนผักบุ้ง และปลูกถั่วงอก แบบที่ ๒ อาชีพแบบเสรี เป็นอาชีพที่มีอยู่ในชุมชนหมู่บ้านเด็ก โดยให้ นักเรียนเลือกงานที่อยากท�ำคนละ ๑ อาชีพ เพื่อฝึกให้เด็กมีความรับผิดชอบมาก ขึ้น ด้วยการเป็นผู้ช่วยของครูในแต่ละอาชีพ เช่น งานไม้ ห้องคอมพิวเตอร์ งาน เกษตร งานประดิษฐ์ งานบาติก งานเฟอร์นิเจอร์ งานกระดาษรีไซเคิล ห้องสมุด ห้องสังคม ห้องธุรการ ห้องอาหารวันเกิด และงานครัวกลาง
งานห้องปฎิบตั ิ การใช้มือ หรืออาชีพ เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสได้เลือกเรียนอาชีพที่ ตนเองชอบและถนัดที่จะเป็นทักษะพื้นฐานอาชีพ ได้แก่ งานไม้ กระดาษสา งานประดิษฐ์ งานเกษตร และงานคอมพิวเตอร์ ในระยะแรกจะให้เด็กหัดท�ำโดยไม่สนใจ คุณภาพเพื่อให้เด็กได้ผ่อนคลาย แต่เมื่อเด็กได้ค้น พบว่าตนเองมีความสุขจากการเล่นการเรียนในงาน นั้ น ๆ แล้ ว จนตั ด สิ น ใจเลื อ กเป็ น อาชี พ ทาง โรงเรียนจะให้เด็กได้เรียนต่อหรือส่งฝึกงานกับ สถานประกอบการเพือ่ เพิม่ ความช�ำนาญให้มากขึน้
46
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
งานเกษตรธรรมชาติแบบผสมผสาน อบรมและศึก ษาดูง านกับ โครงการสอนการท�ำ นา ให้เ ป็ น “ชาวนาอัจ ฉริย ะ” การเรียนรูเ้ พือ่ การพึง่ ตนเองแบบครบวงจรมีการปลูกข้าว การเลีย้ งสัตว์บก สัตว์น้�ำ และ การปลูกพืชสวนครัว โดยใช้พน้ื ทีน่ ้อยและคุม้ ค่า จากนัน้ ได้น�ำมาปรับประยุกต์ใช้ในการท�ำเกษตรภายในโรงเรียนหมูบ่ า้ นเด็ก และ มีรายได้จากการจ�ำหน่ายผลผลิต รวมเป็ นเงิน ๑๓๒,๒๘๒.๑๐ บาท
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
47
โครงการ พัฒนาครอบครัวคิดดี
(KIDS DEE)
เพื่อศึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของพ่อแม่ หรือ ผูป้ กครองเด็กทีอ่ ยูใ่ นความดูแลของโครงการบ้านทานตะวันใหม่ ท�ำให้คนในครอบครัวคิดดีตอ่ กัน โดยฟังอย่างไม่ตดั สิน รูจ้ กั การ สื่อสารเชิงบวก มีความเข้าใจพัฒนาการและธรรมชาติของเด็ก เป็นการเตรียมพร้อมให้กับครอบครัวไปพร้อม ๆ กับการพัฒนา เด็กในขณะที่เด็กอยู่ในความดูแลของมูลนิธิเด็ก ช่ ว งแรกเป็ น การติ ด ตามเยี่ ย มและท� ำ ความรู ้ จั ก ครอบครัวของเด็ก จ�ำนวน ๗๐ คน ๓๐ ครอบครัว เพื่อสร้าง ความไว้วางใจและให้ความช่วยเหลือเฉพาะหน้า รวมทัง้ ประเมิน ศักยภาพของครอบครัวในการเลีย้ งดูเด็ก โดยแบ่งพืน้ ทีเ่ ก็บข้อมูล ออกเป็น ๒ กลุ่ม ดังนี้
48
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
กลุ่มที่ ๑ กรุงเทพฯ และปริ มณฑล ครอบครัว ร้อยละ ๘๖.๗ กระจายในพืน้ ที่ ธนบุร ี ร้อยละ ๓๖.๗ นครปฐม ร้อยละ ๒๖.๖ กรุงเทพฯ ร้อยละ ๑๐ ปทุมธานี ร้อ ยละ ๖.๗ นนทบุ ร ี ร้อ ยละ ๓.๓ และสมุทรปราการ ร้อยละ ๓.๓ พบว่า ครอบครัวเด็กส่วนใหญ่ อยูใ่ นพืน้ ทีร่ อบกรุงเทพฯ และปริมณฑล
กลุ่มที่ ๒ ต่างจังหวัด ภาคกลาง และ ภาคใต้ ตอนบน) ครอบครัว ร้อ ยละ ๑๓.๔ อยู่ในกาญจนบุร ี ร้อยละ ๖.๗ และประจวบคีรขี นั ธ์ ร้อยละ ๖.๗
ลักษณะครอบครัว แบ่งออกเป็ น ๔ ประเภท ได้แก่ ๑. ครอบครัวพ่อแม่เลี้ยงเดี่ยว ร้อยละ ๔๖.๖ ๒. ครอบครัวข้ามรุ่น ร้อยละ ๒๐ ๓. ครอบครัวขยาย ร้อยละ ๒๐ ๔. ครอบครัวเดี่ยว (พ่อ แม่ และลูก) ร้อยละ ๑๓.๔
พบว่า ครอบครัวพ่อแม่เลี้ยงเดี่ยวส่วนใหญ่มาจากปัญหาการหย่าร้าง ท้อง ไม่พร้อม และกลุ่มพ่อแม่วัยรุ่น ส่งผลให้ครอบครัวเดี่ยวที่มีพ่อแม่ลูกครบสมบูรณ์ลด ขณะที่ครอบครัวขยายและครอบครัวข้ามรุ่น ส่วนใหญ่จะมีลักษณะที่ไม่ สมบูรณ์ คือ มีปู่หรือย่า ตาหรือยาย พ่อหรือแม่เลี้ยงเดี่ยว หลายครอบครัว มีการหย่า ร้าง และมีลูกกับครอบครัวใหม่ จึงไม่อาจช่วยเหลือครอบครัวเดิมได้ ส่วนครอบครัว ข้ามรุน่ เกิดจากพ่อแม่ของเด็กไม่สามารถเลีย้ งดูเด็กได้ เนือ่ งจากถูกต้องโทษคดียาเสพ ติด ป่วยทางจิตเวช หรือตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยเรียน ครอบครัวเดี่ยวจะเป็นปัญหา ความยากจน เมื่อพ่อแม่ต้องออกไปท�ำงานนอกบ้านท�ำให้เด็กขาดคนเลี้ยงดูแล สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
49
สรุปภาพรวมปัญหาและความต้องการของครอบครัว ครอบครัวส่วนใหญ่เป็นกลุม่ ระดับล่าง ขาดความรูแ้ ละการเข้า ถึงสิทธิของความเป็นพลเมือง มีปญ ั หาเศรษฐกิจ เช่น ว่างงาน รายได้นอ้ ย รับจ้างรายวัน มีหนีส้ นิ กูน้ อกระบบ เป็นต้น ท�ำให้ เกิดความเครียดและขัดแย้งเรื่องค่าใช้จ่ายในครอบครัว รวม ทั้งการใช้สารเสพติด เช่น เหล้า บุหรี่ ยาบ้า และมีการใช้ ความรุนแรงในครอบครัว ท�ำให้ไม่สามารถท�ำหน้าทีเ่ ลีย้ งดูเด็ก และเยาวชนให้มีคุณภาพได้
50
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
51
ห้องวัดแวว
และส่งเสริมเด็กตามความถนัด (Exploring Center) ห้องวัดแววฯ และที่ปรึกษา นายพรหมพจน์ วิภาสธาริตสกุล ได้มี การปรับเปลี่ยนวิธีการการสอนและประเมินทักษะกระบวนการคิด และทักษะการคิดเพือ่ ชีวติ ทีส่ ำ� เร็จ EF (Executive Functions) เพือ่ ให้เด็กสามารถน�ำไปต่อยอดกับการเรียนได้ตั้งแต่ปัจจุบันจนถึง อนาคต รวมถึงการใช้ในชีวิตประจ�ำวัน โดยการใช้หลักสูตร ๓๕ ทักษะพื้นฐานส�ำหรับการคิด ผ่านการเรียนรู้จากเกมกระดานและ สื่อของเล่น เพื่อการกระตุ้นประสาทสัมผัสทั้ง ๕ ได้แก่ การมองเห็น (Visual) การฟัง (Auditory) การสัมผัส (Kinesthetic) การดมกลิน่ (Olfactory) และการชิมรสชาติ (Gustatory) ท�ำให้เกิดการท�ำงาน เชื่อมโยงกับกระบวนการคิด เด็กได้พัฒนาทักษะการตั้งเป้าหมาย การควบคุมตนเอง การยับยัง้ ชัง่ ใจ การคิดวิเคราะห์ การปรับเปลีย่ น วิธีการ และการประเมินตนเองเพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมาย
52
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
Executive Functions (EF) ทักษะสมองเพ�่อจัดการชีว�ตให สำเร็จ
คิดเป น ทำเป น เร�ยนรู เป น แก ป ญหาเป น อยู กับคนอื่นเป น มีความสุขเป น Focus/ Attention
Initiating
= ร�เร��มและลงมือทำ
Working Memory
= จดจ อใส ใจ
= จำเพ�่อใช งาน
ทักษะ ปฏิบัติ
Planning& Organizing
Shift/ Cognitive Flexibility
= วางแผน จัดระบบ ดำเนินการ
= ยืดหยุ นความคิด
Goal-Directed Persistence = มุ งเป าหมาย
ทักษะ พ�้นฐาน
Inhibitory Control
Emotional Control
= ยั้งคิด ไตร ตรอง
= ควบคุมอารมณ
ทักษะ กำกับ ตนเอง
SelfMonitoring = ติดตาม ประเมินตนเอง
นักวิชาการระดับโลกชี้ว่า ทักษะ EF ส�ำคัญกว่า IQ ทั้งนี้ มีงานวิจัยชัดเจนว่า ช่วง วัย ๓ - ๖ ปี เป็นช่วงเวลาทองของชีวิตในการพัฒนาทักษะ EF เพราะสมองจะมี การพัฒนาทักษะ EF ได้ดีที่สุด พ้นจากช่วงนี้ไปถึงวัยเรียน วัยรุ่น หรือวัยผู้ใหญ่ ตอนต้น แม้จะยังพัฒนาได้ แต่ก็จะไม่ได้ดีเท่ากับช่วงปฐมวัย Executive Functions (EF) ประกอบด้วยทักษะ ๙ ด้าน ดังนี้
๑. ความจ�ำที่น�ำมาใช้งาน (Working memory) การเก็บข้อมูล ประมวล และ ดึงข้อมูลออกมาใช้ตามสถานการณ์ที่ต้องการ ๒. การยัง้ คิด (Inhibitory Control) รูจ้ กั ควบคุมความต้องการของตนเอง สามารถ หยุดยั้งพฤติกรรมได้ในกาลเทศะที่สมควร สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
53
๓. การยืดหยุน่ ความคิด (Shift หรือ Cognitive Flexibility) สามารถปรับเปลีย่ น ความคิดให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่เปลี่ยน พลิกแพลงเห็นทางออกใหม่ ๆ และคิดนอกกรอบได้ ๔. การใส่ใจจดจ่อ (Focus/Attention) มุง่ ความสนใจอยูก่ บั สิง่ ทีท่ ำ� อย่างต่อเนือ่ ง ในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ โดยไม่วอกแวก ๕. การควบคุมอารมณ์ (Emotional Control) ให้อยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสม จัดการ กับความเครียดความเหงาได้ มีอารมณ์มั่นคง และแสดงออกแบบที่ไม่รบกวน ผู้อื่น ๖. การวางแผนและการจัดระบบด�ำเนินการ (Planning and Organizing) เริ่ม ตั้งแต่การตั้งเป้าหมาย การเห็นภาพรวม จัดล�ำดับความส�ำคัญ จัดระบบ โครงสร้าง จนถึงการแตกเป้าหมายให้เป็นขั้นตอน ๗. การรู้จักประเมินตนเอง (Self – Monitoring) รวมถึงการตรวจสอบงานเพื่อ หาจุดบกพร่อง และรู้ตัวว่าก�ำลังท�ำอะไร ได้ผลอย่างไร ๘. การริเริ่มและลงมือท�ำงานตามที่คิด (Initiating) เมื่อคิดแล้วก็ลงมือท�ำ ไม่ผัดวันประกันพรุ่ง ๙. ความพากเพียรมุง่ สูเ่ ป้าหมาย (Goal - Directed Persistence) เมือ่ ตัง้ ใจและ ลงมือท�ำ ต้องมีความมุ่งมั่นบากบั่น ไม่ว่าจะมีอุปสรรคใด ๆ ก็พร้อมฝ่าฟัน จนถึงความส�ำเร็จ
54
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
วิธีพัฒนา EF ห้องเรียนวัดแววฯ การเล่นเกมกระดานและสือ่ ของเล่นเป็นวิธกี ารให้เด็กเกิดการเรียนรูแ้ ละลงมือท�ำ จากสถานการณ์จำ� ลอง เพราะจะท�ำให้เด็กได้คดิ ตัดสินใจและได้ลงมือท�ำด้วยตัวเอง หากกติกามาตรฐานของเกมยังไม่พอ เราสามารถเสริมกติกาพิเศษขึ้นมาเพื่อ ให้เกมกระดานและสื่อของเล่นพัฒนา EF ให้กับเด็กได้ครบทุกด้าน กติกาพิเศษ ควรเป็นลักษณะเชิงบวก Positive reinforcement
จากสมองแบ่งการใช้งาน EF เป็นสองฝั่งคือ ฝั่งที่ลงมือท�ำและฝั่งการยับยั้งชั่งใจในการตัดสินใจ สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
55
กิจกรรมในห้องเรียนวัดแววฯ ก่อนเข้าห้องจะต้องท�ำความเข้าใจและกติกากับเด็กในการใช้หอ้ ง เป็นการฝึกยัง้ คิด (Inhibitory Control) และการควบคุมอารมณ์ (Emotional Control) จากนัน้ ครู ก็จะให้เด็กเลือกของเล่นที่จะเล่นเอง เป็นการฝึกการวางแผน (Planning and Organizing) และการวางเป้าหมายระยะสัน้ ล่วงหน้าว่าวันนีจ้ ะเล่นอะไรและมีเป้า หมายว่าจะเล่นไปถึงกีด่ า่ น (Goal - directed Persistence) และฝึกการประเมิน ตนเองว่าสามารถเล่นได้ถงึ เป้าหมายทีต่ งั้ ไว้หรือไม่ (Self-monitoring) เพือ่ เตรียม พร้อมต่อการปรับการวางแผนต่อไปในครัง้ หน้า (Shift/Cognitive Flexibility)
เด็กนังสมาธิ ่ เพือ่ เตรียมพร้อมกับการท�ำกิจกรรม
56
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
เราสามารถสังเกตได้วา่ เด็กแต่ละคนมีความถนัดในด้านไหน บางคนถนัดเล่นเกม ที่ คิ ด ไว หาภาพไว บางคนถนั ด การเล่ น เกมเดี่ ย วที่ จ ะต้ อ งใช้ ส มาธิ จ ดจ่ อ แต่ไม่ชอบให้มเี วลาบังคับหรือแข่งกับใคร บางคนชอบเล่นเกมทีต่ อ้ งผ่านด่านท้าทาย ไปเรื่อย ๆ หรือบางคนชอบการต่อราง สร้างสรรค์ผลงานด้วยตัวเอง บางคน ยังชอบเล่นบทบาทสมมุติและใช้จินตนาการ นอกจากนี้ ครูจะให้เด็กได้ฝึกการ รับผิดชอบเก็บของเล่นด้วยตนเองหลังจากหมดเวลา
เกมแข่งขันและความท้าทาย ฝึกการใช้ทกั ษะการคิดและกลยุทธ์
การเล่นทีใ่ ช้ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ รวมถึงฝึกการวางแผนโครงสร้าง
เด็กเล็กจะเล่นในระดับง่าย เช่น ฝึกการจ�ำแนกสี
“เล่านิทาน” เสริมสร้างพืน้ ฐาน การฟงั ภาษา และจินตนาการ สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
57
โยคะเพือ่ สุขภาพ “โยคะ” หมายถึง การรวมเป็นหนึ่งเดียว ทั้งร่างกาย จิตใจ และ ลมหายใจ ทีม่ คี วามสัมพันธ์อย่างลึกซึง้ และเป็นสิง่ ทีแ่ ยกจากกันไม่ ได้ การฝึกโยคะเป็นการควบคุมลมหายใจเข้าออก เป็นการปรับ สภาวะอารมณ์ เพื่อสร้างสมดุลให้กับร่างกาย เป็นการเชื่อมโยง ร่างกาย และจิตใจให้สัมพันธ์เป็นหนึ่งเดียวช่วยให้เด็กมีสมาธิมาก ขึ้น วิธกี ารฝึกโยคะส�ำหรับเด็ก ต้องมีผเู้ ชีย่ วชาญแนะน�ำอยูต่ ลอด และ ต้องมีฝกึ ฝนอย่างสม�ำ่ เสมอ มีการใช้หลากหลายวิธกี ารในการสอน เช่น การฝึกเลียนแบบท่าทางสัตว์ เล่านิทาน นับเลขง่าย ๆ หลาย ภาษาช่วยให้เด็กมีสมาธิ จดจ�ำ และสร้างเสริมจินตนาการ เป็นการ พัฒนาร่างกายและสมองไปพร้อม ๆ กัน
58
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
มี เ ด็ ก โครงการบ้ า นทานตะวั น เข้ า เรี ย น จ�ำนวน ๑๒ คน เรียนทุกวันจันทร์และวันพุธ ตัง้ แต่เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. และเด็กโรงเรียน อนุ บ าลหมู ่ บ ้ า นเด็ ก สานรั ก จ�ำ นวน ๕๕ คน แบ่งเรียนตามห้อง ๆ ละ ๑ ครั้ง ทั้งหมด ๔ ห้อง เรียนทุกวันจันทร์ ถึง วันพฤหัสบดี ตั้งแต่เวลา ๑๓.๓๐ – ๑๔.๓๐ น.
