CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
AikidoCMU NEWSLETTER
เรื่องเดนในฉบับ
ฉันกับเด็กและไอคิโด...รักชนก ชยุตมกุล (ปอม) ลมเพื่อรู ....ดร.สมบัติ ตาปญญา
ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาคารกิจกรรมนักศึกษา (อ.มช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถ. สุเทพ อ.เมือง จ. เชียงใหม่ ๕๐๒๐๐
Ai-ki, the root of the power of love, Makes love grow forever more. The great universe is itself the Way of ai-ki A light for countless peoples That opens up the world. This beautiful form Of heaven and earth Is a single household Created by the guardian spirit.
บทกวีที่ปรมาจารย ์โมริเฮอิ อูเยชิบะชื่นชอบ (จากหนังสือ The Spirit of Aikido โดย คิชโชมารู อูเยชิบะ) หน้า
1
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
ศัพทไอคิโด
สารบาญ
ระดับขั้นที่แสดงใหเห็นความกาวหนาใน การฝกฝนไอคิโดเรียกวา กิ้ว ลำดับขั้นกอนไดสายดำ สำหรับ ประเทศไทยนับไลขึ้นไปจากสิบ (สายสีสม) ขึ้นไปจนถึงหนึ่ง (น้ำตาลปลายดำหกนิ้ว) ดั้ง ระดับขั้นของสายดำ ไลจากหนึ่ง (เรียกวาโชดั้ง) สอง (นิดั้ง) ขึ้นไปเรื่อยๆ ลำดับสูงสุดคือ โดชู เจาสำนักคนปจจุบัน (ฮอมบุโดโจ โตเกียว) ซึ่งไมมีสาย
ไอคิโดกับชีวิต: ล้มเพื่อรู.้ ...ดร.สมบัติ ตาปัญญา
๓
AIKIDO STUDENT HANDBOOK:
๔
ไอคิโดคืออะไร
๕
รักชนก
ไอคิโดเชียงใหม่: ประวัติชมรมไอคิโด ม.ช.
ดร.สมบัติ ตาปัญญา
แนะนำองค์กรเกี่ยวกับไอคิโด: AIKIDO HEADQUARTER
นักเขียนในฉบับ
๖
ชยุตม์กุล
บทความพิเศษ : ฉันกับเด็กและไอคิโด ...รักชนก ชยุตม์กุล (ป๋อม)
๘
นายต่อ
ไอคิโดกับการป้องกันโดยชอบ ด้วยกฏหมาย ...ต่อ
๑๒
๑๐ อย่างที่สำคัญที่เราตวรจดจำไว้ในใจ ในฐานะสมาชิกของโดโจ ๑๓ อ่านได้อ่านดิ....นายหน้าอ่าน
นายหน้าอ่าน
๑๔
ฟิสิกส์กับไอคิโด...O -White Belt ๑๕ ข่าวจากปางมะผ้า...วิสูตร (เวา)
๑๖
ปฏิทินกิจกรรม
๑๖
O-White Belt
หน้า
2
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
ไอคิโดกับชีวิต อาจารย์สมบัติ ตาปัญญา
ล้มเพื่อรู้ สิ ่ ง แรกที ่ ท ุ ก คนต อ ง ทำใหไดในการฝกไอคิโดก็คือ การลม เพราะในการฝกวิชา ไอคิโดนั้น เราตองลมอยู ตลอดเวลา คูฝกจะตองผลัด กันเขาโจมตีและเปนผู “ได รับ” เทคนิค (นั่นก็คือฝายที่ถูก โจมตีจะใชเทคนิคการทุมหรือจับล็อคเพื่อรับมือ กับการโจมตีนั้น) การฝกใหสามารถลมไดอยาง ปลอดภัยจึงจำเปนอยางยิ่ง ยิ่งลมเกงเทาไร ก็ ยิ ่ ง ฝ ก ไอคิ โ ดได ส นุ ก เพลิ ด เพลิ น มากยิ ่ ง ขึ ้ น เทานั้นเพราะไมตองกลัววาจะบาดเจ็บ เมื่อลม แล ว ก็ ส ามารถลุ ก ขึ ้ น ยื น ใหม ไ ด ท ั น ที แ ละ สามารถฝกตอไป โดยผลัดกันเปนฝายรุกและ รับสลับกันไปเรื่อยๆ ในการดำเนินชีวิตก็เชนเดียวกัน ยอมเปน ไปไดเสมอวาเราจะเกิดความผิดพลาด ลม เหลว สูญเสียในรูปแบบตางๆอยูตลอดเวลา ก็ เหมือนกับการ “ลม” ในชีวิตจริงนั่นเอง และ สภาพจิตใจของคนที่ตองเผชิญกับการ “ลม” เชนนี้ก็มักจะย่ำแย รูสึกอับอาย เสียศักดิ์ศรี หมดความมั่นใจและคุณคาในตนเอง บางคน ถึงกับไมสามารถลุกขึ้นมาใหมได คือเกิดความ เชื่อหรือฝงใจวาตนเอง “เกิดมาเปนผูแพ (born loser)” และใชชีวิตที่เหลือเสมือนเปนผู แพตอไปโดยไมสามารถพลิกฟนชีวิตตัวเองให กลับมาเปนผูชนะไดอีก
การฝกลมในวิชาไอคิโดยิ่งชำนาญมากก็ สามารถประคองตัวใหลมไดอยางนุมนวลและ ปลอดภัยแมจะถูกทุมดวยเทคนิคที่รุนแรงเพียง ไหนก็ตาม นอกจากจิตใจจะไมหวั่นไหวหรือ ขลาด กลัวแลว กลับยังรูสึกทาทายความ สามารถและสนุกเพลิดเพลินที่จะลมแลวลุกขึ้น ใหมเรื่อยๆ การลมยังทำใหเรามีความออนนอมถอม ตัว พรอมเสมอที่จะยอมรับความผิดพลาดหรือ บกพร อ งของตั ว เองโดยไม ต อ งหาเหตุ ผ ลมา อธิบายเพื่อแกตัวหรือกลาวโทษผูอื่น ธรรมเนี ย มอี ก อย า งหนึ ่ ง ในการแสดง มารยาทในการฝกไอคิโดก็คือ “การขอบคุณ” แมกระทั่งผูที่ทุมเราใหลมลง หากเรานำวิธีคิดเชนนี้มาใชกับการดำเนิน ชีวิต ทุกครั้งที่เราผิดพลาด ลมเหลว สูญเสีย หรือมีใครมาทำใหเราเจ็บปวดหรืออับอาย หรือ “ลม” ลงไป เราก็จะไมเสียกำลังใจ พรอมที่จะ ลุกขึ้นมาใหมและขอบคุณเขาไดทุกครั้งที่ชวย ใหเราเขมแข็งและอดทนมากยิ่งขึ้น คงกลาวไดวา การฝกไอคิโดนั้น ไมจำเปน ตองจำกัดอยูแคบนเบาะเทานั้น แตสามารถฝก ไดตลอดเวลาในการดำเนินชีวิตของเรา แมเพียงสิ่งแรกที่เราตองฝกคือ “การลม” ก็ยังมีคุณคาตอการดำเนินชีวิตถึงเพียงนี้ หาก เราพากเพียรฝกฝนไอคิโดตอไปเร่ือยๆโดยไม ยอทอ ก็นาจะมีโอกาสคนพบสิ่งที่มีคุณคาลึกซึ้ง ยิ่งขึ้นไปอีกอยางแนนอน
