Km knowledge 03 2557

Page 1

คูมือ

ความรูการสงเสริมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพ ของอุตสาหกรรมพลาสติก

โดย คณะทํางานจัดทําความรู การสงเสริมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมพลาสติก สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม


คูมือ ความรูการสงเสริมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพ ของอุตสาหกรรมพลาสติก

โดย สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม คณะทํางานจัดทําความรู การสงเสริมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมพลาสติก 1. นางเพ็ญวิภา ไตรศิริพานิช ประธานคณะทํางาน 2. นายศักดิ์ชัย สินโสมนัส คณะทํางาน 3. นายเจษฎา อุดมกิจมงคล คณะทํางานและเลขานุการ


คํานํา คูมือ ความรูการสงเสริมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมพลาสติกเลมนี้ เปนสวนหนึ่ง ของแผนการจัดการความรู สศอ. ป 2557 ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามยุทธศาสตรของ สศอ. โดยมีองคความรูที่จําเปน ตามยุทธศาสตรที่ 1 : การกําหนดแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศที่ เปนที่ยอมรับและทันตอการเปลี่ยนแปลง กระบวนการสงเสริมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมพลาสติก เปนการดําเนินงานเพื่อ เปนองคความรูที่จําเปนตอการปฏิบัติงานและตรงตามภารกิจของหนวยงาน โดยดําเนินการจัดทําเปนคูมือความรู การสงเสริมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมพลาสติก สําหรับเจาหนาที่ สศอ. และผูสนใจทั่วไป ใชเปน คูมือในการปฏิบัติงาน (Working Manual) คณะทํางานจัดทําความรูหวังเปนอยางยิ่งวา คูมือเลมนี้จะเปนประโยชนตอเจาหนาที่ สศอ. เพื่อ นําไปใชเปนคูมือในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพและถูกตอง ตลอดจนเปนแนวทางในการตอยอดองค ความรูอยางกวางขวางตอไป คณะทํางานจัดทําความรู การสงเสริมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมพลาสติก กรกฎาคม 2557


สารบัญ

หนา

คํานํา สาบัญ บทที่ 1 บทนํา 1.1 อํานาจหนาที่ของสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 1.2 สํานักนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 1

1 2

บทที่ 2 ความรูเบื้องตนของอุตสาหกรรมพลาสติก 2.1 บทบาทของอุตสาหกรรมพลาสติกตอระบบเศรษฐกิจไทย 2.2 อุตสาหกรรมพลาสติกไทย

3 3

บทที่ 3 ขั้นตอนการสงเสริมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหรรมพลาสติก 3.1 ขั้นตอนการดําเนินงานสงเสริมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมพลาสติก 3.2 แผนภูมิแสดงขั้นตอนการสงเสริมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหรรมพลาสติก

5 6

บทที่ 4 ขั้นตอน รายละเอียด และความรู/สารสนเทศที่ใชในการดําเนินงาน การสงเสริมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมพลาสติก

7

ภาคผนวก

12


บทที่ 1 บทนํา

1

กระทรวงอุ ต สาหกรรมได เ สนอเรื่ อ งต อ คณะรั ฐ มนตรี เ มื่ อ วั น ที่ 26 มิ ถุ น ายน 2533 ขอปรั บ ปรุ ง ฐานะของกองเศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรม สํ านั กงานปลั ด กระทรวงอุ ต สาหกรรมให เป น สํ านั กงาน เทียบเทากรม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงานนโยบายและแผนพัฒนาอุตสาหกรรมใหมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น และคณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบ ในการจัดตั้งสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม โดยใหโอนงานของ สํานักงานพัฒนาอุตสาหกรรมหลัก สํานักงานปลัด กระทรวงอุตสาหกรรมมารวมเขาดวยกันตามพระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2534 และพระราชบัญญัติโอนอํานาจหนาที่ และกิจการบริหารงาน บางส ว นของสํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงอุ ต สาหกรรม (กองเศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรม และสํ า นั ก งานพั ฒ นา อุตสาหกรรมหลัก) กระทรวงอุตสาหกรรม ไปเปนของสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ.2534 โดยไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 108 ตอนที่ 156 ลงวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2534 โดย ใหมีผลใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา ดังนั้นจึงไดถือเอา วันที่ 5 กันยายน 2534 เปนวันกอตั้ง สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) ตั้งแตนั้นมา