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
59
ประโยชน์ของการฝึกโยคะ
๑. กล้ามเนื้อและกระดูกสันหลังแข็งแรง ๒. บริหารสมองทั้งสองซีกให้สมดุล ๓. กล้ามเนื้อและระบบประสาทคลายตัวช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด ๔. ระบบการหายใจดีขึ้น ปอดได้รับออกซิเจนมากขึ้น ๕. สร้างทักษะทางสังคม ๖. ช่วยพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
60
พับเรือกระดาษ - ฝึกท�ำท่าเรือ
นับเลข - ฝึกท�ำท่างู
นับเลข - ฝึกท่าท�ำจระเข้
ท่าแมงปอ่ ง
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
61
กล่องเรียนรู้แสนสนุก เพื่อสร้างทักษะชีวิตให้เด็กโรงเรียนอนุบาลสานรัก อายุตั้งแต่ ๓ – ๘ ปี ได้มีประสบการณ์ และสามารถพึ่งพาตนเองได้ในอนาคต เพราะเด็กใน ช่วงวัย ๑๒ ปีแรก ควรได้เรียนรู้จากสภาพแวดล้อมจริง ที่เริ่มจากสิ่งที่ เป็นรูปธรรมจับต้องได้ ผ่านประสาทสัมผัสการรับรู้ทั้ง ๖ ด้าน ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ โดยปลูกฝังให้เด็กมีทักษะผ่านการเล่น และลงมือ จากกิจกรรมของ “กล่องเรียนรู้แสนสนุก” ทั้ง ๔ ห้อง ดังนี้
62
๑. ๒. ๓. ๔.
ห้องศิลปหัตถกรรม ห้องมัดย้อมและทอผ้า ห้องงานไม้ กล่องเรียนรู้โลกกว้าง (สื่อโทรทัศน์ สารคดี การ์ตูนส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม)
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
63
ห้องศิลปหัตถกรรม เน้นเรื่องประโยชน์ใช้สอยเริ่มด้วยวิธีการ ง่าย ๆ เช่น การติดลูกปัดลงบนกระดาษ เรี ย นรู ้ วิ ธี ก ารใช้ เ ข็ ม การหั ด เย็ บ แบบ ต่าง ๆ การปัก การถัก และการร้อย เย็บกระเป๋าผ้าเย็บตุ๊กตา เย็บพวงกุญแจ เย็บหมอน เย็บหุ่นนิ้วมือ ปักลวดลายบน เสือ้ และ กระเป๋าสตางค์ การถักไหมพรม จากไม้บล็อก การร้อยสร้อยข้อมือจาก ลู ก ปั ด เมื่ อ ปฏิบัติเรื่อย ๆ ฝึกทักษะ พัฒนาการด้านการคิดของสมอง มีการ ใส่ ใ จจดจ่ อ ฝึ ก กล้ า มเนื้ อ และสายตา มีความกระตือรือร้นทีจ่ ะประดิษฐ์ชนิ้ งาน สร้างความภาคภูมใิ จให้เด็ก ๆ กับชิน้ งาน ที่ท�ำส�ำเร็จและสามารถน�ำไปใช้ได้จริง
64
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
65
ห้องมัดย้อมและทอผ้า
จัดกิจกรรมเพื่อกระตุ้นให้เด็กได้ลงมือท�ำงานและเรียนรู้ด้วยตนเอง ทั้งยังช่วย เสริมสร้างจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ ฝึกสมาธิ รู้จักจัดการงานอย่างเป็นขั้น ตอนจนส�ำเร็จ และเด็กมีความสุขในการท�ำงาน กลุม่ เป้าหมายเด็กโรงเรียนอนุบาล หมู่บ้านเด็กสานรัก อายุตั้งแต่ ๔ – ๘ ปี
66
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
67
กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ มัดเพ้นท์ เด็กได้เรียนรู้กระบวนการสร้างสรรค์ลาย ผ้าด้วยตนเอง จากการใช้หนังยางมัดผ้า เพื่อกั้นไม่ ให้สซี มึ เข้าในบริเวณพืน้ ทีท่ ตี่ อ้ งการสร้างลาย เมือ่ ผ้า แห้งตัดหนังยางออกลวดลายผ้าของเด็กแต่ละคนที่ ออกมาจะไม่ซ�้ำกัน ท�ำให้เด็กเกิดความภาคภูมิใจใน ผลงานของตัวเอง
68
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
69
70
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
มัดย้อมสีธรรมชาติ เด็กเรียนรูก้ ารใช้วตั ถุดบิ จากธรรมชาติ แทนสีเคมี ให้เด็กได้เรียนรูก้ ระบวนการผลิตสีจากธรรมชาติ ด้วยการน�ำเอาใบไม้หรือเปลือกไม้มาต้มให้ได้สี เมื่อได้ สี จ ากธรรมชาติ แ ล้ ว เด็ ก จะได้ เ รี ย นรู ้ เ ทคนิ ค วิ ธี ก าร การกระตุ้นให้สีเข้มขึ้นด้วยการใช้น�้ำขี้เถ้า น�้ำสารส้ม น�้ำปูน น�้ำสนิม เป็นต้น ทอผ้า เป็นการฝึกการใช้กล้ามเนื้อมือและตา และสมาธิ เด็กได้ฝึกการทอผ้าพอส�ำเร็จก็น�ำมาเย็บเป็นย่าม กระเป๋า หรือเป็นที่รองแก้ว
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
71
กิจกรรมสนับสนุนโครงการต่าง ๆ
• เป็นวิทยากรสอนผ้ามัดย้อมในกิจกรรมค่ายของโครงการตู้หนังสือในบ้านเด็ก •
จ�ำนวน ๔ ครั้ง จัดกิจกรรมผ้ามัดย้อมให้แก่เด็กระดับประถมต้นในช่วงปิดเทอม
งานพัฒนาศักยภาพบุคลากร เข้าอบรม “การมัดย้อมสีธรรมชาติ” จัดโดย บ้านสวนเรียนรู้ (Organic way)
•
72
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
73
ห้องงานไม้ การปลูกฝังและสร้างนิ สยั ให้เด็กได้ปฏิ บตั ิ อย่างต่อเนื่ องจนเป็ นนิ สยั กิ จ กรรมผู ้ พิ ทั ก ษ์ ค วามสะอาด ก่ อ นและหลั ง เข้ า ห้ อ งเด็ ก ทุ ก คนจะต้ อ งช่ ว ยกั น ท�ำความสะอาดห้องก่อนทุกครั้ง กิจกรรมตัวแทนมีการท�ำข้อตกลงโดยสมัครใจ เพื่อเคารพสิทธิตามกติกาข้อตกลงใน การอยู่ร่วมกัน กิจกรรมผู้น�ำความสามัคคี และการช่วยเหลือเกื้อกูลกระตุ้นให้เกิดการช่วยเหลือ และแบ่งปันกันแบบพี่สอนน้อง เด็กโตช่วยเด็กเล็ก คนท�ำเป็นช่วยคนท�ำไม่เป็น กิจกรรมผูเ้ รียน/ทบทวนเรียนรู้ ถามเด็กเกีย่ วกับอุปกรณ์ เครือ่ งมือ แต่ละชิน้ ว่าชือ่ อะไร ใช้งานอย่างไร เป็นการทบทวนความรู้และสอนเพิ่มเติม
74
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
ส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู ้ ผ ่ า นการเล่ น จั ด กระบวนการเรี ย นรู ้ ที่ ส ร้ า งทั ก ษะด้ า น ต่าง ๆ ให้เป็นไปตามวัย ผ่านกิจกรรมการ เล่น และลงมือท�ำ “ของเล่น” เช่น กังหัน ฝาน�้ำอัดลม ก�ำหมุน (คอปเตอร์ไม้ไผ่) รถไม้ ร้อยหนังยาง เบ็ดตกปลาเดินกะลา มะพร้าว ลูกข่างมือหมุน รถพลังลูกโป่ง ปี่หลอดดูดน�้ำ เป็นต้น ประโยชน์และคุณค่า ช่วยเสริมสร้าง อวัยวะส่วนต่าง ๆ ให้สามารถท�ำงานสอด ประสานกั น เกิ ด ทั ก ษะความช� ำ นาญ เรียนรู้การแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น เด็กมี ความสุขและสนุกสนาน เกิดความภาค ภู มิ ใ จในความส� ำ เร็ จ จากผลงานของ ตนเอง
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
75
งานด้านจิตวิทยา เนื่องจากเด็กส่วนใหญ่ของมูลนิธิเด็กมาจากครอบครัว ที่ ข าดการดู แ ลเอาใส่ ใ จทั้ ง ทางด้ า นร่ า งกายและจิ ต ใจ อย่างเหมาะสม ส่งผลให้พัฒนาการของเด็กล่าช้า มีปัญหา ด้านสติปัญญาที่ต�่ำกว่าเกณฑ์ปกติ เสี่ยงที่จะเป็นสมาธิสั้น หรือโรคทางจิตเวชอื่น ๆ และในเด็กบ้างคนที่เคยถูกทารุณ กรรมก็ มี แ นวโน้ ม ที่ จ ะมี ป ั ญ หาทางด้ า นอารมณ์ แ ละ พฤติกรรมร่วมด้วย เด็กกลุ่มนี้จึงควรได้รับการดูแลเฉพาะ เป็นรายบุคคล
76
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
จากการใช้แบบประเมินสมาธิสนั ้ (SNAP - IV) ในการประเมิน พฤติกรรมเด็กโครงการบ้านทานตะวันและโรงเรียนอนุบาล หมูบ่ า้ นเด็กสานรักเบือ้ งต้น เพือ่ ค้นหาว่าเด็กคนใดทีต่ อ้ งได้ รับการประเมินจากจิตแพทย์ พบว่า มีเด็กทีต่ อ้ งเข้าระบบ การรักษา จ�ำนวน ๑๐ ราย ดังนี้ ที่ ๑ ๒
อายุ ผลการประเมินจากจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น (ปี) ๔ สงสัยสมาธิสั้น และปัญหาพัฒนาการทางภาษา (ออกเสียงไม่ชัด)
๔
๕ ๕ ๘
สงสัยสมาธิสั้น และปัญหาทางด้านพัฒนาการ สงสัยสมาธิสั้น สงสัยระดับสติปัญญา และปัญหาพัฒนาการล่าช้า
๕
๓
เรื่องการเรียนในห้องเรียนและการออกเสียงไม่ชัด
๖
๓
ขี้กลัว ขี้กังวล ในห้องเรียนท�ำงานไม่ค่อยเสร็จ ไม่ค่อยนิ่ง
๗
๘
มีปัญหาการอ่าน อ่านได้ไม่คล่อง ใช้การเดาค�ำ
๘
๓
สงสัยสมาธิสั้น มีพฤติกรรมไม่นิ่ง ยุกยิกตลอดเวลา
๙
๓
สงสัยสมาธิสั้นมีพฤติกรรมท�ำอะไรซ�้ำ ๆ
๑๐
๓
สงสัยสมาธิสั้นมีพฤติกรรมไม่นิ่ง ยุกยิกตลอดเวลา ดื้อ แกล้งเพื่อนแรง
๓
ตามตารางข้างต้นขณะนี้เด็กได้เข้าสูร่ ะบบการรักษาเรียบร้อยแล้วและก�ำลังอยูใ่ น ขัน้ ตอนรักษาและติดตามผลอย่างต่อเนื่องโดยจิตแพทย์เด็กและวัยรุน่ ต่อไป
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
77
มี ก ารประเมิ น คั ด กรองสติ ป ั ญ ญาและความ บกพร่องทางการเรียนรู้ (LD) ให้กับเด็กโรงเรียน หมู่บ้านเด็ก โดยนักจิตวิทยาคลินิกช�ำนาญการ โรงพยาบาลรามาธิ บ ดี แ ละนั ก ศึ ก ษาจิ ต วิ ท ยา คลินิก จ�ำนวน ๓ คน มาช่วยในการประเมินคัด กรองเพื่อให้ได้ผลการทดสอบมีความน่าเชื่อถือ และได้มาตรฐานตามหลักจิตวิทยาคลินิก
78
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการคัดกรองระดับสติปัญญาเด็กโรงเรียนหมู่บ้านเด็ก จ�ำนวน ๘๑ คน มีผลดังนี้
ระดับสติ ปัญญา
จ�ำนวน (คน)
บกพร่องทางปญั ญาระดับน้อย
๖
เรียนรูช้ า้ ต�่ำกว่าเกณฑ์ ปกติ
๕ ๕ ๔๓
ค่อนข้างฉลาด
๑๘
ฉลาด
๔
รวม
๘๑
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
79
ผลการคัดกรองระดับสติปัญญา
บกพร่องทางปญั ญาระดับน้อย เรียนรูช้ า้ ต�่ำกว่าปกติ ปกติ ค่อนข้างฉลาด ฉลาด
80
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการคัดกรองความบกพร่องทางการเรียนรู้ (specific learning disorder ; SLD) เด็กโรงเรียนหมู่บ้านเด็ก จ�ำนวน ๘๑ คน
บกพร่องทางการเรียนรู้ด้าน
เฝ้ าระวัง SLD (คน)
เป็ น SLD (คน)
ด้านสะกดค�ำ
๙
๔๑
ด้านอ่านค�ำ
๔
๒๗
ด้านการค�ำนวณ
๓
๓๖
เกณฑ์การประเมินเรียนรู้ การเฝ้ าระวังว่าจะเป็ นความบกพร่องทางการเรียนรู้ คือ เด็กมีความ สามารถในด้านดังกล่าวต�่ำกว่าชัน้ เรียนจริง ๒ ชัน้ เรียน ตัวอย่างเช่น เด็กเรียน อยูช่ นั ้ ป.๔ แต่สะกดค�ำเท่าเด็ก ป.๒ ในทางคลินิกแล้วถือว่าเป็ นโรคบกพร่อง ทางการเรียนรู้ แต่เนื่องจากเป็ นเด็กกลุ่มขาดโอกาสจึงมีการปรับเกณฑ์เพือ่ เป็ นการให้โอกาสกับเด็กกลุม่ นี้ ความบกพร่องทางการเรียนรู้ คือ เด็กมีความสามารถในด้านดังกล่าวต�่ำ กว่าชัน้ เรียนจริง ๓ ชัน้ เรียนขึน้ ไป ตัวอย่างเช่น เด็กเรียนอยูช่ นั ้ ป.๖ แต่ม ี ความสามารถด้านการสะกดค�ำเท่าเด็ก ป.๓ เป็ นต้น
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
81
ผลการคัดกรองความบกพร่องทางการเรียนรู้
เสีย่ ง SLD SLD
หมายเหตุ: เด็ก ๑ คน สามารถเป็ นได้มากกว่าหนึ่งด้าน
แผนงานต่อไป ๑. เมือ่ ทราบความสามารถเด็กแล้วรายงานผลให้ครูรบั ทราบ เพือ่ จัดการเรียน การสอนให้เหมาะสมกับความสามารถของเด็ก ๒.ในเด็กทีม่ คี วามสงสัยว่ามีความผิดปกติ (ข้อมูลจากครูพเ่ี ลี้ยง และการ ทดสอบเบือ้ งต้นของนักจิตวิทยา) เพือ่ น�ำส่งรักษากับผูเ้ ชีย่ วชาญ เช่น กุมาร แพทย์ จิตแพทย์เด็กและวัยรุน่ เพือ่ ให้ความช่วยเหลือเฉพาะด้าน ๓. เมือ่ จัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับความสามารถของเด็กแล้ว ควรมี การประเมินระดับสติปญั ญาและความบกพร่องทางการเรียนรูท้ ุกปี เพื่อดู พัฒนาการและเป็ นข้อมูลในการพัฒนาเด็กต่อไป
82
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
83
งานด้านพัฒนาการเด็ก
จัดกิจกรรมบ�ำบัดส�ำหรับเด็กพิเศษ โดย น.ส.กัญญารัตน์ เจริญกิจ นักกิจกรรมบ�ำบัด น�ำเอาวิธีการและอุปกรณ์มาใช้ ในการบ�ำบัดเกี่ยวกับกลุ่มเด็กที่มีความบกพร่องทางด้านร่างกาย จิตใจ และ การเรียนรู้ มาช่วยจัดกิจกรรมกระตุ้นพัฒนาการเด็กและใช้กระบวนการตรวจ ประเมิน ส่งเสริม ป้องกัน บ�ำบัดและฟื้นฟูสมรรถภาพ ให้เด็กสามารถท�ำกิจกรรม ต่าง ๆ ในชีวติ ประจ�ำวันได้ เด็กทีเ่ ข้ารับการท�ำกิจกรรมบ�ำบัดส่วนใหญ่ กล้ามเนือ้ มัดเล็กไม่แข็งแรง บางคนมีภาวะเอ็นข้อหย่อน จึงท�ำให้เด็กเมื่อยล้าง่าย และเด็ก บางคนมีภาวะรอคอยไม่เป็น ไม่จดจ่อ และไม่ฟังค�ำสั่ง นักกิจกรรมบ�ำบัดจึงจัด กิจกรรมให้เหมาะกับเด็กแต่ละคน เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องให้กับเด็กได้ตรงความ ต้องการ
84
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
85
โครงการ
ปฏิรูปการศึกษาเพือ่ เด็กและชุมชน แบ่งการด�ำเนินงานออกเป็น ๒ โครงการ ดังนี้ ๑. โครงการอาหารเพลเพื่อสามเณรในชนบท
