#32 AikidoCMU

Page 1

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

AikidoCMU NEWSLETTER

ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาคารกิจกรรมนักศึกษา (อ.มช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถ. สุเทพ อ.เมือง จ. เชียงใหม่ 50200 ติดต่อได้ที่

ดั๊ก (ประธานชมรม) 084-6178601

ป๋อม (ผู้ประสานงานชมรม) 089-7017686

Email: AikidoCMU@gmail.com Facebook: Aikido CMU Blog : http://aikidocmu.wordpress.com


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

จิตวิญญาณแห่งการต่อสู้ : ประวัติศาสตร์ศิลปะการต่อสู้ของญี่ปุ่น พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 10 - 30 สิงหาคม 2555 พิธีเปิดวันที่ 9 สิงหาคม 2555 13.00 ลงทะเบียน 13.15-13.25 พิธีเปิดโดยเจ้าหน้าที่ไทย 13.30-14.30 Lecture - History of Japanese Martial Arts: Weapons, War, and Society 14.40-15.30 Aikido - talk & demo 15.40 พิธีกรกล่าวนํา 15.50 ผอ. มูลนิธิญี่ปุ่นกล่าวรายงาน 16.00 ผู้ว่าราชการ จ.เชียงใหม่และกงศุลใหญ่ ญี่ปุ่น ณ นครเชียงใหม่ร่วมตัดริบบิ้นเปิดงาน

นักเขียนในฉบับ ดร.สมบัติ ตาปัญญา

สารบาญ อ.ธีระรัตน์

จิตวิทยาของการปองกันตัว (2) หลีกเลี่ยงการลุกลามของสถานการณ .....ดร.สมบัติ ตาปญญา เซนในศิลปะการตอสู .....อ.ธีระรัตน บริพันธกุล สูสันติวัฒนธรรม ..... พระไพศาล วิสาโล ประโยชนสุขจากการสอบ ..... วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ เสนทางที่ฉันเดิน : ยุทธภูมิ ..... ออม โอริกามิ AIKIDO FAMILY

บริพันธกุล

๓ ๗ ๙

พระไพศาล วิสาโล วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ์

๒๒ ๒๖ ๒๙

อ้อม โอริกามิ

หน้า ๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

จิตวิทยาของ การปองกันตัว ตอนที่สอง: หลีกเลี่ยงการลุกลามของสถานการณ์ !

ผศ.ดร. สมบัติ ตาปญญา

ในบทความที่ผมเขียนไว้ในฉบับที่แล้ว ผมได้พูดถึงว่าผู้เชี่ยวชาญคนหนึ่งแบ่งภาวะ

การตื่นตัวเป็นระดับต่างๆ โดยมีรหัสเป็นสี ได้แก่ สีขาวคือเบลอ ไม่ระวังตัว ไม่สนใจ สถานการณ์แวดล้อมรอบตัว สีเหลืองคือตื่นตัวพอที่จะรับรู้ว่ามีอะไรเกิดขึ้นหรืออะไรที่ไม่น่า ไว้ใจ สีส้มคือตระหนักว่าภัยกําลังจะมาถึง สีแดงภัยมาถึงตัวแล้ว และสีดําคือคุณกําลังถูก โจมตีหรือทําร้าย และประเด็นสําคัญก็คือ เราจะต้องฝึกตัวเองไม่ให้อยู่ในสภาวะสีขาว แต่ให้ อยู่ในระดับสีเหลืองตลอดเวลา โดยเฉพาะเวลาที่เราอยู่ในที่สาธารณะ ! ก่อนจะเขียนบทความนี้ไม่กี่วันผมก็ได้อ่านข่าวที่น่าจะถือเป็นตัวอย่างของอันตรายที่ อาจเกิดขึ้นกับเราได้หากเราอยู่ในสภาวะสีขาว เรื่องก็มีอยู่ว่า หญิงสาวคนหนึ่งนั่งรอรถเมล์ อยู่ที่ป้ายรถแห่งหนึ่ง ในขณะที่กําลังนั่งอยู่เธอก็ควักมือถือออกมากดเล่นเกม (ภาพนี้เราเห็น กันบ่อยๆ ในรถโดยสาร รถไฟฟ้า หรือที่สาธารณะทั่วไป) ข่าวให้รายละเอียดต่อไปว่า ! “เธอสังเกตว่า มีผู้ชายคนหนึ่งขับมอเตอร์ไซค์มาจอดหน้าศาลา แล้วเดินลงมานั่งฝั่ง ตรงข้าม โดยที่ไม่ถอดหมวกกันน็อกออก ซึ่งขณะนั้นเธอก็ไม่ได้สนใจอะไร นั่งเล่นเกมใน โทรศัพท์มือถือไปเรื่อยๆ จากนั้นไม่นาน รู้สึกว่า ชายคนดังกล่าวได้ลุกมายืนตรง ด้านหน้า เมื่อเงยขึ้นมามอง พบผู้ชายคน นั้นยืนช่วยตัวเองอยู่ ก่อนจะพ่นน้ําอสุจิ ใส่หน้าตนเองทันที โชคดีที่เบี่ยงตัวหลบ ได้ทัน โดยภายหลังเสร็จกิจชายคนดัง กล่าวได้เดินไปขี่รถ จยย.ขับออกไป เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น ท่ามกลางความ งุนงงของทุกคนที่นั่งอยู่ที่ศาลา ขณะที่ตัว เองถึงกับช็อกจนทําอะไรไม่ถูก าพจาก http://www.oknation.net/blog/ajhara/2008/07/08/entry-1


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

!

เมื่อเพื่อนที่นัดกันไว้มาถึงและทราบเรื่อง จึงได้แนะนําให้ไปแจ้งความ แต่ด้วย

ความที่ขณะนั้นกลัวสุดขีด ทําให้จําป้ายทะเบียนรถของชายโรคจิตไม่ได้” ! ในกรณีนี้อาจถือได้ว่าหญิงคนนี้ไม่โชคร้ายเกินไปนัก เพราะหากผู้ชายคนนี้ไม่ได้ ต้องการแค่พ่นอสุจิใส่หน้าเธอ แต่ต้องการทําร้ายเธอเพื่อแย่งมือถือหรือกระเป๋าเงิน เธอ คงจะลําบากกว่านี้อีกหลายเท่า เรื่องนี้จึงช่วยเน้นย้ําให้เราเห็นว่าการตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา ในที่สาธารณะหรือที่ซึ่งอาจมีอันตรายมาถึงตัวนั้นเป็นสิ่งสําคัญและเราควรฝึกให้เคยชิน เป็นนิสัยไว้ดีกว่า ! สําหรับตอนนี้ผมอยากพูดถึงอีกแง่มุมหนึ่งของการป้องกันตัวจากความรุนแรง นั่น ก็คือความตระหนักที่ว่าความรุนแรงมักจะมีรูปแบบที่พอคาดเดาได้ คือมักเริ่มจากจุดเล็กๆ (ดังคําพังเพยจากนิทานอีสปเรื่อง “น้ําผึ้งหยดเดียว” นั่นแหละ) แล้วลุกลามใหญ่โต หาก คุณต้องการที่จะป้องกันตัวเองจากความรุนแรง คุณจึงต้องตระหนักถึงรูปแบบนี้เสมอ และ เมื่อรู้สึกว่าเรื่องกําลังจะลุกลามแล้ว คุณจะได้คิดหาทางออกเสียก่อนที่จะกลายเป็นเรื่อง ใหญ่ขึ้นมา

ภาพจาก http://www.dektube.com/action/ viewarticle/ 15048____________________US _______?vpkey= 6eb53843ae&album_id=

! เช่น วันหนึ่งคุณนั่งดื่มกาแฟอยู่ดีๆ ก็มีชายหนุ่มคนหนึ่งควงแฟนเดินผ่านมาแล้ว คิดว่าคุณมองบั้นท้ายแฟนของเขา (ซึ่งบังเอิญสวยน่ามองจริงๆ แม้ว่าคุณไม่ได้มองก็ตาม) เขาจึงหันมาจ้องหน้าคุณแล้วตะคอกใส่ว่า “มองอะไรวะ” คุณรู้สึกฉุนกึกขึ้นมาก็เลยยกนิ้ว กลางให้เสียเลย ชายหนุ่มคนนั้นกลัวเสียหน้าเพราะแฟนยืนมองอยู่ จึงจําเป็นต้อง “โชว์ พาว” โดยการรี่เข้ามาผลักหน้าอก คุณ ซึ่งตอนที่เขารี่เข้ามาคุณก็ได้ ลุกขึ้นยืนแล้ว (โดยที่อาจยังไม่ ได้ตัดสินใจว่าจะสู้หรือจะหนีด)ี หลังจากนั้นเหตุการณ์ก็ชุลมุน กว่าจะรู้ตัวอีกทีก็มีใครคนหนึ่ง ถูกหามส่งโรงพยาบาลไป แล้ว และอีกคนก็ต้องไป โรงพัก และชีวิตหลัง จากนั้นก็จะมีความ วุ่นวายตามมาอีกอย่าง ไม่สิ้นสุด

หน้า ๔


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

!

คุณอาจคิดว่าเรื่องแบบนี้ไม่น่าเกิดขึ้นได้จริง หรือแค่ชกกันนิดๆ หน่อยไม่น่าถึง

ภาพ(ไม่เกี่ยวข้องกับบทความ)จาก http://freelancework zones .blogspot.com/2012/02/blog-post_4095.html

ตายหรือพิการ ลองอ่านข่าวที่ผมเคยตัดเก็บไว้ คือ “จับมอเตอร์ไชค์รับจ้าง ชกอาจารย์ ดับ” เรื่องมีอยู่ว่า อาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อายุ 45 ปี ขึ้นมอเตอร์ไซค์รับจ้าง เมื่อถึงที่หมายคนขับ เรียกเก็บเงิน 10 บาท ซึ่งตามปกติค่า โดยสารจะเป็น 7 บาท แต่ขณะนั้นเวลาเลย สามทุ่มไปแล้ว จึง ต้องการเก็บ 10 บาท แต่อาจารย์วิศวะยืนยัน ว่าจะจ่ายเพียง 7 บาท ตามราคาปกติ จึงนํา ไปสู่การมีปากเสียงกัน อย่างรุนแรง ขณะนั้นมีเพื่อนของคนขับรถรับจ้างนั่งดื่มสุราอยู่ใกล้ๆ ด้วยความมึนเมาและโมโห แทนเพื่อนจึงวิ่งเข้ามาชกต่อยหลายหมัด จนอาจารย์หนุ่มคนนั้นล้มลงกับพื้นและสลบไป เมื่อถูกนําส่งโรงพยาบาลก็พบว่าสมองได้รับการกระทบกระเทือนอย่างรุนแรงจนทําให้ เสียชีวิตในคืนนั้นเอง อนาคตของคนที่เป็นฝ่ายชกก็คงต้องเข้าคุก ส่วนอาจารย์ที่เสียชีวิตครอบครัวก็ต้องสูญ เสียและลําบากกันไปหมด เพียงเพราะเงินแค่สามบาทเท่านั้นเอง หากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งคิด ได้เสียก่อนว่าเหตุการณ์กําลังลุกลามใหญ่โตและหยุดได้ เรื่องก็คงไม่ต้องลงเอยอย่าง เศร้าโศกเช่นนี้ ดังนั้นหากเราคิดได้ทัน และรู้ถึงหลักการข้อนี้ โอกาสที่เราจะ “ป้องกันตัว” ก็จะเพิ่มสูงขึ้น อีกแน่นอน ทุกครั้งที่มีเรื่องทะเลาะหรือขัดแย้งกับใคร เราจึงควรตรึกตรองก่อนเสมอ ว่า มันคุ้มกับการเอาชีวิตของเราไปเสี่ยงหรือไม่ เพราะบางคนเขาพร้อมที่จะมีเรื่องอยู่แล้ว เหมือนกับสติ๊กเกอร์ติดกระจกท้ายรถคันหนึ่งที่ผมเคยเห็นไม่กี่วันมานี้ ตอนที่ผมขับรถไป บนถนนแถวอําเภอหางดง เขาบอกว่า “มีเรื่องกวน ... (ตรงนี้ติดรูปเท้าไว้) ... ที่ไหนขอ ให้บอก ดีชั่วรู้หมด แต่อดใจไม่ไหว”

หน้า ๕


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

!