1.1 อํานาจหนาที่ของสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 1. บริหารราชการทั่วไปของสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม และราชการที่มิไดกําหนดใหเปน อํานาจหนาที่ ของสวนราชการใดในสังกัดกระทรวงโดยเฉพาะ 2. เสนอแนะนโยบายของกระทรวงใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และนโยบายของรัฐบาลรวมทั้งการจัดทําแผนแมบทประสานแผนปฏิบัติงานละเสนอนโยบายในการกอตั้งและ จัดสรรงบประมาณประจําปของหนวยงานในสังกัดกระทรวง 3. กํ า กั บ เร ง รั ด ติ ด ตาม และประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านตามแผนงานและโครงการของ หนวยงานในสังกัด กระทรวง 4. จั ดทํ า รายงานภาวะเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมสาขาตาง ๆ เพื่อเปน พื้น ฐานในการกําหนด นโยบายและวางแผน การพั ฒ นาอุ ตสาหกรรม และหาวิธีการแกปญหาหรือพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ในสาขาตาง ๆ 5. กําหนดนโยบายในการสํารวจการเก็บรักษาและการใชประโยชนขอมูลของหนวยงานใน สังกัดกระทรวง และทําหนาที่เปนศูนยขอมูลของกระทรวง 6. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนหนาที่ของสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม


2

1.2 สํานักนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 1 (สร.1) วิสัยทัศน

เปนหนวยงานชี้นําการพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา (ที่รับผิดชอบ)

พันธกิจ

1. เสนอแนะนโยบาย แผน ยุทธศาสตร มาตรการ ในการพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา (ที่รับผิดชอบ) รวมถึงปจจัยพื้นฐานที่มีผลตอการพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา (ที่รับผิดชอบ) 2. ศึกษา วิเคราะห ภาวะอุตสาหกรรมรายสาขา (ที่รับผิดชอบ) รวมทั้งคาดการณ แนวโนม และ เตือนภัย 3. ติดตามและประเมินผลการดําเนิน งานตามแผนพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา (ที่รับ ผิดชอบ) รวมทั้งประสานการดําเนินงานเพื่อใหความชวยเหลือ และแกไขปญหาของอุตสาหกรรมรายสาขา (ที่รับผิดชอบ) เปาประสงคและกลยุทธของ สร.1 เพื่อใหสามารถบรรลุวิสัยทัศน พันธกิจ และยุทธศาสตรของสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม จึง ไดกําหนดเปาประสงค และกลยุทธ ที่สํานักนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 1 มีสวนผลักดันใหบรรลุผลการปฏิบัติ ราชการของสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ดังนี้ เปาประสงคของ สร.1 1. นโยบาย แผน ยุทธศาสตร มาตรการในการพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา (ที่รับผิดชอบ) ทีส่ ามารถ เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันไดอยางมีประสิทธิภาพ 2. ขอมูลอุตสาหกรรม/รายงานที่เปนที่ยอมรับ ตรงตอความตองการของผูใชและมีการนําไปใช อยางแพรหลาย รวมทั้งสามารถใชเปนตัวชี้วัดเตือนภัยภาคอุตสาหกรรมรายสาขา (ที่รับผิดชอบ) 3. สรางฐานความรู ที่เกี่ ยวของกับอุตสาหกรรมในเชิงรุกเพื่อเปนทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรม รายสาขา (ที่รับผิดชอบ) อยางเปนระบบและตอเนื่อง กลยุทธของ สร.1 1. เสนอแนะ นโยบาย แผน ยุทธศาสตร มาตรการ และแนวทางในการแกไขปญหา ของอุตสาหกรรม รายสาขา 2. ศึกษา วิเคราะหภาวะอุตสาหกรรมรายสาขา (ที่รับผิดชอบ) รวมทั้งการศึกษา วิจัยดานการพัฒนา อุตสาหกรรมรายสาขา (ที่รับผิดชอบ) 3. สร างองค ความรู บทความ บทวิ เคราะห และคํ าบรรยายที่ เกี่ ยวกั บอุ ตสาหกรรมรายสาขา (ที่รับผิดชอบ) เพื่อนําเสนอผูบริหารหรือเผยแพรตอสาธารณชน หมายเหตุ อุตสาหกรรมราสาขาที่รับผิดชอบ ไดแก อุตสาหกรรมเคมี ปโตรเคมี พลาสติก ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เหล็กและเหล็กกลา เครื่องจักรกล อูตอเรือ เครื่องมือและอุปกรณการแพทย การบิน ยานยนตและ ชิ้นสวน ระบบราง


