#02 AikidoCMU

Page 1

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

AikidoCMU NEWSLETTER ฉบับยุติความรุนแรงตอสตรี พบกับ

ผูหญิง กับทางเลือกตอความรุนแรง ศิลปะการตอสูปองกันตัวในมุมมองของนักสุขภาพจิต มา-ไอ..... หางใหพอดี และ ไอคิโดในความคิดของผม

จัดทำโดย ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาคารกิจกรรมนักศึกษา (อ.มช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม ถ. สุเทพ อ.เมือง จ. เชียงใหม่ ๕๐๒๐๐ ตืดต่อได้ท ี่ Email:

เจตน์ ๐๘๙-๘๕๕๗๒๒๕

ป๋อม ๐๘๙-๗๐๑๗๖๘๖

aikidoCMU@yahoogroups.com

กบ ๐๘๔-๐๔๗๔๓๔๔

หน้า

1


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

สารบาญ

ศัพทไอคิโด เซนเซ!อาจารย เซมไป !รุนพี โคไฮ! รุนนอง ่โดโจ ! สถานที่ฝกซอมบูโด !

(ไมจำกัดเฉพาะไอคิโด)

บูโด!

ศิลปะการตอสูแบบนักรบโบราณ (ไมจำกัดเฉพาะไอคิโด)!

!

บูชิโด! วิถีนักรบ หรือวิธีการที่จะเปนนักรบ ไอคิโดกับชีวิต: มา-ไอ...หางใหพอดี .......ดร.สมบัติ ตาปญญา ๓ AIKIDO STUDENT HANDBOOK : โดโจคืออะไร? ๕ ศิลปะตอสูปองกันตัวในมุมมองนักสุขภาพจิต ...อ.ธีระรัตน บริพันธกุล ๗ ผูหญิงกับทางเลือกตอความรุนแรง ...นฤมล ธรรมพฤกษา (กบ) ๑๑ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับเยาวชน การปองกันพฤติกรรมรุนแรงทางเพศใน นักเรียนมัธยมในเขตจังหวัดเชียงใหม่ ๒๕ การฝกไอคิโดในความคิดของผม ....น.พ.กฤษณชัย ไชยพร ๒๘ AIKIDO FAMILY ๓๒ ปฏิทินกิจกรรม ๓๒

(นอกจากจะมีศิลปะการตอสูแบบนักรบแลว ยังตองมีจิตใจที่เขมแข็งเด็ดเดี่ยวอีกดวย)

นักเขียนในฉบับ ดร.สมบัติ ตาปัญญา อ.ธีระรัตน์ บริพันธกุล นายแพทย์ กฤษณชัย ไชยพร นฤมล ธรรมพฤกษา

หน้า

2


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

ไอคิโดกับชีวิต

มา-ไอ

หาง...ใหพอดี ในการฝกไอคิโดเราจะพูดถึงเรื่องระยะ หางระหวางบุคคล ซึ่งเรียกเปนภาษาญี่ปุนวา มา-ไอ หรือ มาย (ma-i) เสมอ โดยมีความ หมายวาในการตอสูหรือรับมือการโจมตีจากคู ฝกนั้น หากจะใหมีประสิทธิภาพเราจะตองรักษา ระยะหางใหพอดี หากใกลเกินไปจะใชเทคนิค ไอคิโดไมไดดี และอาจเกิดอันตรายจากการ ทำรายของคูฝกไดงายอีกดวย (เพราะหลบหลีก ไมทัน) แตถาอยูหางเกินไปก็จะทำอะไรไมไดอีก และก็ไมมีเหตุผลที่จะตองทำอะไรดวย เพราะ การโจมตียอมมาไมถึงตัวเรา ระยะหางที่พอดีในการฝกไอคิโดจึง ถือเอาชวงแขนเปนเกณฑ คือเมื่อทั้งสองฝาย ยืนประจันหนากันแลวยื่นมือออกมาคนละขาง ปลายมือจะสัมผัสกันพอดี หรือถาเปนการฝก ดาบก็จะถือเอาระยะที่ทั้งสองคนยื่นดาบออก มาแลวปลายดาบแตะกันไดพอดี จะวาไปแลวในสงครามและการใช อาวุธ ไมวาจะเปนการแทงดวยมีด ฟนดวย ดาบ พุงหอก ยิงธนู ปน

หรือแมแตขีปนาวุธนิวเคลียรที่อิหรานและ เกาหลีเหนือกำลัง ฮึ่มๆ อยูตอนนี้ก็ตาม ก็จะ ตองคำนึงถึงระยะที่เหมาะสมเสมอ หากใกล ไปก็ ใ ช ไ ม ถ นั ด หรื อ อาจเป น อั น ตรายต อ ตนเอง ไกลไปก็อาจไมมีประสิทธิภาพ ในการมี ป ฏิ ส ั ม พั น ธ ร ะหว า ง บุคคลในชีวิตประจำวัน เราสามารถเอาหลัก การรั ก ษาระยะห า งที ่ พ อดี ข องไอคิ โ ดมา ใชไดเชนเดียวกัน ทุกครั้งที่เพื่อนหรือคนใกล ชิดเราพูดไมเขาหูหรือไมถูกใจ หากเราโกรธ เกรี้ยวหรือหูอื้อเพราะเลือดขึ้นหนาทันที หรือ เสียใจ นอยใจจนแอบไปรองไห ก็อาจเปน สัญญาณบอกใหรูวาเรา “เขาใกล” เรื่องที่ กำลังพูดกันอยูเกินไปแลว คือ เราถือเอามา เปนเรื่องสวนตัว มองวาเขาโจมตีหรือ ประสงครายตอเรา ทั้งๆ ที่เขาอาจไมมี เจตนาเชนนั้นเลยก็ได

หน้า

3


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

แตในทางกลับกัน หากไมวาใครจะ พูดอะไร ทำอะไร เราก็ “ไมรูสึกรูสา”ใดๆทั้ง สิ้น ก็อาจเปนขอบงชี้วาเรา “ทิ้งระยะหาง” หรือมีใจหางเหินกับบุคคลนั้นหรือเรื่องนั้น มากเกินไป จนไมสามารถที่จะมีปฏิกิริยาใดๆ กับเขาได และแนนอน เขายอมมองเห็นวาเรา ไมแครหรือไมหวงใยความรูสึกเขาเลย มุมมองเชนนี้อาจนำมาประยุกตใช กับสถานการณหรือความสัมพันธในชีวิตได หลายรูปแบบ เชน ในการพิจารณาเรื่อง ราวบางอยางที่เกิดขึ้น หรือในการแกไข ปญหาชีวิต หากเราเกิดอารมณรุนแรงกับมัน มากเกินไป (“เขาใกล” ทางอารมณมากเกิน ไป) เราก็จะแกปญหาไดไมดี มองไมเห็นภาพ รวมของปญหาหรือสถานการณ หากจะแกให ไดเราอาจตองถอยหางออกมาสักนิด ถาเปน ความสัมพันธกับคนใกลชิดในชีวิต ไมวาจะ เปนคูรักหรือคนในครอบครัวเชน พอแม พี่ นอง ญาติ ก็เชนเดียวกัน

หากเราเขาใกลทางอารมณมากเกินไป ความ สัมพันธนั้นก็จะมีปญหา เชน ติดแมเปนลูก แหง หรือติดตามแฟนไปทุกที่ คอยควบคุมหรือ สอดแทรกเขาไปในทุกเรื่องของชีวิตเขา มีอารมณรุนแรงกับทุกเรื่อง จนเขาอึดอัดเพราะ ไมมีความเปนสวนตัวเหลืออยูเลย จนในที่สุด เขาอาจเตลิดหนีไปโดยไมหวนกลับมาอีกก็ได การรั ก ษาระยะห า งที ่ พ อดี จ ึ ง เป น ศิลปะที่ละเอียดออน จำเปนตองใชอยูเสมอ ไม วาจะอยูบนเบาะไอคิโดหรืออยูนอกเบาะก็ตามK K K

หน้า

4


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

Aikido Students Handbook เขียนโดย Greg O’Conner แปลโดย ไอกิ

“โดโจ” คืออะไร?

