#22 AikidoCMU

Page 1

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

AikidoCMU NEWSLETTER

ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาคารกิจกรรมนักศึกษา (อ.มช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถ. สุเทพ อ.เมือง จ. เชียงใหม่ 50200 ติดต่อได้ท ี่ ปีใหม่ (ประธานชมรม) 087-1772511

Email:

ป๋อม (ผู้ประสานงานชมรม) 089-701 7686

กบ (บรรณาธิการจดหมายข่าว) 081-405 5379 AikidoCMU@gmail.com หน้า ๑


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

รีบสมัครไ ปสัมนา A

ikido South-ea st Asian Nations Fellowsh ที่กรุงฮาน ip อย ว

รูปจาก http://www.fsaikido.co.uk/ children/children.html

ันที่ ๑๙ ๒๑ น ๒๕๕๓ นี้นะครับ

พฤศจิกาย

นักเขียนในฉบับ ดร.สมบัติ ตาปัญญา อ.ธีระรัตน์

สารบาญ

การสรางสันติภาพในสังคม .....ดร.สมบัติ ตาปญญา สำนึกแหงความมหัศจรรย .....อ.ธีระรัตน บริพันธกุล เด็กปฐมวัยกับการฝกไอคิโด ... วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ

บริพันธกุล

๓ ๗

วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ์ นูนู่

ความรูสึกของนูนูที่มีตอไอคิโด ... นูนู สุภาษิตโกะกับขาพเจา ๔ : การแตกคอกันเองมีแต สิ้นเปลือง..... NOURNOURS’ MOM

๑๓

AIKIDO(KA) IN FOCUS รัชฎาพร ศิริวงศ

๑๖

เดือนนี้เมื​ื่อปที่แลว มีนาคม ๒๕๕๒ .... นฤมล ธรรมพฤกษา

๑๙

มาเยี่ยม มาเยือน: KUMIKO ENOKIDO

๒๘

เราจะหมดสภาพการเกลียดไดอยางไร ...... นพ.วิธาน ฐานะวุฑฒ

๒๙

Nounours’ Mom

๑๔ นฤมล ธรรมพฤกษา

โฟกัส

หน้า ๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

การสรางสันติภาพ ในสังคม

ผศ.ดร. สมบัติ ตาปญญา

เมื่อสี่ปมาแลว ในเดือนเมษายน ป 2006 ผมไดเขียนบทความเรื่อง “ไอคิโดใน เชียงใหม ของขวัญจากญี่ปุนสูชาวไทย” เปนบทแรกลงในหนังสือพิมพ Chao (หนังสือพิมพของชุมชนคนญี่ปุนในเชียงใหม) และในเนื้อเรื่องของบทความก็เปนการแสดง ความหวงใยกับปญหาความรุนแรงในสังคมไทย โดยเฉพาะในเด็ก เยาวชน ครอบครัว ชุมชน และโรงเรียนของไทย และผมไดพูดถึงงานดานการปองกันความรุนแรงที่ผมไดทำมา และเอยถึงความตองการที่จะกอตั้ง “ศูนยสันติวัฒนธรรมชุมชน” (Culture of Peace Community Center) ขึ้นในเชียงใหม และความสำคัญของปรัชญาชีวิตในวิชาไอคิโดซึ่งมุง หวังที่จะฝกสอนเด็กและนักไอคิโดใหใชความเมตตา ปราศจากความรุนแรงในการแกปญหา หน้า ๓


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Y เดือนเมษายนปที่แลวและปนี้ซึ่งเปนชวงเวลา ของวันสงกรานตหรือปใหมของไทย เปนเวลาที่เรา ควรจะไดมีความสุขและรื่นเริงกับประเพณีการรดน้ำ การไปเยี่ยมญาติผูใหญเพื่อเอาของขวัญไปใหและ ขอคำอวยพรจากทาน แตเราก็ตองวิตกกังวลและมี ความทุกขใจจากปญหาความรุนแรงในสังคมซึ่งเกิด ขึ้นมานานแลวและยังไมมีทีทาวาจะจบสิ้นลงได งายๆ ผมเองและคนที่ทำงานในดานการปองกัน ความรุนแรงจึงตองทำงานหนักตอไป แตอยางไรก็ดี จากความพยายามของผมและเพื่อนๆ อีกหลายคนที่ทำงานในเรื่องนี้ ตอนนี้เราอาจจะเห็นความกาวหนาบางแลวก็ได คือเรื่องศูนยสันติวัฒนธรรมที่ผมเริ่มคิดมา เมื่อสี่ปที่แลว ตอนนี้กำลังจะเปนรูปเปนรางขึ้นมาแลว คือเราไดรวบรวมคณะทำงานและที่ ปรึกษาไดแลว และมีผูบริจาคที่ดินใหใชในการกอตั้งศูนยขึ้นที่ชุมชนคนรายไดนอยแหงหนึ่ง ในเชียงใหม เราไดยื่นใบสมัครขอทุนสนับสนุนการกอสรางอาคารจากกงสุลญี่ปุนแลว และจะ ไดรับการสนับสนุนดานการทำงานจากองคกรหลายแหงทั้งในประเทศและตางประเทศ เชน ศูนยพิทักษสิทธิเด็ก (Center for the Protection of Children’s Rights – CPCR) ซึ่งยินดีที่ จะรับรองศูนยของเราในดานกฎหมายและการเงิน ผูอำนวยการของ CPCR คือ คุณสรรพ สิทธิ์ คุมพประพันธ ขณะนี้ไดรับการแตงตั้งใหเปนกรรมการสิทธิเด็กขององคการ สหประชาชาติ (United Nations Committee on Children’s Rights) เปนผูที่ทำงานดานเด็ก มากวายี่สิบปแลว และในระยะสิบกวาปที่ผานมานี้ผมก็ไดรวมงานกับคุณสรรพสิทธิ์ในหลาย โครงการ นอกจากนี้ผมยังติดตอขอการสนับสนุนไปยังองคกรอื่นๆ ที่ผมเคยรวมงานดวย หรือกำลังทำงานในโครงการตางๆ ดวยในขณะนี้อีก เชน UNICEF Thailand และ Save the Children Sweden ซึ่งมีสำนักงานอยูในประเทศไทยและมีความสนใจในปญหา หน้า ๔ ความรุนแรงกับเด็กเปนอยางมาก


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

ชุมชนที่จะเปนที่ตั้งของ “ศูนยสันติวัฒนธรรมชุมชน” นี้อยูที่ตำบลหนองหอย อำเภอเมืองเชียงใหม มีคนอยูประมาณหนึ่งหมื่นกวาคน มีโรงเรียนและวัดอยูสองสามแหง และมี “บานเอื้ออาทร” ซึ่งเปนโครงการสรางที่พักสำหรับคนจนของรัฐบาลไทย เปนอพารต เมนทสูงหาชั้นอยูประมาณสามสิบกวาหลัง มีครอบครัวรายไดนอยอยูประมาณพันกวา ครอบครัว ในประเทศไทยตอนนี้มีสังคมมีความ หวงใยเกี่ยวกับปญหาความรุนแรงมาก และมี ความพยายามที่จะทำอะไรหลายอยางเพื่อปองกัน หรือแกปญหาเหลานี้ แตสวนใหญยังเปนการแก ปญหาที่ปลายเหตุ เชน การแกปญหาความ รุนแรงในภาคใตดวยการพับนกกระดาษหลายพัน ตัวไปโปรยลงจากเครื่องบิน (เปนความคิดที่ได จากเรื่อง “ซาดาโกะกับนกกะเรียนพันตัว”) หรือ แกปญหาเด็กวัยรุนยกพวกตีกัน โดยใหเด็กมาจับ มือและใหดอกไมกัน กิจกรรมเหลานี้คอนขางผิว เผินและไมไดแกที่ทัศนคติหรือความเชื่อของคน หรือไมไดสอนทักษะใหมๆ ใหแกเด็ก พอ แม หรือครู ที่จะเปนการปลูกฝงความคิดที่ จะแกปญหาดวยการไมใชความรุนแรง เรา จึงตองพยายามทำงานดานการปองกัน ความรุนแรงและเสริมสรางทัศนคติหรือคา นิยมการไมใชความรุนแรงใหมากขึ้นอีก อุเทน - ปทุมวันจับมือ