คนแบบนี้หากเราไปมีเรื่องกับเขามันก็จะ “เข้าทาง” เขาทันที ยิ่งถ้าเขาเพิ่งดื่มเหล้า

มาใหม่ๆ กําลังอยู่ในอารมณ์คึกคะนองอยากต่อยตีอยู่พอดี หรือมีทัศนคติแบบ “ตาต่อตา ฟันต่อฟัน” ฝังแน่นอยู่แล้ว เราอาจเอาอนาคตมาทิ้งกับเรื่องไร้สาระเสียเปล่าๆ ก็ได้ เช่น การ ขับรถตัดหน้ากัน หรือแซงซ้าย ขับช้า เกะกะ ขวางทาง ! รู้ทันสถานการณ์แบบนี้ไว้ก่อนดีกว่า เพื่อที่เราจะได้ไม่ต้องใช้ความรุนแรงหรือตกเป็น เหยื่อของมันเสียเองในที่สุด

The Art of Peace Doka # ๑๔ เขียนโดย Morihei Ueshiba 1936

แปลโดย John Stevens (Edited by Seiseki Abe under the supervision of Kisshomaru Ueshiba.)

A person who In any situation Perceives the truth with resignation Would never need to draw his sword in haste. John Stevens ไดรวบรวมเอา Doka หรือบทกวีขนาดสั้นของปรมาจารยไวใน หนังสือ The Art of Peace ตอมา William McLuskie ไดนำมาลงเผยแพรที่ เวบไซต http://omlc.ogi.edu/aikido/talk/osensei/artofpeace/

หน้า ๖


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

เซนในศิลปะการตอสู อ.ธีระรัตน บริพันธกุล

ภาพยนตรสวนใหญที่เราชมกันเนื้อหาสวนใหญก็มักวนเวียนอยูกับเรื่องความรักและความ รุนแรงโดยเฉพาะเรื่องของความรุนแรงความสนุกเราใจสุดๆอยูตรงที่ทั้งสองฝายซึ่งก็ไมพนที่จะ ตองเปนพระเอกกับผูรายที่ใชกำลังเขาห้ำหั่นกัน เรื่องก็ลงเอยโดยฝายพระเอกทำลายผูรายลงได อยางยอยยับ เปนเรื่องที่ไมแปลกที่เราจะเสพติดความรุนแรงโดยไมรูตัวเพราะทุกคนจะรูสึกวาเขา คือพระเอกที่ประสบกับความสำเร็จในการการใชความรุนแรง ศิลปะการตอสูแบบตะวันออก ไมวาจะเปนคาราเต, กังฟู, ไอคิโด, วิงชุน เปนอะไรที่มาก กวาความมันสะใจในการใชความรุนแรงและดำดิ่งที่ตอบโตดวยความกาวราวอยางเดียว ศิลปะ การตอสูของโลกตะวันออกมักแฝงปรัชญาแนวคิดแบบเซนเอาไว ศิลปการตอสูจึงเปนเพียงถนน หลวงที่นำไปสูความเชื่อมั่นในตนเองและความสุขสงบทางใจอยางลึกซึ้ง โจ ไฮแอมส ผูเขียนหนังสือ “เซน ในศิลปการตอสู” ไดเลาวา เขาเริ่มเรียนคาราเตใน ป1952 เขาก็ไมตางจากนักเรียนคนอื่นๆคือใชเวลาทั้งหมด ในการฝกเทคนิคการเคลื่อนและใชพละกำลังที่มีอยูอยาง ถูกตอง เขารูสึกภูมิใจที่เปนคนมีฝมือในคาราเต(เปนนัก ปฏิบัตินิยม)ในตอนนั้นถามีคนมาพูดเกี่ยวกับเซนเขาก็รูสึก วาเปนเรื่องที่เหลวไหลและลี้ลับเชนเดียวกับการใช เวทมนตร คาถา โจ ตั้งขอสังเกตวาในคริสตศตวรรษที่สิบหก เมื่อ ความตองการเสพศิลปะการตอสูแบบตะวันออกดวยการ ใชกำลังเริ่มลดลง ศิลปะการตอสูเริ่มหันเหไปสูการฝกฝน ตนเองเพื่อการเจริญเติบโตทางจิตใจ(แนวจิตนิยม) ดังนั้น การตอสูกันใหถึงตายในสมัยนั้นจึงมีคำลงทายดวยคำวา “โด” เชน เคนโด หมายถึงวิถีแหงดาบ ไอคิโด วิถีแหง ความรักและความกลมกลืน

หน้า ๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

เซนไมมีทฤษฎีไมมีคำสอนที่เขียนไวอยางชัดเจน เซนที่เขามาเกี่ยวของกับศิลปการตอสูจะ เมินเฉยในเรื่องพลังแหงปญญาแตยกยองการกระทำตามสัญชาตญาณ โดยมีจุดมุงหมายสูงสุดคือ การปลดปลอยคนใหพนจากความโลภโกรธหลง อาจารยที่สอนศิลปะการตอสูในแนวเซนจะไมแสวงหาศิษยและไมปองกันศิษยที่จะหนี เมื่อ ศิษยคนใดตองการคำแนะนำอาจารยๆก็ยินดีใหโดยมีเงื่อนไขวาศิษยตองดูแลตนเองตลอดเสนทาง นั้น หนาที่ของอาจารยก็คือมอบงานอันเหมาะสมแกศิษยแตละคนเพื่อใหเขาเขาใจอยางถองแทถึง การปฏิบัติ ใหเขาพึ่งตนเองและเขาใจเขาถึงความสามารถภายในของตนใหมากที่สุด ครั้งแรกๆของการสอนของอาจารยเซนในศิลปะการตอสูจะสอนเทคนิคโดยไรคำอธิบาย สาระใดๆทั้งนี้เพื่อเปดโอกาสใหศิษยคนหาสาระดวยตนเอง อาจารยเปนเพียงผูกระตุนแรงบันดาล ใจแกศิษย จากนั้นความหมายและสาระสำคัญของศิลปการตอสูก็จะเผยตัวและเกิด “ภาวะแหงการ หยั่งรู” ในศิษยแตละคนเอง ผูที่ไมเคยลิ้มรสน้ำตาล การบรรยายดวยวาจาไมสามารถชวยใหเขารูสึกถึงรสชาตินั้นได สาระหรือถอยคำจึงนำความหมายไดเพียงบางสวน การรูรสหรือการหยั่งรูตองมีประสบการณกับ มัน ผูสำเร็จอยางถองแทในศิลปะใด ยอมเปดเผยศิลปะนั้นในการกระทำ ตัดตอนและดัดแปลงจากอมตพจนซามูไร “เซน ในศิลปการตอสู” รูจักคนอื่นเปนความฉลาด รูจักตนเองเปนการตรัสรู เลาจื้อ หน้า ๘


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

สู่สันติวัฒนธรรม ๑ พระไพศาล วิสาโล

! หากจะพูดถึงศตวรรษที่ ๒๐ ดวยถอยคำที่กระชับที่สุด คงไมมีคำพูดใดชัดเจนไปกวาคำ ของเยฮูดิ เมนูฮิน นักดนตรีนามอุโฆษชาวอังกฤษ ซึ่งกลาววา “(ศตวรรษนี้)ไดสรางความหวังที่ยิ่ง ใหญที่สุดเทาที่มนุษยชาติเคยวาดหวังมา (ขณะเดียวกัน) มันก็ไดทำลายมายาภาพและอุดมคติทั้ง มวลจนหมดสิ้น” ศตวรรษที่ ๒๐ เริ่มตนดวยความหวังวาโลกนี้จะมีสันติภาพที่ยั่งยืน แตแลวสงครามโลก ครั้งที่ ๑ ก็อุบัติขึ้น แมกระนั้นก็ยังมีความเชื่ออยางกวางขวางวา นั่นคือสงครามซึ่ง “ยุติสงครามทั้ง มวล” แตผานไปเพียง ๒ ทศวรรษเทานั้นสงครามโลกครั้งที่ ๒ ก็เกิดขึ้น ตามมาดวยสงครามเย็น และสงครามตัวแทนระหวางสองมหาอำนาจซึ่งเกิดขึ้นทุกมุมโลก เมื่อสงครามเย็นสิ้นสุดลงพรอม กับการลมสลายของสหภาพโซเวียต ก็ยังเชื่อกันวาสันติภาพจะเกิดขึ้นในที่สุด และ “อวสานของ ประวัติศาสตร”อยูแคเอื้อมเทานั้น แตแลวความหวังนั้นก็พังพินาศ เมื่อเกิดสงครามกลางเมืองใน คาบสมุทรบัลขานและอีกหลายประเทศทั้งในเอเชียและอาฟริกาจนกระทั่งทุกวันนี้ ศตวรรษที่แลวเปนศตวรรษที่นองไปดวยเลือด ระหวางป ๑๙๐๐-๑๙๘๙ ซึ่งเปนปสุดทาย ของสงครามเย็น มีคนถึง ๘๖ ลานคนตายไปในสงครามตาง ๆ ยังไมนับอีก ๔๘ ลานคนซึ่งตายดวย น้ำมือของรัฐบาลของตน (รวมทั้งรัฐบาลที่นำโดยสตาลิน เหมาและพลพต) หลายสวนในจำนวนนั้น ตายเพราะการฆาลางเผาพันธุซึ่งเกิดขึ้น ทั้งในยุโรป อาฟริกา และเอเชีย ศตวรรษที่ ๒๑ ดูเหมือนจะไมไดดีไปกวาศตวรรษที่แลวมากนัก เพราะขึ้นศตวรรษใหมได แคปเดียว สงครามอยางใหมอันไดแก การกอการรายระหวางประเทศ ก็ระเบิดขึ้นอยางเต็มรูปแบบ และจุดชนวนใหเกิดสงครามตอตานการกอการราย ซึ่งลามไปสูทุกมุมโลก ทั้งนี้ยังไมไดพูดถึง สงครามกลางเมืองและการรบพุงซึ่งเกิดขึ้นกับ ๓๐ ประเทศ หรือ ๑ ใน ๘ ของประเทศทั่วโลก ซึ่งมี ประชากรรวมแลวถึง ๒,๓๐๐ ลานคน กลาวอีกนัยหนึ่ง เวลานี้มีประชากร ๑ ใน ๓ ของโลกกำลังอยู ในภาวะสงคราม๒ บทความจาก http://www.visalo.org/article/P_soSanti.htm