! เราสามารถใหคำนิยามของคำวา “โดโจ” ดังนี้ • สถานที่เพื่อฝกวิถีชีวิต (คำวา “โด” แปลวา วิถีหรือเสนทางการดำเนินชีวิต “โจ” แปลวา สถานที่ ในที่นี้คำวาโดหมายถึงวิถีของไอคิโด) • สถานที่สำหรับการหลอมรวมรางกายและจิตใจใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน • สถานที่แหงการบรรลุรูแจง

>>

โดโจไมใชเปนเพียงแค “โรงยิม” หรือ “หองออกกำลัง” เทานั้น มันมีความหมายมาก ไปกวาเพียงแคอาคารหลังหนึ่ง โดโจเปนสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ซึ่งยากเกินกวาที่จะใหคำนิยามโดย อาศัยเพียงที่ตั้ง ความสูงของกำแพง หรือคุณคาของสิ่งของที่อยูภายใน “โดโจ” ถือกำเนิดมาจาก การหลอมรวมกันของจิตวิญญาณของสรรพสิ่ง อันไดแก จิตวิญญาณภายในของแตละคน ของทุก คนรวมกัน และขยายไปถึงจิตวิญญาณอันเปนสากล เราจะมองเห็นคุณคาของโดโจไดก็ดวยจาก หัวใจของแตละคนเทานั้น การเขาสูโดโจ เมื่อกาวเขาสูสถานฝก สิ่งแรกที่ทานพึงทำก็คือ ควรถอดรองเทาของทานออกเสียกอน ซึ่งการปฏิบัติเชนนี้เปรียบเสมือนวาทานกำลังปลอยวางเรื่องราวทุกอยางที่ทานประสบมาทั้งวัน รวม ทั้งความยึดมั่นถือมั่นในตนเอง ปลอย “ปญหาทุกๆอยางไวที่หนาประตู” นั่นเอง นอกจากนี้แลวยัง เปนการรักษาโดโจใหสะอาดอยูเสมอ ใหปราศจากฝุนผงและรอยเหยียบย่ำอีกดวย

หน้า

5


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

องคประกอบของโดโจโดยทั่วไปมีดังนี้ กามิซา Y เมื่อทานเดินเขาสูโดโจ หากทานกวาดสายตามองไปรอบๆ ทานอาจจะดึงความ สนใจไปสูจุดหนึ่งซึ่งเปนศูนยรวมของโดโจ คือ ณ บริเวณหัวเบาะ ซึ่งบริเวณนี้เราอยูจักกันใน นามของ “กามิซา” หรือ “โชเม็ง” (ดานหนา) Y กามิซาคือสถานที่ดานหนาของโดโจ สำหรับการเคารพสักการะทานปรมาจารย (มอริเฮอิ อูเยชิบะ) และ จิตวิญญาณ (คามิ) แหง ไอคิโด ซึ่งโดยปกติแลวในสวนนี้จะประกอบไป ดวยรูปของทานปรมาจารย์ และอักษรภาษา ญี่ปุนเขียนดวยพูกันซึ่งมีความหมายที่สรางแรง บันดาลใจในการฝกซอมแกนักไอคิโด ในบาง แหงอาจจะมีระฆังเพื่อประกอบการใหสัญญาณ ในการทำสมาธิกอนฝกซอม บางครั้งอาจมีแทน วางดาบไมสำหรับฝก หรืออาจมีการประดับดวยดอกไม้ที่จัดไวอยางสวยงามที่หรือ อาจเปนบอนไซตั้งรวมอยูดวยเพื่อใหเกิดความสมดุลในสวนของสถานฝกและการบมเพาะจิต วิญญาณของนักไอคิโดอีกดวย ทุกครั้งที่จะเขาหรือออกจากโดโจ หรือทุกครั้งที่จะขึ้นหรือลง จากเบาะตองทำความเคารพหันหนาไปทางกามิซากอนเสมอ รวมไปถึงการเริ่มหรือการจบชั้น เรียนไอคิโด ครูผูนำฝกและนักเรียนจะทำความเคารพรวมกันไปทางกามิซา เบาะ Y พื้นที่เบาะเปนสถานที่สำหรับการฝกฝนไอคิโด ซึ่งควรไดรับการทำความสะอาด อยางสม่ำเสมอ เปนการไมสมควรอยางยิ่งที่จะสวมรองเทาขึ้นสูเบาะ กอนที่ทานจะกาวเขาสู บริเวณเบาะนั้นทานตองแนใจวาทานไดทำความสะอาด เทา มือ หนาตา และชุดฝกของทาน เรียบรอยแลว

Y

Y

Y

Y

หน้า

6


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

ศิลปะตอสูปองกันตัว ในมุมมองของนักสุขภาพจิต อ.ธีระรัตน บริพันธกุล1 เราทุกคนคงเคยชมภาพยนตรที่พระเอกของเรื่องใชศิลปะตอสูปองกันตัวชนิด ครบเครื่อง “อัด” ผูรายจนตองพายแพในตอนจบกันแลว ผูที่ชมแลวก็ไดแตบอกเลาตอๆ กันมาวา ภาพยนตรเรื่องนั้นชาง “มัน(ส) สะใจดี” ภาพยนตรที่เกี่ยวกับศิลปะปองกันตัวที่สังคมสรางขึ้นโดยผานสื่อภาพยนตรเชน นี้ ทำใหศิลปะแขนงนี้ถูกมองไปวาเปนเรื่องของความกาวราว และเปนวิธีแกไขปญหาโดย ปราศจากเหตุผล โดยมองขามกันไปวา แทที่จริงแลว ศิลปะการตอสูแขนงนี้มุงใหพัฒนา ทั้งทางดานจิตใจ จริยธรรม และจิตวิญญาณ การที่คุณคาที่แทจริงของศิลปะแขนงนี้ถูกทอด ทิ้งไปเชนนั้น เกิดจากสาเหตุสองประการคือ อุปสรรค ดานภาษาและอุปสรรคทางดานแนวคิดในเชิงปรัชญา ตะวันออกที่ไมสามารถสื่อความหมายไดอยางครบถวน ใหกับชาวตะวันตกที่มีแนวคิดเชิงวัตถุนิยมได อยางไรก็ตาม จากความลึกซึ้งหรือความ “ลุมลึก” ของศิลปะแขนงนี้ก็ไดรับการยอมรับวาเปนสิ่งที่ มีคุณประโยชนตอการฝกฝนและพัฒนาทางดานจิตใจ อยางยิ่ง เชน กอใหเกิดสภาวะที่ผอนคลาย การทำงานรวมกันของรางกายและจิตใจ กอ ใหเกิดความเชื่อมั่นในตัวเอง ความสามารถคุมจิตใจได ตลอดไปจนถึง เปนแหลงที่สราง ความสงบทางใจ 1 ภาควิชาจิตเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใม

แปลและเรียบเรียงจาก Journal of Medical Psychology. Martial Art And Psychological Health หน้า

7


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

[ และจากมุมมองของนักสุขภาพจิตมองวา ศิลปะการปองกันตัว เปนสิ่งที่มี ระเบียบแบบแผนของการฝกฝน เพื่อใหผูฝกนำเอาศักยภาพของตนเองออกมาใชไดมาก ขึ้น ซึ่งแนวทางดังกลาวนี้ ก็เปนแนวทางที่สอดคลองกับที่นักสุขภาพจิตปฏิบัติกันอยูแลว นั่นก็คืองานที่มุงพัฒนาคนและปองกันปญหาสุขภาพจิต หัวของานวิจัยที่เกี่ยวของกับศิลปะการปองกันตัว บุคลิกภาพกับศิลปะการปองกันตัว [ บุคลิกภาพ ถูกคิดวาเปนสิ่งสำคัญที่จะมีผลตอ การเลือกฝกฝนศิลปะการปองกันตัว อาจมีคนกลาว วา คนที่เลือกเรียนศิลปะแขนงนี้ก็เนื่องจากเขาเปน คนกาวราว หรือชอบ “บู” มากกวาคนที่เลือกเลน กีฬาประเภทอื่นๆ [ การศึกษาของ Kroll & Carlson (1967) ได ใชแบบทดสอบบุคลิกชื่อ 16 PF ทดสอบคนที่เรียน คาราเตที่มีความสามารถในระดับตางๆกัน ผลที่ไดก็ พบความแตกตางระหวางกลุมผูฝก ในขณะที่บุคลิกภาพของนักเรียนที่เพิ่งจะฝกใหมๆก็ไม แตกตางกับบุคลิกภาพของประชากรโดยทั่วไป [ Kroll ไดศึกษาเรื่องนี้ตอมาก็พบวา ถาศึกษาเปรียบเทียบกับกีฬาบางประเภท ที่มีการแขงขัน เชน มวยปล้ำหรืออเมริกันฟุตบอล พบวา ผูที่ฝกคาราเตจะมีลักษณะเปน คนที่มีความพอใจตนเอง มีความสงบ และเปนคนรักสันโดษกวาพวกที่ชอบเลนกีฬาที่มี การแขงขัน [ Duthie ไดใชแบบทดสอบชื่อ Gougt’s Adjective Checklist เพื่อวัดความแตก ตางของนักศิลปะปองกันตัวที่มีฝมือปานกลางกับคนที่มีความสามารถสูงๆ (เชน คนที่ได สายดำ) พบวา กลุมที่มีความสามารถสูงจะมีลักษณะเปนคนที่เชื่อมั่นในตนเองและบรรลุ ความสำเร็จมากกวาอีกกลุมหนึ่ง [ Rothpearl (1979 - 1980) ไดใชแบบทดสอบ Buss – Durkee Hostility Inventory (เปนแบบสำรวจความกาวราว) ทดสอบนักเรียนคาราเตสามกลุม คือ กลุมที่ เริ่มเรียน กลุมที่เรียนมาแลวปานกลาง และกลุมที่เรียนมานานหรือมีความสามารถสูง ผลการศึกษาพบวา แมทั้งสามกลุมจะมีแนวโนมของการแสดงความกาวราวอยางตรงไป ตรงมา แตในกลุมที่ฝกฝนมานานๆ จะมีคะแนนของความวิตกกังวลและความกาวราวใน ระดับที่ต่ำกวากลุมอื่นๆ ซึ่งก็บงชี้วา ผูที่ฝกฝนจนมีฝมือมากๆ จะไดรับประโยชนในการ ควบคุมอารมณโกรธของตนเองไดดีกวาอีกสองกลุม หน้า