หน้า
3
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
บทความนี้แปลจาก “Aikido Students Handbook” เขียนโดย Greg O’Conner แปลโดย ไอกิ
ไอคิโดคืออะไร แมวาไอคิโดเปนศิลปะปองกันตัวที่เต็มไปดวยจิตวิญญาณแหงความรักความเมตตา แตไอคิโดเปน ยุทธศิลปที่มีผลรุนแรงมาก พลังสูงสุดของไอคิโดไมคอยมีใครไดมีโอกาสพบเห็น ผูที่ยังไมรูสิ่งเหสานี้คือผูที่ ยังไมรูจักไอคิโด นักไอคิโดที่รูจักพลังของไอคิโดจะแสดงความสามารถเต็มที่เฉพาะแตกับผูที่ไดรับการ ฝกฝนมาอยางดีจนสามารถจะรับพลังและเอาชีวิตรอดไดเทานั้น ครั้งแรกที่เราไดเรียนรูเทคนิคตางๆไอคิโด เชน โคเตกาเอชิ หรือ นิกเกี้ยว เราจะรูสึกแปลกใจในพลังและ ประสิทธิภาพที่แฝงอยูในความเรียบงายของมัน เราจะรูไดทันทีวาคนฉลาดไมควรจะฝนแตควรจะ ยอมรับและเคลื่อนตัวตามแรงอยางเหมาะสมเพื่อหลีกเลี่ยงการบาดเจ็บ การเคลื่อนไหวทุกรูปแบบในไอคิโดเปนการเคลื่อนไหวที่เปนวงกลม แมแตการเคลื่อนไหวที่ดูเหมือน เปนแนวตรงก็มีการเคลื่อนที่เปนเกลียวซอนอยู เทคนิคของไอคิโดถูกออกแบบมาใหมีการเคลื่อนไหวที่ เลื่อนไหลไปตามธรรมชาติของรางกาย การบิดขอ จะบิดไปตามพิสัยการเคลื่อนที่ตามธรรมชาติของขอนั้น การบิดลักษณะนี้จะบังคับนำใหผูโจมตีลมลงโดยไมเปนอันตรายตอขอ การตรึงคูตอสูไวกับพื้นแบบไอคิโดก็ อยูบนวิธีคิดเดียวกันและสามารถใชไดกับทุกขนาดรางกายโดยใชแรงเพียงเล็กนอยหรือไมตองใชเลย หลักการของไอคิโดเปนไปในลักษณะการรับมากกวาการรุก คนเรามักจะเสียสมดุลและความสงบ ภายในเมื่อความกาวราวเขาครอบครองจิตใจ ผูฝกไอคิโดเรียนรูที่จะเชื่อสัญชาติญาณและการรับรูอยาง รวดเร็วตามธรรมชาติและทำอยางเหมาะสมโดยไมเสียสมดุลภายใน แตนั่นไมไดหมายความวา ใหเรานิ่งเฉยและรอรับทุกสิ่งทุกอยางที่จะเขามาหาเราอยางออนแอ เราควร รับพลังงานแงลบดวยความเคารพ รักษาจิตใจใหดี และเปลี่ยนทิศทางสิ่งที่เขามาดวยความเขมแข็งเต็มไป ดวยพลังบวกแหงชีวิต หลักการนี้ใชไดกับชีวิตทั้งในสถานฝกไอคิโดและในชีวิตจริง เราไมจำเปนตองแข็งแรง ตัวใหญ รวดเร็ว หรือเปนนักกีฬา เพื่อที่จะเรียนรูและประสบความสำเร็จในการฝกไอคิโด เพียงแคเราตองการสันติก็พอแลว ใชการรับรูตามธรรมชาติของเรา เมื่อเรารูสึกถึงอันตราย จงรับรูมัน ยอมรับมัน และเคารพธรรมชาติและ เจตนาของมัน ยอมใหมันกลมกลืนเขากับธรรมชาติของเรา ตอจากนั้น รักษาสมดุลของเรา ควบคุม และ เปลี่ยนทิศทางมันอยางปลอดภัย อาจกลาวไดวาไอคิโดเปนศิลปะปองกันตัวสำหรับผูที่ตองการสันติภาพอยางแทจริง เปนสันติภาพที่ไดจาก “การปกปองชีวิตทั้งมวลดวยใจรัก” หน้า
4
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
แนะนำองค์กรเกี่ยวกับไอคิโด
AIKIDO HEADQUARTERS
ภาพ : โดชู เจ้าสำนักคนปัจจุบัน
หลังจากทีป ่ รมาจารย์โมริเฮอิ อูเยชิบะผู้ ก่อตั้งไอคิโดได้มรณภาพไปในปี ๒๕๑๒ คิชโชมารู อูเยชิบะ ลูกชายของท่านได้สืบทอด เป็นเจ้าสำนัก(โดชู) ซึ่งในปัจจุบันหลานชาย ของปรมาจารย์คือ โมริเตรุ อูเยชิบะได้สืบ ตำแหน่งต่อมา มูลนิธิไอคิไก (Aikikai Foundation) ได้รับ การรับรองอย่างเป็นทางการจากรัฐบาลญี่ปุ่น ในปี ๒๔๘๓ เพื่อรักษาและเผยแผ่อุดมคติตาม ปรัชญาไอคิโดของท่านปรมาจารย์
สำนักงานใหญ่แห่งนี้เรียกอย่างสั้นๆว่า “ฮอมบุ โดโจ” เพื่อเป็นศูนย์กลางและองค์กร หลักในการพัฒนาและขยายการฝึกหัดวิชา ไอคิโดไปทั่วโลก ในปี ๒๕๑๑ โดโจไม้หลังเดิมได้ถูกแทนที่ โดยอาคารคอนกรีตห้าชั้น รวมห้องฝึกสาม ห้องที่มีขนาดเบาะเสื่อตาตามิรวมกันถึง ๒๕๐ เบาะ
