ISBN 978-616-279-908-2 พิมพ์ครั้งแรก จ�ำนวนพิมพ์
กันยายน 2559 1,000 เล่ม
จัดพิมพ์โดย ฝ่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยมหิดล ชั้น 3 ห้อง 301 อาคารศูนย์การเรียนรู้มหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 โทร 02 849 4541 โทรสาร 02 849 4545 www.muarms.mahidol.ac.th ที่ปรึกษา ศาสตราจารย์ นายแพทย์ บรรจง มไหสวริยะ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ดร. รุจเรขา วิทยาวุฑฒิกุล ผู้อ�ำนวยการหอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล นายโกมล คงมั่นกตเวที หัวหน้าฝ่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ บรรณาธิการ เพชรดา ฐิติยาภรณ์ กองบรรณาธิการ อาทิตยา ทรัพย์สิน จงภัทร นมะภัทร พิชย ณ สงขลา ศิลปกรรม จรูญ กะการดี พิมพ์ที่
หจก.หยิน หยาง การพิมพ์ 104/2 หมู่ที่ 5 ซ.วัดพระเงิน ถนนกาญจนาภิเษก ต.ปลายบาง อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี 11130 โทรศัพท์ 02 903 8636, 02 443 6707 โทรสาร 02 443 6706
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data ฝ่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยมหิดล. ศาลายาวิถี (Salaya Life).-- : ฝ่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559. 116 หน้า 1. ภาพถ่าย. I. ชื่อเรื่อง. ISBN 978-616-279-908-2
ราคา 200 บาท
ม
หาวิทยาลัยมหิดลของเรา เป็นมหาวิทยาลัยทีม่ ชี อื่ เสียงและประวัตศิ าสตร์อนั ยาวนาน ท�ำหน้าทีผ่ ลิต บัณฑิตผูม้ คี วามรูค้ วามสามารถออกสูส่ งั คมเป็นจ�ำนวนมาก นอกจากด้านการศึกษาแล้ว มหาวิทยาลัย มหิดลยังมีการก�ำหนดยุทธศาสตร์เพือ่ ขับเคลือ่ นมหาวิทยาลัยไปพร้อมกับชุมชนโดยรอบ ผ่านกระบวนการ เรียนรูแ้ ละสร้างสรรค์องค์ความรูร้ ว่ มกับชุมชน เพือ่ พัฒนาชุมชนและมหาวิทยาลัยให้มคี วามเข้มแข็งยิง่ ขึน้ ไป ข้าพเจ้ามีความยินดีเป็นอย่างยิ่ง ที่ทางฝ่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ หอสมุดและคลังความรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล เห็นถึงความส�ำคัญของชุมชนศาลายา โดยการจัดประกวดภาพชุด ศาลายาวิถี (Salaya life) เพื่อเป็นการบันทึกเรื่องราววิถีชีวิตของชุมชนศาลายา อันมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ควรค่าแก่การเก็บรักษา และเผยแพร่ให้เป็นที่ประจักษ์แก่สาธารณชน อีกทั้งยังเป็นการสนับสนุนและเปิด โอกาสให้ทุกท่าน ทั้งนักศึกษา บุคลากรมหาวิทยาลัย รวมถึงบุคคลทั่วไปที่มีความสนใจ ได้สัมผัสและเข้า ถึงวิถีชีวิตของชุมชนศาลายา ซึ่งเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยมหิดลอีกด้วย สุดท้ายนี้ข้าพเจ้าขอแสดงความยินดีแก่ผู้ได้รับรางวัลจากการประกวดครั้งนี้ และขอขอบคุณคณะ ท�ำงานทุกท่าน ตลอดจนหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง ที่ร่วมกันด�ำเนินงานให้ส�ำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ในโอกาสนี้ข้าพเจ้าขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ โปรดดลบันดาลให้ทุกท่านประสบแต่ ความสุข และความเจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้นไป
(ศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์ อุดม คชินทร) อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
นั
บตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2514 ที่มหาวิทยาลัยมหิดลได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยูห่ วั พระราชทานทีด่ นิ ส่วนพระองค์ ณ ศาลายา เพือ่ ขยายพืน้ ทีแ่ ละเพิม่ โอกาสทางการศึกษา แก่นกั ศึกษาทีม่ จี ำ� นวนมากขึน้ มหาวิทยาลัยมหิดลจึงเข้ามาเป็นส่วนหนึง่ ของชุมชนแห่งนี้ มีประวัตศิ าสตร์ เรื่องราว และวิถีชีวิตที่น่าจดจ�ำ เรื่องราวของมหาวิทยาลัยมหิดลที่ศาลายานั้น นับว่ามีความหลากหลาย มีคุณค่าควรแก่การบันทึก ไว้เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ทั้งทางด้านพัฒนาการ ความเจริญเติบโตของมหาวิทยาลัย ทิวทัศน์ที่ สวยงาม วิถชี วี ติ นักศึกษา และวิถชี วี ติ ของชุมชนศาลายา อันมีเอกลักษณ์และวัฒนธรรมท้องถิน่ ทีน่ า่ สนใจ “ภาพถ่าย” จึงเป็นเครือ่ งมือทีม่ ปี ระสิทธิภาพอย่างหนึง่ ในการเก็บบันทึกเรือ่ งราวเหล่านี้ เพือ่ ให้ชนรุน่ หลัง ได้น�ำไปต่อยอดเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับศาลายาได้ในอนาคต หนังสือ “ศาลายาวิถี” ที่ได้รวบรวมภาพถ่ายทั้งหมดจากโครงการประกวดภาพชุด “ศาลายาวิถี” (Salaya Life) โดยฝ่ายจดหมายเหตุและพิพธิ ภัณฑ์ หอสมุดและคลังความรูม้ หาวิทยาลัยมหิดล จะสามารถ บอกเล่าเรื่องราวความเป็นศาลายาได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ผ่านภาพถ่ายแต่ละชุด จากมุมมองที่น่าสนใจของช่าง ภาพ ทั้งนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล และบุคคลทั่วไปที่มีส่วนร่วมในโครงการ สุดท้ายนี้ ผมต้องขอขอบคุณคณะท�ำงานทุกท่าน ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดประกวดโครงการ ประกวดภาพชุด “ศาลายาวิถี” (Salaya life) และขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย โปรดดลบันดาลให้ทุกท่านประสบแต่ความสุข ความส�ำเร็จ ความโชคดี และความเจริญก้าวหน้าตลอดไป
(ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ) รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล ประธานคณะกรรมการด�ำเนินงาน หอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยมหิดล
“ศาลายา” ถิ่นฐานชุมชนสืบได้ตั้งแต่สมัยอยุธยา มีประวัติศาสตร์หลักฐานครั้งสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั ทรงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ข�ำ บุนนาค) ขุดคลองมหาสวัสดิ์ ในปี พ.ศ. 2406 เพือ่ ใช้เป็นเส้นทาง เสด็จพระราชด�ำเนินไปพระปฐมเจดีย์ และโปรดให้สร้างศาลาริมคลอง ซึง่ ต่อมาได้เรียกชือ่ ต่างๆ กันออกไปตามเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้น เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ได้สร้างศาลาที่บันทึกต�ำรายาไว้ จึงพากันเรียกว่า “บ้านศาลายา” นับตั้งแต่นั้นมา จึงถือ ได้ว่า ศาลายา เป็นพื้นที่ที่มีประวัติความเป็นมายาวนาน มีเอกลักษณ์เฉพาะทั้งทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม กระทั่ง ปี พ.ศ. 2514 มหาวิทยาลัยมหิดลมีโครงการขยายการศึกษาของมหาวิทยาลัยมา ณ ศาลายา และ เริ่มมีนักศึกษาระดับ ปริญญาตรีชั้นปีที่ 1 รุ่นแรก เรียนที่ศาลายา ในปีการศึกษา 2525 และเปิดมหาวิทยาลัยมหิดล ณ ศาลายา อย่างเป็น ทางการในปี พ.ศ. 2526 มหาวิทยาลัยมหิดลเจริญพัฒนาเป็นแหล่งบ่มเพาะศาสตร์แห่งภูมิปัญญาหลายแขนง นักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดลชัน้ ปีที่ 1 เริม่ ต้นการเป็นนักศึกษา ใช้ชวี ติ และเรียนวิชาพืน้ ฐานร่วมกันทีน่ ี่ ก่อเกิดเป็นเรือ่ งราวมากมาย อันทรงคุณค่าหลากหลายกลายเป็นต�ำนาน ประวัติศาสตร์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ชาวมหิดล รวมทั้งชุมชนศาลายา จน กลายเป็นความทรงจ�ำร่วมอันมีค่าที่ควรบันทึกไว้ ฝ่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของพื้นที่ ศาลายาแห่งนี้ จึงได้จัดท�ำโครงการประกวดภาพชุด “ศาลายาวิถี” (Salaya Life) ขึ้น เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษา อาจารย์ บุคลากรของมหาวิทยาลัยมหิดล และบุคคลทัว่ ไป ได้รว่ มบันทึกภาพถ่ายทีแ่ สดงถึงสีสนั บรรยากาศ และวิถชี วี ติ ของศาลายา ครอบคลุมพืน้ ทีท่ ั้งภายในมหาวิทยาลัยมหิดล และบริเวณชุมชนโดยรอบ ต้นฉบับของภาพถ่ายเหล่านีจ้ ะได้รับการจัดเก็บ รักษาไว้ในคลังข้อมูลจดหมายเหตุ เพื่อเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และคลังปัญญาแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัย มหิดล ภาพถ่ายที่ปรากฎในหนังสือเล่มนี้ สะท้อนให้เห็นถึงวิถีชวี ิต วัฒนธรรมประเพณี และสถานที่ต่างๆ ในศาลายา ซึ่ง เป็นส่วนส�ำคัญให้เห็นอัตลักษณ์ของศาลายาผ่านมุมมองทีห่ ลากหลายและน่าสนใจ สามารถน�ำไปเป็นหลักฐานอ้างอิงเพือ่ การศึกษาเกี่ยวกับชุมชนศาลายาได้เป็นอย่างดี ในนามของหอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล ดิฉันขอขอบพระคุณคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน ที่กรุณาให้เกียรติเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการตัดสินภาพถ่ายในครั้งนี้ ขอขอบคุณคณะท�ำงานทุกคนที่ทุ่มเทแรงกายแรงใจ ในการท�ำงาน รวมทั้งนักศึกษายุวมัคคุเทศก์มหาวิทยาลัยมหิดล (MU Guide) และนักศึกษาชมรมหลังกล้อง (MUPhoto) ที่มีจิตอาสาช่วยปฏิบัติงานในโครงการ สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณผู้ส่งภาพเข้าประกวดทุกท่าน ที่มีส่วนร่วมแบ่งปันมุมมอง ภาพถ่ายอันสวยงามและน่าจดจ�ำ ท�ำให้โครงการประกวดภาพชุด “ศาลายาวิถี” (Salaya Life) และ หนังสือ “ศาลายาวิถี” ฉบับนี้ ส�ำเร็จลุล่วงตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ทุกประการ