ภาพจาก http://www.talkystory.com/ site/article.php?id=5674

หน้า ๕


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Y โครงการลาสุดที่ผมกำลังทำอยูใน เชียงใหมขณะนี้ โดยไดรับทุนสนับสนุนจาก องคกรชวยเหลือเด็กแหงสวีเดน (Save the Children Sweden) คือการอบรมครูและพอแม นักเรียนในโรงเรียนเทศบาลและโรงเรียนใน อำเภอรอบๆ เชียงใหมจำนวน 6 แหง โดย ความรวมมือจากกลุมละครชุมชน “กั๊บไฟ” เรา จะชวยกันสอนครูและพอแมใหดูแลเด็กโดยไม ลงโทษเฆี่ยนตี แตใช “วินัยเชิงบวก (positive discipline)” แทนการลงโทษ ซึ่งมีการวิจัยใน หลายประเทศ (รวมทั้งการวิจัยของผมในประเทศไทยดวย) วามีประสิทธิภาพดีกวา ชวย ใหเด็กปรับตัวไดดี และเติบโตขึ้นมาเปนคนไมชอบใชความรุนแรง เมื่อเดือนกันยายนปที่ผานมานี้ผมไดไปเขารวมประชุมเรื่องการปองกันความ รุนแรงกับผูเชี่ยวชาญขององคการอนามัยโลกที่กรุงเจนีวา ซึ่งมีขอสรุปจากการศึกษางาน วิจัยจากทั่วโลกวาวิธีหนึ่งที่จะลดหรือปองกันความรุนแรงในสังคมไดอยางยั่งยืนคือการ ปลูกฝง “สันติวัฒนธรรม” ขึ้นในกลุมเยาวชน ครอบครัว และชุมชน การฝกไอคิโดใหเด็ก และเยาวชนถือเปนสวนหนึ่งของความพยายามใน ดานนี้เชนเดียวกัน ผมเชื่อวาหากพวกเราหลายๆ คน ทำงานดานนี้ใหมากขึ้นในเวลาอยางนอยสิบป ตอไปนี้ เด็กไทยรุนตอไปที่โตขึ้นมาเปนผูใหญ จำนวนมากก็จะใชความรุนแรงนอยลง เราก็จะชวย สังคมไดมากทีเดียว

หน้า ๖


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

สำนึก

แหงความมหัศจรรย

อ.ธีระรัตน บริพันธกุล

ผมมีงานสอนวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ บางคนก็ใหชื่อวาวิชาพลวัตพฤติกรรมมนุษยผมคอน ขางจะชอบชื่อหลังนี้มากกวาเนื่องจากสื่อถึงการเปลี่ยนแปลงและสภาวะที่ไมคงทนถาวร เนื้อหา วิชาที่เกี่ยวกับวัยกอนคลอดมีขอมูลที่นาสนใจ เชน ชีวิตเริ่มแรก เราเปนเพียง เซลลเดียวที่ประกอบดวยไขและ สเปรม ทารกเพศหญิงแรกเกิดมี จำนวนไขในรังไข 400,000 ฟอง สเปรมจะถูกขับออกในขณะ รวมเพศครั้งละ 500,000,000 ตัว

ภาพจาก http://worldofweirdthings.com/ wp-content/uploads/2009/07/sperm_egg.jpg

โอกาสไขและสเปรมจะพบปะ กันจนทำใหตั้งครรภไดมีเพียงแค ไมเกิน 3 วันในรอบเดือน

เราทุกคนไมวาจะยาก ดี มีจน เสื้อแดง เสื้อเหลือง หรือกลุมเสื้อหลากสีตางก็เริ่มตนชีวิตจาก การเปนเซลลๆเดียวกันมากอน เราทุกเคยเปนไขหรือเกิดจากไขเพียง 1 ฟองจากจำนวนสี่แสนฟอง เราทุกคนเคยเปนสเปรมและเกิดจากสเปรมเพียง 1 ตัวในจำนวนหารอยลานตัวจากการทำ กิจกรรมกันระหวางพอแมครั้งเดียวและเราทุกคนมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นมาไดเพียงแค 3 วัน ใน จำนวน 28 วัน การไดเกิดจึงถือไดวาเปนความมหัศจรรยของเราทุกคนซึ่งมีโอกาส นอยกวาการถูกหวยหรือการสอบเขาเรียนตอ หน้า ๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

มหัศจรรยการเกิดชวยใหเรามองเห็นคุณคา มองเห็นความเสมอภาคและมองเห็นความ เหมือนมากกวาที่จะมุงมองเห็นแตความแตกตาง ความไมเสมอภาคและความไรคุณคาในตนเอง สังคมไทยทุกวันมีแตความขัดแยงและจบลงดวยการใชความรุนแรงสาเหตุหลักๆก็มักเกิดจาก การยอมรับแตดานที่เหมือนแตไมยอมรับดานที่แตกตางหากทุกคนมองยอนกลับ ณ จุดเริ่มตน ของชีวิตก็คงจะชวยใหมองเห็นความเหมือนกันไดบางและมองเห็นคุณคาของแตชีวิตที่เกิดมา พรอมกับนำพาความมหัศจรรยที่มีเพียงครั้งเดียวในชีวิตมาดวยทุกคน แมการเกิดจะเปนเรื่องที่มีคุณคาและ ความมหัศจรรยและสิ่งนั้นก็ไดมาโดย ไมตองลงทุนลงแรงอะไร ไมอยางนั้น แลวคงไมมีพระพุทธเจาและบุคคลที่ โลกตองจดจำและระลึกอีก มากมาย ทานเหลานั้นไดใช โอกาสที่เกิดมาเปนมนุษยเทา เทียมกับพวกเราจะตางกันก็ ตรงที่ทานเหลานั้นเปนผูสราง ความมหัศจรรยครั้งที่สองดวย มือของทานเอง นั่นก็คือการ สรางจูงใจที่จะพัฒนาตนเองให หลุดพนจากกรอบของความเปน มนุษยธรรมดาทั่วไป การพัฒนาตนเองใหถึงขีดสุดนั้นมีหลายแนวขึ้นอยูกับแตละบุคคลที่จะคนหา เสนทางที่ตนเองคิดวามีคุณและคูควรแกการอุทิศชีวิตใหกับสิ่งนั้น การคนพบจะนำไปสูความ มหัศจรรยครั้งที่สอง มีผูกลาววานิพพานมีอยูในตัวเราทุกผูทุกคนไมวาจะตองหรือไมก็ตามจะตางกันตรงผูที่ ตองการก็จะเสาะแสวงหาไมพบในชาตินี้ก็พบในชาติหนาหรือชาติตอๆไปหากยังไมละทิ้งความ พยายาม ภาพจาก http://www.firstscience.com/home/photos/life-8-weeks_11.html

หน้า ๘


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

เด็กปฐมวัยกับการฝึกไอคิโด สโมสรผูนำเยาวชนเพื่อการศึกษาและพัฒนาชุมชน อำเภอปางมะผา จังหวัดแมฮองสอน

วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ์

“เจ็บไหมลูก นี่หัวชนกันเพราะไมฟง ครูสอน เราก็ผิดทั้งคู ไม ตองโกรธกันนะ คราว หลังตองเชื่อครูนะลูกนะ” ผมบอกลูกชายวัยสาม ขวบกวาที่กำลังน้ำตาตก เพราะเด็กรุนพี่อายุหา ขวบมาแหยกันขณะที่ผม กำลังนำพวกเขาฝก N ผมไมใหใครเขาไปโอ แตลูบหัวเขาเบาๆแลวสอนดวยน้ำเสียงเรียบๆ เจาตัวเล็กสะอึก สะอื้นอยูสักพัก ก็เต็มใจมาฝกตอ N “โกรธพี่เขาไหม” ผมถาม เขาสายหนาแทนคำตอบ ไมถึงหานาทีดีเขาก็กลับมายิ้ม หัว และฝกตอไดอีก N ปดเทอม ที่ปางมะผาเราได สมาชิกมาฝกไอคิโดเพิ่มอีกสามราย แตละคนรุนซูเปอรจูเนียรทั้งนั้น มีหก ขวบ หาขวบ และสามขวบครึ่ง อยาง ละคน ลูกชายผมเล็กกวาใครเพื่อน

หน้า ๙


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

N จะวาไป ผมก็ไดรับแรงบันดาลใจในการฝกไอคิ โดแกเด็กปฐมวัยนี่มาจากทานอาจารยชัยสวัสดิ์นะครับ ถาใครจำได งานไอคิโดสัมพันธครั้งลาสุด จะเห็นวามี เด็กชายรุนจิ๋วมาฝกดวย ถาจำชื่อไมผิดชื่อนองวิคเตอร เปนหลานอาจารยชัยสวัสดิ์นะครับ อายุแคสามขวบเอง นาทึ่งมาก N ทีแรกผมก็ไมคิดจะสอนลูกตอนนี้หรอกครับ เพราะเขายังเล็ก พอดีพี่สาวของภรรยามีลูกชายวัยหา ขวบอยูหนึ่งคน เขาชอบมาดูผมฝกซอมกับเด็กวัยรุนที่ บาน แกก็ไปขอแมอยากใหผมฝกให แมแกก็มาขอผมอีกที ผมก็มานึกถึงนองวิคเตอร ทางเรา เด็กอายุมากกวาก็นาจะฝกไดนะ และถาจะฝกเด็กเล็กก็นาจะมีสักสองสามคนจะไดฝกเปน เพื่อนกัน ลูกของพี่สาวแฟน ลูกชายผม และลูกชายเด็กขางบานปกติก็เปนเพื่อนเลนกันทุกวัน อยูแลว งั้นชวงเย็นก็มาฝกไอคิโดกันเลยทาจะดี แตจะฝกยังไงดีนะ N ทีแรกผมก็นึกไมออก จะแยกฝกดีไหม มาคิดดูแลว ก็คงยาก ผมไมสามารถแยกฝก เด็กแตละรุนไดครับ เพราะคนฝกก็นอย ผมเองก็มีเวลาฝกใหเฉพาะชวงเย็นประมาณสอง ชั่วโมง ก็จำตองฝกรวมกันตั้งแตเด็กสามขวบเศษไปจนถึงผูใหญ แตดวยจำนวนคนฝกไมมาก ประมาณ 3 - 8 คน ก็พอ จะดูแลไดทั่วถึง N นาจะไดฝกใหรุนพี่ ดูแลรุนนองและรุนจิ๋วไป ในตัวดวย เสียเวลา หนอย แตก็ถือเปนการ ฝกใหมีจิตใจเปนไอคิโด อยางหนึ่ง หน้า ๑๐