AIKIKAI FOUNDATION Aikido World Headquarters 17-18 Wakamatsu Cho, Shinjuku-ku, Tokyo, 162-0056 Japan Phone: (+81) 3-3203-9236, Fax: (+81) 3-3204-8145 http://www.aikikai.org Email: aikido@aikikai.or.jp
หน้า
5
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
ไอคิโดมหาวิทยาลัยเชียงใหม ประวัติชมรม อาจารยสมบัติ ตาปญญา ซึ่งเปนศิษยเกามหาวิทยาลัยเชียงใหม รุน 5 ไดเริ่ม ศึกษาวิชาไอคิโดที่เมืองนิวเฮเวน รัฐคอนแนคติคัดในขณะที่ไดรับทุนไปศึกษาตอในระดับ ปริญญาโทที่สหรัฐอเมริกา หลังจากสำเร็จการศึกษาไดกลับมาถึงกรุงเทพฯ ประมาณป พ.ศ. 2524 ไดรวมฝกที่สมาคมไอคิโดประเทศไทย ซึ่งในขณะนั้นตั้งอยูบนชั้นสามของ ตึกแถวในซอยเล็ก ๆ หนาสำนักงานไปรษณียกลาง อาจารยสมบัติซึ่งไดสายน้ำตาล (สามกิ้ว)ใน ขณะนั้น ไดยายมาสอนที่ภาควิชาจิตเวชศาสตร คณะ แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหมใน พ.ศ. 2528 ตองการที่จะฝกฝนและเผยแพรวิชาไอคิโดตอไป จึงไดไป ขออาศัยสถานที่ของชมรมยูโดเพื่อฝกซอม ในตอนแรกก็ เชิญชวนใหสมาชิกชมรมยูโดที่สนใจรวมฝกไอคิโดดวยกัน ตอมาเมื่อมีคนสนใจมากขึ้นจึงไดกอตั้งเปนชมรมขึ้น ใน ประมาณ ป พ.ศ. 2529 โดยอาจารยสมบัติ เปนอาจารยที่ ปรึกษาชมรมคนแรก เนื่องจากวิชาไอคิโดไมมีการแขงขัน ดังนั้นการสนับสนุนดานงบประมาณจาก มหาวิทยาลัยจึงคอนขางจำกัดเมื่อเปรียบเทียบกับชมรมกีฬาประเภทอื่นๆ ชมรมไอคิโดจึง คอนขางจะมีความลำบากและขาดแคลนในเรื่องอุปกรณการฝกและสถานที่ จำเปนตอง ยายสถานที่ฝกไปเรื่อย ๆ หลายแหงภายในมหาวิทยาลัย เชน จากชมรมยูโด ยายไปอยูหอ หญิง โรงเรียนสาธิต อาคารเรียนรวม 5 อาคารเรียนรวมคณะพยาบาลและคณะเทคนิค การแพทย จนกระทั่งปจจุบันไดมาตั้งอยูชั้นลางอาคารกิจกรรมใหม หน้า
6
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
ในระหวางป พ.ศ. 2533 จนถึงป พ.ศ. 2539 อาจารยสมบัติ ไดรับทุนไปศึกษาตอในระดับปริญญา เอก ณ ประเทศแคนาดา ในระยะนี้อาจารยธีระรัตน บริพันธกุล นักจิตวิทยาจากภาควิชาจิตเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร ซึ่งไดมาเริ่มฝกซอมกับอาจารย สมบัติตั้งแตเริ่มกอตั้งชมรม จึงไดรับหนาที่เปน อาจารยที่ปรึกษาชมรมตอ และไดดูแลสนับสนุน กิจกรรมของชมรมใหมั่นคง พรอมทั้งฝกฝนวิชาไอคิโดอยางจริงจัง จนสามารถสอบไดสาย ดำเปนคนแรกในป พ.ศ. 2538 และหลังจากนั้นอีกประมาณหนึ่งปเมื่ออาจารยสมบัติสำเร็จ การศึกษากลับมา จึงไดรับการปรับขั้นสายใหเปนสายดำเชนเดียวกัน สวนสมาชิกคนแรก ของชมรมฯ ที่เปนนักศึกษาและสอบไดสายดำ คือ รัตนพล เสนียวงศ ณ อยุธยา ในป พ.ศ. 2542 ปจจุบันไดสำเร็จปริญญาโทแลว และยายไปทำงานอยูที่ลำปาง ความยั่งยืน กาวหนา และเขมแข็งของชมรมนี้ สวนหนึ่งเปนเพราะไดรับความ กรุณาจากอาจารยผูฝกสอนอาวุโสหลายทาน ตั้งแตอาจารยใหญโมโตฮิโร ฟูคาคูซา (นายก สมาคมไอคิโดประเทศไทย) โดยเฉพาะทานอาจารยประพันธ จิตตะปุตตะ (ดินแดงโดโจ) ซึ่งไดใหความเมตตาสนับสนุนและดูแลใหคำปรึกษาในกิจกรรมของชมรมมาตั้งแตตน และอาจารยทานอื่น ๆ เมื่อมีธุระผานมาทางเชียงใหมก็ไดกรุณาสละเวลาแวะมาสอน สมาชิกของชมรมตลอดมา ยังความยินดีใหแกสมาชิกชาวไอคิโดเชียงใหมเปนอยางยิ่ง c
c
c
“ไร้การแข่งขัน คือการฝึกตัวเอง ปรมาจารย์เคยกล่าวไว้ หาก มนุษย์ต้องการมีศักยภาพสูงสุด พวกเขาต้องผ่านจุดนี้ไปให้ได้ การ แข่งขัน เปรียบเสมือนพื้นฐานของการพัฒนาไปสู่การอวดเบ่งใน อัตตา นี่ย่อมมิใช่หนทางที่จะนำพามนุษย์ให้เข้าใจถึงศักยภาพของ ตน คุณค่าในสิ่งที่เขาหรือเธอเป็นไม่สามารถถูกตัดสินจากคนอื่น มันเป็นเรื่องส่วนบุคคล ไม่ควรเปรียบเทียบกับใครๆ แม้ว่าจะไม่มี ใครรู้ แต่สวรรค์และพื้นพิภพก็รับรู้ และคนที่รู้ ก็รู้” อาจารย์อาริคาวา (Arikawa Sensei) จาก The Aikido Student Handbook โดย Greg O’Conner
หน้า
7
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
ฉันกับเด็กและไอคิโด !
