Professional practies

Page 1

Professional Practices INT 470

1


Professional Practices

2

INT 470

สารบัญ บทที่

1 ความเปนมาสถาปตยกรรมภายใน ............................................................................................................................................................................................5 จุดเริ่มตนการศึกษาวิชาชีพสถาปตยกรรมภายใน.......................................................................................................................................................7 สมาคมวิชาชีพและวิชาการที่เกี่ยวของกับงานสถาปตยกรรมภายใน........................................................................................................9

บทที่

2 มาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพ............. ........................................................................................................................................................................................12 การประกาศบังคับใช.............. ................... ....................................................................................................................................................................................13 การบริการขั้นมูลฐาน..... ................... ........................................................................................................................................................................................... 13 คาบริการทางวิชาชีพขั้นพื้นฐาน.......... ................................................................................................................................................................................16 กรรมสิทธิใ์ นแบบและการลมเลิกโครงการ.................................................................................................................................................................... 21 ลําดับขั้นตอนการออกแบบสถาปตยกรรมภายใน..........................................................................................................................ใ......................22

บทที่

3 การบริหารงานออกแบบสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป o การศึกษาความเปนไปไดโครงการ..............................................................................................................................................................23 ขั้นตอนการจัดทําเอกสารการออกแบบกอสราง (Construction Document)...................................................................................25 ขั้นตอนการตรวจงานและควบคุมคุภาพงานกอสราง (Site supervision).................................. ...................................................... 25

บทที่

4 ความรูพื้นฐานทางธุรกิจ o ความหมายและความสําคัญของธุรกิจ....................................................................................................................................................27 หนาที่ในการประกอบธุรกิจ

(Business Functions)...............................................................................................................................28

ประเภทของธุรกิจ....... ................... ................... .................................................................................................................................................................................29 รูปแบบของธุรกิจ

บทที่

(Forms of Business)..........................................................................................................................................................30

5 ธุรกิจออกแบบตกแตงภายใน .............................................................................................................. ...... ............................................................................... 37 คาใชจายเริ่มตน......................................................................... ............................................................................................................................................................ 38


Professional Practices

3

INT 470

ลักษณะของนักออกแบบภายใน ...................................................................................................... .......................................................................................39 พันธกรณี..... ................... ................... ................... ................................................................................................................................................................................. .39 บุคลิกภาพของนักธุรกิจ..... ................... .......................................................................................................................................................................................40 จรรยาบรรณของนักธุรกิจ... ................... ................................................................................................................................................................................... 40

บทที่

6 กฎหมายและพระราชบัญญัติควบคุมอาคารและสิ่งกอสราง.......................................................................................................................43 บทเริ่มตนแหงความหมายของคํา... ..................................................................................................................................................................................... 44 ความสูงของพื้นชั้นลางและกันสาดของหองแถวริมถนน................................................................................................................................. 45 วาดวยเรื่อง "ที่วาง" ของตึกแถว และ ทาวนเฮาส................................................................................................................................................... 46 การถอยหางทาวนเฮาสจากถนนสาธารณะ.................................................................... .............................................................................................47 พื้นที่หนาบันไดหนีไฟ............................................................................ ................................................................................ ...........................................................59

บทที่

7 สมาคมวิชาชีพและพระราชบัญญัติสถาปนิก o ที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพสถาปนิกภายในและมัณฑนากร......................................................................................54 ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรม................................................................ ..................................................................................................55

บทสรุป ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรม................................................................ ..................................................................................................57


Professional Practices

4

INT 470

สารบัญภาพ ภาพที่

หนา

1. Interior of the Paris shop La Maison Moderne, designed for Julius Meier Graefe

5

2. Horta2 Staircase of the Tassel House 3. พระที่น่งั อนันตสมาคม

5 6

4. พระที่นั่งวโรภาษพิมาน พระราชวังบางปะอิน

6

5. ศาสดาจารย ศิลป พีระศรี

7

6. คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร

8

7. คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง 8. ตราสัญลักษณ สมาคมมัณฑนากรแหงประเทศไทย 9. ที่ทําการของสถาปนิก ถนนพระราม 9 กรุงเทพฯ

8

9 10

10. ตราสัญลักษณ สถาปนิก

10

11. ตราสัญลักษณของสภาวิชาการฯ

11

12. ตัวอยางการทํา Bubble Chart ในขั้นตอน Programming & Planning 13. ตัวอยางการทํา Presentation Board ในขั้นตอน Pre-design & Conceptual 14. แสดงภาพงานแบบการกอสรางงานตกแตงภายใน

13

14

10

(Interior design working drawing)

15. แสดงภาพงานออกแบบภายในประเภทที่ 1

19

16. แสดงภาพงานออกแบบภายในประเภทที่ 2

19

17. แสดงภาพงานออกแบบภายในประเภทที่ 3

19

18. แสดงภาพงานออกแบบภายในประเภทที่ 4

20

19. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปนิกภายในและมัณฑนากร

56

20. แผนผังตารางที่ 1 อัตราคาบริการวิชาชีพขั้นพื้นฐาน

20

21. แผนผังที่ 2 ลําดับขั้นตอนการออกแบบสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป

22

22. ตัวอยางผังองคกร ของสํานักงานออกแบบงานสถาปตยกรรม

38


Professional Practices

5

INT 470

บทนํา

การปฏิบัติวิชาชีพงานออกแบบภายในและมัณฑนศิลปในปจจุบัน นับวามีการพัฒนาควบคูไปกับการ เจริญเติบ โตของเศรษฐกิจ ผูที่ประกอบวิชาชีพมัณฑนากรและนักออกแบบภายในจึงตองมีความรูความสามารถมี ประสบการณเชี่ยวชาญในวิชาชีพ รวมทั้งบริษัท องคกรที่เกี่ยวของกับวิชาชีพมัณฑนศิลปและสถาปตยกรรมภายใน ตางๆ จะตองมีการพัฒนาในดานตางๆ มีระบบการบริหารและการจัดการ มีทรัพยากรมนุษยและบุคลากรที่มีคุณภาพ มีคุณลักษณะทางบุคลิกภาพและคุณธรรม รวมทั้งจิตสํานึกและมโนธรรมในการรับ ผิดชอบตอวิชาชีพ ทั้งทักษะและ จินตนาการในการสรางสรรคงานใหมๆ อีกทั้งยังตองมีเทคโนโลยี่ชวยในการออกแบบและดําเนินงานที่ทันสมัย สืบเนือ่ ง จากภาวการณลงทุนในธุรกิจของตลาดอสังหาริมทรัพยในประเทศและทั่วโลก ในสภาวะปจจุบ ันที่จะมีการขยายตัว เพิ่มขึ้นและเริมเขาสูระบบการคาเสรี เต็มรูปแบบในอนาคตอันใกลนี้ รวมทั้งองคป ระกอบตางๆขององคกรและธุรกิจที่ เกี่ยวนี่องที่เอื้ออํานวยตอการประกอบธุรกิจในสาขาวิชาชีพนี้ โดยมุงเนนการจัดการโครงการและออกแบบในกลุม บานพักอาศัยระดับหรู อาคารสํานักงาน โรงแรม รีสอรท ภัตตราคารและรานอาหาร อาคารพานิชย และศูนยการคา การจัดงานแสดงและนิทรรศการ ฯ ซึ่งในปจจุบันวิชาชีพนี้เปนสวนหนึ่งในสาขาสถาปตยกรรมควบคุมตางๆ 4 สาขา ไดแก สาขาสถาปตยกรรมหลัก สาขาสถาปตยกรรมผังเมือง สาขาภูมิสถาปตยกรรมและสาขาสถาปตยกรรมภายใน และมัณฑนศิลป โดยไดมีการประกาศยกเลิกพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 และใหใช พระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปนิก พ.ศ. 2543 แทน เพือ่ เพิ่มความสามารถและการแขงขันทางธุรกิจของวิชาชีพมัณฑนศิลปและงานสถาปตยกรรมภายในโดย ภาพรวม และรองรับความตองการของตลาดอสังหาริมทรัพยในอนาคต เนื้อหาในเอกสารคําสอนนี้จะชวยให นักศึกษาและผูที่ประกอบวิชาชีพงานออกแบบภายในและมัณฑนศิลป มึความรูความเขาใจในกระบวนการขั้นตอนใน การประกอบวิชาชีพ การประกอบธุรกิจเบื้องตน รวมทั้งระบบการบริหารและการจัดการในรูปการดําเนินงานตางๆของ บริษัทอีกดวย

อาจารยคงรัฐ สุนทรโรจนพัฒนา สาขาวิชาออกแบบภายใน คณะศิลปกรรม มหาวิทยาลัยรังสิต


Professional Practices

6

INT 470

บทที่

1

ภาพที่ 1 Interior of the Paris shop La Maison Moderne, designed for Julius Meier Graefe

ความเปนมา นับ เนื่องจากธรรมชาติไดสรางใหมนุษยไดวิวัฒนาการ จนกระทั่งมีอารยธรรมและองคความรูกาวหนาเจริญ สูงสุดในปจจุบัน มนุษยทุกชาติทุกภาษาไดพยายามเปลี่ยนแปลงพัฒนาสภาพแวดลอมความเปนอยูรอบตัวเพื่อสนอง ความตองการใหความเปนอยูสรางความมั่นคงและนักศึกษาภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีการจัดระเบียบและองคประกอบความ งาม มีวิวัฒนาการและหลักการออกแบบสรางสรรค เกิดเปนงานสถาปตยกรรมและมัณฑนศิลป แตกแขนงใหเกิดงาน สถาปตยมัณฑนศิลปสาขาตางๆสรางสรรคใหมีอัตลักษณพิเศษของตน เพื่อใชประกอบตกแตงเพิ่มความงามใหงาน สถาปตยกรรมทั้งภายนอกและรายละเอียดภายใน ตามสภาพภูมอิ ากาศ พฤติกรรมการใชสอยของเชื้อชาติ คติความ เชื่อขนบประเพณี ทัศนะนิยมและองคความรูทองถิ่น เปนเกณฑทั่วไป กําหนดแนวทางสถาปตยกรรมแตละภูมิภาค ผานกาลเวลาและยุคสมัย ตางๆ จนในบางยุคสมัยก็เปนแบบเดียวกัน สถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปตะวันตก สถาปตยกรรมและงานออกแบบภายในของตะวันตกไดรับการ พัฒนาขึ้นทั้งดานลักษณะ รูป แบบ เทคนิคและวิธีการ จนกลายเปน ศิลปวิทยาที่ตองศึกษาเลาเรียนกันมานานป งานออกแบบ สถาปตยกรรมภายในหลัง ๆ จึงตกเปนหนาที่ของนักออกแบบภายใน หรือสถาปนิกภายในผูมีความสามารถในการออกแบบ ควบคุมดุแลการ กอสราง เพราะไดศึกษาแบบอยางสถาปตยกรรมและศิลปะในยุคสมัย ตางๆ พรอมกับศึกษาเรื่องลักษณะรูป แบบอันเหมาะสมกับวัสดุที่จะใช

ภาพที่ 2 Horta2 Staircase of the

Tassel House


Professional Practices

7

INT 470

กอสรางอีกดวย การแสวงหาแนวทางสรางสรรคจากการวิเคราะห ทําใหสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปของ ตะวันตกกาวหนาอยางไมหยุดยั้ง ดังจะเห็นไดจากการสรางอาคารขนาดใหญหรือตึกระฟาสูงนับรอยชั้นภายในออกแบบ ตกแตงดวยเทคโนโลยี่ชั้นสูง หรือการสรางอาคารสถานที่และสิ่งปลูกสรางสมัยใหมดวยวัสดุแปลกใหมทั้งหลัง เปนตน สถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปในประเทศไทย สถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปของไทย ไดเริ่มตนพรอมกับการอพยพและตั้งถิ่นฐานของชุมชนคนไทย จากการซึมซับถายทอดผานการแลกเปลี่ยนทางการคาและวัฒนธรรม และยังสามารถคิดสรางสรรคโดยขยายความงาม ของธรรมชาติใหบ ังเกิดรูป แบบและสัดสวนตามรสนิยมหรือตามทัศนะทางความงามของภูมิภาค กาวหนาและพัฒนา อยางตอเนื่องเรื่อยมา จนกระทั่งถึงในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงเล็งเห็นถึง ความสําคัญของการเรียนรูวิทยาการใหมๆ ทางการกอสรางจากตางประเทศ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหจาง ชาวตะวันตกมารับราชการ เพื่อออกแบบและสรางพระที่นั่ง อาคารราชการ ตลอดจนที่ป ระทับพระบรมวงศานุวงศ และที่พักของขุนนางและคหบดี ชางเหลานี้ไดนําประสบการณของแตละคนมาใช ทําใหเกิดการผสมผสาน สถาปตยกรรมของไทยและตางประเทศอยางมาก ในดานวัสดุตกแตงและวัสดุกอสราง ไดมีการใชโครงเหล็ก หินออน และกระจกที่สั่งจากตางประเทศดวย การประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปในชวงนั้นจึงมีขอจํากัด มิใชเปนอาชีพที่ใครๆก็ทําไดเสมอไปเหมือนดังในชวงเวลาที่ผานมาในอดีต แตงานสถาปตยกรรมภายในตองการผูที่มี ความรูเฉพาะดานในการออกแบบและทักษะเทคนิคในสาขาวิชาชีพตางๆที่เปนสากลมากขึ้น เริ่มมีการแยกหนาที่ รับผิดชอบกันระหวางงานทางดานสถาปตยกรรม งานดานวิศวกรรม งานมัณฑนศิลปและงานศิลปะในสาชาตางๆที่ เกี่ยวของ เริ่มมีผูประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาดังกลาวปรากฏใหเห็นชัดเจนมากขึ้น 1 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเลาเจาอยูหัวไดเริ่มมีการบัญญัติคําวา “สถาปตยกรรม” โดย พระราชทานใหคําหมายตรงกับคําวา Architecture สวนคําวา Architect พระราชทานวา “สถาปก” และตอมา เปลี่ยนเปนใชคําวา “สถาปนิกจนถึงปจจุบัน

ภาพที่

3

พระที่นั่งอนันตสมาคม

ภาพที่

4

พระที่นั่งวโรภาษพิมาน พระราชวังบางปะอิน

ประเทศไทยประสบปญหาเศรษฐกิจตกต่ําเชนเดียวกับประเทศอื่นๆ ทั่วโลก หลังรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระปกเกลาเจาอยูหัว จึงทําใหตองยกเลิกการจางชาวตางประเทศ และประกอบกับ คนไทย ที่ไปศึกษาในตางประเทศ เริ่มกลับมารับราชการ จึงทรงมอบหมายใหคนไทยดูแลการออกแบบควบคุมการกอสรางและการปฏิสังขรณเอง แต เนื่องจากคนตางชาติบ างสวนยังคงอยูในประเทศไทยและมีคนไทยซึ่งไดรับการศึกษาจากตางประเทศเปนผูควบคุมงาน สถาปตยกรรมในยุคกรุงรัตนโกสินทร (รัชกาลที่ 1 ถึง รัชกาลปจจุบัน) เปนยุคที่ไดรับอิทธิพลจากจากตะวันตก วิชาชีพสถาปตยกรรมในสมัยรัชกาลที่ 6 เริ่มเปนที่รูจัก และถือไดวาการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมแผนใหมได เกิดขึ้น โดยอาจารยนารถ โพธิประสาท และการกอตั้งสมาคมสถาปนิกสยามฯ ในป พ.ศ. 2477 1.


Professional Practices INT 470

8

จึงทําใหสถาปตยกรรมตะวันตก ยังคงผสมผสานกับสถาปตยกรรมไทยแตไดมีการพัฒนารูปแบบอาคาร และวัสดุ กอสรางใหเหมาะสมกับสภาพของประเทศมากขึ้น ในป พ.ศ. 2479 เริ่มมีพระราชบัญญัตคิ วบคุมการกอสรางอาคาร เพื่อใชควบคุมการกอสรางอาคารตางๆ ให ไดผลทางดานความมั่นคง แข็งแรง การอนามัย การสุขาภิบาล การปองกันอัคคีภัยและการวางผังเมือง นอกจากนี้ ยังมีเทศบัญญัตินครกรุงเทพฯ เรื่องควบคุมการกอสรางอาคาร แตถึงแมจะมีพระราชบัญญัติควบคุมการกอสราง อาคารประกาศใชแลว วิชาชีพสถาปนิกและนักออกแบบภายในก็ยังไมถูกควบคุมตามกฎหมาย จนในป พ.ศ. 2508 จึงไดมีพระราชบัญญัติวิชาชีพ สถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 ประกาศใชเพื่อควบคุมการทํางานเฉพาะงานสถาปตยกรรม โครงสรางหลัก จนปพ.ศ. 2543 ไดมีการประกาศพระราชบัญญัติวิชาชีพสถาปนิก พ.ศ. 2543 ขึ้นแทน พระราชบัญญัติฉบับนี้มีวัตถุประสงคสําคัญที่จะพัฒนาวิชาชีพทางสถาปตยกรรมไปอยางมีระบบและควบคุมดูแลการ ประกอบวิชาชีพของสถาปนิก ซึ่งรวมเอาวิชาชีพที่เกี่ยวของทางสถาปตยกรรมสาขาตางๆเขามาอยูในสาขาวิชาชีพ สถาปตยกรรมควบคุมตางๆ ไดแก สาขาสถาปตยกรรมหลัก สาขาสถาปตยกรรมผังเมือง(การออกแบบชุมชนเมือง) 2 สาขาสถาปตยกรรมภูมิสถาปตยกรรม สาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป ภายใตการกํากับดูแลของสมาคม องคกรของผูป ระกอบวิชาชีพดวยกันเอง

จุดเริ่มตนการศึกษาวิชาชีพสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป ในสมัยรัชกาลที่ 6 มีพระประสงคจะหาชางปนมาชวยปฎิบัติราชการเพื่อฝกฝนใหคนไทย สามารถปนรูป ได อยางแบบตะวันตกและสามารถมีความรูถึงเทคนิคตางๆ ในงานประติมากรรมดวย จึงไดติดตอกับ รัฐบาลอิตาลีขอ คัดเลือกนัก ประติมากรที่ชื่อเสียงเพื่อเขามาปฎิบ ัติราชการกับรัฐบาลไทย ทางรัฐบาลอิตาลีจึงเสนอนายคอรราโด เฟโรจี (Professor Corrado Ferocil) เปนชาวนครฟลอเรซ ประเทศอิตาลี มีความรอบรูทางดานประวัติศาสตร ศิลปวิจารณศิลปและปรัชญา โดยเฉพาะมีความสามารถทางดานศิลปะแขนงประติมากรรมและจิตรกรรม มาพรอมทั้ง นักศึกษาวุฒิและผลงาน ซึ่งรัฐบาลไทยก็ยินดีรับ เขาเปนขาราชการในตําแหนงชางปนกรมศิลปากร กระทรวงวัง เมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2466 ภายหลังจากกอตั้งกรมศิลปากรขึ้นใหม เพื่อใหเปน หนวยงานที่มีความรับผิดชอบงานทางดานศิลปกรรมโดยตรง และแบง ประเภทงานศิลปกรรมออกเปน 7 สาขา คือ งานชางปน ชางเขียน ดุริ ยางคศาสตร นาฎศาสตร สุทรพจน สภาปตยกรรม และอักษรศาสตร ทําใหกรมศิลปากรมีหนาที่ดูแลงานตางๆ ขึ้นโดยชัดเจน หลวงวิจิตร วาทการ (กิมเหลียง วัฒนปฤต) อธิบ ดีกรมศิลปากรในขณะนั้น ศาสตราจารยศิลป พีระศรี ขาราชการอยูในแผนกจิตรกรรม ประติมากรรมและชางรักกองสถาปตยกรรมของกรมศิลปากร และ นักศึกษาพระสาโรช รัตนนิมมานก (สาโรช สุขยงค) สถาปนิกของกรม ศิลปากรไดมีดําริรวมกัน ในการผลิตบุคลากรเพื่อสานตองานดาน ศิลปกรรมของกรมศิลปากร โดยการจัดตั้งโรงเรียนอบรมและสอนวิชา ศิลปะใหแกขาราชการและคนไทยอยางเปนขั้นตอน ดังนั้นโรงเรียน ประณีตศิลปกรรมจึงถูกจัดตั้งขึ้นในป พ.ศ. 2477 ภาพที่ 5 ศาสดาจารย ศิลป พีระศรี การปฏิบัติวิชาชีพสาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป มีองคกรที่เ กี่ยวของอยู 2 องคกร องคกรแรก คือ สภา สถาปนิก เปนองคกรซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อควบคุม กํากับ และดูแล โดยมีองคกรที่สอง คือ สมาคมมัณฑนากรแหงประเทศ ไทย และสถาปนิก 2.


Professional Practices

9

INT 470

เมื่อโรงเรียนศิลปากรไดรับการยกฐานะขึ้นเปนมหาวิทยาลัยในป พ.ศ. 2486 ตอมาในป พ.ศ. 2498 ไดตั้ง คณะสถาปตยกรรมไทยและโบราณคดีตามลําดับ แตเนื่องจาก คณะจิตกรรมและ ประติมากรรมในขณะนั้นมีวิชาการ ตกแตง (Decoration) อยูในหลักสูตรดวย และนักศึกษาที่จบการศึกษารุนแรก ๆ บางคน ไดออกไปทํางานทางดานการ ตกแตงภายใน จนประสบความสําเร็จ ในการประกอบอาชีพพอสมควร กอปรกับ สังคมไทยในขณะนั้น มีแนวโนมใหเห็น วา ตองการผูมีความรูความสามารถในสาขาวิชาการออกแบบตกแตงมากขึ้น ศาสตราจารย ศิลป พีระศรี ซึ่งขณะนั้นดํารง ตําแหนงคณบดีคณะจิตรกรรมและประติมากรรม จึงไดหารือรวมกับ ศาสตราจารย ม.จ.ยาใจ จิตรพงศ ผูชวย ศาสตราจารย ม.ร.ว.พูนสวาท กฤดากร และ ม.จ.เฉลิมสมัย กฤดากร ซึ่งเปนขาราชการในกรมศิลปากรดวยกัน และกําลัง สอนวิชาศิลปการตกแตงอยูในคณะจิตรกรรม จัดทําโครงการจัดตั้งคณะและหลักสูตรคณะมัณฑนศิลปขึ้น จนบรรลุผล สําเร็จเปนคณะวิชาที่ 4 ของมหาวิทยาลัยศิลปากรโดยเปดรับนักศึกษารุนแรก ในปการศึกษา 2499 3 คณะมัณฑนศิลปจัดการศึกษาปแรกในป การศึกษา 2499 หลักสูตรปการศึกษา 2499 2516 เปนหลักสูตรสาขาออกแบบตกแตงภายใน สาขาวิชาเดียว โดยพัฒนามาจากหลักสูตร คณะ จิตรกรรมและประติมากรรม มีการศึกษาทางวิจิตร ศิลป เพื่อใหมีความรูและทักษะทางศิลปะปฏิบัติ แลวจึงแยกมาศึกษาเฉพาะดานการออกแบบ ตกแตงภายใน ซึ่งเปนประยุกตศิลป เพื่อสนอง ความตองการ ของสังคมไทยที่ยังขาดนัก ออกแบบตกแตงภายใน

ภาพที่ 6 คณะมัณฑนศิลป มหาวิท ยาลัยศิลปากร

คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจานักศึกษาทหาร ลาดกระบัง มีความเปนมาเริ่มตนจาก "โรงเรียน ชาง บ.ส.อ." ในการอํานวยการของบริการสงเสริม อาชีวศึกษา กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแต ตอมากระทรวงศึกษาธิการไดยุบเลิกบริการ สงเสริมอาชีวศึกษา ( บ.ส.อ.) โรงเรียนจึงถูกยุบเลิก ไปดวย แตความตองการสถานที่เรียนตอสําหรับ นักเรียนที่จบหลักสูตรประโยคอาชีวศึกษาชั้นสูง ภาพที่ 7 คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบัน เทคโนโลยี จํานวนมากทําใหเกิด " โรงเรียนสงเสริมอาชีพ พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง กอสราง " ขึ้นเพื่อผลิตชางไทยที่มีความสามารถ ปฏิบัติงานกอสรางไดอยางจริงจัง โดยกรมโยธาธิการไดรับคําสั่งใหดําเนินการเปดทําการสอน มีแผนกชางกอสรางเพียง แผนกเดียว ตอมากรมโยธาธิการไดถูกยุบไปรวมกับ กรมโยธาเทศบาล ทําใหโรงเรียนสงเสริมอาชีพกอสรางกลับ ไป สังกัดกระทรวงศึกษาธิการอีก และไดปรับปรุงหลักสูตรยกระดับการศึกษาใหสูงขึ้นเทียบเทาวิทยาลัยเทคนิค ขึ้นเปน "วิทยาลัยวิชาการกอสราง " ( College of Design & Construction ) เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2506 3.

สัญลักษณ คณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร คือ ดอกจอก สีประจําคณะคือ สีสม


Professional Practices INT 470

10

4 วิทยาลัยวิชาการกอสรางไดทําการยายมาอยูที่ลาดกระบังเมื่อป พ.ศ. 2514 สถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกลาฯ ไดพิจารณามาตรฐานการศึกษาและหลักสูตรการสอนของวิทยาลัยวิชาการกอสราง จึงมีมติ ใหรับ วิทยาลัยวิชาการกอสรางเขาสมทบในสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา จัดตั้งเปนคณะสถาปตยกรรมศาสตรของสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลา ตั้งแตป พ.ศ. 2516 เปนตนไป โดยขั้นแรกคณะสถาปตยกรรมศาสตร ผลิตนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาสถาปตยกรรม มัณฑนศิลป และศิลปะอุตสาหกรรม เพื่อผลิตชาง เทคนิคหรือผูชวยสถาปนิก ผูชวยมัณฑนากร และผูชวยนักออกแบบ ปการศึกษา 2517 จึงใหโอนสถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ไปสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย

สมาคมวิชาชีพและวิชาการที่เกี่ยวของกับงานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป การปฏิบัติวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมสาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป มีองคกรที่เกี่ยวของอยู 3 องคกร องคกรแรก คือ สภาสถาปนิก เปนองคกรซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อควบคุม กํากับ และดูแล ตามพระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. 2543 ปจจุบันวิชาชีพนี้เปนหนึ่งในสี่สาขาสถาปตยกรรมควบคุม โดยมีองคกรที่สอง คือ สมาคมมัณฑนากรแหง ประเทศไทย เปนองคกรวิชาชีพทําหนาที่เปนตัวแทนของผูประกอบวิ  ชาชีพสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป ในการ ประกอบวิชาชีพ สรางมาตรฐานวิชาชีพ คุมครองดูแลสิทธิของสมาชิก รวมถึงบทบาทที่สําคัญในการมีสวนรวมเสริมสราง ชวยเหลือ และใหคําแนะนําในการปฏิบัติงานของสภาสถาปนิก โดยที่สมาคมมัณฑนากรเปนหนวยงานอิสระ ที่ไม เกี่ยวกับการเมืองและไมขึ้นกับหนวยงานราชการ และองคกรที่สามคือ สภาวิชาการสถาปตยกรรมภายใน และการ ออกแบบภายในแหงประเทศไทย

สมาคมมัณฑนากรแหงประเทศไทย สมาคมมัณฑนากรแหงประเทศไทยในอดีตคือ “มัณฑนศิลป สมาคมแหงประเทศไทย” ซึ่งไดกอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2528 โดความ ดําริของทานอาจารยจักร ศิริพานิช อดีตคณบดีคณะมัณฑนศิลป มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยมีคณาจารยและมัณฑนากรอีกหลายทาน จากหลายสถาบันเปนผูรวมกอตั้ง ทั้งนี้สมาคมไดรับทุนอุดหนุนการ กอตั้งสมาคมฯจากศิษยเกาและผูมีอุปการนักศึกษาอีกหลายฝาย และไดจัดประชุมใหญเพื่อเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารชุดแรกเมื่อวันที่ ภาพที่ 7 ตราสัญลักษณ 8 กันยายน พ.ศ. 2528 โดยมีทานอาจารยมนัส รักใจ ไดรับ เลือก สมาคมมัณฑนากรแหงประเทศไทย ใหดํารงดําแหนงนายกสมาคมฯเปนทานแรก หลังจากการดําเนินการสมาคมไดระยะหนึ่ง คณะกรรมการบริหารสมาคมฯจึงไดมีมติใหเสนอความคิดเห็นตอ สมาชิกในการเปลี่ยนชื่อเปน “สมาคมมัณฑนากรแหงประเทศไทย” ใชชื่อในภาษาอังกฤษวา “Thailand Interior Designers’ Association” เพื่อใหมก ี ารดําเนินงานการบริหารงานชัดเจนกับสมาชิกในสาขาวิชาชีพการออกแบบ ภายในใหครอบคลุมกับ สมาชิกซึ่งมีพื้นฐานการศึกษาจากหลายสถาบัน อันเปนการดําเนินการของสมาคมในแนวทาง เดียวกันกับมาตรฐานสากลตางประเทศที่มีอยู และในชื่อใหมนี้ทางสมาคมฯไดรับ การติดตอแลกเปลี่ยน ทั้งทางดาน วิชาการและความรวมมืออื่นๆ จากสมาคมในระดับนานาชาติทั้งในยานแถบเอเชียและประเทศอื่นๆ นับ ถึงปจจุบันมีผดู ํารงตําแหนงนายกสมาคมฯตอเนื่องเรื่อยมาเปนลําดับ จนกระทั่งในป พ.ศ. 2532-2534

การกอตั้งสมาคมศิษยเกาคณะสถาปตยกรรมศาสตรฯ เคยมีการกอตั้งเปนชมรมนักศึกษาเกาวิทยาลัยวิชาการ กอสราง ตอมาอาจารย และคณบดี โดยนักศึกษาเกาทั้งรุน วก. และ สจล.ใหรวมตัวกัน ทางนักศึกษารุน สจล. รุนแรก (ป 2515) 4.