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

N คนฝกไอคิโดนี่ตองไมเห็นแกตัว ไมเห็นแตจะเอาวิชา ตองเอาคนดวย ตองชวยใหคนอื่นๆพัฒนาไปพรอมกัน กับเรา ถึงตอนนี้แลวนึกถึงโอวาทของ อาจารยฮัตโตริตอนที่ทานเมตตามา ชวยฝกใหเด็กๆที่ปางมะผา ทาน อวยพรวา “ขอใหชวยดูแลคูฝกของเรา ดวย” N กลับมาที่การฝกตอนะครับ การฝกไอคิโดแกเด็ก ปฐมวัยนี่ผมก็เปนมือใหมซิงๆ ไมเคยไปเขาคอรสอบรม ที่ไหน โชคดีที่ไมกี่สัปดาหกอน อาจารยสมบัติสงไฟล คูมือการสอนไอคิโด (Coaching Handbook) จาก The British Aikido Board มาให ผมอานดูบาง โดยเฉพาะใน บท Children and Young People ก็นำมาปรับใช จนวัน นี้สอนพวกเขามาไดยี่สิบครั้งแลว ก็ยังตองเรียนรูตอไป อีกไมรูจบ ถือเปนมลฑลแหงความรูใหมที่ผมไดรับจาก เด็กๆ N ผมไปกางตำราเรื่องเด็กปฐมวัยมาอานเพิ่มเติม ก็พบวา เด็กปฐมวัยตองการพัฒนา ทักษะการใชมือ ใชกลามเนื้อสวนตางๆ ทักษะตากับมือประสานสัมพันธกัน เด็กเหลานี้ ตองการความพึงพอใจในสิ่งที่ทำไดและไดทำ จนเกิดความสุขสงบภายใน เกิดความภาค ภูมิใจในตนเองและเห็นคุณคาของตน ผมก็เลยนำมาเปนฐานคิดหลักการฝกสำหรับเด็ก ปฐมวัยสำหรับผมนั้น คือ “คุณธรรม สนุกและปลอดภัย” จริงๆคือเนนปลูกฝงคุณธรรมนะ ครับ ผานการเรียนรูดวยการเลน เพราะเด็กในวัยนี้เรียนรูผานการเลนเปนหลัก แตใหเขารู ขอบเขต และทำในระดับที่เหมาะสม N แตธรรมชาติของเด็กๆคือมักซุกซน อยูไมนิ่ง อันนี้เราก็ตองจับจุดเขาแลวหาทางสราง กติการวมกับเขา เชน ใหเขาไดแสดงเดี่ยวๆบาง และใหทุกคนปรบมือชมเชยให หน้า ๑๑


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

แตตองพยายามไมสรางใหเขารูสึกชิงดีชิงเดน แขงขันกับคนอื่นดวย ถาเขาทำไดดีก็จะถือเปน ความสำเร็จรวมของทุกคน ถาใครทำไดไมดี หรือฝาฝนกติกาทุกคนก็ตองหาทางชวยกัน ไม โทษกัน บางวันเราก็มีเลี้ยงขนม เปลี่ยนทาซอมใหสนุกๆบาง เด็กๆก็จะตื่นเตน N มีหลักความ ปลอดภัยนิดหนอย ที่ เรียนรูมาคือ อยาปลอย ใหเด็กเล็กอยูบนเบาะโดย ไมมีผูใหญดูแล และตอง มีผูใหญนั่งขนาบขางหรือ คั่นกลางระหวางเด็กเล็ก เสมอเพื่อปองกันเด็กเลน กัน หรือผลุนผลันออกมา เวลาซอม ทั้งตองคอย ระวังภัยใหเด็กดวย เพราะเวลาสาธิต บางที ผูใหญที่เปนอุเกะก็อาจลม ไปโดน หรือเด็กอาจจะยื่นแขนขาออกมา ทำใหบาดเจ็บได อีกอยาง ครึ่งชั่วโมงก็เพียงพอ สำหรับสมาธิและสมรรถภาพรางกายของพวกเขา ที่เหลือพวกเด็กโต กับรุนพี่ๆก็ฝกตอ N เราไมคาดหวังใหเด็กตัวเล็กๆแคนี้เกงไอคิโดนะครับ แตอยากใหเขารักไอคิโด มากกวา เมื่อปลูกตนรักไดตั้งแตเขายังเปนปฐมวัย คือศูนยถึงหกขวบ ซึ่งเปนวัยสำคัญใน การสรางบุคลิกและนิสัยสวนใหญของชีวิตไดแลว ความทรงจำดีๆเกี่ยวกับไอคิโดจะติดตรึง ใจเขาไปอีกนานเทานาน และหากพวกเขาพนปฐมวัยไปแลวยังไดรับการบมเพาะทักษะ อยางตอเนื่อง วิถีแหงสันติภาพ ความรัก และความกลมกลืนก็จะตามมาเอง N

ผมเชื่ออยางนั้น และกำลังพิสูจนความเชื่อนี้ครับ หน้า ๑๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

ความรูสึกของนูนูที่มีตอไอคิโด

หน้า ๑๓


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

สุภาษิตโกะกับ ขาพเจา

(๔)

โดย Nounours’ Mom

<http://NounoursMom.hi5.com>

! “ขาพเจาเปนเพียงผูเริ่มฝกหัดเลน โกะเทานั้น และยังโงเขลาที่จะเขาใจแกนแท ของโกะอยางลึกซึ้ง แตถาเปนจิตวิญญาณ ของไอคิโดแลว ขาพเจาไมปฏิเสธเลยวามัน เปนธรรมชาติและชีวิตของขาพเจาไปแลว ! จากหนังสือ โกะ อัจฉริยะเกมแหงภิ ภพ โดย วันชัย ประชาเรืองวิทย ที่ ขาพเจาไดรับมาจาก เพื่อนผูหนึ่ง ทำให ขาพเจาพบสุภาษิตโกะ บางขอที่จุดประกาย ความคิดใหขาพเจาได เขียนบทความนี้ขึ้นมา เพื่อเผยแพรสุภาษิตโกะที่ขาพเจาเห็นวา สอดคลองกับหลักไอคิโดที่ขาพเจายึดถือ เปนแนวทางในการใชชีวิตอยางสงบสุขตาม ความเขาใจของขาพเจา โดยมิไดยึดติดวาผู ใดจะตองเห็นดวย”

“การแตกคอกันเอง มีแตสิ้นเปลือง” 3

ในการตอสู ไมวาจะเปนการ ตอสูกับปญหาชีวิตหรือในสงคราม ผลลัพธที่นาปรารถนา คือ ชัยชนะ เทานั้น! ! ถากลาวถึงการสงคราม กองทัพที่ แข็งแกรงคือกองทัพที่มีระเบียบวินัย มี ความสามัคคี มีผูนำที่เกง และมีความ เชื่อมั่นในตัวผูนำ ! นอกเหนือจากการมุงใหความ สำคัญในความสามารถเฉพาะบุคคลหรือ ยุทโธปกรณที่มีประสิทธิภาพ หากมีการ แตกคอกัน หรือไมเปนอันหนึ่งอัน เดียวกันเสียแลวคงเปนการยากที่จะได ธงแหงชัยชนะ หน้า ๑๔


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

! การจะเปนยอดฝมือในไอคิโดนั้น นอกจากจะตองฝกฝนอยางสม่ำเสมอใน เทคนิคตางๆแลว เราตองรูถึงจังหวะของ การคลอยตาม แลวจึงจะชักนำคูตอสูใหอยู ภายใตการควบคุมของเรา ! การใชเทคนิคไอคิโดที่ขาดความ ยืดหยุน คลองแคลว ก็จะกลายเปนจุด ออนที่ฝายตรงขามใชเปนเครื่องมือในการ โจมตีเราอยางงายดาย ! ดังนั้น ความเชี่ยวชาญในการใช เทคนิคของไอคิโดจะตองใชควบคูไปกับ ความคลองแคลวและยืดหยุน จึงจะทำให เกิดประสิทธิภาพได ! การเคลื่อนไหวที่ขาดความยืดหยุน จะทำใหขาดความเปนธรรมชาติของการ “คลอยตาม” “เกาะติด” และ “ชักจูง” ขาดความสมดุล เมื่อผูโจมตีแข็งมาและ เราแข็งตอบก็จะเกิดการปะทะ โอกาสที่จะ ชนะมีครึ่งตอครึ่ง ผูที่แข็งแกรงกวาก็จะได ชัยชนะไปพรอมกับการบาดเจ็บของทั้ง สองฝาย

! ฉะนั้น การยืดหยุนจึงมีความสำคัญ มากในการรับมือกับการโจมตีทุกรูปแบบได อยางมีประสิทธิภาพ ! ดังนั้น ไมวาผูโจมตีจะแข็งแรงและสูง ใหญกวาขนาดไหน คนที่ตัวเล็กกวา ออนแอ กวา ก็สามารถใชเทคนิคไอคิโดควบคุมได การฝกกับคูฝกที่มีรูปรางหลายหลากแตกตาง กันก็เปนการฝกการรับแรงหลายๆแบบ ! ซึ่งก็เหมือนกับความขัดแยงในชีวิตที่ เราจำเปนตองยืดหยุนตามแรงของผูโจมตี และเปนอันหนึ่งอันเดียวกับอีกฝาย !