!
!
รักชนก ชยุตมกุล โครงการเด็กกับความรุนแรง
คนไมชอบเตะ ผูหญิงตัวเล็กๆ อยางฉันไดตัดสินใจเรียน ต อ ยอย างฉันจึงมี วิชาศิลปะปองกันตัวของญี่ปุน ที่เรียกวาไอคิโด ความมุงมั่น เรียน ดวยเหตุผลที่วาเพื่อใชปองกันตนเองจากภัย ถึ ง การนำไปใช มนุษย ในสภาวะการงานที่ตองเผชิญกับผูคน ปองกันตัวเองให ตางเพศเปนสวนใหญ ทั้งยังอยูในปาไพรหาง รอดพนจาก ไกลเมืองคุนเคย จะฝกศิลปะมวยของไทยก็คง อันตราย มุงมั่นที่ ไมมีแรงจะไปตอยเตะตนกลวย (เพราะไมมี จะฝ ก ควบคุ ม กระสอบทราย) คาราเต หรือเทควันโด ก็ยังตอง โดยการหั ก ข อ เตะตอยอยูดี นี่ฉันคงตองเรียนวิชาศิลปะการ ต า งๆ แต ส ง ่ ิ แรกที ่ฉันไดเรียนรูจาก หลบหนีและหาปนติดตัวสักกระบอกเพื่อใชยาม ไอคิโด คือ ความพยายาม ความขยัน และความ ฉุกเฉินกระมัง อดทน เพราะไมเชนนั้น ฉันก็คงเลิกฝกเหมือน ถาไมไดมารูจักไอคิโดเสียกอนเพราะไอคิโด หลายๆคนที่ฝกไดเพียงไมกี่เดือนก็เลิกลาไป เปน ศิลปะการปองกันตัว โดยการใชพลังของตัว เนื่องจากเปนวิชาที่ไมงายอยางที่คิดไว อาจารย เองเพียงเล็กนอยหรือไมไดใชเลย และไมจำเปน ผูนำฝกทานเคยกลาวไววา คนใหมที่เขามาฝก ตองใชการปะทะกับฝายตรงขาม ดวยการใชทั้ง นั้น รอยละเกาสิบจะเลิกฝกไป และที่เหลือนั้น หลักจิตวิทยาและหลักกลศาสตร หลักธรรมชาติ รอยละเกาสิบหาจะฝกไปตลอดชีวิต วิทยาเนนการหลีกเลี่ยงจากการปะทะ และใชวิธี การฝกไอคิโดนอกจากจะทำใหรางกายมี ควบคุมโดยหักขอตอตางๆของรางกาย เปน สุ ข ภาพพลานามั ยที่สมบูรณแข็งแรงแลว ยัง ศิลปะการเขาจับกุม ควบคุม นำพา โดยสุภาพ แตเจ็บปวดและอันตราย ไอคิโดเปนวิชาที่นา เปนการฝกจิตใจใหเกิดสมาธิ ฝกจิตใจใหมั่นคง เรียนขนาดนี้แตมีนอยคนนักที่จะรูจักหรือเคย ปลูกฝงมารยาท ความเสียสละ ความสามัคคี ไดยิน และไมแพรหลายเทาศิลปะการตอสูอื่นๆ ความรวมมือระหวางกัน เพราะตามประเพณี ที่ไปควาเหรียญในกีฬาระดับโลก เวนเสียแต ของไอคิ โ ดไม ม ี ก ารแข ง ขั น ไม ม ี ก ารต อ สู กลุมทหาร ตำรวจ เพราะเปนวิชาที่บรรจุใน ประกวดประชันกัน เนื่องจากไอคิโดที่แทจริงนั้น ไมใชกีฬา การแขงขันจะกอใหเกิดเรื่องราวของ หลักสูตรที่ตองเรียน การแพการชนะใหเปนพลวัตดำเนินตอไป หน้า
8
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
แต ไ อคิ โ ดมุ ง เน น ให เปนการแกปญหาความ ขัดแยงในแบบที่ชนะทั้งคู เปนการนำมาซึ่งผล ประโยชนของทั้งสองฝาย สวนการแขงขันเปนการ อยูรอดของผูที่เหมาะสม ที่สุดและสนับสนุนความ คิ ด ที ่ ท ี ่ ใ ห ผ ู แ ข็ ง แรงเอา เปรียบผูที่ออนแอกวาใน ฐานะของผูกำชัยชนะและปราบปราม มีการแขงขันที่ทาทายที่สุดเพียงอยางเดียวที่ พบในไอคิโดคือการแขงขันกับตนเอง ในการที่ จะเรียนรูและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนใหมุง มั่นไปสูความผสานกลมกลืน เอาใจใสทั้งตัวเรา และเพื่อนคูฝก ไมแปลกเลยที่การจะฝกไอคิโดใหไดดีจะ เปนสิ่งที่คอนขางยาก ในเมื่อคนเรายังไมลด อัตตาและคิดเอาชนะผูอื่น จุดประสงคของการ ฝ ก ไอคิ โ ดเพื ่ อ ใช ป อ งกั น ตนเองของฉั น ได ถ ู ก เปลี่ยนไปพรอมกับการเรียนรูจากไอคิโด วาเรา จะรอดพ น จากอั น ตรายได โ ดยการไม น ำพา ตนเองไปอยูในที่อันตราย ซึ่งใชไดกับทุกๆสิ่งทุก สภาวะ เชน การเรียน การทำงาน ครอบครัวและ สังคม เปนตน (ยกตัวอยางงายๆ คือ ถาฉันไม อยากถูกขมขืนฉันก็ไมควรแตงตัวลอตะเขหรือ ไปในที่เปลี่ยวกับชายแปลกหนาหรือไมแปลก หนาก็ตาม หรือถาไมอยากสอบตกก็ควรเรียน และอานหนังสือใหเขาใจถองแท)
ภัยที่เกิดในสังคมทุกวันนี้มีทุกขณะ การ ขวนขวายหาวิชาปองกันตัวมีมากขึ้น ภาพที่พอ แมผูปกครองพาบุตรหลานที่อยูในชุดศิลปะการ ตอสูสีขาว คาดดวยสายสีตางๆดูนารัก ไปเลา เรียนวิชาการตอสูปองกันตัวเห็นไดเสมอๆในวัน หยุดสุดสัปดาห วิชาการเตะ ตอย เหลานี้ ดู เหมือนจะเปนการเพิ่มความกาวราวแกเด็กๆ แต น า จะเป น เรื ่ อ งดี ก ว า การปล อ ยให เ ด็ ก ไปเล น เกมสคอมพิวเตอรที่ขยับอวัยวะเพียงบางสวน เทานั้น เนื่องจากไอคิโดไมมีการสอนใหจูโจม ไม สอนใหเตะ หรือตอย ไมมีความหวือหวานาจูงใจ จึ ง ไม เ ป น ที ่ น า แปลกใจว า ทำไมสถานที ่ เ รี ย น ไอคิโดจึงไมเปดเปนที่แพรหลาย หรือแทบจะ ไมมีเลย เพราะการเรียนใหเขาใจในวิชานี้เปน เรื ่ อ งที ่ ค อ นข า งยาก แต ท ี ่ ย ากกว า คื อ การ ถายทอดหรือสอนใหผูอื่นรูและเขาใจเพราะสิ่ง สำคั ญ ที ่ ส ุ ด อยู ท ี ่ ค วามพร อ มทั ้ ง ร า งกายและ จิตใจของผูเรียน