3

บทที่ 2 ความรูเบื้องตนของอุตสาหกรรมพลาสติก บทบาทของอุตสาหกรรมพลาสติกตอระบบเศรษฐกิจไทย • สรางมูลคาเพิ่มใหกับอุตสาหกรรมปโตรเลียม ปโตรเคมี • เปนอุตสาหกรรมสนับสนุนหลักของภาคการผลิตอื่นๆ ในประเทศ • สรางรายไดใหกับประเทศ ปละกวา 2.3 แสนลานบาท

อุตสาหกรรมพลาสติกไทย เปนอุตสาหกรรมสนับสนุนที่สําคัญ สรางมูลคาเพิ่มใหกับอุตสาหกรรมปโตรเลียมและปโตรเคมี เนื่องจากเม็ดพลาสติกผลิตจากทรัพยากรปโตรเลียม เชน กาซธรรมชาติ โดยอุตสาหกรรมพลาสติกจะรับวัตถุดิบ คือ เม็ดพลาสติก ซึ่งเปนผลิตภัณฑขั้นปลายหรือผลิตภัณฑสําเร็จจากอุตสาหกรรมปโตรเคมี นํามาแปรรูปเปน ผลิตภัณฑสําหรับอุตสาหกรรมตางๆ และผลิตภัณฑพลาสติกสําเร็จรูป เชน กันชนรถยนต กระปอง ทอพลาสติก ขวด เปนตน แผนภาพสายโซมูลคาเพิ่มอุตสาหกรรมปโตรเคมี – แปรรูปผลิตภัณฑพลาสติก

ที่มา : สถาบันปโตรเลียมแหงประเทศไทย

4


หากพิ จ ารณาสายโซ อุ ป ทาน (Supply Chain) ของอุ ต สาหกรรมพลาสติ ก จะเริ่ ม จาก อุตสาหกรรมอุตสาหกรรมปโตรเลียมซึ่งกลั่นลําดับสวนน้ํามันดิบ ตอดวยอุตสาหกรรมปโตรเคมีซึ่งผลิตและแปรรูป เปนเม็ดพลาสติก สงใหอุตสาหกรรมพลาสติกใชเปนวัตถุดิบผลิตเปนผลิตภัณฑ เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมตอเนื่อง ตางๆ จะเห็นไดวาอุตสาหกรรมพลาสติกเปนอุตสาหกรรมที่สําคัญและเปนตัวกลางเชื่อมโยงสายโซการผลิตนี้ นอกจากนี้ยั งกอให เกิ ดมูล คา เพิ่ มตลอดสายโซการผลิต และเปน อุตสาหกรรมตัวกลางที่ชว ยสนับ สนุนรวมถึง เสริมสรางความเขมแข็งใหเกิดกับระบบเศรษฐกิจในปจจุบัน แผนภาพมูลคาของอุตสาหกรรมพลาสติก

Source : Petroleum Institute of Thailand (2011)

จากบทบาทที่หลากหลายของพลาสติก จึงทําใหอุตสาหกรรมพลาสติกเปนอุตสาหกรรมที่มี ความสําคัญตอประเทศ โดยเปนอุตสาหกรรมสนับสนุนใหกับอุตสาหกรรมตอเนื่องอีกมากมาย สามารถสราง รายไดใหกับประเทศไดกวา 2.3 แสนลานบาท มีการจางแรงงานในภาคอุตสาหกรรมกวา 3.5 แสนคน การผลิตพลาสติก จํานวนผูประกอบการ ประมาณการจางงาน ผูประกอบการที่เปน SME (ทุนจดทะเบียน 5 แสน-50 ลานบาท) * มีการใชเม็ดพลาสติก มูลคาของการผลิต

ประมาณ 3,000 บริษัท * 3.5 แสนคน * รอยละ 80 ประมาณ 3.5 ลานเมตริกตัน * ประมาณ 2.3 แสนลานบาท คิดเปนประมาณ 2.5 % ของ GDP **

* ขอมูลจากการสํารวจผูประกอบการพลาสติก ณ เดือนมิถุนายน 2554 ** ขอมูลจากสํานักเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (หมวด ISIC 2520 “การผลิตผลิตภัณฑพลาสติก”)