เมื่อไมแตกคอ ก็ไมเสียเลือดเนื้อ

! แตทั้งหมดนี้ก็ขึ้นอยูกับการฝกฝนอยาง สม่ำเสมอ

! แตหากผูโจมตีแข็งมา สวนเราก็ ออนรับโดยไมมีการปะทะและคลอยตาม แรงของผูโจมตีที่สงมา เกาะติดตามแรง I ฝกและฝกฝนเทานั้น เขาไปเพื่อทำใหเขาเสียความสมดุล(การ ทรงตัว)ของรางกาย แลวจึงชักนำเขามาอยู ติดต่อ Nounours’ Mom ได้ที่ ใตความควบคุมของเราดวยเทคนิคไอคิโด <http://NounoursMom.hi5.com>

หน้า ๑๕


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Aikido(ka) in Focus

อยากให้มาทําความรู้จักกับสาวไอคิโดรุ่นเก่าของชมรมไอคิโดมช.กันบ้าง ที่ว่าเก่า

ก็เพราะอ้อมฝึกตั้งแต่เรียนอยู่ปี 4 ประมาณปี 1992 แน่ะ นับนิ้วไม่ถูกเลยว่ากี่ปีแล้ว เรียน จบก็ยังฝึกสม่ําเสมอ แต่เมื่อเปลี่ยนงานจึงมีข้อจํากัดของเวลางานทําให้ฝึกไม่ได้ พองาน จะเริ่มลงตัวก็ต้องสวมบทบาทคุณแม่ ทําให้งดฝึกไปเป็นปีๆ แต่ใจยังร่ําร้องและรอเวลาที่ จะสามารถลดภาระลงเพื่อกลับไปฝึก แต่โชคก็ไม่เข้าข้าง อ้อมประสบอุบัติเหตุขาหักจาก รถชนและหายหน้าไปจากไอคิโดจนทําให้เราคิดว่าอ้อมคงไม่กลับมาฝึกอีกแล้ว

ออม: $ ระหวางที่หายไปก็ครุนคิดถึงไอคิโดตลอดนะ ถึงจะ ไมไดฝกแตก็ดูหนังสือศิลปะการตอสูหลายๆอยาง แตความ รูเรื่องไอคิโดยังนอยมาก สวนมากที่อานๆจะเปนแนว ปรัชญามากกวาเทคนิค จะรูประเภทที่วาบูชิโดเปน อยางไร ทำไมไอคิโดมีความเปนเซนอยู แตสำหรับไอคิ โดเนี่ยพื้นฐานก็ไมคอยรูเทคนิคก็ไมเขาใจ Focus : $ สถานการณการฝกไอคิโดของออมตอนนีV้ V V เปนอยางไร ออม: V ตอนนี้มาฝกสม่ำเสมอรวมทั้งไดรับคำแนะนำจาก หลายๆคน พี่หมอบาง พี่ปอมบาง และทั้งจากอาจารยอีก ทำใหV V รูสึกวาเหมือนกาวกระโดด มันมีความมั่นใจมากขึ้น กลาที่จะลอยตัวตบ เบาะ ลมตบเบาะ เพราะเราเคยไมมั่นใจตัวเองจากขอจำกัดเรื่องขาที่ยังดามเหล็กอยู แต ฝกไปเรื่อยๆรูสึกวารางกายพัฒนาไดดวยตัวเอง การฟนตัวดีขึ้น รางกาย sensitive ไวขึ้น พอรูวามีอะไรมาสัมผัสก็จะเดงไวขึ้น อาจเปนเพราะเราเอาชีวิตไปผูกกับไอคิโด Focus :$

มั่นใจในชีวิตมากขึ้นเหรอ?

ออม: V

ใช รูสึกเหมือนมีความปลอดภัยในชีวิตมากขึ้น

หน้า ๑๖


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Focus : V มันเปนยังไง ออม: V ออมคิดวาถาเราฝกโดยไมมีจุดมุงหมายในการพัฒนาการรับรู มันก็เหมือนกับ การออกกำลังกายธรรมดา แตเรามีความตั้งใจมากขึ้นมีสมาธิมากขึ้นกับการฝก ออมไม ชอบนั่งกรรมฐานนะ แตเวลาฝกออมจะโฟกัสที่อาจารยสอน ถึงแมวาระหวางวันจะมีปญหา มากมายเรื่องงาน เรื่องชีวิต แตพอขึ้นเบาะแลว ไอคิโดมันดึงดูดใหเราสนใจมันอยางเดียว โดยที่เราลืมเรื่องอื่นไปเลย อาจเปนเครื่องมือที่ออมใชในการดึงใจตัวเองมั้ง แตจุดสำคัญอีก อยางนึงคือ เวลาออมไปฝกทุกครั้งออมจะเลาใหลูก(สาว)ฟงตลอด แลวลูกก็จะคาดหวังใน ตัวเรา มองเห็นเราเปน idol เราก็เลยตองตั้งเปาใหฝกมากๆใหไดสายดำ ทำใหเราลุกขึ้นมา ไดอยางทุกวัน เขมแข็งขึ้น มีความสุขดวย Focus : V เหมือนกับวาไอคิโดอยูในแผนชีวิตไปแลว ออม: V ใชคะ ตอนนี้ออมวางแผนชีวิตไว แนนอนคือเรื่องงานและไอคิโด เพราะออมเห็น หลายคนที่ชอบไอคิโด อยากฝก แตทำไมได อาจเปนดวยเรื่องงานบาง เรื่องอื่นๆบาง เรื่อง อุบัติเหตุของออมที่ทำใหขาหัก ออมถามหมอวา ออมจะฝกไอคิโดไดมั้ย ..... V แตออมคิดวาตองเลือกชีวิตใหไดวาออมจะมา ทางนี้ มันนาเสียดายถาเราจะหยุด ณ ตรงนี้ หรือทิ้งชีวิต ตรงนี้ไป แรงฮึดที่ทำใหกลับมาและมีกำลังใจลุกขึ้นมาไดก็เพราะโดโจที่มช. อาจารยสมบัติ อาจารยธีระรัตน และพี่นองชมรม ซึ่งไมวาออมจะนอนอยูในโรงพยาบาลกี่รอบก็จะมา หอมลอมทุกรอบ มันก็เลยเหมือนบานไปแลว เรารูสึกอบอุน คนที่ออมรูสึกผูกพันที่สุดคือ อาจารยสมบัติ อาจารยธี เพราะอาจารยไมเคยทิ้งเราเลย....แลวพี่หมอก็เคยพูดวาชีวิตที่ ผานไปไดในแตละวัน การไดไปฝกไอคิโดคือของขวัญอันล้ำคาในชีวิต เพราะตองทน ทรมานกับขอจำกัดของรางกายที่มีความเจ็บปวด ซึ่งมันทำใหเราเห็นวาพี่หมอมีจิตใจที่ เขมแข็งมาก หน้า ๑๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Focus : V คาดหวังกับการฝกไอคิโดอยางไรบาง ออม: V ไมไดคาดหวังวาจะตองเกงไอคิโด แตจะฝกควบคุมจิตใจไมใหโกรธ ไมใหมี อคติมากกวา ออมมองวาเทคนิคเปนเรื่องรอง ไอคิโดจะดีขึ้นเองถาฝกบอยๆ อีกหนอยก็ เกงเอง แตถึงแมจะเกงขนาดไหนถาจิตใจไมเสียสละ ไมปลอยวางอารมณโกรธมันก็ไมมี ประโยชน ก็มีเหมือนกันนะอารมณโกรธเนี่ย บางที่ออมทำความสะอาดโดโจอยูแลวบางคน ก็มักจะหาเรื่องอูไมชวยเราทำความสะอาด เราก็ตองบอกตัวเองวาเรามาเพื่อพัฒนาจิตใจ นะเราตองฝกตัวเองใหได ถาไมปลอยวางเราก็จะขุนมัว ออมจะนับถือหัวใจ การเสียสละ และการมีน้ำใจ ของผูฝกมากกวา V อีกอยางที่ตองมาฝกก็คือออมไดสัญญาไวกับตัวเองวาตองฝกเผื่ออีกคนที่ไมสามารถ มาฝกไดอีกแลว คือออมไดชุดฝกมาชุดนึงจากอาจารยสมบัติ อาจารยบอกวาชุดมันเล็กและ พอดีสำหรับออม แตเจาของชุดเคาเสียชีวิตไปแลว และปจจุบันออมก็ยังใชชุดนี้อยูนับเปน สิบปแลว และในแตละวันตัวขี้เกียจก็จะมาคอยรบกวนคอยชักชวนหาเหตุใหไมไปฝก เสมอๆ แตเรามีคำถามที่เอาชนะมันไดคือถาเราไมฝกวันนี้แลวครั้งหนาเราจะไดฝกมั้ย จะรอไปถึงเมื่อไหร ? $