8


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

[ ความกาวราว [ ความสัมพันธกับศิลปะการปองกันตัวกับความกาวราว เปนหัวขอที่นักวิจัยตาง พากันใหความสนใจกันมาก นักศิลปะการปองกันตัวเชื่อวา การฝกจะชวยลดความ กาวราวลงได ในขณะที่กลุมของนักสังคมวิทยากลับเชื่อวา การฝกจะทำใหความกาวราว เพิ่มขึ้น เนื่องจากจะทำใหการควบคุมอารมณลดลง และไดรับแรงเสริมใหแสดงความ กาวราวจากการแขงขัน [ จากการทดสอบดวยแบบทดสอบทางจิตวิทยาและการสัมภาษณเพื่อวัดระดับ จินตนาการที่เกี่ยวกับความกาวราวในนักเรียนคาราเต 42 คน ไดคาสหสัมพันธในเชิงลบ ระหวางระดับของความชำนาญกับความกาวราว ซึ่งก็บงวา ถาคนยิ่งมีความชำนาญมาก ขึ้นก็ยิ่งมีความกาวราวลดลง Paul (1980) ไดใชการสังเกตุแบบภาคสนามในโรงเรียนสอนศิลปะการปองกัน ตัว 34 แหงที่เปดสอนในแคลิฟอรเนีย พบวา ในโปรแกรมการฝกยูโดนั้น นอกจากจะมี การสอนเทคนิคที่อาจกอใหเกิดอันตรายแลว ผูเรียนยังตองเรียนรูการควบคุมจิตใจและ การสรางความคิดในเชิงบวกดวย ดังนั้น คนที่เรียนยูโดจึงมีความกาวราวนอยกวาพวกที่ เลนกีฬาอยางอื่น ผูศึกษากลาววา ตัวกลางที่ทำใหความกาวราวลดลงอาจเกิดจากการฝกที่ตอง ใชการสัมผัสกันมาก ซึ่งกลไกที่เปนสื่อกลางที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงนี้ จะไดกลาวถึง ตอไปในการวิเคราะหศิลปะการปองกันตัวแบบไอคิโด ซึ่งจะอยูในตอนทายของบทความนี้2 อิทธิพลทางสังคม Konzack & Boudreau (1984) มองศิลปะการปองกันตัววาเปน “กระบวนการเรียนรูทางสังคมอีกครั้งหนึ่ง” กลาวคือ ผูฝกจะตองเรียนรูการทำสมาธิ การ หายใจอยางมีจังหวะ ฝกการผอนคลายจนเขาถึงสภาวะการสะกดจิตดวยตนเอง การยึด มั่นในคุณธรรม การชวยเหลือซึ่งกันและกัน และความผูกพันกับกลุมอยางเหนียวแนน เพื่อบรรลุเปาหมายและอุดมการณเดียวกัน การฝกฝนที่ถูกตองจะทำใหผูฝกมีประสิทธิภาพสูงขึ้นในการชวยตนเองใหพัฒนา ตนไดสูงยิ่งขึ้น รวมทั้งสามารถที่จะตอสูกับความเครียดและอุปสรรคที่ตองเผชิญในชีวิต ประจำวันได 2 บทความนี้แบงเปนสามตอน เรื่องไอคิโดจะอยูในตอนที่ 3

หน้า

9


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

การวิจัยนี้กลาววา ศิลปะการตอสูปองกันตัวเปนกิจกรรมรูปแบบหนึ่งที่มี ความสำคัญทางสุขภาพจิต James & Jones (1982) นักสังคมวิทยาไดศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงของ บุคลิกภาพที่เกิดจากการฝกฝนคาราเต เขาไดกลาววา “เพื่อที่จะเปนนักคาราเต ผูเรียนจะตองเรียนรูที่จะเปนตัวของตัวเอง ซึ่งการ เปนตัวของตัวเองไดนั้น จะตองผานกระบวนการมีความสัมพันธกับผูอื่น โดยการที่ผูเรียน ตองแสวงหาเอกลักษณดานสังคมใหกับตนเองใหม เรียนรูบทบาทและพฤติกรรมที่ เหมาะสมใหม และยอมรับความคาดหวังของสังคมที่เขาเขาไปอยูรวมดวย” [ การเรียนศิลปะการปองกัน ตัว นอกจากจะเปนการฝกฝนทักษะ ทางกายใหมๆแลว ผูเรียนจะเกิดการ เปลี่ยนแปลงการรับรูตนเองและคน อื่นใหม รวมทั้งเรียนรูความเชื่อตลอด จนคานิยมใหมๆดวย [ อยางไรก็ตาม James & Jones ก็ไดใหขอคิดวา การที่ผูฝกมี การเปลี่ยนแปลงเพื่อรวมตัวกับกลุม ไดนั้น อาจเรียกไดวาเปน “คาใชจาย เพื่อการยอมรับจากสังคม” มากกวา จะเปนการเติบโตทางจิตใจอันเปนผล มาจากการฝกฝนโดยตรง ! (โปรดติดตามตอนตอไปฉบับหนา)

หมายเหตุ บทความนี้ตีพิมพใน “วารสารจิตวิทยาคลีนิค” กรกฎาคม - ธันวาคม ๒๕๓๕ /ปที่ ๒๓ ฉบับที่ ๒ หน้า

10


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

ผูหญิง กับทางเลือกตอความรุนแรง∗ นฤมล ธรรมพฤกษา

เฮ เฮ !! เสียงโหรองกองถนน สายหลักใกลจตุรัสบาคอร กรุงลาซา ดวยความใครรู เราสามคนมุดฝูงชน กลุมใหญที่กำลังมุงเสี​ียงเอะอะ ดวย ความหวังวานาจะมีของดีของธิเบตให ไดดู เราจึงพยายามแทรกตัวจนถึง ใจกลางกลุม แตก็ตองผงะกับภาพที่ ปรากฏตรงหนา หญิงวัยกลางคนกำลัง กรีดรองเสียงลั่น ปะปนสับสนกับเสียง อื้ออึงของผูคนที่มุงดู ประสานกับเสียง ตะคอกของผูชายสองคน พรอมมือไมที่ รุมฟาดลงไปบนใบหนาและลำตัวของ เธอไมยั้ง ใบหนาของเธอบวมเปง มือ ขางขวาฉ่ำไปดวยเลือด

W W ไมตองคิด W ฉั น กระโดดเข า ตะครุ บ มื อ ของเธอ ปากก็ตะโกน W “แอน แจค !! ไปหายา” W ไมตองคิด แอนกับแจคสองสาว กระโดดหายตัวไปในฝูงชนในเสี้ยววินาที เสียงรองของเธอยังดังลั่นผสม กับคำแชงดา ฉันบีบมือของเธอไวแนน เพื่อหามเลือด ชายทั้งสองชะงักงันที่ ฉับพลันก็มีคนมาแทรกตัวอยูตรงกลาง เมื่อทำอะไรไมถนัด ก็ละมือเดินจากไป เสร็จสิ้นการทำแผล ความอื้ออึง คลายเสียงลง ผูคนยังคงมุงดู เราสามคน เดินกลังโรงแรมอยางงุนงงกับสิ่งที่เพิ่งจะ เกิดขึ้น สักพักชนชาวมุงทั้งหลายก็สลาย ตัวไป ทิ้งไวแตถนนที่เกือบจะวางเปลากับ รถราไมกี่คัน เพียงไมกี่นาที ทุกอยางก็ กลับเขาสูภาวะปกติ ราวกับวา ไมเคยมี อะไรเกิดขึ้นที่นั่น

∗ บทความนี้พิมพครั้งแรกใน “ปาจารยาสาร” ฉบับเดือนมีนาคม - มิถุนายน ๒๕๔๗

หน้า

11


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

๒ W “ผูหญิง” เปนกลุมที่มีความ เสี่ยงสูงตอการตกเปนเหยื่อของความ รุนแรง การใชความรุนแรงตอผูหญิง คือ การที่บุคคล (ซึ่งมักจะเปนเพศชาย) เลือกปฏิบัติดวยความรุนแรงตอเหยื่อที่ เลือกไว (ซึ่งมักจะเปนผูหญิง) ไมวาจะ เปนทางกาย วาจา หรือจิตใจ W ป ญ หาความรุ น แรงเป น ปญหาที่เกิดขึ้น ทุกสถานที่ ทุกประเทศ วัฒนธรรม ชนชาติ ระดับอายุ ศาสนา ระดับการศึกษา ฐานะทางสังคมและ เศรษฐกิจ ตราบเทาที่สังคม วัฒนธรรม ไม ใ ห ค วามเท า เที ย มกั น ระหว า งเพศ อนุญาตใหผูชายไดเปรียบ มีสิทธิที่จะแสดงอำนาจ เหนื อ และควบคุ ม ผู  หญิง สวนกฏหมายและ ประเพณีก็สงเสริมการ กดขี่เพศหญิง อีกทั้ง ทั ศ นคติ ข องผู  ช ายที ่ ม ี ตอผูหญิงในทางที่ไมให เกียรติ คิดวาผูหญิงเปน เพศออนแอ ตองอยูภาย ใตการปกปองดูแล