หน้า
9
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
ดวยความที่ฉันไดเรียนไอคิโดมาสักชวงระยะ เวลาหนึ่งและพอที่จะสอนเทคนิคตางๆ ไดบาง จึงไดรับมอบหมายจากอาจารยใหไปถายทอด ไอคิโดสำหรับเด็กใหกับโรงเรียนพิเศษแหงหนึ่ง ในจังหวัดเชียงใหม เด็กอายุระหวาง 6 – 12 ป ที่ทางบานจัดไดวามีฐานะ เด็กสวนใหญเอาแต ใจตัวเองตามประสาลูกคนมีสตางค ฉะนั้น การ สอนไอคิโดใหแกเด็กเหลานี้จึงไมใชเรื่องงาย (มินาละคนที่เกงๆกวาฉันจึงไมมีใครยอมมา สอนไอคิโดสำหรับเด็กๆเลยสักคน) แตก็ถือไดวาเปนการฝกตนเองไปดวย เพราะฉันไมเคยทำงานที่เกี่ยวของกับเด็กๆเลย คนพูดนอยอยางฉันตองกลายเปนคนพูดมากขึ้น บรรยากาศการเรียนไอคิโดที่ฉันเรียนอยู เปน สังคมของผูใหญ ความตั้งใจ ความสงบนิ่ง และ มารยาทมีสูง เมื่อเผชิญกับบรรยากาศที่มีแตเด็ก เล็กๆ ดูเหมือนทุกสิ่งจะตรงขามกันหมด เด็กไม สามารถนั่งนิ่งๆไดนาน และไมสามารถฝก ทักษะเดิมๆไดนานๆ ทายที่สุดฉันก็ตองพยายาม
หาเกมสมาใหเด็กเลน ไปๆมาๆ เด็กๆ กลับเปน คนสอนเกมสตางๆใหฉันรวมเลนดวย ตอมาทางมูลนิธิบานรมไทรอันเปนสถานที่ รับเลี้ยงเด็กกำพราที่พอแมเสียชีวิตจากโรคเอดส ได ต ิ ด ต อ ทางชมรมไอคิ โ ด มหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม จะขอจางครูไปสอนไอคิโด แนนอนวา เด็กๆ เหลานี้เปนเด็กติดเชื้อทุกคน และฉันก็รับ อาสาไปสอนโดยไมรับสินจาง เพราะฉันอยาก สวมบทบาทครู ไมใชลูกจาง เด็กๆที่เรียนไอคิ โดมีจำนวน 20 คน อายุระหวาง 5 – 11 ป เด็ก บานรมไทรตองรับผิดชอบตัวเอง ดูแลตัวเองเทา ที่ความสามมารถเล็กๆของตนจะทำได และ เนื่องจากขาดพอแม เด็กจึงมักเรียกรองความรัก ความสนใจจากผูคนที่แวะเวียนเขามา มักจะ แขงขันกันเพื่อใหตนเปนที่รักมากกวาคนอื่นๆ ดังนั้น ในชั้นเรียนของเด็กๆ บานรมไทร เด็กๆ จะ ตั้งใจเรียน ตั้งใจฟงคำพูดของครู แตเด็กก็ซุกซน ตามประสา c
เมื่อใดที่เด็กบางคนนั่งไมเรียบรอย หยอกลอ หรือพูดคุย ก็จะมีเด็กคนอื่นๆ คอยเอ็ดแทนครูเปนการเรียกรองความ สำคัญของตนอีกแบบหนึ่งเหมือนกัน และ ที่พบไดบอย คือ มักจะมีการฟองกันมาก ที่สุด “ครูครับ ตั๋นเลน” “ครูขา กอยแกลง หนู” “ครูๆ กรรนิการไมตั้งใจเรียน” “ครูคะ บอยทำผิด” ฯลฯ ในชั้นเรียนมักมีเด็ก รองไหเปนประจำเนื่องจากเทคนิคทาทาง ตางๆ เปนทาที่ถูกกระทำแลวจะเจ็บ หน้า
10
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
ฉันมักจะถามเด็กเสมอๆวา “ถาเราทำ พี ่ เ ลี ้ ย งเด็ ก ที ่ บ า นร ม ไทรต อ งคอยดู แ ลเด็ ก เพื่อนเจ็บแลวเรารูสึกดีหรือเปลา?” “เราเห็น จำนวนมาก วิธีที่จะกำราบเด็กไดก็คือ การขู เพื่อนเจ็บแลวเราชอบหรือสงสารเพื่อน” ความ บังคับ ไมเพียงแตเด็กเทานั้นที่รูสึกกลัว บางที ขัดแยงเปนเรื่องปกติที่เกิดขึ้นเปนประจำ ฉันเองก็รูสึกกลัวๆ เกรงๆ เหมือนกัน ไอคิโดได สอนใหรูจักความกลมกลืน ความประนีประนอม ครั้งหนึ่งเด็กชายตั๋นขัดแยงกับเพื่อนขณะ ความรัก ความสามัคคี ฉันจึงมักทำตัวกลมกลืน เรียนไอคิโด และงอนไมยอมเรียน ไมพูดกับใคร ไปกับเด็กเพื่อระลึกถึงชีวิตวัยเด็กที่แทบจะจำไม แมกระทั่งครู ฉันจึงไดบอกงดการสอนของวันนั้น ได ฉันมักใชเวลาวางๆ ดูการบานใหเด็กๆ แตก็ดู เสีย เด็กทุกคนมีทาทางงและตกใจ สิ่งที่ฉันทำ ไดไมทั่วถึง นองเพ็ญ ชั้นอนุบาลอยากใหฉัน ลงไปนั ้ น ไม ไ ด ท ำด ว ยอารมณ แ ต เ ป น หนึ ่ ง ใน สอนการบานใหดวย ถึงกับลบการบานคัดไทยที่ แผนการสอนที่ตั้งใจใหเกิดขึ้นเพื่อดูปฏิกิริยา คัดแลวออกเพื่อเขียนใหฉันดูใหม นองอารม ของเด็ก