Professional Practices INT 470

11

นายเถียร สวัสดิ์รักษา ไดดํารงตําแหนงนายกสมาคมฯในสมัยที่ 2 เวลาตอมาในป พ.ศ. 2534-2538 นายฤกษฤทธิ์ แกววิเชียร ไดดํารงตําแหนงในสมัยที่ 5 ในป พ.ศ. 2538-2544 นางพันธพิไล ใบหยก ไดดํารงตําแหนง ในสมัยที่ 4 และจนกระทั่งป พ.ศ. 2544 ถึงปจจุบัน นายทินกร รุจิณรงค ไดดํารงตําแหนงนายกสมาคมฯคนปจจุบ ัน ตอมาทางสมาคมฯไดมีการจัดทําระเบียบ “มาตรฐานการปฏิบ ัติวิชาชีพมัณฑนากร พ.ศ. 2532 ขึ้นเพื่อถือ ปฏิบัติเปนระเบียบทางวินัยตามมาตรฐานวิชาชีพกับมวลสมาชิก ปจจุบันสมาชิกประกอบดวย มัณฑนากร สถาปนิก นักออกแบบในสาขาอื่นๆ นักวิชาการ ฯลฯ ซึ่งมีพื้นฐานทางการศึกษาจากสถาบันตางๆทั้งในประเทศและตางประเทศ มีจํานวนสมาชิกทั้งสิ้นกวา 2,000 คน ในปลายป พ.ศ. 2548 ตลอดระยะเวลาที่ดําเนินการผานมา สมาคมมัณฑนา กรฯ ไดพยายามผลักดันวิชาชีพใหเจริญรุงเรืองเปนที่ยอมรับ ในสังคม ไดมีกิจกรรมที่กอประโยชนตอมวลสมาชิกนา นานัป การ สมาคมฯไดรับการรับรองและยกยองจากหนวยงานและองคกรในระดับชาติและระดับ นานาชาติ ในฐานะที่ เปนสถาบันของผูประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมภายในมัณฑนศิลปของชาติ

ภาพที่ 7 ที่ทําการของสถาปนิก ถนนพระราม 9 กรุงเทพฯ

ภาพที่ 8 ตราสัญลักษณ สถาปนิก

สภาสถาปนิกแหงประเทศไทย ในประเทศไทย, สภาสถาปนิก (Architect Council of Thailand หรือชื่อเดิม Council Of Architects) คือองคกร ควบคุมวิชาชีพสถาปตยกรรมที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. 2543 เพื่อใชแทนกฎหมายควบคุมวิชาชีพ สถาปตยกรรมฉบับ เดิม (พ.ศ. 2508) ที่รูจักในชื่อ "ก.ส." พ.ร.บ. สถาปนิก พ.ศ. 2543 ประกอบดวยผูประกอบวิชาชีพ สถาปตยกรรมสาขาตางๆ ที่กําหนดไวในกฎกระทรวง ปจจุบันประกอบดวยสาขาสถาปตยกรรม 4 สาขาไดแก สาขา สถาปตยกรรม ภูมิสถาปตยกรรม สถาปตยกรรมผังเมือง และสถาปตยกรรมภายใน/มัณฑนศิลป พระราชบัญญัติไดเปด ชองใหมีสาขาอื่นๆ ที่นับอยูในกลุมสถาปตยกรรมเพิ่มไดอีก สภาสถาปนิกประกอบดวยสมาชิกที่มีปริญญาหรือประกาศนียบัตรตรงตามสาขาที่สภาสถาปนิกรับรอง แตไม จําเปนตองมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรม สภาสถาปนิกมีกรรมการจากการเลือกตั้งโดยสมาชิกสามัญของ สภาฯ จํานวน 15 คน (จาก 4 สาขาวิชาชีพ) โดยแบงเปนจากสายวิชาชีพ (10 คน),สายการศึกษา (5 คน) และที่


Professional Practices

12

INT 470

รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย แตงตั้งอีก 5 คน รวมทั้งสิน้ เปน 20 คน มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 3 ป เปน ผูบ ริหารแทนสมาชิก สภาสถาปนิกมีอํานาจหนาที่ในการออก ตออายุ พักและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพของทุก สาขาที่ประกาศ รวมทั้งการทําหนาที่ควบคุมดูแลความประพฤติของผูถือใบอนุญาต ผูมีสิทธิ์ขอสอบรับใบอนุญาตจะตอง เปนสมาชิกของสภาสถาปนิก

สภาวิชาการสถาปตยกรรมภายใน และการออกแบบภายในแหงประเทศไทย แนวความคิดเรื่องการจัดตั้งสภาวิชาการสถาปตยกรรมภายใน และการออกแบบภายในแหงประเทศไทยเริ่มขึ้นตั้งแตป พ.ศ.2544 สืบ เนื่องจากการประชุมสาขาวิชาสถาปตยกรรมภายในและการออกแบบ ภายในของที่ประชุมสภาคณบดีสถาปตยกรรมศาสตรแหงประเทศไทย ครั้ง ภาพที่ 8 ตราสัญลักษณของสภา ที่ 4 ในวันที่ 29 มกราคม 2544 ณ หองประชุมมหาวิทยาลัย วิชาการฯ กรุงเทพฯ ซึ่งเปนการเปดโอกาสใหผูบริหารหรือตัวแทนของสาขาวิชาฯจากทุก สถาบันมีโอกาสพบปะสังสรรคและประชุมปรึกษาหารือในเรื่องตางๆทั้งทางวิชาการและวิชาชีพ ในที่สุดที่ป ระชุมฯ ได 5 ตกลงกอตั้งสภาวิชาการสถาปตยกรรมภายในและการออกแบบภายในแหงประเทศไทยขึ้น โดยมีตัวแทนซึ่งเปน ผูบ ริหารและนักวิชาการจากสาขาวิชาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปหรือสาขาวิชาที่ เกี่ยวของเพื่อเพื่อกอตั้ง รวมกับ ตัวแทนจากทุกมหาวิทยาลัยทั่วประเทศไทยรวมเปนสมาชิกในเบื้องตนที่ประชุมมีมติโดยไดมอบให ผศ.พิศประไพ สาระศาลิน รองคณบดีฝายวิชาการ คณะศิลปกรรม มหาวิทยาลัยรังสิต ทําหนาที่เปนประธานสภาวิชาการฯคนแรก ในป พ.ศ. 2544-4545 เพื่อเปนองคกรกลางในการประสานความรวมมือระหวางภาควิชาสาขาสถาปตยกรรมภายใน การออกแบบภายใน และมัณฑนศิลป ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน เปนศูนยกลางในการแลกเปลี่ยนความรู ความคิดเห็นและประสบการณในที่เกี่ยวกับสาขาวิชาฯ รวมทั้งประสานงานกันเพื่อใหเกิดบทบาท ดานการพัฒนาดาน วิชาการ การเตรียมปฏิบัติวิชาชีพ การวิจัย การบริการวิชาการแกสังคม และการทํานุบ ํารุงศิลปวัฒนธรรม

IAIDAC

ซึ่งปจจุบันมีสมาชิกที่เขารวมจํานวนทั้งสิ้น 18 สถาบัน ที่สอนเกี่ยวกับวิชาการสถาปตยกรรมภายใน ,การออกแบบ ภายใน และมัณฑนศิลป 5.


Professional Practices

13

INT 470

บทที่

2

มาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพ สถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป ไดกําหนดขั้นเพื่อใชเปนขอบังคับของสมาคมฯ เพื่อถือปฏิบ ัติทางวินัยตามมาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพ การ กระทําใดๆ โดยสมาชิกของสมาคมฯ ที่แตกตางไปจากบทบัญญัติขอใดขอหนึ่งของมาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพที่สมาคม ฯไดกําหนดไวนี้ใหถือวาสมาชิกผูนั้นไดกระทําผิดวินัยทางวิชาชีพและสมาชิกผูนั้นจะตองไดรับการพิจารณาวินัยโดย สมาคมฯ

นักศึกษาสมบัติพื้นฐาน 1

2

3

วิชาชีพสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป เปนวิชาชีพที่ตองการบุคคลผูกอปรดวยนักศึกษาธรรม วัฒนธรรม สติป ญญา ความสามารถสราง-สรรค และทักษะการใหบ ริการของนักออกแบบภายในและมัณฑนากร อาจรวมถึง การบริการใดๆ ที่เหมาะสม ตอการพัฒนาสิ่งแวดลอมทางกายภาพของมนุษย ทั้งนี้นักออกแบบภายในและมัณฑนา กรตองผดุงไวซึ่งนักศึกษาธรรมในวิชาชีพของตนและการบริการของนั้นจะตองมุงไปสูจุดหมายในการสรางสรรค สิ่งแวดลอมที่มีระเบียบและความงาม เจตนา และความสามารถของนักออกแบบภายในและมัณฑนากรตอง กอใหเกิดการยกยอง และความเชื่อมั่นเสมอไปนักออกแบบภายในและมัณฑนากรควรแสวงหาโอกาสที่จะใหบริการ ดานสรางสรรคในความปลอดภัย อนามัย ความงาม และความเปนอยูที่ดีแกชุมชน ในฐานะที่เปนนักออกแบบ ภายในและมัณฑนากรจะตองระลึกอยูเสมอวาตนมีความผูพันในทางศีลธรรมตอสังคม ยิ่งกวาที่มีกําหนดโดย กฎหมายหรือการปฏิบัตธิ ุรกิจตนเปนผูประกอบวิชาชีพ ซึ่งมีภาระความรับผิดชอบอันสําคัญตอสาธารณะ ดังนั้นใน การปฏิบ ัติสนองความตองการของลูกคานักออกแบบภายในและมัณฑนากรตองคํานึงถึงผลประโยชนสาธารณะและ ความเปนอยูที่ดีของสังคม ความซื่อสัตยในเจตนารมณของนักออกแบบภายในและมัณฑนากรตองอยูเหนือความระแวงใดๆ นักออกแบบ ภายในและมัณฑนากรจะตองใหบริการวิชาชีพแกลูกคาของตนและกระทําการเปนตัวแทนและผูแนะนําของลูกคา ของตน คําแนะนําของนักออกแบบภายในและมัณฑนากรที่ใหแกลูกคาตองมีเหตุผล และไมมีความลําเอียงใดๆ เจือ ปน ทั้งนี้ในฐานะที่ตนรับผิดชอบตอการใหคําวินิจฉัยอันเที่ยงธรรม ในการตีความเอกสารสัญญาตางๆ นักออกแบบภายในและมัณฑนากรทุกคนควรยินดีอุทิศเวลา และความสามารถเพื่อสนับสนุนความยุติธรรม ความ เปนผูมีมรรยาทอันงาม และความจริงใจในวิชาชีพของตน นักออกแบบภายในและมัณฑนากรตองบริหารและ ประสานความสามารถทางวิชาชีพของผูรวมงาน ผูอยูในบังคับบัญชาและที่ปรึกษา การกระทําของนักออกแบบ ภายในและมัณฑนากรตองรอบคอบ สุขุม และทรงไวซึ่งความรู


Professional Practices

14

INT 470

1.

การประกาศใชบังคับ 1.1

1.2

1.3

2.

มาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพเหลานี้ ประกาศใชบ ังคับเพื่อสงเสริมมาตรฐานจริยธรรมอันสูงสุดสําหรับ วิชาชีพสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปดังนั้นการตีความบรรดาหนาที่ทั้งปวงที่ระบุไวในมาตรฐานนี้ จึงไมควรบิดเบือนอันเปนการปฏิเสธหนาที่อื่นๆ ซึ่งมีความสําคัญบังคับอยูทัดเทียมกัน แมจะมิไดระบุไว โดยชัดแจงก็ตามนอกจากนั้นการบัญญัติถึงพันธกรณีภายใตหัวขอใดๆ ขางตนจะตองไมบิดเบือนใหเปน การขัดกับ การใชบังคับบทบัญญัติดังกลาวแกกลุมบุคคลที่ระบุไว เพราะพันธกรณีบ างอยางก็ใชบังคับได อยางกวาง และที่บัญญัติไวเฉพาะกลุมก็เพียงเพื่อความสะดวกและเนนใหเห็นชัดเทานั้น ความมุงหมาย เบื้องตนของการดําเนินการทางวินัยภายใตมาตรฐานปฏิบัตวิ ิชาชีพเหลานี้ ก็เพื่อปองกันสาธารณะและ วิชาชีพ โดยที่การยึดมั่นในหลักการที่ระบุไวนี้เปนพันธกรณีของสมาชิกทุกคนของสมาคมนักออกแบบภายในและ มัณฑนากรสยามฯ การปฏิบัติใหผิดแผกไปจากหลักการดังกลาวนี้ จะตองไดรับ การพิจารณาทางวินัยตาม สวนแหงความรายแรงของการกระทํานั้น คณะกรรมการบริการสมาคมนักออกแบบภายในและมัณฑนากรสยามฯ หรือเจาหนาที่ผูไดรับ มอบอํานาจ มีอํานาจโดยเด็ดขาดในการตีความมาตรฐานปฏิบ ัติวิชาชีพเหลานี้ แชะคําวินิจฉัยของกรรมการยอมเปนที่ สิ้นสุด ทั้งนี้ภายใตขอบังคับ ของระเบียบของสมาคมฯ

การบริการขัน้ มูลฐาน

เพื่อเปนหลักในการใหบริการของนักออกแบบภายในและมัณฑนากรในการปฏิบัติวิชาชีพและเพื่อขจัดปญหาโตแยง ระหวางเจาของงานและนักออกแบบภายในและมัณฑนากรสมาคมฯ ไดกําหนดมาตรฐานการบริการขั้นมูลฐาน โดยแบง ขั้นตอนการบริการของนักออกแบบภายในและมัณฑนากรเปน 5 ขั้นตอนดังตอไปนี้

ภาพที่ 9 ตัวอยางการทํา Bubble Chart ในขั้น ตอน Programming & Planning 2.1 การวางเคาโครงการออกแบบและการออกแบบรางขั้นตน (Programming & Planning)

นักออกแบบภายในและมัณฑนากรจะศึกษาโครงการตามขอมูลทีเจาของงานมอบให การศึกษาขอมูลเกี่ยวกับ บทบัญญัติแหงกฎหมายที่เกี่ยวของกับโครงการจะจัดวางเคาโครงการออกแบบ วางแผนงานออกแบบโครงการ


Professional Practices

15

INT 470

และจัดวางแบบแปลน พรอมทั้งออกแบบรางขั้นตนเพื่อเสนอแกเจาของงาน เอกสารทีน่ ักออกแบบภายในและ มัณฑนากรจะตองเสนอใหเจาของงานพิจารณาอนุมัติตามขั้นตอนนี้ป ระกอบดวย 2.1.1 หลักเกณฑและขอบเขตในการออกแบบภายในเบื้องตน 2.1.2 การแบงเนื้อที่การใชสอยและการจัดวางผังเบื้องตน 2.1.3 การจัดสภาพแวดลอมภายในและภายนอกอาคารใหสัมพันธกัน 2.1.4 กําหนดงบประมาณในการกอสรางตกแตงภายในเบื้องตน 2.1.5 เอกสารที่จําเปน อื่น ๆ เพื่อประกอบการพิจารณา 2.1.6 ประมาณการราคากอสรางตามขั้น ตอนนี้ 2.2

การออกแบบรางและนําเสนอแนวความคิดในการออกแบบเบื้องตน

(Pre-design & Conceptual)

ภาพที่ 10 ตัวอยางการทํา Presentation Board ในขั้น ตอน Pre-design & Conceptual

นักออกแบบภายในและมัณฑนากรจะใชขอมูลที่ไดรับอนุมัติจากการออกแบบรางขั้นตนตามขอ 2.1 เพื่อ ออกแบบรางขั้นตอนสุดทายเสนอแกเจาของงานเอกสารทีน่ ักออกแบบภายในและมัณฑนากรจะตองเสนอใหเจาของ งานเห็นชอบ และอนุมัติตามขั้นตอนนี้ประกอบดวย 2.2.1 แบบรางผังบริเวณแสดงความสัม พันธของพื้นที่ภายในอาคารกับ พื้นทีบ ่ ริเวณทั้งของโครงการ 2.2.2 แบบแปลนการจัดวางเฟอรน ิเจอร 1:100 หรือ 1:50 2.2.3 แบบรางทัศนียภาพแนวทางการออกแบบ (Perspective) 2.2.4 แบบรางโครงสีและวัสดุ (Material & Color Scheme) 2.2.5 เอกสารอื่น ๆ ที่จําเปน เพื่อประกอบการพิจารณา 2.3 การทํารายละเอียดการกอสรางงานตกแตงภายใน (Construction document)

หลังจากแบบรางขั้นตอนสุดทายไดรับ อนุมัติเปนลายลักษณอักษรจากเจาของงานแลว นักออกแบบภายในและ มัณฑนากรจะจัดทํารายละเอียดกอสรางเพื่อใชเปนเอกสารสัญญา และเอกสารขออนุญาต เอกสารที่นักออกแบบ ภายในและมัณฑนากรจะตองสงมอบใหแกเจาของงานตามขั้นตอนนี้ประกอบดวย


Professional Practices

16

INT 470

ภาพที่ 2.3.1

2.3.3 2.3.5

11

แสดงภาพงานแบบการกอสรางงานตกแตงภายใน (Interior design working drawing)

แบบสถาปตยกรรมซึ่งประกอบดวย  แบบแสดงผังบริเวณแสดงความสัมพันธของพื้นที่ภายในอาคาร  แบบแสดงแปลนการจัดวางเฟอรนิเจอร  แบบแปลนสถาปตยกรรมภายในการจัดวางพื้น ผนัง เพดาน  แบบแปลนแสดงความสัมพันธกับงานระบบทางวิศวกรรม ตําแหนงงานระบบไฟฟา ระบบปรับ อากาศ ระบบสุขาภิบาล  แบบแสดงรูป ดานผนังตกแตงภายในและรายละเอียดงานตกแตงทั้งหมด  แบบแสดงรูป ตัดเฟอรนิเจอรติดผนังรายละเอียด และแบบขยายตางๆ ที่จําเปน  แบบแสดงเฟอรนิเจอรลอยตัว รายละเอียดและขอกําหนดตางๆของการจัดทํารายการจํานวน ขนาด และวัสดุอุปกรณที่ใชในการแตละชิ้น รวมถึงรายการเฟอรนิเจอรสําเร็จรูปที่จะตองจัดซื้อ ทั้งหมด  รายการประกอบแบบ รายละเอียดตางๆในงานตกแตงรวมถึงรายละเอียดของวัสดุและอุปกรณ อุปกรณพิเศษและของประกอบการตกแตงสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวของ พรอมเอกสารที่จําเปน รายการประมาณการราคาและราคากลางคากอสราง

2.4 การประกวดราคา (Contractor Bidding)

นักออกแบบภายในและมัณฑนากรจะใหความรวมมือในการประกวดราคาดังตอไปนี้ 2.4.1 จัดทําประมาณการราคากลางคากอ สราง 2.4.2 จัดเตรียมเอกสารประกวดราคา 2.4.3 ใหคําแนะนําในการตรวจสอบใบเสนอราคาของผูรับจางกอสราง 2.4.4 ใหคําแนะนําในการคัดเลือกผูรับจางกอ สราง 2.4.5 จัดเตรียมเอกสารสัญญา


Professional Practices INT 470

17

2.5 การกอสราง ( CONSTRUCTION )

นักออกแบบภายในและมัณฑนากรจะใหความรวมมือในการกอสรางเพื่อใหการกอสรางดําเนินไปตามความ ประสงคในการออกแบบ และเอกสารสัญญาดังตอไปนี้ 2.5.1 ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผูรับจางกอสราง ณ สถานที่กอสรางเปน ครั้งคราว และรายงานใหเจาของงาน ทราบในกรณีที่จําเปน 2.5.2 ใหคําแนะนําแกผูรับจางกอสราง เพื่อใหงานกอสรางดําเนินไปดวยความเรียบรอย 2.5.3 ใหคําปรึกษา และแนะนําแกผูความคุม งานของเจาของงานเพื่อใหงานกอสรางดําเนินไปตามความประสงค ในการออกแบบและเอกสารสัญญา 2.5.4 ใหรายละเอียดเพิ่ม เติม ตามความจําเปน 2.5.5 ตรวจและอนุม ัติแบบใชงานและวัสดุและอุป กรณตัวอยางที่ผูรับ จางกอสรางนําเสนอ 2.6 การสงมอบเอกสาร

นักออกแบบภายในและมัณฑนากรจะตองสงมอบเอกสารตามขอ 2.1 และ 2.2 จํานวน 5 ชุด และจะสงมอบ เอกสารตามขอ 2.3 จํานวน 10 ชุด ใหแกเจาของงานในกรณีที่เจาของงานตองการเอกสารมากกวาที่กําหนด นัก ออกแบบภายในและมัณฑนากรจะเบิกคาใชจายในการจัดพิมพเอกสารเพิ่มเติมคาใชจายจริง 3.

คาบริการทางวิชาชีพขั้นพื้นฐาน

สมาคมฯ ไดกําหนดหลักเกณฑการคิดคาบริการวิชาชีพไว 2 วิธี คือ คิดจากอัตรารอยละและคิดจากเวลาทํางาน ดัง มีรายละเอียดในการคํานวณหาคาบริการวิชาชีพดังตอไปนี้ 3.1 การคิดคาบริการวิชาชีพเปนอัตรารอยละ

นักออกแบบภายในและมัณฑนากรจะคิดคาบริการวิชาชีพเปนอัตรารอยละของคากอสรางสําหรับงานออกแบบ โดยทั่วไป โดยคํานวณจากตารางหมายเลข 1 “อัตราคาบริการวิชาชีพขั้นมูลฐาน” เปนหลักการคํานวณหาคาบริการ วิชาชีพตามขอนี้ใหถือปฏิบัติดังตอไปนี้ 3.1.1 งานกอสรางโดยทั่วไป การคิดคาบริการวิชาชีพสําหรับ งานกอสรางโดยทั่วไป ใหคํานวณจากอัตรารอยละ ตามระบุในตารางหมายเลข 1 “อัตราคาบริการวิชาชีพขั้นมูลฐาน” โดยคิดเปนอัตรากาวหนา ตัวอยาง อาคารประเภท 4 ราคากอสราง 35 ลานบาท ใหคํานวณหาคาบริการวิชาชีพดังตอไปนี้ 10 ลานบาทแรก อัตรารอยละ 6.50 เปนเงิน 650,000 บาท 20 ลานบาทถัดไป อัตรารอยละ 5.50 เปนเงิน 1,100,000 บาท 5 ลานบาทที่เหลือ อัตรารอยละ 4.75 เปนเงิน 237,500 บาท รวมเปนคาบริการทั้งสิ้น 1,987,500 บาท 3.1.2 งานกอสรางตอเติม * การคิดคาบริการวิชาชีพสําหรับงานกอสรางตอเติม ใหคิดคาบริการเปน 1.2 เทาของ คาบริการวิชาชีพตามขอ 3.1.1 * งานกอสรางตอเติม หมายถึงการออกแบบงานกอสรางตอเติมอาคารที่มีอยูแลวและการกอสรางตอเติม จําเปนจะตองแกไขระบบโครงสรางอาคารเดิมบางสวน และหรือจําเปนจะตองแกไขประโยชนใชสอยของ อาคารเดิมบางสวน


Professional Practices

18

INT 470

3.1.3

3.1.4

. . . . .

งานกอสรางดัดแปลง ** การคิดคาบริการวิชาชีพสําหรับงานกอสรางดัดแปลงใหคิดคาบริการเปน 1.4 เทา ของคาบริการวิชาชีพตามขอ 3.1.1 ** งานกอสรางดัดแปลง หมายถึงการดัดแปลงแกไขประโยชนใชสอยภายในอาคารที่มีอยูแลวจะโดยการ แกไขเพิ่มเติมระบบโครงสรางหรือไมก็ตาม งานกอสรางที่ใชแบบซ้ํากัน งานกอสรางที่ใชแบบซ้ํากันโดยไมตองเขียนแบบใหม และทําการกอสรางใน บริเวณเดียวกันใหคิดคาบริการวิชาชีพดังตอไปนี้ หลังที่ 1 คิดคาบริการ 100 เปอรเซ็นตของคาบริการ ตามขอ 3.1.1 หลังที่ 2 คิดคาบริการ 50 เปอรเซ็นต ของคาบริการ ตามขอ 3.1.1 หลังที่ 3 ถึง หลังที่ 5 คิดคาบริการหลังละ 25 เปอรเซ็นตของคาบริการตามขอ 3.1.1 หลังที่ 6 ถึง หลังที่ 10 คิดคาบริการหลังละ 20 เปอรเซ็นตของคาบริการตามขอ 3.1.1 หลังที่ 11 ขึ้นไปคิดคาบริการหลังละ 15 เปอรเซ็นตของคาบริการตามขอ 3.1.1 .