หน้า ๙


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

สงครามและความรุนแรงเหลานี้ไมไดเกิดขึ้นเพราะการตัดสินใจสวนบุคคลของผูนำ ประเทศเทานั้น หากยังเปนผลจากแรงผลักดันของคนในชาติ หรือเกิดขึ้นเพื่อตอบสนองความ ตองการของพลเมืองในประเทศ สงครามที่สวนทางกับความปรารถนาของคนในชาติยอมยากที่จะ เกิดขึ้นได ในทางตรงขามสงครามทั้งหลายดำเนินไปไดเปนเวลาหลายปหรือนานนับทศวรรษ ก็ เพราะไดรับแรงสนับสนุนจากคนในประเทศ หรืออยางนอยผูคนก็ไมไดขัดขืนที่จะแบกรับภาระจาก สงคราม ไมวาในทางวัตถุ ทางกาย หรือจิตใจ สิ่งที่ผลักดันหรือหลอหลอมใหคนจำนวนมากสนับสนุนสงคราม ยอมมีมากกวาการ โฆษณาชวนเชื่อทางการเมือง หรือกลไกทางการเมืองที่สามารถระดมมวลชนใหคลอยตามผูนำที่ พาประเทศเขาสูสงคราม สิ่งที่ลึกลงไปกวานั้นที่ทำใหการโฆษณาชวนเชื่อและกลไกทางการเมือง บรรลุผลได ก็คือ “วัฒนธรรม” ซึ่งรวมไปถึงสำนึกรวม คุณคา ความเชื่อ และทัศนคติที่ผูคนใน ประเทศยึดถือรวมกัน สวนเสี้ยวของวัฒนธรรมที่สนับสนุนความรุนแรง หรือผลักดันใหผูคนเห็น ความรุนแรงเปนทางออก นี้เองที่ทำใหสงครามเกิดขึ้นไดในระดับประเทศ เราอาจเรียกวัฒนธรรม สวนนี้วา เปน “วัฒนธรรมแหงความรุนแรง” องคประกอบของวัฒนธรรมแหงความรุนแรง ! สำนึกหรือทัศนคติที่มีอิทธิพลอยางมากในการผลักดันใหผูคนกระทำความรุนแรงตอกัน จนนำไปสูสงคราม ก็คือ ความถือตัวถือตนวาสูงกวา ไมวาจะโดยทางชาติพันธุ หรือผิวสี หรือ ภาษา หรือแมแตศาสนา ควบคูกันกันสำนึกดังกลาว ก็คือการเหยียดคนที่มีอัตลักษณตางจากตน วาเปนผูที่ดอยกวา หากการเหยียดนั้นไปไกลถึงขั้นที่เห็นวาต่ำกวาความเปนมนุษย การใชความ รุนแรงกับคนเหลานั้นก็เกิดขึ้นไดไมยาก การลางเผาพันธุชาวยิวเกิดขึ้นไดเมื่อชาวเยอรมันเห็นวา คนยิวนั้นคือ “เชื้อโรค” “ไวรัส” “อสูร” หรือ “เดนมนุษย” ในทำนองเดียวกันสงครามในคาบสมุทร บัลขานลุกลามอยางรวดเร็วและโหดรายยิ่ง ก็เพราะขณะที่ชาวโครเอเชียเหยียดชาวเซอรเบียวา เปน “สัตวสองขามีเครา” คนเซอรเบียก็เรียกคนโครเอเชียวา “คางคาวผี” ในสงครามอาวเปอรเซีย ทหารอเมริกันเรียกการสังหารทหารอิรักที่ลาถอยวา “การยิงไกงวง” บางคนถึงกับเปรียบทหารอิรัก วาเปน “แมลงสาบ”๓ การถือตัวถือตนวาสูงหรือเหนือกวาผูอื่น เมื่อเกิดขึ้นแลวยอมอดไมไดที่จะเหยียดอีกฝาย หนึ่งใหต่ำกวา แตไมมีอะไรที่อันตรายเทากับการถือตัววา เปนผูที่มีคุณธรรมสูงกวา หรือประเสริฐ กวา เพราะนั่นจะทำใหผูที่อยูคนละฝายถูกประทับตราไปในทันทีวา เปนผูที่ชั่วรายต่ำทราม อะไร ก็ตามเมื่อถูกตราวา ชั่วรายแลว ก็ไมมีเหตุผลที่จะอยู หากสมควรที่จะถูกขจัดออกไป ความรุนแรง ที่กระทำกับคนเหลานั้นกลายเปนความชอบธรรมขึ้นมาทันที หน้า ๑๐


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

อัตลักษณนั้นในดานหนึ่งชวยทำใหเกิดความรูสึกรวมกันในหมูผูที่มีอัตลักษณเดียวกัน แตในอีกดานหนึ่งก็ทำใหผูมีอัตลักษณตางจากตน ถูกกีดกันออกไป กลายเปนคนละพวก จนอาจ ถึงขั้นกลายเปนปรปกษกัน ความเปนปฏิปกษนี้จะรุนแรงเขมขนมากหากเกิดความรูสึกแบงเขา แบงเราขึ้นมาวา “ฉันดี แกชั่ว” เชื้อชาติ ผิวสี ภาษา อาจทำใหเกิดความรูสึกดังกลาวได แตก็ไม มากเทากับศาสนา ไมวาตางศาสนาหรือตางนิกายก็ตาม การปฏิบัติศาสนายิ่งเครงมากเทาไร ก็ยิ่ง เสริมความรูสึกวา “ฉันเปนคนดี” มากเทานั้น และเห็นคนที่ไมปฏิบัติตามแนวทางของตัว เปนคน ชั่วมากขึ้นตามไปดวย ในยุคสงครามเย็นนั้น คำถามสำคัญก็คือ “คุณอยูขางใคร?” แตในยุคปจจุบัน คำถามที่ สำคัญกวาคือ “คุณเปนใคร ?” คุณเปนคนผิวสีอะไร เปนคนชาติไหน เปนคนศาสนาอะไร อัต ลักษณเหลานี้กลายเปนประเด็นสำคัญทางการเมือง ที่กำหนดความสัมพันธทางอำนาจของผูคน กลุมตาง ๆ ในสังคม ขณะเดียวกันก็เปนพลังสำคัญในการระดมทรัพยากรทางการเมืองเพื่อขับ เคลื่อนประเทศ(หรือชุมชนทางการเมือง)ใหไปในทิศทางที่ตองการ ซึ่งสวนใหญมักหนีไมพนการ รื้อฟนความยิ่งใหญในอดีต(ตามที่เชื่อกัน)ใหกลับคืนมา แตสิ่งที่มักเกิดขึ้นควบคูกันก็คือการสราง ภาพอีกฝายหนึ่ง(ที่มีอัตลักษณตางกัน)ใหเปนศัตรู หรือเปนตนตอแหงความเสื่อมทรามและปญหา ทั้งมวลที่เกิดขึ้น เชนเดียวกับที่ชาวยิวเคยถูกตราหนาวาเปนตัวการแหงความเลวรายทั้งปวงใน ประเทศเยอรมนี การมีศัตรูอยูขางนอก ยังทำใหเกิดความสมัครสมานสามัคคีในหมูพวกเดียวกันได งายขึ้น การเมืองที่ชูเรื่องอัตลักษณ จึงเปนตัวบมเพาะความเกลียดชังและแพรความรุนแรงให ระบาดอยางรวดเร็วในปจจุบัน ทั้งนี้โดยวัฒนธรรมแหงความรุนแรงที่มีอยูเดิม (โดยเฉพาะความ ถือตัวถือตนวาสูงกวาหรือดีกวา) เปนเครื่องมือ ขณะเดียวกันก็ตอกย้ำวัฒนธรรมดังกลาวใหมั่นคง แนนหนาขึ้น นอกจากความถือตัวถือตนวาสูงกวา(ซึ่งพุทธศาสนาเรียกวา“มานะ”)แลว องคประกอบที่ สองของวัฒนธรรมแหงความรุนแรงก็คือ การยึดติดในความคิดความเชื่อหรือลัทธิอุดมการณ (ซึ่ง พุทธศาสนาเรียกวา “ทิฏฐิ”) ความยึดติดดังกลาวหากมีมากชนิดฝงหัวสามารถทำใหผูคนยอมทำ ทุกอยางเพื่อความเชื่อหรือลัทธิอุดมการณนั้น แมวาตัวเองจะตองตาย หรือทำใหผูอื่นตายก็ตาม ในดานหนึ่งเราจึงเห็นการสละชีวิตราวใบไมรวงเพื่อลัทธิคอมมิวนิสตในรัสเซีย จีน เวียดนาม กัมพูชา แตในอีกดานหนึ่งเราก็เห็นการสังหารผูคนนับไมถวนในประเทศเหลานั้นเนื่องจากขัดขวาง ความกาวหนาของลัทธิดังกลาว (อยางนอยก็จากมุมมองของผูนำในประเทศดังกลาว)๔

หน้า ๑๑


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

แมลัทธิคอมมิวนิสตจะลมสลายไปเกือบหมดแลว แตก็มีลัทธิอุดมการณอื่น ๆ ที่เขามา ครอบงำจิตใจของผูคนแทน จนนำไปสูการทำสงครามกัน ที่สำคัญก็คือลัทธิชาตินิยม ซึ่งเปนปจจัย สำคัญในการทำใหเกิดสงครามกลางเมืองเพื่อแยกประเทศจนเกิดประเทศใหม ๆ เพิ่มขึ้นมากมาย ในขณะที่อีกหลายประเทศยังมีการสูรบอยางไมเลิกราในบัดนี้ เทานั้นยังไมพอ ลัทธิอุดมการณที่มา ในรูปศาสนายังเปนอีกปจจัยหนึ่งซึ่งมีบทบาทอยางมากในการผลักดันใหเกิดความรุนแรงนานา ชนิด ทั้งในรูปสงครามระหวางประเทศ สงครามกลางเมือง การกอการราย และการนองเลือด ระหวางกลุมชน ความติดยึดในลัทธิอุดมการณจนฝงหัว นอกจากจะทำใหมองคนที่คิดหรือเชื่อตางจากตน เปนศัตรูแลว ยังอาจบมเพาะความโกรธเกลียดจนถึงขั้นทำรายคนเหลานั้นได บอยครั้งลัทธิ อุดมการณดังกลาวยังเพิ่มพูนความถือตัวถือตนของผูสมาทานลัทธินั้น วาเปนผูสูงกวาในทาง คุณธรรม ซึ่งในทางกลับกันก็ทำใหเหยียดอีกฝายวา มีคุณธรรมดอยกวา หรือเปนคนเลวราย (ดังนั้น จึงไมสมควรมีชีวิตอยูบนโลกนี้) ดังผูที่เชื่อวาชีวิตเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ตองเชิดชูปกปอง (pro-life) บางคนถึงกับบุกเขาไปสังหารหมอและพยาบาลในคลินิกทำแทง หรือนักอนุรักษสิ่งแวดลอมแบบ สุดโตงบางคนลงมือสังหารผูที่ทำลายสิ่งแวดลอมหรือทรมานสัตว แนนอนวาในบรรดาลัทธิ อุดมการณทั้งหลาย ศาสนาที่สมาทานอยางยึดติดสามารถทำใหเกิดความรูสึกทางลบไดมากที่สุด ตอคนที่คิดตางจากตน องคประกอบที่สามของวัฒนธรรมแหงความรุนแรงก็คือ ความทะยานอยาก ( พุทธศาสนา เรียกวา “ตัณหา”) ความทะยานอยากที่มีอิทธิพลในปจจุบันมากที่สุด มาในรูปของวัตถุนิยมและ บริโภคนิยม ซึ่งทำใหเชื่อวา ความสุขเกิดจากการบริโภค หรือบริโภคมากเทาไร ก็ยิ่งมีความสุขมาก เทานั้น ความเชื่อดังกลาวทำใหเกิดความทะยานอยากไมรูจักพอ จึงนำไปสูการแขงขัน ชิงดีชิงเดน และเอารัดเอาเปรียบกันทั้งตั้งแตระดับบุคคลไปจนถึงระดับประเทศ สิ่งที่ตามมาคือความรุนแรง จนถึงขั้นประหัตประหารกัน นอกจากอาชญากรรมที่แพรระบาดในหลายประเทศแลว ปจจุบันยังมี สงครามระหวางประเทศและสงครามกลางเมืองจำนวนมากเกิดขึ้นเพราะการแยงชิงทรัพยากรและ ผลประโยชนทางเศรษฐกิจ ประมาณวา ๑ ใน ๔ ของสงครามและการรบพุงในชวงหลายปที่ผานมา ประทุขึ้นมาหรือลุกลามขยายตัวเพราะการแยงชิงและครอบครองทรัพยากรธรรมชาติ (Williams 161) การประหัตประหารระหวางเผาพันธุในหลายกรณีก็มีความขัดแยงทางดานทรัพยากรเปนแรง ผลักดันอยูเบื้องหลัง อาทิ การฆาลางเผาพันธุในรวันดา ซึ่งเชื่อมโยงกับการแยงชิงที่ทำกิน ดังพบวา แมในชุมชนที่มีแตคนเผาเดียวกัน ก็ยังมีการฆากันอยางมากมาย โดยที่คนตายมักจะเปนเจาของ ที่ดิน หน้า ๑๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