ฉันบอกวาฉันตั้งใจมาสอนใหเด็กๆทุก เขี ย นจดหมายรั ก ให ฉ ั น พร อ มให ท อ ฟฟ แ ละ คน ถาเด็กๆไมตั้งใจเรียนฉันก็รูสึกเสียใจ เรื่องที่ ดอกไม กรรณิการทำตามบาง นองเพ็ญเห็นก็ เกิดขึ้นไมไดมีใครคนใดคนหนึ่งผิด ฉะนั้น เมื่อ เลียนแบบบางเหมือนกัน ดวยความที่ยังเขียนไม ไมอยากเรียน ครูก็ไมจำเปนตองมาสอน ไดก็ใหกระดาษที่มีรูปวาด(แอบใหอีกตางหาก) นายปอนดวัย 10 ป ปนเซรามิคเปนรถเมล นำ หลังจากนั้นสองสามวันฉันไดรับจดหมาย มาใหฉันบอกวาครูเอาไปหงายทองแลวทำเปนที่ ขอโทษจากเด็กๆทุกคน เด็กเล็กที่ยังเขียนไมเปน ใสยางลบก็ไดนะ เด็กทุกคนพยายามเรียกรอง ก็ฝากใหเด็กโตเขียนใหตามคำบอก พี่เลี้ยงเด็ก ความสนใจโดยการให แตฉันไมคอยไดมีอะไร เลาใหฟงวาไมไดสั่งใหเด็กๆเขียน แตเด็กๆ กลัว ติดไมติดมือไปแจกเด็กๆเลย เพราะไมตองการ ครูไมมาสอนอีกจึงประชุมตกลงกันวาควรเขียน ใหเด็กๆคอยแตรับของจากผูอื่นตลอดเวลา จดหมายขอโทษครู ผิดกับเด็กๆที่ฉันไปสอนที่ โรงเรียนพิเศษ ฉันสรางสถานการณเชนเดียวกัน ฉันแอบหวังเล็กๆวาจะใชไอคิโดเปนสื่อใน นี้ แตเด็กๆ ก็ยังดื้อและซนตามประสาเชนเดิม การเขาถึงและใชในการเพาะบมนิสัยใหเด็กๆ ฉันยังคงตองพูดมากและขี้บนตอไป แตสำหรับ ไมเปนปญหาตอสังคมตราบเทาที่เด็กติดเชื้อ เด็กที่บานรมไทรแลว เมื่อฉันมีทาทางที่นิ่งเงียบ เหลานี้ยังมีลมหายใจตอสูกับโรครายที่แฝงอยู เด็กๆจะเริ่มรับรูวาตนเองชักจะซนเกินไปแลว ในรางกายของเด็กในดวงใจฉันทุกคน c ควรจะสงบลงไดแลว c c c c ccccc “ไอคิโด คือ จิตวิญญาณแหงการปกปองชีวิตทั้งมวลดวยใจรัก” ! ! มอริเฮอิ อูเยชิบะ
หน้า
11
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ปีท่ี ๑ ฉบับที่ ๑ วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
ไอคิโดกับการปองกัน โดยชอบดวยกฎหมาย c
c
c
c
c
c
c
นายตอ
c ไอคิโดเปนศิลปะปองกันตัวชนิดหนึ่ง โดยเฉพาะอยางยิ่งปรัชญาอันยิ่งใหญของไอคิโด ที่วา จะไมทำคนอื่นกอนนั้นยอมเปนการสำทับอยูในตัววาไอคิโดเปนศิลปะปองกันตัวอยางแทจริง หาใชกีฬา หรือศิลปะการหาเรื่องไม หากแตเปนการ “ปองกันตัว” ปองกันการถูกทำรายจากผูอื่น หรือปองกันผูอื่นที่ถูกทำราย c ในแงมุมของกฎหมายก็มีการบัญญัติหลักเกณฑเกี่ยวกับการปองกันตัวเอาไวดวยเชน กัน ซึ่งบัญญัติไวในประมวลกฎหมายอาญา ภาค ๑ บทบัญญัติทั่วไป หมวด ๔ ความรับผิดในทาง อาญา มาตราที่ ๖๘ , ๖๙ ซึ่งภาษางายๆในหมูนักกฎหมายจะเรียกกันจนติดปากวา “การปองกัน โดยชอบดวยกฎหมาย” กลาวใหเขาใจงายๆในเบื้องตนก็คือ การกระทำเพื่อปองกันตนเองหรือผู อื่นโดยไมเปนความผิดในทางกฎมาย นั้นเอง c ซึ่งหลักกฎหมายดังกลาวนั้นมีหลักเกณฑที่เขาใจไดงายๆดังนี้ c “ ผูใดจำตองกระทำการใด เพื่อ 1. ปองกันสิทธิของตนเองหรือผูอื่น 2. จากภัยอันตรายอันเปนการละเมิดตอกฎหมาย 3. อันตรายนั้นเปนอันตรายที่ใกลจะถึง 4. กระทำไปพอสมควรแกเหตุ” โดยผลของมาตราดังกลาวนั้นการกระทำใดๆยอมไมเปนความผิดในทางกฎหมายเลย หากวาไดทำครบหลักเกณฑที่กฎหมายกำหนดขางตน กลาวคือ กระทำเพื่อปองสิทธิของตนหรือผู อื่น และการกระทำนั้นเปนการปองกันจากอันตรายอันละเมิดกฎหมาย โดยเปนอันตรายที่ใกลชิด (ประชิดตัว) และสุดทายกระทำไปพอสมควรแกเหตุ ดังนี้หากพวกเราเหลานักไอคิโดทั้งหลาย หากประสพพบเจอกับอันตรายใดๆเรา สามารถใชสิ่งที่ไดเรียนรูมาเพื่อ “ปองกันตัว” เราเองไดและที่สำคัญสามารถชวยเหลือปองกันผูอื่น ไดดวยเชนกัน แตอยางไรก็ตามตองไมเกินสมควรแกเหตุดวยนะครับ ซึ่งหลักกฎหมายดังกลาว สอดคลองกันกับหลักปรัชญาของวิชาไอคิโด ที่วา “ไมทำผูอื่น กอน” ซึ่งในทางกฎหมายก็คือการ “ปองกันตัว” นั้นเอง ... หมายเหตุ ขอมูลจากประมวลกฎหมายอาญา และคำอธิบายประมวลกฎหมายอาญา หน้า
12
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ปีท่ี ๑ ฉบับที่ ๑ วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
