government house
ประวัติท�ำเนียบรัฐบาล ท�ำเนียบรัฐบาลตัง้ อยูเ่ ลขที่ 1 ถนนพิษณุโลก เขตดุสติ กรุงเทพมหานคร มีเนือ้ ที่ 27 ไร่ 3 งาน 44 ตารางวา เป็นสถานที่ราชการส�ำคัญที่สุดในระดับชาติแห่งหนึ่ง เพราะ เป็นทีป่ ระชุมของคณะรัฐมนตรี เป็นทีท่ ำ� งานของนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี และเป็นที่ตั้งส�ำนักงานของหน่วยงานระดับกรม อีกหลายหน่วย ได้แก่ ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ส�ำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ส�ำนักงานคณะ กรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ตลอดจนเป็นที่ ประชุมของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการต่างๆ ของส่วนราชการ นอกจากนี้ ท�ำเนียบรัฐบาลยังเป็นสถานที่รับรองและต้อนรับบุคคลส�ำคัญทั้งใน และต่างประเทศที่เข้าพบนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จัด งานรับรองแขกเมืองที่มาเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ และใช้จัดงานพระราช พิธีเป็นประจ�ำทุกปี ได้แก่ งานสโมสรสันนิบาตเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา และ เนื่องในวโรกาสต่างๆ เป็นต้น รวมทั้งใช้บริเวณพื้นที่อาคารบางหลังต้อนรับข้าราชการ ประชาชน จัดสัมมนา จัดนิทรรศการและเป็นสถานที่มอบรางวัลเกียรติยศที่ภาครัฐและ ภาคเอกชนจัดขึน้ โดยมีนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีประจ�ำส�ำนัก นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ความส�ำคัญอีกเรื่องหนึ่งของท�ำเนียบรัฐบาล คือ ประวัติ ความเป็นมาและความงดงามทางรูปแบบสถาปัตยกรรมของตัวอาคารบางหลังที่มีมา ก่อนเป็นท�ำเนียบรัฐบาล เป็นที่สนใจของคนไทยและชาวต่างประเทศ
1
ก่อนเป็นท�ำเนียบรัฐบาล บริเวณพืน้ ทีภ่ ายในรัว้ ก�ำแพงโดยรอบนี้ มีชอื่ เดิมว่า "บ้านนรสิงห์" เจ้าของ บ้านคือ "พลเอก พลเรือเอก เจ้าพระยารามราฆพ" (ม.ล.เฟื้อ พึ่งบุญ) ผู้เคยด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญๆ ทาง ราชการในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่ หัว รัชกาลที่ 6 กล่าวคือ ท่านเคยด�ำรงต�ำแหน่งผูส้ ำ� เร็จ ราชการ มหาดเล็ก องคมนตรี อุปนายกเสือป่า พล เอกกองทัพบก พลเรือเอกกองทัพเรือในสมัยพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พลเอก พลเรือเอก เจ้าพระยารามราฆพ เดิม ชื่อว่า หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ เกิดเมื่อวันอาทิตย์ ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2433 ตรงกับแรม 7 ค�่ำ เดือน 10 ปีขาล ร.ศ.109 ที่บ้านถนนจักรเพชร จังหวัด พระนคร เป็นบุตร พระยาประสิทธิ์ศุภการ (หม่อม ราชวงศ์ละม้าย พึง่ บุญ) กับ พระนมทัด (พระนมของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว มีพี่น้องร่วม มารดา คือ 1.ท้าวอินทร สุริยา (เชื้อ พึ่งบุญ) 2.ท่าน เจ้าพระยารามราฆพ 3.พลตรี พระยาอนิรทุ ธเทวา (หม่อม หลวงฟืน้ พึง่ บุญ) เข้ารับการ ศึกษาทีโ่ รงเรียนวัดบพิตรพิมขุ และโรงเรียนข้าราชการ พลเอก พลเรือเอก พลเรื อ น (จุ ฬ าลงกรณ์ เจ้าพระยารามราฆพ (ม.ล.เฟื้อ พึ่งบุญ) มหาวิทยาลัย) เมื่อ พ.ศ.
2448 และได้ถวายตัวเข้ารับราชการในสมเด็จพระบรม โอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธสยามมกุฎราชกุมาร (รัชการที่ 6) ตั้งแต่ปี พ.ศ.2451 ครั้นในงานบรม ราชาภิเษก เป็นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้า อยู่หัว เมื่อปี พ.ศ 2453 ก็ได้มีหน้าที่เชิญพระแสง ขรรค์ชัยศรี ยืนหลังที่ประทับตลอดราชพิธี ด้วยเหตุ นีเ้ มือ่ ทรงจัดตัง้ กองเสือป่า จึงพระราชทานธงประจ�ำ ตัวกองเสือป่า ให้ท่าน เป็นรูปเทพยดา เชิญพระแสง ขรรค์ชัยศรี ขนพื้นสีแดง (ถ้าไม่มีเชื้อราชตระกลู ใช้ รูปมานพ) ตลอดเวลาที่รับราชการ ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ถวายงานใกล้ชิด ตลอดรัชกาล และ ตามเสด็จโดยล�ำพัง หลั ง การสววรคตของพระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั เมือ่ ถวายพระเพลิงพระบรม ศพแล้ว เจ้าพระยารามราฆพ จึงออกไปศึกษาต่อที่ ประเทศอังกฤษ จนเปลี่ยนแปลงการปกครอง ถึง พ.ศ. 2477 จึงเดินทางกลับประเทศไทย ได้พ�ำนักอยู่ ที่บ้านบุญญาศรัย ถ.ราชด�ำริ 1 ปี จึงมาพ�ำนักที่บ้าน นรสิงห์ถึงปีพ.ศ. 2484 ขายบ้านนรสิงห์ให้รัฐบาล แล้วย้ายไปพ�ำนักที่บ้านท่าเกษม ต.บางขุนพรหมถึง ปีพ.ศ.2505 จึงขายบ้านท่าเกษมให้กับธนาคารแห่ง ประเทศไทย (เป็นโรงพิมพ์ธนบัตรในปัจจุบัน ท้ายที่ สุดในรชการปัจจุบัน ทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทาน บ้านให้พ�ำนักที่ ถ.เจริญนคร ฝั่งธนบุรี ท่านขนาน นามบ้านนี้ว่า "บ้านพระขรรค์ศรี" และพ�ำนัก ณ ที่นี้ จนถึงอสัญกรรม