นอกจากความรุนแรงทางตรงแลว การเอารัดเอาเปรียบและแยงชิงผลประโยชน ยังกอให เกิดความรุนแรงอีกประเภทหนึ่ง คือ ความยากจนขนแคน จนอาจถึงขั้นเสียชีวิต ในปจจุบันมีคน อดอยากหิวโหยถึง ๑,๑๐๐ ลานคน (หรือ ๑ ใน ๕ ของประชากรโลก) ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นทามกลาง อาหารและทรัพยากรที่มีอยูอยางลนเหลือทั่วทั้งโลก (รวมทั้งในประเทศที่มีคนหิวตายนับลาน) ความ อดอยากเหลานี้ไมไดเกิดจากการขาดแคลนทรัพยากร หากเกิดจากระบบเศรษฐกิจและการคาที่ไม เปนธรรม ซึ่งมุงตอบสนองความอยากอยางไมมีที่สุดของคนสวนนอยที่มีอำนาจ ทั้งในระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ซึ่งทำใหเกิดชองวางอยางมหาศาลระหวางคนมีกับคนไมมี ดวยเหตุนี้เราจึงพบ วาในขณะที่แตละปผูคนในประเทศยากจนตายถึง ๙ ลานคนเพียงเพราะขาดน้ำดื่มและน้ำใชที่ สะอาด (ซึ่งแกไดดวยเงิน ๙,๐๐๐ ลานเหรียญ) คนในยุโรปใชเงินซื้อไอศกรีมปละ ๑๑,๐๐๐ ลาน เหรียญ และซื้อน้ำหอมปละ ๑๒,๐๐๐ ลานเหรียญ สวนเงินที่ใชซื้อครีมบำรุงผิวทั่วทั้งโลกสูงถึง ๒๔,๐๐๐ ลานเหรียญ ไมนับผลิตภัณฑบำรุงผมอีก ๓๘,๐๐๐ ลานเหรียญ๕ โลกาภิวัตนทางเศรษฐกิจและคมนาคม โดยเฉพาะการรุกขยายของตลาดเสรี ไดทำให บริโภคนิยมแพรกระจายไปทั้งโลก กระตุนความอยากและการแยงชิงทรัพยากรและผลประโยชนให รุนแรงขึ้นทั่วทั้งโลก ขณะเดียวกันการรุกของวัฒนธรรมตะวันตก ไดทำใหผูคนในหลายประเทศ หลายวัฒนธรรมรูสึกถูกคุกคามและกลัวจะสูญเสียอัตลักษณหรือออนแอลง จึงยิ่งชูอัตลักษณของ ตนเพื่อเปนกำแพงปกปองตนเองและกีดกันอีกฝายหนึ่งออกไป มีการสรางปมเดนทางเชื้อชาติ สีผิว ภาษา ศาสนา จนเกิดความรูสึกถือตัวถือตนมากขึ้น ขณะเดียวกันก็มีการกลับไปหาอุดมการณ ดั้งเดิมเพื่อเปนเครื่องมือตอสูกับโลกาภิวัตน ชาตินิยมและศาสนานิยมจึงแพรไปทั่วโลก โดยมักมี ลักษณะเปนปฏิกิริยาตอตานอยางเขมขนตอสิ่งที่เชื่อวาเปนภัยคุกคามจากภายนอก จึงเกิดการ เผชิญหนากันมากขึ้นระหวางคนตางชาติตางศาสนา ขณะเดียวกันโลกาภิวัตนยังทำใหเกิดความ หลากหลายทางความคิดความเชื่อมากขึ้นแมกระทั่งในชุมชนเดียวกันหรือขางเคียงกัน จึงงายที่จะ เกิดความรูสึกเปนปฏิปกษตอกัน จนเกิดความรุนแรงไดไมยาก กลาวอีกนัยหนึ่ง ปจจุบันมานะ ทิฏฐิ และตัณหา มีแนวโนมเขมขนเพิ่มพูนมากขึ้น ทำใหวัฒนธรรมแหงความรุนแรงขยายตัวเปนลำดับ วัฒนธรรมเพื่อสันติภาพ ! วัฒนธรรมเพื่อสันติภาพ หมายถึงสำนึก คุณคา ความเชื่อที่ไมสงเสริมความรุนแรง เอื้อตอ ความสมานฉันทและการอยูรวมกันอยางสันติ หากวัฒนธรรมแหงความรุนแรง มีพื้นฐานอยูบน ความถือตัวถือตน ความติดยึดในลัทธิอุดมการณ และความทะยานอยาก องคประกอบสำคัญของ วัฒนธรรมเพื่อสันติภาพก็คือ ความเคารพผูอื่นวาเสมอกับตน ความมีขันติธรรม และความสันโดษ หน้า ๑๓


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

คุณคาหรือสำนึกที่ประสานมนุษยใหเปนหนึ่งเดียวกัน โดยไมคำนึงถึงความแตกตาง ทางอัตลักษณและความเชื่อ เปนสิ่งจำเปนอยางยิ่งในยุคโลกาภิวัตน ใชหรือไมวาการขาดคุณคา หรือสำนึกทั้ง ๓ ประการดังกลาวทำใหผูคนแบงออกเปนขั้ว ๆ และมีชองวางระหวางกันมากขึ้น นอกจากความร่ำรวยอยางสุดโตงที่เกิดขึ้นควบคูกับความจนอยางสุดโตงแลว ยังเกิดขั้วตรงขาม ระหวางสำนึกในความเปนหนึ่งเดียวกันของคนทั้งโลก (globalism) กับการติดยึดกับหมูพวกแคบ ๆ ของตัว ตามลักษณะเชื้อชาติ ภาษาและศาสนา (tribalism) หรือการแบงเปนขั้วระหวางโลก แหงวัตถุนิยมและเทคโนโลยี กับโลกแหงความเครงศาสนาจารีตและพระเจา ซึ่งมีผูตั้งฉายาวา McWorld กับ Jihad หรือขั้วระหวางแนวคิดแบบโลกิยวิสัย (secularism) กับความเครงคัมภีร (fundamentalism) ลักษณะความเปนขั้วตรงขามเกิดขึ้นอยางชัดเจนในดานตาง ๆ จนอาจเรียก ยุคนี้วา ยุคแหงความสุดโตง โลกที่แบงเปนขั้วตรงขาม จะโนมเขามาหากันไดมากขึ้น และเบียดเบียนกันนอยลง หาก ทุกฝายเปดใจเขาหากัน เคารพในอัตลักษณของกันและกัน และมีความเอื้อเฟอตอกันมากขึ้น จะ ทำเชนนั้นไดก็ตอเมื่อมองเห็นวาเราทุกคนมีความเปนมนุษยเหมือนกัน ไมวาจะมีความแตกตาง กันเพียงใด แตนั่นเปนสวนนอยเมื่อเทียบกับสิ่งที่เรามีรวมกัน เชน ความรักสุข เกลียดทุกข ความ ใฝดี ความปรารถนาที่จะไดรับการยอมรับ และความรักในศักดิ์ศรีแหงตน เปนตน นอกจากสำนึกในความเปนมนุษยรวมกัน และการเคารพในศักดิ์ศรีแหงความเปน มนุษยของทุกคนแลว ความเชื่อในการแกปญหาดวยสันติวิธี เปนสำนึกอีกประการหนึ่งที่จำเปน อยางมากสำหรับการสรางวัฒนธรรมเพื่อสันติภาพ ความรุนแรงนั้นสามารถแกหรือยุติปญหาได ชั่วคราว แตกลับสรางปญหาใหมใหเกิดขึ้น หรือทำใหปญหารุนแรงขึ้นในระยะยาว ความรุนแรง แมกำจัดคนชั่วได แตมันก็สรางคนชั่วคนใหมใหเกิดขึ้น และหนึ่งในจำนวนนั้นก็คือผูที่ใชความ รุนแรงเปนอาจิณนั้นเอง ดังนั้นการปฏิวัติดวยความรุนแรงจึงไมเคยกำจัดคนชั่วหมดหรือกอให เกิดสันติภาพอยางแทจริงเสียที เพราะหลังจากกำจัดฝายตรงขามแลว ในที่สุดปนทุกกระบอกก็ หันมายิงพวกเดียวกันเอง ประการสุดทายก็คือการเห็นคุณคาของการมีชีวิตที่เรียบงาย ตระหนักวาความสุขเกิด จากการไดทำสิ่งที่มีคุณคาและความหมายตอตนเองและผูอื่น รวมทั้งการเขาถึงความสุขดานใน อันเกิดจากจิตที่สงบ ไรซึ่งความโกรธเกลียดหรือทะยานอยาก หาไดเกิดจากการตักตวงวัตถุหรือ สิ่งเสพใหไดมาก ๆ ไม กลาวอีกนัยหนึ่งคือความตระหนักวาความสุขนั้นอยูไมไกล หากอยูกลาง ใจเรานี้เอง หน้า ๑๔


