Km knowledge 01 2554

Page 1

คูมือองคความรู เรื่อง การจัดทํานโยบาย แผน ยุทธศาสตรในการพัฒนาและแกไขปญหา ภาคอุตสาหกรรมไทยสอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจโลก

คณะทํางานจัดทําความรูเรือ่ งการจัดทํานโยบาย แผน ยุทธศาสตรใน

การพัฒนาและแกไขปญหาภาคอุตสาหกรรมไทยสอดคลองกับ ภาวะเศรษฐกิจโลก


คํานํา สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เปนหนวยงานที่ทําหนาที่เกี่ยวกับการเสนอแนะ นโยบาย แผน ยุ ท ธศาสตร มาตรการด า นการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมของประเทศในระดั บ มหภาคและ อุตสาหกรรมรายสาขา รวมทั้งพัฒนาระบบเตือนภัยดานอุตสาหกรรม เพื่อเปนองคกรชี้นําในการพัฒนา อุตสาหกรรมของประเทศใหเติบโตอยางตอเนื่องและยั่งยืน สงสัญญาณเตือนภัยทางอุตสาหกรรมอยาง ถูกตองและมีประสิทธิภาพ สําหรับในปงบประมาณ พ.ศ. 2553 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ( ก.พ.ร.) กําหนดใหสวนราชการดําเนินการตามเกณฑคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA ในหมวด 4 การวัด การวิเคราะหและการจัดการความรู (IT 1-IT 7) เปนหมวดบังคับ โดยเฉพาะ IT 7 การจัดการความรูจะตองมี องคความรูที่จําเปนตอการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร 3 องคความรู คณะทํางานจัดทําความรูใน การจัดทํานโยบาย แผน ยุทธศาสตรในการพัฒนาและแกไขปญหาภาคอุตสาหกรรมไทยสอดคลองกับภาวะ เศรษฐกิจโลก สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2553 จึงไดจัดทําคูมือความรูใน การจัดทํานโยบาย แผน ยุทธศาสตรในการพัฒนาและแกไขปญหาภาคอุตสาหกรรมไทยสอดคลองกับภาวะ เศรษฐกิจโลก ขึ้น ซึ่งเปนความรูตามประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 เพื่อใชเปนคูมือการปฏิบัติงาน (Working Manual) สําหรับเจาหนาที่ สศอ. และผูที่สนใจทั่วไป คูมือประกอบดวยเนื้อหา 5 สวน ไดแก สวนที่ 1 บทนํา สวนที่ 2 นิยามการกําหนดทาทีความรวมมือดานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหวางประเทศ สวนที่ 3 ภาพรวม ขั้นตอนการดําเนินงานและแผนภูมิแสดงขั้นตอนการกําหนดทาทีความรวมมือดานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ระหวางประเทศ สวนที่ 4 ขั้นตอน รายละเอียดและความรู/สารสนเทศที่ใชในการดําเนินงานการกําหนดทาที ความรวมมือดานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหวางประเทศ สวนสุดทาย ภาคผนวก คณะผู จั ด ทํ า หวัง เปนอย างยิ่ง วา คูมือเลมนี้จ ะเปนประโยชน ตอเจา หนาที่ สศอ. เพื่ อ นําไปใชเปนคูมือในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพและถูกตอง ตลอดจนเปนขอมูลขาวสารแกผูที่ สนใจทั่วไปเพื่อตอยอดองคความรูอยางกวางขวางตอไป

คณะทํางานจัดทําความรูในการจัดทํานโยบาย แผน ยุทธศาสตรในการพัฒนาและแกไข ปญหาภาคอุตสาหกรรมไทยสอดคลองกับ ภาวะเศรษฐกิจโลก สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กันยายน 2553


สารบัญ หนา บทที่ 1 บทนํา

1

บทที่ 2 นิยามการกําหนดทาทีความรวมมือดานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหวางประเทศ

3

บทที่ 3 ภาพรวมขัน้ ตอนการดําเนินงาน และแผนภูมิแสดงขั้นตอนการกําหนด ทาทีความรวมมือดานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหวางประเทศ

4

บทที่ 4 ขั้นตอน รายละเอียด และความรู/สารสนเทศที่ใชในการดําเนินงาน การกําหนดทาทีความรวมมือดานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหวางประเทศ

6

ภาคผนวก 1. 2. 3. 4.