2
ใน พ.ศ. 2484 ระหว่างสงครามมหาเอเชีย บูรพา ญี่ปุ่นได้เจรจาขอซื้อหรือขอเช่าบ้านนรสิงห์ ด้วยเห็นว่ามีความสวยงาม เพือ่ ท�ำเป็นสถานทูตญีป่ นุ่ ประจ�ำประเทศไทย แต่ความปรากฏในเวลาต่อมา ว่า ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2484 พลเอก พลเรือเอก เจ้าพระยารามราฆพ เจ้าของบ้านนรสิงห์ได้มหี นังสือ ถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังคือ นายปรีดี พนมยงค์ เสนอขายบ้านนรสิงห์ให้แก่รฐั บาลในราคา 2 ล้านบาท เพราะเห็นว่าใหญ่โตเกินฐานะและเสียค่า บ�ำรุงรักษาสูง กระทรวงการคลังปฏิเสธ เมือ่ เดือนกันยายน พ.ศ. 2484 จอมพล ป. พิบลู สงคราม นายกรัฐมนตรี เห็นว่าควรซือ้ บ้านนรสิงห์ทำ� เป็นสถานทีร่ บั รองแขกเมือง ในทีส่ ดุ ตกลงซือ้ ขายกัน ได้ในราคา 1 ล้านบาท โดยคณะผูส้ ำ� เร็จราชการแทน พระองค์ ได้แก่ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ ทิพอาภา และพลเอก เจ้าพระยาพิเชเยนทรโยธิน (อุม่ พิชเยนทรโยธิน) ได้ให้กระทรวงการคลังจ่ายเงินของ ส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ แล้วมอบ บ้านนรสิงห์ให้ส�ำนักนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ดูแล โดย ให้รัฐบาลใช้เป็นสถานที่ส�ำหรับรับรองแขกเมืองและ ใช้เป็นทีต่ งั้ ท�ำเนียบรัฐบาล ตัง้ แต่ พ.ศ. 2484 เป็นต้น มา ดังนั้น “บ้านนรสิงห์” จึงเปลี่ยนเป็น "ท�ำเนียบ สามัคคีชัย" และ "ท�ำเนียบรัฐบาล" โดยล�ำดับ ก่อนหน้านั้น คณะกรรมการราษฎร (เทียบ เท่าคณะรัฐมนตรี) ได้ใช้พระที่นั่งอนันตสมาคมเป็น สถานที่ปฏิบัติราชการร่วมกับสภาผู้แทนราษฎร แม้
คณะกรรมการราษฎร จะแปลสภาพเป็นคณะรัฐมตรี ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 แล้ว แต่ยังคงใช้พระที่นั่งอนันตสมาคม เป็น สถานที่ปฏิบัติราชการต่อไป จนกระทั่งเมื่อวันที่ 21 มิถนุ ายน 2476 นายกรัฐมนตรีมคี ำ� สัง่ ให้ยา้ ยสถานที่ ปฏิบตั ริ าชการ มาทีว่ งั ปารุสกวัน เนือ่ งจากเป็นสถาน ทีห่ นึง่ ซึง่ ราษฎรเข้ายึดไว้เมือ่ คราวปฏิวตั สิ ยาม ในปี 2474 และเป็นสถานทีพ่ กั ของ พลเอกพระยาพหลพล พยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) นายกรัฐมนตรีในขณะ นัน้ ด้วย โดยใช้ชอื่ ว่า "ส�ำนักนายกรัฐมนตรี วังปารุสก วัน" ต่อมาเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2481 ส�ำนักนายก รัฐมนตรี จึงย้ายสถานที่ปฏิบัติราชการอีกครั้งมายัง วังสวนกุหลาบ ทีอ่ ยู่ใกล้เคียงกับวังปารุสกวัน ซึง่ เป็น สถานที่หลังสุด ก่อนจะย้ายไปยังท�ำเนียบรัฐบาลใน ปัจจุบันตลอดระยะเวลา 56 ปีที่ผ่านมา บ้านนรสิงห์ เดิม ได้มีการปรับปรุงและพัฒนามาตามล�ำดับ ด้วย สาเหตุและความจ�ำเป็นต่างๆ กัน จนกระทั่งเป็นอยู่ ในสภาพปัจจุบัน การปรับปรุงและการพัฒนาพอจะ แบ่งได้เป็น 5 ระยะ คือ
ระยะแรก
ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายก รัฐมนตรี (2481-2478/2491-2500) ได้ต่อเติมเสริม สร้างสิง่ ทีย่ งั ไม่เรียบร้อยให้เสร็จสมบูรณ์ เช่น การติด ตัง้ ประตู หน้าต่าง การเขียนภาพลวดลายเพดาน ฯลฯ โดยมีศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี เป็นก�ำลัง ส�ำคัญ
3
เป็นการเปลี่ยนความรู้สึกจากบ้านพักอาศัยมาเป็น สถานทีท่ ำ� การท�ำเนียบรัฐบาลด้วยวิธกี ารหลายๆ อย่าง ประกอบกัน เช่น เปลี่ยนชื่อจากตึกไกรสรมาเป็นตึก ไทยคู่ฟ้า และการเพิ่มเติมตราท�ำเนียบฯ เป็นต้น ต่อ มาได้มกี ารก่อสร้างอาคารเพิม่ เติมหลายหลังเช่น ตึก ส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ตึกส�ำนักงานปลัดส�ำนัก นายกรัฐมนตรี ตึกสันติไมตรีหลังนอก ฯลฯ
ตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและวัตถุประสงค์ ของการใช้งานเช่น การปรับปรุงห้องประชุมทัง้ ขนาด เล็กและขนาดใหญ่ระดับชาติ ตลอดจนห้องรับรอง แขกเมือง เป็นต้น
ระยะที่สี่
ในสมัยพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายก รัฐมนตรี (2523-2531) ท�ำเนียบรัฐบาลเริ่มประสบ ปัญหาความแออัดของสถานที่ที่จะใช้เป็นที่ท�ำงาน เพราะท�ำเนียบรัฐบาลได้ขยายตัวมากขึ้น กองทัพบก จึงได้มอบพื้นที่ส่วนการศึกษาของโรงเรียนนายร้อย พระจุลจอมเกล้า ซึง่ มีทตี่ งั้ ชิดติดกันกับรัว้ ก�ำแพงด้าน ทิศตะวันตกของท�ำเนียบรัฐบาลให้แก่รัฐบาล โดยได้ รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแล้ว ระยะนี้จึงเป็นระยะ การพัฒนาและปรับปรุงให้โรงเรียนนายร้อยพระ จุลจอมเกล้าเดิม และท�ำเนียบรัฐบาลรวมเป็นพื้นที่ ผืนเดียวกัน
ระยะที่สอง
ในสมัยจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายก รัฐมนตรี (2502-2506) ท�ำเนียบรัฐบาลมีการขยาย ตัวเพิม่ ขึน้ ความจ�ำเป็นในเรือ่ งพืน้ ทีม่ มี าก ดังนัน้ จึง มีการก่อสร้างอาคารต่างๆ ขึน้ อีก เช่น สร้างตึกสันติ ไมตรีหลังใน รือ้ เรือนพลอยนพเก้า ซึง่ เป็นเรือนไม้เดิม แล้วสร้างตึกบัญชาการ (หลังเก่า) ขึน้ แทนที่ เป็นต้น
ระยะที่สาม
ในสมัยจอมพล ถนอม กิตติขจร เป็นนายก รัฐมนตรี (2501/2506-2516) มีสถานที่ท�ำงานเพียง พอแก่จำ� นวนข้าราชการและขอบเขตของงาน ดังนัน้ แม้จะมีการสร้างอาคารเพิ่มเติม คือ ตึกบัญชาการ (หลังใหม่) แทนกลุ่มตึก 24 มิถุนาเดิม ก็เป็นเพียง การสร้างขึ้นเพื่อให้มีประโยชน์ใช้สอยเต็มที่ และ เหมาะสมแก่สถานภาพของท�ำเนียบรัฐบาลในขณะ นัน้ กล่าวได้วา่ เป็นระยะของการปรับปรุง ตกแต่งให้ อาคารสถานทีต่ า่ งๆ มีความเพียบพร้อมและทันสมัย
ระยะที่ห้า
ในสมัยนายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นนายก รัฐมนตรี (2538-2539) หน่วยงานต่างๆ ในบริเวณ ท�ำเนียบรัฐบาล มีข้าราชการการเมืองเพิ่มมากขึ้น สถานที่ท�ำงานไม่เพียงพอ ส�ำนักเลขาธิการคณะ รัฐมนตรีจงึ ได้ตงั้ งบประมาณก่อสร้างอาคารทีท่ ำ� การ ขึ้นใหม่อีก 1 หลัง ในบริเวณพื้นที่โรงเรียนนายร้อย พระจุลจอมเกล้าเดิม
4
ตึกไทยคูฟ่ า้ ท�ำเนียบรัฐบาลหันหน้าไปทางทิศ ตะวันออก จดถนนนครปฐม ซึง่ ขนานกับคลองเปรม ประชากรด้านตะวันตก ปัจจุบนั ได้ขยายพืน้ ทีส่ ว่ นการ ศึกษาโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าเดิมด้วย จึงมีพื้นที่จดถนนราชด�ำเนินนอกตรงข้ามกระทรวง ศึกษาธิการ ทิศเหนือจดถนนพิษณุโลก และทิศใต้ จดถนนลูกหลวง ซึ่งขนานกับคลองผดุงกรุงเกษม ก�ำแพงด้านตะวันออก เดิมเป็นก�ำแพงคอนกรีต ปัจจุบันได้ปรับปรุงเป็นรั้วโปร่งมีประตูเหล็กดัด ลวดลายโปร่งงดงาม 3 ประตู ได้จดั ท�ำเมือ่ พ.ศ. 2546 ในช่วงที่รัฐบาลจัดประชุมผู้น�ำเศรษฐกิจเอเปค 2003 ประตูกลาง ซึ่งอยู่ตรงกับตึกไทยคู่ฟ้า มีแผ่นป้ายชื่อ “ท�ำเนียบรัฐบาล” ติดอยู่ตอนบนของก�ำแพง และที่
เสาประตูประดับตราส�ำนักนายกรัฐมนตรีรูปราชสีห์ และคชสีห์รักษารัฐธรรมนูญ สมัยเป็นบ้านนรสิงห์ หน้าประตูกลางนีม้ ศี าลา หลังใหญ่สำ� หรับพักรอ ถนนนครปฐมเดิมเป็นถนนหิน บด ปลูกต้นมะขามเรียงรายสองข้าง มีศาลาท่าน�ำ้ อยู่ ริมคลองเปรมประชากร เป็นห้องกระจกงดงาม เสา ประตูทกุ ด้านมีตราเทวดาเชิญพระแสงขรรค์ชยั ศรี ซึง่ เป็นตราประจ�ำตัวพลเอก พลเรือเอก มหาเสวกเอก เจ้าพระยารามราฆพ เพราะสมัยท่านเป็นมหาดเล็ก ได้เป็นผู้เชิญพระแสงขรรค์ชัยศรีในงานพระราชพิธี บรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่ หัว การใช้รูปเทวดาเชิญพระแสงขรรค์ชัยศรีเพราะ ท่านเป็นผู้มีเชื้อสายราชสกุล หากเป็นบุคคลสามัญ
5
ใช้รูปมานพ ก�ำแพงด้านทิศใต้ เดิมมีประตูเล็ก 2 ประตู ใหญ่ 2 ประตู ปัจจุบันเปิดใช้เพียงประตูที่ปรับปรุง ใหม่ใกล้ตึกส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และสร้าง ประตูใหม่ขนึ้ อีก 2 ประตู ทางส่วนการศึกษาโรงเรียน นายร้อยพระจุลจอมเกล้า ซึง่ สร้างตึกใหม่เลียนแบบ ตึกส่วนการศึกษา ใช้เป็นทีท่ ำ� การของส�ำนักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี ก�ำแพงด้านทิศเหนือมีประตูเข้าออก 2 ประตู ประตูใหญ่อยู่เยื้องมาทางตะวันออก เป็นประตูเหล็ก โปร่ง มองเห็นความงดงามของตึกไทยคูฟ่ า้ ตึกสันติ ไมตรี และสนามส่วนหน้า มีประตูเล็กอีก 1 ประตู ใกล้ ตึกส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ในอดีต ก�ำแพงด้านนีต้ ดิ คลอง มีรถรางเคียง ขนานคลองอีกฟากหนึ่ง ปัจจุบันคือถนนพิษณุโลก ก�ำแพงด้านทิศตะวันตก ริมถนนราชด�ำเนินนอกมี ประตูเข้าออก 1 ประตู อยูต่ รงข้ามกับประตูดา้ นหน้า กระทรวงศึกษาธิการ เดิมก�ำแพงด้านทิศตะวันตกอยู่ แค่คลองธรรมชาติทกี่ นั้ เขตกับส่วนการศึกษาโรงเรียน นายร้อยพระจุลจอมเกล้า ปัจจุบนั รือ้ ก�ำแพงแนวด้าน นี้ออกแล้วปรับภูมิทัศน์ใหม่ สนามหญ้าหน้าตึกไทยคูฟ่ า้ เมือ่ ผ่านประตูดา้ น ทิศตะวันออกเข้าไปภายในท�ำเนียบรัฐบาล จะเห็นตึก ไทยคูฟ่ า้ ตัง้ เด่นเป็นสง่า มีสนามหญ้ารูปวงกลมผืนใหญ่ อยูข่ า้ งหน้า สนามหญ้าตกแต่งด้วยไม้ดอกไม้ประดับ