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

บทบาทของศาสนาในการสรางสันติวัฒนธรรม ! ความถือตัวถือตน ความยึดติดในลัทธิอุดมการณ และความทะยานอยาก ซึ่งเปนองค ประกอบพื้นฐานของวัฒนธรรมแหงความรุนแรงนั้น โดยเนื้อแทก็คือ การเอาตัวตนเปนศูนยกลาง หรือมุงสรางความเปนใหญแหงตัวตน ตัวตนนั้นไมวาระดับปจเจกหรือระดับรวมหมู ยอมตองการ เอาทุกสิ่งทุกอยางมาหนุนเสริมความยิ่งใหญใหแกมัน ไมวาสิ่งนั้นจะเปนอัตลักษณ ลัทธิอุดมการณ หรือทรัพยสินเงินทอง ศาสนาสำคัญทุกศาสนา มีจุดมุงหมายเพื่อลดความเห็นแกตัวหรือการถือเอาตัวตนเปน ศูนยกลาง หากยกจิตใจของบุคคลใหอยูเหนือความยึดติดในตัวตน พูดแบบพุทธคือ ทำใหมานะ ทิฏฐิ และตัณหา เบาบางลง หรือหมดสิ้นไป ดังนั้นจึงสวนทางกับวัฒนธรรมแหงความรุนแรง ขณะ เดียวกันก็สงเสริมสันติวัฒนธรรม ดวยการเชิดชู ความรัก ขันติธรรม ความเคารพในศักดิ์ศรีแหง ความเปนมนุษยของทุกคน รวมทั้งการเขาถึงความสุขจากชีวิตที่เรียบงายและไมอิงวัตถุ จะวาไป แลวทุกศาสนาลวนถือเอาสันติภาพของมนุษยชาติเปนเปาหมายดวยกันทั้งนั้น การปฏิบัติตามแนวทางของศาสนา สามารถบันดาลใจใหเกิดกุศลธรรม หรือทำใหเกิด คุณภาพใหมในจิตใจ เชน ความเมตตากรุณา ความเอื้ออาทร และความเสียสละอยางไมเห็นแกตัว ศาสนาจึงสามารถเปนแรงขับเคลื่อนใหเกิดความสมานฉันทในสังคม อีกทั้งยังสามารถผลักดันใหมี การเอารัดเอาเปรียบหรือเบียดเบียนกันนอยลง ดังที่เคยมีบทบาทมาแลวในการตอตานสงคราม การ ยกเลิกระบบทาส การพิทักษสิทธิมนุษยชนของคนผิวสี หรือการคัดคานระบอบเผด็จการ อยางไรก็ตามความจริงอยางหนึ่งที่ปฏิเสธไมไดก็คือ ศาสนาตาง ๆ ไดมีสวนไมนอยใน ความรุนแรงที่เกิดขึ้นทั่วทุกมุมโลกไมวาอดีตหรือปจจุบัน สวนหนึ่งเปนผลจากการที่ศาสนาถูกใชใน การสรางความชอบธรรมรองรับความรุนแรง เชน อางคำสอนทางศาสนาเพื่อสนับสนุนสงคราม หรือ อางวาทำสงครามเพื่อเผยแพรศาสนา หรือกอการรายเพื่อปกปองศาสนา (โดยผูที่อางเหลานั้น แทจริงหาไดศรัทธาในศาสนาไม) แตบอยครั้งความรุนแรงก็เกิดขึ้นจากผูที่มีศรัทธาอยางแรงกลาใน ศาสนา หรือไดรับแรงบันดาลใจจากศาสนาโดยตรง ดังไดกลาวกอนหนานี้แลววา บางครั้งศาสนาไดกลายมาเปนอัตลักษณอยางหนึ่งเพื่อยก ตัวเองใหสูงขึ้น ขณะที่เหยียดอีกฝายใหต่ำลงจนถึงกับตราหนาวาเขาเปนคนเลวราย และมีหลาย ครั้งที่ความยึดติดถือมั่นในศาสนาทำใหเกิดความเชื่อมั่นแรงกลาวาจะทำอะไรก็ไดทั้งนั้นเพื่อความ รุงโรจนของศาสนา พูดอีกอยางคือศาสนากลายเปนใบอนุญาตใหฆาคนตางศาสนาก็ได ทัศนะดัง กลาวพบเห็นไดในหมูศาสนิกชนจำนวนไมนอยที่เรียกวาพวกเครงคัมภีร (fundamentalist) ซึ่งหลาย คนไปไกลถึงขั้นเปนพวกสุดโตง (extremist) หน้า ๑๕


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

อยางไรก็ตามควรกลาววาพวกสุดโตงนั้นมิไดมีอยูในหมูศาสนิกหรือพวกเครงจารีตเทานั้น แมผูที่มีความเชื่อแบบโลกย หรือ secularism เชน ลัทธิคอมมิวนิสต ลัทธิอนุรักษนิยมใหม (neo-conservatism) หรือลัทธิอนุรักษธรรมชาติ ก็สามารถมีความคิดแบบสุดโตงได ชนิดที่พรอมใช ความรุนแรงกับผูที่เห็นตางจากตน ดังเห็นไดวาการสังหารผูคนนับลานหลายครั้งเกิดจากลัทธิ อุดมการณในทางโลก เชน นาซี และคอมมิวนิสต กลุมอนุรักษธรรมชาติแบบสุดโตงบางกลุมถึงกับมี คำขวัญวา “ทุกอยางทำไดทั้งนั้น” (everything is permitted) ในอีกดานหนึ่งศาสนายังถูกใชเปนเครื่องมือสงเสริมลัทธิบริโภคนิยม มีการนำคำสอนทาง ศาสนาไปใชในการสนับสนุนการแสวงหาความร่ำรวยหรือสะสมทรัพยสินเงินทอง ปรากฏการณ อยางหนึ่งที่เกิดขึ้นทุกมุมโลกก็คือการแหเขาหาศาสนาเพราะตองการโชคลาภและความมั่งมี ขณะ เดียวกันสถาบันทางศาสนาก็เปนแบบอยางแหงความมั่งคั่งหรือลนเหลือในทางวัตถุ ผูนำศาสนามี วิถีชีวิตอยางสุขสบาย จนกลาวไดวาสถาบันศาสนาจำนวนมากไดกลายเปนรางทรงของบริโภคนิยม ทั้งหมดนี้ลวนสงเสริมใหผูคนมีความทะยานอยากมากขึ้น ทำใหการแขงขันและการเอาเปรียบเพิ่ม ขึ้น ศาสนา(หรือการตีความทางศาสนา)จึงสามารถสงเสริมหรือเปนที่มาของวัฒนธรรมแหง ความรุนแรงได นี้คือสิ่งทาทายศาสนิกชนที่ปรารถนาจะเห็นศาสนาเปนบอเกิดแหงสันติวัฒนธรรม ไปพนความติดยึดทางศาสนา ! ศาสนามีศักยภาพอยางมากในการสงเสริมใหเกิดสันติวัฒนธรรมได แตทั้งหมดนี้จะตอง เริ่มตนจากกาวแรกที่สำคัญมาก นั่นคือการที่ศาสนาจักตองไมกลายเปนปจจัยสงเสริมวัฒนธรรม แหงความรุนแรงเสียเอง ศาสนาสามารถกอใหเกิดความรุนแรงได หากการยึดติดศาสนานั้นเปนไปอยางสุดโตง หรือ เพื่อสงเสริมอัตตา จนเอาตัวเองเปนศูนยกลาง ดังนั้นศาสนาจะตองปองกันไมใหเกิดแนวโนมดัง กลาว ดวยการกระตุนใหผูคนหมั่นมองตนอยางวิพากษและรูเทาทันตนเองอยางลึกซึ้ง เพื่อไมให อัตตาเขามาเปนใหญเหนือจิตใจ (อัตตาธิปไตย) อันที่จริงหัวใจของทุกศาสนาก็คือการทำใหผูคน ละวางจากความยึดถือในตัวตนอยูแลว ดังนั้นหากเขาถึงหัวใจของศาสนา โดยไมติดอยูกับเปลือก หรือรูปแบบของศาสนา ความยึดติดในตัวตนจะลดลง มานะ ทิฏฐิ ตัณหา จะหยั่งไดยากขึ้น สิ่งที่ ตามมาคือความโกรธเกลียดเดียดฉันทจะบรรเทาลง เราจะไมติดในกับดับความคิดวา “ฉันถูก แก ผิด” “ฉันดี แกเลว” เพราะรูวานี้ก็คืออำพรางของอัตตาในอีกรูปแบบหนึ่งเทานั้นเอง หน้า ๑๖


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

! การมองตนเองอยางลึกซึ้งยอมชวยใหเราตระหนักวาเสนแบงความดีกับความชั่วนั้นหาได อยูนอกตัวไม แตอยูในใจเรานี้เอง๖ มนุษยนั้นตราบใดที่ไมรูเทาทันตนเอง แมจะนับถือศาสนาอะไร ก็ตาม ยอมไมตางจาก ระเบิดที่ยังไมถอดสลัด คือสามารถกอความรุนแรงไดรอยแปด แมจะไมมี อาวุธใด ๆ อยูในมือเลยก็ตาม ดังผูกอการ ๑๑ กันยาสามารถสังหารคนหลายพันคนโดยอาศัย เครื่องบินพาณิชยเปนเครื่องมือเทานั้น ระเบิดดังกลาวจะถอดออกไปจากใจไดก็ตอเมื่อเราละวาง ความยึดถือในตัวตน โดยอาศัยการตระหนักรูในตนเองอยางลึกซึ้ง เมื่อระเบิดถูกปลดจากใจ เรายอมมีจิตใจที่โปรงเบาและเปดกวาง จนสามารถกาวขามพน กำแพงแหงศาสนาตลอดจนอัตลักษณทั้งปวง กระทั่งเห็นถึงความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของ มนุษยชาติ ไมวาเราจะนับถือศาสนาอะไร เราก็มีความเปนมนุษยเหมือนกัน อันที่จริงมนุษยนั้นเปน อะไรตออะไรอีกมากมาย นอกจากการเปนชาวพุทธ ชาวคริสต หรือมุสลิม แตใชหรือไมวาบอยครั้ง การนับถือศาสนาของเราทำใหเรามองขามคุณสมบัติดังกลาว และเห็นแตเพียงวาเขานับถือศาสนา อะไร หรือมีศาสนาอะไรเปน “ยี่หอ”เทานั้น๗ การนับถือศาสนาเชนนี้ทำใหเรามองมนุษยอยางคับ แคบ แทที่จริงศาสนาจะตองชวยใหเรามีทัศนะที่ไมเพียงมองเห็นตัวเองอยางลึกซึ้งเทานั้น หากมอง เห็นผูอื่นในมุมมองที่กวางขึ้น ศาสนานั้นในแงหนึ่งเปรียบเสมือน “ราก” ที่ทำใหเราเกิดความรูสึกมั่นคง และมีจิตใจที่ลุม ลึก แตเทานั้นหาพอไม หากศาสนายังจะตองเปรียบเสมือน “ปก” ที่ทำใหเรามีอิสระเสรีในทางจิตใจ ชวยใหเรามองเห็นโลกและเพื่อนมนุษยดวยทัศนะที่กวางไกล (เหมือนกับการมองจากสายตาของ นก) ใชหรือไมวาเมื่อเรามองลงมาจากที่สูง ความแตกตางของมนุษยทั้งหลายที่อยูบนพื้นโลก ไมวา เชื้อชาติ ศาสนา สีผิว ยอมเลือนหายไป เราจะเห็นแตความเปนมนุษยเหมือนกันหมด การเห็นความเปนหนึ่งเดียวกันของมนุษยชาติ ยอมทำใหเรารูสึกใกลชิดกันมากขึ้น จน เห็นมนุษยทุกคนเปนเพื่อนหรือพี่นองกัน โดยไมมีศาสนา เชื้อชาติ สีผิว เปนเครื่องกีดกั้นอีกตอไป ความโกรธ เกลียด ที่มีตอกันจะลดลง ถึงตอนนั้นเราจะพบวามนุษยนั้นมิใชศัตรูของเรา ศัตรูของเรา คือความชั่วราย คือตัณหา มานะ ทิฏฐิ หรือความยึดถือในตัวตน ที่ครองจิตครองใจผูคนตางหาก การกำจัดคนที่ชั่วรายดวยความรุนแรงจึงไมใชคำตอบที่ไดผลยั่งยืน หากจะตองมุงไปที่การขจัด ความชั่วรายออกไปจากใจเขา ซึ่งตองอาศัยความดีและความรักเทานั้นจึงจะสัมฤทธิผล เพราะยิ่ง ใชความรุนแรงหรือความโกรธเกลียดมากเทาไร ก็ยิ่งเพิ่มพูนความโกรธเกลียดและความชั่วรายใน ใจเขามากขึ้น ดวยเหตุนี้พระพุทธองคจึงตรัสวา “พึงเอาชนะความโกรธดวยความไมโกรธ พึง เอาชนะความราย ดวยความดี พึงเอาชนะคนตระหนี่ ดวยการให พึงเอาชนะคนพูดพลอย ดวยคำสัตย” หน้า ๑๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