W W ทัศนคติที่เห็นผูหญิงเปนวัตถุ ทางเพศได ถ ู ก ตอกย้ ำ ผ า นการโฆษณา สินคาและสื่อลามกตางๆอันนำไปสูการ เลือกปฏิบัติตอผูหญิง การมีมาตรฐานสอง ระดับ (double standard) ในทุกพื้นที่ ไมวา ในครอบครัว ที่ทำงาน สถาบันการศึกษา ศาสนา โดยเฉพาะสถาบันการเมือง W ความรุ น แรงต อ ผู  ห ญิ ง ในรู ป แบบที่ชัดเจนที่สุดก็คือ “ภัยทางเพศ” ซึ่ง มีอยูหลายระดับ เริ่มตั้งแต 2 การคุกคามทางเพศ (sexual harassment) นี่คือปญหาใหญที่ผู หญิงแทบทุกคนเคยประสบ การคุกคาม ทางเพศ คือการที่ฝายชายใชอำนาจเพื่อ ลวงเกินทางเพศกับฝายหญิง ไมวาจะเปน การและเล็ม แทะโลม ดวย สายตาและคำพูด ไมวาจะถูกเนื้อ ตองตัวฝายหญิง หรือไมก็ตาม เชน เปาปาก ผิวปาก ยักคิ้วหลิ่วตา สง จูบ แสดงทาสอ นัยยะถึง พฤติกรรมทางเพศ หน้า

12


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

W การตามตื้ออยางไมรูกาละเทศะ การติดตามไปไหนตอไหนโดยไมได รับคำเชิญชวน การสะกดรอยตาม การใชวาจาเยาแหยหรือลวงเกินโดย สอนัยทางเพศ พูดจาลามก พูดสอง แงสองงาม พูดถึงอวัยวะบางสวน บีบบังคับใหผูหญิงตองรับรูเรื่อง ทางเพศ เชน ใหดูรูปภาพ, หนังสือ, ภาพยนตร หรือเวบไซตโปเปลือย วาดรูปหรือเขียนจดหมายลามกสงให ผูหญิง การอวดของลับ การแตะเนื้อตองตัวที่ไมเหมาะสม จับกน โอบไหล จับมือถือแขน กอด รัดฟดเหวี่ยง ไปจนถึงขั้นรุนแรง อยางการขมขืน W นอกจากนั้น การคุกคามทาง เพศที ่ ไ ม ไ ด ก ระทำโดยพฤติ ก รรม ภายนอก แตใชวิธีการควบคุมจิตใจก็ถือ เปนการเอารัดเอาเปรียบทางเพศไดเชน กัน ซึ่งอาจมาในรูปแบบการเสนอผล ประโยชนบางอยางในการทำงานหรือ การเรี ย นโดยแลกเปลี ่ ย นกั บ การตอบ สนองความตองการทางเพศ กระทั่ง เปนการขมขูคุกคามทางจิตใจ ทำให ปฏิบัติงานหรือเรียนไมไดตามปกติ

การประทุษรายทางเพศ (sexual assault)

คื อ การที ่ อ ี ก ฝ า ยใช อ ำนาจที ่ เหนือกวา อาจเปน พละกำลัง อาวุธ หรือ อำนาจหนาที่ในที่ทำงานหรือ สถานศึกษาสรางความกดดัน บังคับใหอีก ฝาย (ไมวาจะเปนหญิงหรือชาย) ตอบ สนองความพอใจทางเพศแกตน อันนำไป สูการรวมกระทำกิจกรรมทางเพศโดยไม เต็มใจ ไมแตเฉพาะกิจกรรมทางอวัยวะ เพศเทานั้น แตรวมถึงการใชปากและ ทวารหนักอีกดวย W รูปแบบที่ชัดเจนที่สุดคือ การ ขมขืน (rape) ไมวาจะเปนวิธีการหลอก ลวง ขูใหยอม ใชยาหรือเหลามอม ทำให ชวยตัวเองไมได หรือใชกำลังทำรายแลว ขมขืน การขืนใจ ไมวาจะเกิดขึ้นในรูปแบบ ไหนก็ถือวาเปนอาชญากรรมทั้งสิ้น ถึง แมวาอีกฝายจะเปนคูรักหรือสามีของเรา ก็ตาม หน้า

13


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

ความรุนแรงในครอบครัว (domestic violence) ก็คือการที่ฝาย ใดฝายหนึ่ง (ซึ่งมักเปนฝายชาย) กระทำ ความรุนแรงทั้งทางรางกาย วาจาและ จิตใจตออีกฝายหนึ่ง (ซึ่งมักเปนผูหญิง และเด็ก) เพื่อควบคุมใหอยูใตอำนาจ เชน ทำรายรางกาย กักขังหนวงเหนี่ยว ขมขู ดวยวาจาใหทำตามที่ตองการ บังคับให ตัดญาติขาดมิตร ทำใหตองอับอายตอผู อื่น จำกัดการใชทรัพยากร เชน พื้นที่ เครื่องมือสื่อสาร การเดินทาง หรือ เงิน การคามนุษย (human trafficking) คือการลดคุณคาของมนุษยใหกลายเปน สินคา มีการซื้อขาย แลกเปลี่ยน ไมวาจะ โดยการลอลวงหรือสมัครใจ โดยเฉพาะ การบังคับใหคาประเวณี ทั้งในระดับ บุคคล และเปนกลุม ฆาตรกรรม (murder) คือความ รุนแรงอันนำไปสูความตาย ถือไดวาเปน ความรุนแรงสูงสุดที่เกิดขึ้นกับผูหญิง ธนาคารโลก (World Bank) ประมาณวา ความรุนแรงและภัยทางเพศ เปนสาเหตุการตายและความพิการของผู หญิ ง วั ย เจริ ญ พั น ธุ  อ ั น มี ค วามร า ยแรง พอๆกับมะเร็งและเปนสาเหตุใหผูหญิง บาดเจ็บและเจ็บปวยไดเทาๆกับอุบัติเหตุ บนทองถนนและโรคมาเลเรียรวมกัน หน้า

14


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

๓ W สมัยเรียนอยูชั้นประถมปลาย ฉั น เริ ่ ม รั ก การอ า นหนั ง สื อ เป น ชี ว ิ ต จิตใจ ธุรกิจครอบครัวคือรานตัดเสื้อผา สตรี แตละวันจะมีลูกคามากมาย โซฟา รับแขกเต็มไปดวยนิตยสารสำหรับผู หญิงทุกประเภท หลังกลับจากโรงเรียน ฉั น ชอบนอนเอกเขนกบนโซฟาตั ว โปรด อานดะตั้งแตคอลัมภผัวเมียละ เหี่ยใจในคูสรางคูสม ตอบปญหากับ ศิราณี ไปจนถึงสารพันปญหาในนิตยา สารชีวิตจริง W ฉันเริ่มเรียนรูจักคำวา “ขมขืน กระทำชำเรา” จากนิตยสารเหลานี้ โดย เฉพาะเรื่องของ “ปูนหอม” เด็กหญิง รุนราวคราวเดียวกับฉันที่ถูก “ชำเรา” จากครูและคนในครอบครัวของเธอเอง W นิ ย ายขนาดยาวหลาย สิบตอนจบเรื่องนี้ทำใหเด็กขาด ความอดทนอยางฉันเลิกติดตาม ฉันหันไปอานเรื่องสั้นๆที่เขมขน ด ว ยรู ป ประกอบจากนิ ต ยสาร “ชีวิตจริง” ซึ่งเต็มไปดวยเรื่อง ราวของพอขมขืนลูก พี่ขมขืน นอง ลุงขมขืนหลาน หรือผูชาย ทั้งบานรุมขมขืนเด็กสาวคนเดียว

W W ฉั น เรี ย นจบชั ้ น ประถมพร อ ม ดวยความรูสึกวา “ฉันตองเตรียมตัวให พรอมเสียแลว เพราะผูหญิงทุกคนโตแลว จะตองถูกขมขืน”

W

ทุกๆหนึ่งชั่วโมง มีผูหญิงไทยหนึ่งคน ถูกทำราย ทุกๆสองชั่วโมง มีผูหญิงไทยหนึ่งคน ถูกขมขืน W นี่เปนสถิติโดยเฉลี่ยในชวงป ๒๕๔๓ ที่คำนวณจากคดีที่ไดรับแจงของ ศูนยขอมูลสารสนเทศ สำนักงานตำรวจ แหงชาติ แตนี่แทบจะเทียบไมไดเลยกับ ประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีสถิติบงบอกวา กรณีขมขืนนั้นเกิดขึ้นทุกๆหนึ่งนาที และ การทำรายผู หญิงเกิดขึ้น ทุกๆ ๕๑ วินาที นั่นหมายความ วา ผูหญิงปละ ประมาณ ๖๘๓,๐๐๐ คน ถูกขมขืนที่ อเมริกา หน้า