5

บทที่ 3 ขั้นตอนการสงเสริมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหรรมพลาสติก 3.1 ขั้นตอนการดําเนินงานสงเสริมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมพลาสติก การดําเนินงานสงเสริมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมพลาสติก ประกอบดวย 7 ขั้นตอน ดังนี้ 1) รับนโยบายและ/หรือริเริ่มนําเสนอนโยบาย/แนวทาง กรณีที่ 1 รับเรื่อง - นโยบายหรือปญหาของอุตสาหกรรมพลาสติก จาก ผศอ./อก./หนวยงาน ที่เกี่ยวของ เพื่อหามาตรการในการพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา กรณีที่ 2 สวนงานรับผิดชอบ – ริเริ่มนําเสนอ จากการศึกษาและวิเคราะหสถานภาพของ อุตสาหกรรมพลาสติก 2) ศึกษา ตรวจสอบ สืบคน รวบรวมขอมูล จากแหลงขอมูลตางๆ ทั้งที่เปนแฟมเอกสารเดิมของ หนว ยงาน (ถามี ) ระบบฐานขอมู ล อุ ตสาหกรรมรายสาขาตางๆ (Intelligence Unit) ผูป ระกอบการใน อุ ต สาหกรรมพลาสติ ก และที่ เ กี่ ย วข อ ง พิ จ ารณานโยบาย มาตรการ และกฎระเบี ย บต า งๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ อุตสาหกรรมรายสาขา เชน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ คําแถลงนโยบายของรัฐบาล นโยบาย แผน ยุทธศาสตรของ อก. และ สศอ. เปนตน รวมถึงรายงานการศึกษาหรือรายงานการวาจางที่ปรึกษาโครงการที่ เกี่ยวของกับการพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขาตางๆ เพื่อประกอบการวิเคราะหหาแนวทางการดําเนินงานตอไป 3) จัดประชุมผูเกี่ยวของและผูมีสวนไดสวนเสียเพื่อระดมความคิดเห็น เพื่อหารือแนวทางและ มาตรการในการสงเสริมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมพลาสติก 4) ประมวลผลที่ไดจากขอ 2 และขอ 3 มาวิเคราะห และสรุปผลเพื่อจัดทําเปนขอเสนอแนะ แนวทาง ยุทธศาสตร การสงเสริมและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมพลาสติก และกําหนดแผนงาน/โครงการ รวมถึงงบประมาณดําเนินการ 5) นําเสนอแนวทาง ยุทธศาสตร การสงเสริมและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมพลาสติก เพื่อ ขอความเห็นชอบจากผูบริหาร สศอ./อก. รวมทั้งการปรับปรุงแกไข (หากมี) โดยพิจารณาปรับปรุงใหเหมาะสม แลวนําเสนอผูบริหาร สศอ. / อก. เพื่อขอความเห็นชอบใหม 6) เมื่ อผ า นความเห็ น ชอบจากผูบ ริหาร ในขั้น ตอนที่ 5 แล ว จึงนําเรื่องเสนอคณะรั ฐ มนตรี (ครม.) โดยดําเนินการประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อนําเรื่องเสนอพิจารณา 7) เมื่ อได รั บ ความเห็ น ชอบหรือ ไดรั บ อนุมั ติตามที่เสนอแล ว จึง ดําเนิ น การประสานงานกั บ ผูเกี่ยวของ เพื่อแจงใหผูเกี่ยวของทราบและดําเนินการในสวนที่เกี่ยวของตอไป ............................................................


3.2 แผนภูมิแสดงขั้นตอนการสงเสริมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมพลาสติก ลําดับ ที่ 1 2 3 4 5

รายละเอียดขั้นตอน

สนย.สปอ./ สร.

สม.

กรณีที่ 1 รับเรื่อง- นโยบาย/ปญหาของอุตสาหกรรมพลาสติก จากกระทรวงอุตสาหกรรม/หนวยงานที่เกี่ยวของ กรณีที่ 2 สร.1 สวนงานรับผิดชอบ – ริเริ่มนําเสนอ ศึกษา/รวบรวมขอมูล จากแหลงขอมูลตางๆ และนโยบาย มาตรการ กฎระเบียบ รวมถึงรายงานการศึกษาที่เกี่ยวของ เพื่อประกอบการวิเคราะหหาแนวทางการดําเนินงาน จัดประชุมผูเกี่ยวของและผูมีสวนไดสวนเสียเพื่อระดมความ คิดเห็น เพื่อหารือแนวทางและมาตรการในการสงเสริมพัฒนา และเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมพลาสติก จัดทําขอเสนอแนะแนวทาง ยุทธศาสตร การสงเสริมและเพิ่ม ศักยภาพของอุตสาหกรรม และกําหนดแผนงาน/โครงการ รวมถึงงบประมาณดําเนินการ นําเสนอขอความเห็นชอบจากผูบริหาร สศอ./อก. รวมทั้งการ ปรับปรุงแกไข (หากมี)

6

นําเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) โดยดําเนินการประสานงาน หนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อนําเรื่องเสนอพิจารณา

7

แจงหนวยงานรับผิดชอบ/ที่เกี่ยวของทราบและดําเนินการ ตอไป ตามแตกรณี สัญลักษณ

เริ่มตน/สิ้นสุด

สร.2

สร.1

รปอ.หศอ./ หนวยงาน ปกอ./ ที่เกี่ยวของ รวอ.

