ตำรายาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ.๑๑๒

Page 1



ตำ�รับยาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒ สภากาชาดไทย จัดพิมพ์จากต้นฉบับ เพื่อ

เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ สภานายิกาพระองค์แรก ในวาระครบ ๑๕๐ ปีแห่งวันพระราชสมภพ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๗ และองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประกาศยกย่องให้ทรงเป็นบุคคลที่มีผลงานดีเด่นระดับโลก ด้านการศึกษา สำ�หรับเด็กและสตรี การศึกษาด้านสาธารณสุขศาสตร์ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ประยุกต์และสังคม และมนุษยศาสตร์

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ การคัดลอกส่วนใด ๆ ในหนังสือนี้ เผยแพร่ในทุกรูปแบบ ต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อกั ษรจากสภากาชาดไทย ยกเว้นการอ้างถึงข้อความอันเป็นอัญพจน์เพือ่ การศึกษา หรือการวิจารณ์


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

คำ�นำ� (ครั้งที่ ๑) เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อุปนายิกาผู้อ�ำนวยการ สภากาชาดไทย ทรงเจริญพระชนมายุ ๕๕ พรรษา ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ และสภากาชาดไทย ครบรอบ ๑๑๗ ปี ในวันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ พิพิธภัณฑ์สภากาชาดไทย ได้ด�ำเนินการจัดพิมพ์หนังสือ “ต�ำรับยาสภาอุณาโลมแดงแห่งชาติสยาม ร.ศ. ๑๑๒” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการจัดพิมพ์หนังสือหายาก ทีม่ คี ณ ุ ค่าทางประวัตศิ าสตร์ของสภากาชาดไทย ส�ำหรับเผยแพร่แก่เยาวชน และประชาชนทัว่ ไป เป็นหนังสือ ที่มีคุณค่าในทางสาระความรู้ และคุณค่าในเชิงประวัติศาสตร์ ต�ำรับยาสภาอุณาโลมแดงแห่งชาติสยาม ร.ศ.๑๑๒ ถือได้วา่ เป็นต�ำรับยาเล่มแรกของสภากาชาดไทย ที่ได้ใช้ในการรักษาพยาบาลในคราวเหตุวิกฤติการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) จากส�ำเนาจดหมายเหตุการประชุมกรรมการิณีสภา หน้าพระที่นั่ง พระนางเจ้าพระวรราชเทวี สภานายิกา เป็นประธาน ณ วันที่ ๒๐ พฤษภาคม ร.ศ. ๑๑๒ บนพระทีน่ งั่ บรมราชสถิตมโหฬาร ครัง้ ที่ ๑ องค์สภานายิกาฯ ได้มีพระราชเสาวนีย์ด�ำรัสความตอนหนึ่งว่า “...กรรมการิณที งั้ ปวงทีไ่ ด้เชิญมาประชุมในวันนี้ มีใจช่วยกันจัดการในสภานีใ้ ห้แข็งแรงจนเต็มก�ำลัง ทีจ่ ะท�ำได้ เพือ่ มิให้การนัน้ เหลวไหลและเลวทรามต่อไปในกาลภายหน้า ทีจ่ ะให้เป็นทีต่ เิ ตียนของคนทัง้ หลายได้วา่ เอาเงินของเขามาท�ำเลือ่ นลอยเปล่า ส่วนเงินทีเ่ รีย่ ไรได้นนั้ คิดจะแบ่งเป็นสามส่วน ส่วน ๑ ในเวลาชัน้ แรกนี้ คิดจะจัดการแต่เพียงจ�ำหน่ายยาและเครือ่ งพยาบาล ส่งไปทุกกองทหารทีป่ ระจ�ำรักษาพระราชอาณาเขตต์ ...และเงินทีจ่ ะใช้ซอื้ ยาและเครือ่ งท�ำยา เครือ่ งส�ำหรับพยาบาลส่งไปทุกกองทหารให้ทวั่ ตามเวลา ที่จะส่งได้...” กรรมการิณีสภาอุณาโลมแดงที่ได้รับมอบหมายจากที่ประชุมฯ ให้ไปท�ำยา ดังเช่น : ยาประสะพิมเสน, ยานัตถุ์ ท่านผู้หญิงตลับ ภรรยาพระยาสีหราชเดโชชัย ยาประสะกานพลู ท่านผู้หญิงเลื่อม ภรรยาพระยามนตรีสุริยวงษ์ ยาเขียวใบฉนวน, ยากาลกระบือ หม่อมใหญ่ ในพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงเทววงษ์วโรประการ ยาประจุพิษ, ยาวิสัมพะยา ทรามสงวน ภรรยาพระอินทรเทพ ยาเขียวใบขี้หนอน ท่านผู้หญิงสุ่น ภรรยาพระยาโชฎึกราชเศรษฐี ยาอินทรียธาตุ โป๋ ภรรยาพระยาภักดีภัทรากร ยาอุดม พระเจ้าน้องนางเธอ พระองค์เจ้านภาพรประภา ยาประทานพิษ พร ภรรยาพระยาพิบูลย์พัฒนากร น�้ำมันยางหวาย ผู้ช่วยเลขานุการิณี ยาประสะลูกจันทน์ สังวาล ภรรยาพระยามหาเทพ สวน ภรรยาพระยาไพบูลย์สมบัติ ยาจันทหฤทัย เอี่ยม ภรรยาพระยาอินทราธิบดี สีหราชรองเมือง ปั้น ภรรยาหลวงอุปการโกษากร (เวศ) ยาธาตุบรรจบ ท่านผู้หญิงจับ ภรรยาพระยามหาอ�ำมาตย์ (ชื่น) ยาแดงแก้บิด เชื้อ ภรรยาพระอาณัตินรากร หม่อมเจ้าแฉ่ง ในพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นพรหมวรานุรักษ์ ยาหอมนวโกฏฐ์ หม่อมเจ้าเลือ่ น ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญโรจเรืองศรี ยามหานิลแท่งทอง หนู ภรรยานายเจียม *