3.2 การคิดคาบริการวิชาชีพโดยคํานวณจากเวลาทํางาน

การคิดคาบริการวิชาชีพโดยคํานวณจากเวลาการทํางานนี้ ใหใชเฉพาะงานที่ไมสามารถคิดคาบริการวิชาชีพ เปนอัตรารอยละตามขอ 3.1 ได เชน การจัดทําผังแมบท การใหคําปรึกษา การอํานวยการกอสรางเปนตน การ คิดคาบริการวิชาชีพโดยคํานวณจากเวลาทํางานนี้ใหคํานวณจากอัตราคาบริการตอเดือนของเจาหนาที่ คูณดวย เวลาทํางานของเจาหนาที่ที่ปฎิบัติงานเกี่ยวกับโครงการนี้และบวกดวยคาใชจายโดยตรงอื่นๆ 3.2.1 อัตราคาบริการตอเดือนของเจาหนาที่ อัตราคาบริการตอเดือนของเจาหนาที่น ี้รวมถึงคาใชจายเงินเดือน คาสวัสดิการพนักงาน และคาดําเนินงานสําหรับ งาน ซึ่งโดยปกติอัตราคาบริการตอเดือนของเจาหนาที่ จะ มีคาเทากับ 2.145 – 2.5 เทาของอัตราเงินเดือนพนักงานนั้นๆ (คาสวัสดิการพนักงานประมาณ 35 – 40 เปอรเซ็นตของอัตราเงินเดือน คาดําเนินงานสํานักงานประมาณ 60 – 90 เปอรเซ็นตและคากําไร 10 เปอรเซ็นต) 3.2.2 คาใชจายโดยตรงอื่นๆ นักออกแบบภายในและมัณฑนากรจะคํานวณคาใชจายโดยตรงอื่นๆ ตามที่น ัก ออกแบบภายในและมัณฑนากรจะตองจายสําหรับการใหบริการตามโครงการนี้ เพิ่มจากบริการวิชาชีพ ตามเวลาทํางานของเจาหนาที่ตามขอ 3.2.1 ดังตอไปนี้  คาพิมพแบบและเอกสารอื่นๆ  คาเดินงาน คาเบี้ยเลี้ยงและคาที่พัก  คาติดตอสื่อสาร  คาจัดเตรียมประมาณการราคากลาง  คาใชจายในการทําหุนจําลอง  คาใชจายในการวิเคราะหโครงการดานเศรษฐกิจ  คาใชจายสํารับผูเชี่ยวชาญแขยงอื่นๆ ที่จําเปน  คาสํารวจทางสนาม  คาใชจายอื่นๆ ที่นักออกแบบภายในและมัณฑนากรสามารถแสดงหลักฐานแกเจาของงาน


Professional Practices INT 470

19

3.3 การจายเงินคาบริการวิชาชีพ นักออกแบบภายในและมัณฑนากรจะเบิกเงินคาบริการวิชาชีพเปนงวดๆ ดังตอไปนี้ งวดที่ 1 อัตรารอยละ 5 ของคาบริการวิชาชีพ เมื่อนักออกแบบภายในและมัณฑนากรตกลงเขารับทํางาน งวดที่ 2 อัตรารอยละ 20 ของคาบริการวิชาชีพ เมื่อนักออกแบบภายในและมัณฑนากรสงมอบเอกสารการ วางเคาโครงการออกแบบและการออกแบบรางขั้นตน ตามระบุในขอ 2.1 งวดที่ 3 อัตรารอยละ 20 ของคาบริการวิชาชีพ เมื่อนักออกแบบภายในและมัณฑนากรสงมอบเอกสารแบบ รางขั้นสุดทาย ตามระบุในขอ 22 งวดที่ 4 อัตรารอยละ 40 ของคาบริการวิชาชีพ ระหวางดําเนินการออกแบบรายละเอียด โดยนักออกแบบ ภายในและมัณฑนากรจะเบิกเงินเปนงวดๆ ตามที่ตกลงกัน งวดที่ 5 อัตรารอยละ 15 ของคาบริการวิชาชีพ ระหวางดําเนินการกอสราง โดยนักออกแบบภายในและ มัณฑนากรจะเบิกเงินเปนงวดๆ ตามที่ตกลงกัน หมายเหตุ การเบิกเงินคาบริการวิชาชีพงวดที่ 1 ใหคํานวณจากประมาณการราคากลางที่เจาของงานกําหนด งวดที่ 2 ถึง งวดที่ 4 ใหคํานวณจากประมาณการราคาคากอสรางที่นักออกแบบภายในและ มัณฑนากรจัดทําตามขอ 2.1.4 เงินคาบริการวิชาชีพที่จายแลวทั้ง 4 งวดและเงินสวนที่เหลือ นัก ออกแบบภายในและมัณฑนากรจะแกไขจํานวนเงินใหกูตองเมื่อทราบราคาคากอสราง 3.4

การคิดคาบริการวิชาชีพ เพิ่มจากคาบริการวิชาชีพขั้นพื้นฐาน นักออกแบบภายในและมัณฑนากรจะคิดคาบริการวิชาชีพเพิ่มจากคาบริการวิชาชีพขั้นมูลฐานในกรณีดังตอไปนี้ 3.4.1 ในกรณีท ี่เจาของงานมีความประสงคจะใหนักออกแบบภายในและมัณฑนากรเกิน กวา 1 สํานักงานรวม ปฏิบัติในโครงการเดียวกัน นักออกแบบภายในและมัณฑนากรจะคิดคาบริการวิชาชีพเพิ่มจากคาบริการ วิชาชีพขั้นมูลฐานอีกรอยละ 25 3.4.2 ในกรณีท ี่เจาของงานมีความประสงคจะแยกงานวิศวกรรมสาขาหนึ่งสาขาใด หรือทุกสาขาไปใหสํานักงาน อื่นดําเนินการนักออกแบบภายในและมัณฑนากรมีหนาที่เพียงเพือ่ ประสานงานเทานั้น นักออกแบบ ภายในและมัณฑนากรจะคิดคาบริการวิชาชีพในการประสานงานเทากับรอยละ 30 ของคาบริการวิชาชีพ ในสาขานั้นๆ 3.4.3 ในกรณีท ี่เจาของงานเปลี่ยนแปลงแกไขแบบแปลนรายละเอียดใหผิดไปจากแบบแปลนที่ไดรับ อนุมัติแลแต ละขั้นตอน นักออกแบบภายในและมัณฑนากรจะไดรับคาบริการวิชาชีพเพิ่มเติมตามคาใชจายจริงที่นัก ออกแบบภายในและมัณฑนากรจะตองเสียไป โดยคํานวณจากเวลาทํางานตามขอ 3.2 3.4.4 คาใชจายในการเดินทางและที่พัก สําหรับเจาหนาที่ท ี่ปฏิบ ัติงานตามโครงการนี้ ในกรณีท ี่จําเปน จะตอง เดินทางออกนอกเขตกรุงเทพมหานคร รวมทั้งคาติดตอสื่อสารดวย 3.4.5 คาบริการพิเศษอื่น ๆ นอกเหนือจากการบริการขั้นมูลฐานตามระบุในหมวดที่ 2 นักออกแบบภายในและ มัณฑนากรจะคิดคาบริการเพิ่มเติมตามคาใชจายจริง โดยคํานวณจากเวลาทํางานตามขอ 3.2


Professional Practices

20

INT 470

ประเภทของงาน งานประเภทที่ 1

การออกแบบตกแตงภายใน การออกแบบผลิตภัณฑสถาปตยกรรมและครุภัณฑ

ภาพที่ งานประเภทที่ 2

12

แสดงภาพงานออกแบบภายในประเภทที่

1

พิพิธภัณฑ อนุสาวรีย อาคารอนุสรณที่มีแผนแบบวิจิตร อาคารทางศาสนา (วัด โบสถ วิหาร)

ภาพที่ 13 แสดงภาพงานออกแบบภายในประเภทที่ 2

งานประเภทที่ 3

บานพักอาศัย อาคารประเภทโรงเรือนสลับซับซอนที่มีสวนใชสอยของอาคารหลายๆ ประเภทรวมกันตั้งแต 3 ประเภทขึ้นไป ทั้งนี้ไมนับรวมงานประเภทที่ 1 และงานภูมิส ถาปตย

ภาพที่ 14 แสดงภาพงานออกแบบภายในประเภทที่ 3


Professional Practices

21

INT 470

งานประเภทที่ 4

โรงพยาบาล อาคารหองปฏิบ ัติการ รัฐสภา ศาลาทองถิ่น วิทยาลัย มหาวิทยาลัย หอสมุด โรงแรม โมเต็ล ธนาคาร อาคาร ชุดพักอาศัย โรงภาพยนตร สนามกีฬาในรม

ภาพที่ 15 แสดงภาพงานออกแบบภายในประเภทที่ 4

แผนผังตารางที่ ประเภท ของงาน ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท

1 2 3 4 5 6

ไมเกิน สิบลาน 10.00 8.50 7.50 6.50 5.50 4.50

งานประเภทที่ 5 งานประเภทที่ 6 4.

10 ลาน ถึง 30 ลาน 7.75 6.75 6.00 5.50 4.75 4.25

1

อัตราคาบริการวิชาชีพขั้นพื้นฐาน

30 ลาน ถึง 50 ลาน 6.50 5.75 5.25 4.75 4.50 4.00

50 ลาน ถึง 100 ลาน 6.00 5.50 5.00 4.50 4.25 3.75

100 ลาน ถึง 200 ลาน 5.25 4.75 4.50 4.25 4.00 3.50

200 ลาน ถึง 500 ลาน 4.50 4.25 4.00 3.75 3.50 3.25

500 ลานขึ้นไป 3.70 3.60 3.50 3.40 3.30 3.20

อาคารสํานักงาน อาคารสรรพสินคา สถานที่กักกัน สถานพักฟน หอพัก โรงเรียน อาคาร อุตสาหกรรม สถานบริการรถยนต อัฒจันทร โรงพัสดุ คลังสินคา อาคารจอดรถ หองแถว ตลาด

หนาที่ของเจาของงาน

นอกจากความรับ ผิดชอบตามที่ระบุในหมวดที่ 2 หมวดที่ 3 และในขอตกลงระหวางนักออกแบบภายในและ มัณฑนากรและเจาของงานแลว เจาของงานมีหนาที่ในการจัดเตรียมขอมูล และดําเนินงานตางๆ ดังตอไปนี้ เพื่อใหงาน ออกแบบและกอสรางงานตามโครงการดําเนินไปดวยความเรียบรอย


Professional Practices INT 470

22

การจัดเตรียมโครงการ เจาของงานจะจัดเตรียมโครงการและวัตถุป ระสงคของงานกอสรางที่จะใหนักออกแบบภายในและมัณฑนากร ดําเนินการออกแบบ ซึ่งอยางนอยที่สุดจะตองประกอบดวยขอมูลและรายละเอียดดังตอไปนี้ 4.1.1 รายละเอียดของเจาหนาที่ และพื้นที่ใชสอยของแตละหนวยงาน 4.1.2 รายละเอียดความสัม พันธภายในหนวยงาน และระหวางหนวยงานของงานแตละหนวยงาน 4.1.3 รายละเอียดการจัดทํางบประมาณคากอสราง 4.1.4 รายละเอียดเกี่ยวกับสิทธิในการครอบครองและสภาพที่ดิน 4.1.5 รายละเอียดการสํารวจสภาพชั้นดิน 4.1.6 รายละเอียดเกี่ยวกับขอมูลและวัตถุประสงคอื่น ๆ ที่จําเปนสําหรับการออกแบบ และกอสรางงานตาม โครงการ 4.2 การใหค วามรวมมือกับนักออกแบบภายในและมัณฑนากร เจาของงานหรือผูแทนที่เจาของงานแตงตั้งจะใหความรวมมือกับนักออกแบบภายในและมัณฑนากร ในการ ตรวจเอกสารตางๆ ซึ่งยื่นเสนอโดยนักออกแบบภายในและมัณฑนากร ในการตรวจเอกสารตางๆ ซึ่งยื่นเสนอโดย นักออกแบบภายในและมัณฑนากรและพิจารณาตัดสินใจในสวนที่เกี่ยวของในเวลาอันเหมาะสมเพื่อมิใหเกิดความ ลาชากับการดําเนินงานของนักออกแบบภายในและมัณฑนากร 4.3 การขออนุญาต เจาของงานจะตองเปนผูดําเนินการขออนุญาตปลูกสรางอาคารและการขออนุญาตตางๆ จากหนวยราชการที่ เกี่ยวของ โดยนักออกแบบภายในและมัณฑนากรจะเปนผูจัดเตรียมแบบแปลน และรายละเอียดอื่นๆ เกี่ยวกับแบบ แปลนเพื่อใชในการขออนุญาต 4.4 การควบคุม ( Site Supervision ) เจาของงานมีหนาที่ในการจัดหาผูควบคุมงานกอสรางมาประจําที่สถานที่กอสราง โดยนักออกแบบภายในและ มัณฑนากรจะใหความรวมมือในการกอสรางตามระบุในขอ 2.5 4.1

5. กรรมสิทธิ์ในแบบและการลมเลิกโครงการ 5.1 กรรมสิทธิ์ในแบบและเอกสารตางๆ

กรรมสิทธิใ์ นแบบและเอกสารทั้งหมดเปนของนักออกแบบภายในและมัณฑนากร ไมวางานกอสรางในโครงการ นั้นจะดําเนินการกอสรางหรือไม เจาของงานจะนําแบบแปลนรายละเอียดของงานกอสรางนี้ไปดําเนินการกอสราง ในโครงการอื่นไมได นอกจากจะไดรับ อนุญาตเปนลายลักษณอักษรจากนักออกแบบภายในและมัณฑนากร และ นักออกแบบภายในและมัณฑนากรจะไมนําแบบแปลนรายละเอียดของงานกอสรางนี้ไปใชในโครงการอื่น นอกจาก จะไดรับ อนุญาตเปนลายลักษณอักษรจากเจาของงาน 5.2 การลมเลิกโครงการ

ในกรณีที่เจาของงานลมเลิกโครงการทั้งหมด หรือระงับโครงการโดยไมมีกําหนดเวลา นักออกแบบภายในและ มัณฑนากรมีสิทธิไดรับ คาบริการวิชาชีพเพิ่มจากที่ไดรับ ไปแลว เทากับ ผลงานที่นักออกแบบภายในและมัณฑนากร ไดดําเนินการไปแลวกอนที่ไดรับแจงเปนลายลักษณอักษรจากเจาของงาน


Professional Practices

23

INT 470

แผนผังที่ 2 ลําดับขั้นตอนการออกแบบสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป รับ Concept จากเจาของโครงการ

วาง Lay Out Plan หรือ ทัศนียภาพ

เสนอราคาคาออกแบบ เขียนแบบ

ตรวจสอบเอกสารสัญญา และเซ็นสัญญา

สรุปงานออกแบบ Plan หรือ ทัศนียภาพ และวัสดุตกแตง เขียนแบบโดยละเอียด และระบบงาน ตรวจสอบความเรียบรอยของงาน

แกไขขอบกพรอง

สงมอบงาน

สรุปผลการดําเนินงาน

เสนอราคาประมาณการรับเหมา


Professional Practices

24

INT 470

บทที่

3

การบริหารงานออกแบบสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป การศึกษาความเปนไปไดโครงการ หลังจากการไดตกลงวาจางทําการออกแบบแลัว ทางทีมผูออกแบบจะทําการศึกษาขอมูลเพื่อการศึกษา (Feasibility study) ในมิติตางๆ ทั้งทางดานทางธุรกิจและการตลาด การทองเที่ยว หลังจากนั้นจึงทําการจัดทํา รายงานผลการศึกษาความเปนไปไดโครงการ(Project feasibility case study report) ศักยภาพ จุดเดน จุดดอย แนวโนมทางการตลาดในอนาคต (Swot Analysis) โอกาสทางธุรกิจ ผลประโยชนที่จะไดรับ ความคุมคาในการลงทุน เพื่อเปนขอมูลประกอบในการพิจารณาใหทางเจาโครงการตัดสินใจการลงทุนและเตรียมแหลงเงินทุน หลังจากที่ทางเจา โครงการตัดสินใจอนุมัติใหดําเนินโครงการตอ ทางทีมผูออกแบบจะดําเนินการวิเคราะหความเปนไปไดของรูปแบบ โครงการ โดยการวางตําแหนงทางการตลาด กลุมเปาหมาย บริบททางสังคมและองคประกอบแวดลอมทางเศรษฐกิจ ตลอดจนวิเคราะหโรงแรมขนาดยอมในสถานที่ใกลเคียง คูแขงทางธุรกิจ อื่นๆ ที่สอดคลองกับแรงบันดาลใจของ ผูออกแบบ เพื่อนํามาเปนแนวทางในการสรางสรรครูปแบบของโครงการ ซึ่งทีมผูออกแบบจะทําการศึกษาขอมูลการกอสรางรูปแบบอาคารและการจัดการวางเคาโครงการออกแบบราง ขั้นตนโดยอางอิงและคลอยตามกับแบบทางสถาปตยกรรม และวิศวกรรมทุกระบบ โดยเสนอแนะและจัดวางตําแหนง อุป กรณที่มีความสัมพันธกับงานวิศวกรรมและงานออกแบบภายใน เชน ระบบไฟฟาและแสงสวาง ระบบปรับอากาศ และระบายอากาศ โดยมีขอสรุป แนวทางการออกแบบสถาปตยกรรมอาคารโรงแรม หลัก ๆ ดังตอไปนี้ 1. ขอพิจารณาเกี่ยวกับ ที่ดินที่จะใชกอสราง 1.1 ตรวจสอบวาในบริเวณดังกลาวมีกฎกระทรวง , เทศบัญญัติ หรือขอบัญญัติ กําหนดบริเวณหาม กอสราง ดัดแปลง ใชหรือ เปลี่ยนการใชอาคารบางชนิดหรือบางประเภทหรือไม และอาคารที่ทานจะกอสราง มี ขอหามหรือหลักเกณฑอยางไรบาง 1.2 ตรวจสอบวาในบริเวณดังกลาวมีกฎหมายของหนวยราชการอื่นที่หามกอสรางหรือมีขอกําหนดใน การกอสรางอาคารนอก เหนือจาก พ.ร.บ.ควบคุมอาคารหรือไม เชน บริเวณเขตปลอดภัยในราชการทหาร , บริเวณเขตปลอดภัยในการเดินอากาศ , ขอกําหนด 2. แนวรนของอาคาร 2.1 มิใชอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษ ตองรนแนวอาคารหางเขตถนนสาธารณะดังนี้


Professional Practices INT 470

25 2.1.1 อาคารกอสรางริมถนนสาธารณะที่มีความกวางนอยกวา 10 เมตร ตองรนแนวอาคาร หางจากศูนยกลางถนน สาธารณะ ไมนอยกวา 6 เมตร 2.1.2 อาคารกอสรางริมถนนสาธารณะที่มีความกวางตั้งแต10เมตรขึ้นไปแตไมเกิน20เมตร ตองรนแนวอาคารหางจากเขต 2.1.3 อาคารกอสรางริมถนนสาธารณะที่มีความกวางเกินกวา 20 เมตร ตองรนแนวอาคาร หางจากเขตถนนสาธารณะอยาง นอย 2 เมตร 2.3 ตองมีที่วางอันปราศจากหลังคาหรือสิ่งปกคลุมไมนอยกวารอยละ 30 ของพื้นที่ดิน 3. ความสูง 3.1 ความสูงของอาคาร 3.1.1ความสูงของอาคารไมวาจากจุดหนึ่งจุดใดตองไมเกินสองเทาของระยะราบโดยวัดจาก จุดนั้นไปตั้งฉากกับ แนว สองเทาของระยะราบที่ใกลที่สุดจากจุดนั้นไปตั้งฉากกับ แนวเขตถนน สาธารณะดานตรงขามของสายที่กวางกวาและความยาวของอาคาร ตามแนวถนนสาธารณะที่แคบ กวาตองไมเกิน 60 เมตร 3.2 ระยะดิ่งระหวางพื้นถึงพื้นตองไมนอยกวา 2.6 เมตร 4. จํานวนที่จอดรถยนตตามกฎกระทรวงฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2517) 4. 1 กรณีมีพื้นที่อาคารรวมเกิน 1,000 ตารางเมตร และมีความสูงเกิน 15 เมตร หรือมีพื้นที่อาคารรวม ทุกชั้นเกิน 2,000 ตารางเมตร ใหมีที่จอดรถยนตไมนอยกวา 1 คันตอพื้นที่อาคาร 120 ตารางเมตรเศษของ 120 ตารางเมตรใหคิดเปน 120 ตารางเมตร กรณีตามขอ 4.1 หรือ ขอ 4.2 เทียบกับ ขอ 4.3 ใหถือวาอาคารตองจัดที่ จอดรถยนตจํานวนที่มากกวาเปนเกณฑ 5. ระบบบําบัดน้ําเสีย ตองมีคุณภาพน้ําทิ้งตามมาตรฐานคุณภาพน้ําทิ้งของกฎกระทรวงฉบับที่ 51 (พ.ศ.2540) ออกตามความในพระ ราช บัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 6. ระบบปองกันอัคคีภัย 6.1 กรณีอาคารที่กอสรางไมเขาขายเปนอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษใหติดตั้งบันไดหนีไฟ และอุปกรณเกี่ยวกับการ ปองกันอัคคีภัยตามกฎกระทรวงฉบับที3่ 9(พ.ศ.2537)กฎกระทรวงฉบับที4่ 7(พ.ศ. 2540)และกฎกระทรวงฉบับที5่ 5(พ.ศ.2543)และประกาศ กรุงเทพมหานครเรื่องขอกําหนดลักษณะแบบของ บันไดหนีไฟและทางหนีไฟทางอากาศของอาคาร พ.ศ. 2531

ในการออกแบบโครงการตางๆ นอกงานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป ทางทีมผูออกแบบยังได คํานึงถึงรายละเอียดของสวนประกอบตางภายในโครงการเพื่อความสมบูรณแบบ ผูออกแบบจะตองวางแนวคิดและ ออกแบบครอบคลุมไปถึงงานออกแบบภูมิทัศนและสวน (Landscape and Garden) งานออกแบบศิลปะและสิ่งของ ประกอบกาตกแตง (Art object and Presentation) งานออกแบบสัญลักษณ (Hotel Logo ) งานออกแบบกราฟฟคตาง Graphic Design) งานออกแบบปายสัญลักษณและปายบอกทางตางๆ (Signage) รวมไปถึงชุดเครื่องแบบพนักงาน ตางๆอีกดวย เพื่อความกลมกลืนผสมผสานไดอยางลงตัว ดวยผูออกแบบจะตองใหความสําคัญกับ ความเปนเอกภาพ ขององคกรซึ่งตองพิถีพิถันในบริบทตางๆของบุคลิกภาพและอัตลักษณของโรงแรม


Professional Practices INT 470

26

นอกจากนั้นยังจัดทําตัวอยางการทําสีการใชวัสดุพื้นผิวและวัสดุป ระกอบการตกแตง ที่ใชในการประดับ ตกแตงบริเวณสวนตางๆของโรงแรมเสริมสรางบรรยากาศและเอกลักษณของโรงแรมใหดูสดชื่น และแขกผูเขาพักเกิด จินตนาการและอารมณสุนทรียะตลอดระยะเวลาในการใชบริการของโรงแรม โดยการนําเสนอและควบคุมการตก แตงงานศิลปวัตถุและของประกอบการตกแตง เชน รูปภาพ ประติมากรรม แจกัน ตนไมและกระถางตนไม

ขั้นตอนการจัดทําเอกสารการออกแบบกอสราง (Construction Document) การออกแบบรางและการเขียนแบบสถาปตยกรรมภายในเกี่ยวเนื่อง แบงเนื้อที่การใชสอยและการจัดวางผัง เพิ่มเติมตามความเหมาะสม ออกแบบตกแตงสวนตางๆตามผังการใชเนื้อที่ ทั้งแบบแปลนการจัดวาง สวนพื้น ผนัง เพดาน รวมทั้งประตูหนาตางภายในทั้งหมด โดยในระหวางดําเนินการกอสรางงานสถาปตยกรรมโครงสรางและฐานราก อาคารไปสักระยะหนึ่ง ทางผูออกแบบจะออกเอกสารการกอสรางเปนแนวทางการจัดเตรียมงานเพื่อรองรับ การกอสราง การตกแตงภายในโครงการ โดยการแสดงเปนแบบสถาปตยกรรมมัณฑนศิลปสําหรับ งานโครงสรางและงานวิศวกรรม (Architectural information) แสดงตําแหนงงานระบบไฟฟา ระบบปรับอากาศ สุขาภิบาลและรายละเอียดงานกอสราง ตกแตงและงานระบบเทคนิคตางๆที่เกี่ยวของทั้งหมด ไปพรอมกับการออกแบบแปลนวางผังเฟอรนิเจอร ออกแบบ เฟอรนิเจอรทั้งชนิดเคลื่อนที่และติดตั้งกับ โครงการ รายการเฟอรนิเจอรสั่งซื้อสําเร็จรูป จัดทําตัวอยางการทําสีการใช วัสดุพื้นผิวและวัสดุประกอบการตกแตง รวมทั้งรายละเอียดและขอกําหนดตางๆในการกอสราง งานตกแตงรวมถึง รายละเอียดของวัสดุและอุป กรณที่ใชในโครงการทั้งหมดจัดเตรียมการประกวดราคาและรายละเอียดประกอบแบบการ กอสรางทั้งหมด และสามารถใหคําแนะนําในการคัดเลือกผูรับเหมาการกอสรางงานสถาปตยกรรมและมัณฑนศิลป ตลอดจนใหคําปรึกษาในการจัดหาผูรับเหมางานระบบและการจัดซื้อวัสดุอุปกรณผลิตภัณฑตางๆ

ขั้นตอนการตรวจงานและควบคุมคุภาพงานกอสราง (Site supervision) หลังจากผูออกแบบการจัดทําเอกสารและแบบการกอสรางงานสถาปตยกรรมและมัณฑนศิลปและเรียบรอย แลวเสร็จ จึงทําการประมาณราคาคากอสรางทั้งหมดโดย พรอมทั้งประเมินราคากลางคากอสรางทั้งงาน สถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปเพื่อเปนมาตรฐานในการเปรียบเทียบราคาเสนอราคาคากอสรางงานในการประมูล งานของผูรับเหมาตางๆ จึงทําการจัดเตรียมการประกวดราคาคากอสรางงานตกแตงและใหคําแนะนําชี้แจงรายละเอียด ของแบบแกผูเขารวมประมูลงานกอสราง ตรวจสอบ ประสานงานและดําเนินการการกอสรางงานตกแตงภายใน (Site Inspection & Installation) ตรวจสอบการปฏิบ ัติงานของผูรับจางกอสรางใหเปนไปตามรูป แบบ เพื่อใหงาน กอสรางดําเนินไปดวยความเรียบรอยจนแลวเสร็จ ตามระยะเวลาของแตละโครงการ เมื่อไดทําการตกลงวาจางผูรับ เหมาหลักทั้งงานสถาปตยกรรมโครงสราง งานระบบตางๆ งานตกแตงภายใน รวมทั้งงานประกอบการตกแตงๆและวัสดุอุปกรณผลิตภัณฑตางๆภายในโรงแรม ผูออกแบบจะทําการตรวจสอบการ ปฏิบัติงานของผูรับ จางกอสรางใหเปนไปตามรูปแบบ เพื่อใหงานกอสรางดําเนินไปดวยความเรียบรอย โดยติดตามผล การทํางานทั้งที่สถานที่กอสรางเปนและโรงงานระยะ ตามความคืบหนาและสถานการณ ซึ่งในระยะกอสรางชวง 6 เดือนแรก จะเปนของงานฐานรากและโครงสรางสถาปตยกรรม จะทีมผูออกแบบ จะตองเดินทางไปตรวจงานที่สถานที่กอสรางโครงการเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อตรวจสอบความคืบหนาของสถานะภาพหนา ไซดงาน พรอมทั้งรวมประชุมสวนงานและผูเกี่ยวของตางๆรวมทั้งทีมเจาของโครงการ โดยจะฟงสรุปผลการดําเนินงาน