รศอ./ ผศอ.

N

N Y Y

ดําเนินการ

การพิจารณา


7

บทที่ 4

ขั้นตอน รายละเอียด และความรู/สารสนเทศที่ใชในการดําเนินงาน การสงเสริมพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมพลาสติก

ขั้นตอนที่ 1 รับนโยบาย – ริเริ่มนําเสนอนโยบาย กรณีที่ 1 รับนโยบายจากกระทรวงอุตสาหกรรรม/หนวยงานที่เกี่ยวของ - ฝายบริหารงานทั่วไปของสํานักฯ รับเรื่องจากฝายบริหารงานทั่วไป สํานักบริหารกลาง (สบก.) แลวลงทะเบียนรับ และนําเสนอผูอํานวยการสํานักฯ สั่งการใหสวนที่รับผิดชอบดําเนินการ - เมื่อไดรับเรื่องสั่งการจาก ผอ.สร.1 แลว ผอ. สวนพิจารณาดําเนินการ และ/หรือสั่งการ ใหเจาหนาที่ผูเกี่ยวของดําเนินการ ความรู/สารสนเทศที่จําเปนตองใชในการทํางาน 1.1 ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส - การรับ-สงเรื่อง 1.2 โครงสรางการจัดแบงสวนงานของ สร. 1 - ความรับผิดชอบ และผูปฏิบัติงาน 1.3 การติดตอประสานการทํางาน

แหลงที่มา/แหลงสืบคน - สบก. - ฝายบริหารงานทั่วไป สร.1 - ฝายบริหารงานทั่วไป สร.1 - นามสงเคราะหสวนราชการ - ทําเนียบขาราชการและพนักงานกระทรวง อุตสาหกรรม

กรณีที่ 2 สวนงานรับผิดชอบ – ริเริ่มนําเสนอ - ดําเนินการตามขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 2 ศึกษา ตรวจสอบ สืบคน รวบรวมขอมูล เพื่อเตรียมดําเนินการขั้นตอไป - เจาหนาที่ดําเนินการตรวจสอบความเปนมาของเรื่อง รวบรวมขอมูล และวิเคราะหวา จะตองดําเนินการตอไปอยางไร - ความรู/สารสนเทศที่จําเปนตองใชในการทํางาน แบงเปน ความรูพื้นฐานโดยรวม และ ความรูเฉพาะในงานที่รับผิดชอบ มีดังนี้


8 ความรู/สารสนเทศที่จําเปนตองใชในการทํางาน

แหลงที่มา/แหลงสืบคน

2.1 ศึกษาความเปนมาของเรื่อง

- แฟมเอกสารเดิมที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรม

2.2 ศึกษาสถานภาพของอุตสาหกรรมพลาสติก - ผูผลิต และโรงงานอุตสาหกรรม - ศักยภาพการแขงขันของอุตสาหกรรม (เชน เทคโนโลยี แรงงาน ปญหาอุปสรรค แนวโนมอุตสาหกรรม) - ปริมาณ/มูลคาการนําเขา-สงออกของไทยและตลาดโลก - สถิติการคาระหวางประเทศของไทย

- http://plastic.oie.go.th/ (PIU) - http://www.thaitextile.org/ (THTI) - http://www.thaieei.com/ (EIU) - http://data.thaiauto.or.th/ (AIU) - http://fic.nfi.or.th/ (FIC) - http://www.customs.go.th/ - http://www.diw.go.th/ (กรอ.) - http://www.fti.or.th/ (สอท.) - http://www.gtis.com/ (GTI) - http://www.tpia.org/ (TPIA) - http://www.ptit.org/ (PTIT) - http://www.boi.go.th/ (BOI) - http://www.cabinet.thaigov.go.th/ - http://www.customs.go.th/ - http://www.dft.moc.go.th/ (คต.พณ.) - http://www.dtn.go.th/ (จร.พณ.) - http://www.industry.go.th/ (อก.) - http://www.moc.go.th/ (พณ.) - http://www.mof.go.th/ (กค.) - http://www.mol.go.th/ (รง.) - http://www.mfa.go.th/ (กต.) - http://www.nesdb.go.th/ (สศช.) - http://www.sme.go.th/ (สสว.) - http://www.tdri.or.th (TDRI) - หองสมุด สศอ. - รายงานโครงการจัดทําขอมูลอุตสาหกรรมเชิง เปรียบเทียบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ แขงขัน (รายสาขาอุตสาหกรรม) - รายงานโครงการศึกษาโอกาสความเปนไปไดใน การสรางคุณคาเพิ่มผลิตภัณฑพลาสติก - รายงานโครงการวิเคราะหความเปนไปได ศักยภาพ และความพรอมในการสรางธุรกิจ อุตสาหกรรมไบโอพลาสติก