15 ตัวอยางเอกสารการดําเนินงานของสวนนโยบายและความรวมมือ ตัวอยางเอกสารการดําเนินงานของสวนความรวมมือกับประเทศเพื่อนบาน ตัวอยางเอกสารการดําเนินงานของสวนทวิภาคี ตัวอยางเอกสารการดําเนินงานของสวนพหุภาคี


บทที่ 1 บทนํา กระทรวงอุตสาหกรรมไดเสนอเรื่องตอคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2533 ขอปรับปรุง ฐานะของกองเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สํานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมใหเปนสํานักงานเทียบเทา กรม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการปฎิบัติงานนโยบายและแผนพัฒนาอุตสาหกรรมใหมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น และคณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบ ในการจัดตั้งสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม โดยใหโอนงาน ของสํานักงานพัฒนาอุตสาหกรรมหลัก สํานักงานปลัด กระทรวงอุตสาหกรรมมารวมเขาดวยกันตาม พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2534 และพระราชบัญญัติโอนอํานาจหนาที่ และ กิจการบริหารงานบางสวนของสํานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม (กองเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และ สํ า นั ก งานพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมหลั ก ) กระทรวงอุ ต สาหกรรม ไปเป น ของสํ า นั ก งานเศรษฐกิ จ อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ.2534 โดยไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 108 ตอนที่ 156 ลงวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2534 โดยใหมีผลใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ดังนั้นจึงไดถือเอา วันที่ 5 กันยายน 2534 เปนวันกอตั้ง สศอ. ตั้งแตนั้นมา

อํานาจหนาที่ 1. บริหารราชการทั่วไปของสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม และราชการที่มิไดกําหนดใหเปน อํานาจหนาที่ ของสวนราชการใดในสังกัดกระทรวงโดยเฉพาะ 2. เสนอแนะนโยบายของกระทรวงใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และ นโยบายของรัฐบาลรวมทั้งการจัดทําแผนแมบทประสานแผนปฏิบัติงานละเสนอนโยบายในการ กอตั้งและจัดสรรงบประมาณประจําปของหนวยงานในสังกัดกระทรวง 3. กํากับ เรงรัด ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนงานและโครงการของหนวยงานใน สังกัด กระทรวง 4. จัดทํารายงานภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมสาขาตาง ๆ เพื่อเปนพื้นฐานในการกําหนดนโยบายและ วางแผน การพัฒนาอุตสาหกรรม และหาวิธีการแกปญหาหรือพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมใน สาขาตาง ๆ 5. กําหนดนโยบายในการสํารวจการเก็บรักษาและการใชประโยชนขอมูลของหนวยงานในสังกัด กระทรวง และทําหนาทีเ่ ปนศูนยขอมูลของกระทรวง 6. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนหนาที่ของสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม


สถานที่ตงั้ สศอ. เริ่มแรกอาศัยที่อยูของอาคารนารายณ ของกระทรวงอุตสาหกรรมเปนที่ทําการตั้งแตเดือนเมษายน 2535 - พฤษภาคม 2537 เมื่อกรมโรงงานอุตสาหกรรมไดสรางอาคารใหมเสร็จสิ้นแลวจึงไดยายที่ทําการ มาอาศัยตึกกรมโรงงานอุตสาหกรรมอยูชั่วคราวตั้งแต พฤษภาคม 2537 - ตุลาคม 2543 แลวจึงไดยายเขา มาอยูอาคารของ สศอ. เอง ซึ่งตั้งอยูในบริเวณกระทรวงอุตสาหกรรม ระหวางกรมทรัพยากรธรณี และ กรมสงเสริมอุตสาหกรรม ตั้งแตเดือน ตุลาคม 2543 เปนตนมาจนถึงปจจุบัน โดยแบงโครงสรางการ บริหารราชการของ สศอ. ดังนี้

สํานักเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหวางประเทศ : อํานาจหนาที่ความรับผิดชอบ • เสนอแนะนโยบาย แนวทาง มาตรการและกําหนดทาทีความรวมมือดานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ระหวางประเทศ • ประสานความรวมมือดานอุตสาหกรรมกับตางประเทศ รวมทั้งองคกรระหวางประเทศ • ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามนโยบายดานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหวางประเทศ • บริหารจัดการมาตรการตามพันธะผูกพันดานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหวางประเทศ ปฏิบัติงานรวมหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่น ที่เกี่ ยวข อง หรือที่ไ ดรับมอบหมาย


