สรรสาระ (กันยายน 2559)

Page 1

สรรสาระ ปที่ 2 ฉบับที่ 1 กันยายน 2559 “บรรณารักษเที่ยงคืน” มีจริงที่สิงคโปร

หุนยนตดังกลาวมีชื่อวา “Autonomous Robotic Shelf Scanning (AuRoSS)” เปน ผลงานของนักวิจัย Renjun Li, Zhiyong Huang, Ernest Kurniawan และ Chin Keong Ho จากสถาบัน A*STAR ของ Infocomm Research พัฒนาขึ้น ซึ่งมาพรอมเลเซอรเครื่องอาน RFID และมีแขนสําหรับหยิบจับสิ่งของ อีกทั้งยังเคลื่อนไหวไดดวยตัวเอง มันสามารถเดิน ตรวจสอบตามชั้นวางหนังสือตางๆ ดวยแผนที่ที่มันสรางขึ้น คอยสแกนหาหนังสือที่ถูกเก็บอยู ผิดที่ โดยเชื่อมโยงกับฐานขอมูลผานเครือขายไวไฟ ทั้งนี้ การพัฒนาหุนยนตเพื่อชวยงาน บรรณารักษถือเปนอีกหนึ่งตลาดที่นาสนใจ หลังจากที่กอนหนานี้ไดมีการพัฒนาหุนยนตเพื่อ ชวยงานซูเปอรมารเก็ตปรากฏใหเห็นมาบางแลว โดยหุนยนตในหองสมุดควรรองรับการทํางาน ที่หลากหลายได เชน ในเวลากลางวันสามารถตอนรับผูเขาใชบริการ และใหขอมูลตางๆ เกี่ยวกับ หนังสือ สวนตอนกลางคืนซึ่งไมมีคนแลว ก็เปนเวลาใหหุนยนตจัดเก็บหนังสือเขาที่ใหเรียบรอย และตรวจสอบความถูกตองของหนังสือบนชั้นวาง ขอมูลจาก http://goo.gl/xTP5aK


สรรสาระ ปที่ 2 ฉบับที่ 1 กันยายน 2559 “KMUTTEducation” on Youtube www.youtube.com/user/KMUTTEducation/


สรรสาระ ปที่ 2 ฉบับที่ 1 กันยายน 2559 “Dialogue in the Dark” นิทรรศการ "บทเรียนในความมืด" Dialogue in the Dark หรือ นิทรรศการ "บทเรียนในความมืด" คือ นิทรรศการที่คนเขาชมมองไมเห็นอะไรเลย เปนอีกหนึ่งบทเรียนที่ทําใหเรารูไดวาความมืด สนิทที่ไมมีแสงสวางเราควรเลือกเดินทางอยางไร แนวความคิดของนิทรรศการบทเรียนใน ความมืดนี้มาจาก แอนเดรียส ไฮเนกี้ นักธุรกิจชาวเยอรมัน ซึ่งทํางานในสถานีวิทยุและตอง ทํางานกับคนตาบอดทําใหไดเรียนรูวาคนตาบอดสามารถทําอะไรไดเหมือนคนทั่วไป แตสังคม กลับแบงชนชั้น ดวยเหตุผลนี้เองที่จุดประกายใหเธอเขาสูธุรกิจผูประกอบการสังคมดวยการพัฒนา เครื่องมืออุปกรณเพื่อชวยคนตาบอดซึ่งนํามาสูการจัดนิทรรศการบทเรียนในความมืดเพื่อใหเกิด การเรียนรูและเขาใจคนตาบอดมากขึ้น สําหรับในเมืองไทย ดร.ปริยกร ปุสวิโร อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรม คอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี เคยเปนนักศึกษาไทยที่เดินทางไปเรียน ที่เมืองฮัมบูรก ประเทศเยอรมนี และไดมีโอกาสเรียนรูนิทรรศการบทเรียนในความมืดจึงเกิด ความสนใจ เธอประสานงานกับทางองคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตร (อพวช.) เพื่อขอซื้อลิขสิทธิ์ มาจัดทํานิทรรศการในเมืองไทยซึ่งจัดแสดงอยูที่จัตุรัสวิทยาศาสตร อพวช. ชั้น 4 จามจุรีสแควร สามยาน ขอมูลจาก http://travel.kapook.com/view63130.html

ขอมูลเพิ่มเติม https://www.facebook.com/didthailand


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.