(ดร. รุจเรขา วิทยาวุฑฒิกุล) ผู้อ�ำนวยการหอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
บทน�ำ มหาวิทยาลัยมหิดลมีประวัติความเป็นมายาวนานกว่า 128 ปี ด้วยพระมหากรุณาธิคุณในพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั พระราชทานก�ำเนิดโรงศิรริ าชพยาบาล เมือ่ ปี พ.ศ. 2431 กระทัง่ พัฒนา เป็นสถาบันการศึกษาชัน้ น�ำระดับประเทศ มีการขยายสาขาวิชาและเขตพืน้ ที่ เพือ่ เพิม่ โอกาสทางการศึกษา ให้แก่ประชาชน โดยมีเขตพืน้ ทีศ่ าลายา เป็นจุดเริม่ ต้นการใช้ชวี ติ ของนักศึกษา แวดล้อมด้วยชุมชนศาลายา อันเต็มไปด้วยเรื่องราวที่มีคุณค่าในเชิงประวัติศาสตร์ และแหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมที่น่าสนใจ ฝ่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะหน่วยงานที่ ให้ความส�ำคัญกับการบันทึกเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ จึงจัดท�ำโครงการประกวดภาพชุด “ศาลายาวิถี” (Salaya Life) ขึ้น เพื่อเปิดโอกาสให้ชาวมหิดล และบุคคลทั่วไป ได้บันทึกสีสันและลมหายใจของศาลายา น�ำเสนอผ่านรูปแบบของภาพชุด ทีบ่ อกเล่าเรือ่ งราวอันหลากหลาย โดยภาพจากการจัดประกวดนัน้ น�ำมา จัดท�ำนิทรรศการ และหนังสือทีร่ ะลึกเผยแพร่สสู่ าธารณชน ให้ได้สมั ผัสมุมมองทีส่ วยงามและเป็นเอกลักษณ์ ของศาลายา พื้นที่ซึ่งเป็นต้นก�ำเนิดแห่งความรักความอบอุ่นของทุกคนที่ได้มาใช้ชีวิตร่วมกันที่นี่ นับเป็น ความภาคภูมิใจที่มหาวิทยาลัยมหิดลได้มาเป็นส่วนหนึ่งของศาลายาด้วยเช่นกัน คณะผู้จัดท�ำขอขอบพระคุณ ท่านอธิการบดี ท่านรองอธิการบดี ท่านผู้อ�ำนวยการหอสมุดและคลัง ความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล หัวหน้าฝ่ายจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ คณะกรรมการตัดสินการประกวด ภาพถ่าย ตลอดจนหน่วยงานทีใ่ ห้การสนับสนุนเงินรางวัล ผูเ้ ข้าร่วมประกวด และคณะท�ำงานทุกท่านทีม่ สี ว่ น ร่วมให้โครงการประกวดภาพชุด “ศาลายาวิถ”ี (Salaya Life) และการจัดท�ำหนังสือฉบับนี้ ส�ำเร็จลุลว่ งด้วยดี คณะผู้จัดท�ำ
สารบัญ คณะกรรมการตัดสินการประกวดภาพถ่าย 13 ผลงานที่ได้รับรางวัล ประเภทบุคคลทั่วไป 15 ผลงานที่ได้รับรางวัล ประเภทนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล 33 ผลงานที่ผ่านเข้ารอบตัดสิน ประเภทบุคคลทั่วไป 51 ผลงานที่ผ่านเข้ารอบตัดสิน ประเภทนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล 63 ผลงานที่ส่งเข้าร่วมประกวด 69 รายชื่อผู้ส่งภาพเข้าประกวด 114 หน่วยงานที่สนับสนุนโครงการ 115
คณะกรรมการตัดสินการประกวด 1. นายขจร พีรกิจ 2. นายบุณฐไชย ไชยวิรุณเจริญ 3. นายณภัชป์ รัตนศักดิ์ 4. นางสาวอริศรา เจษฎาพงศ์ภักดี 5. ผศ.ดร.อภิลักษณ์ เกษมผลกูล