ฯลฯ

2


สภากาชาดไทย

คำ�นำ� (ต่อ) ท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์ เลขานุการิณี สภาอุณาโลมแดงฯ ได้มีหนังสือลงวันที่ ๑๖ มิ ถุ น ายน ร.ศ. ๑๑๒ กราบบั ง คมทู ล พระกรุ ณ าพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ความตอนหนึ่งว่า “... และกรรมการิณีสภา ได้ปรึกษากันจัดการไปแล้วนั้น คือ ยาฝรั่ง ที่เป็นของเคยใช้ได้ดี มียา ควินินโคลโลดีน เป็นต้น ก็ได้จัดซื้อตามที่มีอยู่ในกรุงเทพ ฯ นี้ จนสิ้น และได้สั่งทั้งทางโทรเลขและ ทางหนังสือไปยังร้านขายยาในประเทศยุโรปโดยทางตรง ให้รีบส่งเข้ามาให้พอแก่การที่จะใช้ ส่วนยาไทยนั้น ในพวกกรรมการิณีก็รับหน้าที่ไปท�ำคนละขนาน ๒ ขนานให้ทันการ ...” * สภาอุณาโลมแดงได้ส่งยา และเครื่องพยาบาลไปให้ก�ำลังทหารในมณฑลสถานและกองต่าง ๆ คือ

มณฑลลาวกาว กองพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร พลทหารประมาณ ๑๒,๐๐๐ คน กองพระพิเรนทรเทพ พลทหารประมาณ ๒,๐๐๐ เศษ กองพระประสิทธิศัลการ เมืองนครราชสีมา พลทหารประมาณ ๒,๐๐๐ เศษ กองทหารเมืองศรีโสภณ คนประมาณ ๕๐๐ กองทหารเมืองกระบินทร์บุรี คนประมาณ ๕๐๐ กองทหารเมืองพระตะบอง คนประมาณ ๑๐๐

