คู่มือ การซ่ อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครือข่ ายและอุปกรณ์
จัดทําโดย คณะทํางานองค์ ความรู้ การซ่ อมแซมและบํารุ งรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครือข่ ายและอุปกรณ์ ศูนย์ สารสนเทศเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
บทที่ 1 บททั่วไป 1.1 หลักการและเหตุผล ห้ องปฏิบตั กิ ารเครื่ องแม่ขา่ ย (Server Room) เป็ นห้ องที่ใช้ จดั เก็บเครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย อุปกรณ์สนับสนุนและอุปกรณ์ตอ่ พ่วงคอมพิวเตอร์ ที่สําคัญของสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) ซึง่ จะต้ องมีการเปิ ดใช้ งานตลอด 24 ชัว่ โมง จึงอาจจะทําให้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ เกิดการชํารุดเสียหายไม่สามารถใช้ งานได้ ดังนันเพื ้ ่อแก้ ปัญหาที่เกิดขึ ้นจึงจําเป็ นต้ องดูแลรักษา ซ่อมบํารุงและปรับปรุงเครื่ องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สนับสนุนและอุปกรณ์ตอ่ พ่วงเครื่ องคอมพิวเตอร์ ให้ มี ความพร้ อมในการใช้ งานต่อไปได้ 1.2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ มีแนวทางที่เป็ นมาตรฐานสําหรับการปฏิบตั งิ านในการ บํารุงรักษาเครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ยและอุปกรณ์ให้ อยูใ่ นสภาพพร้ อมใช้ ด้ วยการดําเนินการเชิงป้องกัน 2. เพื่อยืดอายุการใช้ งานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย 3. เพื่อปรับปรุงสภาพของเครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย 4. เพื่อป้องกันหรื อลดความเสี่ยงที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ยจะหยุดทํางาน 5. เพื่อลดปริ มาณงานบํารุงรักษาเชิงแก้ ไขกรณีเกิดอุปกรณ์ขดั ข้ องหรื อมีความเสียหาย 6. เพื่อใช้ เป็ นคูม่ ือพัฒนา บํารุงรักษา แก้ ไขปั ญหา และตรวจสอบการทํางานของระบบ คอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์ ของ สศอ. ไม่ให้ เกิดปั ญหา ขัดข้ อง และความเสียหาย ต่อระบบงาน 7. เพื่อใช้ เป็ นแนวทางในการลดปั ญหาที่เกิดขึ ้นกับระบบคอมพิวเตอร์ 8. เพื่อประโยชน์ในการใช้ งานอย่างมีประสิทธิภาพ 1.3 ขอบเขต การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบเป็ นขันตอนสุ ้ ดท้ ายของวงจรการพัฒนาระบบ หลังจาก ที่ทําการติดตังระบบงานใหม่ ้ เสร็ จเรี ยบร้ อยแล้ ว เมื่อถึงระยะเวลาหนึง่ ระบบอาจต้ องมีการปรับปรุงแก้ ไขให้ ทันต่อยุคสมัยหรื อปรับปรุงข้ อผิดพลาดให้ ถกู ต้ อง การบํารุงรักษาระบบเป็ นการยืดอายุระบบงานให้ ใช้ ต่อไปอย่างมีประสิทธิภาพ การบํารุงรักษาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็ นงานหลักในการ บํารุงรักษาอุปกรณ์ และระบบสารสนเทศต่างๆ ให้ สามารถใช้ งานได้ อย่างถูกต้ อง เพราะการที่ระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศไม่ได้ รับการพัฒนาและบํารุงรักษาที่ดีอาจส่งผลให้ ระบบไม่สามารถทํางานได้ อย่างมี เสถียรภาพ (ฮาร์ ดแวร์ และระบบเครื อข่าย ) ไม่มีความน่าเชื่อถือและไม่สอดคล้ องกับความต้ องการของ ผู้ใช้ งาน (User) ซึง่ มีผลทําให้ องค์กรไม่สามารถดําเนินงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพรวมทังผู ้ ้ บริหารไม่ สามารถกําหนดนโยบายและตัดสินใจได้ อย่างถูกต้ อง Page | 1
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
1.4 โครงสร้ างหน่ วยงาน
รูปที่ 1 โครงสร้ างสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
Page | 2
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
บทที่ 2 แนวคิดในการจัดทําคู่มือ การบํารุ งรั กษา และซ่ อมแซมแก้ ไขระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ ายและอุปกรณ์ 2.1 แนวคิดในการจัดทําคู่มือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยูใ่ นองค์กร ซึง่ กระจัดกระจายอยูใ่ นตัวบุคคลหรื อเอกสาร มาพัฒนา ให้ เป็ นระบบ เพื่อให้ ทกุ คนในองค์กรสามารถเข้ าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้ เป็ นผู้ร้ ู รวมทังปฏิ ้ บตั งิ าน ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้ องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด โดยที่ความรู้มี 2 ประเภท คือ - ความรู้ที่ฝังอยูใ่ นคน (Tacit Knowledge) เป็ นความรู้ที่ได้ จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรื อ สัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการทําความเข้ าใจในสิ่งต่างๆ เป็ นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมา เป็ นคําพูดหรื อลายลักษณ์อกั ษรได้ โดยง่าย เช่น ทักษะในการทํางาน งานฝี มือ หรื อการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครัง้ จึงเรี ยกว่าเป็ นความรู้แบบนามธรรม - ความรู้ที่ชดั แจ้ ง (Explicit Knowledge) เป็ นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธี ต่างๆ เช่น การบันทึกเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ทฤษฎี คูม่ ือต่างๆ และบางครัง้ เรี ยกว่าเป็ นความรู้แบบรูปธรรม แนวคิดการจัดทําองค์ความรู้
ตามคูม่ ือฉบับนี ้ ได้ นําแนวคิดเรื่ องกระบวนการจัดการความรู้
(Knowledge Management Process) และกระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง
(Change
Management Process) มาประยุกต์ใช้ ในการจัดทําแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) 2.2 กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) เป็ นกระบวนการแบบหนึง่ ที่จะช่วยให้ องค์กรเข้ าใจถึงขันตอนที ้ ่ทําให้ เกิดกระบวนการจัดการ ความรู้ หรื อพัฒนาการของความรู้ที่จะเกิดขึ ้นภายในองค์กร ประกอบด้ วย 7 ขันตอน ้ ดังนี ้ 1) การบ่งชี ้ความรู้ – เช่นพิจารณาว่า วิสยั ทัศน์ / พันธกิจ / เป้าหมาย คืออะไร และเพื่อให้ บรรลุ เป้าหมาย เราจําเป็ นต้ องรู้อะไร , ขณะนี ้เรามีความรู้อะไรบ้ าง, อยูใ่ นรูปแบบใด, อยูท่ ี่ใคร 2) การสร้ างและแสวงหาความรู้ – เช่นการสร้ างความรู้ใหม่, แสวงหาความรู้จากภายนอก, รักษา ความรู้เก่า, กําจัดความรู้ที่ใช้ ไม่ได้ แล้ ว 3) การจัดความรู้ให้ เป็ นระบบ - เป็ นการวางโครงสร้ างความรู้ เพื่อเตรี ยมพร้ อมสําหรับการเก็บ ความรู้ อย่างเป็ นระบบในอนาคต 4) การประมวลและกลัน่ กรองความรู้ – เช่นปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้ เป็ นมาตรฐาน, ใช้ ภาษา เดียวกัน, ปรับปรุงเนื ้อหาให้ สมบูรณ์ Page | 3
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
5) การเข้ าถึงความรู้ – เป็ นการทําให้ ผ้ ใู ช้ ความรู้นนเข้ ั ้ าถึงความรู้ที่ต้องการได้ ง่ายและสะดวก เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT), Web board ,บอร์ ดประชาสัมพันธ์ เป็ นต้ น 6) การแบ่งปั นแลกเปลี่ยนความรู้ – ทําได้ หลายวิธีการ โดยกรณีเป็ น Explicit Knowledge อาจ จัดทําเป็ น เอกสาร, ฐานความรู้, เทคโนโลยีสารสนเทศ หรื อกรณีเป็ น Tacit Knowledge อาจ จัดทําเป็ นระบบ ทีมข้ ามสายงาน, กิจกรรมกลุม่ คุณภาพและนวัตกรรม, ชุมชนแห่งการเรี ยนรู้, ระบบพี่เลี ้ยง, การสับเปลี่ยนงาน, การยืมตัว, เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ เป็ นต้ น 7) การเรี ยนรู้ – ควรทําให้ การเรี ยนรู้เป็ นส่วนหนึง่ ของงาน เช่นเกิดระบบการเรี ยนรู้จาก การสร้ าง องค์ความรู้ >นําความรู้ไปใช้ >เกิดการเรี ยนรู้และประสบการณ์ใหม่ และหมุนเวียนต่อไปอย่าง ต่อเนื่อง 2.3 Work Flow กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) 1. การบ่ งชีค้ วามรู้