ที่ปรึกษาสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ อุปนายกสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปภัมถ์ กรรมการสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ กรรมการสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ คณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
13
ผลงานที่ได้รับรางวัล
ประเภทบุคคลทั่วไป
รางวัลยอดเยี่ยม ชุด วิถีชีวิตเรียบง่ายที่คลองมหาสวัสดิ์ นางสาวพรรณราย เกกีงาม
การน�ำเสนอบันทึกของสีสันและลมหายใจแห่งศาลายา ผ่านการมีวิถีชีวิตที่เรียบง่ายสบายๆ ของชาวบ้านที่คลองมหาสวัสดิ์ ที่มีความงามแบบธรรมชาติ ไม่ต้องเติมแต่ง ไม่ต้องรีบเร่ง ซึ่งยังคงความเป็นอัตลักษณ์ดั้งเดิมของชุมชน
17
"โรงเรียนของหนู"
ชุด วิถีชีวิตเรียบง่ายที่คลองมหาสวัสดิ์ นางสาวพรรณราย เกกีงาม
18
"โบสถ์วัดสุวรรณาราม ศาลายา"
"นั่งเรือกันเถอะ"
19
"ยายกลับจากตลาด"
"ปั่นจักรยานชมสวน"
ชุด วิถีชีวิตเรียบง่ายที่คลองมหาสวัสดิ์ นางสาวพรรณราย เกกีงาม
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ชุด Railway Life
นายพลฤทธิ์ ฐิติวริทธินันท์
ชีวิตของชาวศาลายาที่ผูกพันกับรถไฟ ทางรถไฟที่สัญจรไปมาเป็นเวลานานมาหลายปี ท�ำให้เกิดความผูกพัน และท�ำให้ชุมชนของชาวศาลายามีความทรงจ�ำที่แสนพิเศษเกี่ยวกับรถไฟ
21
วิ่ง (Run)
ชุด Railway Life
นายพลฤทธิ์ ฐิติวริทธินันท์
22
ข้าม (Cross)
รอ (Wait)
23
ยืนยาว (Live Long)
ผ่าน (Pass)
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 ชุด ท่องเที่ยววิถีเกษตร นายนราวุฒิ สุวรรณัง
เนื่องจากพื้นที่ต�ำบลศาลายามีความอุดมสมบูรณ์มาก อาชีพส�ำคัญของคนในพื้นที่คือการท�ำเกษตรกรรม จนได้รับการยกย่องว่า “ครัวของคนกรุงเทพ” ถ้าใครได้มาเยือนที่แห่งนี้แล้ว หากไม่มาดูวิถีชีวิตการท�ำการเกษตร ทั้งสวน ไร่ นา ต่างๆ ที่มีมากมาย คงไม่สามารถพูดได้อย่างเต็มปากเต็มค�ำว่า ได้มาเห็นวิถีชีวิตชาวศาลายาแล้วจริงๆ
25
‘นาบัว’ หนึ่งในสถานที่ที่ต้องมาชม
ชุด ท่องเที่ยววิถีเกษตร นายนราวุฒิ สุวรรณัง
26
‘ผลฟักข้าว’ กับรอยยิ้มแห่งความภูมิใจ
‘ส้มโอ’ ของขึ้นชื่อจังหวัดนครปฐม
27
‘สวนมะม่วง’ ลูกใหญ่กว่านี้มีอีกมั้ย
‘นาผักกระเฉด’ Unseen Salaya
รางวัล Popular Vote ชุด เก็บผักกระเฉดยามเช้าที่ศาลายา นายเอกชัย โตเลิศมงคล
การเก็บผักกระเฉดจะเริ่มการเก็บในเวลาประมาณ ตี 1 ของวันรุ่งขึ้น เพราะการเก็บผักกระเฉดจะเริ่มเก็บแล้วเสร็จและน�ำมากองไว้ แล้วคัดแยกแต่ละขนาด แล้วมาจัดเป็นก�ำๆ เสร็จแล้วน�ำมาผูกเป็นมัดๆ มัดละ 5 ก�ำ หลังจากท�ำเป็นมัดแล้ว จะมีพ่อค้าน�ำไปส่งขายในตลาดตอนเช้า
29
"เก็บผักกระเฉดยามเช้าที่ศาลายา"
ชุด เก็บผักกระเฉดยามเช้าที่ศาลายา นายเอกชัย โตเลิศมงคล
30
"เก็บผักกระเฉดยามเช้าที่ศาลายา"
"เก็บผักกระเฉดยามเช้าที่ศาลายา"