• •
บรรพชาสามเณรสามเณรีและบวชศีลจาริณีภาคฤดูร้อน กิจกรรม “อาศรมสามเณร” แบ่งออกเป็น ๒ กิจกรรม ได้แก่ - พุทธเกษตรเพื่ออาหารเพลที่ปลอดภัยและมีคุณภาพ - เรียนรู้ศาสนธรรมเพื่อเสริมปัญญา
86
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
87
บรรพชาสามเณร สามเณรี และบวชศีลจาริณี ภาคฤดูร้อน การบวชนับเป็นธรรมเนียมประเพณีของ ชาวไทยที่นับถือพระพุทธศาสนา เพราะ ผู้มีศรัทธามั่นคงในพระพุทธศาสนามีจุด มุ่งหมายที่จะให้บุตรของตนได้เป็นศาสน ทายาทสืบต่อพระพุทธศาสนาให้ยืนยาว ต่ อ ไป และอี ก ประการหนึ่ ง เป็ น จุ ด ประสงค์ของผู้เป็นบิดามารดาที่ต้องการ ให้บุตรของตนได้ศึกษาเรียนรู้หลักธรรม ทางพระพุทธศาสนา เพือ่ จะได้นำ� เอาหลัก ค�ำสอนมาประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�ำวันใน การที่ จ ะอยู ่ ค รองเรื อ นเมื่ อ เติ บ โตเป็ น ผู้ใหญ่ในภายหน้า ด้วยเหตุนี้
88
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
การจัดกิจกรรมการบรรพชาสามเณรของ เด็กผูช้ าย สามเณรีและบวชศีลจาริณขี อง เด็กผูห้ ญิงและอบรมเยาวชนทัว่ ไปในภาค ฤดู ร ้ อ นที่ จั ด ให้ มี ขึ้ น ทุ ก ปี ข องเดื อ น เมษายน เด็กชายหญิงจะได้ศึกษาเรียนรู้ หลั ก การด� ำ เนิ น ชี วิ ต ตามหลั ก ธรรมใน พระพุทธศาสนาเพือ่ ให้มที กั ษะการใช้ชวี ติ ได้อย่างปกติสุขทั้งกายใจ รู้จักเท่าทัน ตนเองและสั ง คมโลกที่ ห มุ น เปลี่ ย นอยู ่ ตลอดเวลา โดยการใช้หลักไตรสิกขา ซึ่ง ประกอบด้วย ศีล สมาธิ ปัญญา
มีวดั และโรงเรียนพระปริ ยตั ิ ธรรม เข้าร่วมจัด บรรพชาสามเณร สามเณรี และบวชศีลจาริ ณี ภาคฤดูร้ อ น จ�ำ นวน ๑๕ วัด มี ผู้เ ข้ า ร่ ว ม จ�ำนวน ๘๔๒ รูป/คน ดังนี้
• บรรพชาเป็นสามเณร จ�ำนวน ๕๙๑ รูป • • •
เมือ่ จบโครงการมีการลาสิกขาบทจ�ำนวน ๔๕๒ รูป ศึกษาต่อในระบบการศึกษาของสงฆ์ ๑๓๙ รูป บรรพชาเป็นสามเณรี จ�ำนวน ๗ รูป อุปสมบทเป็นพระภิกษุ จ�ำนวน ๑๒๕ รูป บวชศีลจาริณี(เนกขัมมะ) จ�ำนวน ๑๑๙ คน
อาศรมสามเณร มูลนิธิเด็ก สนับสนุนงบประมาณ จ�ำนวน ๔๒๓,๑๒๕ บาท ให้กับโรงเรียนพระปริยัติธรรมรวม ๒ แห่ง ๑. โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดนิโครธาราม อ.ท่าวังผา จ.น่าน ๒. โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดดอนมงคลสันติสุขวิทยา อ.สันติสุข จ.น่าน เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการให้แก่สามเณรในการพัฒนาอาหาร เพลทีป่ ลอดภัยและมีคณ ุ ภาพรวม ทัง้ ส่งเสริมกิจกรรมด้านศาสนทายาทสืบต่อพระพุทธ ศาสนาโดยมีศาสนพิธีท้องถิ่นเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาตัวสามเณรเตรียม ความพร้อมสู่การเป็นศาสนทายาท สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
89
หลักปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียงและหลักสุขภาพดีด้วย “วิ ถี ๔ อ.” ดังนี้
อ.๑ อาหาร
อ.๒ ออกก�ำลังกาย
เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
ให้ ส ามเณรได้ อ อกก� ำ ลั ง กายตามความ เหมาะสมของสมณสารูป เช่น การยืดเส้น การบริหารกล้ามเนื้อ การเล่นโยคะที่ไม่ขัด กับวินัยสงฆ์
อ.๓ อากาศ
อ.๔ อารมณ์
เรือ่ งของความสะอาด
เป็ นการฝึกสมาธิและการเจริญสติ
“สามเณร” ก็คอื กลุม่ วัยรุน่ ชายทีก่ ำ� ลังมีความเปลีย่ นแปลงทางด้านร่างกายและอารมณ์ แต่ยังไม่มีความรู้ในการปฏิบัติตนเท่าที่ควร การประยุกต์หลัก ๔ อ. เข้ามาใช้ได้ในชีวิต จริงท�ำให้กลุม่ สามเณรสนใจเรือ่ งสุขภาวะของตนเองมากขึน้ รวมทัง้ ยังเป็นการกระตุน้ ให้ กลุ่มสามเณรผลิตพืชผักสวนครัว เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบที่ดีในปรุงอาหารอันเป็นผลที่ดีต่อ สุขภาพพระสงฆ์สามเณรและเป็นแบบอย่างให้กับชุมชนอีกด้วย
90
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
กิ จกรรมด้านศาสนธรรมเพื่อเสริ มปัญญา (สร้างศาสนทายาท) จัดกิ จกรรมฝึ กทักษะการสวดมนต์และให้พรแบบพืน้ เมือง ฝึกเทศน์ธรรมชาดก • การฝึ • กท่องหลักธรรม นวโกวาท • ฝึกสวดเบิก • ฝึกเทศน์มหาชาติและการเรียนรู้งานเทศน์มหาชาติ ้อักษรภาษาล้านนา • เรีฝึกยทันรูกษะการปาฐกถาธรรม วาทะเพื่อการเผยแผ่ต่อเนื่องกิจกรรมธรรมสัญจร • ธีกร • ศาสนพี กิ จ กรรมจั กรยาตรา เพื่อการเผยแผ่ธรรมะ • กิจกรรมครู เยี่ยมวัด เยี่ยมบ้าน เยี่ยมสามเณร เพื่อประเมินการปฏิบัติหน้าที่ • ภายในวั ด การอุปัฏฐาก
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
91
กิจกรรมการพัฒนาสามเณรด้านพุทธศิลป์
• ฝึกทักษะการตีกลองบูชา (พุทธศิลป์ตีกลองบูชาตามประเพณีท้องถิ่น) • การเรียนรู้การแกะสลักฉลุลาย ลงรักปิดทอง กิจกรรมพัฒนาทักษะการเรียนรูเ้ ชิงบูรณาการและนวัตกรรมในศตวรรษที่ ๒๑ ค่ายภาษาไทยการเขียนเรียงความ ค่ายภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ค่ายวิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์ บูรณาการเพื่อการเรียนรู้ เรียนรู้การใช้งานและแก้ไขปัญหาเบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องยนต์ ทางการเกษตร เรียนรู้การติดตั้งระบบเครื่องขยายเสียงในงานต่าง ๆ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชุมชน/นักสืบศาสนพิธีท้องถิ่น
• • • • • •
กิ จกรรมพัฒนาบุคลากร สร้างครูกลั ยาณมิตร ปรับเปลีย่ นแนวความคิดครู พัฒนาเทคนิคกระบวนการเรียนการสอน เพือ่ ให้ชมุ ชนได้เข้ามามีสว่ นร่วม
• •
92
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
กิจกรรมการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เน้นให้ผู้เรียนรู้จักเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูเป็นโค้ช (Coach) และอ�ำนวยความสะดวก (Facilitator) แบบการเรียนรูโ้ ดยใช้ ปัญหาเป็นฐาน (PBL : Problem-Based Learning) และสิ่ง ที่ช่วยครูในการจัดการเรียนรู้ได้ดีก็คือ ชุมชน ซึ่งเป็นชุมชน การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC : Professional Learning Commnities) ที่เกิดจากการรวมตัวกันของครูในการแลก เปลีย่ นประสบการณ์เพือ่ พัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาย ใต้ “โครงการอาศรมสามเณร” ดังนี้
- คลินิกภาษาไทย /ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร - เรียนรูก้ ารใช้งานและแก้ไขปัญหาเบือ้ งต้นเกีย่ วกับ เครื่องยนต์ทางการเกษตร - เรียนรู้การติดตั้งระบบไฟฟ้าเบื้องต้น - การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชุมชน
เพื่อให้สามเณรที่ได้เรียนรู้ในสิ่งที่ตนเองสนใจเป็นการค้นหา ศักยภาพและความถนัดของตนเอง ถ้าได้รบั การฝึกฝนพัฒนา อย่างต่อเนื่องก็จะท�ำให้เกิดความช�ำนาญ และยังสามารถ แนะน�ำช่วยเหลือผู้อื่นได้อีกด้วย สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
93
๒. โครงการอาหารกลางวันเพื่อเด็กในชนบท แบ่งการท�ำงานออกเป็ น ๒ ส่วน ดังนี้ ๑. จัดฝึกอบรมให้ความรูแ้ ก่เด็กและเยาวชนให้มที กั ษะ การท�ำเกษตรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะสัมมาชีพ ๒. สนับสนุนให้เด็ก เยาวชนและโรงเรียน ท�ำพื้นที่ผลิต แหล่งอาหารกลางวันปลอดภัยที่มีคุณภาพและยั่งยืน ภายในโรงเรียน มีโรงเรียนในพืน้ ที่อำ� เภอเลาขวัญ จังหวัดกาญจนบุรี เข้าร่วม จ�ำนวน ๑๐ โรงเรียน มีกลุ่มเด็กและเยาวชน เข้าร่วม จ�ำนวน ๑๑๐ คน ดังนี้ ๑. โรงเรียนมัธยมเลาขวัญราษฎร์บ�ำรุง ต.เลาขวัญ จ.กาญจนบุรี ๒. โรงเรียนบ้านหนองแสลบ ต.เลาขวัญ จ.กาญจนบุรี ๓. โรงเรียนบ้านเขานางสางหัว ต.เลาขวัญ จ.กาญจนบุรี ๔. โรงเรียนอนุบาลวัดเลาขวัญ ต.เลาขวัญ จ.กาญจนบุรี ๕. โรงเรียนบ้านหนองผือ ต.เลาขวัญ จ.กาญจนบุรี ๖. โรงเรียนบ้านหนองโสน ต.หนองโสน จ.กาญจนบุรี ๗. โรงเรียนบ้านหนองตาก้าย ต.หนองนกแก้ว จ.กาญจนบุรี ๘. โรงเรียนบ้านหนองไก่เหลือง ต.หนองนกแก้ว จ.กาญจนบุรี ๙. โรงเรียนบ้านหนองเค็ด ต.หนองประดู่ จ.กาญจนบุรี ๑๐. โรงเรียนบ้านหนองปรือ ต.หนองประดู่ จ.กาญจนบุรี
94
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ผ่านกระบวนการคิ ด ตระหนักรู้ในเรื่องใกล้ตวั และลงมือปฏิ บตั ิ ผ่านกิ จกรรม ดังนี้ ๑. สร้างความตระหนักในเรื่องความส�ำคัญของแหล่งอาหารที่ปลอดภัย ๒. การเก็บเมล็ดพันธุ์พืช/ขยายพันธุ์พืช ๓. การท�ำงานเป็นหมู่คณะ ๔. กระบวนการเรียนรู้ทักษะสัมมาชีพในท้องถิ่น ๕. กระบวนเรียนรู้การจัดการด้านการตลาด
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
95
จัดอบรมให้กบั นักเรียนแกนน�ำ “ต้นกล้าเลาขวัญ สวรรค์บา้ นไพร หัวใจ พอเพียง” มีเด็กและเยาวชนเข้าร่วม จ�ำนวน ๑๐๐ คน และครู จ�ำนวน ๒๒ คน จาก ๘ โรงเรียน เพือ่ เสริมศักยภาพของเด็กและเยาวชนร่วมกับภาคีเครือ ข่ายทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรชุมชนต่าง ๆ ทัง้ ในพืน้ ทีแ่ ละนอกพืน้ ที่ เพือ่ จัดกระบวนการเรียนรูจ้ ำ� นวน ๘ ฐาน คือ ฐานที่ ๑ ระบบสหกรณ์ร้านค้า ฐานที่ ๒ การปลูกพืชอินทรีย์และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ จากกากมันสัมปะหลัง ฐานที่ ๓ การท�ำปศุสัตว์การเลี้ยงวัว แพะ ฐานที่ ๔ การแปรรูปหม่อนมัลเบอรี ฐานที่ ๕ ศิลปะการตอกลายผ้า ฐานที่ ๖ งานประดิษฐ์จากผ้า ฐานที่ ๗ พลังงานทางเลือก ฐานที่ ๘ การท�ำน�้ำยาเอนกประสงค์และเรียนรู้ชนิดของพืช และสมุนไพร
ร่วมกับภาคีเครือข่ายปฏิรูปการศึกษา จัดกิจกรรม “ร้อยดวงใจตามรอยพ่อ สู่ต้นกล้าเลาขวัญ” เพื่อจัดทอดผ้าป่า สามัคคี และมีสามเณรจากโรงเรียนพระ ปริ ยั ติ ธ รรมวั ด นิ โ ครธาราม อ� ำ เภอ ท่าวังผา จังหวัดน่าน ร่วมเทศน์มหาชาติ ๑๓ กัณฑ์เทศน์ เพือ่ หาทุนสร้างองค์พระ บริเวณเชิงเขาวัดเขากาญจนเขตและหา ทุนเพื่อจัดซื้อที่ดินบริเวณหน้าโรงเรียน บ้านเขานางสางหัว
96
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
ส่งเสริมการท�ำเกษตรอินทรีย์เพือ่ อาหารกลางวันในโรงเรียน
การสร้ า งความมั่ น คงทางอาหาร เพือ่ อาหารกลางวันทีป่ ลอดภัยและ ยั่งยืนในโรงเรียน เพื่อให้กลุ่มเด็ก และเยาวชนกับโรงเรียนได้ร่วมกัน สร้างพืน้ ทีท่ ำ� เกษตรเพือ่ อาหารกลาง วั น และพบว่ า แต่ ล ะโรงเรี ย นได้ ด�ำเนินการปลูกพืชผักหลากหลาย ชนิด เช่น ผักบุง้ คะน้า ชะอม ถัว่ พร้า ตะไคร้ มะนาว มะละกอ มะเขือ พริก กล้วยน�ำ้ ว้า เห็ดนางฟ้า ฝรัง่ เป็นต้น
สนับสนุนทุนท�ำเกษตรอิ นทรียเ์ พื่ออาหารกลางวันรวม ๔ โรงเรียน จ�ำนวน ๙๕,๗๐๐ บาท ได้แก่ ๑. โรงเรียนบ้านเขานางสางหัว ต.เลาขวัญ จ.กาญจนบุร ี จ�ำนวน ๓๘,๗๐๐ บาท ๒. โรงเรียนบ้านหนองโสน ต.หนองโสน จ.กาญจนบุร ี จ�ำนวน ๑๐,๐๐๐ บาท ๓. โรงเรียนบ้านหนองไก่เหลือง ต.หนองนกแก้ว จ.กาญจนบุร ี จ�ำนวน ๓๐,๐๐๐ บาท ๔. โรงเรียนบ้านหนองปรือ ต.หนองประดู่ จ.กาญจนบุร ี จ�ำนวน ๑๗,๐๐๐ บาท
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
97
โครงการ
อุปการะเด็กและทุนการศึกษา เพื่อเด็กยากไร้ในชนบท สนั บ สนุ น ทุ น การศึ ก ษาต่ อ เนื่ อ งกั บ กลุ ่ ม เด็ ก ยากจน เด็กไร้รัฐ ไร้สัญชาติ อายุระหว่าง ๖ – ๑๘ ปี ที่มีความ ประพฤติดี ตัง้ ใจเรียน มีผลการเรียนอยูใ่ นระดับปานกลาง และสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการช่วยเหลือเด็กอย่าง ต่อเนื่อง รวมทั้งติดตามเยี่ยมเด็กและครอบครัว เพื่อให้ ทราบถึงปัญหาและหาแนวทางแก้ไข ตลอดจนเป็นทีพ่ งึ่ ทาง จิตใจให้แก่เด็กและเยาวชนในโครงการอีกด้วย
98
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