เราต้ องมีความรู้เรื่องอะไร
(Knowledge Identification)
เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง
ความรู้ อยู่ทใ่ี คร อยู่ในรู ปแบบอะไร
2. การสร้ างและแสวงหาความรู้
จะเอามาเก็บรวมกันได้ อย่ างไร 3. การจัดความรู้ ให้ เป็ นระบบ (Knowledge Organization)
จะแบ่ งประเภท หัวข้ ออย่ างไร
จะทําให้ เข้ าใจง่ ายและสมบูรณ์ อย่ างไร
เรานําความรู้ มาใช้ งานได้ ง่ายหรื อไม่
มีการแบ่ งปั นความรู้ ให้ กันหรื อไม่
4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (Knowledge Codification and Refinement)
5. การเข้ าถึงความรู้ (Knowledge Access)
6. การแบ่ งปั นแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing)
ความรู้ นั้นทําให้ เกิดประโยชน์ กับองค์ กรหรื อไม่ ทําให้ องค์ กรดีขน้ึ หรื อไม่
7. การเรี ยนรู้ (Learning)
รูปที่ 2 กระบวนการจัดการความรู้ Page | 4
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
บทที่ 3 การบํารุ งรั กษา และซ่ อมแซมแก้ ไขระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ ายและอุปกรณ์ คูม่ ือ การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์ เกิดจากการ รวบรวมปั ญหา ข้ อเสนอแนะของผู้ใช้ งานระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์ ของสํานักงานเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม (สศอ.) มาทําการ วิเคราะห์เพื่อให้ ได้ แนวทางในการซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบ คอมพิวเตอร์ โดยแสดงให้ เห็นถึงขันตอน ้ วิธีการ ในการปฏิบตั งิ านเกี่ยวกับการซ่อมแซมและบํารุงรักษา ระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์ ของ สศอ. สําหรับแนวทางในการวิเคราะห์ปัญหาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่มี อยูน่ นั ้ คณะทํางานองค์ความรู้ การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์ ได้ รวบรวมปั ญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ ้นโดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์ความเสี่ยงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร โดยมีขนตอน ั้ ดังนี ้ 1. การวิเคราะห์ความเสี่ยง 2. การระบุความเสี่ยง 3. การประเมินค่าความเสี่ยง 4. การรายงานผลการวิเคราะห์ความเสี่ยง 5. จัดทําแผนการดําเนินงานการแก้ ไขและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ และเครื อข่าย 6. จัดทํา Work Flow และขันตอนการแก้ ้ ไขและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์และเครื อข่าย 7. รายงานผลการแก้ ไขและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ และเครื อข่าย 3.1 การวิเคราะห์ ความเสี่ยง จากการวิเคราะห์ความเสี่ยงด้ านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสํานักงาน เศรษฐกิจอุตสาหกรรมสามารถแยกประเภทความเสี่ยงออกเป็ น 5 ประเภท ดังนี ้ 1. ความเสี่ยงด้ านการบริหารจัดการ เป็ นความเสี่ยงจากแนวนโยบายในการบริหาร จัดการที่อาจส่งผลกระทบต่อการดําเนินการด้ านสารสนเทศ 2. ความเสี่ยงจากผู้ปฏิบัตงิ าน เป็ นความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ ้นจากการดําเนินการ การจัด ความสําคัญในการเข้ าถึงข้ อมูลไม่เหมาะสมกับการใช้ งานหรื อการให้ บริการ โดยผู้ใช้ อาจเข้ าสูร่ ะบบ สารสนเทศ หรื อใช้ ข้อมูลต่างๆ ของสํานักงานเกินกว่าอํานาจหน้ าที่ของตนเองที่มีอยู่ และอาจทําให้ เกิด ความเสียหายต่อข้ อมูลสารสนเทศได้
Page | 5
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
3. ความเสี่ยงด้ านเทคนิค เป็ นความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ ้นจากระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ เครื อข่าย เครื่ องมือและอุปกรณ์ อาจเกิดถูกโจมตีจากไวรัสหรื อโปแกรมไม่ประสงค์ดี ถูกก่อกวนจาก Hacker ถูกเจาะทําลายระบบจาก Cracker เป็ นต้ น 4. ความเสี่ยงจากภัยหรื อสถานการณ์ ฉุกเฉิน เป็ นความเสี่ยงที่อาจเกิดจากภัยพิบตั ิ ตามธรรมชาติหรื อสถานการณ์ร้ายแรงที่ก่อให้ เกิดความเสียหายร้ ายแรงกับข้ อมูลสารสนเทศ เช่น ไฟฟ้า ขัดข้ อง นํ ้าท่วม ไฟไหม้ อาคารถล่ม การชุมนุมประท้ วง หรื อความไม่สงบเรี ยบร้ อยในบ้ านเมือง เป็ นต้ น 5. ความเสี่ยงจากความเสื่อมสภาพของเครื่ องคอมพิวเตอร์ เป็ นความเสี่ยงที่เกิดจาก เครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ที่มีอายุการใช้ งานมานาน และยังไม่มีการจัดซื ้อเครื่ องใหม่มา ทดแทน อาจทําให้ เกิดความเสียหายต่อการทํางานได้ เช่น Hard disk เสีย จะทําให้ ข้อมูลสูญหายได้ เป็ นต้ น
Page | 6
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
3.2 การระบุความเสี่ยง จากการวิเคราะห์ประเภทความเสี่ยงทัง้ 5 ด้ าน ซึง่ ประกอบด้ วยความเสี่ยงด้ านการบริหารจัดการ ความเสี่ยงจากผู้ปฏิบตั งิ าน ความเสี่ยงด้ านเทคนิค ความเสี่ยงจากภัยหรื อสถานการณ์ฉกุ เฉิน และความเสี่ยงจากความเสื่อมสภาพของเครื่ องคอมพิวเตอร์ และในการระบุความเสี่ยงสามารถจําแนกข้ อมูลเกี่ยวกับชื่อ ความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ลักษณะความเสี่ยง ปั จจัย/สิ่งคุกคาม และผลกระทบ/ผู้ได้ รับผลกระทบ โดยจะแสดงรายละเอียดต่าง ๆ ตามตารางด้ านล่างดังนี ้ ตารางแสดงรายละเอียดความเสี่ยง (Description of risk) แยกประเภทตามลักษณะของความเสี่ยงแต่ ละด้ าน ชื่อความเสีย่ ง 1. ความเสีย่ งด้ าน ระบบฐานข้ อมูล ต่าง ๆ ของ สศอ. เช่น ฐานข้ อมูล ระบบสํารวจราย เดือน/รายปี ระบบ ฐานข้ อมูล ระบบงานสารบรรณ เป็ นต้ น 2. ความเสีย่ งด้ าน โปรแกรมประยุกต์ เช่น ระบบงาน สํารวจรายเดือน/ รายปี ระบบงาน
ประเภทความเสีย่ ง ลักษณะความเสีย่ ง ความเสีย่ งด้ านเทคนิค/ ความเสีย่ งที่เกิดกับฐานข้ อมูลต่าง ๆ ในระบบ ความเสีย่ งจาก สารสนเทศ ไม่วา่ จะเป็ นฐานข้ อมูลหลักเสียหาย ผู้ปฏิบตั ิงาน ข้ อมูลถูกทําลาย การโจรกรรมข้ อมูลที่สาํ คัญ การ ลักลอบแก้ ไขเปลีย่ นแปลงข้ อมูล
ความเสีย่ งด้ านเทคนิค/ ความเสีย่ งที่เกิดกับโปรแกรมประยุกต์ตา่ ง ๆ ไม่วา่ ความเสีย่ งจาก จะเป็ นการทํางานผิดพลาดของโปรแกรม ช่องโหว่ ผู้ปฏิบตั ิงาน ของโปรแกรม
ปั จจัยเสีย่ ง/สิง่ คุกคาม - ความเสีย่ งจากผู้บกุ รุกข้ อมูล - ข้ อมูลถูกทําลาย - การโจรกรรมข้ อมูลที่สาํ คัญ
ผลกระทบ/ผู้ได้ รับผลกระทบ ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ
- การลักลอบมาแก้ ไขเปลีย่ นแปลงข้ อมูล
ระบบสารสนเทศ ระบบฐานข้ อมูล เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย
- การทํางานผิดพลาดของโปรแกรม
ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ
- ช่องโหว่ของโปรแกรม - ไวรัสคอมพิวเตอร์ ตา่ ง ๆ - ความล้ มเหลวทางเทคนิค