กลาวอยางถึงที่สุด อิสรภาพในทางจิตใจ ไมไดหมายความเพียงแคอิสรภาพจากความ ยึดติดในตัวตน หรืออิสรภาพจากการครอบงำของความโกรธเกลียดเดียดฉันทเทานั้น หากยัง หมายถึงอิสรภาพจากความยึดติดในศาสนาดวย ใชหรือไมวาลัทธิอุดมการณหรือแมแตศาสนา นั้นสามารถเปนกำแพงหรือคุกกักขังจิตใจของมนุษยได อยางไรก็ตามศาสนาก็สามารถประทาน ปกใหแกเราจนสามารถโบยบินเปนอิสระเหนือกำแพงทางศาสนาหรือลัทธิอุดมการณได แตจะทำ เชนนั้นไดก็ดวยการเขาถึงหัวใจของศาสนาจนละวางจากความยึดติดในศาสนา เปรียบเสมือน การอาศัยแพเพื่อขามแมน้ำ เมื่อถึงฝง ก็กาวออกจากแพ แลวขึ้นฝง โดยไมจำเปนตองแบกแพขึ้น ไปดวย แตแม จะยังไมถึงหัวใจของศาสนา ก็ยังจำเปนอยูเองที่จะตองตระหนักอยูเสมอวา ความยึดติดใน ศาสนานั้นอาจกอโทษได ทั้งในแงการหนุนเสริมอัตตาหรือการแบงเขาแบงเรา บทภาวนาของ นิกายเทียบหินของติช นัท ฮันห นาเปนขอเตือนใจสำหรับศาสนิกทั้งหลายไดเปนอยางดีในเรื่องนี้ “โดยตระหนักถึงความทุกขที่เกิดจากความคลั่งไคลในอุดมการณและความใจแคบ เรา ขอปณิธานวาจะไมหลงใหลติดยึดกับลัทธิอุดมการณหรือทฤษฎีใด ๆ แมแตพุทธศาสนา คำสอน ทางพุทธศาสนาคืออุปกรณนำทางที่ชวยใหเรารูจักพิจารณาอยางลึกซึ้งและพัฒนาปญญาและ กรุณา หาใชลัทธิความเชื่อสำหรับการตอสู สังหาร และยอมตายไม โดยตระหนักถึงความทุกขที่ เกิดจากความติดยึดในทัศนะและการรับรูที่ผิดพลาด เราขอปณิธาน วาจะหลีกเลี่ยงความใจแคบ และติดยึดกับทัศนะในปจจุบัน เราจะเรียนรูและฝกการปลอยวางจากความคิดเพื่อเปดใจรับรู ปญญาญาณและประสบการณของผูอื่น เราตระหนักวาความรูที่เรามีอยูนั้นมิใชสัจจะอันสัมบูรณ ที่ไมเปลี่ยนแปลง สัจจะนั้นพบไดในชีวิต และเราจะสังเกตชีวิตทั้งภายในและรอบตัวเราในทุก ขณะ และพรอมเรียนรูตลอดชีวิต” การเขาถึงหัวใจของศาสนา ยอมชวยใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางลึกซึ้งในระดับจิตใจ จนเกิดอิสรภาพภายในอยางแทจริง เปนจิตที่ไมแบงฝกฝาย และมีความเมตตาอยางไมมี ประมาณตอสรรพสัตว เขาถึงความเปนมนุษยอันสากล คือเห็นถึงความเปนมนุษยของทุกคนกอน ที่จะเห็นวาเขาเปนพุทธ คริสต หรือมุสลิม และ เขาถึงความรักอันสากล มีเมตตากับทุกคนเสมอ กัน กลาวอีกนัยหนึ่งคือเปน “จิตใจไรพรมแดน” (ซึ่งเปนคุณลักษณะประการหนึ่งของพระ อรหันตหรือผูบรรลุธรรมขั้นสูงสุดในทัศนะของพุทธศาสนา) นี้เปนการเสริมสรางสันติวัฒนธรรมที่ จัดไดวาเปนบทบาทในแนวลึก หน้า ๑๘


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

ปฏิบัติการเพื่อสันติวัฒนธรรม ! นอกจากบทบาทในแนวลึกหรือการสรางความเปลี่ยนแปลงระดับบุคคลแลว ศาสนายัง ควรมีบทบาทในดานกวาง ไดแกการสงเสริมใหเกิดความเปลี่ยนแปลงจิตสำนึกและคุณคาใน ระดับสังคม โดยผานระบบการศึกษาและสื่อเพื่อสันติภาพ การสงเคราะหเพื่อนมนุษย และการลด ทอนความรุนแรงในสังคม การศึกษาเพื่อสันติภาพ หมายถึงการศึกษาที่เปนไปเพื่อสงเสริมขันติธรรม ยอมรับความ แตกตาง และเห็นคุณคาของความหลากหลายทางความคิดและทางวัฒนธรรม รูจักใหอภัยและมี ความเอื้อเฟอเกื้อกูลกัน ที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือตระหนักวาความรุนแรงไมอาจแกปญหา อยางยั่งยืน หากตองแกดวยสันติวิธี เพราะสันติวิธีเทานั้นที่เปนหนทางสูสันติภาพที่แทจริง ควบคู กันไปก็คือการสงเสริมใหมีทักษะในการจัดการความขัดแยงดวยสันติวิธี โดยตระหนักวาความขัด แยงก็เชนเดียวกับความแตกตาง จะเปนโทษหรือเปนคุณ ขึ้นอยูกับวาเราสามารถจัดการกับมันได อยางฉลาดหรือไม สื่อเพื่อสันติภาพ นอกจากจะทำหนาที่เปนสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อสันติภาพตามที่ได กลาวขางตนแลว ควรจะมีบทบาทในการลดทอนอคติทางชาติพันธุ ศาสนา และสีผิว โดยนำเสนอ วิถีชีวิต ประเพณี ความเชื่อ รวมทั้งสุขทุกขและความใฝฝนของคนกลุมตาง ๆ เพื่อใหเห็นวาแทจริง เขาก็มีความเปนมนุษยเชนเดียวกับเรา ขณะเดียวกันควรใหน้ำหนักกับขาวสารที่สงเสริมสันติวิธี และการรวมมือกัน ยิ่งกวาที่จะนำเสนอนำเสนอขาวเกี่ยวกับความรุนแรง อาชญากรรม และการ ทะเลาะวิวาทกัน สื่อสำหรับเยาวชนและครอบครัวเปนสื่ออีกประเภทหนึ่งที่มีบทบาทสำคัญในการ สงเสริมสันติวัฒนธรรม เพราะชวยใหเกิดการบมเพาะทัศนคติที่ดีงามแกเยาวชน ปฏิเสธไมไดวา ครอบครัวเปนสถาบันทางจริยธรรมที่สำคัญ ครอบครัวที่เขมแข็งยอมชวยใหเยาวชนมีทัศนคติที่ เกื้อกูลตอสันติภาพและสันติวิธี นอกจากการลดความโกรธเกลียดและความรุนแรงแลว การศึกษาและสื่อเพื่อสันติภาพ ยังควรมีบทบาทในการลดทอนวัตถุนิยมและบริโภคนิยมดวย ปฏิเสธไมไดวาวัตถุนิยมและบริโภค นิยมกำลังมีอิทธิพลอยางมากในวงการศึกษาและสื่อมวลชน การศึกษาและสื่อควรสงเสริมให ผูคนมองชีวิตและโลกโดยไมติดยึดกับความจริงทางวัตถุอยางเดียว เพราะความจริงนั้นมีหลาย ดานที่ไมอาจชั่งตวงวัดเปนตัวเลขหรือตีคาเปนตัวเงินได ขณะเดียวกันก็ชวยใหผูคนตระหนักวามี ความสุขอีกมากมายที่อยูเหนือการเสพหรือการบริโภค เชน ความสุขจากการทำความดี หรือความ สุขจากการให เปนตน หน้า ๑๙


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

การสงเคราะหเพื่อนมนุษย แกนกลางของสันติวัฒนธรรมคือความรักและความเอื้อเฟอ เกื้อกูล คุณคาดังกลาวแสดงออกไดชัดเจนที่สุดมิใชดวยคำพูดหรือการเทศน แตดวยการลงมือชวย เหลือผูอื่นอยางเปนรูปธรรม การเสริมสรางสันติวัฒนธรรมที่ดีที่สุดอยางหนึ่งคือการเขาไปชวยเหลือ เพื่อนมนุษยที่ตกทุกขไดยาก ไมวาเปนเพราะขาดแคลนปจจัยสี่ ถูกกระทำความรุนแรง ถูกเอารัดเอา เปรียบ หรือถูกละเมิดสิทธิ การชวยใหเพื่อนมนุษยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นไมวาระดับบุคคล ระดับ ชุมชน หรือระดับประเทศ นอกจากจะสงเสริมวัฒนธรรมน้ำใจและการเกื้อกูลใหแพรหลาย ชวยให สังคมรมเย็นเปนสุขแลว ยังเปนแบบอยางที่สัมผัสไดจริงวาความสุขนั้นเกิดจากการให มิใชเกิดจาก การบริโภคหรือการมีมาก ๆ เทานั้น ยิ่งศาสนิกลดละตัวตนหรือความเห็นแกตัวไดมากเทาไร การ เขาไปรวมทุกขรวมสุขกับเพื่อนมนุษยก็กลายเปนเรื่องงายมากเทานั้น กลาวอีกนัยหนึ่ง การชวย เหลือเพื่อนมนุษยเปนเครื่องชี้วัดสำคัญประการหนึ่งวาศาสนิกไดลดละตัวตนมากนอยเพียงใดแลว การลดทอนความรุนแรงในสังคม ความรุนแรงในสังคมนั้นมีหลายระดับ ตั้งแตระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน ไปจนถึงระดับประเทศ การปองกันและระงับความรุนแรงเปนการสงสัญญาณที่ ชัดเจนวา ความรุนแรงเปนสิ่งที่มิอาจยอมรับได การที่ความรุนแรงยังแพรหลายในปจจุก็เพราะมี ความเชื่อวาความรุนแรง(อยางนอยก็ในบางเรื่อง เชน การทุบตีภรรยา หรือการรุมทำรายผูตองหาฆา ขมขืน การประหารชีวิตอาชญากร)เปนสิ่งที่ยอมรับได ศาสนิกจึงควรใหควรมีบทบาทแข็งขันในการ ตอตานความรุนแรงทุกรูปแบบ รวมไปถึงการทำสงคราม อยางไรก็ตามนอกจากความรุนแรงทาง ตรงแลว ในสังคมยังมีความรุนแรงทางโครงสราง คือโครงสรางที่สนับสนุนการเอารัดเอาเปรียบ ที่นำ ไปสูความยากจน ความเจ็บปวย และการถูกละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐาน ความรุนแรงทางโครงสรางนั้นมี อยูในระบบเศรษฐกิจ การเมือง และระบบยุติธรรม อันสรางความทุกขยากแกผูคนจำนวนมาก ศาสนิกจึงควรใหความสำคัญในการตอตานและขจัดความรุนแรงเชิงโครงสรางดวยเชนกัน จะทำเชนนั้นไดตองอาศัย ความรักความเมตตาตอผูทุกขยาก ความกลาหาญในการเผชิญ หนากับอุปสรรค ปญญาในการเขาใจสาเหตุอันลึกซึ้ง และสติที่รูเทาทันตัณหา มานะ และทิฏฐิใน ตนเอง ทั้งหมดนี้คือพลังทางศีลธรรมที่ศาสนาสามารถเปนแรงบันดาลใหไดอยางมหาศาล ดังที่มี ตัวอยางมากมากในประวัติศาสตร แตหลายปที่ผานมาศาสนาไดถูกใชเปนแรงบันดาลใจใหผูคน จำนวนไมนอยยอมสละชีวิตเพื่อปลิดชีพผูอื่น กอใหเกิดความทุกขยากแกผูคนมากมาย และทำให หลายมุมโลกตองลุกเปนไฟ ถึงเวลาแลวที่ศาสนาจะเปนแรงบันดาลใจใหผูคนทั้งหลายยอมอุทิศตัว เพื่อปกปองชีวิตผูอื่น และดับเพลิงสงครามดวยความรักความเมตตา อยางกลาหาญ และดวยสติ ปญญาอยางลึกซึ้ง ทั้งนี้โดยอาศัยความเปลี่ยนแปลงอยางลึกซึ้งในทางจิตใจเปนพลังหลอเลี้ยง ภายใน ดวยวิธีนี้เทานั้นสันติวัฒนธรรมจึงจะเปนจริงขึ้นมาได หน้า ๒๐