Professional Practices INT 470

27

และประสานงานกับทุกหนวยงานเพื่อจัดเตรียมการกอสราง โดยกําหนดแผนงานการกอสรางและระยะเวลา ตอบ ปญหาทางดานเทคนิคดานการออกแบบ แกไขปญหาขอขัดแยงอันเกิดขึ้นระหวางการดําเนินการที่เกี่ยวเนื่องกับ รายละเอียดของแบบ เพื่อใหแนใจวาทําถูกตองตามแนวคิดที่ไดกําหนดไว โดยสรุปผลการดําเนินงานและจัดทํา รายงานแสดงขอแกไขในงานตางๆที่อาจไมเหมาะสมและตรงกับที่ไดระบุไวในแบบ ในระยะกอสรางชวง 6 เดือนตอมา ทีมผูออกแบบจะตองเดินทางไปตรวจงานที่สถานที่กอสรางโครงการเดือน ละ 2 ครั้งหรือสัป ดาหเวนสัปดาห เพื่อสํารวจและตรวจสอบรวมทั้งการหาขอมูล ใหเปนไปตามหลักเกณฑประกอบการ ตรวจสอบรูป แบบ โดยกํากับ ผูรับเหมาใหดําเนินงานตามรายละเอียดประกอบแบบกอสราง ตรวจติดตามและทํา รายงานความคืบหนาของงานกอสรางทุกระยะ รวมทั้งตรวจเช็คอุป กรณป ระกอบภายในอาคาร การอนุมัติใหใชวัสดุ อุป กรณและแบบขยายการกอสรางที่มีการเปลี่ยนแปลงจากแบบตามที่ระบุ ตรวจสอบระบบตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับงาน ตกแตงภายในอาคาร การตรวจสอบพื้นที่และอุปกรณ เพื่อความปลอดภัยภายในอาคาร และจัดทํารายงานความ คืบหนาและปญหาในการกอสรางโดยละเอียดตลอดระยะเวลากอสราง ทั้งนี้ในระยะนี้จะเริ่มมีงานโครงสรางที่ทับ ซอนเกี่ยวเนื่องกับงานสถาปตยกรรมภายในและงานตกแตงที่ตองคอย สรุป ขอขัดแยงและผสมผสานรอยตอระหวางงานอยางใกลชิด เพื่อใหงานตางๆมีความตอเนื่องและกลมกลืนกัน อยางเชน ชนิดวัสดุพื้นผิว ลวดลายประดับ ระยะพื้นที่โครงสรางที่จะมีงานตกแตงหรือเฟอรนิเจอรติดตายมาติดตั้งตอไป รวมทั้งระบบไฟฟาและสุขาภิบาลซึ่งตองประสานกับงานตกแตงภายในหรือเกี่ยวของกับงานอื่นๆ ซึ่งตองมีการจัดเตรียม หรือปรับแบบรอไวกอนเปนสิ่งที่ตองคํานึงและใหความสนใจเปนพิเศษ ในกรณีที่มีการผลิตจากโรงงานของผูรับเหมางาน นั้นๆ เชน งานเฟอรนิเจอรติดผนัง งานประติมากรรมประดับ ตกแตง งานสุขภัณฑสั่งทําพิเศษ เปนตน ในระยะกอสรางชวง 3 เดือนสุดทายกอนถึงระยะเวลาสิ้นสุดโครงและเปดดําเนินธุรกิจ ทีมผูออกแบบหรือผู ควบคุมงานของบริษัท จะตองเดินทางไปตรวจงานที่สถานที่กอสรางโครงการทุกสัปดาห รวมแกไขปญหาทั้งทางดาน บริหารและเทคนิคการกอสราง พรอมใหคําแนะนําในการแกไขปรับปรุงของพื้นที่นั้นๆและจัดเตรียมความพรอมระบบ ตางๆกับ ผูเกี่ยวของทุกฝาย ในขั้นตอนนี้จะเปนระยะเวลาที่ตองเรงรัดเอาใจใสงานทุกอยาง เปนระยะที่งานทุกอยาง เกือบเสร็จสมบูรณพรอมใหทางฝายบริหารงานของโรงแรมมาศึกษารายละเอียดตางๆและเซ็ตอุปกรณสําหรับการเปด ดําเนินการ เมื่อโครงการไดดําเนินการแลวเสร็จทั้งหมด จะตองมีการกําหนดขั้นตอนสุดทายในการตรวจรับงานจึงจะถือวา โครงการสําเร็จสมบูรณแบบ โดยผูออกแบบจะการรวมตรวจรับงานในแตละชวงตามสัญญาเพื่อใหเจาของโครงการ ทราบถึงปริมาณงานและคุณภาพของงานของผูรับเหมาตางๆ ตรวจเช็คความบกพรองของงานกอสรางกอนและหลังการ สงมอบตรวจสอบเพื่อใหการดําเนินการเปนไปอยางถูกตองตามรูปแบบ และขอกําหนดของผูออกแบบ ตรวจสอบวัสดุ อุป กรณตาง ๆ ใหเปนไปตามมาตรฐานของผูผลิต ตรวจสอบความสัมพันธกับ งานดานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ เพื่องายตอการ ประเมินผลและงานบํารุงรักษา ตรวจสอบความเรียบรอยสามารถใชงานไดตามวัตถุประสงค รวบรวมคูมือการใชงาน และบํารุงรักษาอุปกรณตางๆ เพื่อสงมอบใหเจาของโครงการ รายงานสรุป ผลการตรวจสอบผลการใชงานและ บํารุงรักษา จัดทํารายงาน งานเพิ่ม ลด ของผูรับเหมากอสราง จัดทําแบบรายละเอียดตามการกอสรางจริงใหเจาของ โครงการเพื่อออกเอกสารรับ รองผลของการตรวจสอบ


Professional Practices

28

INT 470

บทที่

4

ความรูพื้นฐานทางธุรกิจ* ความหมายและความสําคัญของธุรกิจ ธุรกิจ (Business) หมายถึง กระบวนการของกิจการทางเศรษฐกิจที่สัมพันธเปนระบบและอยางตอเนื่องดาน การผลิต การซื้อขายแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับ สินคาและบริการ โดยมีจุดมุงหมายที่จะไดกําไรหรือผลตอบแทนจากกิจกรรม นัน้ สรุป วาการประกอบธุรกิจ คือความพยายามที่เปนแบบแผนของผูป ระกอบการ ในการผลิตและขายสินคาหรือ บริการเพื่อตนเอง ความตองการของสังคมโดยมุงหวังผลกําไร และมีความเสี่ยงในผลขาดทุน กิจกรรมใดก็ตามที่ทําให เกิดสินคาและบริการขึ้นและมีการแลกเปลี่ยนซื้อขายกันและมีวัตถุป ระสงคจะไดประโยชนจากการกระทํากิจกรรมนั้น คือ มีการผลิตสินคาหรือบริการ 2. มีการซื้อขาย แลกเปลี่ยน จําหนายและกระจายสิน คา 3. ประโยชนจากกิจกรรม (กําไร) สินคา (Goods) คือสิ่งของที่มีตัวตน มองเห็น จับตองไดแก เสื้อผา อาหาร สิ่งของ เครื่องใชตาง ๆ บริการ (Services) คือสินคาที่ไมมีตัวตน มองไมเห็น จับตองไมได มีการกําหนดราคาซื้อขายกัน ไดแก การขนสง บริการดาน การติดตอสื่อสาร การโฆษณา ประชาสัมพันธ บริการของโรงแรม ภัตตาคาร บริการการทองเที่ยว สถานเริงรมณ บริการซอมแซม ซักรีด บริการดานการเงิน เปนตน ดังนั้น อาจกลาวไดวา กิจกรรมใดที่มีจุดมุงหมายเพื่อใหไดกําไร (Profit) ถือวาเปนธุรกิจ เชน บริษัท หาง ราน ตลอดจนรัฐวิสาหกิจตาง ๆ การดําเนินของรัฐ เชน การปองกันประเทศ การสรางถนนหนทาง โรงเรียน โรงพยาบาล และอื่น ๆ ไมถือวาเปนธุรกิจเพราะมิไดมีจุดมุงหมายดานกําไร แตเปนการใหบริการแกประชาชนโดยมี จุดมุงหมายใหป ระชาชนมีความเปนอยูที่ดีขึ้น 1.

ความสําคัญของธุรกิจ พอสรุปไดดังนี้ 1. 2. 3. 4.

ธุรกิจชวยใหเศรษฐกิจของชาติมีความเจริญกาวหนาและมั่นคง ธุรกิจทําใหประชาชนมีมาตรฐานการดํารงชีวิตที่ดีขึ้น ธุรกิจทําใหรัฐมีรายไดเพิ่มขึ้น ธุรกิจชวยแกปญหาทางสังคม


Professional Practices

29

INT 470

5.

ธุรกิจทําใหเกิดความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี

หนาที่ในการประกอบธุรกิจ (Business Functions) แบงเปนประเภทใหญ ๆ ไดคือ 1. กิจกรรมดานการผลิต คือกิจกรรมที่ทําใหเกิดสินคาหรือบริการประกอบดวย การจัดตั้งสถานที่ประกอบการ การติดตั้งเครื่องมือเครื่องจักร การจัดซื้อวัตถุดิบ การดําเนินการผลิต การเก็บรักษาวัสดุตาง ๆ ในโรงงาน 2. กิจกรรมดานตลาด คือกิจกรรมที่ทําใหสินคาหรือบริการที่ผลิตเสร็จไปถึงมือผูบริโภค ไดแก การซื้อ การ ขาย การเก็บรักษา การโฆษณา การหีบหอ การสงเสริม การจําหนาย 3. กิจกรรมดานการเงิน ไดแก การจัดหาเงินทุน การเก็บ รักษาและการใชเงินทุนอยางมีประสิทธิภาพ4. กิจกรรมเสริม เปนกิจกรรมคอยปรับปรุงและประสานงานเพื่อชวยเสริมความสะดวกสบายของหนวยงาน ไดแก การบุ คลาการ การจัดการทั่วไป การคาดคะเน การบันทึกรวบรวมขอมูลตาง ๆ เปนตน

หนาทีข่ องธุรกิจ การประกอบธุรกิจนั้นผูประกอบการจะตองทําหนาที่ตาง ๆ เพื่อใหธุรกิจดําเนินไปไดดวยดี ธุรกิจมีหนาที่ตาง ๆดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

การผลิตสินคา ธุรกิจอาจเลือกผลิตสินคาหลายชนิด เชน ผูผลิตสินคาสําเร็จรูป\ การใหบริการ เปนธุรกิจที่อํานวยความสะดวกใหแกธุรกิจและผูบ ริโภค การจําแนกแจกจายสินคา ธุรกิจดําเนินการเกี่ยวกับ การซื้อขาย การจัดซื้อ ธุรกิจจําเปนตองมีการจัดซื้อวัตถุดิบเพื่อการดําเนินการ การเก็บรักษาสินคา ธุรกิจจะตองเก็บรักษาวัตถุดิบ และสินคาสําเร็จรูป เพื่อบริการใหแกลูกคา การจัดจําหนาย ธุรกิจมีหนาที่จัดแสดงสินคาเพื่องายตอการซื้อ การจัดการทางการเงิน ธุรกิจมีหนาที่จัดหาเงินทุนและบริหารเงินทุนที่มีจํานวนจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด การจัดทําบัญชี ธุรกิจมีหนาที่จัดทําบัญชีเพื่อเสียภาษี การทําการโฆษณาสินคา ธุรกิจมีหนาที่โฆษณาและประชาสัมพันธใหผูบริโภคไดรูจักสินคาและเกิดการ ตัดสินใจซื้อในที่สุด

ความรับผิดชอบของธุรกิจ ธุรกิจมีฐานะเปนหนวยหนึ่งของสังคม จําเปนตองมีความรับผิดชอบตอบุคคล หรือ หนวยงานที่เกี่ยวของดังตอไปนี้ 1. 2. 3. 4. 5.

ความรับ ผิดชอบตอเจาของกิจการ ดําเนินธุรกิจใหเกิดกําไรสูงสุด ความรับ ผิดชอบตอลูกคา การใหบริการลูกคาใหดีที่สุด ความรับ ผิดชอบที่ตองปฏิบัติตามกฎระเบียบของรัฐ ความรับ ผิดชอบตอลูกจาง ในดานสวัสดิการของลูกจาง ความรับ ผิดชอบตอสังคม โดยใหสังคมไดรับประโยชนตามสมควร

จุดมุงหมายของการดําเนินธุรกิจ


Professional Practices

30

INT 470

จุดมุงหมายของการดําเนินธุรกิจ คือ ตองการใหไดกําไรมากที่สุด (Maximized Profit) ซึ่งตางจากการ ดําเนินงานของหนวยราชการและองคการกุศล ซึ่งมีจุดมุงหมายในการใหบริการแกประชาชน โดยไมหวังผลตอบแทน ปจจัยที่มีอิทธิพ ลตอการประกอบธุรกิจ ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการประกอบธุรกิจสามารถแยกได 2 ลักษณะคือ 1. ปจจัยภายใน หรือทรัพยากรของธุรกิจเปนปจจัยที่ธุรกิจ สามารถสรางขึ้นและสามารถควบคุมได ไดแก  คน  เงิน  วัสดุ

(Man) (Money) (Material)

หมายถึง กําลังคน หมายถึง เงินทุน หมายถึง กระบวนการตาง ๆ เชน การวางแผน การจัดองคการ ฯลฯ

2. ปจจัยภายนอก เปนปจจัยที่ธุรกิจไมสามารถจะควบคุมกําหนดหรือเปลี่ยนแปลงได ไดแก สภาพแวดลอม ทางธุรกิจ เชน ภาวะแวดลอมทางเศรษฐกิจ กฎหมายการเมือง คูแขง เทคโนโลยี ฯลฯ ความหมายของการประกอบธุรกิจ การประกอบธุรกิจ (Business Activities) หมายรวมถึง กระบวนการประกอบการผลิตกระบวนการประกอบการ จําหนาย กระบวนการประกอบการบริหาร เพื่อใหไดถึงมือผูบริโภค ใน การประกอบธุรกิจ ผูประกอบการสามารถทําไดหลายรูปแบบเริ่มตั้งแต การจัดตั้งก็ดี การดําเนินงานก็ดี ธุรกิจแตละ ประเภทตองปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของ ประเภทของธุรกิจ แบงเปน 5 ประเภทใหญ คือ 1.

2.

3.

4. 5.

ธุรกิจการผลิต คือ ธุรกิจที่ดําเนินการแปรรูปวัตถุดิบใหเปนสินคาสําเร็จรูป เปนผลิตภัณฑที่สามารถนํามาใช อุป โภคบริโภคไดทันที เชน ธุรกิจผลิตเสื้อผา ธุรกิจผลิตรถยนต ธุรกิจผลิตวัสดุกอสราง ธุรกิจบริการ คือ ธุรกิจที่ตั้งขึ้นมาเพื่อใหบริการแกลูกคา เชน ธนาคาร การประกันภัย รานเสริมสวย สถานี บริการน้ํามัน ศูนยการคา โรงพยาบาล สถานศึกษา ธุรกิจคนกลางทางการคา คือ ทําหนาที่ชวยใหสินคาเปลี่ยนมือจากบุคคลหนึ่งไปสูอีกบุคคลหนึ่ง เชน พอคาสง พอคาปลีก เปนธุรกิจที่ตั้งขึ้นมาเพื่อทําหนาที่ซื้อสินคาจากผูผลิต แลวขายตอผูบ ริโภค เชน หางสรรพสินคา เซ็นทรัล แม็คโคร โรบินสัน บิ๊กซี พาตา มาบุญครอง ธุรกิจที่จัดหาวัตถุดิบสําหรับปอนโรงงานหรือแหลงผลิต เชน ธุรกิจเกี่ยวกับการเกษตร ธุรกิจที่เปลี่ยนวัตถุดิบเปนวัตถุกึ่งสําเร็จรูป เชน โรงงานทอผา

ประเภทของธุรกิจ การแบงประเภทของธุรกิจตามลักษณะของกิจกรรมที่ทําไดคือ 1. ธุรกิจการเกษตร (Agriculture) ผูที่ประกอบธุรกิจตนการเกษตรกรรมได แก ผูมีอาชีพทํานา ทําสวน ทําไร ประมง ปาไม ปศุสัตว


Professional Practices

31

INT 470

2. ธุรกิจเหมืองแร (Mineral) ไดแก การทําเหมืองแร ขุดเจาะนําเอา ทรัพยากรธรรมชาติตางๆ มาใชรวมถึงถานหิน หินน้ํามัน หินออน 3. ธุรกิจอุตสาหกรรม (Manufacturing) หมายถึง ผูผลิตสินคาเพื่ออุปโภคทั่วไปแบง เปน. อุตสาหกรรมในครัวเรือน ใชแรงงานจากสมาชิกใน ครอบครัว ใช วัตถุดิบทีห่ าไดภายในทองถิ่นนั้น ๆ เชน อุตสาหกรรมทอผา อุตสาหกรรมทําเครื่องจักร สาน เปนตน 4. ธุรกิจอุตสาหกรรมโรงงาน หมายถึง ผูผลิตที่ผลิตสินคาจากโรงงานมีโรงงานถาวร มีการจางงานและแรงงานจากบุคคลภายนอก มี ขบวนการผลิต มีเครื่องมือเครื่องจักรที่ทันสมัย เชน โรงงานผลิตยาสีฟน โรงงานผลิตอาหารสําเร็จรูป โรงงานผลิตเสื้อผาสําเร็จรูป เปนตน 5. ธุรกิจการกอสราง (Construction) ไดแก การปลูกสรางอาคาร ที่อยูอาศัย ถนน โรงพยาบาล การสรางสะพาน เขื่อน อุโมงค เปนตน 6. ธุรกิจการพาณิชย (Commercial) เปนธุรกิจทําหนาที่เปนผูกระจายสินคาไปสูผูบ ริโภคหรือผูใช ไดแก พอคาคนกลาง คาสง คาปลีก ตัวแทน นายหนาคาสินคาตาง ๆ 7. ธุรกิจการเงิน (Finance) 8. ธุรกิจที่ใหบริการ (Services)

รูปแบบของธุรกิจ 1. 2. 3. 4. 5.

(Forms of Business)

รานคาหรือธุรกิจคนเดียว (Sole Proprietorship) หางหุนสวน (Partnership) บริษัทจํากัด (Corporation) สหกรณ (Cooperative) รัฐวิสาหกิจ (State enterprise)

รูปแบบของการประกอบธุรกิจ ประกอบดวย 1. กิจการเจาของคนเดียว หมายถึง ธุรกิจที่เปนเจาของและดําเนินงานโดยบุคคลเพียงคนเดียวเปนรูป แบบการทําธุรกิจที่งายที่สุด ตั้งแตเริ่มตน กิจการไปจนถึงการเลิกกิจการ เพียงบุคคลเดียวการตัดสินใจที่จะประกอบธุรกิจเปนเรื่องของคนคนเดียว จึงจัดตั้งได งาย สามารถดําเนินการไดทันที ขอดี 1. 2.

เปนธุรกิจที่จัดตั้งงาย ตนทุนต่ํา กําไรของกิจการ เปนของเจาของกิจการไมตองแบงใหใคร


Professional Practices

32

INT 470

3. 4.

5.

6.

มีอิสระและความคลองตัวสูง ความตั้งใจสวนตัว ผูเปนหุนสวนสามัญจะใหความสนใจอยางจริงจังในการดําเนินธุรกิจเพราะทุกคนตอง รับผิดชอบในกรณีที่เกิดผลขาดทุน การรวมความสามารถและความรูการรวมความสามารถและความรูที่เสริมกันจะทําใหธุรกิจขยายตัว อยาง รวดเร็วและสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในดานตาง ๆไดอยางดียิ่ง จากหุนสวน ซึ่งนอยกวาธุรกิจแบบบริษัทจํากัด

ขอเสีย 1. 2. 3.

4. 5.

หนี้สินไมจํากัดจํานวน กรณีขาดทุนสุทธิ ขาดความตอเนื่อง ถาหางตองเลิกกิจการ ปญหาความขัดแยง เนื่องจากการเปนหุนสวนกัน กอใหเกิดปญหาความขัดแยง อันนําไปสูความไมไววางใจ และเลิกกิจการในที่สุด ผลประโยชนดานภาษี เสียภาษีต่ํากวาธุรกิจแบบอื่น เก็บความลับ ไดดี ไมตองแสดงงบเงินตอบุคคลภายนอกหรือหุนสวน

ขอเสีย 1. 2. 3. 4.

5.

รับผิดชอบหนี้สินไมจํากัด กรณีขาดทุนจากการประกอบการ ขาดความตอเนื่อง ความไมแนนอนของกิจการอาจเกิดขึ้นไดเสมอ ความรูความสามารถจํากัด ผูบริหารทําหนาที่ดูแลทุกเรื่องที่สําคัญเชน การเงิน การผลิต การตลาด ความสามารถในการกูยืมเงินมีขีดจํากัด ธนาคาร บริษัทเงินทุน ผูใหสินเชื่อไมนิยมใหบริการกูยืมเนื่องจากมี ความเสี่ยงสูง และกิจการเติบโตชากวาธุรกิจอื่น ลูกจางขาดโอกาสกาวหนา เพราะผูบริหารจะจัดการทุกอยางลูกนองจึงขาดโอกาสพัฒนาตัวเอง

2. หางหุน สวน คือ สัญญาซึ่งบุคคลตั้งแต 2 คนขึ้นไปตกลงกันเพื่อกระทํากิจการรวมกันดวยประสงค จะแบงผลกําไรอันพึงไดแกกิจการ ที่ทํานั้น หางหุนสวนมี 2 ชนิดคือ 2.1 หางหุนสวนสามัญ หมายถึง หางหุนสวนประเภทที่ผูเปนหุนสวนทุกคนตองรับผิดชอบรวมกัน หุนสวนประเภทนี้จะ จดทะเบียนหรือไมก็ได 2.2 หางหุนสวนจํากัด หมายถึง หางหุนสวนที่มีผูเปนหุนสวนจํากัดความรับผิดชอบเพียงไมเกินมูลคาหุนที  ่คางชําระ


Professional Practices

33

INT 470

การจัดตั้งหางหุนสวน ในการจัดตั้งหางหุนสวนจะตองมีสัญญาหรือขอตกลงระหวางผูเปนหุนสวนที่รวมลงทุนลงแรง ดําเนินกิจการ ในสัญญาหรือขอตกลงควรมีสิ่งสําคัญดังตอไปนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

ชื่อหางหุนสวน ขอความแสดงวาเปนหางหุนสวนจํากัด วัตถุประสงคของหางหุนสวน ที่ตั้งสํานักงานใหญ หรือสาขา ชื่อที่อยูกับทั้งอาชีพของผูเปนหุนสวนทุกคน ชื่อ หุนสวนผูจัดการ ถามีการแตงตั้งใหเปนผูจัดการเพียงบางคน ถามีขอจํากัดอํานาจของหุนสวนผูจัดการก็ใหลงไวดวย ตราสําคัญของหางหุนสวน

การเลิกหางหุนสวน หางหุนสวนจะเลิกไดก็ตอเมื่อผูเปนหุนสวนคนหนึ่งคนใดเสียชีวิต หรือลาออก เลิกโดย ยินยอมพรอมใจกัน ขอดี 1. 2. 3. 4.

5.

6.

กอตั้งงาย และคาใชจายต่ํา ความสามารถในการหาทุน มีหุนสวนตั้งแต 2 คนขึ้นไป การกูยืมเงินระดมทุนทําไดสะดวก ผลกําไรของกิจการ การแบงปนผลกําไรจะเปนการกระตุนใหหนส ุ วนทุกคนประกอบกิจการใหประสบผลสําเร็จ ความตั้งใจสวนตัว ผูเปนหุนสวนสามัญจะใหความสนใจอยางจริงจังในการดําเนินธุรกิจเพราะทุกคนตอง รับผิดชอบในกรณีที่เกิดผลขาดทุน การรวมความสามารถและความรู การรวมความสามารถและความรูที่เสริมกันจะทําใหธุรกิจขยายตัวอยาง รวดเร็วและสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในดานตาง ๆไดอยางดียิ่ง จากหุนสวน ซึ่งนอยกวาธุรกิจแบบบริษัทจํากัด

ขอเสีย 1. 2. 3.

4.

หนี้สินไมจํากัดจํานวน กรณีขาดทุนสุทธิ ขาดความตอเนื่อง ถาหางตองเลิกกิจการ ปญหาความขัดแยง เนื่องจากการเปนหุน สวนกัน กอใหเกิดปญหาความขัดแยง อันนําไปสูความไมไววางใจ และเลิกกิจการในที่สุด เปนการลงทุนจม การนําเงินมาลงทุนเปนเรื่องงาย แตการถอนทุนเปนเรื่องยาก เพราะติดอยูที่สัญญาในเรื่อง การลงทุน


Professional Practices

34

INT 470

3. บริษัท จํากัด แบงเปน 2 ประเภท คือ บริษัทเอกชน หมายถึง บริษัทจํากัดซึ่งจัดตั้งขึ้นตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยบัญญัติวา "อันบริษัทจํากัดนั้น คือ การที่บุคคลตั้งแต 7 คนขึ้นไปมาเขาชื่อกันและกระทําการอยางอื่นตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมาย โดยผูเปน หุนสวนจะรับผิดชอบเพียงไมเกินมูลคาหุนที่ตนถือครอง " 1.

การจัดตั้งบริษัท มีขั้น ตอนดังนี้ 1.

มีคณะผูกอตั้ง ซึ่งแสดงวัตถุป ระสงคและรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดตั้ง มีรายละเอียดดังนี้     

2.

3.

4. 5.

ชื่อบริษัทและที่ตั้งสํานักงาน วัตถุประสงคของบริษัท ถอยคําแสดงวาผูถือหุนมีความรับผิดชอบจํากัด จํานวนทุนเรือนหุน แบงเปนมูลคาหุนละเทาใด (ไมต่ํากวา 5 บาท) ชื่อสํานักงาน ลายมือชื่อบรรดาผูกอการ และจํานวนหุน

จัดใหผูเขาชื่อหุนครบจํานวนหุนทั้งหมดตามที่จดทะเบียน ระบุไวจําหนายไมนอยกวารอยละ 50 ของจํานวน หุนทั้งหมด ประชุมจัดตั้งบริษัท เพื่อตกลงเรื่องตาง ๆ เกี่ยวกับ ระเบียบขอบังคับ ของบริษัท รวมทั้งการใหสัตยาแกบรรดาผู ถือหุน รวมทั้งเลือกตั้งคณะกรรมการและกําหนดบทบาทหนาที่ แตงตั้งคณะกรรมการ รับมอบการทั้งปวงจากผูเริ่มกอตั้งบริษัท คณะกรรมการดําเนินการเรียกหุน มาชําระ ครั้งแรกไมนอยกวารอยละ 25 โดยใหธนาคารเปนผูดําเนินการ

การประกอบการแบบบริษัทจํากัด มีหุนทุน 2 ประเภท คือ 1. 2.

หุนสามัญ มีสิทธิในการบริหารกิจการ หุนบุริมสิทธิ สิทธิในการออกเสียงในที่ประชุม รับ ผิดชอบจํากัด รับสวนแบงกําไรขาดทุนกอนหุนสามัญ หุน บุริมสิทธิ มี 3 ชนิด หุนบุริมสิทธิชนิดสะสม หมายถึง ถาปใดมีผลกําไรไมพอจายเงินปนผลของผูถือหุนบุริมสิทธิ์ชนิดนี้จะ ถูกสะสมตอไปในปถัดไป หุนบุริมสิทธิชนิดไมสะสม หมายถึง ถาปใดมีผลกําไรไมพอจายเงินปนผลใหยกเลิกการจายเงินปนผล สําหรับ ผูถือหุนบุริมสิทธิชนิดนี้ หุนบุริมสิทธิชนิดรวมรับ หมายถึง ถาปใดมีผลกําไรพอหลังจากที่ผูถือหุนบุริมสิทธิไดรับ เงินปนผลตาม อัตราที่กําหนดในใบหุนแลว ยังมีสิทธิรวมรับ เงินปนผลกับ ผูถือหุนสามัญอีก

ขอดี 1.

จํากัดความรับผิดชอบในหนี้สิน


Professional Practices

35

INT 470

2. 3. 4. 5.

เพิ่มทุนไดงาย ไดผูบริหารที่มีความสามารถ เปลี่ยนมือไดงาย มีอายุการดําเนินงานยืนยาว

ขอเสีย 1. 2. 3.