และปืนใหญ่โบราณตามขอบสนาม มีถนนคอนกรีต โอบรอบขอบสนามไปสู่กึ่งกลางประตูทางเข้าตึกไทย คู่ฟ้า โดยถนนจะค่อยๆ ลาดสูงขึ้น เนื่องจากตึกไทย คูฟ่ า้ ยกพืน้ สูงจากระดับพืน้ ถึง 1.75 เมตร สนามแห่ง นี้ใช้เป็นที่จัดงานส�ำคัญของรัฐบาล เช่น งานสโมสร สันนิบาต เนื่องในมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว งานเฉลิมพระเกียรติ ในมหามงคลส�ำคัญอื่นๆ งานต้อนรับบุคคลระดับ ประมุขของประเทศ และงานวันเด็กแห่งชาติ ซึง่ นายก รัฐมนตรีจะมาพบกับเยาวชนของชาติ ณ สนามแห่งนี้
6
ตึกไทยคู่ฟ้า ตึกไทยคู่ฟ้าเป็นตึกใหญ่ที่มีความงามด้าน สถาปัตยกรรมและมัณฑนศิลป์ทเี่ ป็นเอกหลังหนึง่ ของ อาคารในประเทศไทย นับว่าเป็นมรดกทางวัฒนธรรม อันมีคา่ ยิง่ สมควรจะอนุรกั ษ์ไว้ให้อยู่ในสภาพเดิมทุก ประการ รูปแบบสถาปัตยกรรมเป็นแบบเวนีเชี่ยน โกธิค (Venetian Gothic) จะเห็นได้จากเครือ่ งประดับ โค้งประตู หน้าต่าง ก�ำแพงภายนอกและภายใน โดม หัวเสา ขอบระเบียงเชิงหลังคา ซึ่งมีแบบอย่างจาก
วังคาโดโรทีน่ ครเวนิส ในสมัย ค.ศ. 1309 - 1424 อาจ จะเป็นด้วยว่าทีต่ งั้ ของอาคารนีม้ คี ลองล้อมรอบถึง 4 ด้าน คล้ายกับเวนิส (ปัจจุบนั นีเ้ ห็นคลองเพียง 3 ด้าน เพราะด้านเหนือ ถมท�ำเป็นถนนพิษณุโลก) สถาปนิก จึงได้นำ� ลักษณะสถาปัตยกรรมเวนีเชีย่ นโกธิค มาใช้กบั อาคารหลังนี้ ตึกไทยคูฟ่ า้ เมือ่ เป็นของรัฐบาลในตอน แรกนั้น ตัวตึกยังไม่ส�ำเร็จบริบูรณ์ตามที่นายช่างได้ ออกแบบไว้ แต่มีประโยชน์ใช้สอยได้มากพอสมควร
7
เมือ่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง พระทีน่ งั่ อนันตสมาคมทีพ่ ระราชวังดุสติ ใน พ.ศ. 2451 มีนายช่างต่างประเทศซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวอิตาเลียน ร่วมด้วยหลายคน ทีส่ ำ� คัญก็มนี ายคาร์โล อัลเลกรี นาย เอ โจวันนี กอลโล เป็นวิศวกร นายอันนิบาเล ริกอ็ ต ตี นายแอร์โคเล มันแฟรดี (หรือเอกฤทธิ์ หมั่นเฟ้น ดี) นายมาริโอ ตามาญโย เป็นสถาปนิก นายคาร์โล ริโกลี และนายวิตโตริโอ โนรี เป็นมัณฑนากร แต่การ ก่อสร้างพระทีน่ งั่ อนันตสมาคมไม่ทนั ส�ำเร็จก็สนิ้ รัชกาล ต่อมา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่ หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างต่อจนส�ำเร็จ เมือ่ พ.ศ. 2458 และในระหว่างการก่อสร้างพระทีน่ งั่ อนันตสมาคม พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่ หัวได้พระราชทานพระราชทรัพย์ให้พลเอก พลเรือ เอก เจ้าพระยารามราฆพ สร้างบ้านนรสิงห์ ขึ้นด้วย โดยให้ช่างชาวอิตาเลียนชุดเดียวกับที่สร้างพระที่น่ัง อนันตสมาคมเป็นผู้ออกแบบ และเป็นผู้สร้าง แต่ การก่อสร้างยังไม่สำ� เร็จบริบรู ณ์ โดยเฉพาะตึกไกรสร (ตึกไทยคู่ฟ้า) เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จสวรรคต นายช่างชาวอิตาเลียนได้กลับประเทศ จนถึงสมัยจอมพล ป. พิบลู สงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ยา้ ยส�ำนักนายกรัฐมนตรีมาอยู่ที่ ตึกไทยคูฟ่ ้าสมัย ที่ยังเป็นบ้านนรสิงห์ แม้จะยังไม่ส�ำเร็จบริบูรณ์ แต่ ท่านเจ้าของบ้านก็ได้ใช้บางส่วนของตึกเป็นทีพ่ กั อาศัย
ชั่วคราว และจัดงานอันมีเกียรติ เช่น งานเลี้ยงรับ รองฯ งานฉลองต่างๆ งานเกี่ยวกับวันส�ำคัญ โดย เฉพาะบริเวณชั้นล่างตรงหน้าบันไดขึ้นสู่ชั้นสองเคย ใช้เป็นที่แสดงละคร เช่น เรื่องวิวาห์พระสมุทร ขุน ช้างขุนแผน เป็นต้น โดยใช้ผนังด้านหลังของบันได เป็นฉาก หากมีผู้แสดงและผู้ชมเป็นจ�ำนวนมากก็ใช้ สนามหญ้าเป็นสถานที่จัดงานร่วมด้วย ทรวดทรงภายนอกด้านหน้าของตึกไทยคู่ฟ้า โดยรวมเป็นตึก 2 ชั้น แต่ตรงมุมด้านทิศใต้ได้สร้าง ตอนบนเพิม่ ขึน้ เสมือนเป็นตึก 3 ชัน้ โดยทีช่ นั้ 3 ช่อง ต่างๆ ไม่มีบานหน้าต่างและไม่มีหลังคา ทั้งนี้ เพื่อ ให้เกิดสมดุลกับมุมอาคารทางทิศเหนือ ท�ำเป็นห้อง
8