แลวคุณละจะรอไปถึงเมื่อไหร

The Art of Peace # ๖๔ เขียนโดย Morihei Ueshiba แปลโดย John Stevens Spring forth from the Great Earth; Billow like Great Waves; Stand like a tree, sit like a rock; Use One to strike All. Learn and forget! John Stevens ไดรวบรวมเอา Doka หรือบทกวีขนาดสั้นของปรมาจารยไวในหนังสือ The Art of Peace ตอมา William McLuskie ไดนำมาลงเผยแพรที่เวบไซต http://omlc.ogi.edu/aikido/talk/osensei/artofpeace/

หน้า ๑๘


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

เดือนนี้เมื่อปที่แลว ประสบการณ์จากการฝึกที่ฮมบุโดโจ

นฤมล ธรรมพฤกษา

! บทความนี้เปนบทสงทายของการฝกไอคิโด ที่ประเทศญี่ปุน เปนประสบการณในเดือนมีนาคม ๒๕๕๒ ที่ไดสมัครเขารวมคาย International Seminar of Budo Culture สำหรับคนตางชาติที่ พำนักอาศัยในประเทศญี่ปุน กิจกรรมนี้จัดเปน ประจำทุกป โดยการสมัครตองใหทางโดโจเปน ผูรับรองและสมัครให ศุกร ๖ มีนาคม ๒๕๕๒ เกาโมงเชาวันนี้ นัดดอรจีเพื่อนนักไอคิโดชาวธิเบตไปเขาคาย International Budo Seminar of Budo Culture ที่เมืองคัตสุระ เขตชิบะ หางออกไปจาก โตเกียวประมาณสามชั่วโมง โดยมีเซนเซฝรั่งสอนคาราเตของนายดอรจีเดินทางไป เปนเพื่อน เราออกจากชินจูกุไปสถานีโตเกียว ประมาณเที่ยงครึ่งก็ถึง งานนี้จัดโดย Nippon Budokan เพื่อใหนักเรียน Budo แขนงตางที่เปนชาว ตางชาติที่พำนักอยูในประเทศญี่ปุนไดมาเรียนรูจักกัน และไดเรียนรูศาสตรของ “บูโดสมัยใหมของญี่ปุน” อื่นๆดวย แนนอนวากบลงทะเบียนในฐานะนักเรียนไอคิ โด แตนายดอรจีลงทะเบียนคาราเต เพราะเขาเปนนักคาราเตระดับสูง(สี่ดั้ง) แต สำหรับไอคิโดเพิ่งเริ่มฝกไดระดับสามกิ้ว หน้า ๑๙


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

คาลงทะเบียนก็ราคาถูกมากเพราะบูโดกังเปนโตโผใหญ ผูเขารวมประมาณรอยคน พวกเราจายคาลงทะเบียนเพียงหาพันเยนY(ประมาณพันแปดรอยบาท) เปนคากินอยูและ คาเลาเรียนสำหรับสามวัน อาคารที่จัดกิจกรรมคือ Nippon Budokan Training Center ซึ่งอยูในบริเวณเดียวกับ International Budo University หลังจากพิธีเปด ตอนบายสองครึ่ง ก็มีเลคเชอรเรื่อง The Re-invention of Budo in Post Meiji Era โดย อเล็กซ เบนเน็ต นาสนใจมาก เพราะพูดถึงประวัติศาสตรหลายชวงของญี่ปุนที่มีการสั่ง หามมิใหฝกฝนบูโด และบางชวงก็มีการรื้อฟนจัดตั้งขึ้นมาใหม การบรรยายประกอบสไลด ของคุณอเล็กซสนุกและไดความรูเยอะมาก เพราะเขาทำงานวิจัยเรื่องนี้มาตั้งแตเปนนัก ศึกษาป.เอกที่มหาวิทยาลัยเกียวโต หัวขอตอมาเปนเรื่อง Rapid Reform in International Judo ซึ่งทางสมาคมยูโดของ ญี่ปุนไดพูดถึงในโอลิมปกที่ผานมาวาไดเหรียญทองกี่เหรียญ นักกีฬาคนไหนแสดงฝมือ อยางไร ขอดีขอเสียเปนอยางไร และในที่สุดก็สรุปวา การเอายูโดมาเปนกีฬา ซึ่งเดิมจะ เนนคะแนนจาก “อิปปอน” คือกระทำทาไมตายทีเดียวแลวชนะไปเลย ก็กลายเปนเปลี่ยน ใหมีคะแนนเล็กคะแนนนอยที่นักกีฬาจะเก็บสะสมได เขาสรุปวาการเปลี่ยนแปลงนี้ทำใหการ ฝกยูโดเพื่อการกีฬามีความกาวราวมากขึ้น การบรรยายตอมาเปนเรื่อง Reflection on the Karate World Championship and future considerations ก็พูดถึงการแขงขันที่ผานมา และตอนนี้พยายามผลักดันใหคาราเต เขาสูโอลิมปก อเล็กซถามคำถามที่นาสนใจวา มาซาโอะเซนเซผูบรรยายคิดอยางไร เพราะ เขาเองก็คัดคานไมใหคาราเตเปนกีฬา มาซาโอะเซนเซตอบวา เขาคัดคานเพราะเพราะมี การเปลี่ยนกฏเกณฑมากมายเพื่อใหเหมาะกับการใหคะแนน ซึ่งทำใหธรรมชาติของคาราเต เปลี่ยนแปลงไป

หน้า ๒๐


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

นาสนใจมากที่ตัวแทนทั้งสองทานสรุปไดใกลเคียงกันวา ความกาวหนาของบูโดในฐานะ กีฬา ทำใหจิตวิญญาณของบูโดหายไป ตอนเย็นมี free training ซึ่งทุกกีฬาก็ขึ้นเบาะซอมกันขะมักขเมนเวนแตไอคิโด ก็พอมี บางที่ฝรั่งสวนใหญเปลี่ยนชุดฝกกัน แตบรรดาคนเอเซียทั้งหลาย เชน กบ(ไทย) และนาย ดอรเจ(ธิเบต) นายแทน(มาเลย) เร็กซ(ฟลิปปนส) และผองเพื่อนที่เพิ่งจะรูจักกันทั้งไตหวัน และเกาหลี ตางแคมามุงดูที่ประตูแตไมมีใครยอมเปลี่ยนชุดลงไปฝกเลย เสาร ๗ มีนาคม ๒๕๕๒ Y วันนี้เปนวันสาธิตบูโดตางๆ เริ่มจากการสาธิตเคียวโด (ยิงธนู) เราเดินไปที่โดโจโดยเฉพาะของเคียวโด ที่ผนังดานหนึ่งเปนประตู กระจกที่เปดไดกวาง ขางนอกเปนสนามดิน มองเห็นเปาที่อยูไกลไป ประมาณหาสิบเมตร เซนเซสองทานสงางามมาก ดวยทวงทาการ เคลื่อนไหวเนิบชาราวกับพิธีกรรม ดูแลวอยากฝกดวยทันที จากนั้นก็ยายเขาไปในโรงฝกหลัก ที่นั่นมีการแบงพื้นที่เปนสวนๆ สำหรับการสาธิตแตละประเภท เริ่มจากการสาธิตซูโมกอน ตอดวย การสาธิตยูโด เปนทาทุมแบบตางๆ เริ่มจากคูตอสูที่ตัวเล็กและเพิ่ม ขนาดใหตัวใหญยักษขึ้น เห็นไดวาทาทุมยูโดสามารถจัดการกับคนที่ ตัวโตกวามากๆไดอยางสบาย ตอมาเปนไอคิโด การสาธิตเริ่มจากคานาซาวะเซนเซกอน โดยมีนักศึกษาจาก IBU (International Budo University) มาเปนอูเกะให ตอดวยโยโกตะเซนเซ ทานสงามากเหมือนเคย มีอูเกะคือฮิ โนเซนเซ (ชิโดอินจากฮมบุ) นายดีเจ ฝรั่งมนุษยพลาสติก และนายแทน หนุมมาเลย