15


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

W ผูหญิงอเมริกัน ๑ ใน ๘ คนจะ เคยถูกขมขืนอยางนอยหนึ่งครั้ง คิดเปน ผูหญิงถูกขมขืนประมาณ ๑๒ ลานคน จากทั่วประเทศ W สถิติที่นาสนใจที่สุดคือ ๓ ใน ๔ ของผูขมขืนจะเปนญาติของผูถูก ขมขืนเอง ซึ่งก็ไมตางไปจากคดีขมขืน ในสั ง คมไทยที ่ ป รากฏว า มี จ ำนวนผู  กระทำความผิดทางเพศที่ศาลพิจารณา วากระทำความผิดจริงและลงโทษจำคุก อยูในปจจุบัน มากเปนอันดับสี่ของคดี ประเภทตางๆ ซึ่งหมายความวา มีผู หญิงตกเปนเหยื่อของผูกระทำความผิด เหลานี้อยางมากมาย ทั้งที่เปน การถูก ขมขืนแบบตัวตอตัว (single rape) โทรมหญิง (gang rape) ฆาขมขืน (felony rape) ขมขืนภายในครอบครัว (incest) และขมขืนคูรัก (acquaintance rape / date rape) ตามสถิติพบวา การ ขมขืนโดยผูใกลชิดโดยเฉพาะคูรักเปน กรณีที่เกิดขึ้นมากที่สุด

W จากการศึกษาและสังเกต ลักษณะของชายที่มีความโนมเอียงที่จะ ทำรายคูรักและภรรยาของตนเอง พบวามี ลักษณะดังตอไปนี้ พยายามที่จะใกลชิดกับเราอยางรวดเร็ว เกินเหตุ มีอารมณออนไหวเกินควร อารมณเปลี่ยนแปลงฉับพลันทันที มีความหึงหวงรุนแรง มีความคาดหวังในตัวเราเกินจริง ไมวาจะมีปญหาอะไรเกิดขึ้น เขาจะ ตำหนิหรือกลาวโทษคนอื่นไวกอน พยายามใหเราตองเปนฝายรับผิดชอบ ตอความรูสึกของเขา พยายามแยกเราออกจากสังคม พยายามควบคุมชีวิตของเรา แสดงความโหดรายตอสัตวและเด็กๆ ชอบ “หยอก” แรงๆในขณะใกลชิด หรือเวลามีเพศสัมพันธ มีบทบาททางเพศที่เครงครัดตายตัว เคยมีประวัติทารุณผูหญิงมากอน ขูวาจะใชความรุนแรงกับเรา W หากสั ง เกตว า คู  ร ั ก ของคุ ณ มี ลักษณะดังกลาว ควรระมัดระวังตัวและ หาทางหนีทีไลหากเกิดเหตุการณที่ไมคาด คิดในอนาคต หน้า

16


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

W เมื่อเริ่มแตกเนื้อสาวเขาสูชั้น มัธยมปลาย ความมีวุฒิภาวะทำใหฉัน เรียนรูวาฉันสามารถปองกันตัวเองจาก ภั ย ทางเพศได ห ากฉั น ลดความเสี ่ ย ง ตางๆออกไป โดยเฉพาะการหลีกเลี่ยงที่ อโคจร การแตงตัวไมใหตกเปนเปา สายตา เดินเหินอยางมั่นใจไมใหดูเปน เหยื่อที่ออนแอ การพึ่งพาตนเองโดย เฉพาะดานการเดินทาง ไมตองใหใคร คอยรับคอยสง W การที่ไมไปอยูในที่เปลี่ยวใน ยามวิกาลนาจะตัดโอกาสที่จะเกิดความ รุนแรงตอผูหญิงได และถาฉันมีการ ศึกษาดี มีงานทำเปนหลักเปนแหลง อยู ในสถาบันที่นาเชื่อถือ ผูคนก็คงจะให ความเคารพและคงไมมีใครกลาทำราย ฉันได W แตฉันคิดผิด ยามเย็นวันหนึ่ง แดดออนตัวลง แตก็ ยั ง คงสาดแสงลงมาบนถนนที ่ เ ต็ ม ไป ดวยรถราขวักไขว ฉันควบมอเตอรไซค ออกจากห อ งสมุ ด พร อ มจะกลั บ บ า น แต ก ็ ต  อ งเสี ย จั ง หวะด ว ยสั ญ ญาณไฟ จราจร รถฉันติดไฟแดงอยูที่หนาโรง พยาบาลพรอมกับรถอีกหลายคันที่เรง เครื่องพรอมจะทะยานออกจากแหลง

ความรีบรอนและความรูสึกหิว ถูกรบกวนดวยเสียงรองของผูหญิงมาจาก หน า ประตู โ รงพยาบาลทางด า นซ า ยมื อ ฉันหันขวับ ผูหญิงในชุดพยาบาลกำลัง กรีดรอง พรอมหลบมือไมของหนุมใหญที่ ระดมใสเธอไมยั้ง ทั้งเขาทั้งศอก เขาไมรอ ใหเธอตอบโต ทุ ก คนบนถนนหยุ ด นิ ่ ง ได แ ต มอง ตัวไมไหวติง เสียงอึงคะนึงบนทอง ถนนเงี ย บราวกั บ ถู ก ดู ด ซั บ ไปกั บ เสี ย ง รองไหของเธอ ทุกอยางนิ่ง ไมมีการ เคลื่อนไหว เวนแตเธอที่ทรุดตัวลงบนพื้น ถนนหลังจากช้ำไปทั้งตัว เขายืนหอบแฮก เมื่อสังเกตวามีคนมองอยูก็หันมาตะคอก ใส “มองอะไรวะ ไมเคยเห็นผัวเมียตีกัน หรือไง” ฉันชะงัก

หน้า

17


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

ไฟเขียวราวกับเปนสัญญาณ แหงการปลดปลอย เพียงเสี้ยวนาทีรถ ทุกคันก็แลนออกจากที่นั่นพรอมเสียง ถอนหายใจ ความรีบเรงของรถราทำให ดูเหมือนกับวันทั่วๆไป ราวกับไมเคยมี อะไรเกิดขึ้น เวนแตฉัน ฉันลืมไปแลววาหยุดหายใจ ไปนานเทาไร น้ำตาไหลเปนสายยาวจน ตาพรา มองไมเห็นอะไร ไมไดยินเสียง อะไร แมแต เสียงสะอ้ืนไหของตัวเอง ฉันเริ่มตะหนักวา ความ รุนแรงตอผูหญิง มันไมไดเลือกสถานที่ และเวลา ไมเลือกชั้นวรรณะ สถานภาพ ในสังคม ไมเลือกวาคุณเปนใคร ฉันเพิ่งจะรูตัวเองวา ฉันไร พลัง ไรอำนาจ

๖ W ผู  ห ญิ ง มากกว า ครึ ่ ง เคย ประสบหรือพบเห็นเหตุการณรุนแรง ตอผูหญิงมาแลว หลายคนเกิดความ กลัวและหวาดผวา ผูหญิงจำนวนนอย มากที่มีความรู ความเขาใจในเรื่องสิทธิ และกฏหมายที่คุมครองสิทธิของตน

ผูหญิงมีสิทธิที่จะ มีและสามารถแสดงความรูสึกและ ความคิดเห็นของตนเอง ไดรับการปฏิบัติดวยความเคารพและ เสมอภาค ขอในสิ่งที่ตนตองการ ไดรับการฟงและไดรับการปฏิบัติตอบ ดวยความจริงจัง วางเป า หมายและเรี ย งลำดั บ ความ สำคัญดวยตัวเอง ทำผิดพลาดได พูดปฏิเสธโดยไมรูสึกผิด ตัดสินใจ ถามคำถามไดโดยไมรูสึกวาตัวเองงี่เงา สรางเขตแดนที่รูสึกปลอดภัยสำหรับ ตัวเอง หน้า

18


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

W ผูหญิงมีสิทธิที่จะปฏิเสธการ มีเพศสัมพันธ หรือไมยินยอมใหฝาย ชายถูกเนื้อตองตัวแบบสอเจตนาทาง เพศได ผูหญิงมีสิทธิ์จะพูดคำวา “ไม” ซึ่งมีความหมายวา “ไม” อยางหนัก แนนและชัดเจน

W การยุติการใชความรุนแรงตอ ผูหญิงจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อ ทุกคนใน สั ง คมจะต อ งไม ย อมรั บ การใช ค วาม รุนแรงไมวาจะในรูปแบบใดก็ตาม ทุก คนตองตระหนักวา ไมมีผูหญิงคนไหน ที่สมควรจะไดรับความรุนแรง ผูหญิงมี สิ ท ธิ ต ามหลั ก ลิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนที ่ จ ะอยู  ดวยความปลอดภัย และตัวผูหญิงเอง จำเปนตองลมลางมายาคติแบบเกาที่ เกี่ยวกับตัวของเราเอง