ระบบสารสนเทศ ระบบฐานข้ อมูล Page | 7
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์ ชื่อความเสีย่ ง ประเภทความเสีย่ ง สารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ ระบบกรอกข้ อมูล แบบสอบถาม รง.8 3. ความเสีย่ งด้ าน ความเสีย่ งด้ านเทคนิค เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย เช่น DNS Server , File Server,Domain Server,WebServer 4. ความเสีย่ งด้ าน ระบบเครื อข่าย Internet ,Intranet
ความเสีย่ งด้ านเทคนิค
ลักษณะความเสีย่ ง
- ความผิดพลาดของซอฟต์แวร์ หรื อการ เขียนโปรแกรม ความเสีย่ งหรื อภัยคุกคามต่าง ๆ ที่เกิดจากการ ทํางานที่ผิดพลาดของเครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย ช่องโหว่ของระบบคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ยต่าง ๆ
- การทํางานผิดพลาดของอุปกรณ์ - ความเสียหายที่เกิดกับตัวเครื่ อง คอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย - ไวรัสคอมพิวเตอร์ - ความเสีย่ งด้ านระบบปฏิบตั ิการ - ความเสีย่ งจากภัยคุกคามต่าง ๆ
ความเสีย่ งด้ านระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ไม่วา่ จะ - ความเสีย่ งที่เกิดจากการทํางานที่ เป็ นความเสีย่ งที่เกิดจากการทํางานที่ผิดพลาดของ ผิดพลาดของอุปกรณ์ อุปกรณ์เครื อข่ายหลักของเครื อข่าย ช่องโหว่ของ อุปกรณ์ ตัวเครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย รวมทังที ้ ่เกิด จากภัยคุกคามต่าง ๆ
5. ความเสีย่ งจาก เครื่ อง คอมพิวเตอร์
ปั จจัยเสีย่ ง/สิง่ คุกคาม
ความเสีย่ งด้ านเทคนิค/ เครื่ องคอมพิวเตอร์ สว่ นบุคคล (PC) หรื ออุปกรณ์ ความเสีย่ งจากความ ชํารุดหรื อขัดข้ องด้ วยสาเหตุทางเทคนิค เสือ่ มสภาพของเครื่ อง
- ช่องโหว่ของอุปกรณ์ - ความเสีย่ งจากภัยคุกคามด้ านต่าง ๆ - ความเสีย่ งจากการบุกรุกเครื อข่าย - ความล้ มเหลวทางเทคนิค - คอมพิวเตอร์ ชํารุดเสียหาย
ผลกระทบ/ผู้ได้ รับผลกระทบ เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย
ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย อุปกรณ์เครื อข่าย ระบบฐานข้ อมูล ระบบสารสนเทศ ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย อุปกรณ์เครื อข่าย ระบบฐานข้ อมูล ระบบสารสนเทศ ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ
Page | 8
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์ ชื่อความเสีย่ ง ประเภทความเสีย่ ง (PC) หรื ออุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ขัดข้ อง ไม่ สามารถทํางานได้ ตามปกติ 6. ความเสีย่ งจากการ ความเสีย่ งจาก นําเอาอุปกรณ์อื่นที่ ผู้ปฏิบตั ิงาน ไม่ได้ รับอนุญาตมา เชื่อมต่อ
ลักษณะความเสีย่ ง
ปั จจัยเสีย่ ง/สิง่ คุกคาม - ไวรัสคอมพิวเตอร์ - ช่องโหว่คอมพิวเตอร์
ผลกระทบ/ผู้ได้ รับผลกระทบ เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย อุปกรณ์เครื อข่าย
- ความเสีย่ งจากภัยคุกคามต่าง ๆ ผู้ใช้ ขาดความระมัดระวังในการนําอุปกรณ์ตา่ ง ๆ มา - การนําอุปกรณ์อื่นมาเชื่อมต่อเข้ าระบบ เชื่อมต่อเข้ ากับระบบคอมพิวเตอร์ หรื อระบบ - ความล้ มเหลวทางเทคนิค เครื อข่าย
7. ความเสีย่ งในการ เข้ าถึงข้ อมูลของ บุคคลอื่น
ความเสีย่ งจาก ผู้ปฏิบตั ิงาน
ผู้ใช้ ขาดความระมัดระวังในการเข้ าใช้ ระบบ สารสนเทศ เช่น การมอบหมายให้ ผ้ อู ื่นใช้ รหัสผ่าน ของตนเองเข้ าใช้ ระบบหรื อใช้ งานแทน
- การอําพรางหรื อสวมรอยผู้ใช้ - การเข้ าถึงข้ อมูล / เปลีย่ นแปลงข้ อมูล โดยไม่ได้ รับอนุญาต
8. ความเสีย่ งจาก การถูกบุกรุก โดย ผู้ไม่ประสงค์ดี
ความเสีย่ งด้ านเทคนิค / ความเสีย่ งจาก ผู้ปฏิบตั ิงาน
การบุกรุกโจมตีโดยผู้ไม่ประสงค์ดี เช่น hacker เป็ น ต้ น การดักจับข้ อมูล การส่งข้ อมูลคําสัง่ เจตนาร้ าย การติดไวรัสหรื อเวิร์ม
- แฮ็คเกอร์ - แคร็ กเกอร์ - การโจมตีการให้ บริ การ (denial of services/ DOS) - การดักจับข้ อมูล
ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ ระบบสารสนเทศ ระบบฐานข้ อมูล เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย ผู้ใช้ งาน ระบบสารสนเทศ ระบบฐานข้ อมูล ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่แม่ขา่ ย ระบบฐานข้ อมูล ระบบสารสนเทศ
- คําสัง่ เจตนาร้ าย Page | 9
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์ ชื่อความเสีย่ ง
ประเภทความเสีย่ ง
ลักษณะความเสีย่ ง
ปั จจัยเสีย่ ง/สิง่ คุกคาม
ผลกระทบ/ผู้ได้ รับผลกระทบ
- ความผิดพลาดของซอฟต์แวร์ หรื อการ เขียนโปรแกรม - ไวรัส/เวิร์ม 9. ความเสีย่ งจาก การโจรกรรม เครื่ อง คอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์
ความเสีย่ งด้ านการ บริ หารจัดการ/ ความ เสีย่ งจากผู้ปฏิบตั ิงาน
10. ความเสีย่ งจาก การขาดแคลน บุคลากร ผู้ปฏิบตั ิงาน
ความเสีย่ งด้ านการ บริ หารจัดการ
การโจรกรรมเครื่ องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์
- การลักทรัพย์
คอมพิวเตอร์ หรื อชิ ้นส่วนภายในเครื่ อง เช่น CPU และ Ram ทําให้ ไม่สามารถปฏิบตั ิงาน หรื อเกิดการสูญ
หายของข้ อมูลบนเครื่ องคอมพิวเตอร์ นนได้ ั้
11. ความเสีย่ งต่อการ ความเสีย่ งด้ านการ ได้ รับการ บริ หารจัดการ สนับสนุน งบประมาณไม่ เพียงพอ
การขาดแคลนบุคลากรด้ านสารสนเทศ ทําให้ การ - นโยบายจากผู้บริ หาร ทํางานอาจหยุดชะงัก หากบุคลากรผู้รับผิดชอบไม่ สามารถมาปฏิบตั ิงานได้ และจํานวนบุคลากรที่มีไม่ เพียงพอต่อระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เพิ่มขึ ้นตาม ความต้ องการของผู้ใช้ งาน ส่งผลกระทบต่อการ พัฒนาและควบคุมดูแลระบบ การขาดแคลนงบประมาณในการดําเนินการให้ - นโยบายจากผู้บริ หาร ระบบสารสนเทศสามารถดําเนินการได้ ตอ่ เนื่องอย่าง มีประสิทธิภาพ
ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย อุปกรณ์เครื อข่าย ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย อุปกรณ์เครื อข่าย ระบบฐานข้ อมูล ระบบสารสนเทศ ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ ระบบฐานข้ อมูล ระบบสารสนเทศ Page | 10
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์ ชื่อความเสีย่ ง 12. ความเสีย่ งจาก กระแสไฟฟ้ า ขัดข้ อง ไฟฟ้ าดับ แรงดันไฟฟ้ าไม่ คงที่
ประเภทความเสีย่ ง ความเสีย่ งจากภัยหรื อ สถานการณ์ฉกุ เฉิน
ลักษณะความเสีย่ ง ปั จจัยเสีย่ ง/สิง่ คุกคาม การเกิดกระแสไฟฟ้ าขัดข้ อง หรื อเกิดแรงดันไฟฟ้ าไม่ - แหล่งกําเนิดไฟฟ้ าขัดข้ องหรื อ คงที่ ทําให้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อาจได้ รับ แรงดันไฟฟ้ าไม่คงที่ ความเสียหายจากแรงดันไฟฟ้ าที่ไม่คงที่
13. ความเสีย่ งจาก ความเสีย่ งจากภัยหรื อ การเกิดไฟไหม้ นํ ้า สถานการณ์ฉกุ เฉิน ท่วม แผ่นดินไหว อาคารถล่ม
การเกิดไฟไหม้ อาคาร แผ่นดินไหวจนอาคารถล่ม ไม่ - ไฟไหม้ จากอุบตั ิเหตุไฟฟ้ าลัดวงจร การ สามารถเคลือ่ นย้ ายเครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ วางเพลิง ต่างๆได้ ทําให้ ได้ รับความเสียหายทังหมด ้ - ภัยธรรมชาติ