หน้า ๒๑


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Y จากนั้นก็เปนคาราเต จูเคนโด(ดาบปลายปน) นิกินาตะ(งาว - ผูหญิงชั้นสูงในราชสำนักจะตองฝกจน ชำนาญ) และการสาธิตก็จบดวยเคนโด (เปนการ สาธิตโดยใชดาบจริง ไมไดสาธิตทาของเคนโดที่ใช ดาบไมในหนากากและชุดเกราะ)

หลังจบการสาธิต ทางคณะกรรมการก็แจงวาเราสามารถเลือกทดลองฝก new Budo เหลานี้ไดสามอยาง กบพุงไปที่เคียวโดทันที เซนเซทั้งสองทานนารักมาก เขา มาแนะนำใหตลอด ทานเลือกคันธนูขนาดแปดกิโลกรัมให ไมแนใจวาเปนน้ำหนักของธนูหรือขนาดแรงตึงเชือกเมื่องาง ยิง แตอันนี้ก็เบาที่สุดเมื่อเทียบกับธนูอันอื่น มีนองๆจาก IBU มาชวยสอนใหดวย เราตองใสถุงมือผาสีขาวที่มีเฉพาะ นิ้วโปง ชี้ กลาง ตามดวยถุงมือหนังสามนิ้วเหมือนกัน การ ยิงธนูมีพิธีรีตองมาก เหมือนกับการทำสมาธิ ทุกอยางเชื่อง ชา เนิบนาบ แตสงางามมาก ในชั้นเรียนเชานี้ มีคนยิงโดนเปาสี่คนในบรรดาสิบเอ็ด คน กบก็ยิงโดนสองลูก (จากทั้งหมดยี่สิบลูก) ชอบมาก เวลาเซนเซเรียกชื่อเราแลวเขามาสอนตัวตอตัว การปกชื่อ ไวที่โดกี(ชุดฝก)และฮากามาก็ดีอยางนี้เอง หน้า ๒๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

หลังอาหารกลางวัน พวกเราก็ขึ้นรถไป IBU เพื่อฟงเลคเชอรหัวขอ The Spirit of Budo and and Nitobe Inazo’s Bushido พูดถึงความรักชาติของชาวญี่ปุนในสาย เลือดบูชิโด จากนั้นก็คอยเขาเรื่องประวัติของ Nitobe และหนังสือของเขาเรื่องบูชิโด สุดทายเปนเลคเชอรเรื่อง What is Budo Education in Junior High Schools going to be made Compulsory? พูดถึงประวัติระบบการศึกษา Physical Education ของญี่ปุนที่เพิ่มการสอนยูโด ซูโม และ เคนโดเขาไป แตคำถามที่ชาวตางชาติสนใจคือ ใครเปนคนสอน ครูที่สอน PE จะมีความเขาใจบูโดมากนอยแคไหน การใหเกรดเปน อยางไร มีการแขงขันหรือไม นักบูโดตางชาติเหลานี้หวงใยในประเด็นคลายคลึงกันวา การเรียนบูโดในวิชาพละศึกษา นั้นตองแบงเวลาเรียนรวมกับกีฬาอื่น เวลาที่จำกัดคงไมอาจเพียงพอใหเด็กๆเขาใจบูโดได อยางถองแท และการสอนคนที่ไมเขาใจบูโดใหรูจักเทคนิคในการสูรบก็เหมือนกับการให เครื่องมือเพื่อการทำลายลางมากกวา เพราะ “ฮิจิเมะ” (bully - การรังแกกัน) ในโรงเรียน ของญี่ปุนมีมากมาย เกรงวาเด็กๆอาจเอาไปใชในการทำความเจ็บปวดใหกับคนอื่นหรือไม Y จบการบรรยายเราก็กลับไปที่ศูนย เพื่อเปลี่ยนชุดอยางรวดเร็วและพุงไปที่เบาะ เย็นนี้โยโกตะเซนเซสอนการเขาอิริมิรับโชเมง สามแบบในเวลาเดียวกัน Y แบบแรกคือเขาดานหนา ก็สไลด เทาเขาไปหาอูเกะดานหนา แขนที่รองรับมือที่ ฟนลงมาก็หักศอกงอแลวตวัดมวนขึ้นไปฟนที่ คอของอูเกะ (เหมือนการฝกดาบ) ซึ่งเราจะ ภาพจาก http://picasaweb.google.co.uk/ สามารถทุมอิริมิไดจากตรงนี้ DublinAikido/DAATripToJapanMay2008Aiki Y แบบที่สองคือเขาทางดานหลัง ก็ kaiHombuDojo#5217591928206303234 กาวเทาไปทางดานหลังของอูเกะ กลับหลังหัน มายืนเหมือนกับเขา ใชมือขางหนากดทอนแขนอู เกะ(ต่ำกวาขอพับ)ไว และใชมือขางหลังจับคอหรือกดหนาอูเกะแนบไหลเรา หน้า ๒๓


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

แบบสุดทายคือการเขาลึกแบบอิริมิเทนคังก็ใชมือรองดานลางของมืออูเกะแลวดึงแขน อูเกะเขามา เซนเซเตือนวาใหเขาแบบสงางาม อยางอหลังหรือเกๆกังๆ แลวใชคำวา “คักโคอี้” คือ ให “เท” เขาไว เหมือนกับหากมีคนมาถายรูปแลวรูปตองออกมาดูดีเสมอ ไมเหวงเวิ่นเวอ ฝกเสร็จประมาณหนึ่งชั่วโมงก็พักอาบน้ำอาบทาและเปนเวลาทานอาหารเย็น ตอนนี้ เปนเวลาที่ทุกคนไดมีโอกาสพูดคุยกัน ทั้งคนที่มาจากโดโจเดียวกัน จากตางสำนักและตาง แขนงวิชา กบไดเพื่อนเปนหนุมสาวจากโยชินกังกลุมใหญมาก ที่ถกกันเรื่องเบียรชาติไหน อรอยที่สุด อาทิตย ๘ มีนาคม ๒๕๕๒ เชาแปดโมงครึ่ง มีอภิปราย ที่ IBU เรื่อง Is Budo Education Genuinely beneficial for Children? นำอภิปรายโดย ฮอนดา โซ ทาโร อาจารยจาก มหาวิทยาลัยฟูกูโอกะที่สอนเคนโดดวย คำถามแรกก็เปนเรื่อง Bully (ฮิจิเมะ) เลย ก็มีคน ใหคำตอบและขอคิดเห็นมากมาย ตอนทายๆก็ขอใหเซนเซแตละแขนงมาเลาใหฟงเรื่อง การสอนบูโดใหกับเด็กตามศาสตร ของตนเอง โยโกตะเซนเซบอกวา ในสำนัก ไอคิไกมีการสอนไอคิโดใหเด็กอายุ ตั้งแต ๕ – ๑๔ ป เรียกวา โชเนงบุ เริ่มมาตั้งแตป ๑๙๗๖ และจัดใหมีชั้น เรียนเด็กที่นิปปอนบูโดกังเรียกวา เนเซไทไก

ภาพจาก http://www.aikikai.or.jp/eng/hombu/child.htm

หน้า ๒๔


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

สวนเรื่องการรังแกกันนั้น โยโกตะเซนเซตอบไดประทับใจวา การรังแกกันนั้นมักเกิดกับ เด็กวัยเดียวกัน ไมคอยเกิดขึ้นกับเด็กโตรังแกเด็กเล็ก ดังนั้นการสอนไอคิโดใหกับเด็กจึง ทำใหเขามีความมั่นใจในตัวเองและไมคอยถูกรังแก และระบบรุนพี่รุนนอง (โจเงคังเค) ทำใหบทบาทของเซมไป (รุนพี่) ตองมีความรับผิดชอบและเปนตัวอยางตอรุนนอง (โคไฮ) และรุนนองก็มีความเคารพในตัวรุนพี่ เซนเซเชื่อวา ไอคิโดสามารถมีสวนชวยในการ พัฒนาเด็กเปนอยางมาก สัมนาภาคเชาเสร็จ เราก็ กลับมาที่ศูนย ตอนบายกบเลือก ฝกซูโม เจงมาก พวกผูชายตอง แกผาหมดแตผูหญิงก็อนุโลมให ใสเสื้อผาได นองๆสุดเทมาชวย ใสชุดใหแลวก็นำพวกเราฝก ขา นองใหญเบอเริ่มเทิ่ม แข็งแรง มาก ในการฝกตองยอขาตลอด เวลาซึ่งก็ทำใหปวดไปเหมือนกัน แตสวนดีคือทำใหยืดหยุนดี ตอนแรกนองๆก็สอนทา วอรม และทาพื้นฐาน และใหเราผลักอกพวกเขา จากนั้นก็ใหเราแขงกับนักซูโม พวกหนุมๆ แพหมด แตสาวๆชนะกันใหญ ไมบอกก็รูวาออมมือแนนอน จากนั้นพวกเราก็แขงกันเอง พวกผูชายเลนแรงจนไดเลือดกันเลย แตกบชนะมาตลอด ตั้งแตชนะนองซูโมอวน มาจนถึง สาวๆทุกคน เทคนิคก็คือ centering ยึดจุดศูนยกลางไว ยอตัวใหมาก ถายน้ำหนักและ ตามแรง คือใชเทคนิคไอคิโดนั่นเอง Y ชั่วโมงสองอยากฝกเคนโดมาก แต นายดอรจีเลาวาเสื้อผาตองยืมใสและเหงื่อ ออกจนชุม ชุดฝกยอมครามก็เลยสีตกใส ชุดขาวที่เราใสซอนขางใน และก็เหม็นมาก โดยเฉพาะหนากาก กบก็เลยไปฝกยูโดแทน พวกนักเรียนตางชาติมีกันหาคนในขณะที่ นองๆยูโดอยูกันเต็มเบาะ หน้า ๒๕