มณฑลลาวพวน กองพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นประจักษ์ศิลปาคม คนประมาณ ๑,๐๐๐ เศษ กองทหารเมืองปราจีนบุรี คนประมาณ ๒๐๐ ส่งพระวรวงษ์เธอ พระองค์เจ้าขจรจรัศวงษ์ ส�ำหรับทหารเมืองตราด และเกาะกง ให้พระอินทรเทพ ข้าหลวงจับผู้ร้าย เมืองราชบุรี กองพระยามหาเทพ คนประมาณ ๕๐ *

ต�ำรับยาสภาอุณาโลมแดงฯ ร.ศ.๑๑๒ นี้ เป็นสมุดปกแข็งสีด�ำ ตรงกลางมีเครือ่ งหมายอุณาโลม ด้านใน ใส่กระดาษฟูลสแก็ป เขียนต�ำรับยา ด้วยหมึก และดินสอ สมุดขนาดกว้าง ๒๕.๕ ซม. ยาว ๓๗ ซม. มีเอกสารจ�ำนวนทั้งหมด ๘๖ หน้า กระดาษมีสภาพเก่าจนเป็นสีเหลือง และลายมือเขียนก็ลบเลือนลงไป มาก ต�ำรับยาสภาอุณาโลมแดงแห่งชาติสยามนี้ เป็นต�ำรับยาแพทย์แผนไทย และสมุนไพรไทย ที่เป็น ภูมิปัญญา และมรดกทางวัฒนธรรมที่สามารถน�ำองค์ความรู้ดังกล่าวไปปรุงยาได้ การจัดพิมพ์ขึ้นใหม่จึง เป็นการอนุรักษ์ และเผยแพร่หนังสือที่หายากที่ส�ำคัญของสภากาชาดไทย.

* จากหนังสือ “ตำ�นานสภากาชาดสยาม ตอนที่ ๑-๓” สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี โปรดให้พิมพ์เนื่องในการพิธีเปิดตึกมงกุฎ - เพชรรัตน ร.พ.จุฬาฯ วันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๑๐.

3


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

คำ�นำ� (ครั้งที่ ๒) การแพทย์แผนไทยและสมุนไพรเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตคนไทยมาแต่โบราณ ดังที่มีต�ำรายาไทย ในหลายยุคสมัย เช่น ต�ำราโอสถพระนารายณ์ถือว่าเป็นต�ำรายาชิ้นแรกของประวัติศาสตร์การแพทย์ไทย ต�ำราโรงพระโอสถในสมัยรัชกาลที่ ๒ และยังมีต�ำราไทยอีกมากมายจากหมอพื้นบ้านและพระภิกษุหลายรูป เช่น ต�ำรายาหลวงปู่ศุข เป็นต้น ต�ำราสภาอุณาโลมแดง ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) เป็นต�ำราอีกเล่มหนึ่งที่มีคุณค่าต่อการแพทย์ ไทย เกิดขึน้ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ซึง่ ในเวลานัน้ เกิดการสูร้ บระหว่างไทยกับฝรัง่ เศสกรณีพพิ าทดินแดนฝัง่ แม่นำ�้ โขง มีทหารและชาวบ้านบาดเจ็บเป็นจ�ำนวนมากแต่ขาดแคลนยา จึงมีองค์การกุศลทีเ่ ป็นบรรพสตรีชาวสยาม ในนาม “สภาอุณาโลมแดง” ช่วยกันรวบรวมต�ำรายาไทยเพื่อท�ำการผลิตและปรุงยาส่งไปใช้รักษาทหารและ ชาวบ้าน จนเมือ่ เหตุการณ์สงบจึงมีการรวบรวมเป็นเล่มไว้ใช้สบื ต่อกันมา จึงได้ชอื่ ว่า “ต�ำรายาสภาอุณาโลมแดง” ซึ่งมีต�ำรับยาหลายขนานที่อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ทีก่ ล่าวมานี้ เป็นสิง่ ทีย่ นื ยันว่าคุณค่ายาแผนไทยและสมุนไพรไทยซึง่ เป็นภูมปิ ญ ั ญาทีถ่ า่ ยทอดจาก บรรพบุรุษสืบต่อกันมายังมีคุณค่าไม่เสื่อมคลาย แม้ปัจจุบันเต็มไปด้วยยาสมัยใหม่และเทคโนโลยีทางการ แพทย์ที่ก้าวหน้าก็ตาม แต่มีอีกหลายๆประเทศโดยเฉพาะประเทศจีน และประเทศอินเดียที่เขายังพึ่งพาและ ผสมผสานการใช้ยาจากภูมิปัญญาดั้งเดิมเข้ากับการแพทย์สมัยใหม่ได้อย่างลงตัว กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข จึงได้จดั พิมพ์ “ต�ำรา ยาสภาอุณาโลมแดง” ซึ่งเป็นต้นฉบับจากสภากาชาดไทย เพื่อเผยแพร่ต�ำรับยาดีๆ จากการแพทย์แผนไทย เพื่อให้ประเทศชาติของเราพึ่งพาตนเองได้ในเรื่องยา รักษาความมั่นคงทางยาของชาติไว้อย่างยั่งยืนสืบไป