31
"เก็บผักกระเฉดยามเช้าที่ศาลายา"
"เก็บผักกระเฉดยามเช้าที่ศาลายา"
ผลงานที่ได้รับรางวัล ประเภทนักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
รางวัลยอดเยี่ยม ชุด การเดินทาง (Journey) นายศิริพงศา โจโฉ
การเดินทางเป็นส่วนหนึ่ง เป็นวิถีชีวิตของผู้คนในศาลายา
35
เดินด้วยกัน (Walk Together)
36
ขึ้นรถเมล์กลางถนน (Get on the bus at the middle of the road)
นศท. กับรถไฟ (Thai Reserve Officer Training Corps Students with Train)
37
เข้าแถวขึ้นแทรม (Line up to the Tram)
จักรยานคู่ใจ (My Buddy Bike)
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ชุด ชีวิตเรียบง่าย ณ ศาลายา นายอานนท์ ปุ้ยตระกูล
ชีวิต ณ ศาลายา เป็นชีวิตที่เรียบง่าย ต้องการสื่อให้เห็นถึงความเรียบง่ายในการใช้ชีวิต และชีวิตที่มีความผูกพันกับสายน�้ำ ศาสนา และการเดินทาง
39
"เจดีย์"
ชุด ชีวิตเรียบง่าย ณ ศาลายา นายอานนท์ ปุ้ยตระกูล
40
"นาบัวลุงแจ่ม"
"เดินทางกับเรือ"
41
"รถไฟ ณ ศาลายา"
"ที่นี่สถานีศาลายา"
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 ชุด Train to Salaya Life
นายเทพวิชญ์ การธนไพบูลย์
นับตั้งแต่มีการเปิดใช้รถไฟสายประวัติศาสตร์ ที่สร้างมาพร้อมๆ กับทางรถไฟสายใต้ แล่นผ่านสถานีศาลายามากกว่าร้อยปี ยังคงเป็นที่นิยมของชุมชนชาวศาลายามาจนถึงปัจจุบัน เพราะรถไฟสายนี้อ�ำนวยความสะดวกต่อการเดินทางในชีวิตประจ�ำวัน โดยเฉพาะการเดินทางเข้าไปท�ำงานในกรุงเทพ จากวันนั้นจนถึงวันนี้ เส้นทางสายนี้ เปรียบเสมือนจุดศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อความเจริญของชุมชนชาวศาลายาเสมอมา
43
ยืนคอยรถไฟที่ชานชาลา (Waiting for the train at platform)
ชุด Train to Salaya Life
นายเทพวิชญ์ การธนไพบูลย์
44
กว่าร้อยปีสถานีรถไฟศาลายา
(More than one hundred years of the Salaya Station)
เดินทางไปบางกอก (Go to Bangkok)
45
ลงจากรถไฟที่สถานีศาลายา (Get off the train at Salaya)
วิถีชีวิตของคนเดินดิน (Ordinary Man)
รางวัล Popular Vote ชุด รอบๆ ศาลายา (People around here) นางสาวภาษิตา จิรธนสุนทร
วิถีชีวิตของผู้คนรอบๆ ศาลายา ที่มีหลากหลายอารมณ์ ความรู้สึก และทุกคนล้วนมีหน้าที่ต่างๆ ที่ต้องท�ำ
47
ความหวัง (Hope)
ชุด รอบๆ ศาลายา (People around here)
นางสาวภาษิตา จิรธนสุนทร
48
สถานีศาลายา (Salaya Station)
อบอุ่นรอบศาลายา (Family)
49
หมูทอดศาลายา (Salaya Fried Pork)
ตลาดปลอดบุหรี่ (No Smoking)
ผลงานที่ผ่านเข้ารอบตัดสิน
ประเภทบุคคลทั่วไป
52
คลองมหาสวัสดิ์ วิถีชุมชน วิถีสัญจร นายณัฐบูรณ์ พรรัตนเจริญ
“คลองมหาสวัสดิ์” คลองประวัติศาสตร์ เป็นเส้นทางสัญจรของชาวบ้าน มีการใช้น�้ำเพื่อการเกษตร มีสภาพธรรมชาติที่สวยงาม ระบบนิเวศน์ทางน�้ำที่สมบูรณ์ และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญด้วย
53
ชุมชนริมน�้ำ
