ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
1
ABOUT INTERNET Dr.Kittkhan Patipant
กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!
ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
2
(Introduction to Internet) จุดประสงค์ทั่วไป 1. เพื่อศึกษาประวัติและความเป็นมาและข้อดีของระบบอินเทอร์เน็ต 2. เพื่อให้ทราบถึงความหมายของคาศัพท์ที่ใช้ในระบบอินเทอร์เน็ต 3. เพื่อศึกษาคุณธรรม จริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายประวัติและความเป็นมาและข้อดีของระบบอินเทอร์เน็ตได้ 2. อธิบายความหมายของคาศัพท์ที่ใช้ในระบบอินเทอร์เน็ตได้ 3. อธิบายคุณธรรม จริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์ได้ สาระสาคัญ อินเทอร์เน็ต เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่สามารถสื่อสารกันทั่วโลกผ่าน มาตรฐานการสื่อสารเดียวกันคือ โปรโตคอลทีซีพี/ไอพี โดยอินเทอร์เน็ตเกิดขึ้นครั้ง แรก ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา สาหรับประเทศไทยอินเทอร์เน็ตเกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2530 โดยการเชื่อมต่อมิ นิคอมพิวเตอร์ของ ม.สงขลานครินทร์ และสถาบัน เทคโนโลยี แ ห่ ง เอเชี ย เชื่ อ มไปยั ง ม.เมลเบิ ร์ น ประเทศออสเตรเลี ย ส่ ว นการ ให้บริการอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยได้เริ่มต้นขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2538 โดย ความร่ว มมื อ ของรั ฐวิ ส าหกิ จ ทั้ ง 3 แห่ งคื อ ส านั ก งานส่ งเสริม วิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) การสื่อสารแห่งประเทศไทย และองค์การโทรศัพท์ แห่ ง ประเทศไทย โดยให้ บ ริ ก ารในนามบริ ษั ท อิ น เทอร์ เน็ ต ประเทศไทย เป็ น ผู้ ให้บริการอินเทอร์เน็ตรายแรกของประเทศไทย กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!
ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
3
Introduction to Internet 1. อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ครอบคลุมไปทั่วโลก ซึ่ง เกิดจากการเชื่อมโยงของเครือข่ายย่อ ยจานวนมากที่กระจายอยู่ทั่วไป เครือข่าย เหล่านี้เชื่อ มเข้าหากันภายใต้ กฎเกณฑ์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน จนเป็นเครือข่าย ขนาดใหญ่ โดยใช้มาตรฐานการเชื่อมต่อเดียวกันทั้งหมดเรียกว่า "ทีซีพี/ไอพี" ทาให้ เครื่อ งคอมพิ วเตอร์ที่ แ ตกต่ างกั น ทางเทคโนโลยี สามารถแลกเปลี่ย นข้ อ มูล และ ส่งผ่านข้อมูลระหว่างกันได้ ซึ่งมีลักษณะการเชื่อมต่อแบบสลับวงจร และสลับข้อมูล กฤษณะ สถิ ต ย์ (2547) กล่ า วว่ า อิ น เทอร์ เน็ ต หมายถึ ง ระบบเครื อ ข่ า ย คอมพิ วเตอร์ ที่ ใช้ สื่ อ สารกับ เครื่อ งคอมพิ วเตอร์ที่ อ ยู่ ระยะไกล ๆ ได้ ทั่ ว โลก การ สื่อสารที่ สามารถเชื่อมโยงกับแหล่งข้อ มูลอย่างกว้างขวางได้ ทั้งข้อ ความ รูป ภาพ เสีย งและวิดี โอ อาจจะเรี ยกอีกชื่อ หนึ่ งว่า ระบบใยแมงมุม ขณะที่ บุ ญ เลิศ อรุณ พิบูลย์ (2550) อินเทอร์เน็ต เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่มีขนาดใหญ่ เครื่อง คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทั่วโลก สามารถติดต่อ สื่อ สารถึงกันโดยใช้มาตรฐานในการ รับส่งข้อมูลที่เป็นหนึ่งเดียว หรือที่เรียกว่าโปรโตคอล ซึ่งโปรโตคอล ที่ใช้บนระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีชื่อว่า ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP) ลักษณะของ ระบบอินเทอร์เน็ต เป็ นเสมือนใยแมงมุม ที่ ครอบคลุ มทั่วโลก ในแต่ล ะจุด ที่เชื่อ มต่อ อินเทอร์เน็ตนั้ น สามารถสื่อสารกันได้หลายเส้นทาง ตามความต้องการ โดยไม่กาหนดตายตัว และไม่ จาเป็นต้องไปตามเส้นทางโดยตรง อาจจะผ่านจุดอื่น ๆ เส้นทางการติดต่อสื่อสาร กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!
ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
4
ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต นั้นอาจเรียกว่า การติดต่อสื่อสารแบบไร้มิติ พัน จั น ทร์ ธนวั ฒ นเสถี ย ร (2551) กล่ า วว่ า อิ น เทอร์ เน็ ต หมายถึ ง ระบบเครื อ ข่ า ย คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อกัน ทาให้ เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถ สื่อสารถึงกันได้ผ่านบริการต่าง ๆ ที่มีบนอินเทอร์เน็ต เช่น การส่งข้อความผ่านอีเมล การเผยแพร่ข้อมูลในรูปของเว็บเพจ สรุป ได้ว่า อิน เทอร์เน็ต หมายถึง ระบบเครือ ข่ายคอมพิ วเตอร์ที่ สามารถ สื่ อ สารกั น ทั่ ว โลก ผ่ า นมาตรฐานการสื่ อ สารเดี ย วกั น คื อ โปรโตคอลที ซี พี / ไอพี (TCP/IP Protocol) ในรูป แบบการให้บ ริ ก ารต่าง ๆ ที่ หลากหลาย มีก ารบริห าร จัดการและแบ่งปันทรัพยากรบนระบบอินเทอร์เน็ตร่วมกัน 1.1 ประวัติและความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต ระบบอินเทอร์เน็ต เป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่เชื่อมโยงเครือข่ายต่าง ๆ ทั่วโลกเข้าด้วยกัน ซึ่งโครงสร้างของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต คื อต้นแบบของโครงสร้าง แบบกระจายที่ขยายครอบคลุมไปทั่วโลก ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ได้ริเริ่มกาเนิด มาจากหน่ ว ยงานด้ านการทหาร ของสหรัฐอเมริก า ภายใต้ โครงการเครื อ ข่า ยที่ เรียกว่า อาร์พาเน็ต (ARPAnet) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความมั่นคงให้กับข้อมูล ทางการทหารและการติ ดต่อ สื่อสารในเวลาศึกสงครามที่ไม่ให้มีศูนย์กลางการเก็บ ข้อมูลไว้ที่ใดที่หนึ่ง ในกรณี ฉุกเฉินสามารถถ่ายโอนข้อ มูลไปยังศูนย์อื่นได้ในทันที ต่อมามีการพัฒ นาระบบการสื่อสารใหม่ที่เรียกว่า โปรโตคอล ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP) เป็ น ครั้ ง แรก และเป็ น โปรโตคอลที่ ใ ช้ ถึ งปั จ จุ บั น หลั ง จากหมดยุ ค สงครามเย็ น กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!
ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
5
หน่ วยงานทางทหารได้ ม อบเครือ ข่ า ยให้ กั บ หน่ วยงาน NSF (National Science Foundation) เป็ น ผู้ ดู แ ล ซึ่ ง หน่ ว ยงานนี้ ไ ด้ พั ฒ นาระบบใหม่ ชื่ อ ว่ า NSFNET กาหนดให้เป็นเครือข่ายหลักแทนเครือข่ายอาร์พาเน็ต และเรียกเครือข่ายขนาดใหญ่ ที่ใช้งานในปัจจุบันนี้ว่า “เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ” อินเทอร์เน็ตเพื่อการพาณิชย์ เกิด จากองค์ ก รธุ ร กิ จ ต่ า ง ๆ เริ่ ม ให้ ค วามส าคั ญ กั บ เครื อ ข่ า ย ท าให้ เกิ ด เครื อ ข่ า ย คอมพิวเตอร์ เพื่องานพาณิชย์จานวนมากที่กระจัดกระจายไม่ได้เชื่อมโยงถึงกัน ในปี พ.ศ. 2534 มีการก่อตั้งชุดเชื่อมโยงเครือ ข่ายทางธุรกิ จชื่อ ว่า คิกซ์ (Commercial Internet Exchange) สร้ างมาตรฐานกลางการเชื่ อ มโยงเครื อ ข่ า ยทางธุ รกิ จ เข้ า ด้วยกัน และเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ต่อมามีองค์กรกลางกาหนดมาตรฐาน และการจัดระเบียบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตคือ ไอเอ็สโอซี ISOC (Internet Society) ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2535 และในปี เดียวกัน เกิ ดระบบส าคัญ คื อ ระบบเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) ซึ่ งมี ก ารท างานแบบไคล์ เอ็ น ต์ เซิ ร์ฟ เวอร์ (client/server) และมีวิธีการใช้งานแบบ ไฮเปอร์เท็กซ์ (hypertext) ผลปรากฏว่าระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ตเป็นที่สนใจของเอกชนมากและขยายออกไปอย่างรวดเร็ว
กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!
ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
1
1.2 จานวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลก ปัจจุบัน จานวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกโดยประมาณ 1.463 พันล้านคน (อ้ า ง อิ ง :เว็ บ ไ ซ ต์ www.internetworldstats.com/ stats.html) โด ย เมื่ อ เปรียบเทียบในทวีปต่างๆ พบว่าทวีปที่มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมากที่สุดคือ ทวีปเอเชีย คิ ด เป็นร้อยละ 39.5 รองลงมาได้แก่ ทวีปยุโรป ร้อยละ 26.3 แต่หากจัดลาดับจานวน ผู้ใช้ตามประเทศ ประเทศที่มีจานวนประชากรผู้ใช้อินเทอร์เน็ตมากที่สุด คือประเทศ จีน คิดเป็นจานวน 253 ล้านคน 1.3 ประวัติและความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ได้เริ่มมีการนามาใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2530 โดยสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (Asian Institute of Technology) ใช้ บริ ก ารผ่ า นระบบอิ น เทอร์ เ น็ ต ร่ ว มกั บ คณ ะวิ ท ยาศาสตร์ ค อมพิ ว เตอร์ แ ห่ ง มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย การใช้อินเทอร์เน็ตระยะแรกลักษณะ คล้ายกับระบบโทรเลข แต่ระบบอินเทอร์เน็ตมีความเร็วและสามารถส่งจานวนของ ตั ว อั ก ษรและข้ อ ความได้ ม ากกว่ า ระบบโทรเลขหลายเท่ า ตั ว ปี พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้จัดตั้งศูนย์กลางการติดต่อระบบ อินเทอร์เน็ตกับ มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ใช้แลกเปลี่ยน จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทั่วโลก โดยมีหมายเลข ไอพี แอดเดรส sritrang.psu.th กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการพลังงาน ได้ ริเริ่มศึกษาการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ข องมหาวิทยาลัย 12 แห่ง เข้าเป็นเครือข่าย เดียวกัน ศึกษาความเป็นไปได้ในการเช่าวงจรสื่อสารของการสื่อสารแห่งประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา โดยมอบหมายให้ ศูนย์อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!
ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
2
(NECTEC) ให้ ทุ น การศึ ก ษา วิ จั ย โครงการเครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ แ ก่ ส ถาบั น เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณลาดกระบัง ปี พ.ศ. 2535 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เริ่มให้บริการอินเทอร์เน็ตผ่านสายสื่อสารไปยังบริษัท UUNET technology ซึ่งเป็น บริษัทที่ให้บริการอินเทอร์เน็ต ในรัฐเวอร์จิเ นีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี พ.ศ. 2537 การสื่อสารแห่งประเทศไทย ร่วมลงทุนกับหน่วยงานของรัฐและเอกชน เปิดบริการ อิ น เท อ ร์ เ น็ ตใน เชิ งพ าณิ ช ย์ (Internet Service Providers:ISP) คื อ บ ริ ษั ท อินเทอร์เน็ตแห่งประเทศไทย จากัด และบริษัทอินเทอร์เน็ตคอมเมอร์เชียล แอนด์ โนว์ เลจเซอร์ วิ ส จ ากั ด ภายหลั ง เปลี่ ย นเป็ น บริ ษั ท เคเอสซี คอมเมอร์ เชี ย ล อิ น เทอร์ เน็ ต จ ากั ด หรื อ คอมเน็ ต ส่ ง ผลให้ บ ริ ษั ท เอกชนร่ ว มเปิ ด ให้ บ ริ ก าร อินเทอร์เน็ตในเชิงพาณิชย์เพิ่มมากขึ้น
กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!
ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
3
1.5 คาศัพท์ที่ใช้ ในระบบอินเทอร์เน็ต คนที่ เริ่ม ออกแบบเว็บ ไซต์ ต่ างก็ สั บ สนกั น ว่า เว็บ เพจ, เว็ บ ไซต์ ,โฮมเพจ, ไวรั ส , อินเทอร์เน็ต นั้นหมายถึงอะไร และแตกต่างกันตรงไหน แล้ว ใช้งานอินเทอร์เน็ตไป สักพักก็ต้องสงสัยกับคาว่า โดเมนเนม, เว็บโฮสติ้ง, อีเมล ในหัวข้อต่อไปจะเป็นการ ให้ความหมายของคาศัพท์ต่าง ๆ ที่ใช้กันบนระบบอินเทอร์เน็ตดังต่อไปนี้ 1.5.1 อินเทอร์เน็ต (Internet) นักวิชาการได้ให้ความหมายตามทัศนะของ แต่ละคนดังเช่น พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียร (2551) ได้กล่าวไว้ว่าหมายถึง เครือข่าย คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อถึงกัน ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง สามารถสื่อสารถึงกันได้ผ่านบริการต่าง ๆ ที่มีบนอินเทอร์เน็ต เช่น การส่งข้อความ ผ่านอีเมล การเผยแพร่ข้อมูลในรูปของเว็บเพจ การโอนย้ายไฟล์ผ่านบริการอย่าง FTP ขณะที่ บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ (2550) กล่าวว่า อินเทอร์เน็ต หมายถึง ระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วโลกสามารถติดต่อสื่อสาร กันได้โดยใช้มาตรฐานในการ รับ-ส่ง ข้อมูลที่เป็นหนึ่งเดียว หรือเรียกว่า โปรโตคอล ซึ่งใช้บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีชื่อเรียกว่า ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP) สรุปได้ว่า อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายถึง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ สามารถสื่ อ สารกั น ทั่ ว โลก ผ่ า นมาตรฐานการสื่ อ สารเดี ย วกั น คื อ โปรโตคอล ใน รู ป แบบการให้ บ ริ ก ารต่ า ง ๆ ที่ ห ลากหลาย มี ก ารบริ ห ารจั ด การและแบ่ ง ปั น ทรัพยากรบนระบบอินเทอร์เน็ตร่วมกัน
กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!
ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
4
1.5.2 อินทราเน็ต (Intranet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกัน ภายในพื้นที่หรือองค์กรเดี ยวกันผ่านระบบแลน ต่อมาได้พัฒนาเป็นระบบเครือข่าย กว้างขึ้นเรียกว่าระบบแวน ซึ่งใช้ติดต่อสื่อสารกันต่างพื้นที่แต่ภายในองค์กรเดียวกัน เช่ น ระบบธนาคาร ขณะที่ ศั ก ดิ์ ร ะพี นิ ล พั น ธ์ (2551) กล่ า วไว้ ว่ า อิ น ทราเน็ ต หมายถึ ง ระบบเครือ ข่ ายคอมพิ วเตอร์ ที่ ใช้ เฉพาะภายในองค์ ก รซึ่ งในการใช้ งาน อินทราเน็ตจะต้องใช้โปรโตคอล เหมือนกับ อินเทอร์เน็ต สามารถมีเว็บไซต์และใช้ เว็บเบราว์เซอร์ได้ รวมถึงอีเมลถ้าเราเชื่อมต่ออินทราเน็ตของเรากับอินเทอร์เน็ต เรา ก็สามารถใช้ได้ทั้ง อินเทอร์เน็ต และ อินทราเน็ต ไปพร้อม ๆ กัน แต่ในการใช้งานนั้น จะแตกต่างกันด้านความเร็ว ในการโหลดไฟล์ใหญ่ ๆ จากเว็บไซต์ในอินทราเน็ต จะ รวดเร็วกว่าการโหลดจากอิ นเทอร์เน็ ตมาก ดั งนั้ นประโยชน์ ที่จะได้ รับ จากระบบ อินทราเน็ต สาหรับองค์กรหนึ่ง คือ สามารถใช้ความสามารถต่าง ๆ ที่มีอยู่ในระบบ อินเทอร์เน็ตได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ สรุปได้ชัดเจนก็ คือ ระบบเครือข่ายภายใน องค์ ก ร ที่ มี ร ะบบปิ ด ของข้ อ มู ล เน้ น เรื่ อ งระบบรั ก ษาความปลอดภั ย และ ประสิทธิภาพของการใช้งานอย่างเป็นระบบ 1.5.3 โปรโตคอล (Protocol) คือ ข้อตกลงร่วมกันเกี่ยวกับวิธีที่คอมพิวเตอร์ จะจัดรูปแบบการสื่อสารและตอบรับข้อมูล ซึ่งโปรโตคอลจะมีหลายมาตรฐาน แต่ก็ สามารถทางานร่วมกัน สื่อสารกันได้เป็นอย่างดี แต่ละโปรโตคอลก็จะมีข้อดีข้อเสีย ต่างกัน เช่น - โปรโตคอล HTTP หรือ จะใช้เมื่อ เรียกโปรแกรมเบราว์เซอร์ เช่น เนสแคป, อิ น เทอร์ เน็ ต เอ็ ก พลอเรอร์ และฟายฟ๊ อ ก เรี ย กดู ข้ อ มู ล หรื อ เว็ บ เพจ โปรแกรมดังกล่าวจะเรียกใช้โปรโตคอล HTTP ซึ่งโปรโตคอลนี้ทาให้เซิร์ฟเวอร์ส่ง ข้อ มู ล มาให้ เบราว์เซอร์ต ามต้ อ งการและเบราว์เซอร์จ ะน าข้ อ มู ล มาแสดงผลบน กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!
ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
5
จอภาพได้ อ ย่ างถู ก ต้ อ ง มาตรฐานและรูป แบบการรั บ ส่ ง ข้ อ มู ล จึ งต้ อ งได้ รั บ การ กาหนดและเป็นที่ยอมรับระหว่างกัน - โปรโตคอล TCP คือการติดต่อระหว่างเบราว์เซอร์กับเซิร์ฟเวอร์ย่อ มต้อง เปิ ด ช่ อ งสื่ อ สารระหว่ างกั น ช่ อ งสื่ อ สารทั้ งสองข้ า งมี ช่ อ งหมายเลขก ากั บ ซึ่ งเรา เรียกว่า “พอร์ต” และพอร์ตนี้ได้รับการกากับดูแลด้วยโปรโตคอลหนึ่งที่มีชื่อว่า ทีซี พี/ไอพี ซึ่งทาให้เครื่องเซิร์ฟเวอร์บริการไคลแอนต์ได้หลาย ๆ ไคลแอนต์พร้อมกันใน เวลาเดียวกัน
รู ปภาพ โปรโตคอล สาหรั บการติดต่ อสื่ อสาร บนระบบอินเทอร์ เน็ต
1.5.4 เวิลด์ไวด์เว็บ ( World Wide Web หรือ WWW ) คือพื้นที่เก็บข้อมูล ข่าวสารเชื่อมต่อกันทางอินเทอร์เน็ต โดยการกาหนด URL คาว่าเวิลด์ไวด์เว็บมักจะ ใช้สับสนกับคาว่า อินเทอร์เน็ต โดยจริงๆแล้วคาว่า เวิลด์ไวด์เว็บ เป็นเพียงแค่บริการ หนึ่งบนอินเทอร์เน็ต ขณะที่ กฤษณะ สถิตย์ (2547) กล่าวว่า เวิลด์ไวด์เว็บ เป็นชื่อ บริการชนิดหนึ่งบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งได้รับความนิยมมากที่สุดบริการหนึ่ง เพราะเป็น บริการได้ทั้งข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ต่าง ๆ และยังให้ความบันเทิงทั้งภาพและเสียง ซึ่งเป็นที่สนใจสาหรับผู้ใช้บริการ กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!
ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
6
1.5.5 โฮมเพจ (Home Page) หมายถึงหน้าแรกของเว็บไซต์เป็นหน้าที่นัก ออกแบบจะต้องใช้ความคิด ทั้งหมดในการออกแบบ เพราะจะเป็นหน้าเป็นตา เป็น ตัวดึงดูดผู้เข้าชมเว็บไซต์ เพื่อเปิดเข้าดูเนื้อหา และรายละเอียดต่าง ๆ เปรียบเทียบ ง่าย ๆ ก็คงจะเหมือนกับปกหนังสือที่ต้องออกแบบให้ดูดีและสะดุดตาที่สุด
รูปภาพ โฮมเพจวิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น (http://www.kvc.ac.th) 1.5.6 เว็ บ เพ จ (Web Page) คื อ ห น้ าเว็ บ ที่ ใช้ แ ส ด งข้ อ มู ล อื่ น ๆ เปรียบเสมือนหน้ากระดาษของนิตยสาร ซึ่งจะมีรูปภาพและข้ อความ การออกแบบ หน้าเว็บเพจที่ดี จะต้องมีความเป็นเอกภาพ ออกแบบ หน้าเว็บ เพจที่มีจุดเด่น มี อิสระลงตัว มีการออกแบบที่เน้นกลุ่มเป้าหมายเป็นสาคัญ
กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!
ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
7
1.5.7 เว็บไซต์ (Website) คือสถานที่อยู่ของเว็บเพจที่โปรแกรมเบราว์เซอร์ จะสามารถดึงข้อมูลมาเปิดให้ดู เว็บไซต์จะประกอบด้วยข้อมูลหน้าโฮมเพจ ขณะที่ ศักดิ์ระพี นิลพัทธ์ (2551) กล่าวว่าเว็บเพจทั้งหมด เปรียบเสมือนหนังสือที่เรานา ทุกๆ อย่างมารวมกัน ไม่ได้เฉพาะเจาะจงว่าจะเป็นแค่หน้าปกหรือเนื้อหาภายในเว็บ
รู ปภาพ รวมเว็บไซต์ นายกิตติ์กาญจน์ ปฏิพันธ์ (http://kit.kvc.ac.th)
1.5.8 เว็บเบราว์เซอร์ (Web Browser) คือโปรแกรมที่ช่วยให้ผู้ใช้เข้าสู่โลก อินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นโปรแกรมที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย ขณะที่ พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียร (2551) กล่าวไว้ว่า เว็บเบราว์เซอร์ มีหน้าที่ในการส่งข้ อมูลที่ร้องขอ และแสดงหน้าเว็บ โดยตัวเว็บ เบราว์เซอร์จะเข้าใจในภาษา HTML ที่เป็นมาตรฐาน ของเว็บเบราว์เซอร์ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน เช่น Internet Explorer ของบริษัท ไมโครซอฟท์ และ Firefox ซึ่งเป็นโปรแกรมประเภทโอเพ่นซอร์ส
กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!
ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
8
รูปภาพ โปรแกรมบราวเซอร์ Internet Explorer & Firefox
รู ปภาพ กลไกการทางานของ E-mail
1.5.9 อี เมล (E-Mail) คื อ วิ ธี ก ารใน การเขี ย นหรื อ ส่ ง ข้ อ ความผ่ า นเครื อ ข่ า ย เชื่อมโยงด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์คาว่าอีเมล ใช้ใน 2 ความหมาย รวมถึงการส่งข้อความ ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต เป็นการส่งข้อความ ในเครือข่ายของบริษัท หรือองค์กรโดยผ่าน ทางระบบมาตรฐานที่ต่างกันออกไป หลาย คนเชื่ อ ว่ า อี เมลได้ เกิ ด จากการเติ บ โตของ ระบบอินเทอร์เน็ตอย่างรวดเร็ว แต่ในความ เป็นจริงอินเทอร์เน็ตเติบโตได้อ ย่างรวดเร็ว เพราะอี เ มลเป็ น ส่ ว นขั บ เคลื่ อ นที่ ส าคั ญ
1.5.9.1 ผู้ให้บริการอีเมลฟรี - ฮอตเมล (Hotmail) บริการอีเมลจากไมโครซอฟท์ - ยาฮูเมล (Yahoo Mail) บริการอีเมลจากยาฮู - จีเมล (Gmail) บริการอีเมลจากกูเกิ้ล - ไทยเมล (Thaimail) บริการอีเมลโดยบริษัทเออาร์ไอพี - AOL Mail บริการอีเมล เป็นที่นิยมของคนอเมริกัน กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!
ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
9
1.5.10 เอฟทีพี (FTP) คือการถ่ายโอน แฟ้มข้อมูล และโปรแกรมต่างๆ ที่มีอยู่ ในศูนย์บริการ เป็นบริการอีกประเภทหนึ่งของอินเทอร์เน็ตเครือข่ายหลายแห่งเปิด บริการสาธารณะให้ผู้ใช้ภายนอกสามารถถ่ายโอน ข้อ มูล ขณะที่ กฤษณะ สถิตย์ (2547) กล่าวว่า เป็นบริการหนึ่งในอินเทอร์เน็ตที่เป็นบริการโอนไฟล์ขึ้นไปไว้ที่เว็บ เซิร์ฟเวอร์ที่เรียกว่าการอัพโหลด และให้บริการโอนย้ายไฟล์จากเว็บเซิร์ฟเวอร์มายัง ฮาร์ด ดิ ส ก์ ข องเครื่ อ งคอมพิ วเตอร์ห รื อ เว็ บ ไซต์ อื่ น ๆ ซึ่ งเรีย กว่า การดาวน์ โหลด โปรแกรมที่จะช่วยในการอัพโหลดหรือ ดาวน์โหลด มีหลายโปรแกรมเช่น ftp, SSH, ftp command,WS_FTP, Cute-ftp เป็ น ต้ น นอกจากนี้ ยั ง รวมถึ ง การใช้ ง าน โปรแกรม Telnet ในระบบปฏิ บั ติ ก าร UNIX ด้ วย ขณะที่ ปิ ย ะบุ ต ร สุ ท ธิด ารา (2551) กล่าวว่า เอฟทีพี เป็นโพรโทคอลเครือข่ายชนิดหนึ่งใช้สาหรับแลกเปลี่ยน และจัดการไฟล์บนเครือข่ายทีซีพี/ไอพีใช้การเชื่อมต่อส่วนข้อมูลและส่วนการควบคุม แยกกันระหว่างเครื่อ งลูกข่ายกับเครื่องแม่ข่าย และยังถูกใช้เป็นส่วนประกอบของ โปรแกรมประยุกต์อื่นเพื่อส่งผ่านไฟล์โดยอัตโนมัติ 1.5.11 ไวรั ส คอมพิ ว เตอร์ (Virus) คอมพิวเตอร์และกระจายทางหน่วยความจา คื อ โปรแกรม ชนิ ด หนึ่ ง ที่ ส ามารถหรืแพร่ อ ช่อ งทางการสื่อ สารของระบบเครื อข่าย ขยายตัวเองได้ วิธีการในการสังเกตว่ส่าวส่นไวรั วน สจะสามารถแพร่กระจายได้ก็ต่อเมื่อ ของโปรแกรมนั้ น เป็ น ไวรัส หรื อ ไม่ นั้ นสืดู่ อจบัากน ทึ ก ข้ อ มู ล น าพาไปเท่ า นั้ น เช่ น ทาง การที่โปรแกรมสามารถแพร่กระจายตัวระบบเครื ได้โดย อข่าย หรือทางแฮนดี้ไดรฟ์ ไวรัสนั้น ผ่านทางสื่อ บัน ทึ กข้อ มูล บ่ อ ยครั้งที่ ผจะฝั ู้ค นจะง ตั ว อ ยู่ กั บ แฟ้ ม ข้ อ มู ล และเครื่ อ ง สั บ สนระหว่ า งไวรั ส กั บ เวิ ร์ ม เวิ ร์ ม นัคอมพิ ้ น จะมีวเตอร์และจะติดไวรัสเมื่อมีการเรียกใช้ ลั ก ษณะของการแพร่ ก ระจายโดยไม่แฟ้ พึ่ งมสืข้่ ออ มู ล นั้ น เนื่ อ งจากไวรัส ในปั จ จุ บั น ได้ บั น ทึ กข้ อ มู ล โดยจะฝั ง ตั ว เองเข้ าอาศั ไป ใน ยบริการเครือข่ายบนเครื่องคอมพิวเตอร์ กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!
ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
10
เช่น ระบบแฟ้มข้อมูลร่วมในการแพร่กระจาย ไวรั ส ด้ ว ย ในปั จ จุ บั น ไวรั ส สามารถติ ด สื่ อ บันทึกข้อมูล ได้หลายชนิด ที่พบบ่อ ยคือ แฟ้ ม หรือ ไฟล์ ข้ อ มู ล ที่ ส ามารถปฏิ บั ติ ก ารได้ ข อง ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมระบบปฏิบัติการ ตัว ไวรัส ยั งสามารถติ ด ไปกั บ บู๊ ต เซคเตอร์ข อง แฮนดี้ ไดรฟ์ และแฟ้ ม ข้ อ มู ล นอกจากการ สอดแทรกรหัสไวรัสเข้าไปยังข้อมูลเดิมของสื่อ รูปภาพ 1.10 จินตนาการรูปร่างไวรัส แล้วไวรัสยังสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลเดิมใน สื่ อ ฯ และอาจท าการแก้ ไขให้ ร หั ส ไวรั ส ถู ก เรียกขึ้นมาทางานเมื่อสื่อถูกเรียกใช้งาน 1.5.12 ดีเอ็นเอส (DNS) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าที่ คือ เก็บข้อมูลของชื่อโดเมน และไอพี แ อดเดรส เช่ น www.company.com มี ไอพี แ อดเดรส 203.156.24.52 คอมพิ ว เตอร์ที่ เก็ บ ระบบข้ อ มู ล ดี เอ็ น เอสนี้ เรี ยกว่ า ดี เอ็ น เอสเซิ ร์ฟ เวอร์ ซึ่ งเมื่ อ คอมพิวเตอร์เรียกเว็บไซต์ ดังกล่าว เราต้องระบุชื่อเว็บไซต์ให้กับโปรแกรมประเภท เบราว์เซอร์ เช่น Internet Explorer จากนั้นเบราว์เซอร์จะทาการสอบถามไปยังดี เอ็ น เอสเซิ ร์ ฟ เวอร์ เพื่ อ ขอทราบหมายเลขไอพี แ อดเดรสของ เว็ บ ไซต์ ดั งกล่ า ว จากนั้ น ดี เอ็ นเอสเซิร์ฟ เวอร์จะแจ้ งหมายเลขไอพี แอดเดรส ให้ ท ราบ เมื่ อ ได้ ไอพี แอดเดรสของ เว็ บ ไซต์ ดั ง กล่ า วแล้ ว บราว์ เซอร์ ก็ จ ะติ ด ต่ อ ไปยั ง ที่ อ ยู่ ห รื อ เว็ บ เซิร์ฟเวอร์ของเว็บไซต์ www.company.com ขณะที่ ศักดิ์ระพี นิลพันธ์ (2551) กล่าวว่า ดีเอ็นเอส เป็นระบบที่ใช้เก็บข้อมูลของชื่อโดเมน ซึ่งใช้ในเครือข่ายขนาด
กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!
ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
11
ใหญ่อย่างอินเทอร์เน็ต โดยข้อมูลที่เก็บมีหลายอย่ าง แต่สิ่งสาคัญคือความสัมพันธ์ ระหว่างชื่อโดเมนนั้นๆ กับหมายเลขไอพีที่ใช้งานอยู่ 1.5.13 เว็ บ เซอร์ วิ ส (Web service) เป็ น เทคโนโลยี ที่ ท าให้ โ ปรแกรม สามารถใช้ งานหรือ แอพพลิเคชั่ น ต่ างๆ สามารถสื่อ สารแลกเปลี่ย นข้ อ มู ลกั นได้ ถึงแม้ว่า จะสร้างมาจากสถาปัตยกรรมภาษาและฐานข้อมูลที่ ต่างกัน เว็บเซอร์วิส สามารถเชื่อมต่อหรือตอบโต้กัน ได้โดยใช้ XML เป็นภาษากลางในการสื่อสารผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อให้มีมาตรฐานร่วมกันในการสื่อสารระหว่าง แอพพลิเคชั่น ด้วยภาษาเอ็กเอ็มแอล จึงได้มีการจัดตั้งกลุ่มทางาน WS-I ทางานเพื่อกาหนดโดย เรี ย กกลุ่ ม ของแอพพลิ เ คชั่ น ที่ เ ป็ น เว็ บ เซอร์ วิ ส ว่ า SOA (Service-Oriented Architecture) 1.5.14 วายฟาย (Wi-Fi) เป็ น เทคโนโลยีสื่ อ สารแบบไร้สายที่ ใช้เชื่ อมต่ อ คอมพิวเตอร์เข้ากับระบบเครือข่าย ได้รับความนิยมอย่างสูงเพราะไม่ต้องกังวลเรื่อง การเดินสาย มาตรฐาน ในปัจจุบันที่ ใช้กันอยู่คือ 802.11 ซึ่งมีอายุมากกว่า 10 ปี แล้ ว โดยเป็ น มาตรฐาน ที่ ถู ก อนุ มั ติ ใ ห้ ใ ช้ จ าก IEEE (the Institute of Electrical and Electronics Engineers) เพื่อให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารกันได้บน มาตรฐานการทางานแบบเดียวกันนั่นเอง ในปัจจุบัน ได้เริ่มมีบริการ Access Point สาหรับ ใช้งานได้ ขณะที่ พั น จัน ทร์ ธนวัฒ นเสถียร (2551) กล่าวว่า หมายถึ งชุ ด ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่สามารถใช้ได้กับมาตรฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบไร้สายซึ่งอยู่ บนมาตรฐาน IEEE 802.11แต่ก่อ นวายฟายออกแบบมาใช้สาหรับอุปกรณ์ พ กพา ต่างๆ และใช้เครือข่ายแลน แต่ปัจจุบันนิยมใช้ วายฟายเพื่อต่อ กับอินเทอร์เน็ต โดยอุปกรณ์พกพาต่างๆ สามารถเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่า กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!
ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
12
แอคเซสพอยต์ และบริเวณที่ ระยะท าการของแอคเซสพอยต์ ค รอบคลุ ม เรีย กว่ า ฮอตสปอต 1.5.15 ไวแมกซ์ (WiMAX) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สายความเร็วสูง ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาบนมาตรฐาน IEEE 802.16 ซึ่งได้พัฒนามาตรฐาน IEEE 802.16e ขึ้ น โดยได้ ก ารอนุ มั ติ เมื่ อ เดื อ นมกราคม 2004 โดยสถาบั น วิ ศ วกรรมไฟฟ้ า และ อิเล็กทรอนิกส์ (IEEE) มีรัศมีทาการที่ 30 ไมล์ (ประมาณ 50 กิโลเมตร) โดย ธวัชชัย ศรีสุเทพ (2547) กล่าวว่า ไวแมกซ์ สามารถให้บริการครอบคลุมพื้นที่กว้างกว่าระบบ โครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 3G มากถึง 10 เท่า ยิ่งกว่านั้นยังมีอัตราความเร็ว ในการส่งผ่านข้อมูลสูงสุดถึง 75 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) ซึ่งเร็วกว่า 3G ถึง 30 เท่า รู ปภาพ แสดงการทางานของ WiMAX
1.5.16 URL (Uniform Resource Locator ) เป็นการระบุตาแหน่งของไฟล์ ที่เข้าถึงได้บนระบบอินเทอร์เน็ต ประเภทของทรัพยากรขึ้นกับโปรโตคอลประยุกต์ บนอินเทอร์เน็ตที่ใช้ การใช้โปรโตคอล Hypertext Transfer Protocol ทรัพยากร คือเพจ HTML, ภาพ โดยจะเก็บชื่อของโปรโตคอลที่ต้องการเพื่อ เข้าถึงทรัพยากร โดยโดเมนเนมจะเป็นการระบุคอมพิวเตอร์บนอินเทอร์เน็ต ซึ่งยกตัวอย่างรูปแบบ ของ URL เช่ น http://www.suekuy.com เป็ น การอธิ บ ายว่ า เว็ บ เพจที่ ต้ อ งก ารเข้ า ถึ งด้ วยก ารป ระยุ ก ต์ HTTP อ ยู่ ใน เค รื่ อ งค อ ม พิ วเตอ ร์ ชื่ อ www.suekuy.com กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!
ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
13
1. ชื่อโปรโตคอลที่ใช้ (http ซึ่งย่อมาจาก HyperText Transfer Protocal) 2. ชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ และชื่อเครือข่ายย่อย (www.suekuy.com) 3. ประเภทของเว็บไซต์ (.com) ซึ่งมีอยู่ 2 ประเภท คือ 3.1 ประเภทสากลเช่น .com (Commercial) .edu (Educational) 3.2 ประเภทท้องถิ่นจะมีชื่อย่อของแต่ละประเทศต่อท้ายด้วยเช่น .th สาหรับประเทศไทย .cn สาหรับประเทศจีน 1.5.17 เสิร์ชเอนจิน (Search Engine) คือ โปรแกรมที่ช่วยในการสืบค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต โดยครอบคลุมทั้งข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนที่ ข้อมูลบุคคล และอื่นๆ ซึ่งแตกต่างกันไป ขณะที่ ศักดิ์ระพี นิลพัทธ์(2551) กล่าวไว้ว่า โปรแกรมประเภทเสิร์ชเอนจินส่วนใหญ่จะค้นหาข้อมูล จากคาสาคัญ ที่ผู้ใช้ป้อนเข้าไป จากนั้นก็จะแสดงรายการผลลัพธ์ที่ คิดว่าผู้ใช้น่าจะ ต้องการขึ้นมา 1.5.17.1 ข้อแตกต่างของ URL กับ Search Engine URL เป็นที่อยู่ของข้อมูลในอินเทอร์เน็ต แต่ Search Engine เป็นเครื่องมือ ในการช่วยค้นหาที่อยู่ของข้อมูลในอินเทอร์เน็ต และ Search Engine เป็นเครื่องมือ ในการค้นหา URL
กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!
ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
14
1.5.18 โ ด เม น เน ม (Domain Name) คื อ ร ะ บ บ ก า ร ตั้ ง ชื่ อ บ น อินเทอร์เน็ต ซึ่งทรัพยากรบนอินเทอร์เน็ตโดยเฉพาะเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่ออยู่นั้น ต้องมีหมายเลขประจาเครื่อง หมายเลขนี้ เรียกว่า ไอพี โดยการที่จะจดจาหมายเลข ประจ าเครื่ อ งนั้ น มี วิ ธี ก ารตั้ ง ชื่ อ ให้ ใ ช้ ง านง่ า ย ระบบชื่ อ จึ ง ถู ก ก าหนดให้ เ ป็ น มาตรฐาน โดยแบ่งตามลาดับขั้นตามสภาพภูมิศาสตร์ ประเทศ ประเภทขององค์กร และชื่อองค์กร เช่น www.kvc.ac.th หรือ http://kitt.kvc.ac.th th คือ ชือ่ ประเทศไทย kvc คือ ชื่อองค์กร ac คือ ประเภทองค์กร kitt คือชื่อรองที่อยูย่ ่อยภายในองค์กร โดเมนที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน .com = กลุ่มธุรกิจการค้า (Commercial) .gov = กลุ่มองค์กรรัฐบาล (Government) .org = กลุ่มองค์กรอื่น ๆ (Organizations) .edu = กลุ่มการศึกษา (Education) 1.5.19 บล็อก (Blog) คือเว็บไซต์รูปแบบหนึ่ง ที่มีการจัดเรียง “เรื่อง” หรือ โพสต์ เรียงลาดั บ โดยเรื่องใหม่จะอยู่ บนสุด ส่วนเรื่อ งเก่าสุดก็จะอยู่ด้านล่างสุด บล็อ ก อาจจะพัฒ นาขึ้นมาอีกขั้นของ ไดอารี่ ออนไลน์ ก็เป็นได้ โดยจะเป็นเรื่อ งเกี่ยวกับ อะไรก็ได้ ไม่จากัด ซึ่ง ไดอารี่ ก็ถือว่าเป็น บล็อก รูปแบบหนึ่ง ส่วนใหญ่มักจะเขียน โดยคนเพียงคนเดียว แต่ก็มีไม่น้อยที่เขียนเป็นกลุ่ม โดยอาจจะมีเรื่องราวเฉพาะ เป็น เรื่ อ งป ระ เภ ท เดี ย ว ห รื อ บ า ง ที ก็ ห ล า ก ห ล า ย ซึ่ งส่ ว น ให ญ่ เรื่ อ งร า ว ที่เขียนขึ้นมานาน จะถูกเก็บรวบรวมไว้ โดยมักจะแสดงผลเป็น ลิงค์ในรูปแบบ วัน กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!
ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
15
เดือนปี เพื่อให้เราสามารถคลิก เข้าไปดูได้ไม่ต้องตกใจว่าที่หน้าแรก บางทีก็มีเรื่อง แสดงแค่ 10 เรื่องก็หมดแล้ว เพราะบางทีอาจมี การเก็บเรื่องอยู่ในนั้นอีกเป็นร้อยๆ โดยที่เราต้องเข้าไปดู จะมาคู่กับระบบ ความคิดเห็น ที่เปิดโอกาสให้คนอ่าน สามารถ แสดงความคิดเห็น ข้อความต่อท้ายในเรื่อ งที่เราโพสต์ ได้ คล้ายๆรูปแบบของเว็บ บอร์ดไม่ว่าจะเป็น ติหรือชม แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมหรือบอกแหล่งข้อมูลใหม่ๆ หรืออาจจะแค่ทักทาย กล่าวโดยสรุปแท้จริงแล้วบล็อกก็คือไดอารี่นั่นเอง
รู ปภาพ 1.13 ตัวอย่างบล็อก http://kittkhan.blogspot.com/
กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!
ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
16
4 มีผใู้ ช้อินเทอร์เน็ตนับเป็นจานวนมาก ที่ประพฤติไม่ดี สร้างปัญหาให้กับผู้ใช้คนอื่น คอยรบกวน และเข้าไปทาลายข้อมูลอยู่เสมอ Arlene H.Rinaldi (1993) แห่งมหาวิทยาลัย ฟอร์ริดา แอตแลนติก จึงรวบรวมกฎกติกา มารยาท และจรรยาบรรณในการใช้อินเทอร์เน็ต ไว้ดังนี้ 1. การวางตนอย่างเหมาะสม ไม่แสดงตนเหนือผู้อื่น 2. ต้องไม่สอดแนมหรือแก้ไขเปิดดูในแฟ้มของผู้อื่น 3. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร 4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ 5. ต้องไม่คัดลอกหรือละเมิดโปรแกรมผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์ 6. ความมีเหตุผล รู้จักไตร่ตรอง ไม่หลงงมงาย ยับยั้งชั่ งใจ ไม่ใช้อารมณ์ ไม่เชื่อใคร ง่าย ๆ 7. ความซื่อสัตย์สุจริต และไม่หลอกลวง การรักษาคาพูดหรือคามั่นสัญ ญา หรือ เขียนข้อความที่เป็นเท็จทางอินเทอร์เน็ต 8. มี ค วามเสีย สละ การแบ่ งปั น แก่ ผู้ ที่ ควรได้ รับ ช่ วยเหลื อ เกื้อ กู ลซึ่ งกัน และกั น แสดงความเห็นอย่างตรงไปตรงมาด้วยความสุภาพในอินเทอร์เน็ต และช่วยเพิ่มพูน ความรู้ใหม่ลงในอินเทอร์เน็ต
กล้วยไม้ออกดอกช้าฉันได คนที่ถูกบ่มเพาะ เจียระไน ย่อมสง่างามและมีค่าฉันนั้น!