2.3 ศึกษานโยบาย มาตรการ และกฎระเบียบตางๆ ที่เกี่ยวของกับ อุตสาหกรรมพลาสติก - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ - นโยบายรัฐบาล - แผนแมบทการสงเสริม SMEs ของประเทศ - แผนวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรมแหงชาติ - นโยบาย แผน ยุทธศาสตรของ อก. และ สศอ. - ทิศทาง/นโยบาย/มาตรการของตางประเทศ - ขอตกลงเขตการคา พันธกรณีตางๆ - ขอมูลอัตราภาษีของไทยและของประเทศคูคา - กฎระเบียบการคาขององคการการคาโลก - การสงเสริมการลงทุน 2.4 วิเคราะหขอมูลเบื้องตน - ขอมูลการใช Model Analysis เพื่อการวิเคราะหขอมูล - ขอมูลการใช Internet และโปรแกรมคอมพิวเตอรตางๆ เพื่อการ วิเคราะหขอมูล


9

ขั้นตอนที่ 3 ระดมความคิดเห็น จากหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวของ - จัดประชุมผูเกี่ยวของและผูมีสวนไดสวนเสียเพื่อระดมความคิดเห็น - จั ด ทํ า บั น ทึ ก /หนั ง สื อ ขอความคิ ด เห็ น /ข อ มู ล จากหน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ ง และ/หรื อ หนวยงานภายนอก อก. ที่เกี่ยวของ - เขารวมประชุม หรือประชุมรวมกับหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อหารือแนวทางและ มาตรการในการสงเสริมและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมพลาสติก ความรู/สารสนเทศที่จําเปนตองใชในการทํางาน 3.1 ความรูเกีย่ วกับอํานาจและหนาที่ ของหนวยงานภาครัฐและเอกชนที่ เกี่ยวของ - ขอมูลบทบาท หนาที่ ความรับผิดชอบ ของหนวยงานภาครัฐและ เอกชน - ขอมูลหรือวิธีการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรตางๆ เพื่อการสืบคน 3.2 ความรูที่เกี่ยวของกับการประชุม - ขอมูลสถานภาพของอุตสาหกรรมพลาสติก - องคความรูในการจัดประชุมอยางมีประสิทธิภาพ - ขอมูลหรือวิธีการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรตา งๆ เพื่อการนําเสนอ 3.3 ความเห็นเฉพาะดาน ประกอบการจัดทําแนวทางและมาตรการ สงเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติก - ขอมูล/ความเห็นจากผูเชี่ยวชาญที่เกี่ยวของ - ขอ มูล /ความเห็ นจากผู ประกอบการอุ ตสาหกรรมพลาสติ ก และ สาขาอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวของ

แหลงที่มา/แหลงสืบคน - นามสงเคราะหสวนราชการ - ทําเนียบขาราชการและพนักงานกระทรวง อุตสาหกรรม - หองสมุด สศอ. - http://www.diw.go.th/ (กรอ.) - http://www.fti.or.th/ (สอท.) - หองสมุด สศอ. - รายงานการประชุมตางๆ - แฟมเอกสารเดิมที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรม - ความเห็นจากผูเ ขารวมประชุม - บันทึก/หนังสือตอบจากหนวยงานที่เกี่ยวของ - สอบถาม/สัมภาษณผูประกอบการ นักธุรกิจ และ ผูบริหารหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ - รายงานการประชุมที่เกี่ยวของ

ขั้นตอนที่ 4 จัดทําขอเสนอแนะแนวทาง ยุทธศาสตร การสงเสริมและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรม พลาสติก - รวบรวมขอคิดเห็นและขอเสนอแนะที่ไดจากขั้นตอนที่ 3 มาประมวลผลและวิเคราะห โดยละเอียด - จัดทําแนวทาง ยุทธศาสตร การสงเสริมและเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมพลาสติก และกําหนดแผนงาน/โครงการ - กําหนดแนวทางความรวมมือ หนวยงานรับผิดชอบดําเนินการ และประมาณ การงบประมาณดําเนินการ


