BEE มจธ. ต่อลมหายใจให้สวนผึ้ง เร่งวิจัยอนุรักษ์ต้นผึ้ง-ผึ้งหลวงก่อนสูญพันธุ์ ดร.อรวรรณ ดวงภักดี อาจารย์ประจามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) กล่าวว่า โครงการอนุรักษ์ต้นผึ้งและผึ้งหลวง มี จุดเริ่มต้นจากการศึกษาเรียนรู้ชุมชน รอบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกล้าธนบุรี (มจธ.) พื้นที่การศึกษา ราชบุรี ซึ่งอยู่ใกล้กับ อ.สวนผึ้ง ในอดีตสวนผึ้งคือแหล่งที่มีผึ้ง อาศัยอยู่จานวนมาก กระทั่งสามารถส่ง น้าผึ้งเป็นเครื่องบรรณาการเข้าไปในเมือง หลวงจนได้ชื่อว่าเป็นสวนผึ้ง ที่เป็นเช่นนี้ เพราะสวนผึ้งมีปัจจัยเอื้อที่เหมาะสมต่อ การอยู่อาศัยและทารังของผึ้ง โดยเฉพาะ “ผึ้งหลวง” ผึ้งขนาดใหญ่มีพฤติกรรม การทารังเป็นกลุ่มใหญ่หลายๆ รัง
KMUTTRCLibrary
บนต้นไม้ที่มีลักษณะสูงใหญ่ตั้งแต่ 1550 รังบางต้นนับได้กว่า 300 รัง แต่ ละรังสามารถเก็บน้าผึ้งได้ 10-20 กิโลกรัมจนชาวบ้านเรียกต้นไม้ชนิดนั้นว่า “ต้นผึ้งหรือยวนผึ้ง” “ต้นผึ้ง” เป็นไม้เนื้ออ่อนตระกูล ไทร มีลักษณะสูงใหญ่ ลาต้นสีขาวนวล และมีผิวเรียบ มีกิ่งก้านที่แผ่กว้าง ต้นผึ้งได้ชื่อนี้มาเพราะเป็นต้นไม้ที่ผึ้งหลวง มาทารังอาศัยอยู่จานวนมาก และมี ข้อมูลว่าบางต้นมีรังผึ้งมากถึง 300 รัง แต่จากการสารวจ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี พบว่า นอกป่าอนุรักษ์มีต้นผึ้งเพียง 27 ต้นและต้นที่สมบูรณ์เหมาะสมแก่การทา รังของผึ้งมีอยู่ 10 กว่าต้นเท่านั้น
จัดทาโดย สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (ราชบุร)ี