นายนราวุฒิ สุวรรณัง
ศาลายา เป็นชุมชนที่ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่ม มีแม่น�้ำล�ำคลองหลายสาย วิถีชีวิตของชาวศาลายา จึงเป็นชุมชนริมน�้ำ ใช้ชีวิตอยู่กับแม่น�้ำ ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมน�้ำ เดินทางสัญจรโดยใช้เรือ ค้าขาย รวมถึงการจับสัตว์น�้ำหาเลี้ยงชีพ
54
ศาลายาวิถี (Salaya Life) นายอัครายชญ์ เพ็ชร์อ�ำไพ
ภาพโดยรวมของวิถีชีวิตชาวศาลายา การด�ำเนินชีวิต ที่หลากหลายแตกต่างกันออกไป ที่ยืนอยู่ในวิถีของ ความเพียงพอและพอเพียง ที่บ่งบอกถึงความเป็นชาติไทย ด้วยสังคมที่มีองค์ประกอบหลักๆ คือ พุทธศาสนา อนุรักษ์ความเป็นไทย ที่อยู่อาศัย สัมมาชีพ และการเดินทาง
55
วิถีชีวิตที่ศาลายา (Lifestyle Salaya) นายวันนิวัติ อัศวธนไพศาล
ในเขตพื้นที่ของศาลายา จะประกอบไปด้วยคลองหลัก และคลองย่อยมีจ�ำนวนมาก ในอดีตจะต้องอาศัยล�ำคลอง เป็นที่อยู่อาศัย และด�ำรงชีวิต ซึ่งในปัจจุบันนี้ก็ยังมีวิถีชีวิต ดั้งเดิมให้เห็นอยู่ไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงเท่าไหร่ แต่ในส่วนของความเจริญที่เกิดขึ้นใหม่ก็ขยับขยาย ไปตามถนนเส้นต่างๆ
56
คนเก็บบัวแห่งศาลายา นายนคเรศ ธีระค�ำศรี
ศาลายาเป็นแหล่งธรรมะ เป็นที่ตั้งของพุทธมณฑล นาบัวเป็นวิถีเอกลักษณ์ให้กับศาลายามานาน
57
สถานีศาลายา
นายยรรยงค์ คงมหาพฤกษ์
การสัญจรที่ยังคงอยู่คู่ศาลายา
58
ชาวบ้าน
นายปฏิพัฒน์ ขันติชัยขจร
ความเรียบง่ายในความเป็นธรรมชาติ ของคนที่ยังรักษาความเป็นวิถีของคนชายคลอง
59
Home
นายพิทักษ์ ยิ่งเจริญ
บ้านที่ยังคงอยู่คู่ศาลายามานาน ที่ยังคงไว้ซึ่งความเป็นวิถีของชีวิต
60
ชีวิตอินศาลายา
นายกฤชกร วงษ์ศรีษะ
เก็บภาพบรรยากาศต่างๆ ของผู้คนภายในมหาวิทยาลัยมหิดล ในมุมมองของข้าพเจ้า
61
ชายขอบชายน�้ำ (Marginal Canal) นายพีรวิทย์ อินทร์ศวร
ชาวชุมชนส่วนหนึ่งยังคงอาศัยในบ้านบนน�้ำเรียบง่าย ริมคลองมหาสวัสดิ์ ซึ่งเป็นทั้งแหล่งน�้ำใช้ และแหล่งอาหาร ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงรอบด้านสู่เมืองใหญ่ มีสะพานสูงของวัดสาลวันเป็นทั้งจุดเชื่อมต่อและพบปะ ของสองฝั่งน�้ำ วิถีชีวิตชายขอบนี้ อาจถูกท�ำให้เลือนหาย ไปในกระแสการขยายตัวของเมือง
62
นิคมสังคมเกษตร
นายพลฤทธิ์ ฐิติวริทธินันท์
วิถีชุมชนของชาวศาลายาที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร ไม่ว่าจะเป็นนาข้าว นาบัว กล้วยไม้ หรือสวนผสมผสาน ท�ำให้ชุมชนศาลายามีเสน่ห์ดึงดูดให้น่ามาเที่ยวชม วิถีพอเพียงที่น่าหลงใหลของชาวศาลายา
ผลงานที่ผ่านเข้ารอบตัดสิน
ประเภทนักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
64
จากหอไปเรียน (From the dorm to study) นางสาวสโรชา โชควิวัฒน
เป็นภาพจากมุมมองที่ฉันเห็นทุกเช้าที่เดินออกจากหอ เข้ามหาวิทยาลัยไปเรียน เป็นความสวยงามที่มองไม่เคยเบื่อ เพราะแต่ละวันสภาพแวดล้อมไม่เหมือนกัน เป็นการผ่อนคลาย จิตใจได้ในระดับหนึ่ง ก่อนที่จะเริ่มเรียน และยังช่วยให้จิตใจฉัน สงบมากขึ้น