๑๐ อยางที่สำคัญที่เราควรจดจำไวในใจ ในฐานะสมาชิกของโดโจก็คือ 1. ฝกฝนอยางตั้งใจและ สนุก ! 2. เปนสวนหนึ่งในการชวยเหลือใหโดโจสะอาดเรียบรอย 3. ชวยเหลือกันและกันดวยความเอื้อเฟอเผื่อแผ เมตตากรุณา และเคารพนับถือ กันและ กันอยางจริงใจ 4. ใหแนใจวามือและเทาของเราสะอาดกอนขึ้นเบาะฝก เล็บมือเล็บเทาตัดใหสั้น ตะไบให เรียบรอย 5. ดูแลรักษา “กี” (ชุดฝก) ใหสะอาดเรียบรอย ซักเปนประจำและพับอยางดี (เรา สามารถเขียนชื่อของเราไวที่คอเสื้อ แขนเสื้อซายดานบน รวมทั้งโอบิ (สายคาด) หรือ กางเกงก็ได) 6. ถอดเครื่องประดับทุกอยางกอน ขึ้นเบาะทุกครั้ง เก็บเครื่องประดับไว ในที่ปลอดภัย 7. กอนขึ้นเบาะ แสดงความ เคารพไปทางกามิซา (บริเวณดาน หนา) ไมวาจะเปนทานั่งหรือทายืน ก็ได หากชั้นเรียนเริ่มไปแลว ใหนั่ง หันหนาไปทางกามิซา ทำสมาธิ เคารพปรมาจารย เคารพอาจารย ออกไปอบอุนรางกายนอกเบาะ เมื่อ พรอมแลวใหคำนับไปทางกามิซากอนขึ้นเบาะ นั่งรอที่ปลายเบาะจนกวาอาจารยจะ กวักมือเรียกใหเราเขาฝกได คำนับอาจารยแลวรวมฝกได โดยทั่วไปแลว เราเรียก อาจารยผูฝกสอนวา “เซนเซ” สวนผูฝกอื่นๆและผูชวยสอนเราจะเรียกดวยชื่อจริงหรือ ชื่อเลนตามสมควร 8. เซ็นชื่อเขาฝกเมื่อมาถึงชั้นเรียน (ในโดโจมหาวิทยาลัยเชียงใหม เรามีคนคอยเช็คชื่อให) การเช็คชื่อเปนการนับชั่วโมงฝกเพื่อนำไปประกอบการสอบเลื่อนสายที่สูงขึ้นไป 9. จายคาสมาชิกตรงเวลาที่กำหนด เงินที่เก็บไดจะนำไปบำรุงกิจกรรมของชมรม (นักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหมไมตองจายคาสมาชิก เพราะรวมอยูในคาบำรุงกิจกรรม มหาวิทยาลัยอยูแลว) 10. เชนเดียวกับการเรียนรูสิ่งที่มีคุณคาอื่นๆ ไอคิโดตองใชเวลาในการฝกฝน ไมตองกลัววา เราจะเกๆกังๆเมื่อเราเริ่มฝกใหม นั่นเปนธรรมชาติ หากเรามีคำถาม ขอแนะนำ หรือสิ่งที่ เราตระหนัก ไมตองกลัวที่จะถามอาจารยหรือนักเรียนรุนพี่ พวกเขายินดีที่จะชวยเหลือ เราอยางแนนอน\ \
หน้า
13
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ปีท่ี ๑ ฉบับที่ ๑ วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
อานไดอานดิ!
.....................................โดย...นายหนาอาน
“ฉันไมเคยแพใคร แมวาคูตอสูของฉันจะเคลื่อนไหวไดรวดเร็วเพียงใด มิใชเพราะวาเทคนิคของฉันจะดีกวา หรือเร็วกวาคูตอสูก็เปลาเลย ดีกวาหรือเร็วกวามิใชสิ่งสำคัญ เพราะการตอสูไดสิ้นสุดลงตั้งแตเริ่มตน” (ไอคิโด, 2547) ผมเปนคนหนึ่งที่สนใจ และเพิ่งเริ่มฝกไอคิโดไดไมนานมานี้ ปญหาที่ผมมักพบอยูเสมอๆ ในระหวางการฝกคือ ความสับสน และไมเขาใจ ในเรื่องของภาษาที่ใชในการฝก เชน ชื่อเรียกของเทคนิคตางๆ ซึ่งเปนภาษาญี่ปุนแทบทั้งหมด อีกทั้ง วัฒนธรรมในการฝก อาทิ ระเบียบ แบบแผน และ ธรรมเนียมตางๆ ในระหวางการฝก และรวมถึง หลัก การ และปรัชญาของการฝกไอคิโด ผมคิดวาผูเริ่มฝกใหมบางทานอาจประสบปญหาเดียวกันกับผม ดัง นั้นผมจึงอยากแนะนำหนังสือเพื่อใชในการอานทำความเขาใจในเบื้องตน เกี่ยวกับไอคิโดครับ W หนึ่งในหนังสือที่ผมอยากแนะนำคือหนังสือ ไอคิโด (จักรวาล สังคม อัตตา) โดย รองศาสตราจารย ดร. ประพัฒน ลักษณพิสุทธิ์ และ อาจารยยุวดี ลักษณพิสุทธิ์ พิมพโดย สำนักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พิมพครั้งที่ 5 พ.ศ. 2547 เนื้อหาในหนังสือเลมนี้กลาว ถึงไอคิโด ตั้งแตประวัติความเปนมาโดยสังเขป ความรูเบื้องตนตางๆ อาทิ คำศัพทที่มักใชบอยใน ระหวางการฝก อีกทั้ง ระเบียบปฏิบัติ การแตงกาย การแบงวิทยฐานะ สถานที่ฝก การฝกรางกายเพื่อ เตรียมความพรอม การเคลื่อนไหว ไปจนถึงเทคนิคตางๆ รวมถึงหลักการ และปรัชญาเบื้องตนของ การฝกดวยครับ
แมวาหนังสือเลมนี้ไมไดลงลึกในรายละเอียดทั้งหมดของการฝกไอคิโด อยางไรก็ตาม หนังสือเลมนี้ก็เหมาะสมอยางมากสำหรับผูเริ่มฝกเพื่อทำความเขาใจในภาพรวมของไอคิโด ซึ่งจะเปน ประโยชนอยางมากในการฝกภาคปฏิบัติตอไปครับ W สำหรับผูที่สนใจสามารถหาซื้อไดตามรานจำหนายหนังสือทั่วไปครับ สนนราคาอยูที่ 100 บาท หรือสั่งซื้อไดที่ ศูนยหนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ถนนพระยาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 หรือสั่งซื้อทางโทรศัพท โทร. 0-2255-4433 หรือเขาไปหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ http://www.chulabook.com ครับ