บทที่ 2 นิยามการกําหนดทาทีความรวมมือดานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหวางประเทศ นิยาม การกําหนดทาทีความรวมมือดานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหวางประเทศ หมายถึง การดําเนินการที่ เกี่ยวกับการพิจารณาเสนอแนะนโยบาย แนวทางความรวมมือ และกรอบการเจรจากับตางประเทศ ที่เกี่ยวของ ในภาพรวม ดานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม การคา การลงทุน ความมั่นคงดานเศรษฐกิจ รวมถึงการจัดทําขอตกลง ระหวางประเทศ โดยมุงเนนในการสงเสริมความรวมมือดานอุตสาหกรรมกับตางประเทศ ทั้งในระดับพหุภาคี ทวิภาคี อนุภูมิภาค และกรอบประเทศเพื่อนบาน องคการระหวางประเทศในระบบสหประชาชาติ และองคการ ระหวางประเทศอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อสงเสริมและกระชับความรวมมือ ความเปนหุนสวนทางยุทธศาสตรกับ ประเทศที่มีบทบาทสําคัญของโลกและประเทศคูคาของไทยในภูมิภาค และอนุภูมิภาคตางๆ ในอันที่จะรักษา และขยายความรวมมือทางเศรษฐกิจอุตสาหกรรม การคาและการลงทุน รวมทั้งพัฒนาความสัมพันธกับประเทศ เพื่อนบาน เพื่อสงเสริมความเขาใจอันดีระหวางกัน กอใหเกิดเสถียรภาพ ความมั่นคงและความเจริญรุงเรืองอยาง ยั่งยืน


บทที่ 3 ภาพรวมขั้นตอนการดําเนินงาน และแผนภูมิแสดงขั้นตอนการกําหนดทาที ความรวมมือดานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหวางประเทศ 3.1 ภาพรวมขั้นตอนการดําเนินงานการกําหนดทาทีความรวมมือดานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ระหวางประเทศ การดํ า เนิ น งานการกํ า หนดท า ทีค วามร ว มมื อด า นเศรษฐกิจ อุ ต สาหกรรมระหว า งประเทศ ประกอบดวย 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1) กรณีที่ 1 รับเรื่อง – นโยบายจาก ผศอ. / ผูบริหาร อก. / หนวยงานที่เกี่ยวของ เชน กระทรวงการ ตางประเทศ กระทรวงพาณิชย กระทรวงการคลัง กระทรวงแรงงาน สํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เปนตน กรณีที่ 2 สท. ริเริ่มตั้งเรื่อง-นโยบาย 2) พิจารณา ตรวจสอบ สืบคน รวบรวมขอมูล เพื่อเตรียมดําเนินการขั้นตอไป โดยกรณีที่ใชขอมูลที่ มีอยูแลวเพื่อทําการวิเคราะหได จะขามไปพิจารณาดําเนินการตามขอ 4 3) ในกรณี ที่ ก ารดํ า เนิ น การตามข อ 2 ยั ง ไมค รบถว นสมบู ร ณ จะดํา เนิน การประสานขอความ อนุเคราะหจากหนวยงานภาคราชการ / ภาคเอกชน องคกร รวมถึงบุคคลที่เกี่ยวของ โดยอาจจัด ใหมีการประชุม และ / หรือมีบันทึก / หนังสือถึงผูเกี่ยวของเพื่อระดมความเห็น และรวบรวม ขอมูลเชิงลึกเพื่อนํามาประกอบการพิจารณาจัดทําทาทีความรวมมือดานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ระหวางประเทศของ สศอ. 4) ประมวลผลที่ไดจากขอ 2 หรือ 3 มาวิเคราะห และสรุปผลเพื่อประกอบการจัดทําทาทีความ รวมมือดานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหวางประเทศ 5) นําเสนอทาทีเพื่อขอความเห็นชอบตอผูบริหาร สศอ. / อก. รวมทั้งปรับปรุงแกไข (หากมี) โดย ใหนําขอเสนอ ทาที มาพิจารณาปรับปรุงใหเหมาะสม แลวนําเสนอผูบริหาร สศอ. และ / หรือ อก. เพื่อขอความเห็นชอบใหม 6) แจงผลการดําเนินงานใหผูเกี่ยวของทราบ /ดําเนินการตอไปแลวแตกรณี


บทที่ 4 ขั้นตอน รายละเอียด และความรู/สารสนเทศที่ใชในการดําเนินงานการกําหนดทาที ความรวมมือดานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหวางประเทศ ขั้นตอนที่ 1