หลักเกณฑ์การช่วยเหลือ ดังนี้ - ระดับประถมศึกษา ปีละ ๒,๐๐๐ บาท/คน/ปีการศึกษา - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ปีละ ๓,๐๐๐ บาท/คน/ปีการศึกษา - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และ ปวช. ปีละ ๔,๐๐๐ บาท/คน/ ปีการศึกษา มีการสนับสนุนทุนการศึกษาปี พ.ศ. ๒๕๖๐ รวม ๒๕๓ ทุน และ ๑ ครอบครัว จ�ำนวน ๑,๐๔๕,๔๐๐ บาท -
ชั้นอนุบาล – ประถมศึกษา รวม ๖๘ ทุน จ�ำนวน ๑๓๖,๐๐๐ บาท มัธยมศึกษาตอนต้น รวม ๑๑๑ ทุน จ�ำนวน ๓๓๗,๐๐๐ บาท มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. รวม ๕๘ ทุน จ�ำนวน ๒๓๒,๐๐๐ บาท กรณีพิเศษ รวม ๑๖ ทุน จ�ำนวน ๓๓๐,๔๐๐ บาท สนับสนุนครอบครัว รวม ๑ ครอบครัว จ�ำนวน ๑๐,๐๐๐ บาท
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
99
ยุติการสนับสนุนทุนการศึกษา รวม ๔๗ ทุน ดังนี้ - จบประถมศึกษาปีที่ ๖ และมัธยมศึกษาปีที่ ๓ (ไม่ได้เรียนต่อ) จ�ำนวน ๓ ราย - จบการศึกษา จ�ำนวน ๒๘ ราย - ยุติการสนับสนุน จ�ำนวน ๑๖ ราย งานประสานความร่วมมือและช่วยเหลือ - บริษัท Fujairah Refinery Company Limited (FRCL) สนับสนุน ทุนการศึกษาให้แก่ ด.ญ.อลิษา มหาคุต เนื่องจากบิดาเสียชีวิตที่ ประเทศอาหรับเอมิเรตส์ รัฐดูไบ จ�ำนวน ๘๐,๐๐๐ บาท - ผู ้ ป กครองขอความอนุ เ คราะห์ รั บ โอนทุ น การศึ ก ษาผ่ า นมู ล นิ ธิ ให้ แ ก่ นางสาวจุ ฬ าลั ก ษณ์ กงชั ย ยา ซึ่ ง ก� ำ ลั ง ศึ ก ษาต่ อ ใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาขาวิศวเคมี (ภาคพิเศษ) จ�ำนวน ๘๔,๔๐๐ บาท - ผู้บริจาคผ่านเครือข่ายนักศึกษาและประชาชนปฏิรูปประเทศไทย (คปท.) สนับสนุนทุนการศึกษา ให้แก่ นางสาววิชญา ค�ำวงศ์ และ นายวรานนท์ ค�ำวงศ์ จ�ำนวน ๑๒๐,๐๐๐ บาท และด.ญ.ณัฏฐณิชา ช่วยสันเทียะ จ�ำนวน ๔๐,๐๐๐ บาท - คุณสมบุญ ประสิทธ์จูตระกูล สนับสนุนทุนการศึกษาให้แก่ นางสาว สุทธิดา กลัดสมบูรณ์ ที่ก�ำลังศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ สาขาวิชาภาษาจีน (ศศ.บ. ๔ ปี) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จ�ำนวน ๒๐,๐๐๐ บาท
100
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
101
โครงการ
ศาลาห้องสมุดพริ้งพวงแก้ว ส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนผ่านการแสวงหาความรู้ด้วย การอ่านและการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ เช่น กิจกรรม พัฒนาทักษะภาษาด้านการอ่านและเขียน ค่ายการเรียนรู้ และ กิจกรรมที่ได้ลงมือท�ำอย่าง งานประดิษฐ์ ศิลปะ และท�ำอาหาร รวมถึงการน�ำหนังสือเข้าถึงชุมชน โดยมีพื้นที่ศาลาห้องสมุด โรงเรียน ชุมชน และโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล ช่วยพัฒนาและแก้ปัญหาการอ่านเขียนให้ กับเด็กในระดับประถมศึกษา รวมถึงการเฝ้าระวังปัญหาด้าน พัฒนาการ พฤติกรรม และคุณภาพชีวติ ของเด็กทีเ่ ข้ามาใช้บริการ โดยให้คำ� แนะน�ำช่วยเหลือ พูดคุยแลกเปลีย่ นร่วมกับครูในโรงเรียน และผู้ปกครองเด็ก ประสานขอความช่วยเหลือกับหน่วยงานใน พื้นที่และที่เกี่ยวข้อง
102
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
จากการท�ำงานใกล้ชิดกับเด็ก ครอบครัว และชุมชน ท� ำ ให้ ศ าลาห้ อ งสมุ ด มี บ ทบาทในการท� ำ งานพั ฒ นาเด็ ก และ ครอบครัวในพื้นที่มากขึ้น นอกจากเป็นแหล่งค้นคว้าและเรียนรู้ พบว่า เด็กและเยาวชน มีปญ ั หาพัฒนาการและการเรียน รู้ ปัญหาด้านพฤติกรรม ปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัว ปัญหา เพื่อน ปัญหาเรื่องเพศตรงข้าม ปัญหาติดเกม และปัญหาด้าน สุขอนามัย เป็นต้น
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
103
ในปี ๒๕๖๐ มีสมาชิกใหม่เพิม่ ขึน้ จ�ำนวน ๑๑๔ คน ส่วนใหญ่เป็ นเด็กประถม และจากชุมชนใกล้เคียง เช่น ชุมชนวัด ป้อมแก้ว ชุมชนวัดน้ อยแสงจันทร์ ชุมชนในเมือง ชุมชนบ้าน หลังวัด มาเข้าร่วมกิจกรรมและยืมหนังสืออ่าน โดยรูจ้ กั ห้องสมุด จากการบอกต่อและบางรายรูจ้ กั จากการมาท�ำบุญทีว่ ดั ตลอดทัง้ ปีมผี ใู้ ช้บริการ จ�ำนวนสูงสุด ๓๑๕ คนต่อเดือน และต�่ำสุด จ�ำนวน ๒๐๗ คนต่อเดือน เป็ นผูใ้ หญ่ จ�ำนวน ๓๗ คน ทีเ่ หลือเป็นเด็กวัยประถมศึกษาและมัธยมต้น เฉลีย่ มีผมู้ าใช้บริการ วันละ ๑๐ – ๒๐ คน หนังสือทีผ่ ใู้ ช้บริการชอบอ่าน ได้แก่ การ์ตนู ขายหัวเราะ การ์ตนู สาระความรู้ ชีวประวัตบิ ุคคล วิทยาศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การพัฒนาตนเอง สารานุกรม หนังสือความรูท้ วไป ั่ วรรณกรรมจีน นิทาน ต�ำราอาหารคาวหวาน และประเภท นิตยสาร ชีวจิต หมอชาวบ้าน แม่บา้ น ครัว บ้านและสวน โดยรวม แล้วประเภทหนังสือทีผ่ อู้ า่ นสนใจ ในกลุม่ ผูใ้ หญ่สนใจอ่านนิตยสาร ส่วนเด็กและเยาวชนสนใจอ่านการ์ตนู ความรู้ และสารานุกรม และ มาใช้บริการ wi-fi แต่กม็ จี ำ� นวนไม่มากนัก
104
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
105
กิจกรรมสร้างบรรยากาศการอ่าน กิจกรรมส่งเสริมการอ่านทุกวันอาทิตย์เพือ่ กระตุน้ ความสนใจในการ อ่าน ค้นคว้าหาความรู ้ และมีนสิ ยั รักการอ่าน ด้วยกิจกรรมพัฒนา ทั้งกาย จิต สติปัญญา และสังคม มีเด็กเข้าร่วม ครั้งละ ๑๐ – ๒๕ คน กิจกรรมพัฒนาทักษะภาษา เพือ่ ฝึกทักษะการอ่าน เขียน ฟัง และพูด ผ่านการเล่นโยคะ ออกก�ำลังกาย เล่านิทานประกอบการใช้หุ่น แต่ง นิทาน อ่านหนังสือ เล่าเรื่อง เขียนไทย แต่งประโยค เติมค�ำ เรียนรู้ สุภาษิตส�ำนวนไทย และกิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และสมาธิ เช่น วาดรูประบายสี งานประดิษฐ์ตกแต่ง ท�ำโมบาย ท�ำดอกไม้ ท�ำหุ่น กระดาษ งานปูนปาสเตอร์ งานเพ้นท์กระป๋อง และท�ำการ์ดอวยพรใน โอกาสต่าง ๆ เป็นต้น ผลการจัดกิจกรรม เด็กสามารถอ่านเขียนได้ ดีขึ้น มีสมาธิและท�ำงานตามความคิดของ ตนเองได้ จากการที่เด็กเข้าร่วมกิจกรรม อย่างสม�่ำเสมอ ท�ำให้เด็กเริ่มเสนอแนะ กิจกรรมทีช่ อบและสนใจ บางครัง้ เด็กจะ น�ำเกมที่ชอบมาเล่นกันเองซ�้ำ ๆ เช่น เกม ทายส� ำ นวนไทย เกมเติม ค� ำ ที่ห ายไป เป็ นต้น
106
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
กิจกรรมจับคู่อ่าน ช่วยเด็กที่มีปัญหาด้าน การอ่าน เขียน และปัญหาอ่านไม่คล่อง โดยสอนอ่านและเขียนเป็นรายบุคคล และให้เด็กที่อ่านคล่องจับคู่กับเด็กที่ อ่านไม่คล่องเพื่อช่วยกันสอนอ่าน ผลการจัดกิจกรรม ท�ำอ่านหนังสือได้ คล่องขึน้ ผูส้ อนอ่านก็รสู้ กึ ภูมใิ จทีไ่ ด้ชว่ ยเหลือ เพื่อน ท�ำให้เด็กช่วยกันสังเกตการอ่านออกเขียนได้ ของเด็กอื่น ๆ ในโรงเรียน ทั้งคุณครูและเด็กก็จะแนะน�ำให้มาอ่าน หนังสือที่ห้องสมุด
กิจกรรมท�ำอาหาร เป็นสร้างทักษะ ชีวิตผ่านประสบการณ์ เนื่องจากเด็ก ส่วนใหญ่ไม่คอ่ ยมีโอกาสได้เรียนรูก้ าร ท�ำอาหาร เพราะครอบครัวมักจะซื้อ อาหารส�ำเร็จรูปรับประทาน การท�ำอาหาร จึงเป็นกิจกรรมที่เด็กชอบ เพราะได้ลงมือท�ำ ด้วยตนเอง รู้จักการท�ำงานร่วมกับเพื่อนอย่างเป็นขั้นตอน ผลการจัดกิจกรรม เด็กมีความรู้เรื่องการท�ำอาหารอย่างง่าย ๆ รู้สึก สนุกที่ได้ลงมือท�ำด้วย มีทักษะที่สามารถน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
107
กิจกรรมดูแลและพัฒนาสิง่ แวดล้อมศาลาห้องสมุด เด็กในช่วงอายุตั้งแต่ ๗ - ๑๒ ปี เริ่มเรียนรู้ เรือ่ งระเบียบวินยั ความรับผิดชอบ ทักษะ ชี วิ ต ทั้ ง ยั ง สนใจการท� ำ งานร่ ว มกั บ ผู้ใหญ่ การให้เด็กมีส่วนร่วมในการ ดู แ ลความสะอาดทั้ ง ภายในและ ภายนอกอาคาร ช่ ว ยปลู ก ดอกไม้ ตัดหญ้า รดน�้ำต้นไม้ จึงเป็นกิจกรรมที่ เด็กได้ฝึกตนเองใน การท�ำงาน ผลการจัดกิจกรรม เด็กมีทกั ษะการท�ำงานและทักษะชีวติ เรียนรูก้ าร อยู่ร่วมกับผู้อื่น และมีจิตอาสา
กิ จ กรรมค่ า ยเรี ย นรู ้ เด็ ก ได้ มี โ อกาสสั ม ผั ส แหล่ ง เรี ย นรู ้ ใ นชุ ม ชน นอกจากการอ่านหนังสือจากศาลาห้องสมุด มีเด็กเข้าร่วม จ�ำนวน ๓๙ คน เป็นการจัดค่ายแบบไปเช้ากลับเย็น เนือ้ หาเป็นการเรียนรูธ้ รรมชาติ ป่าชายเลน ระบบนิเวศ รู้จักการท�ำนาเกลือและคุณสมบัติของเกลือ เรี ย นรู ้ วิ ถี ชี วิ ต คนริ ม น�้ ำ แม่ ก ลอง และล่ อ งเรื อ ชมวั ด ที่ ส� ำ คั ญ ทาง ประวัติศาสตร์ เช่น วัดภุมรินทร์ วัดท้ายหาด และวัด บางกุ้ง เป็นต้น ผลการจัดกิจกรรม เด็กและเยาวชนได้ รู้จักธรรมชาติ สภาพแวดล้อม ระบบ นิเวศป่าชายเลน และประวัติศาสตร์ของ จังหวัดสมุทรสงคราม เด็กได้เรียนรู้จัก ปรับตัวในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น
108
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
กิจกรรมส่งเสริมการอ่านแก่เด็กระดับประถมศึกษาในโรงเรียนวัด บางประจันต์ฯ ตัง้ อยูใ่ กล้กบั ศาลาห้องสมุด จึงได้เข้าไปช่วยจัดกิจกรรม พัฒนาทักษะภาษาด้านการอ่าน เขียน ฟัง พูด การคิด และฝึกให้เด็ก ท� ำ งานเป็ น รายบุ ค คลและกลุ ่ ม มี ก ารบั น ทึ ก การอ่ า น เพื่ อ ฝึ ก ทักษะการเขียน และการสรุปใจความส�ำคัญ มีเด็กเข้าร่วม จ�ำนวน ๕๐ คน เป็นเด็กระดับประถมศึกษาปีที่ ๒ - ๖ จัดกิจกรรมทุกวันศุกร์สดุ ท้าย ของเดือน ๆ ละ ๑ ครั้ง ในปีนี้ได้น�ำเด็กมาจัดกิจกรรมที่ศาลาห้องสมุด ท�ำให้เด็กรู้จักห้องสมุดมากขึ้น เด็กได้เห็นบรรยากาศและรู้จักหนังสือ หลากหลายประเภทมากขึน้ ท�ำให้เด็กสนใจและชอบมาท�ำกิจกรรมกับ ศาลาห้องสมุดมากขึ้น ผลการจัดกิจกรรม เด็กกระตือรือร้นในการอ่านเขียน และรับผิดชอบ งานที่ได้รับมอบหมายและมีใบงานมาส่งทุกครั้ง หลังเลิกเรียนจะเข้า มาอ่านหนังสือ และยืมหนังสือกลับไปอ่านที่บ้าน เพื่อท�ำบันทึกการ อ่าน และน�ำมาให้บรรณารักษ์ลงชื่อเป็นหลักฐาน และการที่เด็ก นักเรียนได้มาท�ำกิจกรรมกับศาลาห้องสมุดทุกเดือนท�ำให้เกิดนักอ่าน รายใหม่เพิ่มขึ้น
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
109
โครงการผ่อนคลายด้วยกลิ่น ซึ่งได้ความร่วมมือจากวิทยาลัย สหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เพื่อถ่ายทอด องค์ความรู้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ท้องถิ่น และสร้างความ เข้ ม แข็ ง ให้ กั บ ชุ ม ชน ในเรื่ อ งของการดู แ ลสุ ข ภาพแบบแพทย์ แผนไทย การฝึกยืดกล้ามเนือ้ ด้วยท่าฤาษีดดั ตน เรียนรูป้ ระโยชน์จาก กลิ่นของดอกไม้ตากแห้งที่ช่วยให้นอนหลับสบายขึ้น ผลการจัดกิจกรรม มีเด็กเข้าร่วม จ�ำนวน ๒๔ คน หลังเสร็จกิจกรรม เด็ ก ขอท� ำ กิ จ กรรมซ�้ ำ อี ก เป็ น ครั้ ง ที่ ๒ ซึ่ ง ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และยังมีโครงการที่ให้ความรู้ แก่เด็กและชุมชนต่ออีกด้วย
กิจกรรมหนังสือถึงมือผูอ้ า่ น เพือ่ ให้คนทีอ่ ยูไ่ กลห้องสมุดได้มโี อกาส อ่านหนังสือ โดยการน�ำหนังสือไปจัดวางที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุข ภาพต�ำบลลาดใหญ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นการ ขยายกลุ่มคนอ่านในชุมชนบางตะบูน ชุมชนวัดน้อยแสงจันทร์ และ ชุมชนลาดใหญ่ และ ในปีนี้ รพ.สต.ลาดใหญ่ ได้ยกระดับเป็นโรง พยาบาลมีแพทย์ประจ�ำ จึงจัดให้มีมุมส่งเสริมพัฒนาการเด็กในโรง พยาบาล เพือ่ ให้กลุม่ เด็กเล็กทีม่ ารับวัคซีน ได้มขี องเล่นทีช่ ว่ ยกระตุน้ พัฒนาการ ผลการจัดกิจกรรม มีผู้สนใจอ่านและยืมหนังสือกลับบ้าน สังเกต ได้จากการน�ำหนังสือไปเปลี่ยนและรับกลับ พบว่า หนังสือกลับมา ไม่ครบ ถูกยืมไปครัง้ ละ ๗ - ๑๐ เล่ม และมีการถามหาหนังสือทีส่ นใจ ซึ่งจากการท�ำงานร่วมกับ รพ.สต. ท�ำให้พบปัญหาด้านสุขภาพและ ความเจ็บป่วยของเด็กในและนอกชุมชน และมีการท�ำงานช่วยเหลือ เด็กและครอบครัวร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ในพืน้ ทีด่ ว้ ย