หลังคาโดม สูงพ้นระดับทั่วไปของอาคารตามทฤษฎี การออกแบบสถาปัตยกรรมในสมัยนั้น ด้านทิศตะวันตกมีบนั ไดขึน้ จากภายนอกอาคาร และส่วนที่ต่อเติมขึ้นภายหลังยื่นมาภายนอกอาคาร วัสดุที่ใช้ภายนอกอาคารโดยทัว่ ไปเป็นหินล้าง พิเศษให้เกิดรูพรุนเล็กๆ ที่ก�ำแพง และบัวปูนต่างๆ ผนังภายนอกบางส่วน ได้ทาสีคล้ายสีกำ� แพงหินอ่อน สีกหุ ลาบของวังคาโดโร ที่นครเวนิส ดูกลมกลืนและ งามประณีตเป็นอย่างยิ่ง แผนผังพื้นอาคารเป็นรูปเกือกม้าโดยมีห้อง ต่างๆ อยู่ที่ 2 ปีกต่อเชื่อมด้วยห้องบันไดใหญ่ตรง กลางภายใต้เพดาน โดมแบน ชั้นล่างอาคารยกสูง จากพื้นดิน 1.75 เมตร ตรงกลางด้านหน้ามีซุ้มยื่น ออกมากันแดดฝนคลุมพืน้ ทีจ่ อดรถ ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของถนนล้อมรอบสนามวงกลมข้างหน้า โดยส่วนที่โอบมาถึงตรงซุ้มสูงขึ้นจากระดับ พื้นดินประมาณ 1.25 เมตร (หมายความว่าเมื่อลง จากรถแล้วต้องเดินขึ้นบันไดตึก อีก 50 ซม. หรือ 3 ชั้น) จากพื้นซุ้มที่จอดรถ มีบันไดลงมาสู่สนามหญ้า วงกลม 7 ขั้น ซึ่งนอกจากมีประโยชน์ใช้สอยแล้ว ยังเพิ่มความสง่างามให้กับอาคาร และใช้เป็นที่ขึ้น ลงในงานพิธีต่างๆ โดยไม่ต้องเดินอ้อม ซุ้มประตู หน้าต่างชั้นล่างเป็นโค้งปูนปั้น ลวดลายโกธิค ส่วน ชัน้ บนเป็นเสากลมมีลวดลายโกธิคทีว่ จิ ติ รพิสดารกว่า ลวดลายเหล่านีถ้ อดแบบมาจากซุม้ ประตูหน้าต่างของ วังคาโดโรเช่นเดียวกัน
โดยทัว่ ไปประตูหน้าต่างด้านหน้า ด้านข้างและ ด้านหลัง ชั้นล่างเป็นแบบโค้งแหลมบนหัวเสาบน มี ลูกกรงดอกเหลีย่ มตอนล่าง ส่วนชัน้ บนเป็นแบบโค้ง แหลม บนหัวเสากลม เหนือโค้งเป็นช่องแสงลาย ดอกไม้อยู่ในกรอบสี่เหลี่ยม มีลูกกรงเป็นเสาเล็กๆ รับคานเล็ก อยู่ตอนล่างโดยตลอด เพื่อไม่ ให้อาคารดูเรียบจนเกินไปสถาปนิก ได้เน้นส่วนด้านหน้าด้วยมุขต่างๆ ตรงมุมและบาง ส่วนของอาคาร เช่น มุมตะวันออกเฉียงเหนือ เป็น ห้องกลมยื่นออกมาจากผนังหน้าต่างส่วนล่างและ ส่วนบนยังคงลักษณะของหน้าต่างทั่วไป เพียงแต่ได้ เพิ่มลวดลายมากขึ้น คือระหว่างหน้าต่างชั้นล่างเพิ่ม ลูกฟักปูนปั้น ระหว่างหน้าต่างชั้นบนเพิ่มกลุ่มเสาบัว ลวดลาย กรอบบัว ลวดลายตกแต่งเหนือช่อง และ บัวปลายแหลม ตอนส่วนยอดหลังคาห้องกลมนี้เป็น โดมคอนกรีตปิดโมเสกสีทอง
9
ตรงกลางทางเข้า ได้ยกขอบระเบียงเชิงหลังคา ให้สงู ขึน้ เพิม่ หน้าต่างทีม่ รี ะเบียงยืน่ ออกมาข้างละช่อง ตรงสองข้างของหน้าต่างใหญ่มีซุ้มที่จอดรถยื่นออก มา ประกอบด้วยโค้งกลมและโค้งแหลมเน้นทางเข้า มุมตะวันตกเฉียงเหนือ เป็นหอคอยสี่เหลี่ยม ยืน่ ออกมาเล็กน้อยจากผนังส่วนอืน่ มีความสูงเท่ากับ อาคาร 3 ชัน้ ทีช่ นั้ 3 ไม่มบี านหน้าต่างและไม่มหี ลังคา คลุม โดยไม่มีประโยชน์ใช้สอย ติดกับหอคอย 3 ชั้น นี้ มีหอแปดเหลีย่ มเล็กรับเสาธงสูงพ้นขึน้ มาจากยอด ส่วนบนของหอแปดเหลีย่ ม เป็นบัว ปูนปัน้ เรียวขึน้ รับ เสาธงอย่างงดงาม
10
ด้านทิศตะวันตก สร้างเป็นห้องบันไดเวียน เล็ก ผนังภายนอก 8 เหลี่ยมหลังคาโดมป้าน ส่วน ล่างมีประตูทางเข้าจากระดับพื้นดินหน้าต่างตอนบน เป็นแบบโค้งแหลมมีเสาเกลียวประดับ 2 ด้าน และ ช่องแสงลายดอกไม้ตอนบนหน้าต่าง ปลายอาคารด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ ได้รับ การออกแบบให้ผนังก�ำแพงเอียงขนานกับก�ำแพงโค้ง ภายในของห้องสีงาช้าง (คือ ผนังแต่ละผนังเป็นส่วน หนึ่งของรูปสิบสองเหลี่ยมด้านเท่า) ด้านทิศใต้ มีหอ้ งโถงทางเข้าเล็ก ลักษณะเดียว กับห้องบันไดเวียนเล็กทางทิศตะวันตก คือ มีหลังคา โดมป้าน และหน้าต่าง ชัน้ บนพร้อมกับเครือ่ งประดับ มีลกั ษณะเช่นเดียวกัน เพียงแต่ทางเข้าชัน้ ล่างต้องขึน้ บันไดจากภายนอก หลังคาของตึกไทยคูฟ่ า้ เป็นหลังคาคลุมและมุง ด้วยกระเบือ้ งสีเ่ หลีย่ มหน้าวัวสีอฐิ ตามขอบระเบียงท�ำ เป็นลายปูนปัน้ รูปตราส�ำนักนายกรัฐมนตรีสงู ต�ำ่ สลับ กัน ซึง่ เป็นลักษณะโดยเฉพาะของสถาปัตยกรรมเวนี เชีย่ นโกธิค อย่างไรก็ตาม ตรงระเบียงหลังคาด้านหน้า ของตึก มีแท่นประดิษฐานรูปปั้นพระพรหม หน้าตัก ประมาณ 24 นิว้ มีกำ� แพงเตีย้ ๆ แบบคลาสสิคบังฐาน อยู่ข้างหน้า รูปปั้นพระพรหม องค์นี้ลักษณะ 4 พระ พักตร์ 4 พระกร สมัยที่จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายก รัฐมนตรี ได้ริเริ่มให้จัดสร้างขึ้นโดยกรมศิลปากร เป็นผู้ปั้น และหล่อเป็นโลหะสัมฤทธิ์ แต่ได้อัญเชิญ