(นางวิลาวัณย์ จึงประเสริฐ) อธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

4


คำ�นำ� (ครั้งที่ ๓) เนื่องในอภิลักขิตสมัยวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ สภานายิกาสภากาชาดไทยพระองค์แรก ในวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๗ ประกอบกับโอกาสที่องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม แห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประกาศยกย่องสดุดีพระเกียรติคุณให้ทรงเป็น บุคคลที่มีผลงานดีเด่นระดับโลก เมื่อวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ เพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาส วันพระราชสมภพ ๑๕๐ ปี ในด้านการศึกษาส�ำหรับเด็กและสตรี การศึกษาสาธารณสุขศาสตร์ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ประยุกต์ สังคมศาสตร์ และมนุษย์ศาสตร์ พิพิธภัณฑ์สภากาชาดไทย ขอร่วมเฉลิมฉลองศุภสมัยทั้งสองด้วยการจัดพิมพ์ “ต�ำรับยา สภาอุณาโลมแดงแห่งชาติสยาม ร.ศ.๑๑๒” ซึง่ ถือได้วา่ เป็นต�ำรับยาเล่มแรกของสภากาชาดไทย ทีไ่ ด้ใช้ใน การรักษาพยาบาลในคราวเกิดเหตุวกิ ฤติการณ์ ร.ศ.๑๑๒ (พ.ศ.๒๔๓๖) เป็นหนังสือหายากทีม่ คี ณ ุ ค่าทาง ประวัติศาสตร์ของสภากาชาดไทย และเป็นต�ำรับยาแพทย์แผนไทยที่เป็นภูมิปัญญาและมรดกทางวัฒนธรรม ที่สามารถน�ำองค์ความรู้ไปปรุงยาได้ การจัดพิมพ์ครั้งแรกเนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อุปนายิกาผูอ้ �ำนวยการสภากาชาดไทย ทรงเจริญพระชนมายุ ๕๕ พรรษา ในเดือนเมษายน พ.ศ.๒๕๕๓ จ�ำนวน ๓,๐๐๐ เล่ม และต่อมากรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ได้ขออนุญาตน�ำต้นฉบับมาจัดพิมพ์ใหม่ จ�ำนวน ๑,๕๐๐ เล่ม และมอบให้พพิ ธิ ภัณฑ์สภากาชาดไทย จ�ำนวน ๑๐๐ เล่ม และหนังสือดังกล่าวได้แจกจ่ายเผยแพร่ไปหมดลงแล้ว ในการพิมพ์ครั้งที่ ๓ นี้ พิพิธภัณฑ์สภากาชาดไทยได้ค้นพบเอกสาร “ต�ำรับยาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ.๑๑๒” เพิ่มเติม จ�ำนวน ๒๕ หน้า จึงได้น�ำมาจัดพิมพ์ขึ้นใหม่เพื่อความสมบูรณ์ของหนังสือนี้ สมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ สภานายิกาสภากาชาดไทยพระองค์แรก ทรงพระปรีชา ญาณ และมีพระราชคุณปู การอันใหญ่หลวงต่อสภากาชาดไทย ด้วยทรงประกอบพระราชกรณียกิจเป็นอเนก ประการ ในด้านต่างๆ สมควรที่จะได้ศึกษา และร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ อาทิ ทรงรับด�ำรงต�ำแหน่งสภานายิกาสภากาชาดไทยพระองค์แรก ตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๓๖ จนถึงวัน เสด็จสวรรคต พ.