รับเรื่อง หรือตั้งเรื่อง - นโยบาย กรณีที่ 1 รับเรื่อง– นโยบายจาก ผศอ. / ผูบริหาร อก. / หนวยงานที่เกี่ยวของ - ฝายบริหารงานทั่วไป สํานักเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหวางประเทศ สํานักงานเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม (สท.สศอ.) รับเรื่องจากฝายบริหารงานทั่วไป สํานักบริหารกลาง (สบก.) แลว ลงทะเบียนรับ และนําเสนอ ผอ.สท.สศอ. สั่งการใหสวนที่รับผิดชอบดําเนินการ ปจจุบัน สท.สศอ. แบงโครงสรางออกเปน 1 ฝาย และ 4 สวน คือ 1) ฝายบริหารงานทั่วไป 2) สวนนโยบายและความรวมมือ 3) สวนความรวมมือกับประเทศเพื่อนบาน 4) สวนทวิภาคี 5) สวนพหุภาคี


ความรู / สารสนเทศที่จําเปนตองใชในการทํางาน - ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส - โครงสรางการแบงสวนของ สท. - หนาที่ความรับผิดชอบของสวน - เทคนิคการประสานงาน

แหลงที่มา / แหลงสืบคน สบก. ฝายบริหารงานทั่วไป สท. ฝ า ยบริ ห ารงานทั่ ว ไป และแต ล ะส ว น สท. Tacit Knowledge

กรณีที่ 2 สท. เปนผูริเริ่มตั้งเรื่อง – นโยบาย - ดําเนินการตามขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 2

พิจารณา ตรวจสอบ สืบคน รวบรวมขอมูล เพื่อเตรียมดําเนินการขั้นตอไป - เมื่อไดรับเรื่องสั่งการจาก ผอ.สท. แลว ผอ. สวนพิจารณาดําเนินการ และ/ หรือสั่งการ ใหเจาหนาที่ผูเกี่ยวของดําเนินการ - เจาหนาที่ดําเนินการตรวจสอบความเปนมาของเรื่อง รวบรวมขอมูล และวิเคราะหวา จะตองดําเนินการตอไปอยางไร - ความรู/สารสนเทศที่จําเปนตองใชในการทํางาน แบงเปน ความรูพื้นฐานโดยรวมของ ทุกสวน และความรูเฉพาะของแตละสวน มีดังนี้

ความรู/สารสนเทศที่จําเปนตองใชในการทํางานพื้นฐานโดยรวมของทุกสวน/ฝาย ความรู / สารสนเทศที่จําเปนตองใชในการทํางาน แหลงที่มา / แหลงสืบคน - ความเปนมาของเรื่อง เจาของเรื่องตั้งตน / แฟมขอมูล - รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ใน www.parliament.go.th มาตราที่ อ าจเกี่ ย วข อ งกั บ การปฏิ บั ติ ง านที่ สํ า คั ญ ไดแก มาตรา 190 มาตรา 303 มาตรา 305 มาตรา 87 และมาตรา 67 - นโยบายของรัฐบาลปจจุบัน www.thaigov.go.th - นโยบาย / แผน / ยุทธศาสตรของการพัฒนาประเทศ สํ า นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) www.nesdb.go.th


- นโยบาย / แผน / ยุทธศาสตรของ อก. และ สศอ.

- ทิศทาง / นโยบายดานตางประเทศของ อก. - ขอมูลของหนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งภาคเอกชนและ ราชการ ซึ่ ง รวมถึ ง ภารกิ จ บทบาทหน า ที่ ค วาม รั บ ผิ ด ชอบ โครงสร า งการบริ ห าร และการ ดําเนินงานที่เปนปจจุบัน

- สํานักนโยบายและยุทธศาสตร สปอ. - สํานั ก นโยบายอุ ตสาหกรรมมหภาค (สม.สศอ.) - สํานักนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา (สร. 1 และ สร. 2 สศอ. ) - สํานักวิจัยเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สว.สศอ.) สํ า นั ก เศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรมระหว า ง ประเทศ (สท.สศอ.) - นามสงเคราะหสวนราชการ - www.thaigov.net - ทําเนียบขาราชการและพนักงาน อก. - www.fti.or.th - www.thaiechamber.com Tacit knowledge

- ทั ก ษะการใช ภ าษาอั งกฤษ และภาษาต า งประเทศ อื่นๆ (หากมี) - ทักษะการใชอินเตอรเน็ต และโปรแกรมคอมพิวเตอร Tacit Knowledge ไดแก Word , Excel , Power Point ฯลฯ