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

พระไพศาล วิสาโล พระนักคิด นักเขียน และนักกิจกรรมเกี่ยวกับสันติวิธี ปัจจุบันท่านเป็นเจ้าอาวาส วัดป่าสุคะโต ชัยภูมิ

เชิงอรรถ ๑ ปาฐกถาในงานสัมมนานานาชาติเรื่อง “Religion and Culture” ณ มหาวิทยาลัยพายัพ เชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๐ จัดโดยสถาบันเพื่อการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยพายัพ ๒ Jessica Williams “50 Facts that Should Change the World”(Cambridge: Icon Books,2004) น.140 ๓ Jonathan Glover “Humanity:A Moral History of the Twentieth Century” (Yale:Yale University Press,1999) น.50,130 ๔ ข้อความข้างล่างเป็นตัวอย่างที่ชี้ให้เห็นถึงอิทธิพลของลัทธิอุดมการณ์ที่หากยึดมั่นอย่างแรงกล้าแล้ว สามารถเป็นใบเบิกทางสู่การสังหารผู้คนได้ไม่ยาก “เป้าหมายอันยิ่งใหญ่ของเราคือชัยชนะของลัทธิ คอมมิวนิสต์ในทุกหนแห่ง เพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าว ทุกอย่างทําได้ทั้งนั้น ไม่ว่ากล่าวเท็จ ขโมย หรือ ทําลายผู้คนนับแสนหรือแม้กระทั่งเป็นล้าน หากคนเหล่านี้ขัดขวางงานของเราหรือสามารถจะขัดขวางเรา” ทัศนะดังกล่าวไม่ได้เกิดกับผู้สมาทานคอมมิวนิสต์ในรัสเซียเท่านั้น หากยังเกิดขึ้นในจีนและกัมพูชา ในยุค เขมรแดงมีคําขวัญว่า “คนหนุ่มหนึ่งหรือสองล้านคนก็พอแล้วสําหรับสร้างกัมพูชาใหม่” ที่เหลือนอกนั้นไม่มี ความจําเป็นเลย หากถูกกําจัดไปก็ไม่เป็นไร (เพิ่งอ้าง น. 259,306) ๕ Human Development Report (1998) อ้างใน ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ อาวุธมีชีวิต? (กรุงเทพ ฯ:ฟ้าเดียวกัน, ๒๕๔๖) น.๒๒๒ ๖ โซลเชนิตซิน นักเขียนรางวัลโนเบลชาวรัสเซีย ซึ่งเคยถูกจองจําในค่ายกักกันของสตาลิน พูดไว้อย่างน่าฟัง ว่า “ มันจะง่ายดายสักเพียงใด ถ้าเพียงแต่ว่าคนชั่วร้ายอยู่ที่ไหนสักแห่งและคอยทําแต่สิ่งชั่วร้าย เราก็แค่ แยกคนพวกนั้นออกจากพวกเรา แล้วก็ทําลายเขาเสีย เท่านั้นก็จบกัน แต่เส้นแบ่งความดีและความชั่วนั้นผ่า ลงไปในใจของมนุษย์ทุกคน ใครเล่าที่อยากจะทําลายส่วนเสี้ยวในใจของตน?” ๗ ชาวโครแอทผู้หนึ่งได้พูดถึงปัญหาของลัทธิชาตินิยมว่า ได้ลดทอนความเป็นมนุษย์ของผู้คนจนเหลืออัต ลักษณ์หรือคุณสมบัติเพียงประการเดียว “ก่อนหน้านี้ ความเป็นตัวผมถูกนิยามโดยการศึกษา อาชีพ ความ คิด บุคลิก และ สัญชาติด้วย แต่เดี๋ยวนี้ทั้งหมดถูกเปลื้องออกไปจากตัวผมหมด ผมกลายเป็น nobody เพราะ ผมไม่ได้เป็นบุคคลอีกแล้ว ผมเป็นเพียง ๑ ในชาวโครแอท ๔.๕ ล้านคน”(Glover น. ๑๕๒) ใช่หรือไม่ว่า ศาสนานิยม ก็ได้ลดทอนอัตลักษณ์ของผู้คนจนเหลือเพียงหนึ่งเท่านั้นเอง คือนับถือศาสนาอะไร

หน้า ๒๑


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

ประโยชน์สุขจากการสอบ สโมสรผูนำเยาวชนเพื่อการศึกษาและพัฒนาชุมชน อำเภอปางมะผา จังหวัดแมฮองสอน

วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ์

สวัสดีครับทุกทาน เชื่อวาผูอานสวนใหญคงมีประสบการณในการสอบเลื่อนสายไอคิโด กันมาแลว แตเราไมคอยมีใครเขียนถึงประสบการณในการสอบกันสักเทาไร สวนใหญก็จะ เปนการซักถามกันสวนตัว บางคนมาฝกใหม ไมรูจักใครมาก จะถามใครก็กลาๆกลัวๆ บาง คนฝกนานแลวก็จริง แตไมมีจังหวะใหถาม คืออยูไกล ไมคอยไดเจอกัน บางคนก็ขี้เกรงใจ จะถามไปก็หนักปาก ก็อมพะนำความทุกข ความกังวลเอาไว ทั้งๆที่ประสบการณการสอบ เปนเรื่องสำคัญ ที่นาจะมีการแชรกันในวงกวางกันมากๆ ดวยเหตุนี้ ผูเขียนจึงขอนำประสบ การณเล็กๆของตัวเองมาเลาสูผูอาน เผื่อจะมีแงมุมบางประการที่โดนใจใครนำไปใช ประโยชนไดบาง และจุดประกายใหมีคนอื่นๆมาชวยแชรกันมากขึ้น ขึ้นชื่อวาการสอบ แตละคนอาจตีความหรือใหความหมายกับการสอบตางกันไปนะครับ บางก็รองยี้ บางก็รองเย บางก็วาการสอบคือการทดสอบระดับความสามารถครั้งสำคัญที่ ตองมีการเตรียมตัวมาอยางหนัก บางก็ใหความสำคัญพอประมาณ ในขณะที่บางคนก็เลนบทเฉยคือ ไมสอบมันซะอยางนั้น แตขอฝก ไปเรื่อยๆ เขาทำนอง “จอมยุทธ ไร ส าย” ก็ ม ี อย า งไรก็ ต าม สำหรับผูเขียนแลว ทรรศนะตอ การสอบมีความสำคัญอยางมาก เพราะทรรศนะคื อ ตั ว กำหนด ทาทีที่เรามีตอการสอบ รวมถึง การฝกอีกดวย หน้า ๒๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

ยอนไปป 2545 ที่ผูเขียนเคยสอบเลื่อนสายครั้งแรก จำไดวาตัวเองมองการสอบแคบๆ เปนการวัดความรูความสามารถตามเทคนิคตางๆที่อยูในโพย ซึ่งก็โอเค ก็สอบผานๆกันไป ไมไดคิดอะไรมากมาย

สิบปใหหลัง อายุอานามก็ลวงเลยไปตามกาล ประสบการณการสอบและเห็นคนอื่น มาสอบก็สะสมตามวันเวลา ยิ่งสอบยิ่งรูสึกวาเรามองเห็นอะไรๆมากขึ้น อะไรๆในที่นี้ก็คือแง มุมใหมๆที่ไมเคยสัมผัสมากอน เรื่องเหนื่อยนี่มันเปนปกติอยูแลว แตถาเรามองวาสอบทีไร มันทุกขทุกที ผมวาคิดอยางนี้ก็ใช แตคิดแลวมันจะสรางสรรคอะไร สูเรามองแงมุมดีๆ มุม ประโยชนสุขที่จะไดรับจากการสอบ ก็เลยอยากจะชี้ชวนใหผูอานคิดตามไปดวยกันดังนี้ ครับ หน้า ๒๓


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

ประโยชนสุขที่จะไดรับจากการสอบ : ประโยชนสุขกับตัวเอง อันนี้คือสุขภาพรางกาย แข็งแรง (ถาไมโหมฝกเกินไป) จิตใจเปนสมาธิ แนวแน มีวินัย ในการซอมเพราะตองเตรียม ไปสอบ ไดขัดเกลาตัวเอง เวลา สอบก็ ไ ด ฝ  ก ความอดทนต อ ความเหนื ่ อยยาก ฝ กความ ออนโยนที่จะไมโตตอบอุเกะที่ อาจจะเลนแรงๆกับเรา ประโยชนสุขตอผูอื่น ในที่นี้คือ ผูที่มาจับคูสอบกับเรา หรือมาเปนอุเกะให การสอบผานไมผานก็ขึ้นอยูกับ อุเกะอยูไมนอยนะครับ อุเกะดีก็ผอนแรง รับแรง สงแรง บางทีก็ชวยติว เหมือนไกดใหเรา ไปในตัว ถาไปเจออุเกะเลนหนัก ดักแรง เราก็เลนลำบาก แถมอาจจะบาดเจ็บตามมา อุเกะ จึงเปนองคประกอบที่สำคัญมากในการสอบ แตถาเรามีทรรศนะเชิงบวกตออุเกะ ก็จะเอื้อ ตอการสอบใหไอคิโดที่แสดงออกไปราบรื่นกลมกลืน สวยงาม การจะมีทรรศนะอยางนี้ได ก็คงตองคิดออกนอกตัวเองไปบาง คือ ไมเพียงแตนึกขอบคุณอุเกะ แตคิดถึงประโยชนสุขที่ สุขที่อุเกะจะไดรับ นั่นก็คือเขาไดออกกำลังกาย ไดมีสุขภาพดี และเติบโตทางจิตวิญญาณ ไปดวยกัน ทั้งยังสานสัมพันธเปนมิตรตอกันไดในภายภาคหนา เปนภาพความทรงจำที่ครั้ง หนึ่งเราเคยเปนคูสอบดวยกัน สอบเสร็จจะถายรูปคูดวยกัน หรือสงอีเมลแสดงความ ขอบคุณ หรือจะชวนกันไปเลี้ยงฉลองสอบเสร็จผมก็วาไมเลว หน้า ๒๔