ศ.๒๔๖๓ ทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ในการก่อตั้งสภาอุณาโลมแดง ร.ศ.๑๑๒ จ�ำนวน ๔๐,๐๐๐ บาท เสด็จพระราชด�ำเนินไปเป็นองค์ประธานในการประชุมกรรมการิณีสภาอุณาโลมแดง ครั้งแรก เมื่อ วันที่ ๒๐ พฤษภาคม ร.ศ.๑๑๒ และครั้งที่ ๒ ในวันที่ ๑๖ มิถุนายน ร.ศ.๑๑๒ ณ พระที่นั่งบรมราช สถิตย์มโหฬาร ทรงปฏิบัติหน้าที่สภานายิกาสภากาชาดด้วยพระวิริยะอุตสาหะเป็นอย่างยิ่ง ทรงพระปรีชา สามารถวินิจฉัยเรื่องต่างๆ เช่น ทรงมอบหมายให้คณะกรรมการิณีไปจัดท�ำยา และส่งเครื่องพยาบาลไปให้ ทหารที่บาดเจ็บตามชายแดน มีรับสั่งให้น�ำความขึ้นกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ขอเชิญเสด็จเป็น “องค์ทานมยูปถัมภก ผู้บ�ำรุงการอย่างสูงสุด” และขอเชิญพระบรมวงศ์ผู้ใหญ่ มุขมาต ยาธิบดีเจ้าประเทศราช ให้เป็นผู้บ�ำรุงการ เพื่อเป็นเกียรติ และเชิญฝ่ายหน้าให้ช่วยการและเป็นที่ปรึกษาของ กรรมการิณสี ภาด้วย ซึง่ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้พระราชทานพระราชหัตถ์เลขาทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับต�ำแหน่ง “ทานมยูปถัมภก” เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ร.ศ.๑๑๒


นอกจากนี้ ได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ในการอุปถัมภ์สภากาชาดสยาม เช่น การ สร้างโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และการจัดตั้งโรงเรียนนางพยาบาลขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๕๗ และพระราชทาน พระราชทรัพย์สว่ นพระองค์จดั สร้างอาคารผู้ปว่ ยสตรีที่ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จ�ำนวน ๑๐๖,๐๐๐ บาท พระราชทานนามว่า “ตึกปัญจมราชินี” และทรงพระกรุณาเสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงเปิด เมื่อวันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๔๕๙ เป็นต้น ขอพระราชทานอุทิศถวายกุศลวิทยาทานจากการจัดพิมพ์หนังสือ “ต�ำรับยาสภาอุณาโลมแดง แห่งชาติสยาม ร.ศ.๑๑๒” ครั้งที่ ๓ นี้ เป็นเครื่องสักการบูชาสมเด็จพระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ สภานายิกาสภากาชาดไทยพระองค์แรก ผูท้ รงพระคุณอันยิง่ ใหญ่ตอ่ สภากาชาดไทย และในสากลตลอดกาลนาน. พิพิธภัณฑ์สภากาชาดไทย