W เมื่อเราเกิดมาเปนผูหญิง เราก็ถูก หลอหลอมใหมีความเชื่อผิดๆเกี่ยวกับตัว เราเอง มีคำสอนวา สิ่งไหนเราทำได สิ่ง ไหนทำไมได คำสอนเหลานี้แบงแยกใหผู หญิงมีบทบาทเฉพาะตามเพศกำเนิดซึ่งสง ผลตอความคิดความเชื่อ ความรูสึก ทัศนคติ พฤติกรรม และความสัมพันธที่ผู หญิงมีตอตนเองและผูอื่น รวมถึงการ ตัดสินใจกำหนดทิศทางของเราตอสิ่งที่ เกิดขึ้นกับตัวเราหรือกับคนที่เรารัก การ ควบคุมสถานการณ และการเลือกที่จะ กระทำเมื่อเกิดสิ่งไมดีขึ้นในชีวิตของเรา W เพื่อที่จะเปนผูหญิงที่ดี เราเรียน รูที่จะซึมซับและเชื่ออยางไมสงสัยวาเรา ไรความสามารถ ออนแอ นิ่มนวล ออน หวาน เพียงเพราะเราเกิดมาภายใตรางกาย ของผูหญิง เราถูกทำใหเชื่อวาเราปองกัน ตัวเองไมได ผูชายเปนฝายเสนอ ผูหญิง เปนฝายสนอง ผูหญิงตองรองรับความ ตองการของผูชาย ถึงแมวาเขาจะทำราย รางกาย ขืนใจ หรือแมกระทั่งฆาเราก็ได หากเขาตองการ เหลานี้เหมือนกับตอกย้ำ วา “เรามีทางเลือกไมมากนักในฐานะผู หญิงคนหนึ่ง” W บางที บทบาทเหลานี้เราควรคิด พิจารณากันใหม หน้า

19


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

W ผู  ห ญิ ง “ขบถ” ใน ประวัติศาสตร ผูที่ตั้งคำถาม ผูที่ ตองการเปลี่ยนแปลงกฏเกณฑ ผูหญิงที่ ไม ไ ด เ ป น ไปตามความคาดหวั ง ของ สังคม ไมวาจะเปน นางกลางเมือง ราง ทรง โสเภณี วีรสตรี หรือราชินีหลัง บัลลังก ก็มักจะถูกลงโทษในรูปแบบ ตางๆ อยางเบาะก็เปนการติฉินนินทา กลาวหา ใสรายวาไมรูจักที่ทางของผู หญิง เปนนางมาร แมมด กระทั่งถูก จับกุม คุมขัง เผาทั้งเปน หรือประหาร ชีวิตเพื่อไมใหเปนเยี่ยงอยาง W ผูหญิงถูกคาดหวังใหเราเปน “ผูหญิง” ซึ่งเราเองตองยกเลิกความ เปนมนุษยอีกครึ่งหนึ่งทิ้งไป เชน เดี ย วกั น กั บ การที ่ ส ั ง คมคาดหวั ง กั บ “ความเปนชาย” ของผูชาย ซึ่งพวกเขา มีทางเลือกแคสองแบบ คือการตัดเอา ความอ อ นโยนทิ ้ ง ไปเพื ่ อ ที ่ จ ะเป น “แมน” เปน “ชายชาตรี” หรือการที่ตอง ถูกตราหนาวาเปนหนาตัวเมียหากเขา ไมหาวหาญ แตกลับออนไหว เขาอก เขาใจคนอื่น W เพื่อใหเปนไปตามความคาด หวังของสังคม ผูชายก็จำเปนตองตัด ความเปนมนุษยอีกครึ่งหนึ่งทิ้งไปเชน เดียวกัน

W ไมวาจะหญิงหรือชาย เราถูก สอนให เ ชื ่ อ ผิ ด ๆเกี ่ ย วกั บ ความเป น ชาย และความเปนหญิงตั้งแตจำความได ความ เชื่อผิดๆเหลานี้ถูกปอนอยางเปนระบบ ผานทางสังคมโดยรวมและผานสถาบัน ตางๆ ทั้งสถาบันศาสนา สถาบันการ ศึกษาฯลฯ โดยเฉพาะสถาบันครอบครัว อันเปนสถาบันแรกสุด ทำใหเราแบกรับ เอาความเชื่อนี้เปนของตน ซึ่งกอใหเกิด ความรุนแรงเชิงโครงสรางที่ฝงรากลึกเกิน กวาจะเยียวยา W ตราบใดที่ความเชื่อนี้ยังคงเอื้อ อำนวยใหผูชายเอารัดเอาเปรียบทางเพศ และใชความรุนแรงตอสตรีอยู ความ ปลอดภัยของผูหญิงจะยังคงหาไมไดงายๆ ในโลกปจจุบัน W ในเมื ่ อ ไม ว  า จะดำเนิ น ชี ว ิ ต อยู  ที่ไหนก็มีความเสี่ยง กระทั่งในบานของ ตนเอง และถาหากเราพึ่งพาโครงสรางทาง สังคมไดยาก บางทีผูหญิงเราก็คงตองเรียน รูที่จะตองพึ่งพาและปกปองตัวเอง

หน้า

20


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

๗ W สิ่งที่ทาทายก็คือ การที่ผูหญิง ต อ งต อ สู  ก ั บ ความเชื ่ อ ผิ ด ๆเกี ่ ย วกั บ รางกายของหญิงชาย เรามักคิดวาเปน ไปไมไดที่จะตอกรกับผูชายที่มีรางกาย ใหญโตกวาและแข็งแรงกวา การเชื่อ แบบนี้ เทากับเรายอมจำนนตอมายาคติ ที่จำกัดตัวเราเอง หลายคนคงแปลกใจที่ เรียนรูวา ทักษะของการตอสูปองกันตัว นั้นไมไดเกี่ยวกับรูปรางหรือความเปน ชายหญิ ง แต ก  อ นอื ่ น เราต อ ง เปลี่ยนแปลงความคิดเกี่ยวกับ “ผู ปกปอง” และ “ผูถูกปกปอง” เสียกอน W เราคิ ด เสมอว า ผู  ช ายคื อ ผู  ปกปองดูแลผูหญิง แมกระทั่งในยุค สมัยปจจุบัน ฉะนั้น การที่ผูหญิง สามารถดูแลตัวเองไดนั้นเปนเรื่องที่ เขย า ความรู  ส ึ ก ของเพศชายเป น ส ว น ใหญ การตระหนักวา การอยูรวม กันของชายและหญิงนั้นเปนเรื่องของ “ความรัก” มากกวา “การพึ่งพา” จะ ทำใหผูหญิงไดรับการปลดปลอยทั้งทาง กายภาพ เศรษฐกิจ และจิตใจ สวน ผู  ช ายเองก็ ไ ด ร ั บ การปลดปล อ ยจาก ภาระที่ตองเปนผูดูแล “มนุษยที่พึ่งตัว เองไมได”

ในหลายสถานการณที่ผูหญิงตก อยูในภาวะคับขันเพียงลำพัง ผูหญิงตอง ดูแลชวยเหลือตัวเอง การตอสูเปนทาง เลือกหนึ่ง หากเรารูไว ก็จะชวยทำใหเราใช ทักษะอื่นๆรวมปองกันตัวเองไดอยางมี ประสิทธิภาพมากขึ้น การรู  ท ั ก ษะการต อ สู  ไ ม ไ ด หมายความวาเราตองฮึดขึ้นสู ตรงขาม ทักษะนี้กลับทำใหเราลด “ความตองการ ที่จะสู” และทำใหเราลดความหวาดกลัว เพราะเราสามารถคุมสถานการณและคุม ความรู  ส ึ ก ของตนเองได อ ย า งมี ส ติ แ ละ สงบ แมวาสารอะดรีนาลีนกำลังฉีดพลาน ในตัวเรา ความมั่นใจแผขยายจนคนรอบ ขางรับรูได ยิ่งมั่นใจในความสามารถของตัว เองในการหยุดยั้งความรุนแรงไดดีเทาใด ก็ จะมี ค วามสามารถในการประเมิ น สถานการณ สงบสติอารมณและใชความ คิดไดดีเทานั้น และแมวาทางเลือกอื่นๆไมเกิด ผลจนทำใหเราตองเลือกการเผชิญหนา โดยการใชพละกำลัง ทักษะการปองกันตัว ก็จะชวยใหเราเอาตัวรอดไดอยางมีพลัง และเกิดประสิทธิผล อาจถึ ง เวลาแล ว ที ่ ผ ู  ห ญิ ง เรา จำเปนตองเรียนศิลปะการปองกันตัว หน้า

21


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

๘ W จนถึงวันนี้ ฉันฝกไอคิโดไดมา เปนเวลาเกือบหาป นับวาเปนเวลาที่ นอยมากสำหรับการฝกฝน เหมือนกับ เด็กหาขวบที่คอยๆเติบโต ซึ่งตองใช เวลาทั้งชีวิตในการฝกฝนและเรียนรู W ฉันมาเรียนไอคิโดไมใชเพื่อไว ปองกันตัวเอง แตเพราะประทับใจใน ทวงทาการเคลื่อนไหวที่สวยงามราวกับ การเตนรำ แตหาปที่ผานมา ฉันเรียน รูมากกวานั้น W W ไอ คือความรัก หรือความ ประสานกลมกลืน W คิ คือ พลัง หรือ ปราณ W โด คือ วิถี W ท า หลั ก ๆของไอคิ โ ดก็ ค ื อ “เทนคันโฮ” หรือการหมุนตัว ไอคิโดจะ ไม ป ะทะแต จ ะหลบออกจากวิ ถ ี ก าร จูโจม และเมื่อเราโตตอบกลับก็เพียงเพื่อ ใหเขาชะงักและเบี่ยงเบนจุดมุงหมาย หรือหยุดการคุกคาม ไมใชเพื่อเอาชนะ หรือทำรายเขา ทั้งที่เรามีโอกาสที่จะ ทำไดแตเราไมทำ เราไมใชความรุนแรง สยบความรุนแรง