14. ความเสีย่ งจาก ความเสีย่ งจากภัยหรื อ สถานการณ์ความ สถานการณ์ฉกุ เฉิน ไม่สงบเรี ยบร้ อย ในบ้ านเมือง
การเกิดสถานการณ์ความรุนแรง หรื อความไม่สงบ เรี ยบร้ อย จนทําให้ บคุ ลากรสามารถปฏิบตั ิงานได้ ตามปกติ
- การชุมนุมประท้ วง - การจลาจล - การก่อการร้ าย
ผลกระทบ/ผู้ได้ รับผลกระทบ ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย อุปกรณ์เครื อข่าย เครื่ องคอมพิวเตอร์ ระบบฐานข้ อมูล ระบบสารสนเทศ ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย อุปกรณ์เครื อข่าย ระบบฐานข้ อมูล ระบบสารสนเทศ ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ
Page | 11
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
3.3 การประมาณค่ าความเสี่ยง (Risk Estimation) การประมาณค่าความเสี่ยงเป็ นการพิจารณาปั ญหาความเสี่ยงในแง่ของโอกาสการเกิดเหตุ (incident) หรื อเหตุการณ์ (event) ว่ามีมากน้ อยเพียงไรและผลที่ตดิ ตามมาว่ามีความรุนแรงหรื อเสียหาย มากน้ อยเพียงใด เกณฑ์การประมาณ เป็ นการกําหนดเกณฑ์ที่จะใช้ ในการประมาณความเสี่ยง ได้ แก่ ระดับ โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ระดับความรุนแรงของผลกระทบ และระดับความเสี่ยง ซึง่ สํานักงานเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมใช้ เกณฑ์ดงั นี ้ ระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณ์ ต่าง ๆ ระดับ โอกาสที่จะเกิด 5 สูงมาก 4 สูง 3 ปานกลาง 2 น้ อย 1 น้ อยมาก
คําอธิบาย 5 ครัง้ ขึ ้นไป/ปี 4 ครัง้ /ปี 3 ครัง้ / ปี 2 ครัง้ /ปี 1 ครัง้ /ปี
ระดับความรุ นแรงของผลกระทบของความเสี่ยง ระดับ ผลกระทบ คําอธิบาย เกิดความสูญเสียต่อระบบ IT ที่สาํ คัญทังหมดและ ้ 5 สูงมาก เกิดความเสียหายอย่างมากต่อความปลอดภัยของ ข้ อมูลต่างๆ 4
สูง
เกิดปั ญหากับระบบ IT ที่สาํ คัญ และระบบความ ปลอดภัยซึง่ ส่งผลต่อความถูกต้ องของข้ อมูล บางส่วน
3
ปานกลาง
ระบบมีปัญหาและมีความสูญเสียไม่มาก
2
น้ อย
เกิดเหตุร้ายเล็กน้ อยที่แก้ ไขได้
1
น้ อยมาก
เกิดเหตุร้ายที่ไม่มีความสําคัญ
Page | 12
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
การประมาณค่าความเสี่ยงแสดงดังตารางต่อไปนี ้ ชื่อความเสี่ยง
ประเภทความเสี่ยง
1. ความเสีย่ งด้ านระบบ ความเสีย่ งด้ านเทคนิค/ ฐานข้ อมูลต่าง ๆ ของ ความเสีย่ งจาก สศอ. เช่น ฐานข้ อมูล ผู้ปฏิบตั ิงาน ระบบสํารวจราย เดือน/รายปี ระบบ ฐานข้ อมูลระบบงาน สารบรรณ เป็ นต้ น 2. ความเสีย่ งด้ าน โปรแกรมประยุกต์ เช่น ระบบงานสํารวจ รายเดือน/รายปี ระบบงานสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ ระบบ กรอกข้ อมูล แบบสอบถาม รง.8
ลักษณะความเสี่ยง ความเสีย่ งที่เกิดกับฐานข้ อมูลต่าง ๆ ในระบบ สารสนเทศ ไม่วา่ จะเป็ นฐานข้ อมูลหลักเสียหาย ข้ อมูลถูกทําลาย การโจรกรรมข้ อมูลที่สาํ คัญ การลักลอบแก้ ไขเปลีย่ นแปลงข้ อมูล
ปั จจัยเสี่ยง/สิ่งคุกคาม - ความเสีย่ งจากผู้บกุ รุกข้ อมูล - ข้ อมูลถูกทําลาย - การโจรกรรมข้ อมูลที่สาํ คัญ - การลักลอบมาแก้ ไข เปลีย่ นแปลงข้ อมูล
ความเสีย่ งด้ านเทคนิค/ ความเสีย่ งที่เกิดกับโปรแกรมประยุกต์ตา่ ง ๆ ไม่ - การทํางานผิดพลาดของ ความเสีย่ งจาก ว่าจะเป็ นการทํางานผิดพลาดของโปรแกรม ช่อง โปรแกรม ผู้ปฏิบตั ิงาน โหว่ของโปรแกรม - ช่องโหว่ของโปรแกรม
3. ความเสีย่ งด้ านเครื่ อง ความเสีย่ งด้ านเทคนิค คอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย
- ไวรัสคอมพิวเตอร์ ตา่ ง ๆ - ความล้ มเหลวทางเทคนิค - ความผิดพลาดของซอฟต์แวร์ หรื อการเขียนโปรแกรม
ผลกระทบ/ผู้ได้ รับ ผลกระทบ ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ
1
ความ รุ นแรง 4
1
4
5
4
ความถี่
ระบบสารสนเทศ ระบบฐานข้ อมูล เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ ข่าย ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ ระบบสารสนเทศ ระบบฐานข้ อมูล เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ ข่าย
ความเสีย่ งหรื อภัยคุกคามต่าง ๆ ที่เกิดจากการ - การทํางานผิดพลาดของอุปกรณ์ ผู้ใช้ งาน ทํางานที่ผิดพลาดของเครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย ผู้ดแู ลระบบ - ความเสียหายที่เกิดกับตัวเครื่ อง
Page | 13
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์ ชื่อความเสี่ยง
ประเภทความเสี่ยง
DNS Server , File Server,Domain Server,WebServer
4. ความเสีย่ งด้ าน ระบบเครื อข่าย Internet ,Intranet
ลักษณะความเสี่ยง ช่องโหว่ของระบบคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ยต่าง ๆ
ผลกระทบ/ผู้ได้ รับ ผลกระทบ
ความถี่
ความ รุ นแรง
5
4
5
2
คอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย
เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ ข่าย - ความเสีย่ งด้ านระบบปฏิบตั ิการ อุปกรณ์เครื อข่าย - ความเสีย่ งจากภัยคุกคามต่าง ๆ ระบบฐานข้ อมูล ระบบสารสนเทศ - ความเสีย่ งที่เกิดจากการทํางาน ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ ที่ผิดพลาดของอุปกรณ์ - ไวรัสคอมพิวเตอร์
ความเสีย่ งด้ านเทคนิค
ความเสีย่ งด้ านระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ไม่ ว่าจะเป็ นความเสีย่ งที่เกิดจากการทํางานที่
ผิดพลาดของอุปกรณ์เครื อข่ายหลักของเครื อข่าย - ช่องโหว่ของอุปกรณ์ ช่องโหว่ของอุปกรณ์ ตัวเครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ - ความเสีย่ งจากภัยคุกคามต่าง ๆ ข่าย รวมทังที ้ ่เกิดจากภัยคุกคามต่าง ๆ
5. ความเสีย่ งจาก เครื่ องคอมพิวเตอร์ (PC) หรื ออุปกรณ์ ขัดข้ อง ไม่สามารถ ทํางานได้ ตามปกติ
ปั จจัยเสี่ยง/สิ่งคุกคาม
- ความเสีย่ งจากการบุกรุก เครื อข่าย
ความเสีย่ งด้ านเทคนิค/ เครื่ องคอมพิวเตอร์ สว่ นบุคคล (PC) หรื ออุปกรณ์ - ความล้ มเหลวทางเทคนิค ความเสีย่ งจากความ ชํารุดหรื อขัดข้ องด้ วยสาเหตุทางเทคนิค - คอมพิวเตอร์ ชํารุดเสียหาย เสือ่ มสภาพของเครื่ อง - ไวรัสคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ - ช่องโหว่คอมพิวเตอร์ - ความเสีย่ งจากภัยคุกคามต่าง ๆ
เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ ข่าย อุปกรณ์เครื อข่าย ระบบฐานข้ อมูล ระบบสารสนเทศ ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ ข่าย อุปกรณ์เครื อข่าย Page | 14
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์ ชื่อความเสี่ยง
ประเภทความเสี่ยง
6. ความเสีย่ งจากการ นําเอาอุปกรณ์อื่นที่ ไม่ได้ รับอนุญาตมา เชื่อมต่อ
ความเสีย่ งจาก ผู้ปฏิบตั ิงาน
7. ความเสีย่ งในการ เข้ าถึงข้ อมูลของ บุคคลอื่น
ความเสีย่ งจาก ผู้ปฏิบตั ิงาน
8. ความเสีย่ งจากการ ถูกบุกรุก โดยผู้ไม่ ประสงค์ดี
ความเสีย่ งด้ านเทคนิค / ความเสีย่ งจาก ผู้ปฏิบตั ิงาน