ความรู/สารสนเทศที่จําเปนตองใชในการทํางานของสวนนโยบายและความรวมมือ ความรู / สารสนเทศที่จําเปนตองใชในการทํางาน - ขอมูลองคการระหวางประเทศ ภายใตระบบ สหประชาชาติ (United Nations – UN) - ขอมูลทั่วไป และความรวมมือไทยกับ UN และองคการระหวางประเทศภายใต UN - United Nations (UN) - United Nations Development Programme (UNDP) - United Nations Industrial Development Organization (UNIDO)

แหลงที่มา / แหลงสืบคน

www.mfa.go.th www.un.org www.undp.org www.unido.org


- United Nations Economic and Social Commission of Asia and the Pacific (UNESCAP) - United Nations Conference on Trade and Development (UNCTAD) - United Nations Environment Programme (UNEP) - Food and Agriculture Organization (FAO) - International Labour Organization (ILO) - ขอมูลองคกรระดับโลก - World Economic Forum (WEF) - Organization for Economic Cooperation and Development (OECD) - ขอมูลองคการความรวมมือภูมิภาค - The Asia – Europe Meeting (ASEM) - European Union (EU)

www.unescap.org

www.unctad.org www.unep.org www.fao.org www.ilo.org www.weforum.org www.oecd.org

http://ec.europa.eu/external_relations/ asem http://europa.eu www.thaieurope.net

ความรู/สารสนเทศที่จําเปนตองใชในการทํางานของสวนความรวมมือกับประเทศเพื่อนบาน ความรู / สารสนเทศที่จําเปนตองใชในการทํางาน แหลงที่มา / แหลงสืบคน - ขอมูลทั่วไปและพัฒนาการของกรอบความรวมมือ ทางเศรษฐกิจในระดับอนุภูมิภาค - ยุทธศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี- www.mfa.go.th เจาพระยา-แมโขง - เอกสารการประชุมคณะกรรมการ (Ayeyawady-Chao Phraya-Mekong Economic พัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจกับ Cooperation Strategy : ACMECS) ประเทศเพื่อนบาน (กพบ.) - โครงการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจใน - www.nesdb.go.th


อนุภูมิภาคลุมน้ําโขง (Greater Mekong Subregion : GMS)

- www.adb.org - เอกสารการประชุ ม คณะกรรมการ พั ฒ นาความร ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ กั บ ประเทศเพื่อนบาน (กพบ.)

- แผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝายอินโดนีเซีย- - www.nesdb.go.th มาเลเซีย-ไทย (Indonesia-Malaysia-Thailand - www.adb.org. Growth Triangles : IMT-GT) - www.imtgt.org - เอกสารการประชุมคณะกรรมการ พัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจกับ ประเทศเพื่อนบาน (กพบ.) - ความริเริม่ แหงอาวเบงกอลสําหรับความ รวมมือหลากหลาย สาขาทางวิชาการ และเศรษฐกิจ (Bay of Bengal Initiative for Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation : BIMSTEC)

- ขอมูลเกี่ยวกับยุทธศาสตร/นโยบาย/แผนปฏิบัติการ ที่เกี่ยวของ ยุทธศาสตรการพัฒนาความรวมมือทาง เศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบาน - ยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นาความร ว มมื อ ด า น อุ ต สาหกรรมกั บ ประเทศเพื่ อ นบ า นภายใต กรอบ ACMECS - แผนปฏิบตั ิการพัฒนาความรวมมือดาน อุตสาหกรรมกับประเทศเพือ่ นบานภายใต กรอบ GMS ในเสนทางพัฒนาเศรษฐกิจ เหนือ-ใต

- www.mfa..go.th - www.dtn.go.th - www.moc.go.th - www.dft.go.th - เอกสารการประชุ ม คณะกรรมการ พั ฒ นาความร ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ กั บ ประเทศเพื่อนบาน (กพบ.)