110
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
กระบวนการอ่านสู่การเรียนรู้ รู้จักเด็กและครอบครัว ชุมชนทีม่ อี ยูใ่ นละแวกศาลาห้องสมุดพริง้ พวงแก้ว เป็นลักษณะชุมชน ห้องเช่าที่มีคนย้ายเข้าออกบ่อย คนส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพ รับจ้าง ค้าขาย ครอบครัวส่วนใหญ่เป็นครอบครัวแตกแยก เป็นพ่อ แม่ เ ลี้ ย งเดี่ ย ว หรื อ อาศั ย อยู ่ กั บ ปู ่ ย ่ า ตายาย หรื อ เครื อ ญาติ ซึ่ ง ครอบครัวเดี่ยว เด็กขาดการดูแลเอาใจใส่ เมื่อผู้ใหญ่ไปท�ำงานเด็ก จะถูกทิ้งให้อยู่บ้าน หรือปล่อยให้เล่นกันเองบริเวณแถวบ้านหรือ สนามเด็กเล่นของโรงเรียน และ วัด รวมถึงศาลาห้องสมุดที่เด็กมัก จะเข้ามาอ่านหนังสือหรือท�ำกิจกรรม จากการทีเ่ ด็กมาใช้เวลาในห้อง สมุดยาวนานตลอดทัง้ วันอย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้เกิดความสัมพันธ์และ ไว้วางใจกันระหว่างเด็กและเจ้าหน้าทีห่ อ้ งสมุด ท�ำให้เห็นพัฒนาการ ของเด็กทัง้ พฤติกรรม และรับรูข้ อ้ มูลของเด็กและครอบครัวจากการ สังเกตและพูดคุยกัน สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
111
โครงการตู้หนังสือ ในบ้านเด็ก มูลนิธิเด็ก
เพื่ อ สนั บ สนุ น ให้ เ ด็ ก ที่ มี ฐ านะยากจนและมี นิ สั ย รั ก การอ่ า น ได้ มี โ อกาสมี ห นั ง สื อ ดี เ ป็ น ของตั ว เอง และเปิ ด บ้ า นให้ เ พื่ อ น และคนในชุ ม ชนได้ อ ่ า นด้ ว ย ปั จ จุ บั น มี พื้ น ที่ ด� ำ เนิ น งาน รวม ๒๗ จังหวัด ๘๔ อ�ำเภอ ๑๔๕ ต�ำบล ๒๒๗ โรงเรียน มีเด็ก และเยาวชนได้รับมอบ จ�ำนวน ๑,๐๘๗ คน รวมมอบหนังสือและ เติม ๒ รอบ จ�ำนวน ๙๓,๑๙๓ เล่ม ในปี ๒๕๖๐ มีผสู้ นับสนุน รวม ๘๓๕ ราย เป็นเงินบริจาค จ�ำนวน ๓,๕๗๕,๒๘๖.๕๗ บาท และมีการลงพื้นที่มอบตู้และ หนังสือ (ชุดละ ๑๐๐ เล่ม) รวม ๙ จังหวัด ๙ อ�ำเภอ ๑๒ ต�ำบล ๒๑ โรงเรียน มีเด็กและเยาวชนได้รบั มอบ จ�ำนวน ๑๒๒ คน และ ห้องสมุดโรงเรียน จ�ำนวน ๙๘ แห่ง รวม ๒๒๐ ตู้
112
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
กิจกรรมค่ายสร้างบรรณารักษ์น้อย...สู่ชุมชน เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะการเป็ น บรรณรั ก ษ์ ใ ห้ แ ก่ เ ด็ ก และเยาวชนในโครงการตู ้ ห นั ง สื อ ในบ้านเด็ก ผ่านกระบวนการเรียนรู้ในเรื่องของการ ฟัง พูด คิด เขียน และประเภท หนังสือ และมีกิจกรรมพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ผ่านการท�ำสมุดท�ำมือ การท�ำ โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ และกิจกรรมเปิดร้านขายหนังสือเล่มละ ๑ บาท และยัง จัดกิจกรรมเสริมทักษะการท�ำเกษตรพึ่งพาตนเอง เพื่อให้เด็กและครูท่ีเข้าร่วมได้เรียน รู้เทคนิคและวิธีการท�ำเกษตรปลอดภัยจากปราชญ์ชุมชน เพื่อน�ำไปใช้พัฒนาแหล่ง อาหารปลอดภัยในโรงเรียน มีการจัดค่ายสร้างบรรณารักษ์น้อย...สู่ชุมชน รวม ๔ ครั้ง ดังนี้ • จังหวัดน่าน มีผู้เข้าร่วม จ�ำนวน ๑๐๑ คน จาก ๒๓ โรงเรียน • จังหวัดกาญจนบุรี มีผู้เข้าร่วม จ�ำนวน ๗๑ คน จาก ๑๐ โรงเรียน • จังหวัดอ่างทอง มีผู้เข้าร่วม จ�ำนวน ๖๔ คน จาก ๕ โรงเรียน รวม ๓ จังหวัด ได้แก่ อ่างทอง สุพรรณบุรี อยุธยา และกิจกรรมค่ายครั้งนี้ ได้ คุณศุ บุญเลี้ยง (พี่จุ้ย) ศิลปินนักร้อง นักแต่งเพลง นักอ่านหนังสือ นักเขียนหนังสือ มาช่วย จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านด้วย • จังหวัดกาญจนบุรี มีผู้เข้าร่วม ๑๓๖ คน
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
113
กิจกรรมหนังสือเล่มละ ๑ บาท เป็นกิจกรรมหนึ่งในค่ายสร้างบรรณารักษ์น้อยสู่ชุมชน เพื่อให้โอกาสให้เด็ก ครู และ คนในชุมชนได้เลือกอ่านหนังสือดีและราคาถูก เพราะการได้อ่านหนังสือก็เหมือนการ ให้โอกาสได้เรียนรู้โลกกว้างราคาถูก จากกิจกรรมหนังสือเล่มละ ๑ บาท ตั้งแต่ปี ๒๕๕๗ - ๒๕๖๐ มียอดบริจาคหนังสือ จ�ำนวน ๓๐,๖๕๑ เล่ม และในปี ๒๕๖๐ มีรายได้จากการจัดกิจกรรม จ�ำนวน ๖,๑๕๔ บาท หมายเหตุ : หนั ง สื อ ที่ ไ ด้ จ ากการบริ จ าคบางส่ ว นถู ก คั ด เพื่ อ ส่ ง ให้ กั บ เด็ ก ในโครงการ ตู้หนังสือ และหนังสือที่เหลือจากการจัดกิจกรรมค่ายในแต่ละครัง้ จะมอบให้ห้องสมุดและรายได้ จากการจ�ำหน่ายหนังสือเล่มละ ๑ บาท มอบให้โรงเรียนใช้ท�ำกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
114
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
โครงการโรงเรียนผู้น�ำการอ่าน สนับสนุนโดย มูลนิธิสยามกัมมาจล
จากแนวคิดปฏิรูปการศึกษาโดยใช้การอ่านเป็นเครื่องมือพัฒนาเด็ก ครอบครัว และชุมชน โดยคัดเลือกโรงเรียนในเครือข่ายการศึกษาทางเลือกและโรงเรียนขนาด เล็ก ในภาคกลาง อีสาน และเหนือ ทีม่ คี รูเป็นนักอ่านหรือครูบรรณารักษ์ สามารถ ประสานหน่วยงานต่าง ๆ ในพื้นที่ได้ เช่น ยุทธศาสตร์จังหวัด ศึกษาจังหวัด ภาค ธุรกิจและภาคสังคม เข้าร่วมเป็นเครือข่ายโรงเรียนผู้น�ำการอ่าน และด�ำเนินการ มอบตู้และหนังสือ (ชุดละ ๑๐๐ เล่ม) ให้กับห้องสมุดโรงเรียน จ�ำนวน ๙๘ แห่ง และนักเรียน จ�ำนวน ๕๒ คน รวม ๑๕๐ ตู้ มีรายละเอียด ดังนี้
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
115
• จังหวัดกาญจนบุรี จาก ๓ อ�ำเภอ ๙ ต�ำบล รวม ๓๓ โรงเรียน • จังหวัดนครปฐม จาก ๑ อ�ำเภอ ๒ ต�ำบล รวม ๒ โรงเรียน • จังหวัดน่าน จาก ๓ อ�ำเภอ ๙ ต�ำบล รวม ๒๓ โรงเรียน • จังหวัดสุรนิ ทร์ จาก ๕ อ�ำเภอ ๖ ต�ำบล รวม ๖ โรงเรียน และนักเรียน ๒๐ คน • จังหวัดสุพรรณบุรี จาก ๕ อ�ำเภอ ๖ ต�ำบล รวม ๖ โรงเรียน และนักเรียน ๑๕ คน • จังหวัดสมุทรสงคราม จาก ๒ อ�ำเภอ ๓ ต�ำบล รวม ๒ โรงเรียน และ นักเรียน ๘ คน • จังหวัดกาญจนบุรี จาก ๕ อ�ำเภอ ๗ ต�ำบล รวม ๑๑ โรงเรียน • จังหวัดระยอง จาก ๑ อ�ำเภอ ๑ ต�ำบล นักเรียน ๕ คน • จังหวัดนครปฐม จ�ำนวน ๑ โรงเรียน และนักเรียน ๔ คน • จังหวัดอยุธยา จ�ำนวน ๑ โรงเรียน • จังหวัดอ่างทอง จ�ำนวน ๑ โรงเรียน
116
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
งานช่วยผู้ประสบภัยน�้ำท่วมภาคใต้ มูลนิธิเด็ก ร่วมกับ มูลนิธิพิพิธภัณฑ์แม่ และบริษัท แปลน อาคิเต็ค จ�ำกัด ร่วมระดม ทุนรับบริจาคผ่าน “มูลนิธิเด็ก” เพื่อช่วยเหลือฟื้นฟู เยียวยาครอบครัวผู้ประสบภัยน�้ำ ท่วมภาคใต้ จากการลงส�ำรวจพืน้ ทีแ่ ละเยีย่ มศูนย์ชว่ ยเหลือผูป้ ระสบภัยน�ำ้ ท่วม จังหวัด นครศรีธรรมราช ในวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๐ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีน�้ำท่วมสูงและได้รับ ความเสียหายหนักรวมทั้งยังเป็นพื้นที่ด�ำเนินงานของโครงการตู้หนังสือในบ้านเด็ก มีโรงเรียนเครือข่ายขนาดเล็ก และศูนย์การเรียน “วิถีชุมชนไท” ที่เป็นสถานศึกษา นวั ต กรรมการศึ ก ษาทางเลื อ กของชุ ม ชนบ้ า นท่ า สะท้ อ น ต.ชะอวด อ.ชะอวด จ.นครศรีธรรมราช ที่ได้รับความเสียหาย จึ ง ได้ ว างแผนท� ำ งานร่ ว มกั น กั บ พื้ น ที่ ห ลั ง น�้ ำ ลด และให้ ศู น ย์ ก ารเรี ย น “วิถชี มุ ชนไท” ซึง่ มีความเข้มแข็งในการท�ำงานพัฒนาชุมชนในพืน้ ทีเ่ ป็นผูป้ ระสานงาน ในการท�ำงานช่วยเหลือผู้ประสบภัยครั้งนี้ ร่วมกับ โครงการตู้หนังสือในบ้านเด็ก มูลนิธิเด็ก
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
117
พัฒนาศักยภาพเด็กวัยรุ่นหมู่บ้านเด็ก เรียนรูก้ ารจัดกระบวนการส่งเสริมการอ่าน กับ กลุม่ ไม้ขดี ไฟ อ. ปากช่อง จ.นครราชสีมา
118
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
กิจกรรมสนับสนุนและระดมทุน
อาจารย์เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ปี ๒๕๓๖ และกวีรางวัลซีไรต์ มอบเงิน จ�ำนวน ๙๔,๖๐๐.๙๙ บาท
อาจารย์อศั ศิร ิ ธรรมโชติ นักเขียนซีไรท์ และศิลปินแห่งชาติ มอบหนังสือวรรณกรรมเยาวชน เรือ่ งสัน้ “โลกสีน้�ำเงิน และ มหกรรมในท้องทุง่ ” จ�ำนวน ๑,๔๐๐ เล่ม
คุณขนิษฐา อนันตวาร และเพือ่ น รณรงค์รบั บริจาคหนังสือและบริจาคเงิน จ�ำนวน ๒๒,๐๐๐ บาท
ช่องทีว ี MONO29 มอบตูห้ นังสือ ๒๙ ตู้ เป็ นเงินจ�ำนวน ๑๗๔,๐๐๐ บาท
บริษทั ไบเดอร์สดรอฟส์ จ�ำกัด (นีเวียร์) จัดกิจกรรมวิง่ การกุศล Blue Run บริจาคเงิน จ�ำนวน ๙๐๐,๐๐๐ บาท สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
119
โครงการรถเข็นนิทาน มูลนิธิเด็ก
ด�ำเนินงานผ่านโรงพยาบาลโดยการจัดหาหนังสือดีพร้อมรถเข็น นิทานมอบให้แก่หอผู้ป่วยเด็กตามโรงพยาบาลทั้งขนาดเล็กและ ขนาดใหญ่ เพื่อการกระตุ้นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเห็นความ ส�ำคัญของการอ่านหนังสือและนิทาน เพื่อฟื้นฟูสภาวะอารมณ์ และจิตใจของผู้ป่วยเด็กและผู้ปกครอง “หนังสือนิทาน” เป็นสื่อ ที่เด็กไม่ว่าจะเจ็บป่วยหรือปกติต่างก็ชื่นชอบ นอกจากนี้ แพทย์ พยาบาล และอาสาสมัคร ยังสามารถน�ำหนังสือเหล่านี้ไปท�ำ กิจกรรมนันทนาการสร้างความสนุกให้แก่ผู้ป่วยเด็กได้ง่าย ๆ เอง อีกด้วย ในแต่ ล ะปี จ ะมี โ รงพยาบาลส่ ง ใบสมั ค รเข้ า ร่ ว มโครงการฯ เพิม่ ขึน้ ทุกปี ดูได้จากการส่งใบสมัครพร้อมกรอกรายละเอียดครบ ถ้ ว น และในปี ๒๕๖๐ มี ก ารส่ ง มอบรถเข็ น นิ ท านให้ กั บ โรงพยาบาล ๒๑๘ แห่ง จ�ำนวน ๒๑๘ คัน (จัดส่งทางไปรษณีย์ ๒๐๑ คัน และลงพื้นที่มอบ ๑๗ คัน หรือโรงพยาบาล ๑๗ แห่ง)
120
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
121
กิจกรรมนักอ่าน-นักเล่า เพื่ อ ให้ เ กิ ด พื้ น ที่ แ ห่ ง การอ่ า นมากขึ้ น และมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลที่ ดี จึ ง จั ด กิ จ กรรม นักอ่าน - นักเล่า เพือ่ กระตุน้ ให้เกิดห้องสมุดในโรงพยาบาล สถานีอนามัย หรือ จุดบริการ ให้มกี จิ กรรมส่งเสริมการอ่านให้แก่เด็กป่วยและไม่ปว่ ย รวมถึงผูป้ กครอง และเจ้าหน้าทีข่ องโรงพยาบาล
122
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปการส่งมอบหนังสือพร้อมรถเข็นนิทานตั้งแต่ปี ๒๕๕๒ ถึง เดือนธันวาคม ๒๕๖๐ ภาค/จ�ำนวน เหนือ กลาง ตะวันออกเฉียงเหนือ ตะวันออก ตะวันตก ใต้ รวม
โรงพยาบาล/แห่ง
รถเข็นนิ ทาน/คัน ๒๗๔ ๓๕๐ ๔๗๑ ๙๔ ๖๑ ๓๑๔ ๑,๕๖๔
๒๕๙ ๒๒๗ ๔๔๔ ๙๒ ๕๔ ๒๙๗ ๑,๓๗๓
รายละเอียดการรับบริ จาคเงิ นสนับสนุน จ�ำนวน ๒,๐๕๐,๔๘๒.๑๒ บาท ช่องทาง/วิธีการรณรงค์ ส่งจดหมายถึงสมาชิกบัตรเครดิตสถาบันการเงิน การบริจาคผ่านตู้กดเงินของสถาบันการเงิน (ATM) การแลกคะแนนสะสมแทนเงินบริจาคของสถาบันการเงิน กิจกรรมพิเศษ
จ�ำนวนเงิน (บาท)
จ�ำนวนราย คิดเป็น (%)
อื่น ๆ
๑,๓๗๙,๙๕๔.๗๖ ๔๘๙,๑๗๙.๘๖ ๖๙,๘๐๐ ๑๙,๙๙๗ ๙๑,๕๕๐.๕๐
๓๗๗ ๒๙๕ ๑๙๓
๖๗.๓๐ ๒๓.๘๖ ๓.๔๐ ๐.๙๘ ๔.๔๖
รวม
๒,๐๕๐,๔๘๒.๑๒
๘๖๕
๑๐๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
123
ส�ำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก แผนกหนังสือเด็ก ในช่วงภาวะเศรษฐกิจค่อนข้างซบเซา ท�ำให้ก�ำลังซื้อของนักอ่าน ลดต�่ำลง ทางแผนกหนังสือเด็กจึงเน้นไปที่การคัดสรรพิมพ์ซ�้ำ หนังสือนิทานเล่มส�ำคัญทีข่ าดตลาดและมีความต้องการจากพ่อแม่ ผู้ปกครองรุ่นใหม่ โดยเปิดพื้นที่ขายผ่านเว็บไซต์และเฟสบุ๊ค เพือ่ ให้ผอู้ า่ นสามารถเข้าถึง และติดต่อกับส�ำนักพิมพ์สะดวกยิง่ ขึน้ ทั้งยังได้ปรับปรุงเพิ่มเติมข้อมูลว่าด้วยนิทานกับการเสริมสร้าง พั ฒ นาการด้ า นสมองของเด็ ก ซึ่ ง ได้ รั บ ค� ำ ปรึ ก ษาจาก ดร.ประภาพรรณ จูเจริญ ในส่วนงานผลิตได้มีการเตรียมต้นฉบับใหม่ร่วมกับแผนกสิ่งพิมพ์ พิเศษ เพื่อท�ำต้นฉบับนิทานไปพร้อมกับสมุดบันทึกนิทานประจ�ำ ปี ๒๕๖๑ และเตรียมคัดเลือกต้นฉบับผ่านการประกวดนิทาน รางวัลมูลนิธิเด็กปีที่ ๑๙
124