ผลกระทบ/ผู้ได้ รับ ความถี่ ผลกระทบ ผู้ใช้ ขาดความระมัดระวังในการนําอุปกรณ์ตา่ ง ๆ - การนําอุปกรณ์อื่นมาเชื่อมต่อเข้ า ผู้ใช้ งาน 1 มาเชื่อมต่อเข้ ากับระบบคอมพิวเตอร์ หรื อระบบ ระบบ ผู้ดแู ลระบบ เครื อข่าย - ความล้ มเหลวทางเทคนิค ระบบสารสนเทศ ระบบฐานข้ อมูล เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ ข่าย ผู้ใช้ ขาดความระมัดระวังในการเข้ าใช้ ระบบ - การอําพรางหรื อสวมรอยผู้ใช้ ผู้ใช้ งาน 1 สารสนเทศ เช่น การมอบหมายให้ ผ้ อู ื่นใช้ - การเข้ าถึงข้ อมูล / เปลีย่ นแปลง ระบบสารสนเทศ รหัสผ่านของตนเองเข้ าใช้ ระบบหรื อใช้ งานแทน ข้ อมูล โดยไม่ได้ รับอนุญาต ระบบฐานข้ อมูล การบุกรุกโจมตีโดยผู้ไม่ประสงค์ดี เช่น hacker - แฮ็คเกอร์ ผู้ใช้ งาน 1 เป็ นต้ น การดักจับข้ อมูล การส่งข้ อมูลคําสัง่ ผู้ดแู ลระบบ - แคร็ กเกอร์ เจตนาร้ าย การติดไวรัสหรื อเวิร์ม - การโจมตีการให้ บริ การ (denial เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ of services/ DOS) แม่ขา่ ย ระบบฐานข้ อมูล - การดักจับข้ อมูล ระบบสารสนเทศ - คําสัง่ เจตนาร้ าย ลักษณะความเสี่ยง
ปั จจัยเสี่ยง/สิ่งคุกคาม
ความ รุ นแรง 2
2
4
- ความผิดพลาดของซอฟต์แวร์ หรื อการเขียนโปรแกรม Page | 15
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์ ชื่อความเสี่ยง
ประเภทความเสี่ยง
ลักษณะความเสี่ยง
ปั จจัยเสี่ยง/สิ่งคุกคาม
ผลกระทบ/ผู้ได้ รับ ผลกระทบ
ความถี่
ความ รุ นแรง
1
2
1
2
1
2
- ไวรัส/เวิร์ม 9. ความเสีย่ งจากการ โจรกรรมเครื่ อง คอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์
ความเสีย่ งด้ านการ บริ หารจัดการ/ ความ เสีย่ งจากผู้ปฏิบตั ิงาน
การโจรกรรมเครื่ องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ หรื อชิ ้นส่วนภายในเครื่ อง เช่น CPU
- การลักทรัพย์
และ Ram ทําให้ ไม่สามารถปฏิบตั ิงาน หรื อเกิด
เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ ข่าย อุปกรณ์เครื อข่าย
การสูญหายของข้ อมูลบนเครื่ องคอมพิวเตอร์ นนั ้ ได้
10. ความเสีย่ งจากการ ขาดแคลนบุคลากร ผู้ปฏิบตั ิงาน
ความเสีย่ งด้ านการ บริ หารจัดการ
11. ความเสีย่ งต่อการ ได้ รับการสนับสนุน งบประมาณไม่
ความเสีย่ งด้ านการ บริ หารจัดการ
ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ
การขาดแคลนบุคลากรด้ านสารสนเทศ ทําให้ - นโยบายจากผู้บริ หาร การทํางานอาจหยุดชะงัก หากบุคลากร ผู้รับผิดชอบไม่สามารถมาปฏิบตั ิงานได้ และ จํานวนบุคลากรที่มีไม่เพียงพอต่อระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศที่เพิ่มขึ ้นตามความ ต้ องการของผู้ใช้ งาน ส่งผลกระทบต่อการพัฒนา และควบคุมดูแลระบบ
ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ
การขาดแคลนงบประมาณในการดําเนินการให้ ระบบสารสนเทศสามารถดําเนินการได้ ตอ่ เนื่อง อย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ ระบบฐานข้ อมูล
- นโยบายจากผู้บริ หาร
เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ ข่าย อุปกรณ์เครื อข่าย ระบบฐานข้ อมูล ระบบสารสนเทศ
Page | 16
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์ ชื่อความเสี่ยง
ประเภทความเสี่ยง
ลักษณะความเสี่ยง
ปั จจัยเสี่ยง/สิ่งคุกคาม
เพียงพอ 12. ความเสีย่ งจาก ความเสีย่ งจากภัยหรื อ กระแสไฟฟ้ าขัดข้ อง สถานการณ์ฉกุ เฉิน ไฟฟ้ าดับ แรงดันไฟฟ้ าไม่คงที่
การเกิดกระแสไฟฟ้ าขัดข้ อง หรื อเกิด แรงดันไฟฟ้ าไม่คงที่ ทําให้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อาจได้ รับความเสียหายจาก แรงดันไฟฟ้ าที่ไม่คงที่
13. ความเสีย่ งจากการ เกิดไฟไหม้ นํ ้าท่วม แผ่นดินไหว อาคาร ถล่ม
ความเสีย่ งจากภัยหรื อ สถานการณ์ฉกุ เฉิน
การเกิดไฟไหม้ อาคาร แผ่นดินไหวจนอาคารถล่ม - ไฟไหม้ จากอุบตั ิเหตุไฟฟ้ า ไม่สามารถเคลือ่ นย้ ายเครื่ องคอมพิวเตอร์ และ ลัดวงจร การวางเพลิง อุปกรณ์ตา่ งๆได้ ทําให้ ได้ รับความเสียหาย - ภัยธรรมชาติ ทังหมด ้
14. ความเสีย่ งจาก สถานการณ์ความ ไม่สงบเรี ยบร้ อยใน
ความเสีย่ งจากภัยหรื อ สถานการณ์ฉกุ เฉิน
การเกิดสถานการณ์ความรุนแรง หรื อความไม่ สงบเรี ยบร้ อย จนทําให้ บคุ ลากรสามารถ ปฏิบตั ิงานได้ ตามปกติ
- แหล่งกําเนิดไฟฟ้ าขัดข้ องหรื อ แรงดันไฟฟ้ าไม่คงที่
- การชุมนุมประท้ วง - การจลาจล - การก่อการร้ าย
ผลกระทบ/ผู้ได้ รับ ผลกระทบ ระบบสารสนเทศ ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ แม่ขา่ ย อุปกรณ์เครื อข่าย เครื่ องคอมพิวเตอร์ ระบบฐานข้ อมูล ระบบสารสนเทศ ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ ข่าย อุปกรณ์เครื อข่าย ระบบฐานข้ อมูล ระบบสารสนเทศ ผู้ใช้ งาน ผู้ดแู ลระบบ
ความถี่
ความ รุ นแรง
1
5
1
5
5
5
Page | 17
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์ ชื่อความเสี่ยง
ประเภทความเสี่ยง
ลักษณะความเสี่ยง
ปั จจัยเสี่ยง/สิ่งคุกคาม
ผลกระทบ/ผู้ได้ รับ ผลกระทบ
ความถี่
ความ รุ นแรง
บ้ านเมือง
Page | 18
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
3.4 การประเมินความเสี่ยง (Risk Evaluation) การประเมินค่าความเสี่ยง จะพิจารณาจากปั จจัยจากขันตอนที ้ ่ผา่ นมาได้ แก่ โอกาสที่ภยั คุกคามที่เกิดขึ ้นทําให้ ระบบขาดความมัน่ คง , ระดับผลกระทบหรื อความรุนแรงของภัยคุกคามที่มีตอ่ ระบบ และประสิทธิภาพของแผนการควบคุมความปลอดภัยของระบบ
การวัดระดับความเสี่ยงมีการกําหนด
แผนภูมิความเสี่ยง ที่ได้ จากการพิจารณาจัดระดับความสําคัญของความเสี่ยงจากโอกาสที่จะเกิดความ เสี่ยง และผลกระทบที่เกิดขึ ้น และขอบเขตของระดับความเสี่ยงที่สามารถยอมรับได้ ระดับความเสี่ยง = โอกาสในการเกิดเหตุการณ์ ต่าง ๆ x ความรุนแรงของเหตุการณ์ ต่าง ๆ ซึง่ ใช้ เกณฑ์ในการจัดแบ่งดังนี ้ ระดับคะแนนความเสี่ย จัดระดับความเสี่ยง 1 –8 ตํ่า 9 – 16 ปานกลาง 17 – 24 สูง 25 สูงมาก
แผนภูมิความเสี่ยง(Risk Map)
กลยุทธ์ในการจัดการความเสี่ยง พื ้นที่สี ยอมรับความเสี่ยง ขาว ยอมรับความเสี่ยง (มีมาตรการติดตาม) เหลือง ควบคุมความเสี่ยง (มีแผนควบคุมความเสี่ยง ฟ้า ถ่ายโอนความเสี่ยง แดง
การวัดระดับความเสี่ยง มาก ความเสี่ยงปานกลาง ผลกระทบ
ความเสี่ยงสูง
- ผลกระทบรุนแรงมาก
- ผลกระทบรุนแรงมาก
- โอกาสเกิดน้ อย
- โอกาสเกิดมาก
ความเสี่ยงตํ่า
น้ อย
ความเสี่ยงปานกลาง
- ผลกระทบน้ อย
- ผลกระทบน้ อย
- โอกาสเกิดน้ อย
- โอกาสเกิดมาก โอกาสที่จะ
มาก
ิ Page | 19
๒๕๕๗
ผลกระทบ
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
ความเสี่ยงสูง
5
5
10
15
20
25
4
4
8
12
16
20
ความเสี่ยง
3
3
6
9
12
15
ความเสียงปาน
2
2
4
6
8
10
ความเสี่ยงต่ํา
1
1
2
3
4
5
๑
๒
๓
๔
๕
ี
(สามารถ
โอกาสที่จะเกิด การประเมินค่าความเสี่ยงแสดงดังตารางต่อไปนี ้ ชื่อความเสี่ยง 1. ความเสีย่ งด้ านระบบ ฐานข้ อมูลต่าง ๆ ของ สํานักงานเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม เช่น ฐานข้ อมูลระบบสํารวจ รายเดือน/รายปี ระบบ ฐานข้ อมูลระบบงาน สารบรรณ เป็ นต้ น 2. ความเสีย่ งด้ าน โปรแกรมประยุกต์ เช่น ระบบงานสํารวจ รายเดือน/รายปี ระบบงานสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ ระบบ กรอกข้ อมูล
ประเภทความเสี่ยง
ลักษณะความเสี่ยง
ความถี่
ความเสีย่ งด้ านเทคนิค/ ความเสีย่ งที่เกิดกับฐานข้ อมูลต่าง ๆ ความเสีย่ งจากผู้ปฏิบตั ิงาน ในระบบสารสนเทศ ไม่วา่ จะเป็ น ฐานข้ อมูลหลักเสียหาย ข้ อมูลถูก ทําลาย การโจรกรรมข้ อมูลที่สาํ คัญ การลักลอบแก้ ไขเปลีย่ นแปลงข้ อมูล
1