สํ า นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) สท.สศอ. www.oie.go.th

สท.สศอ. www.oie.go.th


- ยุทธศาสตรการพัฒนาความรวมมือดาน อุตสาหกรรมกับประเทศเพือ่ นบานภายใต กรอบ GMS และภายใตกรอบความรวมมือ ทางเศรษฐกิจรอบอาวเปยปู (PBG)

สท.สศอ. www.oie.go.th

- แผนปฏิบัติการพัฒนาอุตสาหกรรมในภูมิภาค (ภาคเหนือ ภาคใต ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง) - แผนปฏิบตั ิการพัฒนาอุตสาหกรรมชายแดน - IMT-GT Roadmap (2550-2554) - ACMECS Action Plan ( 2009-2012) - Strategies and Action Plans for the NorthSouth/East-west and Southern Economic Corridors - ขอมูลพื้นฐานและขอมูลทางเศรษฐกิจที่สําคัญของ ประเทศสมาชิกภายใตกรอบ GMS, ACMECS, IMT-GT, BIMSTEC

สม.สศอ. www.oie.go.th

- ขอตกลงเขตการคาเสรี BIMSTEC และพันธกรณี ตาง ๆ ในดานการลดภาษี อุปสรรคทางการคาที่ ไมใชภาษี มาตรฐาน กฎถิ่นกําเนิดสินคา - ขอมูลอัตราภาษีของไทย - ขอมูลอัตราภาษีของประเทศคูคาของไทย

- www.dtn.go.th - www.thaifta.com

สม.สศอ. www.nesdb.go.th www.mfa.go.th - www.nesdb.go.th - www.adb.org -

www.mfa.go.th www.moc.go.th www.dft.go.th www.boi.go.th

www.mof.go.th - www.dft.go.th - www.gta.com (Global Trade Atlas) - http://trade.gov (International Trade Administration )

ความรู/สารสนเทศที่จําเปนตองใชในการทํางานของสวนทวิภาคีและพหุภาคี ความรู / สารสนเทศที่จําเปนตองใชในการทํางาน แหลงที่มา / แหลงสืบคน - ขอมูลความตกลงการคาเสรี และกรอบความรวมมือ - www.thaifta.com


ทวิภาคีดานเศรษฐกิจตางๆ ของไทย - ขอมูลความสัมพันธทวิภาคีของไทย - ความสัมพันธทั่วไป - ความสัมพันธดานเศรษฐกิจ และการคา - ความสัมพันธดานอุตสาหกรรม -

-

-

-

-

-

- www.dtn.go.th - www.mfa.go.th - www.cia.gov (World Factbook) - www.ustr.gov - www.usitc.gov - www.dfat.gov.au ขอมูลปริมาณและมูลคาการคารวม นําเขาและ www.gta.com ส ง ออกของสิ น ค า อุ ต สาหกรรมระหว า งไทยกั บ ประเทศตางๆ กฎระเบียบ และมาตรการดานเศรษฐกิจ การคา และ - www.moc.go.th การลงทุนของไทยกับประเทศคูภาคี - www.dft.go.th - www.dtn.go.th ข อ ตกลงทางการค า หรื อ ความร ว มมื อ ที่ เ กี่ ย วข อ ง - www.dtn.go.th รวมถึงพันธกรณีของไทยในความตกลงตางๆ ใน - www.thaifta.com ดานการลดภาษี ลดอุปสรรคทางการคาที่ไมใชภาษี มาตรฐาน กฎถิ่นกําเนิดสินคา ขอมูลอัตราภาษีของไทย www.mof.go.th ขอมูลอัตราภาษีของประเทศคูคาของไทย - www.dft.go.th - www.gta.com (Global Trade Atlas) - http://trade.gov (International Trade Administration ) ระเบียบกฎเกณฑทางการคาขององคการการคาโลก www.wto.org ระเบียบกฎเกณฑที่มีผลกระทบตอการคาและการ www.dft.go.th ผลิตของไทยตอของประเทศคูคา ปริมาณและมูลคาการคา แยกตามประเทศ และตาม www.gta.com รายสินคา โครงสร า งการผลิ ต ของไทยในแต ล ะสิ น ค า ที่ สร.1 , 2 สศอ. เกี่ยวของ สํ า นั ก งานสถิ ติ แ ห ง ชาติ (สํ า มะโน อุตสาหกรรม) ปริมาณการผลิตของไทย สว.สศอ. ผูผลิต Supplier สศช.


ประสานขอความเห็นจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ในกรณี ที่การดํา เนิ นการตามขอ 2 ยัง ไมครบถว นสมบู รณ จะพิจ ารณาดํา เนิ นการตาม ขอหนึ่งขอใด ตอไปนี้ 1) จัดประชุมผูเกี่ยวของและผูมีสวนไดสวนเสียเพื่อระดมความเห็น 2) ทําบันทึกขอความเห็นจากหนวยงานที่เกี่ยวของภายใน สศอ. 3 ) ทําหนังสือถึงหนวยงาน สถาบันอิสระของ อก. และ / หรือ หนวยงานภายนอก อก. ที่ เกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชน ขั้นตอนที่ 3


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.