10

ความรู/สารสนเทศที่จําเปนตองใชในการทํางาน

แหลงที่มา/แหลงสืบคน

4.1 ความรูในการจัดทํา ขอเสนอแนะแนวทาง ยุทธศาสตร - ขอมูลวิธีการเสนอแนะแนวทาง ยุทธศาสตร และการสงเสริม อุตสาหกรรม 4.2 ความรูในเรื่องกฎระเบียบ และขอกําหนดการจัดตั้งสถาบันเฉพาะทาง - ขอมูลและความเห็นเฉพาะดาน จากผูเกี่ยวของ

- หองสมุด สศอ. - สํานักนโยบายและยุทธศาสตร สปอ.(สนย.สปอ.) - สํานักนโยบายอุตสาหกรรมมหภาค (สม.สศอ.) - สํานักนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 1 และ 2 (สร.1 สศอ. และ สร.2 สศอ.) - อุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ - รายงานการประชุมที่เกี่ยวของ

ขั้นตอนที่ 5 เสนอขอความเห็นชอบจากผูบริหาร สศอ. / อก. รวมทั้งปรับปรุงแกไข (หากมี) - เมื่อกําหนดแนวทางการดําเนินงานตามยุทธศาสตรการสงเสริมและเพิ่มศักยภาพของ อุตสาหกรรมพลาสติกในขั้นตอนที่ 4 แลว จัดทําบันทึกเสนอขอความเห็นชอบจากผูบริหาร สศอ. และ อก. ตามลําดับ - ในกรณี ที่มี การปรั บ ปรุง แก ไข ให นํา ขอ เสนอมาพิ จ ารณาปรับ ปรุ ง ให เหมาะสมแล ว จึงนําเสนอผูบริหาร สศอ. / อก. เพื่อขอความเห็นชอบใหม ความรู/สารสนเทศที่จําเปนตองใชในการทํางาน 5.1 ความรูเกีย่ วกับขั้นตอน และวิธีการเสนอเรื่องตอผูบริหาร - วิธีดําเนินการและรูปแบบการนําเสนอเรื่อง

5.2 ความรูเพื่อการจัดทํา และปรับปรุงเอกสารประกอบการพิจารณา - ขอมูลความเห็น/ขอเสนอแนะ เพื่อการปรับปรุงแกไข

แหลงที่มา/แหลงสืบคน - หองสมุด สศอ. - สํานักนโยบายและยุทธศาสตร สปอ.(สนย.สปอ.) - สํานักนโยบายอุตสาหกรรมมหภาค (สม.สศอ.) - http://www.opm.go.th/ (สปน.) - นโยบายและแนวทางการดําเนินงาน จากผูบริหาร

ขั้นตอนที่ 6 เสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื่อพิจารณา - เมื่อผานความเห็นชอบจากผูบริหาร ในขั้นตอนที่ 5 แลวจึงดําเนินการประสานงานเพื่อ นําเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) โดยประสานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อนําเรื่องเสนอพิจารณา ใหความเห็นชอบตอไป ความรู/สารสนเทศที่จําเปนตองใชในการทํางาน 6.1 ความรูเกีย่ วกับขั้นตอน และระเบียบวิธีการเสนอเรื่องเขา ครม. เพื่อ พิจารณา - แนวทางการปฎิบัติ และรูปแบบการนําเสนอเรื่อง

แหลงที่มา/แหลงสืบคน - สํานักนโยบายอุตสาหกรรมมหภาค (สม.สศอ.) - สํานักงานรัฐมนตรี (สร.อก.) - http://www.opm.go.th/ (สปน.)


11

ขั้นตอนที่ 7 แจงผลใหผูเกี่ยวของทราบ / ปฏิบัติแลวแตกรณี - จัดทําบันทึก/หนังสือแจงใหผูเกี่ยวของทราบผล หรือดําเนินการตอไปแลวแตกรณี ความรู/สารสนเทศที่จําเปนตองใชในการทํางาน

แหลงที่มา/แหลงสืบคน

7.1 ความรูเกีย่ วกับ อํานาจและหนาที่ ของหนวยงานที่เกี่ยวของ - นามสงเคราะหสวนราชการ - ขอมูล และรายละเอียดการติดตอประสานงานหนวยงานที่เกี่ยวของ - ทํ า เนี ย บข า ราชการและพนั ก งานกระทรวง อุตสาหกรรม ..............................................................