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

เราวอรมอัพเสร็จก็ฝกมวนหนา มวนหลัง และก็เขาฝกทาทุมเลย เซนเซมีสี่คน แตคนที่ อายุนอยที่สุดเปนคนสอน และเรียกพวกเราทีละคนมาทุมตอหนาทุกคน งายดายมาก เพราะนักยูโดทุกคนยอมให พอสอนเสร็จแตละทาก็ใหไปเขาคู กลุมของกบมีนองตัวใหญ ยักษคอยดูอยู หนุมๆพวกนี้จะคอยตบมือใหเวลาเราทำถูกตอง จากนั้นนองตัวยักษจะเขา มาเปนคนทุมใหเราฝกลม เจ็บดีจริงโดยเฉพาะเวลาเขากระแทกพื้น ตอนจบ เซนเซใหเราฝกคูกับนายฝรั่งผิวดำตัวใหญหนักเกือบสองรอยกิโล ไมมีทาง จะ ทุมอยางไรก็เอาเธอไมขึ้น เฮอ.. เหนื่อย แตก็สนุกดี ตัวระบมไปหมด พอหาโมงเย็นเปนชวงฝกเทคนิคของตัวเอง วันนี้นอกจากจะมีนักเรียนจากฮมบุ IBU และ โยชินกังแลวก็ยังมีสมาชิกจากบูโดอื่นๆอีกหลายคน Y โยโกตะเซนเซสอนเหมือนเคย อูเกะ ก็คือนายดีเจกับนายแทนเหมือนเมื่อวาน เซนเซสอนการเขารับโชเมง และคาตาเต โทริ และตอนทานสอนรับโยโกเมง เซนเซ เรียกกบไปเปนอูเกะดวย แมจะตกใจมาก แตก็ยอมไปเปนอูเกะแตโดยดี ก็พอลมได แบบไมขายหนาครูบาอาจารย เซนเซทาน เลือกทาที่ลมงายๆสำหรับกบ คือ อิกเกี้ยว นิกเกี้ยว ซังเกี้ยว ยงเกี้ยว รวดเดียวจบ ค่ำคืนนี้มีปารตี้เลี้ยงลา แตกบหนีไปหลับเพราะรูวาพวกเคาจะเขใหตัวแทนแตละ ประเทศมาแสดงวัฒนธรรม แลวใครละจะเปนตัวแทนจากประเทศไทย… ถาไมใชเรา

หน้า ๒๖


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

จันทร ๙ มีนาคม ๒๕๕๒ เชานี้มีชั้นเรียนของ Kobudo หรือ ancient budo ซึ่ง ครั้งนี้ โมริ ฮาการุเซนเซ พูดถึงความเปนมาและแนวคิดพื้น ฐานของ “ไดโตะ-ริว ไอกิจูจิตสู (สาขาเทคุมะไก)” กอตั้ง โดยทาน “อิสะ เทคุมะ” ไดโตะ-ริวฯไมใชเปนแคจูจิตสูที่ grabbing หรือจับล็อค ตรึงอูเกะเทานั้นแตเปนไอกิ คือมีการ control และ mobilized อูเกะดวย ทาทั้งหมดมี ๒,๘๘๔ ทา แตเทคนิคที่ใชประจำจะมีประมาณ ๗๐๐ ทา ซึ่ง จะเนน “โคเต” คือเทคนิคตางๆที่ใชกับการจับตั้งแตหัวไหลลงมาถึงปลายนิ้ว เสาหลักสาม ประการของไดโตะ-ริว คือ “คังเคซึ” – joint techniques, “คิวโชวาซะ” – vital point techniques, “ไอกิวาซะ” – aiki point หรือ การควบคุม attacker บริเวณ Kote area โดยไมใชกำลังแตเนนใหอูเกะเคลื่อนไหวเองดวยความเจ็บปวด หลังจากการบรรยาย ก็มีการสาธิตและการสอน พวกเราก็ตื่นเตนกันมาก จับคูกันใหญ มีเสียงรองโอดโอยตามมาเปนระยะๆ พอเซนเซสาธิตเสร็จพวกเราชาวไอคิโดก็จะพุงเขาไป ขอใหเซนเซชวยจับพวกเราล็อคแลวก็รองซี๊ดซาดสะใจ ทั้งนายเรกซและนายแทนลมกัน แทบไมเปนทา ทั้งชาวโยชินกังก็มาขอใหเซนเซจับลอคดวย สนุกดี นายดีเจบอกวา เราโชคดีมากที่มาฝกที่นี่ปนี้ เพราะปกติไอกิจูจิตสูจะคอนขางเก็บตัว ไม คอยเปดเผยกับคนภายนอกเพราะเปนเคล็ดลับวิชา และคนที่ฝกก็มีจำนวนนอยมากเมื่อ เทียบกับไอคิโด ฝกเสร็จนายดีเจกับกบก็ควาขาวกลองที่คณะผูจัดเตรียมไวใหรีบกระโดดขึ้นแทกซี่เพื่อ จับรถไฟเที่ยวเที่ยงเขาโตเกียวเพื่อฝกที่ฮมบุตอนค่ำ ทิ้งเพื่อนคนอื่นๆใหกลับรถรอบบาย ตลอดการเดินทางสามชั่วโมง เราก็คุยกันแตเรื่องไอคิโด นักไอคิโดทุกคนที่นี่ก็ชอบคุยแต เรื่องไอคิโดไมหยุด จนบางที บางคนตองขอรองวา ชวยคุยเรื่องอื่นบางไดไหม เชน ชีวิต เธอเปนอยางไร สบายดีไหม ... เฮอ… ลืมเรื่องชีวิตของตัวเองไปเลย เพราะตลอดเวลาก็ คิดถึงแตไอคิโด… หน้า ๒๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

มาเยี่ยมมาเยือน Kumiko Enokido (3-dan) คุมิโกะเป็นพนักงานอ๊อฟฟิศจากโตเกียว ฝึกไอคิโดทุกวันมาได้ห้าปีแล้ว ขณะนี้ได้ระดับสายดํา สามขั้นจากฮมบุโดโจ คุมิโกะมีโอกาสแวะมาเยี่ยมเยือนชมรม ไอคิโดม.ช. ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ปีนี้ เนื่องจากมา เรียนนวดแผนไทยที่เชียงใหม่ และรู้สึกประทับใจกับ การฝึกรวมทั้งสมาชิกที่ม.ช.เป็นอย่างมาก จนบอกว่า อยากจะกลับมาเยี่ยมพวกเราอีกในอนาคต

Aikikai Foundation Aikido World Headquarters 17-18 Wakamatsu Cho, Shinjuku-ku, Tokyo, 162-0056 Japan Phone: (+81) 3-3203-9236, Fax: (+81) 3-3204-8145 Email: aikido@aikikai.or.jp Website: http://www.aikikai.or.jp/eng/index.htm

TheเขียนโดยArt of Peace # ๑๑๒ Morihei Ueshiba แปลโดย John Stevens The Art of Peace is the religion that is not a religion; it perfects and completes all religions. John Stevens ไดรวบรวมเอา Doka หรือบทกวีขนาดสั้นของปรมาจารยไวในหนังสือ The Art of Peace ตอมา William McLuskie ไดนำมาลงเผยแพรที่เวบไซต http://omlc.ogi.edu/aikido/talk/osensei/artofpeace/