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
หนังสือที่ผลิตในรอบปี ๒๕๖๐ หนังสือในชุดคล้องจองสมองดี จ�ำนวน ๔ ปก ๑. เจ้าซ่ากะมะเหมีย่ ว ๒. ละมุดอยากบิน ๓. มือฉันเก่งจัง ๔. หนูปลูกเองได้
จ�ำนวน ๔,๐๐๐ เล่ม จ�ำนวน ๔,๐๐๐ เล่ม จ�ำนวน ๔,๐๐๐ เล่ม จ�ำนวน ๔,๐๐๐ เล่ม
หนังสือในชุดคล้องจองสมองดี จ�ำนวน ๔ ปก ๑. เด็กน้อยกับยักษ์ใหญ่ ๒. เจ้าชายแตงโม ๓. ติก๊ ตอกพักผ่อน ๔. ตุ๊กแกเบิม้
จ�ำนวน ๔,๐๐๐ เล่ม จ�ำนวน ๔,๐๐๐ เล่ม จ�ำนวน ๔,๐๐๐ เล่ม จ�ำนวน ๔,๐๐๐ เล่ม
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
125
หนังสือชุดรางวัลนิ ทานมูลนิ ธิเด็ก ๑. รองเท้าแห่งความรัก ๒. ท�ำไมช้างกลัวหนู ๓. แตงโมลายของคุณยายวัว ๔. ผจญภัยในห้องน�้ำ ๕. สงครามขนมหวาน
กิ จกรรมหนังสือในรอบปี ๒๕๖๐
• หนังสือนิทาน “แม่มดฟันหลอ” ได้รับคัด สรรเป็นหนังสือดีส�ำหรับเด็กอายุ ๓ - ๕ ปี ในโครงการหนั ง สื อ เล่ ม แรกของมู ล นิ ธิ หนังสือเพื่อเด็ก
126
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
จ�ำนวน ๔,๐๐๐ เล่ม จ�ำนวน ๔,๐๐๐ เล่ม จ�ำนวน ๔,๐๐๐ เล่ม จ�ำนวน ๔,๐๐๐ เล่ม จ�ำนวน ๔,๐๐๐ เล่ม
• หนั ง สื อ นิ ท าน “ขวั ญ ข้ า วขวั ญ เรา”
“เด็กชายน�้ำใส” “เมล็ดพันธุ์แห่งความดี” “ความดี สี เ หลื อ งส้ ม ” ได้ รั บ คั ด สรรจาก สมาคมห้ อ งสมุ ด แห่ ง ประเทศไทยและ สมาคมผู ้ จั ด พิ ม พ์ ฯ ให้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการ “อ่านช่วยใต้” เพื่อช่วยเหลือ ๕๐ โรงเรียน ที่ ไ ด้ รั บ ความเสี ย หายจากภั ย น�้ ำ ท่ ว ม ภาคใต้
• กลุม่ ยิม้ แย้มแก้มใส ผูผ้ ลิตนิทานเสียงให้
กั บ องค์ ก ารกระจายเสี ย งและแพร่ ภ าพ สาธารณะแห่งประเทศไทย (ไทยพีบีเอส) ได้ ข อความอนุ เ คราะห์ ใ ช้ ห นั ง สื อ นิ ท าน รางวั ล มู ล นิ ธิ เ ด็ ก เพื่ อ ผลิ ต หนั ง สื อ เสี ย ง จ�ำนวน ๒๐ เรือ่ ง ทัง้ นีเ้ พือ่ เป็นการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ผลงานออกสู่สาธารณชน และขยายไปสู่กลุ่มผู้ฟังหนังสือเสียง
• จัดประกวดนิทานรางวัลมูลนิธเิ ด็กครัง้ ที่ ๑๙ หัวข้อ “ถ้าโลกนี้ไม่มนี ิทาน”
เปิ ดรับผลงานตัง้ แต่วนั ที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๐ - วันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ คุณสมบัติผู้ส่งผลงานเป็ นบุคคลทัวไป ่ ไม่จ�ำกัดอายุ ผู้ชนะรางวัลยอดเยี่ยม มี ๑ รางวัล ได้รบั เงิน ๒๕,๐๐๐ บาท พร้อมเกียรติบตั รและโล่รางวัลนิทาน พร้อมเกียรติบตั ร สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
127
ส�ำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก โครงการสรรพสาส์น ผลิตหนังสือเพื่อสนับสนุนงานความรู้ทางด้านจิตวิทยาเด็ก การศึกษาทางเลือก และหนังสือความรู้ร่วมสมัยในชุด INTRODUCING อย่างต่อเนือ่ ง และได้เตรียมแผนงานคัด สรรแปลหนังสือส�ำคัญด้านการศึกษาทางเลือกต่าง ๆ โดย เริ่มจากการปรับปรุงและพิมพ์ซ�้ำหนังสือ ชีวิต เสรีภาพ ซัมเมอร์ฮิล และก�ำลังเตรียมต้นฉบับหนังสือ ชีวิตจริงที่ หมูบ่ า้ นเด็ก และหนังสือหลักของมอนเตสซอรี่ เนือ่ งในวาระ ครบรอบ ๔๐ ปี มูลนิธิเด็ก พ.ศ. ๒๕๖๒
128
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
ด้วยภาวะชะลอตัวของธุรกิจสิ่งพิมพ์ ท�ำให้การผลิตหนังสือต้องพิจารณาเรื่องของช่วง เวลา รูปเล่มทีเ่ หมาะสมกับตลาด และแนวเนือ้ หาทีส่ อดคล้องกับแผนการผลิต จึงท�ำให้ การผลิตไม่ได้เน้นที่จ�ำนวนปก แต่พยายามให้ความส�ำคัญกับการพัฒนา เว็บไซต์ www.ffcbook.com เพื่อเป็นช่องทางเผยแพร่ข่าวสารและจ�ำหน่ายหนังสือของ ส�ำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก หนังสือที่ผลิตในรอบปี ๒๕๖๐ ๑. พลิกค�ำถาม เปลี่ยนชีวิต จ�ำนวน ๑,๐๐๐ เล่ม ๒. ปรัชญาการเมือง จ�ำนวน ๒,๐๐๐ เล่ม ๓. สิ่งประดิษฐ์ ชีวิตเปลี่ยน จ�ำนวน ๒,๐๐๐ เล่ม ๔. เตรียมก่อนโต จ�ำนวน ๒,๐๐๐ เล่ม ๕. กุญแจปรัชญา จ�ำนวน ๒,๐๐๐ เล่ม
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
129
โครงการ Arts Space : พื้นที่ศิลปะเพือ่ การเรียนรู้
มีแนวคิดเรื่องการใช้งานศิลปะเข้ามาช่วยในการออกแบบพื้นที่ เพื่อปรับเปลี่ยนภูมิทัศน์โดยรอบมูลนิธิเด็กด้วยการน�ำเอางาน ศิ ล ปะมาเป็ น ตั ว เชื่ อ มแหล่ ง เรี ย นรู ้ ภ ายในมู ล นิ ธิ เ ด็ ก โดยใช้ กระบวนการท�ำงานทางศิลปะเป็นเครื่องมือพัฒนาเด็ก เยาวชน และครอบครัว เพราะ “ศิลปะ” คือ จุดเริ่มต้นที่ท�ำให้เด็กกล้า ทีจ่ ะคิดและแสดงออก การทีเ่ ด็กได้เล่นอะไรทีส่ นุกและแปลกใหม่ จะท�ำให้เด็กเกิด “ความคิดสร้างสรรค์” พร้อมไปกับเรียนรูก้ ารท�ำ กิจกรรมอาสาสมัครผ่านการท�ำงานศิลปะที่เป็นประโยชน์ต่อ ส่วนรวมร่วมกับผู้อื่น
130
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
131
กิจกรรม Arts Space
: พื้นที่ศิลปะเพื่อการเรียนรู้ ครั้งที่ ๑ ตอน “พื้นที่ทดลอง...กล่องเรียนรู้แสนสนุก”
วันอาทิตย์ที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ จัดกิจกรรม มีเด็กโรงเรียนหมู่บ้านเด็ก ลูกหลานและพนักงาน มูลนิธิเด็ก กลุ่มเยาวชนจากชุมชนบางกอกน้อยบางกอกใหญ่ เครื อ ข่ า ยบางกอกนี้ ดี จั ง กลุ ่ ม ครอบครัวผูบ้ ริจาค สนใจเข้าร่วมเป็นอาสาสมัครวาด ในครั้งนี้กว่า ๕๐ คน
132
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
กิจกรรม Arts Space
พื้นที่ศิลปะเพื่อการเรียนรู้ ครั้งที่ ๒
ตอน “ออกแบบพื้นที่ศิลปะในสวนผักคนเมือง”
วันที่ ๑๕ – ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เป็นการจัด กิจกรรมอาสาสมัครแบบ Work Shop เป็นการเรียน รูไ้ ปพร้อมกับการเป็นอาสาสมัคร เพือ่ ท�ำงานศิลปะ และในทุกกิจกรรมจะเน้นการลงมือท�ำเอง มีผู้เข้า ร่วมประมาณ ๑๐๐ คน
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
133
กิจกรรมวันแรกจะเป็น การเตรียมวัสดุปลูกผัก ซึง่ ได้ความร่วมมือกับทางภาควิชาศิลปะ ดนตรี และนาฏศิลป์ศกึ ษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการสอนปนั ้ กระถางเซรามิก สไตล์ Chubby clay และช่วยวาดพืน้ จัดวางผัก
กิจกรรมวันทีส ่ องเป็นสอนปลูกผัก ๓ ชนิด จาก ๓ วิทยากร ได้แก่ ๑. ปลูกต้นอ่อนทานตะวัน วิทยากร คุณพัชรินทร์ รอดเพราะบุญ จากศูนย์การเรียนมัธยมหมู่บา้ นเด็ก ๒. ปลูกผักสลัด วิทยากร คุณประสานพร นิลมณี เจ้าของร้านกาแฟ Tree Cafe’ และปลูกผักอินทรีย์ ๓. ปลูกผักแบบสะเต็มศึกษา วิทยากร นายศิโรจน์ ชนันทวารี โรงเรียนบ้านเจียรดับ
134
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
การจัดกิจกรรมทั้งสองวันนี้มีเด็กกลุ่มสื่อสารของโรงเรียนหมู่บ้านเด็ก มาช่วย เก็บภาพบรรยากาศและสัมภาษณ์ผเู้ ข้าร่วมท�ำกิจกรรมเพือ่ ผลิตผลงานออกมา เป็นคลิปวิดีโอที่น�ำเสนอเรื่องราวต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในงานวันนั้นด้วย
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
135
กิจกรรม Arts Space : พื้นที่ศิลปะเพื่อการเรียนรู้ ตอน “ศิลปะเพื่อการเรียนรู้ร่วมกัน”
วันที่ ๗ – ๘ กันยายน ๒๕๖๐ ณ โรงเรียนหมูบ่ า้ นเด็ก จ.กาญจนบุร ี มีผเู้ ข้าร่วม ๗๐ คน เป็ น ความร่ ว มมือ กับ ทางสาขาจิต รกรรม ภาควิช าวิจิต รศิล ป์ วิท ยาลัย เพาะช่ า ง มหาวิท ยาลัย เทคโนโลยีร าชมงคลรัต นโกสิน ทร์ เพื่อ ให้ นั ก ศึ ก ษาความเข้ า ใจ ในวิถชี วี ติ และความเป็ นอยูใ่ นหมูบ่ า้ นเด็ก และมีการจัด work shop วาดภาพให้กบั เด็ก หมูบ่ า้ นเด็กได้เรียนรู้ ได้วาดเส้น (Drawing) วาดภาพล้อการ์ตนู และวาดสีน้�ำ เพือ่ ค้นหา เด็กทีม่ คี วามสามารถในการวาดรูปและเปิดโอกาสให้เด็กทีม่ จี ติ อาสาอยากช่วยงานได้รว่ ม เป็ นส่วนหนึ่งในการท�ำงาน Arts Space : ออกแบบพืน้ ทีศ่ ลิ ปะเพือ่ การเรียนรู้ ครัง้ ที่ ๓ ตอน “ออกแบบและวาดรูปรอบพืน้ ที่มลู นิ ธิเด็ก” ต่อไป
136
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
กิจกรรม Arts Space
: กิจกรรม Arts Space : พื้นที่ศิลปะเพื่อการเรียนรู้ครั้งที่ ๓ ตอน “ออกแบบและวาดรูปรอบพื้นที่มูลนิธิเด็ก”
วันที่ ๑๗ – ๑๙ กันยายน ๒๕๖๐ นักศึกษาสาขาจิตรกรรม ภาควิชาวิจิตรศิลป์ วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ร่วมกับ เด็กโรงเรียน หมู ่ บ ้ า นเด็ ก ช่ ว ยกั น สร้ า งสรรค์ พื้ น ที่ ศิ ล ปะที่ ส วยงามโดยรอบของมู ล นิ ธิ เ ด็ ก มีผู้เข้าร่วม ๕๐ คน
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
137
จัดกิจกรรม Arts Space : พื้นที่ศิลปะเพื่อการเรียนรู้ ภายในบูธส�ำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก V07 งานมหกรรม หนังสือระดับชาติ ครั้งที่ ๒๒ ณ ศูนย์การประชุมแห่ง ชาติสิริกิติ์ ตั้งแต่วันที่ ๒๘ - ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๐ มีเด็ก จาก รร.หมู ่ บ ้ า นเด็ ก ที่ เ คยช่ ว ยงานโครงการ Arts Space มาเป็นอาสาสมัครจัดกิจกรรมวาดแก้ว กระดาษสอนปลู ก ต้ น อ่ อ นทานตะวั น มี ผู ้ เ ข้ า ร่ ว ม ประมาณ ๑๒๐ คน
138
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
กิจกรรมอาสาสมัครวาดรูปและช่วยงานชุมชน โรงหมูคลองเตย ตัง้ แต่วนั ที่ ๒๘ – ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ มี เ ด็ ก หมู่ บ้ า นเด็ ก จ� ำ นวน ๔ คน ที่มที กั ษะในการวาดรูปและมีจิตอาสาช่วยงาน ร่วมกับเด็กและเยาวชนกลุ่มคลองเตยดีจงั และ นักศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า คุณทหารลาดกระบัง เพื่อใช้ศลิ ปะปรับเปลี่ยน ภูมทิ ศั น์ในชุมชนคลองเตย ทีท่ ำ� ให้เด็ก เยาวชน และคนในชุมชนสามารถใช้ประโยชน์จากพืน้ ทีร่ ว่ ม กันเด็กๆ ยังได้เรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ และความเป็นอยูข่ อง คนในชุมชนอีกด้วย
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
139
ส�ำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก แผนกผลิตภัณฑ์พิเศษ มุ่งสร้างสรรค์งานศิลปะส�ำหรับเด็ก โดยผลงานส่วนใหญ่มา จากฝี มอื เด็ก ๆ โดยเฉพาะเด็กของมูลนิธเิ ด็ก โดยมีการจัด ค่ายศิลปะเด็ก และเชิญศิลปิ นทีม่ ปี ระสบการณ์การท�ำงาน ศิลปะกับเด็กมาร่วมท�ำงานร่วมด้วย ซึง่ ไม่เพียงแต่ชว่ ยให้เด็ก ได้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะอันมีเอกลักษณ์ในแบบของตัวเอง ออกมาเท่านัน้ แต่ยงั เป็ นการขัดเกลาความเป็ นศิลปิ นในตัว เด็ก ๆ อีกด้วย
140
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปยอดจ�ำหน่ายของช�ำร่วยการกุศล ตลอดปี ๒๕๖๐
ประเภท สมุดบันทึกนิทาน บัตรอวยพร สมุดฉีกน่ารักน่าโน้ตและกล่องกระดาษโน้ตป๊อปอัพ สมุดบันทึก กระเป๋าพับได้ รายรับอืน่ ๆ
ยอดจ�ำหน่ าย (บาท) ๒,๔๗๗,๔๘๖ บาท ๑,๐๒๒,๓๔๐ บาท ๓,๑๒๕,๑๗๖ บาท ๒๓๕,๓๐๘ บาท ๖๗,๓๓๐ บาท ๖๑๖,๙๓๐ บาท
รวมรายรับตลอดปี
๗,๕๔๔,๕๗๐ บาท
งบประมาณปี ๒๕๖๐
๕,๖๑๗,๐๐๐ บาท
รายจ่ายตลอดปี รายรับ - รายจ่าย
๔,๕๖๕,๗๑๓ บาท ๒,๙๗๘,๘๕๗ บาท
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
141
สมุดบันทึกนิทาน การบริจาคสมุดบันทึกนิทานประจ�ำปี ๒๕๖๐ “หนังสือเรืองแสง”
จากเนื้อเรื่องที่มีคุณค่าท�ำให้ในเดือนธันวาคม ๒๕๕๙ – เดือนเมษายน ๒๕๖๐ มีผู้สนับสนุน สมุดบันทึกนิทาน “หนังสือเรืองแสง” เพื่อบริจาคให้แก่เด็กด้อยโอกาส จ�ำนวน ๑๖,๔๕๕ เล่ม รายการบริ จาค
มอบเป็น “ของขวัญ” เพื่อให้ก�ำลังใจแก่เด็กด้อยโอกาสทั่วประเทศ ได้แก่ - เด็กยากจนในชนบท และเด็กนักเรียนโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน จ�ำนวน ๘,๒๗๔ เล่ม - กลุ่มอาสาสมัครและโรงเรียนที่ท�ำกิจกรรมส่งเสริมการอ่านส�ำหรับเด็ก จ�ำนวน ๒,๔๑๐ เล่ม