ความเสีย่ งด้ านเทคนิค/ ความเสีย่ งที่เกิดกับโปรแกรม ความเสีย่ งจากผู้ปฏิบตั ิงาน ประยุกต์ตา่ ง ๆ ไม่วา่ จะเป็ นการ ทํางานผิดพลาดของโปรแกรม ช่อง โหว่ของโปรแกรม
1
ความ ระดับ รุ นแรง คะแนน 4 4
4
Page | 20
4
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์ ชื่อความเสี่ยง แบบสอบถาม รง.8 3. ความเสีย่ งด้ านเครื่ อง คอมพิวเตอร์ แม่ ข่าย DNS Server , File Server,Domain Server,WebServer 4. ความเสีย่ งด้ านระบบ เครื อข่าย Internet ,Intranet
ประเภทความเสี่ยง
ความ ระดับ รุ นแรง คะแนน
ลักษณะความเสี่ยง
ความถี่
ความเสีย่ งด้ านเทคนิค
ความเสีย่ งหรื อภัยคุกคามต่าง ๆ ที่ เกิดจากการทํางานที่ผิดพลาดของ เครื่ องคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย ช่องโหว่ ของระบบคอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ยต่าง ๆ
5
4
20
ความเสีย่ งด้ านเทคนิค
ความเสีย่ งด้ านระบบเครื อข่าย
5
4
20
เครื่ องคอมพิวเตอร์ สว่ นบุคคล (PC) หรื ออุปกรณ์ชํารุดหรื อขัดข้ องด้ วย สาเหตุทางเทคนิค
5
2
10
ความเสีย่ งจากผู้ปฏิบตั ิงาน ผู้ใช้ ขาดความระมัดระวังในการนํา อุปกรณ์ตา่ ง ๆ มาเชื่อมต่อเข้ ากับ ระบบคอมพิวเตอร์ หรื อระบบ เครื อข่าย
1
2
2
1
2
2
1
4
4
คอมพิวเตอร์ ไม่วา่ จะเป็ นความเสีย่ ง ที่เกิดจากการทํางานที่ผิดพลาดของ อุปกรณ์เครื อข่ายหลักของเครื อข่าย ช่องโหว่ของอุปกรณ์ ตัวเครื่ อง คอมพิวเตอร์ แม่ขา่ ย รวมทังที ้ ่เกิด จากภัยคุกคามต่าง ๆ
5. ความเสีย่ งจาก เครื่ องคอมพิวเตอร์ (PC) หรื ออุปกรณ์ ขัดข้ อง ไม่สามารถ ทํางานได้ ตามปกติ 6. ความเสีย่ งจากการ นําเอาอุปกรณ์อื่นที่ ไม่ได้ รับอนุญาตมา เชื่อมต่อ
ความเสีย่ งด้ านเทคนิค/ ความเสีย่ งจากความ เสือ่ มสภาพของเครื่ อง คอมพิวเตอร์
7. ความเสีย่ งในการ ความเสีย่ งจากผู้ปฏิบตั ิงาน ผู้ใช้ ขาดความระมัดระวังในการเข้ า เข้ าถึงข้ อมูลของบุคคล ใช้ ระบบสารสนเทศ เช่น การ อื่น มอบหมายให้ ผ้ อู ื่นใช้ รหัสผ่านของ ตนเองเข้ าใช้ ระบบหรื อใช้ งานแทน 8. ความเสีย่ งจากการ ความเสีย่ งด้ านเทคนิค / การบุกรุกโจมตีโดยผู้ไม่ประสงค์ดี ถูกบุกรุก โดยผู้ไม่ ความเสีย่ งจากผู้ปฏิบตั ิงาน เช่น hacker เป็ นต้ น การดักจับ ประสงค์ดี ข้ อมูล การส่งข้ อมูลคําสัง่ เจตนาร้ าย
Page | 21
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์ ชื่อความเสี่ยง 9. ความเสีย่ งจากการ โจรกรรมเครื่ อง คอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์
ประเภทความเสี่ยง ความเสีย่ งด้ านการบริ หาร จัดการ/ ความเสีย่ งจาก ผู้ปฏิบตั ิงาน
ลักษณะความเสี่ยง
ความถี่
การติดไวรัสหรื อเวิร์ม การโจรกรรมเครื่ องคอมพิวเตอร์
ความ ระดับ รุ นแรง คะแนน
1
2
2
1
2
2
1
2
2
1
5
5
1
5
5
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ หรื อชิ ้นส่วน ภายในเครื่ อง เช่น CPU และ Ram ทํา ให้ ไม่สามารถปฏิบตั ิงาน หรื อเกิดการ สูญหายของข้ อมูลบนเครื่ อง คอมพิวเตอร์ นนได้ ั้
10. ความเสีย่ งจากการ ขาดแคลนบุคลากร ผู้ปฏิบตั ิงาน
ความเสีย่ งด้ านการบริ หาร จัดการ
11. ความเสีย่ งต่อการ ได้ รับการสนับสนุน งบประมาณไม่ เพียงพอ 12. ความเสีย่ งจาก กระแสไฟฟ้ าขัดข้ อง ไฟฟ้ าดับ แรงดันไฟฟ้ าไม่คงที่
ความเสีย่ งด้ านการบริ หาร จัดการ
13. ความเสีย่ งจากการ เกิดไฟไหม้ นํ ้าท่วม แผ่นดินไหว อาคาร ถล่ม
ความเสีย่ งจากภัยหรื อ สถานการณ์ฉกุ เฉิน
ความเสีย่ งจากภัยหรื อ สถานการณ์ฉกุ เฉิน
การขาดแคลนบุคลากรด้ าน สารสนเทศ ทําให้ การทํางานอาจ หยุดชะงัก หากบุคลากรผู้รับผิดชอบ ไม่สามารถมาปฏิบตั ิงานได้ และ จํานวนบุคลากรที่มีไม่เพียงพอต่อ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เพิ่มขึ ้น ตามความต้ องการของผู้ใช้ งาน ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาและ ควบคุมดูแลระบบ การขาดแคลนงบประมาณในการ ดําเนินการให้ ระบบสารสนเทศ สามารถดําเนินการได้ ตอ่ เนื่องอย่างมี ประสิทธิภาพ การเกิดกระแสไฟฟ้ าขัดข้ อง หรื อเกิด แรงดันไฟฟ้ าไม่คงที่ ทําให้ เครื่ อง คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อาจได้ รับ ความเสียหายจากแรงดันไฟฟ้ าที่ไม่ คงที่ การเกิดไฟไหม้ อาคาร แผ่นดินไหวจน อาคารถล่ม ไม่สามารถเคลือ่ นย้ าย เครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ตา่ งๆ ได้ ทําให้ ได้ รับความเสียหายทังหมด ้
Page | 22
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์ ชื่อความเสี่ยง 14. ความเสีย่ งจาก สถานการณ์ความไม่ สงบเรี ยบร้ อยใน บ้ านเมือง
ประเภทความเสี่ยง ความเสีย่ งจากภัยหรื อ สถานการณ์ฉกุ เฉิน
ลักษณะความเสี่ยง
ความถี่
การเกิดสถานการณ์ความรุนแรง หรื อความไม่สงบเรี ยบร้ อย จนทําให้ บุคลากรสามารถปฏิบตั ิงานได้ ตามปกติ
5
ความ ระดับ รุ นแรง คะแนน 25 5
แผนภูมิความเสี่ยง ส
ผลกระทบ
5
ความเสียงสูง
ความเสียง
4
3
ส
2
ความเสียงปาน
ความเสี่ยงต่ํา (สามารถ
1
1
2
3 โอกาสที่จะเกิด
4
5
Page | 23
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
3.5 การรายงานผลการวิเคราะห์ ความเสี่ยง (Risk Reporting) จากผลการประเมินความเสี่ยง สามารถจัดลําดับความสําคัญของความเสี่ยงด้ าน สารสนเทศ ในการบริ หารจัดการได้ อย่างมีประสิทธิภาพดังนี ้ ค่ า ระดับ ความ เสี่ยง
ลําดับ
ความเสี่ยง
1
ความเสีย่ งจาก สถานการณ์ความไม่ สงบเรี ยบร้ อยใน บ้ านเมือง ความเสี่ยงด้ าน เครื่องคอมพิวเตอร์ แม่ ข่าย เช่ น DNS Server , File Server,Domain Server,WebServer ความเสี่ยงด้ าน ระบบเครือข่ าย Internet ,Intranet
ความเสีย่ งจากภัยหรื อ สถานการณ์ฉกุ เฉิน
การเกิดสถานการณ์ความรุนแรง หรื อความไม่สงบ เรี ยบร้ อย จนทําให้ บคุ ลากรสามารถปฏิบตั ิงานได้ ตามปกติ
25
ความเสี่ยงด้ านเทคนิค
ความเสี่ยงหรือภัยคุกคามต่ าง ๆ ที่เกิดจากการ ทํางานที่ผิดพลาดของเครื่องคอมพิวเตอร์ แม่ ข่าย ช่ องโหว่ ของระบบคอมพิวเตอร์ แม่ ข่ายต่ าง ๆ
20
ความเสี่ยงด้ านเทคนิค
ความเสี่ยงด้ านระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ไม่ ว่า จะเป็ นความเสี่ยงที่เกิดจากการทํางานที่ผิดพลาด ของอุปกรณ์ เครือข่ ายหลักของเครือข่ าย ช่ องโหว่ ของอุปกรณ์ ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ แม่ ข่าย รวมทัง้ ที่เกิดจากภัยคุกคามต่ าง ๆ
20
ความเสีย่ งจากเครื่ อง คอมพิวเตอร์ (PC) หรื ออุปกรณ์ขดั ข้ อง ไม่สามารถทํางานได้ ตามปกติ ความเสีย่ งจาก กระแสไฟฟ้ าขัดข้ อง ไฟฟ้ าดับ แรงดันไฟฟ้ าไม่คงที่ ความเสีย่ งจากการ เกิดไฟไหม้ นํ ้าท่วม
ความเสีย่ งด้ านเทคนิค/ ความเสีย่ งจากความ เสือ่ มสภาพของเครื่ อง คอมพิวเตอร์
เครื่ องคอมพิวเตอร์ สว่ นบุคคล (PC) หรื ออุปกรณ์ชํารุด หรื อขัดข้ องด้ วยสาเหตุทางเทคนิค
10
ความเสีย่ งจากภัยหรื อ สถานการณ์ฉกุ เฉิน
การเกิดกระแสไฟฟ้ าขัดข้ อง หรื อเกิดแรงดันไฟฟ้ าไม่ คงที่ ทําให้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อาจได้ รับ ความเสียหายจากแรงดันไฟฟ้ าที่ไม่คงที่
5
ความเสีย่ งจากภัยหรื อ สถานการณ์ฉกุ เฉิน
การเกิดไฟไหม้ อาคาร แผ่นดินไหวจนอาคารถล่ม ไม่ สามารถเคลือ่ นย้ ายเครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
5
2
3