หน้า
14
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ปีท่ี ๑ ฉบับที่ ๑ วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
ไอคิโดในมุมมองวิทยาศาสตร ไอคิโดเปนศิลปะการตอสูที่ลึกซึ้ง ตองอาศัย ความเขาใจทั้งศาสตรและศิลปที่แสดงความสวยงาม ออกมาในเชิ ง ยุ ต ลี ล า อันสมดุล จะสังเกตได ว า วิ ว ั ฒ นาการของ สรรพสิ่งมาจนถึง ปจจุบันนี้ ก็เพื่อรักษา สมดุ ล ของธรรมชาติ แตในขณะเดียวกันก็มี ความสวยงาม เชน ผีเสื้อและดอกไม ที่อยูรวมกันได อยางกลมกลืน สมดุล ความสมดุ ล ไม เ ฉพาะ เพียงแคบนโลกเทานั้น จักรวาล และเอกภพ และทุกสรรพสิ่งก็ พยายามจะรักษาสมดุลของตัว เอง “พอโมมากไปก็จะหลุด โลกแลวนะคราบ” ! ไอคิโดเปนศิลปะการตอสูที่อุดมไปดวยความ เคลื่อนไหวที่สวยงาม พื้นฐานของวิชาฟสิกสคือความ พยายามอธิ บ ายการเคลื ่ อ นไหว โดยเริ ่ ม จาก ปรากฏการณงายๆ ที่มีแตในอุดมคติเทานั้นไปจนถึง ปรากฏการณจริงที่ซับซอน “หากผมจะพูดถึงฟสิกส ก็ตองกลาวถึงสมการที่วุนวาย เอาเปนวาขอไมพูดถึง สมการแตจะอธิบายหลักการสั้นๆก็พอนะคราบ” เรามาพูดถึงวงกลมกับการเคลื่อนไหวอยาง สมดุ ล ก็ แ ล ว กั น นะครั บ เราจะสั ง เกตเห็ น ว า ใน ธรรมชาติ เชน โลก หยด น้ำ กรวดที่อยูใน แมน้ำ การเดินของนากา แบบ จำลองอะตอม และอื่นๆ ลวนแตเปนวงกลม
โดย O-White belt ประการแรก การที่เปนวงกลมหรือทรงกลม นั้น ก็เพื่อลดแรงเสียดทาน หรือลดแรงที่มากระทำ เชน ลูกหินในแมน้ำเมื่อเทียบกับลูกหินที่อยูบนภูเขา ความกลมจะตางกัน ประการที ่ ส อง ทรงกลมเป น รู ป ทรงที ่ ม ี พลั ง งานที ่ เ สถี ย รหรื อ ใช พ ลั ง งานน อ ยที ่ ส ุ ด ในการ รักษารูปรางความเปนทรงกลม เชน หยดน้ำที่อยูเปน ทรงกลม ประการที่สาม วัตถุเมื่อเคลื่อนที่เปนวงกลม จะเกิดแรงเขาสูศูนยกลางและเกิดทิศทางของแรงที่ แตกออกไปมากมาย เช น ใน ไอคิโดผูฝกสามารถนำแรงของ ผูกระทำไปในทิศตางๆได ก็ยังมีอีกหลายประการ ที่นาสนใจครับแตเอาไวโอกาส ตอไป คุณสมบัติทั้งสามประการที่กลาวมาอยูใน ไอคิโดทั้งหมด จะสังเกตเห็นวาไอคิโด เคลื่อนที่เปนวงกลมไมใชในรูป 1 มิ ต ิ หรื อ 2 มิ ต ิ แต เ ป น การ เคลื่อนไหวอวัยวะหลายตำแหนง ของรางกายพรอมกันในรูป 3 มิติอันซับซอนซึ่งยากที่ จะจินตนาการและเขาใจไดงาย ซึ่งการเคลื่อนที่ทุก สวนของรางกายเพื่อใชกระบวนทาตางๆนั้นรางกาย จะพยายาม รั ก ษา สมดุลของการ เคลื ่ อ นที ่ แ ละการ ทรงตัวที่มีความ สัมพันธกับพื้นโลกอัน เปนฐานที่แข็งแกรง ดังนั้นการเคลื่อนไหวรางกายของไอคิโดจึง เปนศาสตรและศิลปที่ลึกซึ้งและสวยงามเปนอยางยิ่ง หน้า
15
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ปีท่ี ๑ ฉบับที่ ๑ วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
ขาวจากปางมะผา........วิสูตร (เวา) การสาธิตไอคิโดของ โรงเรียนบ้านห้วยแห้ง ในงานฤดูหนาวของอำเภอ เมื่อปี 2547 สมาขิกใหม่ของไอคิโด ปางมะผ้า น้องออมสิน หรือ ด.ช.พศิน เหล็กสมบูรณ์ เกิดวันที2 ่ 0ตุลาที่ผ่านมา
การสาธิตไอคิโดที่ รร.อนุบาลปางมะผ้า
ขอแสดงความยินดีกับคุณพ่อ เวาและคุณแม่อุสาด้วย
เมื่อมิ.ย. 49
ปฏิทินกิจกรรม กิจกรรม
I \
วัน - เวลา
สถานที่
การอบรมการปองกันภัยทางเพศ
เสาร ๒๕ พฤศจิกายน
หอศิลปเมืองเชียงใหม (ศาลากลางเกา)
ฝกใหกับ Mr. and Miss CMU
ปลายเดือนพฤศจิกายน
ชมรมไอคิโด ๑๘.๐๐ น.
ฝกพิเศษ (ดาบไม)
ทุกวันอาทิตย ๐๘.๐๐ ๐๙.๐๐ น.
สนามหญาหนาหอซิกแซก
ฝกเด็กๆบานรมไทร
ทุกวันอาทิตย ๐๙.๓๐ ๑๑.๐๐ น.
ชมรมไอคิโด
ฝกประจำสัปดาหI \ \ \ \ \ \
จันทร-พุธ-ศุกร ๑๘.๐๐ น.\ สถานที่ฝก ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม ใตถุนตึกอาคารกิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม หน้า
16