จ�ำนวน/เล่ม
๑๐,๖๘๔ เล่ม
มอบให้กับเด็กนักอ่านผ่านโครงการตู้หนังสือในบ้านเด็ก และโครงการรถเข็น นิทานในหอผู้ป่วยเด็กโรงพยาบาล
๒,๘๒๐ เล่ม
ถวายเพื่อเป็น “ธรรมทาน” ให้แด่สามเณรในโรงเรียนพระปริยัติธรรม พุทธสาวิกาและยุวพุทธ
๒,๙๕๑ เล่ม
รวม
142
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
๑๖,๔๕๕ เล่ม
การผลิตสมุดบันทึกนิทานประจ�ำปี ๒๕๖๑ “เล่นเป็นเด็ก” แนวคิ ด : เพือ่ น�ำเสนอเรือ่ งการเล่นอย่างอิสระตามวัยของเด็ก เพราะการเล่นมีความส�ำคัญ ต่อพัฒนาการของเด็กนอกจากก่อให้เกิดความสุข ความรืน่ รมย์ ความแจ่มใสแล้ว ยังก่อ ให้เกิดพัฒนาการทัง้ ๔ มิติ ก็คอื ทางกาย ทางจิตใจ ทางสังคม และทางป ญั ญา ดังนัน้ ผูใ้ หญ่ควรเปิดโอกาสและสนับสนุนให้เด็ก ๆ ได้เล่นอิสระตามวัย ผู้แต่ง : คุณลัญชนา ศาสตร์หนู เจ้าของรางวัลดาวรุ่ง รางวัลนิทานมูลนิธิเด็ก ครั้งที่ ๑๘ ภาพประกอบ : คุณไกรสิทธิ์ โภคสวัสดิ์ เรื่องย่อ : สองพี่น้องเล่นอยู่ในสวน มองเห็นนกกระจาบก�ำลังสร้างรัง เกิดแรงบันดาลใจ “หนู จะท�ำอะไรสักอย่าง” สองพี่น้องสนุกสนานกับการเล่นอย่างอิสระตามจินตนาการ โดยมีพ่อให้ ก�ำลังใจอยู่ห่าง ๆ
รายละเอียดการผลิต ชือ่ เล่ม “เล่นเป็ นเด็ก” ขนาด ๓.๕ x ๖ นิ้ว พิมพ์ ๔ สี ทัง้ ๑๓๖ หน้า ราคาเล่มละ ๖๐ บาท
จ�ำนวนพิ มพ์รวม ๖๑,๐๐๐ เล่ม - พิมพ์ครัง้ ที่ ๑ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๐ จ�ำนวน ๔๐,๐๐๐ เล่ม - พิมพ์ครัง้ ที่ ๒ เดือนมกราคม ๒๕๖๑ จ�ำนวน ๒๑,๐๐๐ เล่ม สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
143
งบประมาณการผลิตสมุดบันทึกนิทาน “เล่นเป็นเด็ก” จัดพิ มพ์ครัง้ ที่ ๑ งบประมาณ
จ�ำนวน/บาท
๑. ค่าจ้างแต่งนิทาน
๒๐,๐๐๐ บาท
๒. ค่าจ้างวาดภาพประกอบนิทาน
๒๐,๐๐๐ บาท
๓. ค่าจ้างจัดท�ำอาร์ตเวิรค์ สมุดบันทึกและใบสังซื ่ อ้
๒๕,๐๐๐ บาท
๔. ค่าพิมพ์สมุดบันทึกนิทาน จ�ำนวน ๔๐,๐๐๐ เล่ม ( ค่าพิมพ์เล่มละ ๑๓.๔๐ บาท ) ๗. ค่าพิมพ์ใบสังซื ่ อ้ จ�ำนวน ๔๐,๐๐๐ เล่ม ( ค่าพิมพ์ใบละ ๐.๙๐ บาท ) ๘. ค่าออกแบบซองส่งไปรษณียฉ์ บับอภินนั ทนาการ
๕๗๓,๕๒๐ บาท ๓๘,๕๒๐ บาท ๒,๕๐๐ บาท
๙. ค่าพิมพ์ซองส่งไปรษณีย์ฉบับอภินันทนาการ จ�ำนวน ๒๙,๐๐๐ ซอง
๓๖,๒๕๐ บาท
รวม
๗๑๕,๗๙๐ บาท
*** ค่าผลิตครั้งที่ ๑ เล่มละ ๑๗.๘๙ บาท
จัดพิ มพ์ครัง้ ที่ ๒ จัดพิมพ์ครัง้ ที่ ๒ จ�ำนวน ๒๑,๐๐๐ เล่ม *** ค่าผลิตครัง้ ที่ ๒ เล่มละ ๑๓.๘๐ บาท รวม ๒๘๙,๘๐๐ บาท
144
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปยอดจ�ำหน่ายและบริจาคสมุดบันทึกนิทาน “เล่นเป็นเด็ก” รายการ ๑. ฉบับอภินนั ทนาการผูบ้ ริจาค
จ�ำนวน (เล่ม) ๒๗,๑๘๑ เล่ม
๒. จ�ำหน่ายให้โครงการอืน่ ๆ ของมูลนิธเิ ด็ก
๙๒๐ เล่ม
๓. จ�ำหน่ายทัวไป ่ ๔. บริจาคแก่เด็กด้อยโอกาส
๔,๙๑๖ เล่ม ๒๕,๙๙๕ เล่ม
๕. อภินนั ทนาการ
๑,๐๔๐ เล่ม ๖๐,๐๕๒ เล่ม
รวม
หมายเหตุ : คิดเป็ นเงิน ๒,๐๑๘,๕๐๓ บาท (สองล้านหนึ่งหมืน่ แปดพันห้าร้อยสามบาทถ้วน)
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
145
กิจกรรม “ระบายสีใบไม้”
บัตรอวยพร
การผลิตบัตรอวยพร ประจ�ำปี ๒๕๖๑ ชุด “ปา่ เปลีย่ นสี” จากกิจกรรมค่ายศิลปะ “ปา่ เปลีย่ นสี” ซึง่ จัดขึน้ เมือ่ วันที่ ๒๒ - ๒๔ มีนาคม ๒๕๖๐ ณ อุทยานแห่งชาติเอราวัณ มีนักเรียนโรงเรียนหมู่บา้ นเด็ก จ�ำนวน ๑๗ คน เข้าร่วมค่าย โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้เด็กได้เรียนรูเ้ รือ่ งการอนุรกั ษ์ปา่ ไม้ สัตว์ปา่ และการอยูร่ ว่ มกันระหว่างมนุษย์และธรรมชาติ
จากกิจกรรม “ระบายสีใบไม้” ของเด็กจนได้ผลงานศิลปะทีน่ ่าสนใจ และน� ำผลงาน มาออกแบบและจัดพิมพ์เป็ นบัตรอวยพรมูลนิธเิ ด็ก ประจ�ำปี ๒๕๖๑ ชุด “ปา่ เปลีย่ นสี” จ�ำนวน ๔ แบบ ขนาด : ๖.๕ x ๔.๗๕ นิ้ว (พับแล้ว) กระดาษ : Solution รุน่ ACQ หนา ๒๔๐ แกรมพิมพ์ : ๔ สี จ�ำหน่ายใบละ ๑๒ บาทพร้อมซองปอนด์สคี รีม
146
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
แบบที่ ๑ “หอมกลิน่
แบบที่ ๒ “ปา่ ชุม่ ฝน”
แบบที่ ๓ “ปา่ บรรเลง”
แบบที่ ๔ “เพลินเพลงปา่ ”
หมายเหตุ : บัตรอวยพรชุด “ปา่ เปลีย่ นสี” ทัง้ ๔ แบบใช้ผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็ นมิตร กับ สิ่ง แวดล้อ มในการผลิต โดยเลือ กใช้ก ระดาษจากป่ า ปลู ก ทดแทนไม่ ม ี สารคลอรีนและโลหะหนักพิมพ์ดว้ ยหมึกพิมพ์ถวเหลื ั ่ อง (Soy Ink) ปลอดสารพิษ
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
147
ค่าใช้จ่ายในการผลิตผลงานชุด “ป่าเปลี่ยนสี” มีรายละเอียดดังนี้
กิ จกรรมค่ายศิ ลปะ งบประมาณ
จ�ำนวน
๑. ค่าอุปกรณ์จัดกิจกรรม ๒. ค่าเดินทาง ๓. ค่าอาหาร เครื่องดื่ม อาหารว่าง ๔. ค่าตอบแทนวิทยากร ๕. ค่าที่พักและห้องประชุม ๖. ค่าเบ็ดเตล็ด
๒,๒๒๐ บาท ๖,๕๖๐ บาท ๑๓,๗๐๐ บาท ๓,๐๐๐ บาท ๕,๙๙๐ บาท ๖๘๙ บาท
รวม
๓๒,๑๕๙ บาท
จัดพิ มพ์บตั รอวยพร งบประมาณ ๑. ค่าออกแบบ ๒. ค่าพิมพ์บตั รอวยพร (จ�ำนวน ๖๐,๐๐๐ ใบค่าพิมพ์ใบละ ๒.๙๙ บาท) ๓. ค่าซองปอนด์สคี รีมจ�ำนวน ๖๐,๐๐๐ ซอง รวม หมายเหตุ : ค่าผลิต ใบละ ๓.๙๖ บาท
148
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
จ�ำนวน ๑๒,๐๐๐ บาท ๑๗๙,๗๖๐ บาท ๔๖,๒๐๐ บาท ๒๓๗,๙๖๐ บาท
การจัดพิมพ์แผ่นพับประชาสัมพันธ์บัตรอวยพรและของช�ำร่วย แผนกผลิต ภัณ ฑ์พ ิเ ศษจัด ท� ำ แผ่ น พับ ประชาสัม พัน ธ์ บัต รอวยพรและของ ช�ำร่วย ประจ�ำปี ๒๕๖๑ ในรูปแบบไฟล์ อิเ ล็ก ทรอนิ ก ส์ และจัด ส่ง ทางอีเ มลถึง ผู้บ ริจ าคที่เ ป็ น บริษัท ห้า งร้า น ซึ่ง วิธีน้ี
นอกจากผู้บริจาคจะได้รบั ทราบข่าวสาร โดยตรง ตรงกลุ่มเป้าหมายแล้ว ยังช่วย ประหยัด ค่ า จัด พิ ม พ์ แ ละค่ า จัด ส่ ง ทาง ไปรษณีย์
ด้านหน้าแผ่นพับ
ด้านหลังแผ่นพับ สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
149
ของช�ำร่วยการกุศล การผลิตและจ�ำหน่าย สมุดฉีกน่ารักน่าโน้ต ชุด “รักรอบโลก”
การผลิตและจ�ำหน่าย สมุดบันทึก “ป่าคือบ้าน” ผลงานจากค่ายศิลปะ “ปา่ เปลีย่ นสี” ของนักเรียนหมูบ่ า้ นเด็กจากกิจกรรม “ความ งามเล็กๆ” ทีส่ ่อื ถึงความสัมพันธ์ของป่าไม้และสัตว์ป่าทีต่ ่างเกือ้ กูล ผลิตออกมา เป็นสมุดบันทึก “ปา่ คือบ้าน” ซึง่ ภายในเล่มพิมพ์ผลงานศิลปะ จ�ำนวน ๑๖ หน้า ส่วน ทีเ่ หลือเป็ นหน้าว่างส�ำหรับจดบันทึก จ�ำหน่ายเล่มละ ๓๐ บาท
150
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
การผลิตและจ�ำหน่าย กระเป๋าพับได้ “ป่าคือบ้าน” จ�ำนวน ๒ แบบ
“กวางปา่ ” และ “หมาปา่ ” จ�ำหน่ายใบละ ๒๙๐ บาท ผลิตวิดีโอโฆษณา ผลิตภัณฑ์การกุศล มูลนิธิเด็ก ๑. โฆษณาการ์ดแต่งงานและของช�ำร่วย ความยาว ๓๐ วินาที ๒. โฆษณาสมุดบันทึกและกระเป๋าพับได้ “ปา่ คือบ้าน” ความยาว ๓๕ วินาที
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
151
งานฝึกอบรมและพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่ อ ให้ บุ ค ลากรที่ ท� ำ งานใกล้ ชิ ด กั บ เด็ ก ได้ มี ค วามรู ้ แ ละ ความเข้าใจกระบวนการในการพัฒนาการเด็กทุก ๆ ด้าน จึงจัดให้มีการศึกษาดูงานและฝึกอบรม ดังนี้
152
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
ศึกษาดูงาน
สนามเด็กเล่น โรงเรียนจิตตเมตต์
สนามเด็กเล่นเป็นทีใ่ ห้เด็กได้ออกก�ำลังกายและฝึกพัฒนาการในทุกด้าน โดยเฉพาะ ทางด้านร่างกายทั้งกล้ามเนื้อมัดใหญ่และมัดเนื้อเล็กให้ได้ประสานสัมพันธ์กันกับ อวัยวะต่าง ๆ เน้นให้เด็กได้เล่นกับธรรมชาติ เช่น เล่นทราย ปั้นดิน เป็นต้น จะช่วยให้ประสาทด้านผิวสัมผัสได้พัฒนา และยังส่งเสริมพัฒนาการทางอารมณ์ จิตใจและสังคม ให้ได้ผ่อนคลาย รู้จักการปรับตัวกับผู้อื่น ท�ำให้มีพัฒนาการ ทางด้านสติปัญญา รู้จักแก้ปัญหา มีทักษะการสังเกตเพิ่มมากขึ้น
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
153
อบรมเชิงปฏิบัติการ
“เทคนิคการเล่านิทาน กับการพัฒนาเด็กในศตวรรษที่ ๒๑” ฝึกอบรมกับทางสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัย มหิดล โดยวิทยากร นายเมธีณัฐ รัตนกุล หัวหน้าโครงการศูนย์พัฒนาศักยภาพ นิทานในการพัฒนาเด็ก เพราะเด็กในช่วงหกปีแรก ควรได้รับการพัฒนาทางด้าน สติปญ ั ญาและความคิดสร้างสรรค์ “การเล่านิทาน” จึงเป็นสือ่ ทีส่ ำ� คัญในสร้างการ เรียนรู้ให้กับเด็กได้เป็นอย่างดี และการน�ำเอาเทคนิควิธีการไปประยุกต์ใช้ในการ เรียนการสอนให้เหมาะสมกับเด็ก จะช่วยให้พฒ ั นาการทางสติปญ ั ญา อารมณ์ และ สังคมของเด็กให้เจริญเติบโตยิ่งขึ้น
154
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
อบรมกิจกรรมบ�ำบัด
เพื่อกระตุ้นพัฒนาการของเด็กผ่านทักษะการเล่น โดย นายธราดล รอดแก้ว นักกิจกรรมบ�ำบัด และทีมนักกิจกรรมบ�ำบัด คณะ กายภาพบ�ำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล มีผู้เข้าร่วมอบรม จ�ำนวน ๒๓ คน เพื่อให้ทางกุมาร แพทย์และจิตแพทย์มาท�ำการประเมินพัฒนาการและตรวจประเมินความพิเศษเด็ก พบว่า มีเด็กที่มีภาวะสมาธิสั้น มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ เป็นออทิสติก และยังมีเด็กที่ขาดทักษะการเล่นเป็นกลุ่ม การเล่นแบบมีเป้าหมาย และการเล่นแบบมี กฎกติกาก�ำกับ จึงได้ส่งเด็กกลุ่มนีไ้ ปท�ำกิจกรรมบ�ำบัดกับทางคณะกายภาพบ�ำบัด เพื่อ ให้เด็กได้มีทักษะด้านต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้นผ่านกระบวนการเล่น
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
155
งานเว็บไซต์มูลนิธิเด็ก www.ffc.or.th จัดระบบงานไอทีและระบบดิจิตอลเข้ามาสนับสนุนงาน ของมูลนิธิเด็ก เพื่อให้การท�ำงานของแผนกและโครงการ ต่าง ๆ ภายในมูลนิธิเด็กได้ด�ำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และสะดวกรวดเร็ว มีการพัฒนาโซเซียลมีเดีย เพือ่ ใช้ในการ ประชาสัมพันธ์งานของมูลนิธิเด็กมากยิ่งขึ้น และควบคุม ดู แ ลข้ อ มู ล ระบบสารสนเทศตลอดจนการรั ก ษาความ ปลอดภัยของฐานข้อมูลขององค์กร
156
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สถิติการเข้าเว็บไซต์มูลนิธิเด็กในรอบปีทผ ี่ ่านมา จ�ำนวน ๑๑๒,๙๑๑ ราย
มีการพัฒนางาน ดังนี้ ระบบฐานข้อมูลด้านเด็กออนไลน์ โดยโปรแกรม Sales Forces ซึง่ เป็น ซอร์ฟแวร์ที่นิยมใช้ในภาคธุรกิจในหลายประเทศทั่วโลก โดยได้รับช่วย เหลือจากมูลนิธิ CRM - Charity ประเทศไทย มาช่วยพัฒนาระบบโดย ไม่คดิ ค่าใช้จา่ ย มีการด�ำเนินการในส่วนบ้านทานตะวันเสร็จสิน้ เรียบร้อย แล้ว และก�ำลังด�ำเนินการในส่วนของโรงเรียนอนุบาลหมูบ่ า้ นเด็กสานรัก ในปี ๒๕๖๑ งานปรุงระบบเซิร์ฟเวอร์ (server) มูลนิธิเด็ก โดยใช้ระบบไมโครติ๊ก (mikrotik) เป็นระบบรักษาความปลอดภัย
งานโซเชียลมีเดีย (Social Media) อยู่ในระหว่างก�ำลังปรับปรุงระบบ งานใหม่ โดยจะปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมจากเดิม เพื่อให้มีความน่าสนใจ สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
157
งานจัดเก็บฐานข้อมูลสือ่ จัดท�ำการแปลงฟิ ล์ม สไลด์ รูปภาพ เทปยูเมติก (U-matic) วีดโิ อเทปบันทึกเสียง เทปรายการโทรทัศน์ ของกลุ่มสื่อสร้าง สังคมอุดมสุข จากสือ่ ทีเ่ ป็ นระบบอนาล็อก (Analog) แบบเก่า ที่ มีการเก็บรวบรวมสือ่ ทัง้ หมดของมูลนิธเิ ด็กจากโครงการต่างๆ ทีไ่ ด้ดำ� เนินงานมากว่า ๓๘ ปี เพือ่ น�ำมาแปลงเป็ นระบบดิจติ อล (Digital) แบบใหม่เป็ นการเก็บรักษาสือ่ ทีเ่ ป็ นประวัตศิ าสตร์ของ มูลนิธเิ ด็กให้คงอยูใ่ นสภาพเดิมและสามารถน� ำมาใช้ประโยชน์ ในการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ได้ใหม่ โดยมีการเก็บบันทึก ข้อมูลเป็ นเอกสาร Word และ Excel เพือ่ เก็บรายละเอียดของ ข้อมูลทีจ่ ะใช้จดั เก็บลงระบบฐานข้อมูลแบบสืบค้นต่อไป ซึง่ จะ ช่วยให้เกิดความสะดวกและง่ายต่อการน�ำไปใช้งานได้ในอนาคต