W วิธีการฝกของไอคิโดคือ การเกื้อ หนุ น กั น และกั น ฝ า ยหนึ ่ ง เรี ย กว า “นาเงะ” หมายถึงผูที่รับการโจมตีแลวใช เทคนิคหรือกระบวนทาของไอคิโดเพื่อ ปองกันตนเอง หรือจัดการควบคุมฝาย ตรงขามซึ่งเราเรียกวา “อูเกะ” หมายความ วา “ผูลม” W อูเกะไมใชศัตรู แตเปรียบเสมือน กัลยาณมิตรที่ชวยใหเราฝกฝนตัวเองและ เติบโตไปดวยกัน ผูฝกทั้งสองคนจะสลับ บทบาทกันไปเรื่อยๆ เปนทั้งผูรับและผูให W ไอคิโดไมมีการแขงขัน จึงไมมีผู ชนะและผูแพ ไมมีรางวัล มีแตการสอบ เลื่อนสายเปนการวัดการเจริญเติบโตของ ตนเอง สิ่งที่สำคัญ ไอคิโดสอนใหฉัน “ลม” เปน การลมเปนสวนที่สำคัญที่สุด ของการฝกฝน หากลมไมเปนหรือลมไม ถูกทาก็จะทำใหบาดเจ็บได

หน้า

22


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

เราฝกทาซ้ำๆกันเกือบทุกครั้ง ดูเหมือนวาไมมีอะไรใหม แตฉันกลับ เรียนรูอะไรใหมๆทุกครั้งกับทาเดิมๆที่ ทำซ้ำแลวซ้ำเลา ก็เหมือนกับชีวิตที่ตอง มีสติทุกยางกาว จดจอกับปจจุบันขณะ เปดใจเรียนรูสิ่งใหมๆจากสิ่งเดิมๆ เรียน รูที่จะมีชีวิตที่ประสานกลมกลืนกับคน รอบขาง ไอคิโดสอนใหเราหลบแตไม หนี ฝกฝนที่จะเผชิญหนากับปญหา อยางกลาหาญและชาญฉลาด แตเลี่ยง การปะทะ ไมทำรายคนอื่นแมวามี โอกาส มีเมตตาธรรม และถาจำเปนตอง ลม ก็ลมเปน ไมเจ็บมาก และพรอมจะ ลุกขึ้นมาตั้งรับปญหาใหมๆไดทันทวงที ฉันวา จำเปนยิ่งที่เราควรจะ ฝกฝนตั​ัวเรา ทั้งทางรางกาย จิตใจ และ จิตวิญญาณ โดยเลือกหากิจกรรมที่ เหมาะสมกั บ จริ ต และสภาวะของตน เพื่อสรางความสมดุลและปลุกความเชื่อ มั่นในตนเอง สรางความมีชีวิตชีวาและ ศรัทธาในการดำเนินชีวิต ผู  ท ี ่ ฝ  ก ทั ก ษะต า งๆไม ว  า จะ เปนศิลปะการปองกันตัว กีฬา การฝก สมาธิ ผู  ค นเหล า นี ้ เ รี ย นรู  ท ี ่ จ ะ เคลื ่ อ นไหวจากจุ ด ศู น ย ก ลางของ รางกาย ซึ่งเปนสิ่งที่สำคัญอยางยิ่งใน

การนำพาพลังจากภายในสูภายนอก ไมวา จะยืนหรือนั่ง การเคลื่อนไหวก็จะออกจาก จุดศูนยกลาง จุดศูนยกลางไมใชสิ่งที่ลึกลับ เหนือจริง ทุกคนมีจุดศูนยกลาง ศูนยกลาง ของรางกายซึ่งเปนศูนยกลางของแรงโนม ถวงจะอยูประมาณ ๒ นิ้วต่ำกวาสะดือ จุด นี้เองชาวญี่ปุนเรียกวา “ฮาระ” ภาษาจีน เรียก “ทันเถียน” หลายคนมักเคลื่อนไหวโดยใช สวนอื่นของรางกายเปยจุดศูนยกลาง เชน อก ศรีษะ หรือสะโพก ทำใหไมมั่นคง ลม ไดงาย แตถาเราฝกฝนใหการเคลื่อนไหว ออกจากจุดศูนยกลางของรางกาย การ เคลื ่ อ นไหวของเราจะมี ส มดุ ล และ ประสานสัมพันธกันทุกสวน ทำใหมีความ มั่นคง มีพลัง และสงผลตอจิตใจทำใหมี ความมั่นใจและความพรอมที่จะตั้งรับสิ่ง ตางๆที่จะเขามาในชีวิตโดยไมหวั่นแกรง อยางไรก็ตาม การเคลื่อนไหว รางกายที่มั่นคงก็ไมไดเปนหลักประกันวา จะหลี ก เลี ่ ย งการคุ ก คามทางเพศได ร  อ ย เปอรเซนต แตมีการศึกษาวิจัยที่สรุปวา มี ตัวบงชี้วาผูหญิงที่มีการเคลื่อนไหวอยาง มั่นคง มั่นใจ จะมีแนวโนมวาถูกคุกคาม ทางเพศนอยลงอยางมีนัยสำคัญ หน้า

23


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

๙W

W หลายครั้งเรามักเคยไดยินคำ แนะนำวา “ใหยอมซะ จะไดไมเจ็บตัว” W การสมยอมเป น ทางเลื อ ก หนึ่ง แตก็ไมไดหมายความวาจะไมถูก ทำรายหรือพรากชีวิต การแนะนำให สยบยอมอีกนัยหนึ่งอาจหมายความวา “ผูหญิงสูไมเปน ดังนั้นก็ไมควรลองสู” โดยลืมไปวาการสูกลับก็เปนทางเลือก หนึ่งที่อาจประสบความสำเร็จ ซึ่งผู หญิงวันนี้จำเปนตองเรียนรู W การเลือกที่จะ “ไมสู” ควรเกิด ขึ้นเมื่อเราประเมินสถานการณแลววา เปนยุทธวิธีที่เหมาะสมที่สุด เพราะไม คุมที่จะเสี่ยงสู แตเราไมควรเลือกที่จะ ไมสู เพียงเพราะเรา “สูไมเปน” W การเรียนรูศิลปะการปองกัน ตัวเปนการอนุญาตใหตัวเรามีทางเลือก เพิ่มขึ้นที่จะตอบสนองตอสถานการณ ตางๆดวยการเลือกของตัวเราเอง W แตก็มีบางครั้งที่ความรุนแรง ประเภทตางๆเกิดขึ้นในชีวิตของเรา ทั้ง ที่เราพยายามหลีกเลี่ยง ตอสู หรือสยบ ยอมแลวก็ตาม จำไวเสมอวา สิ่งเลวราย เหลานั้นไมไดทำใหคุณคาของเราลด นอยลงเลย ความเปนมนุษยทุกประการ ยังคงมีอยูในตัวเราอยางเต็มเปยม

W เหตุการณรายแรงที่เกิดขึ้นนั้น ก็ ไมควรถูกทำใหลืมเลือนไปราวกับวาไม เคยมีอะไรเกิดขึ้น เพราะการตอสูนั้นยังไม จบลง ผูหญิงจึงจำเปนตองตอสูกับอคติ ความไมเทาเทียมกันในสังคม ยืนหยัดใน ความถูกตองทางจริยธรรม ไมใชเพื่อ ตนเองเทานั้น แตเพื่อเพื่อนมนุษยคนอื่นๆ และรวมทั้งมนุษยผูชายดวย เราอาจมาถึ ง จุ ด ที ่ ต  อ งช ว ยกั น คนหาวิธีการตอสูแบบ “ลูกผูหญิง” ที่ ไมใชการคุกคามทำรายคนอื่น แตเพื่อ ปกปองสิทธิของตนจากความรุนแรงทุก ประเภท ทั้งที่มองเห็นและที่มองไมเห็น การตอสูของ “ผูหญิง” เต็มไป ดวยความรัก ความเมตตาและความเห็น อกเห็นใจ เพื่อชวยกันสรางสังคมที่มีความ เปนมนุษยที่มีความเขาอกเขาใจกันมาก ขึ้น ดวยการไมใชความรุนแรงตอบโตกับ ความรุนแรง เพราะผูหญิงทุกคนมิสิทธิที่จะ เลือกดำเนินชีวิตโดยปราศจากความ รุนแรง [ [ [ [ [ [

[ [

[ [

[ [

หน้า

24


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการสำหรับเยาวชน การปองกันพฤติกรรมรุนแรงทางเพศใน นักเรียนมัธยมในเขตจังหวัดเชียงใหม หลักการและเหตุผล ! ! ป ญ หาเรื ่ อ งการละเมิ ด และความ รุ น แรงทางเพศจากข า วในหน า หนั ง สื อ พิ ม พ จากสถิติอาชญากรรม และการสำรวจความคิด เห็นในสังคมไทยปจจุบัน เปนที่ตระหนักกันดี และสรางความหวงใยในกลุมผูเกี่ยวของเปนอัน มาก วาปญหาดานนี้พบไดมาก และเกี่ยวของ กั บ ภาวะสุ ข ภาพของประชาชนจำนวนมาก เชน การบาดเจ็บทางรางกาย บาดแผลตอ จิตใจ การตั้งครรภโดยไมพึงประสงค และการ เกิดโรคติดตอทางเพศสัมพันธ เปนตน ! ! ขอมูลลาสุดจากสำนักงานกองทุน สนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) เมื่อวัน ที่ 23 พ.ค. 2548 กลาวถึงรายงานสุขภาพคน ไทย ประจำป 2548 ซึ่งจัดทำโดย ดร.กฤตยา อาจวนิชกุล นักวิจัยสถาบันวิจัยประชากรและ สังคม มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะ โดยการ รวบรวมดัชนีชี้วัดสุขภาพและสถานการณเดน ประจำป 2547 ซึ่งหัวขอหนึ่งในการสำรวจ คือ เรื่อง “สังคมไทยกับภัยขมขืน” พบวา ในป 2547 ดัชนีชี้วัดถึงสถานการณภัยทางเพศของ ผูหญิงไทยเพิ่มขึ้นกวาปกอนๆมาก ตัวเลขคดี ขมขืนที่มีการแจงความดำเนินคดีทั่วประเทศใน