4.

การกอตั้งยุงยาก การปฏิบัติตามขอบังคับกฎหมายมักกอใหเกิดการควบคุมกิจการ เสียภาษีซ้ําซอน บริษัทจะตองเสียภาษีปละ 2 ครั้ง คือจากผลกําไร และจากการที่ผูถือหุนตองจายภาษีเงินได สวนบุคคลสําหรับเงินปนผลที่ไดรับ เก็บความลับ ไมได บริษัทตองรายงานงบเงินตอบุคคลภายนอก

ธุรกิจขนาดยอม ธุรกิจขนาดยอม เปนการดําเนินธุรกิจของบุคคล หรือกลุมคนที่อาศัยความคิด แรงงาน ทุนและเวลาในการ ดําเนินงานเกี่ยวกับ การผลิต การซื้อ - ขาย การใหบริการ เพื่อหวังผลกําไร และในขณะเดียวกันก็มีการเสียงภัย ตอการ ขาดทุนดวย ลักษณะเฉพาะของธุรกิจขนาดยอม ธุรกิจมีคนงานนอยกวา 500 คน ถา มีการจดทะเบียน ซื้อเครื่องจักร อุป กรณตาง ๆ ต่ํากวา 200 ลานบาท ถาเปนการคาสงมีเงินลงทุนต่ํากวา 60 ลานบาท ประเภทของธุรกิจขนาดยอม มี 5 ประเภท 1. 2. 3.

4. 5.

ธุรกิจการผลิต เชน การเกษตร รานอาหาร โรงงาน ศิลปหัตถกรรม ธุรกิจคาสง เชน การคาสงอะไหล การคาสงเวชภัณฑ เหลา เบียร ธุรกิจคาปลีก เชน รานคาปลีกสายเดียว (จําหนายสินคาหลายอยางในรานเดียว) รานคาเฉพาะอยาง รานคา เบ็ดเตล็ด รานสรรพสินคา รานสรรพาหาร รานจําหนายสินคาสะดวกซื้อ ธุรกิจบริการ เชน ธนาคาร หอพัก โรงพยาบาล รถประจําทาง สวนสนุก สํานักงานออกแบบฯ ธุรกิจเหมืองแร เชน บอเพชร พลอย อัญมณี ถานหิน น้ํามันดิบ แรเหล็ก สังกะสี

ขอดี 1. 2. 3. 4. 5.

มีความเปนอิสระในการบริหารงานอยางเต็มที่ เพราะเจาของเปนผูตัดสินใจ ไมมีปญหาในเรื่องการแบงผลประโยชน จัดตั้งงาย สามารถควบคุมกิจการได การติดตอสื่อสารทําไดสะดวก


Professional Practices

36

INT 470

ขอเสีย 1. 2. 3. 4. 5.

ขาดแคลนเงินทุนในการประกอบการ ผูบ ริหารธุรกิจขนาดยอมยังขาดประสบการณ การจางแรงงานที่มนี ักศึกษาภาพอาจถูกแขงขันกับ ธุรกิจขนาดใหญ ขาดขอมูลที่จํานํามาใชในการวางแผน ธุรกิจขนาดยอมไมเปนที่รูจักของคนทั่วไป

ขอควรรูในการจดทะเบียนเพื่อประกอบธุรกิจ หนังสือบริคณหสนธิ หมายถึง หนังสือที่แสดงวัตถุป ระสงคในการจัดตั้งบริษัทและรวมกันลงชื่อไมนอยกวา 7 คน (ผูเริ่มกอการ) มีรายละเอียดดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ชื่อบริษัทจะตองมีคําวา "จํากัด" ไวทายชื่อนี้ดวยเสมอไป สํานักงานของบริษัทซึ่งจดทะเบียนจะตองอยู ณ ที่ใดในพระราชอาณาเขต วัตถุประสงคทั้งหลายของบริษัท คําแสดงวาความรับผิดชอบของผูถือหุนจะมีจํากัด จํานวนทุนเรือนหุนแบงออกเปนหุนมีมูลคากําหนดหุนละเทาไร ชื่อสํานักงานและลายมือชื่อของบรรดาผูเริ่มกอการทั้งจํานวนหุนทีซ่ ื้อไวแตละคน

การจดทะเบียนหนังสือบริคณหสนธิในเขตกรุงเทพมหานคร ใหยื่นขอจดทะเบียน ณ สํานักทะเบียนหุนสวน บริษัท กรมทะเบียนการคา กระทรวงพาณิชย สวนภูมิภาคจะตองจดทะเบียน ณ หอทะเบียน หุนสวน บริษัท ณ สํานักงาน พาณิชยจังหวัด การตั้งชื่อบริษัทจํากัดนั้น ตองมีคําวา "บริษัท" ไวหนาชื่อและ "จํากัด" ตอทายชื่อยกเวน ธนาคารพาณิชยใหใชคํา วา "ธนาคาร" แทนคําวาบริษัท

สถาบันทางธุรกิจ ความหมายของสถาบันทางธุรกิจ สถาบันทางธุรกิจ หมายถึง องคกรที่ดําเนินธุรกิจที่จะเอื้ออํานวยประโยชนตอธุรกิจดวยกันอยางสอดคลอง ประเภทของสถาบันทางธุรกิจ สถาบันทางการเงิน ไดแก ธุรกิจธนาคาร หมายถึง ธุรกิจที่มีหนาที่รับฝากและใหกูยืมเงิน แบงได 3 ประเภทคือ


Professional Practices

37

INT 470

 ธนาคารกลางหรือธนาคารแหงประเทศไทย เปนธนาคารที่ทําหนาที่เกี่ยวกับ ระบบการเงินของประเทศ บุคคลโดยทั่วไปไมมีสิทธิเขาไปเกี่ยวของหรือใชบริการได  ธนาคารพาณิชย เปนธนาคารที่มีความสัมพันธเกี่ยวของกับบุคคลมากที่สุดเปนแหลงเงินฝากหรือกูที่ สําคัญที่สุดของประชาชน และธุรกิจในประเทศ  ธนาคารเฉพาะ มีอยู 3 ธนาคาร คือธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร และธนาคารอาคารสงเคราะห เปนธนาคารที่รัฐตั้งขึ้นเพื่อใหความชวยเหลือประชาชนในดานตาง ๆ 1.1.2 ธุรกิจบริษัทคาหลักทรัพยและบริษัทเงินทุนหลักทรัพย หมายถึง การประกอบธุรกิจเปนเงินทุนและ หลักทรัพย จะตองทําในรูปของบริษัทจํากัด และตองไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง กระทําโดยการ ออกตราสารเครดิตในสัญญาใชเงิน เพื่อกูยืมเงินจากประชาชนไปใชในกิจการบริษัทหรือนําไปกูยืมตอ แตอยูในวงเงิน จํากัด การดําเนินงานของธุรกิจแบงออกเปน 3 ประเภทคือ  ธุรกิจเงินทุน คือ ธุรกิจการจัดหาซึ่งที่มาของเงินทุนและใชเงินซึ่งจัดหามานั้นไปประกอบกิจการอยาง ใดอยางหนึ่ง  ธุรกิจหลักทรัพย คือ การซื้อขายหรือแลกเปลี่ยนตราสารแสดงสิทธิในหนี้หรือทรัพยสิน หรือการ กระทําหนาที่เปนตัวแทนนายหนาแนะนําเกี่ยวกับการลงทุนในตราสาร  ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร คือ ธุรกิจที่ประกอบกิจการใหกูยืมเงินโดยวิธีการรับ จํานอง รับซื้อ อสังหาริมทรัพยตามสัญญาขายฝาก 1.1.3 ธุรกิจประกันภัย หมายถึง ธุรกิจที่ทําหนาที่แบงเบาภัยที่จะเกิดขึ้นกับ การดําเนินชีวิตประจําวัน หรือในการดําเนินธุรกิจ ซึ่ง อาจจะเกิดความเสียหายกับ ทรัพยสินหรือชีวิต ธุรกิจดังกลาวจะชวยเฉลี่ยความเสียหายที่จะเกิดจากภัยนั้นใหเบาบางลง ไป โดยผูเอาประกันจะตองเสียคาเบี้ยประกันในการใหบริการ 1.2 สถาบันอื่นที่เกี่ยวของ ไดแก ธุรกิจการขนสง การขนสงหมายถึง การนําสิ่งของ มนุษยหรือสัตว จากที่หนึ่งไปยังจุดหมายปลายทางอีกแหงหนึ่ง ตองมี เครื่องอุปกรณในการขนสง เชน รถยนต รถไป หรือเครื่องบิน หรือสายทอทางใดทางหนึ่ง การขนสงเปนปจจัยขั้นพื้นฐานอยางหนึ่งที่เปนรากฐานสําคัญในการพัฒนาประเทศในทางเศรษฐกิจ และเปน กิจกรรมสาธารณะอยางหนึ่งในชีวิตประจําวันของชุมชนและธุรกิจ


Professional Practices

38

INT 470

บทที่

5

ธุรกิจออกแบบตกแตงภายใน ปจจุบ ันธุรกิจออกแบบภายในมีการเจริญเติบโตตามการพัฒนาของอุสาหกรรมและเทคโนโลยี่ ที่มีความ ซับ ซอนในราบละเอียดมากขึ้น เกี่ยวกับชีวิตและความปลอดภัยของมนุษยมากขึน้ และมีผลตอสภาพแวดลอมตาม ธรรมชาติมากขึ้น มีบ ริษัทและสํานักงานออกแบบภายในมากขึน้ มีการแขงขันกันมากขึ้น สิ่งเหลานี้จึงตองมีกรอบการ ควบคุมออกมาเปนรูปแบบของกฎหมายและระเบียบหลักการ จรรยาบรรณตางๆในการประกอบธุรกิจออกแบบภายใน งานเพื่อประโยชนสูงสุดของการประกอบธุรกิจออกแบบภายในตอสังคม ธุรกิจออกแบบภายในงานเมื่อแกป ญหาความงามและสถาปตยกรรมเพื่อเสริมสรางการตกแตงภายในที่อยู อาศัยพาณิชยกรรมหรืออุตสาหกรรม ออกแบบตกแตงภายในเปนเขตใหญที่มีดานอื่น ๆ ของการตกแตงภายในที่จัดการ เชนตกแตง, ตําแหนงที่ถูกตองของบทความรักษาสมดุลระหวางรูปแบบสีโดยใชเฟอรนิเจอรขวา โดยไมคํานึงถึงสไตลที่ ไดรับ การยอมรับสําหรับหองพักก็ควรจะเห็นไดวาการออกแบบเสร็จสมบูรณแลว นักออกแบบบางคนมักจะทําตาม รูปแบบตามลักษณะระยะเวลาเชนเดียวกับ ศิลปะระหวางประเทศอินเดียและสไตลวิคตอเรีย การออกแบบอยางสมบูรณ ขึ้นอยูกับความตองการของลูกคา แตละคนควรมีความยืดหยุนในรูป แบบของตัวเอง ของตกแตงที่ใชในขณะที่การ ออกแบบจะถูกเลือกโดยทําใหรสชาติของผูอยูอาศัยในใจความรูสึกของการตกแตงภายในการออกแบบและการตกแตงมา อยางเปนธรรมชาติใหกับผูที่มีแงคิดทางศิลปะของจิตใจ พวกเขามีความคิดสรางสรรคและนวัตกรรมในรูปแบบของตัวเอง เพียงเพื่อประโยชนของเฉพาะดานบางคนการออกแบบการศึกษาในระดับ การสําเร็จการศึกษา; การตัดสินใจในเวลา ตอมาในชีวิตของพวกเขาที่จะไลตามมันเปนอาชีพ มันเปนชัดวิชาชีพเติบ โตที่มีศักยภาพในการเติบ โตมากในปตอ ๆ ออกแบบและตกแตงมีมากขึ้นเปนระบบและเปนมืออาชีพในการทํางานของพวกเขาพวกเขารูจักกันและรายละเอียดของ ขอมูลนี้ทุก โดยเนนที่การออกแบบของหองสามัญที่อาศัยอยูบริเวณหองพักและหองนอน ที่อยูอาศัยและพาณิชย มีสองประเภทคือตลาดสําหรับ การออกแบบตกแตงภายในมี ที่อยูอาศัยการออกแบบ ตกแตงภายในเนนการวางแผนและ / หรือการระบุของวัสดุตกแตงภายในและผลิตภัณฑที่ใชในหอพักเอกชน ในแงของ ขอบเขตและปริมาณงานตามสัญญางานที่อยูอาศัยมักจะมีขนาดเล็ก แตมีอัตรากําไรที่สูงขึ้นโดยเฉพาะถาคุณมีการตลาด ผลิตภัณฑที่จะใชในการออกแบบหองพัก งานพาณิชยในทางกลับกัน แตก็มักจะอยูในขอบเขตที่ใหญกวามาก แตการ เสนอราคาที่มักจะมาพรอมกับการทําสัญญาสามารถกดลงของอัตรากําไรของคุณ การออกแบบเชิงพาณิชยครอบคลุม หลากหลายรูปแบบพิเศษเชนบันเทิง (เชนภาพยนตร, ละคร, วิดีโอ, สวนสนุก, คลับ, ละครและโรงละครดนตรี); สิ่ง


Professional Practices INT 470

39

อํานวยความสะดวกการจัดการ (เชนยายสํานักงานหรือขยาย) รัฐบาล / สถาบัน (เชนสถานที่ราชการสถานทูต , พิพิธ ภัณฑ) , การดูแลสุขภาพ (โรงพยาบาลเชนพยาบาลบานสิ่งอํานวยความสะดวกการดูแลระยะยาว) การวางแผนการ จําหนายหรือจัดเก็บ (รานเชนหางสรรพสินคาหางสรรพสินคาศูนยการคาปลีก) การโรงแรมและรานอาหาร (เชนคลับ ประเทศ, โรงแรม, เรือลองเรือ) และสํานักงาน

แผนผัง 3 ตัวอยางผังองคกร ของสํานักงานออกแบบงานสถาปตยกรรม

คาใชจายเริ่มตน ธุรกิจออกแบบตกแตงภายในจําเปนตองใชเครื่องใชสํานักงานและอุป กรณพื้นฐานเชนคอมพิวเตอรโทรศัพทและ โทรสาร นอกเหนือจากการประมวลผลคํามาตรฐานและซอฟแวรกระดาษคํานวณการลงทุนในซอฟตแวร AutoCAD เพื่อนําเสนอมืออาชีพมากขึ้นมองหาโซลูชั่นการออกแบบใหกับลูกคาดวยความสมจริงแบบสามมิติ โปรแกรม AutoCAD สามารถคาใชจาย 60,000 บาท ถึง 300,000 บาท นอกจากนี้คุณยังจําเปนตองซื้อหนังสือของกลุม ตัวอยางซึ่งเปนเสนเลือดของธุรกิจออกแบบ ผูผลิตของวอลลเปเปอรสีและพรมตัวอยางการคิด ซึ่งนักศึกษาสามารถเชิย เซลลจากบริษัทผูผลิตนําตัวอยางวัสดุมาใหที่สํานักงานของเราไวเลือกออกแบบ แตละผลิตภัณฑตางๆที่แสดงในทุก ประเภทของการออกแบบและสี ลองเจรจากับตัวแทนขายของที่พวกเขาสามารถใหบ างสวนของหนังสือเหลานี้ตัวอยางได ฟรีโดยเฉพาะอยางยิ่งหากพวกเขาเห็นศักยภาพทีน่ ักศึกษาสามารถขายผลิตภัณฑของตนขณะที่คุณกําลังตัวอยาง ระมัดระวังของ บริษัท ที่จะกําหนดใหนักศึกษาตองซื้อตัวอยางไวลวงหนาเปนประจําทุกเดือน ถึงแมนักศึกษาจะไม ตองการมัน สมมติฐาน คือการที่นักศึกษาทํางานกันเพื่อใหทุกกลุมตัวอยางที่ไมไดใช  และ บริษัท วอลลเปเปอรผาขนาด ใหญโดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรับ การปฏิบัตินี้ฉาวโฉ


Professional Practices

40

INT 470

ลักษณะของนักออกแบบภายใน พันธกรณี 1.1. พันธกรณีตอสาธารณะ นักออกแบบภายในและมัณฑนากรอาจเสนอบริการขอบงตนตอบุคคลใดๆ ไดโดยการคิดคาตอบแทน คาธรรมเนียมเงินเดือน คาลิขสิทธิ์ตามมาตรฐานที่ยอมรับกันทั่วไป ในฐานะที่เปนตัวแทน ที่ปรึกษาผู แนะนําหรือผูชวย ทั้งนี้นักออกแบบภายในและมัณฑนากรตองผดุงไวซึ่งนักศึกษาธรรมแหงวิชาชีพอาง เครงครัด 1.1.2 นักออกแบบภายในและมัณฑนากรตองปฏิบ ัติหนาที่ทางวิชาชีพของตนดวยความสามารถ และจะตอง สนองตอผลประโยชนของลูกคาของตนและสาธารณะอยางถูกตอง 1.1.3 นักออกแบบภายในและมัณฑนากรตองไมโฆษณาตนเอง หรือยอมใหผูอื่นใชชื่อตนหรือผลงานของตนใน เชิงยกยอง โออวดชักจูงใหหลงผิด เวนแตจะเปนเพียงการเผยแพรดานวิชาการหรือเพื่อแสดงชื่อวุฒิ ตําแหนงที่อยูหรือสํานักงานของนักออกแบบภายในและมัณฑนากรเทานั้น รวมทั้งไมป ระกาศรับ รองสินคา ใดๆ ที่เกี่ยวของกับ งานวิชาชีพสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป 1.1.4 นักออกแบบภายในและมัณฑนากรตองปฏิบ ัตต ิ ามกฎหมายวาดวยการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพที่ ใชบังคับการประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปของประเทศ และจะตองเครารพธรรม เนียมและมาตรฐานที่กําหนดโดยองคการหรือสมาคมวิชาชีพสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปของ ทองถิ่นนั้นๆ 1.2. พันธกรณีตอลูกคา 1.2.1 นักออกแบบภายในและมัณฑนากรจะตองใหบริการทางวิชาชีพอยางมีน ักศึกษาภาพพรอมทั้งเปนตัวแทน ทางดานวิชาการ คุมครองผลประโยชนใหแกลูกคา และสิทธิ์ทั้งปวงของบุคคลตางๆ ซึ่งมีในสัญญาใหนัก ออกแบบภายในและมัณฑนากรจัดการคําแนะนํา และคําวินิจฉัยของนักออกแบบภายในและมัณฑนากร จะตองมีเหตุผลและเทีย่ งธรรม 1.2.2 การติดตอของนักออกแบบภายในและมัณฑนากร ไมวาดวยวาจา หรือเปนหนังสือหรือเปนภาพ ตองมี ความแนนอน ชัดเจน 1.2.3 นักออกแบบภายในและมัณฑนากรตองไมรับคาตอบแทนใดๆ ไมวาจะเปนผลประโยชนทางการเงิน หรือ ในทางสวนตัว เนื่องในการบริการวิชาชีพของตน จากบุคคลอื่นนอกเหนือจากลูกคาหรือนายจางนั้นๆ 1.2.4 นักออกแบบภายในและมัณฑนากรจะตองไมแสวงหาหรือตกลงรับทํางานโดยรับคาตอบแทนที่ต่ํากวา ความเหมาะสมตามนักศึกษาคาของงานที่ตนตกลงจะทําใหกับลูกคา จนเปนเหตุใหตนไมสามารถจะ ใหบริการเต็มความรับ ผิดชอบที่มีตอลูกคาของตนและตอสาธารณะ 1.1.1

1.3.

พันธกรณีตอวิชาชีพ

1.3.1

นักออกแบบภายในและมัณฑนากรตองไมกระทําการใดๆ ในลักษณะที่เปนความเสียหายตอผลประโยชน ที่ดีที่สุดของวิชาชีพ และความรวมทํางานเพื่อสงเสริมผลประโยชนขององคกรวิชาชีพของตน


Professional Practices

41

INT 470

1.3.2

1.3.3

1.3.4

นักออกแบบภายในและมัณฑนากรตองไมประทุษรายหรือพยายามประทุษรางไมวาโดยรูหรือโดยเห็นผิด หรือโดยเจตนารายตอชื่อเสียง โอกาสอันดี หรือวิธีปฏิบัติในทางวิชาชีพของนักออกแบบภายในและ มัณฑนากรอื่น นักออกแบบภายในและมัณฑนากรตองไมพยายามแกงแยงงานจากนักออกแบบภายในและมัณฑนากรอื่น ภายหลังที่ลูกคาไดตกลงวาจางนักออกแบบภายในและมัณฑนากรอื่นนั้นเปนที่แนนอนแลวนักออกแบบ ภายในและมัณฑนากรตองไมเสนอตัวเขารับงานจนกวาจะไดแจงเปนลายลักษณอักษรใหนักออกแบบ ภายในและมัณฑนากรอื่นนั้นทราบความจริง และไดรับการบอกเลาจากเจาของวาไดเลิกจางนักออกแบบ ภายในและมัณฑนากรอื่นนั้นแลว นักออกแบบภายในและมัณฑนากรไมพึงเสนอบริการของตนในการประกอบแขงขันที่ไมยุติธรรม หรือไม ไดรับการรับรองจากสมาคมฯ

พันธกรณีตอวิชาชีพที่เกี่ยวของ

1.4.

นักออกแบบภายในและมัณฑนากรตองยินดีอุทิศเวลาความสามารถ กําลังกาย กําลังทรัพยรวมกิจกรรรมตางๆ เพื่อสนับสนุนความยุติธรรม การเผยแพรแลกเปลี่ยนความรู ตลอดจนการยอมรับ และใหการสนับสนุนสงเสริม ผลประโยชนในการประกอบวิชาชีพออกแบบและวิชาชีพที่เกี่ยวของ บุคลิกภาพของนักธุรกิจ หมายถึงลักษณะทาทาง หนาตา การแตงกาย และการวางตัวซึ่งนักธุรกิจควรจะทําใหเกิดความศรัทธาและ นาเชื่อถือ ในขณะเดียวกันควรจะมีความเฉลียวฉลาดและไหวพริบ ในการดําเนินธุรกิจซึ่งบุคลิกภาพของนักธุรกิจที่ควรมี ไดแก 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

การแตงกายที่สุภาพ สะอาดตา มีอัธยาศัย ยิ้มแยม แจมใส มีความเชื่อมั่นในตนเอง เปนผูมีไหวพริบดี เปนผูฟงและผูพ ูดที่ดี เปนผูมองการณไกล มีความอดทน

จรรยาบรรณของนักธุรกิจ จรรยาบรรณ

(Ethics)

ไมใชกฎหมายแตเปนขอที่ควรปฏิบ ัติสําหรับอาชีพใดอาชีพหนึ่งเชนแพทย ไมควรเปดเผย

ความลับของคนไข เพราะผิดจรรยาแพทย เปนตน สําหรับการประกอบธุรกิจ ก็เชนกัน ผูประกอบธุ  รกิจควรที่จะแสดง ความรับ ผิดชอบตอสังคมที่เขาอาศัยอยู เชน 1.

การใหสิ่งที่ดีตอสังคม การผลิตสิ่งของที่ดีมนี ักศึกษาภาพใหกับสังคม การไมป ลอมปนสินคา ความพรอมที่จะ รับผิดชอบตอผลที่เกิดจากการใชสินคาที่ผลิตออกไป การเลือกใชวัตถุดิบที่ไมมีอันตรายในการผลิตสินคา


Professional Practices

42

INT 470

2.

3.

4.

5.

6.

ปฏิบัติตามกฎหมาย เชน กฎหมายแรงงาน ลดการเอารัดเอาเปรียบคนงาน ควรจายคาจางการทํางานและ สวัสดิการในดานการบริโภค การปฏิบัติตามกฎหมาย วาดวยการคุมครองผูบริโภคอยางเครงครัด สรางงานที่มีการจางแรงงานสูง เชน งานกอสราง งานการเกษตร งานใหบริการตาง ๆ งานเหลานี้ในแงธุรกิจ อาจใหผลตอบแทนไมสูงนัก แตเปนการชวยสังคมไมใหมีการวางงานการกําหนดราคาสินคา ไมควรกําหนดสูง ไปเพื่อหวังกําไร แตควรพิจารณาถึงความเหมาะสม การไมฉวยโอกาสขึ้นราคาสินคาในขณะที่เกิดภัยตาง ๆ ปองกันสภาพแวดลอมเปนพิษ เปนปญหาที่สําคัญมากที่สุด ในทางธุรกิจอุตสาหกรรมก็คือสิ่งแวดลอมเปนพิษ หรือเกิดมลภาวะอากาศเปนพิษ น้ําเสีย ของเสียที่ทับ ถมบนพื้นดินสภาพแวดลอมที่ดี ผูประกอบธุรกิจตอง คํานึงถึงสิ่งตาง ๆ โดยจัดระบบการจํากัดและปองกันใหเหมาะสม ใหความสนับสนุนการศึกษา ธุรกิจจะตองใหการชวยเหลือและสนับสนุนการศึกษาทั้งสถาบันการศึกษาของรัฐ และเอกชน อาจทําไดโดยการใหทุนการศึกษา กูยืมเงิน การฝกงานดูงานของนักศึกษา เชิญผูเชี่ยวชาญไป บรรยายใหนักศึกษาฟง ใหบ ริการดานสุขภาพอนามัยและนันทนาการ ควรชวยเหลือกิจการตาง ๆ และใหบริการดานตาง ๆ ของสังคม เชน ลูกเสือชาวบาน การกุศล กิจกรรมตาง ๆ

ความรับผิดชอบตอสังคมซึ่งตองปฏิบ ัติดังกลาวขางตนแลว ผูป ระกอบการทางธุรกิจ จะตองมีนักศึกษาธรรม มี ความยุติธรรม ผลิตสินคาและบริการที่มนี ักศึกษาภาพ ซื่อสัตยสุจริต ไมเอารัดเอาเปรียบสังคมอันเปนสวนรวมอีกดวย อุดมการณของนักธุรกิจ อุดมการณซึ่งนักธุรกิจพึงมี ไดแก 1. 2. 3. 4. 5.

6.