ประดิษฐานบนแท่นในสมัยจอมพล ถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อวันอาทิตย์ท่ี 26 เมษายน 2507 ต่อมา ส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีได้รับ งบประมาณปรับปรุงตึกไทยคู่ฟ้า และได้จัดสร้างซุ้ม ทิศใหม่ให้สงู ขึน้ สง่างามขึน้ กว่าเดิม และได้กระท�ำพิธี เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2540 มีขอ้ ทีน่ า่ สังเกตอยูข่ อ้ หนึง่ เกีย่ วกับสิง่ ตกแต่ง ภายนอกรอบตึก กล่าวคือ เมื่อเดินดูรอบๆ แล้ว จะ เห็นสิง่ หนึง่ คือ ปูนปัน้ เป็นรูป "หัวไก่" แค่คอบ้าง ครึง่ ตัวบ้าง ประดับอยู่ตามใต้กรอบหน้าต่างเหมือนกับ เป็นเครื่องหนุนคาน หน้าต่างทุกบาน และตามปลาย รางน�ำ้ ทีร่ ะบายน�ำ้ ฝนจากหลังคาลงสูพ่ นื้ ชัน้ ล่างทุกราง
11
แม้ปลายคานรับระเบียง ก็ประดับด้วยหัวไก่เช่น เดียวกัน เรือ่ งนีม้ บี างท่าน ให้ความเห็นว่า จอมพล ป. พิบลู สงคราม สัง่ ให้ทำ� เป็นหัวไก่ เมื่อมีการปรับปรุงตึกไทยคู่ฟ้า เพราะท่าน เกิดปีระกา แต่มหี ลายท่านซึ่งเคยอาศัยอยู่ในบริเวณ บ้านนรสิงห์ยนื ยันว่า รูปหัวไก่เป็นของเดิม เพราะคุณ หญิงประจวบฯ ภริยาของท่านเจ้าของบ้าน เกิดปีระกา ชั้นล่างของตึกพื้นเป็นหินอ่อนทั้งหมด ตรง กลางเป็นห้องโถงกว้างมีบันไดหินอ่อนเวียนขึ้น 2 ข้าง เมื่อเดินไปทางซ้ายมือจะพบตู้สมัยโบราณตั้ง เครื่องเคลือบลายครามสมัยโบราณงามล�้ำค่า ผ่าน
ตู้นี้เข้าไปจะมีห้องพักแขกของนายกรัฐมนตรี เรียก ชื่อว่า "ห้องโดมสีทอง" ส�ำหรับใช้เป็นห้องพักแขก ก่อนที่จะเข้าห้องรับรองสีงาช้างซึ่งอยู่ด้านหน้าทาง ขวามือของห้องนี้ เพดานห้องโดมสีทองเป็นรูปโค้ง เขียนลวดลายหลากสี ห้องนี้เป็นชั้นล่างของหอคอย ทิศใต้ของตึกไทยคู่ฟ้า ส่วนห้องรับแขกเป็นทางการของนายกรัฐมนตรี เรียกชื่อว่า "ห้องรับรองสีงาช้าง" ห้องนี้แบ่งเป็น สองช่วง ช่วงแรกใช้เป็นที่รับแขกและลงนามส�ำหรับ อาคันตุกะและผูน้ ำ� ส�ำคัญทางการเมือง ส่วนทางผนัง ด้านเหนือมีภาพเขียนรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ชนช้างกับพระมหาอุปราชาที่ดอนเจดีย์
12
ข้างของห้องนี้ ด้านใต้มีภาพเขียนสีแบบจิตรกรรม ฝาผนังเป็นรูปเกี่ยวกับค่ายบางระจัน ส่วนผนังด้าน เหนือเป็นรูปเมืองสมัยโบราณทีม่ กี ำ� แพงปราการประตู หอรบ ห้องนีน้ อกจากรับแขกของนายกรัฐมนตรีแล้ว ยังใช้เป็นสถานทีจ่ ดั พิธมี อบเครือ่ งราชอิสริยาภรณ์แก่ บุคคลส�ำคัญชาวต่างประเทศด้วย
ถัดต่อจากช่วงนี้เข้าไป มีพระบรมรูปเขียนสี น�ำ้ มันของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลปัจจุบนั ทรงเครื่องบรมขัตติยราชภูษิตาภรณ์ ประทับยืน พระหัตถ์ทรงพระแสงดาบ อยู่ในกรอบไม้แกะสลัก ปิดทองค�ำเปลว ติดอยู่กับผนังด้านหน้ามองเห็นได้ ชัด ผู้วาดภาพนี้คือนางปราณี นิ่มเสมอ ข้าราชการ และศิลปินมีชื่อเสียงแห่งกรมศิลปากร ที่ผนังด้าน
13
ทางขวามือของตึกชั้นล่างเป็น "ห้องรับรองสี ม่วง" และมีส่วนที่เป็นโดมเขียนลายงดงาม ห้องทั้ง สองนี้ใช้รับรองแขกของนายกรัฐมนตรี รองนายก รัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี ถัดจากห้องสีมว่ งไปทางทิศตะวันตก เป็นห้อง ประชุมใหญ่ เรียกว่า "ห้องสีเขียว" เดิมเป็นห้องจัดเลีย้ ง แขกเมือง ปัจจุบนั ใช้เป็นห้องประชุมคณะกรรมการที่ มีนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจ�ำ
ภาพบนซ้าย : ห้องสีเขียว ภาพบนขวา : ห้องโดมม่วง ภาพล่างซ้าย : ห้องโดมทอง ภาพล่างขวา : ห้องรับรองสีม่วง
14
ส�ำนักนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ถัดจากห้องสีเขียว เป็นห้องระเบียงชัน้ ล่าง ซึง่ มีบนั ไดเวียนขึน้ ไปยังหลังคา และมีบันไดเล็กๆ ออกจากตึกไทยคู่ฟ้าไปสู่ภายนอก ส่วนชั้นบน เมื่อขึ้นจากบันไดหินอ่อนมีทาง แยกขึ้นสองข้าง ห้องขวามือเป็นห้องท�ำงานของ นายกรัฐมนตรีและคณะห้องซ้ายมือ เป็นห้องอาหาร นายกรัฐมนตรี และอีกส่วนหนึ่งเป็นห้องท�ำงานของ ข้าราชการการเมือง ลักษณะของสถาปัตยกรรมและ ศิลปะการตกแต่งทั่วไป นับว่าสง่างามแบบโกธิคเช่น เดียวกับบริเวณชั้นล่าง และที่หัวเสาหินอ่อนทุกต้น ผนังทุกด้านใช้ลวดลายขอบคิว้ ลวดบัว ประดับตกแต่ง อย่างงดงาม ลวดลายของฝ้าเพดานแต่ละห้องมีรูป แบบและสีสนั ไม่ซำ�้ กัน และสียงั คงสดใสจนถึงปัจจุบนั การปรับปรุง ต่อเติม และการตกแต่งสถานที่ ตึกไทยคู่ฟ้าได้จัดท�ำขึ้นเมื่อครั้งที่ จอมพล ป. พิบูล สงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี โดยมอบหมายและสั่ง การให้กรมศิลปากรส่งผู้เชี่ยวชาญทางศิลปกรรม คือ ศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี และคณะฯ รับผิด ชอบด�ำเนินการ ศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี ได้น�ำคณะศิษย์ โรงเรียนศิลปากรแผนกช่างรุ่นแรกๆ คณะหนึ่ง เท่า ที่พอทราบชื่อได้ ได้แก่ นายสนิท ดิษฐพันธุ์ นาย ประสงค์ ปัทมานุช นายสละ ทรรภดิษ นายประชิด วามานนท์ นายสุชาติ กุญชร ณ อยุธยา นายเอิบ ยุวะ พุกกะ นายประดิษฐ์ ยุวะพุกกะ นายเลือ่ น พุกกะพงศ์ และสายสักกะ จารุจนิ ดา เข้าด�ำเนินการโดยอาศัยหลัก