65
มุมที่ฉันชอบ (From my favourite view) นางสาวสโรชา โชควิวัฒน
แม้ว่าแต่ละภาพจะไม่มีเรื่องราวที่สื่อถึงกันได้ แต่ฉันมองว่าทุกภาพยังมีเรื่องราวและความสวยงาม อยู่ในตัวเองเสมอ
66
น้อมใจบูชา พระราชบิดา ปิ่นประชามหิดล (Prince Father, Heart of Mahidol) นายธนกฤต ทองบริสุทธิ์
พิธีถวายราชสักการะพระราชบิดา ซึ่งเป็นศูนย์รวมจิตใจของพวกเราชาวมหิดล และผู้คนในชุมชนศาลายา
67
จานนี้ที่ศาลายา (The Dish @ Salaya) นายพิชย ณ สงขลา
ถ้าพูดถึงค�ำว่า “วิถี”แล้ว เชื่อว่าหลายๆ คนคงนึกถึงอาหาร เป็นสิ่งแรกๆ เพราะเป็นสิ่งที่สื่อถึงท้องถิ่นนั้นได้ชัดเจนที่สุด และก็ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าศาลายาของพวกเรานี้มีอาหารทั้งคาว และหวานที่แสนจะอร่อยให้ทุกคนได้ลิ้มลองกันอย่างหลากหลาย ทั้งอาหารไทยและอาหารต่างประเทศ เอาละครับ ภาพชุดชุดนี้ จะพาทุกท่านเข้าสู่โลกของอาหารในบริเวณศาลายาของเรา ไปเริ่มกันเลยคร้าบบบบ
68
In the other side นายรชต เอี่ยมโอน
ในปัจจุบันเราทุกคนคุ้นชินกับการใช้ชีวิตแบบชุมชนเมือง แต่ ณ ที่ศาลายา ยังคงมีชุมชนเล็กๆ ที่ใช้ชีวิตแบบเรียบง่ายไม่ต้องเร่งรีบ ทุกคนต่างพึ่งพาอาศัยกันและกัน ซึ่งท�ำให้เราต่างคิดถึงวันเก่าๆ ที่เราต่างเคยผ่านชีวิตแบบเรียบง่ายที่แสนสุขกันทุกคน
ผลงานที่ส่งเข้าร่วมประกวด
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
รายชื่อผู้ส่งภาพเข้าประกวด ประเภทบุคคลทั่วไป 1. ว่าที่ร้อยตรีสิขริน สุวรรณนที 2. นายณัฐบูรณ์ พรรัตนเจริญ 3. นายพยนต์ ฐานะสถิรกุล 4. นางสาววรัญญา จิรางกูร 5. นายนราวุฒิ สุวรรณัง 6. นายเอกชัย โตเลิศมงคล 7. นายก้องภพ สิงห์นนท์ 8. นางสาวพรรณราย เกกีงาม 9. นายอัครายชญ์ เพ็ชร์อ�ำไพ 10. นายวันนิวัติ อัศวธนไพศาล 11. นายนคเรศ ธีระค�ำศรี 12. นายยรรยงค์ คงมหาพฤกษ์ 13. นายปฏิพัฒน์ ขันติชัยขจร 14. นายพิทักษ์ ยิ่งเจริญ 15. นายกฤชกร วงษ์ศรีษะ 16. นายพีรวิทย์ อินทร์ศวร 17. นายพลฤทธิ์ ฐิติวริทธินันท์ 18. นายคธา หรั่งเล็ก
ประเภทนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล 1. นางสาวภาษิตา จิรธนสุนทร 2. นางสาวทิพวัลย์ รุ่งเรือง 3. นายศิริพงศา โจโฉ 4. นางสาวสโรชา โชควิวัฒน 5. นางสาวสุทินา ปริปุณณโภค 6. นายธนกฤต ทองบริสุทธิ์ 7. นายพิชย ณ สงขลา 8. นายรชต เอี่ยมโอน 9. นายเทพวิชญ์ การธนไพบูลย์ 10. นายทัตต์กันต์ อินสมพันธ์ 11. นายอานนท์ ปุ้ยตระกูล 12. นางสาวธตรฐ เกษมสุขไพศาล 13. นางสาวณัฐกานต์ ภู่เสือ 14. นายกฤตนันท์ ตันตราภรณ์ 15. นางสาวญาณีนาฏ รอดโพธิ์ทอง
หน่วยงานที่สนับสนุนโครงการ
นายณัฐวัฒน์ ปริยพาณิชย์
นายกเทศมนตรีตำ� บลศาลายา
ชั้น 3 ห้อง 301 อาคารศูนย์การเรียนรู้มหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 โทร 02 849 4542 โทรสาร 02 849 4545 www.muarms.mahidol.ac.th