6

หมั่นประกอบการดี และประพฤติเปนคนดี ตองมีความรับผิดชอบตอสังคม โดยปฏิบัติใหสอดคลองกับ ประโยชนของคนทั่วไป ตองมีความรับผิดชอบตอหนาที่ ดํารงไวซงึ่ ชื่อเสียงและยึดถือปฏิบ ัติขอบังคับของสมาคมการจัดการธุรกิจแหงประเทศไทย ละเวนการใชอํานาจหนาที่เพื่อผลประโยชนสวนตัว แตตองปฏิบัติใหบ รรลุวัตถุป ระสงคของกิจการ โดยคํานึง ขอปฏิบัติของการจัดการที่ดี ละเวนการปฏิบัติที่มีอคติตอบุคคลอื่น ตองตระหนักถึงศักดิ์ศรีความเสมอภาคของกลุมและบุคคล

จริยธรรมนักธุรกิจในการประกอบธุรกิจ มาตรฐานการผลิตสินคา และบริการเพื่อตอบแทนตามนักศึกษาคาของการลงทุน โดยเปนธรรมตอทุกฝาย กลาวคือ ทั้งเจาของกิจการ ผูบริหาร ผูรวมงาน ผูบริโภค ผูรับบริการ รัฐบาล สังคม ซึ่งมีความสัมพันธในเชิงเศรษฐกิจ รวมกัน จริยธรรมธุรกิจไมไดหมายความเฉพาะความชอบธรรมเทานั้น แตยังหมายถึงกลไกในการจัดองคประกอบอื่น ๆ เชน คน ทรัพยากร ทุน เทคโนโลยี สังคม ฯลฯ ทั้งนี้เพื่อประสิทธิผลสูงสุดของธุรกิจ ดังนั้นหนาที่อันแทจริงของธุรกิจก็คอื การจัดหา สินคาและบริการในราคาและนักศึกษาภาพที่สังคมตองการ


Professional Practices INT 470

43

อยางมีประสิทธิภาพ โดยมีแรงจูงใจจากกําไรในการทําหนาที่ดังกลาว หนาที่ของธุรกิจจะควบคูไปกับ ความคาดหวังของ สังคมตอระบบธุรกิจ

6. จรรยา หมายถึง หลักความประพฤติที่ควรประพฤติ เชน ความเมตตากรุณา การตอนรับยินดี รูจักเสียสละ เปนตน

มรรยาท หมายถึง ขนบธรรมเนียมประเพณีที่สามารถถือเปนขอปฏิบัติที่ดีงาม


Professional Practices

44

INT 470

บทที่

6

กฎหมายและพระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคารและสิ่งกอสราง ที่เกี่ยวกับงานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป ในงานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป ซึ่งเปนวิชาชีพที่กฎหมายควบคุมตามพระราชบัญญัติสถาปนิกป 2545 ซึ่งในการทํางานออกแบบนั้นยังตองเกี่ยวพัน กับกฎหมาย,พระราชบัญญัติ กฎกระทรวงตางๆอีกหลายฉบับ ซึ่ง สถาปนิกนักออกแบบภายใน ตองออกแบบและคํานึงถึงภายใตกรอบระเบียบของทางราชการตางอยางรอบคอบรัดกุม เพราะจะมีผลตอชีวิตทรัพยสินของมนุษยและสิ่งแวดลอมอยางมาก ซึ่งมีสวนเกี่ยวเนื่องอยูหลายฉบับออกแบบงาน สถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปที่ตองศึกษาอางอิงดังนี้             

กฎหมายที่เกี่ยวของกับงานออกแบบภายในและการกอสราง พรบ.ควบคุมอาคาร 2522 พรบ.ผังเมือง พรบ.อนุรักษพลังงาน 2535 - 2538หรือ พรบ.อนุรักษพลังงาน พรบ.อาคารชุด พรบ. สภาสถาปนิก ปว.286 กฎกระทรวง พ.ศ. 2498 หรือ กฎกระทรวง ฉบับ 33 กฎกระทรวง ฉบับที่ 39 กฎกระทรวง พ.ศ. 2538 (พรบ. อนุรักษพลังงาน) ขอบัญญัติ กทม. เรื่อง อาคาร จอดรถยนต พ.ศ. 2521 ขอบัญญัติ กทม. พ.ศ. 2522 หรือ ขอบัญญัติ กทม.ประกาศ กทม. ขอกําหนดเกี่ยวกับการจัดสรร

พระราชบัญญัติและกฎหมายหลายฉบับที่เกี่ยวของกับงาน สถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปนั้น นัก ออกแบบภายในจําเปนตองใชวิจารณญาณอยางพิถีพิถันรอบคอบรัดกุม ที่จะตรวจสอบและวิเคราะหปญหาในการ ออกแบบอยางมาก ซึ่งพอจะสรุป ในสวนที่งานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป ที่พบเจอและเกี่ยวของดวยออกมา เปนเรื่องๆโดยยอพอสังเขปใหนักศึกษาไดนําไปประยุกตใชดังนี้


Professional Practices INT 470

45

บทเริ่มตนแหงความหมายของคํา โดยทั่วไปเวลาเราพูดคําวา "หองแถว" เราก็มักจะ คิดถึง รานคา อาคาร พาณิชย ที่สราง ติดๆกัน ริมถนน แตความจริงแลว ตามกฎหมาย มิไดหยุดเพียงเทานั้น กฎหมาย มีศัพท หลายตัว ที่ตอง เขาใจ เปนพื้นฐาน กอนก็คอื คําวา "หองแถว, ตึกแถว, บานแถว, บานแฝด" ดังนี้ครับ หองแถว หมายถึงอาคารที่ สรางดวยไมหรือวัสดุที่ไมทนไฟ สรางติดๆกันเปนแถวยาวๆ แลวก็แบงออก เปนคูหา ตั้งแต 2 คูหา เปนตนไป (กฎ 55 ขอ 1) ตึกแถว เหมือนกับหองแถวทุกอยาง แตสรางดวย วัสดุทนไฟ เปนสวนใหญ (กฎ 55 ขอ 1) บานแฝด บางคน ก็เรียกเปน ภาษาฝรั่ง วา Duplex House หมายถึง หองแถว หรือ ตึกแถว ที่สรางติดกันแค 2 หลัง ที่สําคัญ ก็คือ ตอง ใชเปน ที่อยู อาศัย และ ตอง มีพื้นที่ ดานขาง สวนที่ไมติดกัน โดยกําหนด อีกวาจะตองมี ทางเขาออก ของ แตละ ยูนิต แยกจากกัน ไมกําหนด จํานวน ชั้น วามีเพียง 3 ชั้น อยาง ทาวนเฮาส (กฎ 55 ขอ 1) อาคารพาณิชย คืออาคารที่ใชเพื่อ ประโยชนทาง พาณิชยกรรม, บริการธุรกิจ หรือ อุตสาหกรรม แลวก็ ให รวมถึง อาคาร ที่กอสราง หางจาก ถนนสาธารณะไมเกิน 2 0 เมตร ซึ่ง "อาจ" ใชเพื่อประโยชนในการ พาณิชยได(ตรงคํา วา "อาจ" นี่แหละ ครับ ที่จะเปน ปญหา เวลาตองไปเจออสูรกายในคราบของเจาหนาที่ทองถิ่น ) ดังนั้น.... หากตึกแถว ของ ทาน ที่จะให ประโยชน ขางตน ก็จะ ตอง ไปดู ขอกําหนด เกี่ยวกับ อาคารพาณิชย และ อุตสาหกรรม ดวยนะครับ (กฎ 55 ขอ 1) ดาดฟา หมายถึง พื้นที่ สวนบนสุดของ อาคาร ที่ไมมี หลังคา ปกคลุม และบุคคลสามารถเขาไปใชสอยได (ซึ่ง จะตางกับ Flat Roof ที่เปนแคหลังคา ที่ไมใช สอยโดยทั่วไป) ซึ่ง ดาดฟานี้ ถาไปสราง ใกลๆ กับที่ดินบุคคลอื่น (จะ กลาวรายละเอียดตอไปภายหลัง) จะตองมีผนังทึบสูงไมนอยกวา 1. 8 0 เมตร โดยรอบ และ นับ เปน สวน ของ อาคาร อีก ดวย (กฎ 55 ขอ 1 และขอ 5 0) ที่วาง หมายถึง พื้นที่ ที่ไมมีอะไร มาคลุม อีกแลว (เปนอากาศโลง ไปจนถึงเมฆ) ที่วางนี้อยากจะ เอาไปทําอะไร ก็ ไดแต หาม กอสราง อาคาร หรือ สวนของ อาคาร ที่สูงเกินกวา 1. 2 0 เมตร จะเอาไปทํา ที่จอดรถ บอน้ํา เลี้ยงยุง บอน้ํา ใช (จะลึก ทะลุไปถึง ประเทศ สหรัฐอเมริกา ก็ตามใจ) สระวายน้ํา ที่พักขยะ บอพัก น้ําเสีย หรือ อะไรก็ตามใจ อยาเขาใจ ผิด เกี่ยว กับ ที่วาง รอบอาคารสูง และ อาคาร ขนาดใหญพิเศษ 6. 0 0 เมตร วาจะทํา บอน้ําบอทาได เพราะ วาในนั้น เขาไมแค บอกวาเปน ที่วาง เทานั้น เขา บอกตอไป รวมความวา "ที่วาง ที่ รถดับเพลิง สามารถ วิ่ง ได โดยสะดวก" ตรงนี้จึง เปนที่วาง ที่เปน หลุม เปน บอไมได เพราะ รถดับ เพลิง เขาวิ่ง ไมสะดวก นะครับ (กฎ 3 3 ขอ 1, กฎ 5 0 ขอ 4 และ กฎ 55 ขอ 1) ความสูงของอาคาร ปญหา อยูที่ การวัดความสูง ของ อาคาร ในกรณีที่ มีการ กําหนด เรื่อง ความสูง วัดความ สูง ของ อาคาร กันที่ ระยะ จากระดับถนน หรือ ระดับ พื้นที่ กอสราง ขึ้นไปถึง สวน ของ อาคาร ที่สูงสุด สํารับ อาคาร ทรง จั่ว หรือ ปนหยา ใหวัดถึง ยอดผนัง ของ ชั้นสูงสุด (กฎ 5 5 ขอ 4 4) กวาง-ยาว-พื้นที่ ที่นอยที่สุดและยาวที่สุดของหองแถวตึกแถว กําหนดใหตองมีขนาดความกวาง (ตั้งฉาก)ไม นอยกวา 4. 0 0 เมตร ยาวหรือลึกก็หามนอยกวา 4. 0 0 เมตร แตจะ ลึกมากๆ ก็ไมไดกําหนด ใหลึกที่สุดไดไมเกิน 2 4. 0 0 เมตร และ ตอง มี พื้นที่ ชั้นลาง แตละ หอง (คูหา) ไมนอยกวา 3 0 ตารางเมตร ถาจะใหสรุป ความงายๆก็คือ ตอไป หองแถว ที่มี ขนาดเล็ก ที่สุด จะตอง มีขนาด ไมนอ ย กวา 4. 0 0x 7. 5 0 เมตร เพราะ มีการ กําหนด พื้นที่ชั้นลาง เอาไว ดวย (กฎ 5 5 ขอ 2) หองแถวลึกๆจะตองมี Open Court 11 % ของพื้นชั้นลาง เพื่อใหมีการ ถายเทอากาศ ที่ดี (แตถาปองกัน เพลิงไหม ไมดี ก็จะ กลายเปน ปลองเมรุเผาศพ) หลวงทานบอกวาถาตึกแถวหองแถวที่มีความลึกมากกวา 1 6. 0 0 เมตร


Professional Practices INT 470

46

จะตอง มีที่วาง ปราศจาก สิ่ง ปกคลุมที่ ระยะ ความลึกที่ 1 2. 0 0-๑ 6. 0 0 เมตร เปน Open Court ขนาดพื้นที่ ไม นอยกวา 1 0% ของพื้นที่ ชั้นลาง และ Open Court นี้จะเปน รูปทรงอะไรก็ไดครับ (กฎ 5 5 ขอ 2 วรรค 2) ความสูงของพื้นชั้นลางและกันสาดของหองแถวริมถนน แตเดิมกฎหมายก็เคย มีกําหนดไว เรื่องนี้ เหมือนกันวา พื้นชั้นลาง ของ หองแถวจะตองสูงกวาทางเทาสาธารณะไมนอยกวา 0.๑ 0 เมตร และ จะตองมี กันสาด สูง กวา ทางเทา ที่ระยะ 3. 2 5 เมตร (ที่กําหนด ไว เชนนี้ก็เพื่อ ใหกันสาด มีระดับเทาๆกันทุกหอง และ สามารถ กันแดด กัน ฝนให กับ ประชาชน เดินเทาทั่วไปได) แตกฎกระทรวงฉบับที่ 5 5 ออกมาใหมดูแปลกๆ เพราะกําหนดวาพื้นชั้นลางจะตองสูงกวาทางเทาที่ 0.๑ 0 เมตร หรือ 0. 2 5 เมตร จาก ระดับ กึ่งกลางถนน พอดิบพอดี หามขาดหามเกิน (ตอนกอสรางคงจะยุงนาดู เพราะใคร จะทราบ วาหองไหนจะปูพื้นหินแกรนิตหนาๆ หรือ หองไหนจะปูกระเบื้องยางบางๆ) คนทํา shop drawing ระวังตัว หนอยก็แลว กัน แลวถาสรางตึกแถวยังไมมีคนซื้อจะไปทราบไดอยางไรวาคนซื้อ (หรือผูออกแบบ ตกแตงภายใน) จะปูพื้นดวยอะไร .... โอย ! ยุงจริงๆ แตก็ตองทํากันไป ...เฮอ ! (กฎ 5 5 ขอ 2 วรรค 3) สวนกันสาดนั้นทานแทนที่จะบอกใหมีระยะที่เทาๆกันใหหมด เพื่อคนจนๆเดินถนนไมมีรถเบนซขี่ จะได ไมเปยก ฝน หรือ ตากแดด หัวแดง ทาน ก็กําหนดเสียใหมวา ใหมีความสูง ของกันสาด "ไมนอยกวา 3. 2 5 เมตร" ใครจะทํากัน สาดสูงที่ 1 0. 0 0 เมตร ก็ตามใจไมวากัน จะกันแดดกันฝนใหคนถนนเดินกันไดหรือเปลา ก็ชาง(หัว)คนเดินถนนไป ไม เกี่ยวกับ คนออก กฎหมาย (กฎ 5 5 ขอ 4 3) แตไมเหมือนกันนัก ในสวนของความกวาง และ ความลึก นั้น เหมือนกัน คือ ตอง ไมนอยกวา 4. 0 0 เมตร และ ลึกไมเกิน 2 4 เมตร เหมือนกัน แต ขนาด พื้นที่ ของ ทาวนเฮาส เล็กกวา เพราะ กําหนดไวเพียง 2 4 ตรม. (ของหองแถวตึกแถวบอกไวที่ 3 0 ตรม.) ทําใหขนาด ของ ทาวนเฮาส ที่เล็กที่สุด ก็คือ 4. 0 0 x 6. 0 0 เมตร (ตึกแถว 4. 0 0 x 7. 5 0 เมตร) การออกแบบ เพื่อ การอยูอาศัย และ การพาณิชย จึง แตกตางกัน (กฎ 5 5 ขอ 3) ทาวนเฮาสลึกๆก็ตองมี Open Court แตโตกวาตึกแถว เพราะของตึกแถวธรรมดากําหนดไววา ถาหอง ยาวๆ เกินกวา 1 6 เมตร จะตองมี open court ในคูหาพื้นที่ไมนอยกวา 1 0% ของพื้นที่ชั้นลาง แตหากเราเอาตึกแถว นั้น มาอยูอาศัยกลายเปนทาวนเฮาส ขนาดของ open court จะตองโตขึ้นเปน 2 0% ของพื้นที่ชั้นลาง (อยาลืมวาพื้นที่ ชั้นลางของทาวนเฮาสจะตองมีพื้นที่ไมนอยกวา 2 4 ตารางเมตร ตามที่กลาวไปแลวดวยนะ) และขอย้ําวา open court นี้จะตองเปน "ที่วาง" ที่เปดโลงทะลุเมฆ เลย จะมีหลังคาคุมแดดคุมฝนไมไดเด็ดขาด หากกลัววาแดด -ฝนจะเขาบาน คราวนี้ก็จะตองแกปญหาทางดานการ design กันเองละครับ (กฎ 5 5 ขอ 3) ตึกแถว ทาวนเฮาส ตอนนี้ หามทํา เปนแถวยาวๆ เปน ขบวนรถไฟ กฎกระทรวงฉบับที่ 5 5 ที่ออกมา ใหม การ หาม กอสรางหรือใช สอยพื้นที่ เวนวาง ระหวางแถว และ มีการกําหนด อื่นๆ อีก ไมนอย ที่เราจะตอง เริ่ม ปรับเปลี่ยน ความเคยชินที่เราใชมาตลอดหลายสิบ ป หัน มาดู กฎหมายใหม กันแลว กอนที่จะออกแบบ ศึกษา ความเปน ไปไดใน การลงทุน หรือ กอนที่จะ ขออนุญาตกอสราง (แลวโดนเจาหนาที่ ทานตีกลับ มา) ครับ อยาทําตึกแถว ทาวนเฮาสติดกันเกินกวา 1 0 หอง แตเดิมกําหนดไววาหามสรางเกินกวา 2 0 หอง (คูหา) ติดตอกัน แตตอนนี้ กฎหมาย ทานกําหนดไววา ไมใหเกินกวาแค 1 0 หองแลวนะครับ 1 0 หองนะครับ หามเกินนะครับ (กฎ 5 5 ขอ 4) อยาทําตึกแถว ทาวนเฮาสติดกันแลวมีความยาวเกินกวา 4 0 เมตร แตเดิมนั้นกฎหมายบางฉบับได กําหนดไววา หามสรางหองแถวหรือทาวนเฮาส ติดตอกัน เกินแลว วัดความยาว ไดเกิน กวา 8 0 เมตร แตตอนนี้ กฎหมายใหมกําหนดไวแค 4 0 เมตรแลว นะครับ โดย ไม คํานึงวา ขนาดความกวางของตึกแถวแตละคูหา จะเปน ขนาด


Professional Practices INT 470

47

เทาไหร เชนถา เราจะสราง ทาวนเฮาส หนากวาง แตละ คูหา 8. 0 0 เมตร เราก็สรางไดแค 5 หอง ติดตอกันเทานั้น หาก ทาวนเฮาส หนากวาง 6. 0 0 เมตร ก็สราง ไดแค 6 หองเทานั้น เพราะถาสราง 7 หองก็จะยาว รวมกัน = 4 2 เมตร ก็ เกิน กวา 4 0 เมตร ก็เปน อันวา ผิดกฎหมาย สรางไมไดครับ (กฎ 5 5 ขอ 4) สรางตึกแถวถาหางกันไมถึง 4 เมตร เขาถือวาเปนตึกแถว แถวเดียวกัน ในอดีตนั้นหลายคน เคย เลี่ยง กฎหมายในพื้นที่ที่หามสรางตึกแถว (เชนพื้นที่สีเขียว ตาม พระราชบัญญัติ การผังเมือง เปนตน) ก็เลี่ยงโดยการ สราง ตึกแถว ที่แตละคูหาแยกโครงสรางออกจากกัน และ ให หางกัน นอยๆๆๆๆ (บางแหงหางกันแค 1 0 ซม. เทานั้น) แตตอนนี้ กฎกระทรวงฉบับที่ 5 5 ได ออกมา ปองกัน ศรีธนชัย เลี่ยงบาลี ตีความ กฎหมาย แลว ครับ โดย บอกไว ชัดเจน วา "การ วัด ความยาว แถว ของ ตึกแถว ทาวนเฮาส จะวัด ระยะ จาก จุดศูนยกลาง ของ เสาสุดทาย ไมวา จะเปนเจาของ เดียวกัน หรือไม หรือ จะใช โครงสราง เดียวกัน หรือ แยกออกจากกัน ก็ตาม (กฎ 5 5 ขอ 4) ขอย้ําอีกครั้งวา แมจะแยกโครงสรางกัน แตหางกันไมถึง 4. 0 0 เมตรก็เปนตึกแถว ตรงนี้เปนกฎหมาย จริงๆนะครับ เพราะทานบอกไวชัดเจนจริงๆนะครับ วา "หองแถวหรือตึกแถวที่สรางติดตอกันไมถึง 1 0 คูหา หรือมีความ ยาวรวมกันไมถึง 4 0 เมตร แตมีชองวางระหวางแถวดานขางของหองแถวหรือตึกแถวนั้นกวางนอยกวา 4. 0 0 เมตร ไมใหถือวาชองวางนั้นเปนที่วาง ....แตใหถือวาหองแถวหรือตึกแถวนั้นสรางตอเนื่องเปนแถวเดียวกัน" (กฎ 5 5 ขอ 3 4 วรรค 4 และ ขอ 3 6 วรรค 3) วาดวยเรื่อง "ที่วาง" ของตึกแถว และ ทาวนเฮาส เรื่องที่วางเปนอีกเรื่องหนึ่งที่กฎกระทรวงฉบับที่ 5 5 อาจจะทําใหคนสับสนได เพราะตามกําหนดของกฎหมาย เดิมนั้น สวนใหญ จะเขาใจวา ที่วาง ของอาคารพักอาศัย จะตองมี ขนาด ไมนอยกวา 3 0% ของขนาดที่ดินที่กอสราง และ อาคารพาณิชย หรือ อาคารที่ไมไดพักอาศัยตองมีที่วาง ไมนอยกวา 1 0% ของขนาดที่ดินที่ใชกอสราง แตกฎกระทรวง 5 5 บอกตาง กันออกไป คือใหมีที่วาง 1 0% หรือ 3 0% ดังกลาวเปนอัตราสวนตาม พื้นที่ชั้นที่ใหญที่สุดของอาคารนั้น ดังนั้น เมื่อคํานวณกลับไปกลับมาดีๆแลวจะพบวา ที่วางตามอัตราสวนของขนาดที่ดิน ไดเปลี่ยนแปลงไปจาก 1 0% เหลือ เพียง 9. 0 9 0 9% และจาก 3 0% จะเหลือเพียง 2 3. 0 7 6 9% เทานั้น จึงเปนเรื่องแปลกที่นาแปลกใจ อีก อยางหนึ่ง ที่ไมทราบวา เปนการ พิมพกฎหมาย ผิดจาก เจตนารมณ หรือเปลา...เมื่อเปนกฎหมายแลวก็ตองใชกันไป (กฎ 5 5 ขอ 3 3) ทาวนเฮาส ตองมีพื้นที่วางมากกวา ตึกแถว เพราะตึกแถว หองแถว อาคาร พาณิชย ที่ไมไดใชเพื่อการ อยู อาศัย จะมีพื้นที่วาง 1 0% ของ พื้นที่ชั้นที่ ใหญที่สุด ของ อาคาร ( 9. 0 9 0 9% ของขนาดที่ดิน) แตถาเปนทาวนเฮาส ที่ เปน อาคาร สําหรับ การพักอาศัย จะตอง มีที่วาง 3 0% ของพื้นที่ชั้นที่โตที่สุดของทาวนเฮาส (หรือ 2 3. 0 7 6 9% ของ ขนาดที่ดิน) นะครับ (กฎ 5 5 ขอ 3 3 (๑) และ ( 2)) การถอยหางของหองแถวและตึกแถวทางดานหนา ถาดานหนา ไมติดทาง สาธารณะ ก็จะตอง ถอยจาก เขต ที่ดิน 6. 0 0 เมตร ถาแม ติดทาง สาธารณะแลว แตทาง สาธารณะ นั้น กวางนอยกวา 1 0. 0 0 เมตร ก็ตองถอยรนหางวัด จาก กึ่งกลางถนน 6. 0 0 เมตร แต ถาถนนสาธารณะนั้น กวาง 1 0. 0 0- 2 0. 0 0 เมตร ก็ตองถอยรนไมนอยกวา 1 ใน 1 0 ของความกวางถนน และ ถาถนนสาธารณะนั้นกวางใหญเกินกวา 2 0. 0 0 เมตร ก็เวน หางจาก เขตที่ดิน ไมนอยกวา 2. 0 0 เมตร ..... อยาเพิ่งงงๆ นะครับ (กฎ 5 5 ขอ 3 4 วรรค 1 และ ขอ 4๑ (๑) ( 2) และ ( 3)) วาดวยเรื่อง "ที่วาง" ของตึกแถว และ ทาวนเฮาส การถอยหางของทาวนเฮาสดานหนา ระยะการ ถอยดานหนา ของทาวนเฮาส หรือ บานแถว จะแตกตางกับ ตึกแถว ธรรมดา เหมือนกัน เพราะ กําหนดให มีที่วาง แนนอน ไมวาจะติดถนนหรือไมติดถนน โดยกําหนดไววา จะตอง มี ที่วาง ดานหนา ถอยออก ไปจาก เขตที่ดิน อยางนอย 3. 0 0 เมตร (กฎ 5 5 ขอ 3 6)


Professional Practices INT 470

48

การถอยหางจากถนนที่ไมใชทางสาธารณะตามขอ 4๑ ไมมีผลกับทาวนเฮาส บางทานอาจจะดูกฎหมาย เรื่องระยะถอยรนตามกฎกระทรวงฉบับที่ 5 5 ขอ 4๑ ที่กลาววา ถา ทาวนเฮาสนั้น อยูติดกับ ถนนสาธารณะ ที่มี ความ กวาง นอยกวา 6. 0 0 เมตร ก็จะตองถอยหางออกจากกึงกลางถนนนั้นไมนอยกวา 3. 0 0 เมตร นั้น ไมมีผลในการ ออกแบบกอสราง เพราะ ทาวนเฮาสจะตองถอยจากเขตที่ดินอยูแลว 3. 0 0 เมตร ซึ่งเปน ระยะที่ถอย มากกวา ที่ กําหนด ถอยจาก กึ่งกลาง ถนนอยูแลว (กฎ 5 5 ขอ 4๑ วรรค 1) การถอยหางทาวนเฮาสจากถนนสาธารณะตามขอ 4๑ สวนใหญก็ไมมีผลเหมือนกัน เพราะขอ 4๑ ใน วงเล็บ (๑) ( 2) ( 3) กลาวถึง อาคาร ที่สราง ติดถนนสาธารณะ ขนาด ความกวาง ตางๆ วาจะตองมีระยะถอยรนระยะ ตางๆ (อานเรื่อง การถอยรน ดานหนา ของหองแถว ตึกแถว ตามที่ ไดกลาวไปแลว) ก็ ไมมีผล กับการ ออกแบบ กอสราง ทาวนเฮาส เพราะ ระยะ ดานหนา ที่ ทาวนเฮาส ตองถอย 3. 0 0 เมตรนั้น จะมากกวาระยะที่กําหนดอยูแลว (กฎ 5 5 ขอ 4๑) ยกเวนแตวาถา..... ถนนสาธารณะนั้นมีขนาดความกวางนอยกวา 1 0. 0 0 เมตร และทาวนเฮาส นั้น สูงเกิน กวา 8. 0 0 เมตร ก็จะตองถอยจากกึ่งกลางถนนอยางนอย 6. 0 0 เมตร ซึ่ง ถนนที่ กวาง นอยกวา 6. 0 0 เมตร ก็อาจ จะตอง มีระยะ ถอยมากกวา 3. 0 0 เมตร เชนถนนกวาง เพียง 4. 0 0 เมตร และ จะปลูก ทาวนเฮาส สูงกวา 8. 0 0 เมตร ก็ตอง ถอยรน = 4. 0 0 เมตรจากเขตที่ดิน ( 6. 0 0 เมตร จากกึ่งกลางถนน) เปนตน (กฎ 5 5 ขอ 4๑ (๑)) การถอยที่กลาวไปนั้นไมไดหมายความรวมถึงระยะ Setback ( 1 : 2) เพราะ ความสูงของอาคารและ ความกวาง ของถนนนะครับ เพราะ กฎหมายทานบังคับไวดว ยไมมีการยกเวน และ จะถือวา ระยะไหนที่ถอยรนมากที่สุด เปน ระยะที่เราตองทํา ไมเชนนั้น จะเปน การออกแบบ กอสราง ที่ถูกตอง เพียงบางขอ เทานั้น(ซึ่งจะผิดกฎหมาย) เพราะ กฎหมายแตละขอมีประสงคที่แตกตางกันไปครับ (กฎ 5 5 ขอ 4 4) แตละชุดของตึกแถวและทาวนเฮาส อยาลืมเวน 4 เมตร การ เวน 4 เมตร ที่วานี้ไมไดเปลี่ยนแปลงไปจาก กฎหมายเดิมมากนัก เพราะ กฎหมายเดิมๆ ก็บอกเอาไว แตขอเรียนย้ําอีกครั้งวา ระยะ 4 เมตรนี้ จะ ตองแยก โครงสราง ออกจากกัน ทุกความยาว 4 0 เมตรหรือทุก 1 0 หองของคูหา หากเวน นอยกวานี้ (เชนเวนแค 2 เมตร) หลวงทาน ก็จะ ถือวา ตึกแถว หรือ ทาวนเฮาสนั้น ยังตอ กัน อยู เหมือนเดิม (กฎ 5 5 ขอ 3 4 วรรค 3- 4, ขอ 3 6 วรรค 2- 3) ที่วาง 4 เมตรระหวางแถว ถาเปนหองแถวหามสรางรั้ว แตเปนทาวนเฮาสเปน รั้วได เปนความนาสนใจ ของการเขียนกฎหมายในลักษณะ "นิต ิอักษรศาสตร" ที่ยึดความตามตัวอักษรเปนสําคัญ เพราะตามขอ 3 4 วรรค 4 (กฎกระทรวงฉบับที่ 5 5) กลาววา ตึกแถว หามมีรั้ว ตรงที่ดิน เวนวาง ดานขาง 4 เมตร แต ความในขอ 3 6 วรรค 2 ซึ่ง เปน เรื่อง ของ ทาวนเฮาสไมไดบอกไว ไดเคยถาม ผูรูจาก กรม โยธาธิการ และ กรุงเทพมหานคร ทานเห็น เหมือนกัน วา เปน อยางนั้น จริงๆ จะเปนขาวดีหรือขาวรายไมขอวิจารณ แตเปน ขอที่เรา ตอง ปฏิบัติ ตาม กฎหมายครับ (กฎ 5 5 ขอ 3 4 และ 3 6) ดานหลังตึกแถวตอนนี้ตองเวนวาง 3 เมตร แตเดิมตามกฎหมายเกาบอกวา ดานหลังของตึกแถว ตองเวน วางอยางนอย 2. 0 0 เมตร แตตอนนี้ กฎหมายใหม บอกไวชัดเจนแลววาหองแถว ไมวาจะมีความสูงกี่ชั้น (แมกระทั่ง เปน หองแถว ชั้นเดียว ก็อยู ในการ บังคับใช ของ กฎหมายนี)้ จะตองเวนที่ดินดานหลังใหเปนที่วาง อยางนอย 3. 0 0 เมตร เสมอ ยกเวนแตวา มีบันได หนีไฟ ดานหลัง ก็ให บันไดหนีไฟนั้นยื่นล้ําที่เวนวางไปได1. 4 0 เมตรครับ (กฎ 5 5 ขอ 3 4) ดานหลังของทาวนเฮาสเวนที่วางแค 2 เมตรก็พอแลว ในกรณีที่ ตึกแถวที่ เปน ที่พักอาศัย อยางเดียว ซึ่ง ภาษากฎหมาย เรียกวา บานแถว และ ภาษาทั่วไป เรียกวา ทาวนเฮาสนั้น การเวน ที่วาง ก็กําหนดไว เหมือน กฎหมาย