หน้า ๒๘


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

เราจะหมดสภาพ ในการเกลียด ไดอยางไร นพ.วิธาน ฐานะวุฑฒ

“True victory gives love and changes the enemy heart.” GEORGE LEONARD ! เด็กวัยรุนผูชายอายุสิบเจ็ดป เมาสุราและไดรับอุบัติเหตุขับรถจักรยานยนตลมคว่ำ ใบหนา กระแทกพื้น เดินเขามาที่หองฉุกเฉิน มือขางหนึ่งใชผาปดที่ใบหนาที่มีเลือดไหลอาบ สงเสียงเอะอะ โวยวายและไมใหความรวมมือกับเจาหนาที่พยาบาลในการปฐมพยาบาล ตรวจรางกายและดูแล บาดแผล พยาบาลผูหญิงทานหนึ่งถูกวัยรุนทานนี้ถมน้ำลายใสใบหนาในขณะที่พยายามจะเขาไปขอดู บาดแผลของเขา ! สถานการณแบบนี้เกิดขึ้นเสมอๆ ในหองฉุกเฉินของโรงพยาบาลตางๆ ทั่วประเทศและเปน เรื่องหนึ่งที่จะทำใหเจาหนาที่ทางสาธารณสุข “รูสึกโกรธ” ไดอยางรวดเร็วและงายดายมาก ! เพราะเวลาที่เรานึกถึง “คนที่เราไมชอบ” ความคิดของเราก็มักจะตัดสินอยางรวดเร็วใหเราเกิด อารมณความรูสึกไปในทางที่ไมดีไมงามกับคนๆ นี้ อยางรวดเร็วและทันทีและโดยเฉพาะอยางยิ่ง หากวาเราได “คิดแบบนั้น” และ “รูสึกแบบนั้น” ซ้ำๆ ซากๆ อยูอยางเดิม ! ความสามารถเหลานี้นับไดวาเปนความสามารถพื้นฐานของสมองของมนุษยที่ถูกออกแบบไว ใหมนุษยสามารถทำอะไรตางๆ ไดอยางรวดเร็วเปนอัตโนมัติไมตองเสียเวลาคิดอะไร มากมาย พอพบกับ “สิ่งเรา” ก็ใหมี “ปฏิกิริยาตอบสนอง” อยางรวดเร็วทันทีทันควัน หน้า ๒๙


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

และ “สิ่งเรา” ที่ถูกกำหนดจากสมองของเราแตละคนวา “เปนฝายตรงกันขาม” “เปนศัตรู” หรือ “เปนอะไรที่เราไมชอบ” จะกลายมาเปน “รูปแบบที่ชัดเจนมาก” ในการที่ตอบสนองโดยที่เราจะคิด ไมทันหากวาไมมี “ความยั้งคิด” มาคอยเตือนมาคอยดูแลตัวเรา !

จาก “ความโกรธ” บอยๆ ก็จะคอยๆ กลายไปเปน “ความเกลียด” โดยที่เราไมรูตัว

! รูปแบบของ “วัยรุนขี้เมา” ไดกลายมาเปนรูปแบบหนึ่งของ “ความเกลียด” “คนขี้เมา” ใหกับ เจาหนาที่ทางสาธารณสุขในหองฉุกเฉินเหลานี้มาเปนเวลายาวนาน เจาหนาที่พยาบาลผูชายอีกทานหนึ่งเคยเปนคนอารมณ รอนและมีภาพของความทรงจำที่ไมดีนักกับ “วัยรุนขี้ เมา” เหลานี้ ในวันนั้นเจาหนาที่ทานนี้ยอมรับวา โกรธเมื่อเจอสถานการณแบบนี้อีก แตในครั้งนี้ “เขาเลือกที่จะลองทำสิ่งที่แตกตาง” ซึ่งไมงาย เลยนะครับสำหรับเขาที่จะไมทำไปตามอัตโนมัติ แบบเดิมๆ เขาเลือกที่จะทดลองเขาไปสัมผัสวัยรุนทานนี้ดวยความ ออนโยน แมวาจะฝนกับสิ่งที่เขาเคยเปนมาตลอดชีวิต ไมนา เชื่อครับวาวัยรุนที่กำลังเอะอะโวยวายจะคอยๆ สงบลง ยอม ใหตรวจดูบาดแผล ซึ่งก็พบวาริมฝปากทั้งลางทั้งบนฉีกขาด เลือดไหลเปนจำนวนมาก ก็ยิ่งทำใหเจาหนาที่พยาบาล เหลานี้เกิดความรูสึกสงสารและเห็นใจ ! พวกเขาไดนำพาตัวเองใหเขาไปอยูในสถานการณของวัยรุน พวกเขารูสึกเขาใจวัยรุนทานนี้ที่ ตองเอะอะโวยวาย ความกลัววาตัวเองจะเสียโฉม ความกลัวตางๆ ที่มากเกินกวาฤทธิ์ของแอลกอฮอล ที่เขาดื่มเขาไป จอรจ เลียวนารด ซึ่งเปนผูรวมกอตั้งสถาบันอีซาเลนในสหรัฐอเมริกา เขาไดเขียนหนังสือไวหลายเลม หนังสือเลมหนึ่งของเขาที่ชื่อ “The Way of Aikido” บอกไววา “If you understand, you cannot hate.” คุณจะหมดสมรรถภาพในการเกลียด-ถาคุณเขาใจคนที่อยูขางหนาคุณ

หน้า ๓๐


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

! และเราจะสามารถเขาใจ “คนที่อยูขางหนาเรา” ไดก็ตอเมื่อ “เราตองลองสมมติตัวเองให เขาไปอยูในสถานการณ แบบที่เขายืนอยู” เพราะ สิ่งที่เราเห็นเราเขาใจกับสิ่ง ที่คนที่อยูขางหนาเราเห็น และเขาใจยอมไมเหมือน กัน ! การที่เราทดลองเขาไป ยืนในสถานการณของฝายตรง กันขาม ไมไดหมายความวาเราจะตองสูญเสีย จุดยืนของตัวเราไป แตการทำแบบนี้อาจจะทำใหเราไดเห็นสิ่งที่แตกตางไปจากสิ่งที่ เราเคยเห็นเคยเขาใจ ! เจาหนาที่พยาบาลผูชายทานนั้นเลือกที่จะทดลองเขาไปยืนในสถานการณของวัยรุน เขารับรู ความรูสึกกลัว ความวิตกกังวลของวัยรุนที่แมจะขี้เมาและดูนาสมน้ำหนาในจังหวะนั้น ! เขาก็เลยไดเห็นและไดความเขาใจ “ที่แตกตาง” ไปจากสิ่งที่เขาเคยเห็นเคยเขาใจ มากกวาที่จะ ยอมรับ “ความกาวราว” และ “ความรุนแรง” ที่วัยรุนทานนี้มอบไวใหเพื่อนรวมงานของเขาดวยการ ถมน้ำลายและเอะอะโวยวาย เขาเลือกที่จะเปลี่ยนความรุนแรงใหเปนความเขาอกเขาใจกันไดสำเร็จ ! ศิลปะของการตอสูที่ไมวาจะเปนไอคิโด ไทฉีฉวน หรือแมแตมวยไทยของเราเองนั้น ในเบื้องลึก ที่สุด “การตอสู” ไมไดเปนไปเพียงเพื่อการเอาชนะคะคานกันหรือทำรายคูตอสู และจริยธรรมขั้นสูง ที่สุดเทาที่ผูฝกผูเรียนจะสามารถพัฒนากาวหนาไปถึงไดนั้น “จะตองไมทำรายคูตอสู” ! ในไอคิโดมีศัพทคำหนึ่งที่ผมชอบมากที่จอรจ เลียวนารดเขียนไวในหนาที่ ๑๔๖ ของหนังสือ “The Way of Aikido” เลมเดียวกันนี้ก็คือคำวา “Protect the attacker” ! เราจะปองกันไมใหคูตอสูของเราไดรับอันตรายไดอยางไร? ในอีกนัยหนึ่งก็คือ เราจะไมทำรายคู ตอสูหรือศัตรูของเราไดอยางไร? หน้า ๓๑


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒๒ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

! โลกปจจุบันมีสิ่งที่สมองของพวกเราได “ใหความหมาย” ไววา “สิ่งที่เราไมชอบ” เปน “ศัตรู” เปน “ฝายตรงกันขาม” ! แตในความเปนจริงพลังงานในธรรมชาตินั้น ไมเคยเปนศัตรู ไมเคยเปนฝายตรงกันขาม น้ำทะเล ที่กัดเซาะแกงหินที่ชายฝง สายลมที่พัดเซาะแคนยอน สายน้ำที่ไหลจากตนน้ำ ตางๆ เหลานี้ไมไดคิดวา สิ่งที่ปะทะกันเปน “ฝายตรงกันขาม” แตทั้งหมดปลอยใหพลังงานเลื่อนไหลไปตามที่ควรจะเปน ถาผืน ดินคิดวาสายน้ำเปนฝายตรงกันขามก็คงจะไมแมน้ำลำธาร หากภูเขาคิดวาสายลมเปนศัตรูก็คงไมเกิด แคนยอนและอื่นๆ ! เจาหนาที่พยาบาลทานนั้น เลือกที่จะ สลายความรุนแรงที่วัยรุนทานนั้นมอบให ดวย การเดินเขาไปยังใจกลางหัวใจของเขาและ เปลี่ยนแรงปะทะใหไหลออกไป นอกตัวเขา และดูแลวัย รุนที่โจมตีเขากอนทาน นี้ใหปลอดภัย ! ในชีวิตของเรา เรามอง “อุปสรรค” เปน “แรงปะทะ” มากเกินไป หนอยหรือไม ! และหากเราสามารถ “เขาใจแรงปะทะ” เหลานี้ได ก็อาจจะทำใหเราหมดความสามารถในการ เกลียดไดบางกระมัง? เรื่องจาก http://newheartnewlife.net/wordpress/?p=263 เราจะหมดสมรรถภาพในการเกลียดได้อย่างไร? Sunday, December 07th, 2008 | Author: drwithan ภาพจาก http://lookpla-noi.exteen.com/20081123/entry

หน้า ๓๒


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.