4
5
6
ประเภทความเสี่ยง
ลักษณะความเสี่ยง
Page | 24
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
ลําดับ
7
8
9
10
11
12
ความเสี่ยง
แผ่นดินไหว อาคาร ถล่ม ความเสีย่ งด้ านระบบ ฐานข้ อมูลต่าง ๆ ของ สศอ. เช่น ฐานข้ อมูล ระบบสํารวจราย เดือน/รายปี ระบบ ฐานข้ อมูลระบบงาน สารบรรณ เป็ นต้ น ความเสีย่ งด้ าน โปรแกรมประยุกต์ เช่น ระบบงานสํารวจ รายเดือน/รายปี ระบบงานสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ ระบบ กรอกข้ อมูล แบบสอบถาม รง.8 ความเสีย่ งจากการ ถูกบุกรุก โดยผู้ไม่ ประสงค์ดี ความเสีย่ งจากการ นําเอาอุปกรณ์อื่นที่ ไม่ได้ รับอนุญาตมา เชื่อมต่อ ความเสีย่ งในการ เข้ าถึงข้ อมูลของ บุคคลอื่น ความเสีย่ งจากการ โจรกรรมเครื่ อง คอมพิวเตอร์ และ
ประเภทความเสี่ยง
๒๕๕๗ ค่ า ระดับ ความ เสี่ยง
ลักษณะความเสี่ยง
ต่างๆได้ ทําให้ ได้ รับความเสียหายทังหมด ้ ความเสีย่ งด้ านเทคนิค/ ความเสีย่ งจาก ผู้ปฏิบตั ิงาน
ความเสีย่ งที่เกิดกับฐานข้ อมูลต่าง ๆ ในระบบ สารสนเทศ ไม่วา่ จะเป็ นฐานข้ อมูลหลักเสียหาย ข้ อมูล ถูกทําลาย การโจรกรรมข้ อมูลที่สาํ คัญ การลักลอบ แก้ ไขเปลีย่ นแปลงข้ อมูล
4
ความเสีย่ งด้ านเทคนิค/ ความเสีย่ งจาก ผู้ปฏิบตั ิงาน
ความเสีย่ งที่เกิดกับโปรแกรมประยุกต์ตา่ ง ๆ ไม่วา่ จะ เป็ นการทํางานผิดพลาดของโปรแกรม ช่องโหว่ของ โปรแกรม
4
ความเสีย่ งด้ านเทคนิค / ความเสีย่ งจาก ผู้ปฏิบตั ิงาน ความเสีย่ งจาก ผู้ปฏิบตั ิงาน
การบุกรุกโจมตีโดยผู้ไม่ประสงค์ดี เช่น hacker เป็ นต้ น การดักจับข้ อมูล การส่งข้ อมูลคําสัง่ เจตนาร้ าย การติด ไวรัสหรื อเวิร์ม ผู้ใช้ ขาดความระมัดระวังในการนําอุปกรณ์ตา่ ง ๆ มา เชื่อมต่อเข้ ากับระบบคอมพิวเตอร์ หรื อระบบเครื อข่าย
4
ความเสีย่ งจาก ผู้ปฏิบตั ิงาน
ผู้ใช้ ขาดความระมัดระวังในการเข้ าใช้ ระบบสารสนเทศ เช่น การมอบหมายให้ ผ้ อู ื่นใช้ รหัสผ่านของตนเองเข้ าใช้ ระบบหรื อใช้ งานแทน การโจรกรรมเครื่ องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2
ความเสีย่ งด้ านการ บริ หารจัดการ/ ความ เสีย่ งจากผู้ปฏิบตั ิงาน
หรื อชิ ้นส่วนภายในเครื่ อง เช่น CPU และ Ram ทําให้ ไม่ สามารถปฏิบตั ิงาน หรื อเกิดการสูญหายของข้ อมูลบน Page | 25
2
2
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
ลําดับ
ความเสี่ยง
ประเภทความเสี่ยง
อุปกรณ์
ค่ า ระดับ ความ เสี่ยง
ลักษณะความเสี่ยง
เครื่ องคอมพิวเตอร์ นนได้ ั้
13
ความเสีย่ งจากการ ขาดแคลนบุคลากร ผู้ปฏิบตั ิงาน
ความเสีย่ งด้ านการ บริ หารจัดการ
14
ความเสีย่ งต่อการ ได้ รับการสนับสนุน งบประมาณไม่ เพียงพอ
ความเสีย่ งด้ านการ บริ หารจัดการ
การขาดแคลนบุคลากรด้ านสารสนเทศ ทําให้ การ ทํางานอาจหยุดชะงัก หากบุคลากรผู้รับผิดชอบไม่ สามารถมาปฏิบตั ิงานได้ และจํานวนบุคลากรที่มีไม่ เพียงพอต่อระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เพิ่มขึ ้นตาม ความต้ องการของผู้ใช้ งาน ส่งผลกระทบต่อการพัฒนา และควบคุมดูแลระบบ การขาดแคลนงบประมาณในการดําเนินการให้ ระบบ สารสนเทศสามารถดําเนินการได้ ตอ่ เนื่องอย่างมี ประสิทธิภาพ
จากรายงานผลการวิเคราะห์ความเสี่ยงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะทํางานองค์ความรู้เรื่ อง การซ่อมแซม และบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์ ได้ ข้ อสรุปว่าเรื่ องหลัก ๆ ที่ควรจะให้ ความสําคัญเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ และเครื อข่าย ควรให้ ความสําคัญ เกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ตดิ ตังในห้ ้ องปฏิบตั กิ ารเครื่ องแม่ขา่ ย (Server Room) เป็ นหลักเพราะจากการวิเคราะห์ พบว่าเป็ นส่วนที่มีความเสี่ยงสูง ควรให้ ความสําคัญลําดับต้ น ๆ ของการซ่อมแซมแก้ ไขและบํารุงรักษา คณะทํางานฯ จึงให้ ความเห็นชอบให้ นําเรื่ องเกี่ยวกับ กระบวนการซ่อมแซมแก้ ไข และการบํารุงรักษา ระบบ คอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์ โดยเน้ นในส่วนที่ตดิ ตังอยู ้ ใ่ นห้ องปฏิบตั กิ ารเครื่ องแม่ขา่ ย
(Server
Room) มาดําเนินการจัดทําเป็ นคูม่ ือในการปฏิบตั งิ าน ซึง่ สามารถจัดทําแผนการดําเนินงานและขันตอน ้ การปฏิบตั งิ าน การบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่าย และอุปกรณ์ ได้ ดงั นี ้
Page | 26
2
2
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
3.6 แผนการดําเนินงานการบํารุ งรั กษาระบบคอมพิวเตอร์ และระบบเครื อข่ าย และอุปกรณ์
Page | 27
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
3.7 กระบวนการซ่ อมแซมแก้ ไขระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ ายและอุปกรณ์ 1
2 3
4 8 5
6 7
10
9
ศส. ตรวจสอบผล
11
12
รายงานคณะกรรมการ ตรวจรับ
14
13
ดําเนินการตามมติ คณะกรรมการตรวจรับ
15
Page | 28
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
ขัน้ ตอนการปฎิบัตงิ าน การซ่ อมแซมแก้ ไขระบบคอมพิวเตอร์ เครือข่ ายและอุปกรณ์ ลําดับ
รายละเอียดการปฏิบัติงาน
1
ผู้ใช้ งานแจ้ งปั ญหา
2
สอบถามข้ อมูลเพิ่มเติมและวิเคราะห์ เพื่อแยกประเภทของปั ญหาที่เกิดขึ ้น
3
แยกประเภทของปั ญหา เช่น Software ,Hardware เขียนใบแจ้ งซ่อมตามประเภทของ ปั ญหา บริ ษัทรับจ้ างเหมา รับใบแจ้ งซ่อมตาม ประเภทของปั ญหา บริ ษัทรับจ้ างเหมา ดําเนินการ ตรวจสอบ/ซ่อมแซม/แก้ ไขปั ญหาตาม ข้ อมูลในรายละเอียดใบแจ้ งซ่อม กรณี ปั ญหาด้ าน Software หากแก้ ไขไม่ได้ ให้ กลับไปวิเคราะห์ปัญหาใหม่ และทําการ แก้ ไขใหม่อีกครัง้ กรณีซอ่ มไม่ได้ หรื อปั ญหาไม่ได้ เกิดจาก Hardware บริ ษัทฯ ต้ องดําเนินการดังนี ้ 1.กรณีปัญหาไม่ได้ เกิดจาก Hardware ให้ กลับไปวิเคราะห์ใหม่อีกครัง้
4 5 6
7 8
9
10
11 12
2.หากไม่สามารถแก้ ไขปั ญหาได้ ตามที่ กําหนดไว้ ใน TOR ต้ องหาเครื่ องมา ทดแทน บริ ษัทรับจ้ างเหมา รายงานผลการ ตรวจสอบและดําเนินการแก้ ไขปั ญหา มายัง ศส. ศส. ตรวจสอบผลการดําเนินงานของ บริ ษัทฯ จากรายงานการแก้ ไขปั ญหา กรณีมีปัญหาที่ไม่สามารถตัดสินใจได้
มาตรฐาน/ข้ อกําหนดในการ ผู้รับผิดชอบ ปฏิบัติงาน ต้ องได้ รับการติดต่อแก้ ไข ศส. /ผู้ใช้ งาน ภายใน 2 ชม. หลังจากที่ได้ รับ แจ้ ง ความถูกต้ องในการแก้ ไข ศส. ปั ญหา มีการระบุปัญหาได้ ชดั เจน
ศส.
ความครบถ้ วนของประเด็นที่ กําหนดไว้ ใบแจ้ งซ่อม ความถูกต้ องของใบแจ้ งซ่อม แยกตามประเภทของปั ญหา ระบบและอุปกรณ์สามารถใช้ งานได้ ตามปกติ
บริ ษัทรับจ้ างเหมา / ศส. บริ ษัทรับจ้ างเหมา / ศส. บริ ษัทรับจ้ างเหมา / ศส.
ระบุปัญหาได้ ชดั เจน
บริ ษัทรับจ้ างเหมา / ผู้ใช้ งาน บริ ษัทรับจ้ างเหมา / ศส.
ความถูกต้ องในการแก้ ไข ปั ญหาได้ ตรงกับประเภทของ ปั ญหา มีเครื่ องทดเทนให้ User สามารถใช้ งานได้ ตามปกติ
เอกสารอ้ างอิง
แบบฟอร์ มการแจ้ ง ปั ญหา แบบฟอร์ มการแจ้ ง ปั ญหา แบบฟอร์ มการแจ้ ง ปั ญหา
บริ ษัทรับจ้ างเหมา
แบบฟอร์ มการแจ้ ง ปั ญหา
รายงานผลการตรวจสอบและ แก้ ไขปั ญหา
บริ ษัทรับจ้ างเหมา / ศส.
แบบฟอร์ มการแจ้ ง ปั ญหา
ความครบถ้ วนและถูกต้ องใน การแก้ ไขปั ญหาของบริ ษัทฯ มติคณะกรรมการตรวจรับ
ศส.