Professional Practices INT 470

49

เดิม คือตองเวนอยางนอย 2. 0 0 เมตรก็พอ (ตางกับ ตึกแถวทั่วไปที่ตองเวน 3. 0 0 เมตร ตามที่ไดกลาว มาแลว) แตหาก ทาวนเฮาสนั้นสูงเกินกวา 9. 0 0 เมตร และ มีชองเปด ก็ตองถอยหางมีพื้นที่วางอยางนอย 3. 0 0 เมตร นะครับ เพราะ กฎหมายทานบอกวา "อยางนอย" 3. 0 0 เมตร หาก ออกแบบ กอสราง ไปตรง กับ ความใน กฎหมาย ขออื่น ก็ตอง ดําเนินการ ตาม กฎหมาย ขออื่นๆ ดวย ครับ (กฎ 5 5 ขอ 3 6) ตึกแถวที่จะสรางใหม ดานขางจะตองเวน หางจากที่ดินคนอื่นอยางนอย 2 เมตร เปนกฎหมายที่ดูจะ แปลกๆอยูเหมือนกัน เพราะ ทานบอกวา ถา จะสราง ตึกแถว เราจะตอง ถอย ตึกแถว ทางดานขาง ออกจาก ที่ดิน คนอื่น อยางนอย 2. 0 0 เมตร จะ ไปสรางชิด ที่ไมได หรือ แมแต เปน ผนังทึบ ไมมี ชอง เปด ชองแสง ก็ตอง เวน 2. 0 0 เมตร เสมอ (กฎ 5 5 ขอ 3 4 วรรค 5) แตก็มีตึกแถวบางอยางที่สามารถสรางดานขางไดชิดที่คนอื่นเลย คือ.... กฎหมายทานมีรายละเอียด ขอยกเวน เอาไวสําหรับ ตึกแถวที่ "กอสราง ขึ้น ทดแทน อาคารเดิม ที่มีพื้นที่ ไม มากกวา พื้นที่ อาคารเดิม และ มีความสูง ไมเกิน 1 5 เมตร" หาก เปน การ ออกแบบ กอสรางตึกแถว ที่เปน แบบนี้ ก็สราง ชิดติดไดเลย เพราะกฎหมายอาจจะถือวา เปน การ ซอมแซม Renovation ก็ไดครับ (กฎ 5 5 ขอ 3 4 วรรค 5) ทาวนเฮาสไมเหมือนตึกแถว ดานขางสรางชิดที่ได หากใครมีกฎกระทรวงฉบับที่ 5 5 ในมือลอง เปดไปที่ขอ 3 4 และขอ 3 6 แลวพิจารณาเปรียบเทียบกัน จะพบวา วรรคสุดทาย (วรรคที่ 5) ของขอ 3 4 นั้น กลาวถึงการถอยรน ดานขางของตึกแถว แตในขอ 3 6 เปนขอที่กลาวถึงทาวนเฮาส (บานแถว) ไมมีปรากฏความ วรรคที่ 5 ใดๆที่กลาวถึงการ ถอยรนดานขางอาคารเลย ดังนั้นเมื่อไปปรึกษากับผูออกกฎหมาย และ ผูควบคุมกฎหมายแลว สรุปวา ทาวนเฮาสสามารถสรางติดชิด ที่ดิน บุคคลอื่นไดเลย แตก็ตองใหเจาของที่ดิน ขาง เคียงลงนาม ยินยอม และ หามมีชองเปด หรือหากสูงเกินกวา 1 5. 0 0 เมตรและเปนผนังทึบก็ตองถอย อยางนอย 0. 5 0 เมตร (ครึ่งเมตร) แตหากมีชองเปดก็ตองถอยรนอยาง กฎหมายขออื่นๆ กําหนดไวครับ (กฎ 5 5 ขอ 3 4, ขอ 3 6, ขอ 5 0) ออกแบบกอสรางบานแฝดใหใชสูตรถอยรน 3-2-2 บานแฝดหรือที่เรียกเปนภาษาฝรั่งวา Duplex House กฎหมายกําหนดใหมีการถอยรน มีท ี่วางไวทั้ง 3 ดานที่ไมติดกับบานอีกยูนิตหนึ่ง โดยจะตองเวนที่วางดาน หนา อยางนอย 3. 0 0 เมตรเวนที่วางดานขางและที่วางดานหลังอยางนอยดานละ 2. 0 0 เมตร (กฎ 5 5 ขอ 3 7) ออกแบบกอสรางตึกแถวหรือทาวนเฮาสตรงมุมถนน ตามความในกฎกระทรวง ฉบับที่ 5 5 ได เปลี่ยนแปลง กฎหมาย เกา บางขอ เกี่ยวกับ การกอสรางอาคาร ที่สรางอยูตรง มุมถนนสองสายที่ขนาด ไมเทากันมาตัดกัน ความ บันทึก วา "อาคารหลังเดียวกัน ซึ่งอยูที่มุมถนนสองสายขนาดไมเทากัน ความสูงของอาคาร ณ จุดใดตองไมเกิน 2 เทา ของ ระยะ ราบที่ใกลที่สุดจากจุดนั้นไปตั้งฉากกับ แนวเขต ถนนสาธารณะ ดานตรงขาม ของสายที่กวางกวา และ ความ ยาว ของ อาคาร ตาม แนวถนน สาธารณะ ที่แคบกวาจะตองไมเกิน 6 0 เมตร" (กฎ 5 5 ขอ 4 6) ขอกําหนดภายในทาวนเฮาสและตึกแถว มีขอกําหนดในกฎหมายหลายประการที่กลาวถึงหองหรือพื้นที่ ภายในของอาคารตึกแถวทาวนเฮาส ทั้งกฎหมายที่ออกใหมและกฎหมายเดิมที่บันทึกเอาไวและไมมีการยกเลิกหรือ เปลี่ยนแปลง ขออนุญาตยกมากลาว เพียงบางขอที่คิดวานาสนใจเทานัน้ อันอาจมีดังตอไปนี้ ทางเดินภายในของทาวนเฮาสและตึกแถวกวางกวาเดิม แตเดิมกฎหมายกําหนดขนาดทางเดินในอาคาร ชนิดตางๆนั้นกําหนดไวเพียงบางชนิดของอาคาร แตกฎกระทรวงฉบับที่ 5 5 มีรายละเอียดเรื่องขนาดของทางเดิน สําหรับ อาคารอยูอาศัยตองกวางอยางนอย 1. 0 0 เมตร และกําหนด อาคารพาณิชยตองมีทางเดินกวางอยางนอย 1. 5 0 เมตร


Professional Practices INT 470

50

ทั้งนี้ถาเปนอาคารอยูอาศัยรวม หอพัก อาคารสํานักงาน อาคารสาธารณะ โรงงาน อาคารพิเศษ ก็ตองมีทางเดินที่ไมแคบ กวา 1. 5 0 เมตรดวย (กฎ 5 5 ขอ 2๑) ขนาดหองนอนตองมีพื้นที่อยางนอย 8. 0 0 ตรม. แตเดิมกฎหมายกําหนดพื้นที่หองนอนไวไมนอยกวา 9. 0 0 ตรม. แตไดกําหนดใหมใหเหลือเพียง 8. 0 0 ตรม.แลว โดยยังไมกําหนดจํานวนคนที่อยูอาศัยวาเปนอยางไร (กฎ 5 5 ขอ 2 ระยะ Floor to Floor ของทาวนเฮาสและตึกแถวจะไมเทากัน แตเดิมกฎหมายเกากําหนดความสูง ระหวาง ชั้นเปน Floor to Ceiling แตตอนนี้กฎหมายกําหนดใหวัดเปน Floor to Floor (ยังไมขอวิจารณวาสมควร หรือไม อยางไร) และระยะ Floor to Floor ของทาวนเฮาสนั้นหลวงกําหนดไววาจะตองไมเตี้ยกวา 2. 6 0 เมตร สวน ตึกแถว หองแถวกําหนดไววา Floor to Floor ของชั้นลางจะตองไมเตี้ยกวา 3. 5 0 เมตร สวนชั้นสองขึ้นไปตองไมเตี้ย กวา 3. 0 0 เมตร (กฎ 5 5 ขอ 2 2) ถามีชั้น ลอย ความสูงของชั้นลอยก็วัดตาม Floor to Floor ดวย กฎหมายเดิมจะวัดความสูงจากพื้น ถึงฝาเพดาน แตตอนนี้นับ จากพืน้ ถึงพื้นอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งกําหนดไววาจะตองมีความสูงไมนอยกวา 2. 4 0 เมตร (กฎ 5 5 ขอ 2 2 วรรค 3) หองน้ําหองสวมในทาวนเฮาสและตึกแถว เปนการวัดความสูงของพื้นถึงฝาเพดาน (Floor to Ceiling) ที่กฎหมาย กําหนดให มีระยะดิ่ง ไมนอยกวา 2. 0 0 เมตร (กฎ 5 5 ขอ 2 2 วรรคสุดทาย) ระยะ Floor to Ceiling ตามกฎหมายเกาจะยังใชอยูหรือไม เ พราะวาแตเดิมการวัดความสูงของหอง เรา วัดกัน ที่พื้นถึง ฝาเพดาน แต กฎกระทรวงฉบับที่ 5 5 กลาวถึงระยะพื้นถึงพื้น ทําใหบางทานอาจมีป ญหาวาจะ บังคับ ทั้งสองอยางหรือไม เทาที่ทราบ แล ะสอบถามผูออกกฎหมายและผูดูแลกฎหมาย ใหยึดถือกฎกระทรวง 5 5 อยางเดียว ขนาดของชองเปดในหองนอน และของตึกแถวทาวนเฮาส มีกฎหมายเดิมเกี่ยวกับขนาดของชองเปด ของหองนอน ของ ทาวนเฮาส และ ตึกแถว ซึ่งไมมีการเปลี่ยนแปลงในกฎกระทรวงฉบับที่ 5 5 ดังนั้น การบังคับจึงยังมีอยู ครบถวน กฎกระทรวง เมื่อป 2 4 9 8 กลาววา "หองนอนนอนจะตองมีชองเปดประตูหนาตาง ที่เปดออกสูภายนอก ชอง เปดนั้นจะตองมีพื้นที่ไมนอยกวา 1 0% ของพื้นที่หอง" ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร (ใชเฉพาะ ก.ท.ม.) กลาววา "หองแถว ตึกแถว และอาคารพาณิชย (นาจะรวม ทาวนเฮาส อยู ดวยแลว) จะตองมีชองหนาตางหรือประตูที่เปดออกสูภายนอกไมนอยกวา 2 0% ของพื้นที่อาคาร ทุกชั้น" (กฎกระทรวง 2 4 8 9 ขอ 2 7 และ ขอบัญญัติ ก.ท.ม. 2 5 2 2 ขอ 7 7) อยาเปดประตูติดตอจากครัวไฟไปที่หองนอนหรือหองน้ําของทาวนเฮาส มีการกําหนดไวในกฎหมาย หลายแหงตั้งแตเดิม และประตูที่เปดติดตอจากหองครัวนี้ไมกําหนดเพียงอาคารพักอาศัย แตหมายถึงอาคารทุก ประเภท เลย (ขอบัญญัติ ก.ท.ม.ขอ 3 7 และกฎกระทรวง 2 4 9 8 ตาม พรบ.ควบคุมการกอสรางอาคาร ขอ 3 3) ความปลอดภัยและเรื่องของบันไดในตึกแถวและทาวนเฮาส หลังจากป 2 5 3 5 เปนตนมา กฎหมาย เกี่ยวกับความปลอดภัยในการออกแบบกอสรางอาคาร เปนเรื่องจําเปน ตั้งแต กฎกระทรวง ฉบับที่ 3 3 อันวาดวยความ ปลอดภัยของอาคารสูงและอาคารขนาดใหญพิเศษ ดังนั้นเมื่อ พิจารณา ความในกฎกระทรวงฉบับที่ 5 5 และกฎหมาย ใหมตางๆก็จะกลาวถึงความปลอดภัยอยูตลอดเวลา ในสวนที่เกี่ยวของกับอาคารประเภทตึกแถวและทาวนเฮาส(บานแถว) มีสาระบางอยางที่นาสนใจ พอ สรุป เคราๆ เพื่อเปน แนวทาง ในการ เริ่มตน ออกแบบ กอสราง ดังตอไปนี้


Professional Practices INT 470

51

ทาวนเฮาสและตึกแถวสูง 3 ชั้นตองสรางดวยวัสดุถาวรเทานั้น นอกจากกฎหมายจะกําหนดวาหามสราง บานแถวหรือทาวนเฮาสพักอาศัยสูงเกินกวา 3 ชั้นแลวก็ตาม กฎหมายยังระบุดวยอีกวา อาคารใดที่สูงตั้งแต 3 ชั้นขึ้นไป จะตองสรางดวย "วัสดุถาวรที่เปนวัสดุทนไฟ" อีกดวย (กฎ 55 ขอ 1 และขอ 1 5) ผนังของตึกแถวและทาวนเฮาสไมวาจะสรางกี่ชั้น ก็ตองสรางดวยวัสดุทนไฟเสมอ กฎหมายระบุไวชัดเจน เรื่องของผนังทนไฟและวัสดุที่ทําเปนผนังทนไฟไวดังตอไปนี้ "ผนังของตึกแถวหรือบานแถว ตองทําดวยวัสดุ ทนไฟดวย แต ถากอดวยอิฐธรรมดาหรือคอนกรีตไมเสริมเหล็ก ผนังนี้ตองหนาไมนอยกวา 8 เซนติเมตร" (กฎ 55 ขอ 1 6) นอกจากผนัง "ทนไฟ" แลว ทุก 5 คูหาของทาวนเฮาสตึกแถวจะตองเปนผนัง "กันไฟ" อีกดวย เพราะคําวา ผนัง ทนไฟหมายถึงผนังที่ไมเปนเชื้อไฟเทานั้น ไมไดหมายความวาจะเปนผนังที่กันไฟ ไมใหลามจากจุดหนึ่ง ไปยังอีกจุดหนึ่ง ได ดังนั้นกฎหมายจึงระบุลักษณะและตําแหนงของผนังกันไฟของ ทาวนเฮาสตึกแถวไววา "หองแถว ตึกแถว หรือบานแถว ที่สรางติดตอกัน ใหมีผนังกันไฟทุกระยะไมเกิน 5 คูหา ผนังกันไฟตองสราง ตอเนื่องจากพื้นดินถึงระดับ ดาดฟา ที่สราง ดวยวัสดุถาวรที่เปนวัสดุทนไฟ กรณีที่เปนหลังคา สรางดวยวัสดุ ไมทนไฟใหมีผนังกันไฟสูงเหนือหลังคาไมนอยกวา 3 0 เซนติเมตร ตามความลาดของหลังคา" (กฎ 55 ขอ 1 และขอ 1 7) เรื่องของบันไดธรรมดาทัว่ ไปของทาวนเฮาส กฎหมายระบุเรื่องขนาด จํานวนและตําแหนงของบันไดใน ทาวนเฮาสไววา ใหมีความกวางสุทธิไมนอยกวา 8 0 ซม. (กฎหมายระบุเปนความกวาง "สุทธิ" ไมใชกําหนดที่ span นะครับ) ชวงบันไดแตละชวงสูงไมเกิน 3. 0 0 เมตร ลูกตั้งไมเกิน 2 0 ซม. ลูกนอนไมนอยกวา 2 2 ซม. (ไมรวมจมูก บันได) และมีพื้นที่หนาบันไดที่มีความกวางและความยาว ไมนอยกวาความกวางบันได เชน ถาบันไดกวาง1. 0 0 เมตร ก็ ตองมีพื้นที่โลงราบกอนขึ้นบันไดขนาดไมนอยกวา 1. 0 0 x 1. 0 0 เมตร เปนตน (กฎ 5 5 ขอ 2 3) ถาบันไดทาวนเฮาสตองมีความสูงเกินกวา 3. 0 0 เมตร ตองพิจารณาเพิ่ม เพราะกฎหมายระบุไมให ระยะดิ่ง ของบันไดแตละชวงเกินกวา 3. 0 0 เมตร แตหากมีความจําเปนจริงๆที่ตองออกแบบกอสรางที่สูงเกินกวานั้น กฎหมายระบุวาจะตองมี Landing (ชานพักบันได) ทุกระยะ 3. 0 0 เมตร (หรือนอยกวานั้น) ทั้งนี้ชานพักจะตอง มีพื้นที่ กวางxยาว ไมนอยกวาความกวางบันได และเพดานของบันไดจะตองสูงไมนอยกวา 1. 9 0 เมตร (กฎ 5 5 ขอ 2 3) ตึกแถวอาคารพาณิชยกําหนดเรื่องบันไดใหปลอดภัยกวาทาวนเฮาสบานแถวตึกแถวทั่วไปจะถือวา เปน อาคารพาณิชยดวย และโดยทั่วไปแลวตึกแถวจะมีขนาดพื้นที่แตละชั้นไมเกินกวา 3 0 0 ตารางเมตร/ชั้น ซึ่งกฎหมายได กําหนดขนาดของบันไดตึกแถวอาคารพาณิชยไววา จะตองมีความกวางของบันไดไมนอยกวา 1. 2 0 เมตร(สุทธิ) ความสูง ของลูกตั้งขั้นบันไดไมเกิน 1 8 ซม. และลูกนอนไมนอ ยกวา 2 5 ซม. (ไมรวมจมูกบันได) และตองมีราวกันตกของบันได ดวย ระยะดิ่งของบันไดตึกแถวอาคารพาณิชยใหสูงไดถึง 4. 0 0 เมตร หากเปนทาวนเฮาสกฎหมายกําหนด ระยะดิ่ง ใหไมเกิน 3. 0 0 เมตร แตตึกแถวกําหนดที่ 4. 0 0 เมตร แตถาหากมีระยะไฟลท(ดิ่ง)เกินกวา 4. 0 0 เมตร ก็ ตองมี ชานพัก (Landing) ทุกระยะ 4. 0 0 เมตร โดยมีเพดานของบันไดสูงโดยตลอดไมนอยกวา 2.๑ 0 เมตร ตางกับ ของ ทาวนเฮาสที่กําหนดเพียง 1. 9 0 เมตรเทานั้น (กฎ 5 5 ขอ 2 4) ชานพักของตึกแถวอาคารพาณิชยกําหนดคลายกับทาวนเฮาส เพราะชานพักบันได หรือพื้นที่โลง กอนจะ ขึ้นบันไดกําหนดใหมีความกวางxยาว ไมนอยกวา ความกวาง ของ บันได แตมีกําหนด เพิ่มเติมวา ถาบันได มีความกวาง เกินกวา 2. 0 0 เมตร ชานพักนั้นอาจมีพื้นที่ขนาดแค 2. 0 0 เมตรก็พอ (กฎ 5 5 ขอ 2 4) บันไดเวียนของทาวนเฮาสและตึกแถวมีความคลายคลึงกัน แตระยะลูกนอนตางกัน ในกรณีที่ ไมเปน บันได ปกติ เปนบันไดที่มีแนวโคงเกินกวา 9 0 องศา จะไมมี ชานพัก บันได ก็ไดถาเปน อาคารทาวนเฮาส ก็ตองมี ความ


Professional Practices INT 470

52

กวาง เฉลี่ย ของลูกนอน ไมนอยกวา 2 2 ซม. ถาเปน ตึกแถว ก็ไมนอยกวา 2 5 ซม. โดยไมรวมระยะ ของ จมูกบันได ทั้ง สองอยาง (กฎ 5 5 ขอ 2 6) ทาวนเฮาสและตึกแถวที่สูงตั้งแต 3 ชั้นและมีดาดฟา จะตองมีบัน ไดหนีไฟ กฎกระทรวง ฉบับที่ 5 5 ได บอกขยายความสวนนี้ไดชัดเจน และ เปนการ แกกฎหมาย ทั่วประเทศ เรื่อง บันไดหนีไฟ ใหคลายกับ ขอบัญญัติ กรุงเทพมหานครเรื่องบันไดหนีไฟ ความวา "อาคารที่ สูงตั้งแต 4 ชั้นขึ้นไป และ สูงไมเกิน 2 3 เมตร หรืออาคารที่ สูง 3 ชั้นและมีดาดฟา เหนือ ชั้นที่สาม ที่มีพื้นที่เกิน 1 6 ตรม. นอกจาก มีบันได ของ อาคารตามปกติแลว ตองมี บันไดหนีไฟที่ ทําดวย วัสดุทนไฟอยางนอย 1 แหง และตองมี ทาง เดิน ไปยัง บันไดหนีไฟนั้น โดยไมมี สิ่งกีดขวาง" (กฎ 5 5 ขอ 2 7) ทาวนเฮาสและตึกแถวที่สูงไมเกิน 4 ชั้น อาจออกแบบ กอสรางบันไดหนีไฟเปน บันไดลิง ก็ได แตตองเปน ลิง ที่มี ความปลอดภัย มาก หนอย บันไดลิง ที่วา เปน บันไดลิง ที่ตองมี ชานพัก ดวยทุกชั้น และมีslope ชันๆก็ได กฎหมาย บอกรายละเอียด ดังนี้ "บันไดหนีไฟ จะตอง มีความลาดชั้น ไมเกินกวา 6 0 องศา เวนแต ตึกแถว และ บานแถว ที่สูงไมเกิน 4 ชั้น ใหมีบันไดหนีไฟ ที่มีความลาดชัน เกินกวา 6 0 องศาได (แปลวา เปน บันไดลิง ตั้งฉาก อยางที่ เรา รูจัก กันก็ได) และตอง มีชานพัก ทุกชั้น " ซึ่งการออกแบบ บันไดลิง ชนิดนี้ ไมเคยชิน เทาไร กับการออกแบบ กอสรางเดิม ของ ประเทศไทย นับ เปน ความนา สนใจ อยางหนึ่ง สําหรับ นักออกแบบ ครับ (กฎ 5 5 ขอ 2 8) พื้นทีห่ นาบัน ไดหนีไฟจะแตกตางจากพื้น ที่หนาบันไดธรรมดานิดหนอย พื้นที่หนาบันไดธรรมดาจะ บอกวา ตองมี ขนาด กวางxยาว ไมนอยกวา ความกวาง บันได ยกเวนแตวา บันได มีขนาดกวาง กวา 2. 0 0 เมตร พื้นที่ หนา บันได ก็มีขนาดแค 2. 0 0 เมตรก็พอ แตในสวน ของบันไดหนีไฟนั้น กฎหมาย กําหนดให พื้นที่ หนาบันได เปนดังนี้ "พื้นที่ หนาบันไดหนีไฟตองกวางไมนอยกวาความกวางบันได และอีกดานหนึ่งกวางไมนอยกวา 1. 5 0 เมตร" แปลวา ถาบันได ขนาด 1. 0 0 เมตร ถาเปน บันได ธรรมดา พื้นที่โลง หนาบันได คือ 1. 0 0x๑. 0 0 เมตร แตถาเปนบันไดหนีไฟ พื้นที่โลง หนาบันได นั้น ตองมี ขนาด อยางนอย 1. 0 0 x 1. 5 0 เมตร (กฎ 5 5 ขอ 2 3 และ ขอ 3 2) บันไดหนีไฟ ภายนอก ตองกวางไมนอยกวา 6 0 ซม. ในสวนของบันไดหนีไฟที่ติดตั้ง อยูภายนอก อาคาร กฎหมาย กําหนด ขนาด และ วัสดุ กอสราง ไวดังนี้ "บันไดหนีไฟ ภายนอกอาคาร ตองมี ความกวางสุทธิ ไมนอยกวา 6 0 ซม. และตองมีผนังสวนที่บ ันไดหนีไฟ พาดผานเปน ผนังทึบ กอสราง ดวย วัสดุถาวร ที่เปน วัสดุทนไฟ" (กฎ 5 5 ขอ 2 9 วรรค 1) ถาบันไดหนีไฟภายนอกอาคารทอดไมถึงพื้นชั้นลาง จะตองออกแบบบันไดพิเศษ เพราะบางครั้งการ ออกแบบ กอสราง บันได หนีไฟ ที่ดานนอก ของอาคาร ผูออกแบบเกรงวานอกจากจะใชเพื่อหนีไฟแลว บันไดนั้น อาจจะ เปนบันไดเชื้อเชิญเหลามิจฉาชีพใหเขามาในตึกดวย ดังนั้น ตามกฎหมายเดิม จึงกําหนดให บันไดนั้นสามารถหยุดไดที่ เหนือระดับ 3. 5 0 เมตร แตกฎหมายใหมบอกวา "บันไดหนีไฟ ถาทอด ไมถึง พื้นชั้นลาง ของ อาคาร ตองมีบันไดโลหะ ที่ สามารถ เลื่อนหรือยืดหรือหยอนลงมา จนถึงพื้นชั้นลางได" จึงนับ เปนการเปลี่ยนแปลง เรื่อง การ ออกแบบ บันไดหนีไฟ ในประเทศไทย ที่นาสนใจอีกอยางหนึ่งเหมือนกัน (ประกาศ ก.ท.ม. 2 5 3๑ และ กฎ 5 5 ขอ 2 9 วรรค 2) ขนาดและการระบายอากาศของบันไดหนีไฟภายในอาคาร บันไดหนีไฟภายนอกอาคารกําหนด ความกวาง สุทธิไวที่ 6 0 ซม. แตขนาด ของ บันได หนีไฟ ภายใน อาคาร กําหนดความกวาง สุทธิ ไวที่ 8 0 ซม. ซึ่งแตกตางกับ กฎหมายเดิม ที่กําหนดใหมีความกวาง span 9 0 ซม. และตองมี เพดานสูง ไมนอยกวา 1. 9 0 เมตร โดยตองมีผนังทึบ ทําดวยวัสดุถาวรทนไฟกั้นโดยรอบ (เวนแต สวนที่เปน ชองระบายอากาศ หรือ ชองหนีไฟ) ทั้งนี้ยังมีการพูดถึง การระบาย อากาศอีกดวย แตขอไมเขารายละเอียด ณ ที่นี้ เนื่องจาก พยายาม เนนเฉพาะ เรื่อง ของ ทาวนเฮาส และ หองแถวเทานั้น (ประกาศ ก.ท.ม. 2 5 3๑, กฎ 3 3 ขอ 2 3, กฎ 5 5 ขอ 3 0)