พิมพ์ครั้งที่ ๑ : จำ�นวนพิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ ๒ : จำ�นวนพิมพ์ : พิมพ์ครั้งที่ ๓ : จำ�นวนพิมพ์ : ที่ปรึกษา : ออกแบบจัดรูปเล่ม : พิมพ์ที่ :

เมษายน ๒๕๕๓ เนื่องในโอกาสวันสถาปนาสภากาชาดไทยครบ ๑๑๗ ปี ในวันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓ ๓,๐๐๐ เล่ม สิงหาคม ๒๕๕๔ ในงานมหกรรมสมันไพรแห่งชาติ ครั้งที่ ๘ “ยาไทย เด็กใช้ได้ ผู้ใหญ่ใช้ดี” ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี ฮอลล์ ๗ - ๘ ๒,๐๐๐ เล่ม กันยายน ๒๕๕๗ เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีพัชรินทราฯ บรมราชินีนาถ สภานายิกาพระองค์แรก ๑,๐๐๐ เล่ม นายเตช บุนนาค ผู้ช่วยเลขาธิการสภากาชาดไทย ฝ่ายบริหาร งานศิลปกรรมและออกแบบ สำ�นักสารนิเทศและสื่อสารองค์กร สภากาชาดไทย บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จำ�กัด โทรศัพท์ ๐ ๒๗๔๓ ๙๐๐๐ โทรสาร ๐ ๒๗๔๖ ๓๓๘๗

ISBN :

978-616-7287-23-2


สภากาชาดไทย

7


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

8


สภากาชาดไทย

9


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

10


สภากาชาดไทย

11


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

12


สภากาชาดไทย

13


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

14


สภากาชาดไทย

15


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

16


สภากาชาดไทย

17


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

18


สภากาชาดไทย

19


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

20


สภากาชาดไทย

21


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

22


สภากาชาดไทย

23


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

24


สภากาชาดไทย

25


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

26


สภากาชาดไทย

27


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

28


สภากาชาดไทย

29


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

30


สภากาชาดไทย

31


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

32


สภากาชาดไทย

33


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

34


สภากาชาดไทย

35


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

36


สภากาชาดไทย

37


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

38


สภากาชาดไทย

39


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

40


สภากาชาดไทย

41


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

42


สภากาชาดไทย

43


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

44


สภากาชาดไทย

45


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

46


สภากาชาดไทย

47


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

48


สภากาชาดไทย

49


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

50


สภากาชาดไทย

51


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

52


สภากาชาดไทย

53


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

54


สภากาชาดไทย

55


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

56


สภากาชาดไทย

57


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

58


สภากาชาดไทย

59


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

60


สภากาชาดไทย

61


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

62


สภากาชาดไทย

63


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

64


สภากาชาดไทย

65


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

66


สภากาชาดไทย

67


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

68


สภากาชาดไทย

69


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

70


สภากาชาดไทย

71


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

72


สภากาชาดไทย

73


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

74


สภากาชาดไทย

75


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

76


สภากาชาดไทย

77


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

78


สภากาชาดไทย

79


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

80


สภากาชาดไทย

81


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

ตำ�รับยาสภาอุณาโลมแดง ร.ศ.๑๑๒ (เพิ่มเติม)

82


สภากาชาดไทย

83


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

84


สภากาชาดไทย

85


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

86


สภากาชาดไทย

87


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

88


สภากาชาดไทย

89


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

90


สภากาชาดไทย

91


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

92


สภากาชาดไทย

93


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

94


สภากาชาดไทย

บันทึก

95


ต ำ� รั บ ย า ส ภ า อุ ณ า โ ล ม แ ด ง

บันทึก

96




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.