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

ประโยชนสุขตอสวนรวม ในที่นี้ ผมแยกเปนสองอยางครับ อยาง แรก ประโยชนตอสังคม ผมสังเกตดูเวลาสอบก็ จะมีผูปกครอง เพื่อนฝูง คนรัก ญาติพี่นอง รวม ถึงคนภายนอกมาชื่นชม บางก็ถายรูปการสอบ เอาไว บางก็บันทึกเปนวิดีโอไวดู หรือเผยแพรตอ การที่เราไดเปนสวนหนึ่งในการสอบนี้ก็ เทากับวาไดชวยทำใหสังคมรูจักไอคิโดมากขึ้น และหันมาฝกกันมากขึ้น และถาผูชมพอเขาใจ หลักไอคิโดอยูบาง ก็ไมยากที่จะเชื่อมโยงกับเรื่อง สันติวัฒนธรรม สนามสอบจึงเปรียบเสมือนเวทีการเรียนรู ที่ไมใชเฉพาะผูสอบ แตเปนของผูชมอีกดวย ถาเขาใจเชนนี้แลวก็พอจะเห็นไดวา การสอบ เทากับสรางประโยชนสุขแกสวนรวมไปในตัว ทั้งหลายทั้งปวง นี่จะเห็นไดวาการสอบ จะมีความหมายกับแตละคนแคไหน เริ่มมา จากทัศนคติตอการสอบเปนพื้นฐานเลยทีเดียว นะครับ สำหรับผม เชื่อวาถาเรามีมุมมองวาการ สอบไมใชการแขงขัน ไมใชการเอาชนะ ไมใช การชิงรางวัล แตหากเปนการเรียนรูเพื่อที่จะ พัฒนาตัวเองและสรางประโยชนสุขรวมกันทั้ง กับตัวเอง ผูอื่นและกับสวนรวม นั่นคือการ สอบผานไปแลวหาสิบเปอรเซ็นต ที่เหลือเปน เรื่องของทักษะฝมือ ดวยวิธีคิดอยางนี้นาจะ ทำใหทุกทานสัมผัสถึงประโยชนสุขดานตางๆ จากการสอบไอคิโดได อยางที่ผมรูสึกและ อยากแบงปนครับ

หน้า ๒๕


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

àเÊส Œ¹น·ท∙Òา§ง·ท∙Õีè่©ฉÑั¹นàเ´ดÔิ¹น âโ´ดÂย Íอ ŒÍอÁม âโÍอÃรÔิ¡กÒาÁมÔิ

ÂยØุ·ท∙¸ธÀภÙูÁมÔิ ในการเรียนพับกระดาษที่ออมโอริกามิ วัสดุที่ สำคัญอีกอันหนึ่งที่จำเปนตองใชคือ แผนรองพับกระดาษ กอนที่จะพับกระดาษ การจัดเตรียมพื้นที่เปน เรื่องที่จำเปน พื้นที่ๆจะพับกระดาษจะตองมีความสะอาด แหง และราบเรียบสม่ำเสมอ ในการฝกไอคิโด ที่ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม ก็ใหความสำคัญ ในการจัดเตรียมพื้นที่ดวยเชนกัน นอกจากการกวาดพื้นกอนที่จะปูเบาะแลว พวกเราทุก คนไมวาจะสายดำสายขาว ตางเรียงหนากระดานลงไปคลานชวยกันเช็ดถูทำความสะอาด เบาะจากขอบเบาะดานหนึ่ง ไปจนสุดขอบเบาะอีกดานหนึ่งอยางไมเคอะเขินเปนธรรมชาติ ดวยความเต็มใจ กิจกรรมการเตรียมพื้นที่ในการฝกโอริกามิ (ศิลปะการพับกระดาษ) และการฝก ไอคิโด (ศิลปะการปองกันตัว)นี้ไมใชพิธีกรรม แตเปนการฝกตนเองใหมีความนอบนอม เพื่อสำนึกในบุญคุณและตอนจบที่งดงามของการฝกที่กำลังจะดำเนินตอไปตั้งแตตนจนจบ โดยสวัสดิภาพ ซึ่งจะสงผลใหผูปฏิบัติเกิดความสุข ความเบิกบาน ความภาคภูมิใจในผล งานของตนเอง และนำไปสูการเห็นคุณคาในตัวเองและผูอื่น ในแงนามธรรม พื้นที่ในการฝกหรือเบาะ คือโดโจของไอคิโด แผนรองพับก็คือ โดโจของโอริกามิ เปนดั่งยุทธภูมิที่เราจะตองสำรวมตัวเอง ใหมีความตระหนักรูและมีความ ระมัดระวังตัวเพื่อใหการฝกดำเนินไปอยางราบรื่นโดยตลอดตั้งแตเริ่มตนจนสิ้นสุดการฝก


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

Y ขณะที่การฝกไอคิโด ดำเนินอยูบนเบาะที่เปนดั่งยุทธภูมิ ทุกลมหายใจที่ดำเนินอยู ได เตือนใหเรารูวาเรายังมีชีวิต ดัง นั้น เราจึงตองดำเนินการฝกไป ดวยความละมัดระวังตัวเองโดย รอบใหทั่วพรอม หากเผลอปลอย ใจลองลอยไปชั่วแวบหนึ่งลม หายใจ ยอมหมายถึงอันตราย ตั้งแตการบาดเจ็บเล็กนอยที่ รบกวนการดำเนินชีวิตอันปกติ และอาจรายแรงไปจนถึงชีวิต จะพบไดวา ตอใหมีผูฝกหนาแนนแคไหนก็ตามบนเบาะไอคิโด แตก็ไมเคยเกิดอุบัติเหตุรายแรงขึ้นบนเบาะเลย นอกจากการกระทบกันบางเล็กๆนอยๆ ระหวางการฝก ดวยเพราะการตระหนักรูอยูเสมอขณะฝกวาตนกำลังอยูในยุทธภูมิ Y

บอยครั้งที่นักเรียนโอริกามิมักจะถามขาพเจาวาทำไมตองกำหนดใหพับ กระดาษบนกระดานรองพับ เพราะมันพับไมคอยสะดวก เนื่องมาจากการถูกจำกัดพื้นที่ในการทำงานเชนนี้ ขาพเจามักจะอธิบายใหลูกศิษยเสมอวา แผนรองพับนี้เปน ดุจยุทธภูมิที่นักเรียนจะตองฝกการจัดเตรียมพื้นที่และควบคุม ชิ้นงานที่กำลังสรางใหทำงานไดบนกระดานรองพับอยางเหมาะ สม ดังนั้น นักเรียนจึงตองพับกระดาษอยางระมัดระวังดวย ความแมนยำอยางรูตัวเสมอ มิเชนนั้น นักเรียนอาจพับ กระดาษเบี้ยวไปตั้งแตตน หรือรอยพับไมคมชัดถูกตอง รอย พับซอนกันหลายรอยดูสับสน ทำใหเกิดความเสียหายแก งานที่สรางขึ้น หรือชิ้นงานออกมาไมสมบูรณ บิดเบี้ยว ฉีกขาด เปนตน หน้า ๒๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

Y

อีกประการหนึ่ง การที่ฝกโอริกามิบนพื้นที่ที่ยก สูงขึ้นมาจากระดับหนาโตะอีกระดับหนึ่งขึ้นมาเล็ก นอยนั้น ดุจเปนการยกระดับกระดาษที่เรากำลัง ใชฝกในงานโอริกามิใหมีความสำคัญกวากระดาษ อื่นๆ เพราะเปนกระดาษที่มีคุณคาที่เสียสละตัว เองพลีใหแกเราใชเปนเครื่องมือพัฒนาตนเอง ดวยความรูสึกที่เปนสุขไมวาจะพับเปนรูป งายๆ ไมมีความซับซอน ไปจนถึงการพับ งานที่ซับซอนดุจเนรมิต

Y ในแงรูปธรรม หากพื้นที่ในการฝก ไมแหง สกปรก มีเชื้อรา หรือมีเศษวัสดุติดอยู เมื่อผูฝกไอคิโดตองลมลงบนเบาะ ไมวาจะเปน แบบ Koho Ukemi หรือ Uchiro Ukemi (การลมไปขางหลัง) หรือการลมแบบ Zempo Ukemi (การลมไปขางหนา) ก็อาจจะทำใหมีผลเสียตอสุขภาพผูฝกเชนเปนภูมิแพ หรือเจ็บปวย หรืออาจเกิดอุบัติเหตุที่ไมอาจคาดเดา ทำใหขาดความราบรื่นในการฝก Y สวนในการฝกโอริกามิ หากพื้นที่ไมสะอาด ก็จะทำใหกระดาษเปอนสกปรกไม สวยงาม หากพื้นที่เปยกหรือพื้นผิวขรุขระก็จะทำใหกระดาษฉีกขาด หรือพับกระดาษไม เสมอกันทำใหแนวการพับคลาดเคลื่อน ผลงานออกมาไมดี หรือไมสามารถพับงานได สำเร็จ ทำใหจิดใจขุนมัว Y แมวาไอคิโดและโอริกามิตางมียุทธภูมิที่ ขนาดแตกตางกันอยางสิ้นเชิง แตในเชิง สัญลักษณและบทบาท ไอคิโดและโอริกามิตาง ก็เปนเครื่องมือที่ดีในการฝกฝนพัฒนาตนเอง ทั้งสิ้น จึงอาจกลาวไดวา “ไอคิโด คือการฝกพับคน โอริกามิคือการฝกพับกระดาษ” หน้า ๒๘


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

Aikido Family

สอบเลื่อนสาย ศุกร์ที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๕๕๕

หน้า ๒๙


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

Aikido Family

รดน้ําดําหัวอ.สมบัติและอ.ธีระรัตน์ ศุกร์ที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๕ หน้า ๓๐


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

ปูเบาะ ไอโดโจ


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๓๒ พฤษภาคม - มิถุนายน - กรกฎาคม ๒๕๕๕ (ปีที่ ๔)

Aikido Family "พี่ป๋อมกับอ้อม ได้ไปจัดกิจกรรม แนะนําไอคิโด และโอริกามิ ที่ สโมสรเพลิน หมู่บ้านโฮมอินปาร์ค เมื่อวันอังคารที่ 17 กรกฎาคม 2555

ปฏิทินกิจกรรม ! ฝกประจำสัปดาห ! จันทร-พุธ-ศุกร ๑๘.๓๐ - ๒๐.๓๐ น.1 1 1 1 1 สถานที่ฝก ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม 1 1 1 ใตถุนตึกอาคารกิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม หน้า ๓๒


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.