วิชาการทางด้านศิลปะ ประติมากรรม และจิตรกรรมเข้า ประกอบการด�ำเนินงานจนเป็นผลส�ำเร็จ เป็นทีย่ อมรับ และยกย่องกันทั่วไปว่าเป็นผลงานสถาปัตยกรรมยอด เยี่ยมแห่งหนึ่งของประเทศไทย
15
ตึกนารีสโมสร ตึกนารีสโมสร อยู่หลังตึกไทยคู่ฟ้า เยื้องไป ทิศตะวันตกเฉียงใต้ เป็นตึกชัน้ เดียว สร้างคร่อมคูนำ�้ ซึ่งตั้งอยู่ต้นทางคูน�้ำที่ผ่านหลังตึกไทยคู่ฟ้า ลักษณะ สถาปัตยกรรมแบบตะวันตก สร้างขึ้นในขณะที่ตึก ไกรสรหรือตึกไทยคู่ฟ้าอาคารประธานยังสร้างไม่ แล้วเสร็จ และตั้งชื่อตึกนี้ว่า “ตึกพระขรรค์” โดย พลเอก พลเรือเอก เจ้าพระยารามราฆพ อาจถือเอา
นิมติว่าท่านเคยเป็นมหาดเล็กผู้เชิญพระแสงขรรค์ ชัยศรี หนึง่ ในเครือ่ งเบญจราชากุธภัณฑ์ ในพระราช พิธบี รมราชาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัวและท่ายเคยใช้ตึกหลังนี้เป็นที่ตั้งศพพี่สาว คือ ท้าวอินทรสุริยา (มล.เชื้อ พึ่งบุญ) และหลังจาก นัน้ เมือ่ มีการเคลือ่ นศพออก ได้ใช้ตกึ หลังนีเ้ ป็นทีพ่ กั ตัวละครและแต่งตัว
16
ในสมัยจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ และจอมพล ถนอม กิตติขจร เป็นนายก รัฐมนตรี ได้ใช้ตึกนี้บริหารงานส�ำคัญๆ เสมอ จึงเรียกว่า “ตึกบริหาร” ทั้งนี้ ตึกหลังนี้เคยใช้เป็นส�ำนักงานแถลงข่าวของรัฐบาลหลายสมัยและในปัจจุบันก็ ยังใช้เป็นที่ส�ำหรับโฆษกรัฐบาลใช้ในการแถลงข่าว ตึกแสงอาทิตย์ ตัง้ อยูถ่ ดั จากตึกนารี สโมสรไปทางทิศใต้ บางท่านทีเ่ คยอาศัยอยู่ บ้านนรสิงห์เรียก “ตึกอาทิตย์” เป็นตึก 3 ชั้น รูปทรงเหมือนหอคอย ภายในมีบันได เวียนขนาดใหญ่เวียงโค้ง ขึน้ สูช่ นั้ 2 และชัน้ 3 สุดบันไดมีประตูออกไปสูภ่ ายนอกซึง่ เดิม เป็นสะพานเชือ่ มไปยังตึกพึง่ บุญและตึกอืน่ ๆ แต่ปัจจุบันคงเหลือเป็นกันสาดเหนือบันได ทางขึ้นตึกส่วนตึกพึ่งบุญและตึกอื่นๆ ใน กลุม่ เดียวกันได้ถกู รือ้ ถอน สร้างเป็นตึกบัญชาการหลังแรกตึกนารีสโมสรและตึก แสงอาทิตย์ได้ซอ่ มแซม ปรับปรุงมาเป็นระยะจน พ.ศ. 2544 ได้บรู ณะปรับปรุง ตกแต่งภายในใหม่ให้เป็นสัดส่วน โดยมีหอ้ งท�ำงานของโฆษกประจ�ำส�ำนักนายก รัฐมนตรีและคณะท�ำงาน ห้องแถลงข่าวและห้องรับแขก
17
ตึกสันติไมตรี ตึกสันติไมตรี ตัง้ อยูด่ า้ นทิศเหนือของตึกไทย คูฟ่ า้ ในแนวเดียวกัน หันหน้าไปทางทิศตะวันออกเช่น กัน เป็นตึกชัน้ เดียวยกพืน้ สูงประมาณ 1 เมตร สร้าง เป็นตึก 2 หลัง คูข่ นานไปด้านหลัง ตรงกลางเป็นลาน โล่ง เดิมเป็นลานกลางแจ้ง จัดเป็นสวนไม้ดอกไม้ ประดับ มีอ่างน�้ำพุหินอ่อนขนาดใหญ่อยู่กึ่งกลาง ปัจจุบันปรับปรุงเป็นโถงกลาง หลังคามุงแผ่นโพลี คาบอเนตและตกแต่งฝ้าเพดานเป็นกระจกฝ้าลวดลาย
พันธุ์พฤกษา เพื่อปิดโครงสร้างหลังคาพื้นโถงกลาง ปูหินอ่อนจัดเป็นลานอเนกประสงค์ เดิมไม่มีเวที ใน ช่วงงานประชุมผู้น�ำเศรษฐกิจเอเปค 2003 ส�ำนัก เลขาธิการนายกรัฐมนตรีปรับปรุงสถานที่สร้างเวที ขึ้นมาใหม่ ระเบียงโดยรอบเป็นทางเดินเชื่อมถึงกัน ได้ ตึกสันติไมตรีดา้ นตะวันออก เรียก “ตึกสันติไมตรี หลังนอก” ส่วนหลังทีอ่ ยูท่ ศิ ตะวันตก เรียก “ตึกสันติ ไมตรีหลังใน”
18
“ตึกสันติไมตรีหลังนอก” สร้างเมือ่ พ.ศ. 2497 สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี สถาปนิกคือ หม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล ออกแบบให้ รับกับตึกไทยคู่ฟ้า เพื่อใช้ในราชการ เช่น งานเลี้ยง รับรองแขกต่างประเทศ พิธมี อบครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ พิธมี อบรางวัล สถานทีป่ ระชุมสัมมนา รับแขกภายใน ประเทศที่มีจ�ำนวนมาก เช่น นักเรียน นักศึกษา ข้าราชการ ก�ำนัน ผูใ้ หญ่บา้ น และกลุม่ บุคคลอืน่ รวม ทัง้ เป็นสถานทีน่ ายกรัฐมนตรีให้สมั ภาษณ์และพบปะ สื่อมวลชน เป็นต้น
ตึกสันติไมตรีหลังนอก มีการปรับปรุงขยาย ออกไปด้านหลังเวทีให้กว้างกว่าเดิมเพือ่ เป็นทีป่ ระชุม ผูน้ ำ� เศรษฐกิจเอเปค 2003 บนผนังด้านเวทีประดิษฐาน ภาพพระบรมสาทิสลักษณ์สีน�้ำมันพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินีนาถ เป็นฝีมือศิลปินกรมศิลปากร ตึกหลังนีม้ หี อ้ งส�ำคัญคือ ห้องรับรองใหญ่มเี วที ส�ำหรับการแสดง 1 ห้อง และด้านทิศใต้มหี อ้ งรับรอง เล็ก 1 ห้อง เรียก “ห้องรับรองสีเหลือง”