Professional Practices INT 470

53

ประตูห นีไฟของบันไดหนีไฟ บันไดหนีไฟจะตองกวางสุทธิไมนอยกวา 8 0 ซม. สูงไมนอยกวา 1. 9 0 เมตร ตองผลักออกสูภายนอกเทานั้น ตองมี door closer ที่บังคับทําใหประตูปดอัตโนมัติ หามมีธรณีประตู (กฎ 5 5 ขอ 3๑) ระยะรนจากถนนแคบๆ ขอ 41 วรรค 1 (กฏกระทรวงฉบับที่ 5 5) อาคารทุกขนาดที่ใกล-ติดทางสาธารณะที่กวางนอยกวา 6 เมตร ตองรนจาก"จุดกลางถนน"อยางนอย 3 เมตร ระยะรนทั่วไป ขอ 41 วรรค 2 (กฏกระทรวงฉบับที่ 5 5) อาคารที่สูงเกิน 2 ชั้นหรือเกิน 8 เมตร รวมถึงพวกตึกแถว ทาวเฮาส โรงงาน อาคารพาณิชย อาคารสาธารณะ โกดัง ปาย(บานที่สูงไมเกิน 2 ชั้นและเตี้ยกวา 8 เมตรไมเกี่ยว) จะตองมีการถอยรนจากแนวถนนสาธารณะ 3 แบบ แลวแตขนาดถนน (1)ถนนกวางนอยกวา 1 0 เมตร ถอยจากกลางถนนอยางนอย 6 เมตร ( 2)ถนนกวาง 1 0- 2 0 เมตร ถอยอยางนอย 1 ใน 1 0 ของความกวางถนน(จากเขตที่ดิน) ( 3)ถนนกวางกวา 2 0 เมตร ถอยอยางนอย 2 เมตร(จากเขตที่ดิน) ระยะรนจากแหลงน้ํา ขอ 4 2 วรรค 1 และ 2 (กฏกระทรวงฉบับที่ 5 5) อาคารที่สรางติดแหลงน้ําสาธารณะจะตองมีการถอยรนจากเขตน้ําสาธารณะดังนี้ ถาแหลงน้ํา(คู, คลอง, ลําประโดง, แมน้ํา ฯลฯ)กวางนอยกวา 1 0 เมตร ถอยอยางนอย 3 เมตร ถาแหลงน้ํากวางตั้งแต 1 0 เมตร ใหถอยอยางนอย 6 เมตร ถาเปนแหลงน้ําขนาดใหญเชน บึง ทะเลสาบ ทะเล (เชนกวานพะเยา อาวไทย ฯลฯ)ใหถอยรนอยางนอย 1 2 เมตร(นับที่ระดับน้ําขึ้นปกติสูงสุดประจําวัน) ยกเวน ยกเวน ยกเวน สะพาน เขื่อน รั้ว ทอระบายน้ํา ทาเรือ ปาย อูเรือ คานเรือ หรือที่วางสําหรับจอดรถ ไมตอง รน ระยะ set back ความสูงอาคาร ขอ 4 4 วรรค 1 (กฏกระทรวงฉบับที่ 5 5) ระยะ set back = 1: 2 ตอนนี้ใชทั่วประเทศแลว การวัดความสูงเพื่อ set-back ขอ 4 4 วรรค 2 (กฏกระทรวงฉบับที่ 5 5) การวัดความสูงของอาคารนั้น ใหวัดจาก"ระดับ ถนน"หรือ "ระดับพื้นที่กอสราง" ไปถึง "สวนของอาคารที่สูง ที่สุด" แตถาเปนหลังคาจั่วหรือปนหยาใหวัดถึงยอดผนังชั้นสูงสุด กําหนดความสูงของรั้ว ขอ 4 7 (กฏกระทรวงฉบับที่ 5 5) รั้วหรือกําแพงถาติดกับ ถนนสาธารณะจะสูงไดไมเกิน 3 เมตรจากระดับทางเทาหรือถนนสาธารณะ ยกเวนแต จะตองถอยออกไปมากกวา ความสูงของรั้ว ระยะหางของอาคารในที่ดินเจาของเดียวกัน ขอ 4 8 (กฏกระทรวงฉบับที่ 5 5) ถาสรางอาคารในที่ดินเจาของเดียวกันจะตองให "พื้นหรือผนัง" ของอาคารหางจากกัน โดยกําหนดตาม ความ สูงของอาคาร อาคารที่สูงไมเกิน 9 เมตร ตองหางกันอยางนอย 4 เมตร อาคารที่สูงเกิน 9 เมตร(แตไมเกิน 2 3 เมตร) หางกันอยางนอย 6 เมตร แตถาอาคาร 2 หลังเชื่อมกัน ก็จะถือวาเปนอาคารเดียวกัน หางกันเทาไรก็ไดแลวแตการ พิจารณาเชิงวิชาชีพ (ผูเขียนตีความเอง และสอบถามผูรูแลว)


Professional Practices INT 470

54

7 การถอยรนขางอาคาร ขอ 50 (กฏกระทรวงฉบับที่ 5 5) อาคารที่เปนผนังทึบถาสูงไมเกิน 1 5 เมตรอาจสรางชิดเขตที่ดินได แตตองไดรับความยินยอมจากเจาของ ที่ดิน ขางเคียง ถาเจาของที่ดินใหขางเคียงไมยินยอมก็ตองถอยจากเขตที่ดินอยางนอย 5 0 เซนติเมตร และหากอาคารสูง เกิน 1 5 เมตร แตไมเกิน 2 3 เมตร ตองถอยจากเขตที่ดินอยางนอย 5 0 เซนติเมตร ถาสูงเกินกวา 2 3 เมตร ก็ตองเวนหางอยางนอย 6 เมตร(กฏกระทรวงฉบับที่ 3 3) เพราะถือวาเปนอาคารสูง ตองมีระยะรนโดยรอบ 6 เมตร และตองเปนทางใหรถดับเพลิงวิ่งไดโดยสะดวก ถาอาคารนั้นไมมีหลังคา แตเปนดาดฟาและจะสรางชิดเขตหรือจะเวน 5 0 เซนติเมตร ดาดฟาจะตองมีกําแพง สูงไมนอยกวา 1. 8 0 เมตร ถามีชองเปด(รวมชองแสง GLASS BLOCK และระเบียง)และอาคารสูงไมเกิน 9 เมตร อาคารจะกี่ชั้นก็ ได ตองถอยรนอยางนอย 2 เมตร แตถาอาคารสูงเกิน 9 เมตร และมีชองเปดก็ตองถอยรนอยางนอย 3 เมตร ถาสูง เกิน 2 3 เมตร ก็ตองเวนอยางนอย 6 เมตร ตามกฏกระทรวงฉบับที่ 3 3

7. กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 อาศัยอํานาจตาม

ความในมาตรา 5(3) และมาตรา 8(1) (7) และ (8) แหงพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 อันเปนพระราชบัญญัติ ที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและ เสรีภาพของบุคคล


Professional Practices

55

INT 470

บทที่

7

สมาคมวิชาชีพและพระราชบัญญัตสิ ถาปนิก ที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพสถาปนิกภายในและมัณฑนากร สถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป เปนการศึกษาสถาปตยกรรมที่ผสมผสานเทคนิควิทยาการทั้ง ทางวิทยาศาสตร ศิลปะ และวัฒนธรรม จิตวิทยาเขาดวยกัน เพื่อตอบสนองความตองการในการดํารงชีวิตของมนุษย ใน ดานสภาพแวดลอมทางกายภาพที่อาศัย วัฒนธรรม ความเปนอยูของคนในพื้นที่นั้น สนองตอบในเชิงจิตวิทยา ซึ่ง ผูออกแบบตองเขาใจความตองการในการใชพื้นที่นั้น ๆ อยางลึกซึ้งอันมีผลกับการออกแบบที่ดี และไมดี หรืออาจกลาวได วาเปนศิลปวิทยาการ ในการออกแบบภายในอาคารและสิ่งเกี่ยวเนื่อง เพื่อพัฒนาสภาพแวดลอมทางกายภาพให เหมาะสมในการดํารงชีวิตของมนุษย โดยครอบคลุมตั้งแตระดับมหัพภาค ถึงจุลภาค เชน การวางผังชุมชน การออกแบบ ชุมชน ภูมิสถาปตยกรรม สถาปตยกรรมศาสตรเปนสาขาวิชาที่จะตองเรียนรูเกี่ยวกับสิ่งที่เกี่ยวของกับมนุษยในหลายดาน ไมวาจะเปนเรื่องรูป แบบศิลปะ เรื่องของชุมชน เรื่องของพฤติกรรมมนุษย และเรื่องอื่นที่เกี่ยวของอีกมากมาย ถือเปน ศาสตรที่มีศาสตรอื่นมาเกี่ยวของเปนจํานวนมาก จนยากที่จะสรุปลงไปไดวามี ศาสตรสาขาใดมาเกี่ยวของบาง โดยสากลแลว แบงออกไดเปน 4 สาขาคือ 1. สถาปตยกรรมหลัก (Architecture) 2. ภูม ิสถาปตยกรรม (Landscape Architecture) 3. สถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป (Interior Architecture) 4. สถาปตยกรรมผังเมือง (Urban Architecture) สถาปนิกภายในหรือมัณฑนากร คือบุคคลผูเกี่ยวของในการออกแบบ และ วางแผน ในการกอสราง หรือที่เรียกวางานสถาปตยกรรมโดยสถาปนิก จะเปนผูที่เขาใจในมาตรฐานการกอสรางของอาคาร เขาใจถึงหนาที่ใชสอย ของอาคารนั้น รวมถึงวัสดุที่จะนํามาเปนสวนประกอบของสิ่งกอสรางนั้น สถาปนิกจําเปนตองไดรับ การศึกษาทาง สถาปตยกรรมศาสตร และไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรม ถึงจะสามารถทํางานในวิชาชีพสถาปนิกได ซึ่ง คลายกับการทํางานในสาขาวิชาชีพอื่น หนาที่ของสถาปนิกภายในหรือมัณฑนากรกับ โครงการกอสรางในยุคปจจุบันในรูปแบบที่เกิดขึ้นเปน สวนใหญ สถาปนิกภายในหรือมัณฑนากรจะทําสัญญากับเจาของโครงการ (Owner) โดยรับหนาที่เปนผูใหบริการ วิชาชีพ ใหคําปรึกษาเกี่ยวกับ การกอสราง ผานทางการออกแบบ (Building Design) และการทําแเบบกอสราง (Construction Document) สถาปนิกภายในหรือมัณฑนากรจะมีที่ปรึกษาผูใหคําแนะนําในเรื่องเทคนิคระดับ ซับ ซอนคือ วิศวกร ซึ่งจะเปนผูเชี่ยวชาญในแตละแขนงเกี่ยวกับ การกอสราง โดยทั่วไปสําหรับ โครงการขนาดกลาง วิศวกรเหลานี้จะประกอบดวย วิศวกรโครงสราง (Structural Engineer) วิศวกรโยธา (Civil Engineer) วิศวกรไฟฟา (Electrical Engineer) วิศวกรประปา (Plumbing Engineer) และ วิศวกรเครื่องกล (Mechanical Engineer) นอกจากนี้อาจจะมีที่ป รึกษาอื่น ๆที่สําคัญ เชน ภูม ิ สถาปนิก (Landscape Architect) เปนตน นักวิชาชีพทั้งหมดนี้จะทํางานรวมกันเปนทีม ผานการประสานงานของ


Professional Practices INT 470

56

สถาปนิก ซึ่งเปนผูนําของทีม (Team Leader) และผูติดตอประสานงานระหวางทีม (Coordinator)เพราะที่ปรึกษา อื่นๆ จะไมมีใครเขาใจภาพรวมของโครงการเทาสถาปนิก ดวยสาเหตุของความเขาใจในโครงการที่มากกวาสมาชิกใน ทีมคนอื่นๆ ทําใหสถาปนิกเปนผูที่ติดตอกับ เจาของโดยตรงในการทําโครงการ นักวิชาชีพในทีมคนอื่นๆ ที่ตองการติดตอ กับ เจาของมักจะทําผานสถาปนิก หรือในบางกรณีสถาปนิกจะไมอนุญาตใหสมาชิกในทีมคนอื่นๆ ติดตอกับ เจาของ โดยตรงเลย เพราะจะเปนการเกิดความสับสนในระบบการประสานงานและปฏิบัติการ ถานักวิชาชีพเหลานี้ทําสัญญา การวาจางกับสถาปนิก สถาปนิกจะมีสถานภาพเปนผูนําของทีมออกแบบ (Leader) แตถานักวิชาชีพเหลานี้ทําสัญญา โดยตรงกับเจาของ สถาปนิกจะมีสถานภาพเปนผูประสานงาน (Coordinator) โดยสวนใหญสถาปนิกจะทําสัญญา วาจางกับ นักวิชาชีพเหลานี้เพื่อจะไดเกิดการควบคุมคุณภาพและสั่งการโครงการไดสะดวก แตในบางกรณี สถาปนิก อาจจะตองการหลีกเลี่ยงการทําสัญญากับนักวิชาชีพเหลานี้ โดยเฉพาะถาเปนโครงการที่ใหญเปนพิเศษที่สถาปนิกตองมี ความรับ ผิดชอบสูงมาก อาจเกิดความเสี่ยงตอการรับ ผิดชอบความเสียหาย (Liability)มากจนไมคุมกับ คาบริการวิชาชีพ ที่จะไดรับ สถาปนิกจะแนะนําใหเจาของโครงการทําสัญญาโดยตรงกับนักวิชาชีพเหลานั้น อีกดานหนึ่ง เจาของโครงการ (Owner) จะทําสัญญากับผูรับเหมากอสราง (Contractor) เพื่อใหทํา การกอสราง ตามแบบกอสราง (Construction Documents) และ รายการประกอบแบบ (Specification) ที่ สถาปนิกและทีมผูชวยทั้งหลายไดทําการออกแบบ

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรม ใบประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรม หรือเดิม (กอน พ.ร.บ. สภาสถาปนิก 2543) เรียกยอวา ก.ส. เปน เอกสารรับ รองของสถาปนิกในการออกแบบและเซ็นรับรองแบบ ที่รับรองโดยสภาสถาปนิก ในปจจุบ ันมีอยู 4 สาขา ดวยกันไดแกสถาปตยกรรมหลัก สถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป สถาปตยกรรมผังเมือง และ ภูมิสถาปตยกรรม ใบประกอบวิชาชีพฯมี 4 ระดับเรียงจากสูงไปต่ํา คือ วุฒิสถาปนิก สามัญ สถาปนิก ภาคีสถาปนิก และ สถาปนิกภาคี พิเศษขอบเขตงานที่ควบคุมในสาขาตางๆ ถูกกําหนดไวโดยในกฎกระทรวง (พ.ศ. 2549)วาดวยการกําหนดวิชาชีพ สถาปตยกรรมควบคุม กฎกระทรวงการกําหนดวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมนี้ ไดมีการกําหนดใหงานสถาปตยกรรม ควบคุมสาขาตางๆ ทั้ง 4 สาขานั้น ผูดําเนินการงานออกแบบ ใหคําปรึกษา ตรวจสอบ ศึกษาโครงการ บริหารและ อํานวยการกอสราง ตองเปนสถาปนิก(แตละสาขา)ที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในระดับ ขั้นตางๆกันไป ตามขอบเขต ของงานตัวอยางงานที่ตองมีสถาปนิกที่มีใบอนุญาต (ตามกฎกระทรวงป 2549[1])ไดแก  สาขาสถาปตยกรรมหลัก - งานวางผังที่อาคารที่อยูอาศัย พื้นที่ 150 ตารางเมตร ขึ้นไป, หรืออาคารทาง การเกษตร 400 ตารางเมตรขึ้นไป  สาขาสถาปตยกรรมผังเมือง - งานที่มีการบังคับ ใชผังเมืองรวม ผังเมืองเฉพาะ, งานจัดรูปที่ดิน, การจัดสรรที่ดิน , งานอนุรักษศิลปกรรมและสิ่งแวดลอม, งานในพื้นที่เขตเพลิงไหมและเขตภัยพิบัต,ิ นิคมอุตสาหกรรม, กลุม อาคารขนาดใหญ- ใหญพิเศษ อาคารสาธารณะ อาคารสูง อาคารพิเศษพื้นที่รวมกัน 30,000 ตารางเมตรขึ้น ไป  สาขาภูมิสถาปตยกรรม - งานในพื้นที่สาธารณะ บริเวณอาคารสาธารณะ, พื้นที่ที่บ ุคคลทั่วไปใชสอยได ตั้งแต 1,000 ตารางเมตร หรือชุมนุม คนได 500 คนขึ้นไป, พื้นที่การจัดสรรทีด ่ ิน (ยกเวนพื้นที่เกษตรกรรม และที่พัก อาศัยสวนบุคคล)  สาขาสถาปตยกรรมภายใน และมัณฑนศิลป - พื้นที่ภายในอาคารสาธารณะ 500 ตารางเมตรขึ้นไป


Professional Practices

57

INT 470

จะเห็นไดวาขอบเขตงานที่ตองใชสถาปนิกที่มีใบประกอบอนุญาตวิชาชีพจากกฎกระทรวงฯฉบับลาสุดนั้นยัง เปนไปไดยากในการปฏิบัติ เนื่องจากจํานวนสถาปนิกที่มีใบประกอบวิชาชีพมีไมพอกับ งานที่ตองการควบคุม (จากขอมูล ป 2548-49 นี้ โดยเฉพาะงานสถาปตยกรรมผังเมือง มีผูมีใบประกอบวิชาชีพ 8 คน, งานภูมิสถาปตยกรรม มีภูมิ สถาปนิกที่มีใบอนุญาตเพียง 80 คน เปนตน)ไมมีหนวยงานและบุคคลากรที่ทําการตรวจสอบและดูแลการบังคับ ใช และ หลายๆงานไมจําเปนที่จะตองมีสถาปนิกที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพก็คงไมทําความเสียหาย หรือในหลายกรณีเปน ขอบเขตของงานที่รัฐมีหนาที่จัดทํา (ตาม พ.ร.บ. หรือกฎหมายอยูแลว) ซึ่งไมจําเปนตองออกใบประกอบวิชาชีพแตอยาง ใด และตามเจตนารมณของการออกกฎกระทรวงนั้นมีวัตถุประสงคในการบังคับใชกับ สถาปนิกนอกระบบราชการเปน สําคัญ ทําใหเกิดการรองเรียนคัดคานเกิดขึ้นจากผูป ระกอบวิชาชีพเอง นักวิชาการ และผูเกี่ยวของ

ภาพที่

11

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปนิกภายในและมัณฑนากร

.

8

ใบประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรม มีลักษณะเหมือนกับใบประกอบวิชาชีพในสาขาอื่น ๆ เชน ใบประกอบ วิชาชีพวิศวกรรม และ ใบประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทย กลาวคือผูที่ไมมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจะไมสามารถ ประกอบวิชาชีพนั้น ๆ ได ถาฝาฝนจะมีโทษตามที่องคกรวิชาชีพแตละองคกรกําหนดไว ในกรณีของสถาปนิกนี้ มี บทลงโทษ ตามที่กําหนดไวใน พ.ร.บ. สถาปนิก (2543)[4] วาจะมีโทษจําคุกไมเกิน 3 ป ปรับไมเกิน60,000 บาท หรือทั้ง จําทั้งปรับ

8. ใหมีขอบังคับสภาสถาปนิกวาดวยการพัฒนาวิชาชีพตอเนื่องของผูประกอบวิชาชีพสถาปต ยกรรมควบคุมเพื่อใชเปน

เงื่อนไขในการตออายุใบอนุญาตทุกระดับ และการเลื่อนระดับเปนสามัญสถาปนิกหรือวุฒิสถาปนิก


Professional Practices INT 470

58

บทสรุป

การออกแบบงานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปในปจจุบ ัน นับวามีการพัฒนาควบคูไปกับการ เจริญเติบ โตของเศรษฐกิจ ผูที่ประกอบวิชาชีพมัณฑนากรและนักออกแบบภายในจึงตองมีความรูความสามารถมี ประสบการณเชี่ยวชาญในวิชาชีพ รวมทั้งบริษัท องคกรที่เกี่ยวของกับวิชาชีพมัณฑนศิลปและสถาปตยกรรมภายใน ตางๆ จะตองมีการพัฒนาในดานตางๆ มีระบบการบริหารและการจัดการ มีทรัพยากรมนุษยและบุคลากรที่มีคุณภาพ มีคุณลักษณะทางบุคลิกภาพและคุณธรรม รวมทั้งจิตสํานึกและมโนธรรมในการรับ ผิดชอบตอวิชาชีพ ทั้งทักษะและ จินตนาการในการสรางสรรคงานใหมๆ อีกทั้งยังตองมีเทคโนโลยี่ชวยในการออกแบบและดําเนินงานที่ทันสมัย ดังนั้นการออกแบบงานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป อยางในเมืองใหญหรือแหลงทองเทีย่ วตางๆตามที่ ผูออกแบบไดนําเสนอนี้ จะเห็นไดวาจะมีกระบวนการขั้นตอนรายละเอียด รวมทั้งตองอาศัยทีมงานที่เชี่ยวชาญ หลากหลายสาขาวิชาที่มีประสบการณในการทํางานสูงและผูที่เกี่ยวของอีกมากมายที่มิไดนําเสนอไดหมด ไดมีสวน สําคัญทําไหการดําเนินงานของโครงการประสบความความสําเร็จและสามารถออกแบบโครงการไดอยางมีสมบูรณแบบ ในองคประกอบและโจทยปญหาการทํางานอันจํากัด อีกทั้งยังสามารถเชื่อมโยงบริบทโดยรอบไดทั้งยังลงตัว เปนการ สรางปฎิสัมพันธดวยการสัมผัส ระหวาง ผูใชงาน กิจกรรม สถาปตยกรรมและบริบทองคประกอบตางๆที่มคี วามสัมพันธ กันอยางแนบแนนเปนหลักสําคัญของการสรางมิติที่ลึกซึ้งในการออกแบบทางสถาปตยกรรมและมัณฑนศิลป แหงการ สัมผัสที่สามารถตอบสนองทั้งประโยชนใชสอยและความหมายทางดานจิตใจเชิงปรัชญาและเศรษฐศาสตร วัฒนธรรม และประเพณีทองถิ่นของเพชรเม็ดงามแหงทองทะเลบูรพา เมืองตากอากาศมรดกทางธรรมชาติอยางเมืองพัทยา และจากภาวะการณลงทุนในธุรกิจของตลาดอสังหาริมทรัพยในประเทศและทั่วโลก ไมนับ รวมปญหาวิกฤต การเงินและเศรษฐกิจในขณะนี้ที่เกิดจากปญหา Subprime ในประเทศสหรัฐอเมริกากลางป 2551 ในอนาคตหลังจาก โลกผานวิกฤตครั้งใหญครั้งนี้ไปไดแลวจะมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นและเริมเขาสูระบบการคาเสรีเต็มรูป แบบในอนาคต อันใกลนี้ รวมทั้งองคประกอบตางๆขององคกรและธุรกิจที่เกี่ยวนี่องที่เอื้ออํานวยตอการประกอบธุรกิจในสาขาวิชาชีพนี้ โดยมุงเนนการจัดการโครงการและออกแบบในกลุม บานพักอาศัยระดับหรู อาคารสํานักงาน โรงแรม รีสอรท ภัตตรา คารและรานอาหาร อาคารพานิชย และศูนยการคา การจัดงานแสดงและนิทรรศการ ฯ ซึ่งในปจจุบ ันวิชาชีพนี้เปนสวน หนึ่งในสาขาสถาปตยกรรมควบคุมตางๆ 4 สาขา ไดแก สาขาสถาปตยกรรมหลัก สาขาสถาปตยกรรมผังเมือง สาขา ภูมิสถาปตยกรรมและสาขาสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป โดยไดมีการประกาศยกเลิกพระราชบัญญัติวิชาชีพ สถาปตยกรรม พ.ศ. 2508 และใหใชพระราชบัญญัติวิชาชีพ สถาปนิก พ.ศ. 2543 แทน ซึ่งถาเปนผูออกแบบโดยตรง ในแตละสาขาจําเปนตองจบในสาขาวิชาชีพนั้นๆที่สภาสถาปนิกรับรองหลักสูตรโดยตรง ตองมีใบอนุญาติ ประกอบ


Professional Practices INT 470

59

วิชาชีพในการทํางานออกแบบ รวมทั้งโครงการกอสรางตางๆที่กฏหมายควบคุมและมีพื้นที่ตามที่กฏหมายกําหนดก็ 9 จะตองมีสถาปนิกสาขาวิชาชีพนั้นๆออกแบบดวยเชนกัน เพื่อเพิ่มความสามารถและการแขงขันทางธุรกิจของวิชาชีพมัณฑนศิลปและงานสถาปตยกรรมภายในโดย ภาพรวม และรองรับความตองการของตลาดการทองเที่ยวอสังหาริมทรัพยในอนาคต เนื้อหาในเอกสารการคําสอนนี้ แสดงใหเห็นถึงที่มาที่ไปและกระบวนการออกแบบตลอดจนบริบทตางๆที่เกี่ยวของกับการประกอบวิชาชีพงานสถาปนิก ภายในและมัณฑนากร จะชวยใหนักศึกษาและผูที่ประกอบวิชาชีพงานออกแบบภายในและมัณฑนศิลป มึความรู ความเขาใจในกระบวนการขั้นตอนในการประกอบวิชาชีพ การประกอบธุรกิจเบื้องตน รวมทั้งระบบการบริหารและการ จัดการในรูปการดําเนินงานตางๆตั้งแตเริ่มการออกแบบจนกระทั่งดําเนินการกอสรางจนแลวเสร็จอีกดวย เพื่อ ประโยชนการศึกษาและนักออกแบบสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปตอไป

9. ปจจุบันบังคับใชเฉพาะ งานออกแบบงานสถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลปข องหนวยงานของรัฐบาลและ

วิสาหกิจเทานั้น ในอนาคตจะออกเปนพระรากฤษฎีกาเริ่มบังคับใชทุกประเภททั่วราชอาณาจักร ที่ตองสถาปนิกภายใน หรือมัณฑนากร ที่มใี บอนุญาตวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุม


Professional Practices

60

INT 470

บรรณานุกรม 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

เอกสารหลักการประกอบวิชาชีพงานสถาปตยกรรม สมาคมมัณฑนากรแหงประเทศไทย ป 2552 กฎหมายที่เกี่ยวของกับ การกอสรางอวยชัย สุภาพจน 2541 การบริหารงานงานกอสราง ; พนม ภัยหนาย 2539 เทคนิคการควบคุมงานกอสราง ; ณรงค กระจางยศ 2546 การบริหารสํานักงานสมัยใหม ; รศ.ศิริวรรณ เสรีรัตน การบริหารงานบุคคล ; อาจารย ดํารงศักดิ์ ชัยสนิท 2538 Architect's Professional Practice Manual by James R. Franklin McGraw-Hill Professional Publishing ; 2008 Project Management for Building Designers and Owners by Howard G. Project Management for small Birnberg ; 1999 Contracts and the Legal Environment for Engineers and Architects by Joseph T. Bockrath McGraw-Hill Higher Education 1994 Project Management for the Design Professional : A Handbook for Architects, Engineers, and Interior Designers by David Burstein, Frank Stasiowski ; 1982 Managing Brainpower : Organizing, Measuring Performance and Selling in Architecture, Engineering, and Construction Management Companies by Chuck Thomsen ; 1989


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.