แบบฟอร์ มการแจ้ ง ปั ญหา หนังสือแจ้ ง
ศส./คณะกรรมการ
Page | 29
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
13
14
15
ให้ ทําหนังสือแจ้ งคณะกรรมการตรวจรับ เพื่อดําเนินการต่อไป ดําเนินการตามติของคณะกรรมการ รายงานผลการดําเนินงาน ตรวจรับ และสิ ้นสุดกระบวนการแก้ ไข ปั ญหา ดําเนินการตรวจรับงานประจําเดือน ผลการตรวจรับงวดงาน ประจําเดือน
สิ ้นสุดการแก้ ไขปั ญหา พร้ อมลงชื่อ รับรองในแบบฟอร์ มการแจ้ งปั ญหา
- ความครบถ้ วนและถูกต้ องใน การแก้ ไขปั ญหา - ระบบและอุปกรณ์สามารถใช้ งานได้ ตามปกติ
ตรวจรับ
คณะกรรมการ ตรวจรับ
บริ ษัทรับจ้ างเหมา
คณะกรรมการตรวจ เอกสาร รับ/ศส./บริ ษัทรับจ้ าง ประกอบการตรวจ เหมา รับงาน ประจําเดือน ศส. แบบฟอร์ มการแจ้ ง ปั ญหา
Page | 30
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
3.8 กระบวนการการบํารุ งรั กษา ระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ ายและอุปกรณ์ 1
2
3
4
5 7
ศส. / คณะกรรมการฯ
6
9
8
ดําเนินการตามมติ คณะกรรมการตรวจรับ
10
Page | 31
๒๕๕๗
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
ขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ าน การบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครือข่ ายและอุปกรณ์ ลําดับ
รายละเอียดการปฏิบัติงาน
1 2
เริ่ มต้ นการบํารุงรักษา เก็บรวบรวมข้ อมูลความต้ องการในการ บํารุงรักษาระบบ จากผู้ใช้ งาน นําข้ อมูลที่ได้ วิเคราะห์เพื่อกําหนด แผนการบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์
3
4
5
6
7 8 9
10
มาตรฐาน/ข้ อกําหนดในการ ปฏิบัติงาน
มีข้อมูลความต้ องการในการ บํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อ พิจารณาในการเลือกประเด็นที่ จะกําหนดแผนการบํารุงรักษา เขียนแผนการดําเนินงานการบํารุงรักษา แผนการดําเนินงานการ คอมพิวเตอร์ และระบบเครื อข่าย บํารุงรักษาคอมพิวเตอร์ และ ระบบเครื อข่าย
ผู้รับผิดชอบ ศส. ศส. ศส.
ศส.
บริ ษัทรับจ้ างเหมา ดําเนินการ บํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่าย และอุปกรณ์ บริ ษัทรับจ้ างเหมา รายงานผลการ บํารุงรักษาคอมพิวเตอร์ และระบบ เครื อข่าย
ความครบถ้ วนและถูกต้ องใน การดําเนินการตามแผน
ศส. /บริ ษัท รับจ้ างเหมา
รายงานผลการบํารุงรักษา คอมพิวเตอร์ และระบบ เครื อข่าย
บริ ษัทรับจ้ าง เหมา
กรณีเกิดปั ญหา นําเข้ าที่ประชุม คณะกรรมการตรวจรับ ดําเนินการตามมติของคณะกรรมการ ตรวจรับ และสิ ้นสุดการบํารุงรักษา กรณีไม่เกิดปั ญหา ดําเนินการตรวจรับ งวดงานประจําเดือน
มติของคณะกรรมการตรวจรับ
ศส. /บริ ษัท รับจ้ างเหมา บริ ษัทรับจ้ าง เหมา คณะกรรมการ ตรวจรับ /ศส. / บริ ษัทรับจ้ าง เหมา ศส.
รายงานผลการดําเนินงาน ผลการตรวจรับงวดงาน ประจําเดือน
สิ ้นสุดการบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่าย เครื อข่ายและอุปกรณ์ และอุปกรณ์ มีความสมบูรณ์ และสามารถใช้ งานได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ
เอกสารอ้ างอิง
แผนการบํารุงรักษา ระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและ อุปกรณ์
รายงานผลการ บํารุงรักษาระบบ คอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและ อุปกรณ์ รายงานการประชุม
เอกสารประกอบการ ตรวจรับงาน ประจําเดือน แบบฟอร์ มการ บํารุงรักษาระบบ คอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและ อุปกรณ์
Page | 32
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
3.9 รายละเอียดการตรวจสอบเครื่ องปฏิบัตกิ ารเครื่ องแม่ ข่าย (Server) 1. ตรวจสอบสถานะของ Server - Switch เปิ ด-ปิ ดทํางานปกติ - ระบบไฟแจ้ งเตือนการทํางานของอุปกรณ์เป็ นปกติ เช่น Fan, I/O, Status - การเชื่อมต่ออุปกรณ์ เป็ นปกติ - การทํางานของ Software กรณีพบปั ญหา ให้ ทําการแก้ ไขเบื ้องต้ น หากปั ญหายังคงอยูใ่ ห้ รายงานผู้บงั คับบัญชาและ - แจ้ งปั ญหาดังกล่าวแก่ Vender หรื อ ผู้รับจ้ างในการบํารุงรักษา (ถ้ ามี) - Vender เข้ าดําเนินการตรวจสอบปั ญหา - Vender ทําการแก้ ไขปั ญหาแล้ วรายงานปั ญหาดังกล่าว ติดตามการแก้ ไขของ Vender - ตรวจสอบการดําเนินการของ Vender - รายงานปั ญหา และแนวทางการแก้ ไขปั ญหา 2. ตรวจสอบเชิงระบบ - ตรวจสอบสถานะของอุปกรณ์ภายใน - ตรวจสอบการใช้ งาน Hard disk - ตรวจสอบสถานะ RAID Disk OS - ตรวจสอบการทํางานของ Ethernet Interface - ตรวจสอบ Process การทํางาน - ตรวจสอบการทํางานของ Mirror RAID Software - ตรวจสอบ Performance ของ I/O - ตรวจสอบ Performance ของ CPU - ตรวจสอบ Performance ของ Memory - ตรวจสอบ Log Message
Page | 33
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
3.10 รายงานผลการตรวจสอบเชิงระบบเครื่ องปฏิบัตกิ ารเครื่ องแม่ ข่าย (Server) 1. สถานะของ Network Interface ของเครื่ องแม่ ข่าย
Page | 34
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
2. ตรวจสอบ Performance ของเครื่ องแม่ ข่าย
Page | 35
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
2.1 ตรวจสอบ Performance CPU ของเครื่ องแม่ ข่าย
Page | 36
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
2.2 ตรวจสอบการใช้ งาน Hard disk ของเครื่ องแม่ ข่าย
Page | 37
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
2.3 ตรวจสอบการทํางานของ Ethernet Interface ของเครื่ องแม่ ข่าย
Page | 38
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
2.4 ตรวจสอบ Performance Memory ของเครื่ องแม่ ข่าย
Page | 39
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
2.5 ตรวจสอบ Log Message ของเครื่ องแม่ ข่าย
Page | 40
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
3.11 ประโยชน์ ของคู่มือการบํารุ งรั กษา และซ่ อมแซมแก้ ไขระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ ายและ อุปกรณ์ 1) ได้ งานที่มีคณ ุ ภาพตามที่กําหนด 2) ผู้ปฏิบตั งิ านไม่เกิดความสับสน 3) แต่ละหน่วยงานรู้งานซึง่ กันและกัน 4) บุคลากรหรื อเจ้ าหน้ าที่สามารถทํางานแทนกันได้ 5) สามารถเริ่ มปฏิบตั งิ านได้ อย่างถูกต้ องและรวดเร็วเมื่อมีการโยกย้ ายตําแหน่งงาน 6) ลดขันตอนการทํ ้ างานที่ซบั ซ้ อน 7) ลดข้ อผิดพลาดจากการทํางานที่ไม่เป็ นระบบ 8) ช่วยเสริ มสร้ างความมัน่ ใจในการทํางาน 9) ช่วยให้ เกิดความสมํ่าเสมอในการปฏิบตั งิ าน 10) ช่วยลดความขัดแย้ งที่อาจเกิดขึ ้นในการทํางาน 11) ช่วยลดการตอบคําถาม 12) ช่วยลดเวลาในการสอนงาน 13) ช่วยให้ การทํางานเป็ นมืออาชีพ 14) ช่วยในการออกแบบระบบงานใหม่และปรับปรุงงาน
Page | 41
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
คณะผู้จัดทํา คู่มือการบํารุ งรั กษา และซ่ อมแซมแก้ ไขระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ ายและอุปกรณ์ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.
นายอนันต์ อัศวโสภณกุล ประธานคณะทํางาน นางสาววิชช์ สินี รอดอยู่ คณะทํางาน นายศุภชัย วัฒนวิกย์ กรรม์ คณะทํางาน นายธิปไตย นาคหิรัญไพศาล คณะทํางาน นางสาวสุสารี รั ตนพันธุ์ คณะทํางาน นายสมชาย จําปาทอง คณะทํางาน นายอุดร พันกระจัด คณะทํางาน
Page | 42
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
(ภาคผนวก ก) ตารางสรุ ปการบํารุ งรั กษาเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ (Server) และอุปกรณ์ เชิงป้องกัน (Preventive Maintenance)
Page | 43
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 44
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 45
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 46
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
(ภาคผนวก ข) รายงานการบํารุ งรั กษาเครื่ องเซิร์ฟเวอร์ (Server) และอุปกรณ์ เชิงป้องกัน (Preventive Maintenance)
Page | 47
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 48
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 49
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 50
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 51
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 52
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 53
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 54
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 55
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 56
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 57
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 58
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 59
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 60
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 61
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 62
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 63
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 64
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 65
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 66
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 67
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 68
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 69
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 70
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 71
คูม่ ือองค์ความรู้การซ่อมแซมและบํารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายและอุปกรณ์
๒๕๕๗
Page | 72