19
“ตึกสันติไมตรีหลังใน” สร้างขึ้นในสมัยที่ จอมพล ถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี มี พันเอก จิระ ศิลปกนก เป็นสถาปนิก เนื่องจากห้อง โถงที่ตึกสันติไมตรีหลังนอกคับแคบไม่เพียงพอกับ การจัดงานใหญ่จงึ ได้กอ่ สร้างขึน้ ใหม่ โดยยึดรูปแบบ สถาปัตยกรรมและการตกแต่งเลียนแบบไทยคูฟ่ า้ เช่น กัน ใช้ประโยชน์ในการจัดงานเลีย้ งรับรองประชุมสัม นา พิธีมอบเครื่องราชอิสริยากรณ์พิธีมอบรางวัลฯ รวมทั้งเป็นห้องที่นายกรัฐมันตรีให้สัมภาษณ์และ พบปะสื่อมวลชน ส่วนด้านใต้ของห้องโถงตึกสันติไมตรีหลังใน เป็นห้องส�ำหรับพักรับรองแขก เรียกว่า “ห้องรับรอง สีฟา้ ” ภายในห้องตกแต่งด้วยภาพจิตรกรรมสีนำ�้ มัน จ�ำนวน 3 ภาพ ฝีมือนายจักรพันธ์ โปษยกฤต
ภาพจิตรกรรมสีน�้ำมัน ผลงานของศิลปิน จักรพันธ์ โปษยกฤต
20
ตึกบัญชาการ 2 (หลังเก่า) เป็นตึกสูง 5 ชัน้ ตัง้ อยูม่ มุ ตะวันออกเฉียงใต้ สร้างในสมัยจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นนายกรัฐมนตรี สถาปนิกคือ นายดวง ยศ สุนทร ลักษณะสถาปัตยกรรมเป็นแบบสากลนิยมสร้าง หักมุมตามแนวของก�ำแพง เพือ่ รักษารูปแบบของสิง่ ก่อสร้างเดิม คือ “เรือนพลอยนพเก้า” ซึ่งเป็นเรือน ไม้ที่สร้างโค้งตามมุมก�ำแพง เรือนพลอยนพเก้า ประกอบด้วยห้อง 9 ห้อง แต่ละห้องมีชื่อตามอัญมณี 9 สี สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี เคยใช้เป็นที่ตั้ง
ส�ำนักงานสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ และส�ำนักท�ำเนียบ นายกรัฐมนตรี เมือ่ สร้างตึกใหม่แล้วเรียกตึกบัญชาการ เพราะ นายกรัฐมนตรีใช้เป็นสถานทีท่ ำ� งานและลงนามค�ำสัง่ ต่างๆ บัญชาการอยูต่ กึ นี้ ต่อมาเรียกตึกบัญชาการหลัง เก่า เพราะมีการก่อสร้างตึกบัญชาการหลังใหม่ ปัจจุบนั ใช้เป็นที่ท�ำงานของส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
21
ตึกบัญชาการ 1 (หลังใหม่) เป็นตึกสูง 5 ชั้น ตั้งอยู่ระหว่างตึกบัญชาการ 2 (หลังเก่า) และตึกแสง อาทิตย์ สร้างสมัยจอมพล ถนอม กิตติขจร เป็น นายกรัฐมนตรี เนื่องจากเห็นว่างานราชการของ ท�ำเนียบรัฐบาลเพิ่มขยายมากขึ้น พื้นที่ตึกบัญชาการ 2 (หลังเก่า) ไม่เพียงพอใช้สอย จึงได้มีการก่อสร้าง อาคารเพิ่ม โดยเริ่มก่อสร้างตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2512 มีสะพานเชื่อมกับตึกบัญชาการ 2 (หลังเก่า)ที่ชั้น 2 ชัน้ 3 และชัน้ 4 ผูอ้ อกแบบคือพันเอก จิระ ศิลปกนก
เมือ่ สร้างเสร็จได้ยา้ ยทีท่ ำ� การของนายกรัฐมนตรีมาที่ ตึกนี้ จึงเรียกตึกบัญชาการ และต่อมาได้ก่อสร้างชั้น 5 ซึง่ เดิมเป็นดาดฟ้าให้เป็นห้องประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อ พ.ศ. 2532 ปัจจุบนั ตึกนีเ้ ป็นทีท่ ำ� งานของรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี รองเลขาธิการ นายกรัฐมนตรี ข้าราชการการเมือง ส่วนราชการใน สังกัดส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และเป็นห้อง ประชุมของคณะกรรมการและอนุกรรมการต่างๆ ที่
22
แต่งตั้งโดยนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรีประจ�ำส�ำนักนายกรัฐมนตรี บริเวณทีต่ งั้ ของตึกบัญชาการ (หลังใหม่) สมัย เดิมเมือ่ เป็นบ้านนรสิงห์มี “ตึกสารทูล (ตึกขวาง)” ใช้ เป็นที่อยู่ของบุคคลในครอบครัว ที่ชั้น 2 มีทางเชื่อม ไปยัง “ตึกพึง่ บุญ” ซึง่ อยูท่ างเหนือ “ตึกบุญญาศรัย” และ “ตึกเย็น” ทางตะวันออก และสะพานยังเชือ่ มต่อ ไปยังตึกแสงอาทิตย์ เพื่อลงไปยังตึกพระขรรค์หรือ ตึกนารีสโมสรในปัจจุบัน
สมัยจอมพล ป. พิบลู สงคราม ใช้บา้ นนรสิงห์ เป็นท�ำเนียบรัฐบาลเรียก “ท�ำเนียบสามัคคีชยั ” ใช้เป็น ทีท่ ำ� การของส�ำนักนายกรัฐมนตรี รวมทัง้ เป็นทีพ่ กั อาศัย ของนายกรัฐมนตรีและครอบครัวด้วย และได้เปลีย่ น ชือ่ ตึกสารทูล ตึกพึง่ บุญ และตึกในกลุม่ เดียวกันเป็น “ตึก 24 มิถุนา” เพื่อเป็นที่ระลึกถึงวันเปลี่ยนแปลง การปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มา เป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข
23
สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เลขที่ 1 ถนนพิษณุโลก เขตตุสิต กร�งเทพฯ 10300 www.thaigov.go.th