12

ภาคผนวก


13

สรุปเอกสารภาคผนวก

หนา

• ขั้นตอนที่ 1 รับเรื่อง- นโยบาย/ปญหาของอุตสาหกรรมพลาสติก เอกสาร การแตงตั้งคณะทํางานจัดทํายุทธศาสตรการพัฒนา อุตสาหกรมพลาสติก

ภาคผนวก ก

• ขั้นตอนที่ 2 ศึกษา/รวบรวมขอมูล และรายงานการศึกษาที่เกี่ยวของ เอกสาร ขอมูลสถานภาพอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานการศึกษา แผน/นโยบายของภาครัฐตางๆ

ภาคผนวก ข

• ขั้นตอนที่ 3 จัดประชุมผูเกี่ยวของและผูมีสวนไดสวนเสียเพื่อระดมความคิดเห็น เอกสาร 1.หนังสือเชิญ/รายงานการประชุมผูเกี่ยวของและผูมีสวนไดสวนเสีย เพื่อระดมความคิดเห็น 2. ยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติกและแผนปฏิบัติการ 3. ขอคิดเห็นจากผูเกี่ยวของ

ภาคผนวก ค

• ขั้นตอนที่ 4 จัดทําขอเสนอแนะ แนวทาง และกําหนดงบประมาณดําเนินการ เอกสาร ยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติก

ภาคผนวก ง

• ขั้นตอนที่ 5 นําเสนอขอความเห็นชอบ สศอ./อก. รวมทั้งการปรับปรุงแกไข (หากมี) เอกสาร 1. บันทึกนําเสนอ ครม. เพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบ 2. บันทึกนําเสนอยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรม (ที่มีการสั่งการใหปรับปรุงแกไข)

ภาคผนวก จ

• ขั้นตอนที่ 6 นําเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื่อพิจารณา เอกสาร 1. บันทึก/หนังสือเพื่อนําเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณา

ภาคผนวก ฉ

• ขั้นตอนที่ 7 แจงหนวยงานรับผิดชอบ/ที่เกี่ยวของทราบและดําเนินการตอไป เอกสาร แจงมติคณะรัฐมนตรี และใหรับขอคิดเห็นจากหนวยงานตางๆ ไปพิจารณาดําเนินการ

ภาคผนวก ช


ภาคผนวก ก

ขั้นตอนที่ 1 รับเรื่อง- นโยบาย/ปญหาของอุตสาหกรรมพลาสติก เอกสาร การแตงตั้งคณะทํางานจัดทํายุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรม พลาสติก


ภาคผนวก ข

ขั้นตอนที่ 2 ศึกษา/รวบรวมขอมูล และรายงานการศึกษาที่เกี่ยวของ เอกสาร ขอมูลสถานภาพอุตสาหกรรมพลาสติก รายงานการศึกษา แผน/นโยบายของภาครัฐตางๆ


ภาคผนวก ค

ขั้นตอนที่ 3 จัดประชุมผูเกี่ยวของและผูมีสวนไดสวนเสียเพื่อระดมความคิดเห็น เอกสาร 1.หนังสือเชิญ/รายงานการประชุมผูเกี่ยวของและผูมีสวนได สวนเสียเพื่อระดมความคิดเห็น 2. ยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติกและแผน ปฏิบัติการ 3. ขอคิดเห็นจากผูเกี่ยวของ


ภาคผนวก ง

ขั้นตอนที่ 4 จัดทําขอเสนอแนะ แนวทาง และกําหนดงบประมาณดําเนินการ เอกสาร ยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติก


ภาคผนวก จ

ขั้นตอนที่ 5 นําเสนอขอความเห็นชอบ สศอ./อก. รวมทั้งการปรับปรุงแกไข (หากมี) เอกสาร 1. บันทึกนําเสนอ ครม. เพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบ 2. บันทึกนําเสนอยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรม (ที่มีการ สั่งการใหปรับปรุงแกไข)


ภาคผนวก ฉ

ขั้นตอนที่ 6 นําเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื่อพิจารณา เอกสาร 1. บันทึก/หนังสือเพื่อนําเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณา


ภาคผนวก ช

ขั้นตอนที่ 7 แจงหนวยงานรับผิดชอบ/ที่เกี่ยวของทราบและดําเนินการตอไป เอกสาร แจงมติคณะรัฐมนตรี และใหรับขอคิดเห็นจากหนวยงานตางๆ ไปพิจารณาดําเนินการ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.