158
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
งานสแกนรูปจัดท�ำรหัส และจัดเก็บข้อมูลในระบบบนเครือข่ายหรือแนส (NAS หรือ Network Attached Storage)
รายการ
จ�ำนวน
ฟิล์ม สไลด์
๑๖,๗๑๒ รูป ๙,๙๐๑ รูป
รูปภาพ ภาพดิจิตอล
๘,๔๔๕ รูป ๕๑,๘๘๖ รูป
รวม
๘๖,๙๔๔ รูป
ประเภท : ฟิล์ม
ประเภท : สไลด์
ประเภท : ภาพถ่าย
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
159
ตรวจนับและเก็บฐานข้อมูลสื่อประเภทเทปยูเมติก (U-matic) เทปวีดีโอ และเทปคาสเซ็ท จ�ำนวน ๙๐๖ ม้วน เพื่อจัดหาร้านแปลงให้เป็นไฟล์ดิจิตอล (Digital) ต่อไป
ประเภท : ยูเมติก (U-MATIC) ประเภท : เทปยูเมติก (U-matic)
ประเภท : วีดิโอ (VDO)
ประเภท : เทปบันทึกเสียง
งานแต่งรูปจากต้นฉบับฟิล์มและสไลด์ พร้อมใส่รายละเอียดเรื่องราวของภาพ จ�ำนวน ๒๖,๖๑๓ ภาพ
160
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
จัดท�ำฐานข้อมูลรายการโทรทัศน์ มูลนิธเิ ด็ก ส�ำเนาลงแผ่นดีวด ี ี/ เก็บข้อมูลเป็นทะเบียนสืบค้นแบบ Excel และบัตรรายการ ตั้งแต่ปี ๒๕๕๓ ถึง ปัจจุบัน จ�ำนวน ๒๙๓ รายการ
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
161
สื่อสร้างสังคมอุดมสุข เพื่อผลิตรายการโทรทัศน์ชื่อว่า “รายการสะพานสายรุ้ง” เป็น รายการที่เผยแพร่ให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงดูเด็ก การศึกษา ศิลป วัฒนธรรมและสังคม ซึง่ ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียม ช่อง News1 ทุกวันอาทิตย์ ตั้งแต่เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๐.๐๐ น. และ ทาง True visions ช่อง Super บันเทิง ทุกวันเสาร์ ตั้งแต่เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๔.๐๐ น. จ�ำนวน ๒๔ เทป และพัฒนาช่องทางสื่อสาร ผ่านโซเชียลมีเดียทั้งทาง YouTube Channel / Facebook : รายการโทรทั ศ น์ มู ล นิ ธิ เ ด็ ก และเว็ บ ไซต์ www.ffc.or.th
162
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
ช่วงเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐ มีการปรับ เปลี่ ย นรู ป แบบรายการ และเปลี่ยนชื่อ รายการใหม่ชื่อว่า “Miracle Kids” เด็ก อัศจรรย์สร้างได้ เพือ่ น�ำเสนอเรือ่ งราวน่ารู้ ที่ให้ประโยชน์และเสริมสร้างสัมพันธภาพ ให้กบั ครอบครัวด้วยวิธกี ารน�ำเสนอทีเ่ ข้าใจ ง่ายจากประสบการณ์จริงของแขกรับเชิญ หรือผู้เชี่ยวชาญในด้านต่าง ๆ และจาก เนื้อหาในการน�ำเสนอยังน�ำมาใช้ในการ พัฒนาบุคลากรมูลนิธิเด็กได้อีกรูปแบบ หนึ่งถือว่าเป็นการปฏิรูปแนวคิดในเรื่อง ของการเลี้ยงดูเด็ก การศึกษา และการ เสริมสร้างพัฒนาการให้เด็กมีสุขภาวะที่ดี
ทัง้ ๔ ด้าน เพือ่ น�ำไปสูก่ ารเติบโตทีง่ ดงาม ตามวัย รายการ “Miracle Kids” เด็กอัศจรรย์ สร้างได้ เริ่มออกอากาศครั้งแรกในเดือน มิถุนายน ๒๕๖๐ จ�ำนวน ๒๑ เทป เน้น การออกอากาศออนไลน์เพื่อให้เข้าถึง ผู้ชมได้มากยิ่งขึ้นและมีการตอบรับจาก กลุ่มผู้ชมที่เป็นพ่อแม่ผู้ปกครองมากขึ้น วั ด ได้ จ ากยอดผู ้ ช มผ่ า นสื่ อ ออนไลน์ มีจ�ำนวนผู้ชมรวม ๓๘๔,๓๘๗ ครั้ง
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
163
รายการสะพานสายรุง้ ตอน ระบบการศึกษาประเทศฟินแลนด์
164
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
Miracle Kids เด็กอัศจรรย์สร้างได้ ตอน พัฒนาเด็กไทยยุค 4.0 ด้วยบอร์ดเกม สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
165
ห้องเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ “เกษตรธรรมชาติแบบผสมผสาน”
166
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
เพือ่ สร้างแหล่งอาหารปลอดภัยทีใ่ ช้กระบวนการปลูกผักแบบเกษตรอินทรียโ์ ดยไม่ ใช้สารเคมีในการเร่งการเจริญเติบโตของพืชผัก เพือ่ ให้เด็กและบุคลากรของมูลนิธิ ได้บริโภคผักปลอดสารพิษในราคาถูก อีกทั้งยังเป็นแหล่งเรียนรู้ส�ำหรับเด็กและ บุคลากรในเรื่องของเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จ�ำหน่ายผักปลอดสารพิษ ทุกวันจะมีผลผลิตที่ปลอดสารพิษมาวางจ�ำหน่ายให้ พนักงานมูลนิธิเด็ก และผู้บริจาคที่มาเยี่ยมชมงาน มูลนิธิเด็กได้เลือกซื้อไปบริโภคในราคาถูก เช่น มะรุม ต�ำลึง ถั่วฝักยาว มะเขือ ผักชี ถั่วพูสีม่วง ผักสลัด ผักคะน้า ผักกวางตุ้ง ไข่ไก่ และไข่เป็ด
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
167
กิจกรรมห้องเรียนเกษตร ทุ ก วั น จั น ทร์ - วั น ศุ ก ร์ ตั้ ง แต่ เ วลา ๑๔.๐๐ - ๑๖.๐๐ น จะมีเด็กอนุบาล หมู่บ้านเด็กสานรัก จ�ำนวน ๓ - ๕ คน มาเรียนรูข้ นั้ ตอนการปลูกและดูแลผักไป จนถึ ง การเก็ บ ผลผลิ ต ไปจ� ำ หน่ า ยใน ทุก ๆ วันเด็กจะเรียนรู้วันละ ๑ อย่าง เช่น ท�ำปุ๋ย ขุดแปลงผัก ปลูกผัก รดน�้ำ เก็บเห็ด การเลี้ยงปลาดุก การขายผัก เป็นต้น
168
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
งานพัฒนาศักยภาพบุคลากร
•
ดูงานเกี่ยวกับการท�ำสวนผักคนเมือง การ ปลูกผักกินเองในพื้นที่ที่มีจ�ำกัด “งานเกษตร เมืองทอง” มหกรรมสินค้าเกษตรเพื่อคนเมือง ยุคใหม่ ณ อิมแพ็ค อารีน่า เมืองทองธานี อบรมสัมมนา “การออกแบบติดตั้งและ ประยุ ก ต์ ใ ช้ ง านโซล่ า ร์ เ ซล (Solar Panel Design & Application)” เรียนรูแ้ ละท�ำได้จริง ด้วยตัวเองในการลดต้นทุนการใช้พลังงาน
•
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
169
170
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
171
172
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
173
การติ ดต่อสื่อสารกับมูลนิ ธิเด็กผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ติ ดต่อได้ที่ เฟสบุค๊ (Facebook), เว็บไซต์ (Website), อีเมล (E-mail) ดังนี้ เฟซบุค๊ (Facebook) ๑. มูลนิธเิ ด็ก ๒. มูลนิธเิ ด็ก โทรทัศน์ ๓. โรงเรียนหมูบ่ า้ นเด็ก มูลนิธเิ ด็ก ๔. โรงเรียนอนุบาลหมูบ่ า้ นเด็กสานรัก มูลนิธเิ ด็ก ๕. บ้านทานตะวัน มูลนิธเิ ด็ก ๖. นิทานเด็ก ของช�ำร่วย ส�ำนักพิมพ์มลู นิธเิ ด็ก ๗. รายการสะพานสายรุง้ มูลนิธเิ ด็ก ๘. โครงการสรรพสาส์น ส�ำนักพิมพ์มลู นิธเิ ด็ก ๙. โครงการตูห้ นังสือในบ้านเด็ก มูลนิธเิ ด็ก ๑๐. สถาบันการ์ตนู ไทย มูลนิธเิ ด็ก ๑๑. ศาลาห้องสมุดพริง้ พวงแก้ว มูลนิธเิ ด็ก ๑๒. โครงการรถเข็นนิทาน มูลนิธเิ ด็ก เพือ่ หอผูป้ ว่ ยเด็กในโรงพยาบาล
เว็บไซต์ (Website) ๑. มูลนิธเิ ด็ก www.ffc.or.th ๒. โรงเรียนหมูบ่ า้ นเด็ก www.moobaandek.ac.th, www.childrensvillagethailand.org ๓. ส�ำนักพิมพ์มลู นิธเิ ด็ก www.ffcbook.com ๔. โรงเรียนอนุบาลหมูบ่ า้ นเด็กสานรัก www.sarnrak.ac.th ๕. ของขวัญของช�ำร่วยมูลนิธเิ ด็ก www.shareforchild.com อีเมล (E-mail) ๑. มูลนิธเิ ด็ก children@ffc.or.th และ donation@ffc.or.th ๒. ส�ำนักพิมพ์มลู นิธเิ ด็ก product_ffc@hotmail.com และ ffcbook2525@gmail.com ๓. โรงเรียนหมูบ่ า้ นเด็ก mbd.ffc@ffc.or.th และ mbd.ffc@gmail.com ๔. โครงการรถเข็นนิทาน rodkennitan@gmail.com
174
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
การติ ดต่อสื่อสารกับมูลนิ ธิเด็กผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ ติ ดต่อได้ที่ ไลน์ กลุ่ม (Group Line) ดังนี้ ไลน์ กลุ่ม (Group Line) ๑. มูลนิธเิ ด็ก ๔. กลุม่ งานมอนเตสฯ ๗. อนุบาลหมูบ่ า้ นเด็กฯ ๑๐. โฮมสคูล ม.เด็ก ๑๓. กลุม่ สือ่ มูลนิธเิ ด็ก ๑๖. yoga.ffc
๒. ตูห้ นังสือ&รถเข็นฯ ๕. ตูห้ นังสือในบ้านเด็ก ๘. สนพ.มูลนิธเิ ด็ก ๑๑. ห้องผูบ้ ริหาร ๑๔. กล่อง&ห้องแสนสนุก ๑๗. ผักธรรมชาติอาหารทะเล
๓. กก.บ้านทานตะวัน ๖. บ้านทานตะวัน ๙. สมาชิกหมูบ่ า้ นเด็ก ๑๒. เลขานุการ สนก.มด. ๑๕. ห้องสมุดและหนัง มด. ๑๘. คนขับรถ_มูลนิธเิ ด็ก
ทัง้ นี้ หากต้องการเข้าร่วมในกลุ่มไลน์ ของมูลนิ ธิเด็ก ติ ดต่อได้ที่ นางสาวชิ นาภา ชิ นานุรกั ษ์ โทร.081-564-4778 หรือ LINE ID : rainy8288 นางสาวพรรณวดี อุ่นจิ ตต์ โทร. / LINE ID 081-694-4091 ติ ดต่อมูลนิ ธิเด็กทุกโครงการผ่านทาง LINE ID : @ffcthailand
คณะกรรมการมูลนิธิเด็ก ผู้ร่วมก่อตั้งมูลนิธิเด็ก : ศ.นพ.เสม พริ้งพวงแก้ว ประธานกรรมการ : ศ. (เกียรติคุณ) นพ.ประเวศ วะสี รองประธานกรรมการ : นพ.วิชัย โชควิวัฒน กรรมการและผู้จัดการ : รศ.ดร.ประกอบ คุปรัตน์ รักษาการกรรมการและเหรัญญิก : รศ.ดร.ประกอบ คุปรัตน์ กรรมการและประธานกรรมการบริหาร : นายโสภณ สุภาพงษ์ กรรมการ : ดร.นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ ดร.ประภาพรรณ จูเจริญ นายสกุล บุณยทัต นายสิทธิชัย สุวรรณกุล นายสิน พงษ์หาญยุทธ กรรมการเเละเลขานุการ : นายพิภพ ธงไชย เลขาธิการ : นายพิภพ ธงไชย ที่ปรึกษากฎหมาย : นายสรรพสิทธิ์ คุมพ์ประพันธ์ สมุห์บัญชี : นางนิตยา ศรีเกิด หัวหน้าส�ำนักงานกลาง : นางสาวชุติมา อยู่ยงค์ กองเลขานุการส�ำนักงานกลาง : นางสาวพรรณวดี อุน่ จิตต์ นางสาวชินาภา ชินานุรกั ษ์ นางสาวภรรตรี กุลวัฒโน ห้องต้อนรับ : นางสาวสุรีย์ จินดารุ่งเรืองรัตน์ นางสาวพิชญาภัค ศรีโยธา สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
175
คณะผู้จัดท�ำ หนังสือสรุปการด�ำเนินงานมูลนิธิเด็ก พ.ศ. ๒๕๖๐ บรรณาธิการ นายพิภพ ธงไชย กองบรรณาธิการ นางสาวฐิติกานต์ มามาศ นางสาวทรรศพร โฆษิตารัตน์ นางสาวพรรณวดี อุ่นจิตต์ บรรณาธิการจัดรูปเล่ม นายอัฐ เปียงน้อย ถ่ายรูป ผู้ปฏิบัติงานในโครงการ และนายธาร ธงไชย จัดหารูปภาพประกอบ นางสาวรมณ ดุริยะลักษณ์ ประสานงานโรงพิมพ์ นางสาวชินาภา ชินานุรักษ์ พิมพ์ บริษทั จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จ�ำกัด เขตทวีวฒ ั นา กรุงเทพมหานคร มีนาคม ๒๕๖๑
คณะผู้ท�ำงานโครงการต่าง ๆ นางรัชนี ธงไชย นายชัยณรงค์ ฉิมชูใจ นางศิวพร ถิระวันธุ์ นายกานต์ ธงไชย นางสาวชุติมา อยู่ยงค์ นายทัตพงษ์ วิชิตนาค นางสาวจรีวรรณ สาลีโภชน์ นางลัดดา รักษ์ประชาไท นางสาวนงค์นาช ลภนะพันธ์ นางสาวสรีรรัตน์ สุกมลสันต์ นายทวีศักดิ์ พึงล�ำภู นางสาวอรุณีย์ บุญโย นายเฉลิมเกียรติ เฉลิมสุข นางสาวรัชดาพร อมรศิลป์ นายบาไท รัตนวงศ์ นางสาวฐิติกานต์ มามาศ นางสาวปิยะรัตน์ น้อยช่างคิด นางสาวรัตนาพร หลินศรี นายสมชาย นวลหงษ์ นายสุพจน์ ชูนวล นางนิตยา นวลหงษ์ นางสาวณัฐกานต์ กิจกมลวัฒน์ นางสาวเอื้อมเดือน ชนะบุญวรานนท์ นางสาวธวัลรัตน์ ศรีวิลาศ นางสาวปาริฉัตร กลิ่นใจ นายชยพล ข้าวหอมนิล นางสาววิภา วงศ์มัชฌิมา นางสาวชินาภา ชินานุรักษ์ นางสาวทรรศพร โฆษิตารัตน์ นายรณธรณ ต๊ะปัญญา นายธนกฤต วรกมลวรรณ นางสาวรมณ ดุริยะลักษณ์ นายอัฐ เปียงน้อย
176
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
177
สรุปผล การด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
เลขที่ ๙๕/๒๔ หมู่ ๖ ซ.กระทุม่ ล้ม ๑๘ (ซอยเกียรติรว่ มมิตร) ถ.พุทธมณฑลสาย ๔ ต.กระทุม่ ล้ม อ.สามพราน จ.นครปฐม ๗๓๒๒๐
95/24 Moo 6, Soi Kratumlom 18, (Soi KiatRuammitra) Buddhamonthon 4 Rd., Kratumlom, Samphran, Nakonpathom 73220
178
สรุปผลการด�ำเนินงาน มูลนิธิเด็ก ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
บริจาคผ่านทาง