รอบ 8 ป ที่ผานมา สูงขึ้นถึงรอยละ 35 เมื่อ เปรียบเทียบระหวางป 2540 มีจำนวน 3,741 คดี แตในป 2547 มีจำนวนคดีถึง 5,052 คดี คาดการณ ว  า จำนวนคดี ด ั ง กล า วเป น เพี ย ง จำนวนรอยละ 5 ของเหตุการณที่เกิดขึ้นจริง เทานั้น ขณะที่ยังมีผูเสียหายอีกจำนวนมากไม แจงความ ทำใหสถิติอาชญากรรมทางเพศต่ำ กวาความเปนจริง ดวยเหตุผลตางๆ ไมวาจะ เปนเหยื่อรูสึกอับอาย หรือผูกระทำผิดเปนคน ใกลชิด

! สถิติเกี่ยวกับปญหาการละเมิดทางเพศทุก รูปแบบมักแสดงใหเห็นวา ผูกระทำผิดสวน ใหญไมใชคนแปลกหนา แตเปนคนที่ผูถูก กระทำรูจักหรือคุนเคยดี เชน คนในครอบครัว ญาติ ผูรวมงาน เพื่อนที่คบหา เรียน ทำ กิจกรรมตาง ๆ หรือเที่ยวดวยกันเสมอนั่นเอง หน้า

25


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

! เยาวชนวัยรุนจัดวาเปนประชากรที่มีความ เสี่ยงสูงทั้งตอการเปนผูกระทำและถูกกระทำ ความรุนแรงทางเพศ ดวยเหตุปจจัยหลาย ประการ เชน การอยูในวัยที่พัฒนาการทางเพศ กำลังอยูในระยะสมบูรณเต็มที่ มีความสนใจ และมีความตองการทางเพศตามธรรมชาติอยู แลว บวกกับสภาพแวดลอมในสังคมปจจุบันซึ่ง มีอิสรภาพในการใชชีวิตมากขึ้น และสำหรับ บางคนการอยู  ไ กลจากสายตาผู  ป กครอง อิทธิพลจากการปลุกเราโดยสื่อทางเพศในรูป แบบตาง ๆ โอกาสในการหาความบันเทิงใน สถานที่ซึ่งมีการดื่มสุรากันอยางแพรหลาย และ ความตองการการยอมรับจากกลุม สงผลให เยาวชนจำนวนมากอยู  ใ นภาวะล อ แหลมต อ พฤติกรรมการกระทำและถูกกระทำการละเมิด ทางเพศ และเริ่มเปนที่หวงใยกันวาปจจุบัน เยาวชนมีเพศสัมพันธเร็วขึ้นกวาเมื่อกอนมาก ขึ้น ! ปจจุบันสถาบันการศึกษาในหลายประเทศ ซึ่งมีความตระหนักถึงภัยในดานนี้ จึงมีขอ กำหนดใหนักเรียนมัธยมและนักศึกษาชั้นปที่ หนึ่งในมหาวิทยาลัย ตองเขารับการอบรมเพื่อ สรางความตระหนัก ใหความรูและความเขาใจ เกี่ยวกับภัยที่อาจเกิดขึ้นกับตัวเองอันเนื่องมา จากพฤติกรรมเสี่ยงเหลานี้ และผูที่จะทำงานได อยางมีประสิทธิภาพ คืออาสาสมัครซึ่งเปน เยาวชนเองที่ไดรับการเตรียมโดยการฝกฝน อบรมใหเปนวิทยากร (Peer educators) และ สามารถสื่อสารกับคนในวัยเดียวกันไดดี

! โครงการปองกันพฤติกรรมรุนแรงทางเพศ ในเยาวชนจึงไดรับการริเริ่มขึ้นเพื่อใหบริการ แกนักเรียนมัธยมในจังหวัดเชียงใหม โดยชมรม ไอคิโดมหาวิทยาลัยเชียงใหม ซึ่งมีเปาหมายที่ จะใหเยาวชนไดมีโอกาสไดพัฒนาความรูความ เขาใจในเรื่องนี้ เพื่อที่จะไดหลีกเลี่ยงหรือ ปองกันตนเองใหปลอดจากอันตรายดังกลาว วัตถุประสงค ! 1. เพื่อใหนักเรียนไดรับความรู เกิดความ เขาใจ มีทัศนคติที่ถูกตองเกี่ยวกับความเสี่ยง ตอการละเมิดหรือถูกละเมิดทางเพศ ! 2. เพื่อปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับ นักเรียนจากพฤติกรรมรุนแรงทางเพศ เชน การตั้งครรภ การติดโรคทางเพศสัมพันธ การ ตกเปนเหยื่อของความรุนแรง และมีผลกระทบ ตอชีวิตและการเรียนในที่สุด หน้า

26


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

! 3. เพื่อปองกันปญหาความรุนแรงในสังคม ในระยะยาว เพราะพฤติกรรมรุนแรงทางเพศใน วัยนักเรียนหากไมไดรับการหยุดยั้งหรือแกไข อาจนำไปสูความรุนแรงในครอบครัว ความ รุนแรงตอเด็ก และขยายวงกวางออกไปใน ชุมชนและสังคมตอไป

ระยะเวลาดำเนินการ วันเสารที่ 25 พฤศจิกายน 2549 ! จัดการอบรมใหกับตัวแทนนักเรียน ! จากโรงเรียนตางๆ พฤศจิกายน 2549 – พฤศจิกายน 2550 ! ทำกิจกรรมในโรงเรียน

เปาหมาย ! นักเรียนมัธยมในจังหวัดเชียงใหม

ผลที่คาดวาจะไดรับ 1. นักเรียนที่ผานการอบรม มีความรู ความ เขาใจ และทัศนคติที่ถูกตองเกี่ยวกับ วิทยากร พฤติกรรมรุนแรงทางเพศ (แสดงใหเห็น ไดจากผลการสำรวจโดยแบบสอบถาม ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมบัติ ตาปญญา และ การสัมภาษณ และการเปรียบเทียบผล อ.ธีระรัตน บริพันธกุล ภาควิชาจิตเวชศาสตร กอนและหลังการดำเนินโครงการ) คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม และ 2. นักเรียนที่เปนอาสาสมัคร สามารถปฏิบัติ อาสาสมัครจากชมรมไอคิโดมหาวิทยาลัย งานใหการอบรมในปตอ ๆ ไป และขยาย เชียงใหม วงกวางออกไปเรื่อย ๆ 3. เกิดความตระหนักและตื่นตัวในโรงเรียน ชุมชน และสังคมเกี่ยวกับเรื่องภัยจาก พฤติกรรมรุนแรงทางเพศ นำไปสูมาตร การอื่นๆ ในการปองกันและแกไขตอไป การติดตามและประเมินผล 1. ประเมินระยะสั้นจากผลการจัดการอบรม 2. ประเมินผลในระยะยาว จากการใช แบบสอบถาม สัมภาษณ เก็บสถิติการเกิด เหตุการณหรือการดำเนินคดี และการจัดการ แกไขปญหาที่เกิดจากพฤติกรรมรุนแรงทาง เพศในกลุมนักเรียนและเยาวชนจังหวัด เชียงใหม

[

[

หน้า

27


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

การฝกไอคิโด ในความคิดของผม โดย นพ.กฤษณชัย ไชยพร

ถารักจะฝกควรมาฝกอยางสม่ำเสมอ เหตุที่จะ ไมมาฝกควรเปนเหตุจำเปนจริงๆ ไดแก ติดเวร,ติดงาน,เรียนไมทัน,ปวย หรือคุณพอคุณแมมา เยี่ยม ฝกใหดี การฝกอาจชวยคุณไดทั้งทางรางกาย,จิตใจและอาจชวยใหคุณผานพนชวง เลวรายมากๆในชีวิตของคุณไปได อยูเชียงใหมจะไปเยี่ยมคนรักเมื่อไรก็ไมยาก ดังนั้นไม ควรใหการไปกับคนรักของคุณเปนเหตุในการขาดการฝกที่มีแคสัปดาหละ ๓ เย็น การมีรางกายแข็งแรงไมใชขอหามหรือสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงสำหรับการฝก การมี รางกายแข็งแรงกวาทำใหไดเปรียบถาคูตอสูของคุณมีฝมือพอๆกัน การมีรางกายแข็งแรง และยืดหยุนดี ชวยปองกัน,ลด หรือทำใหสามารถทนการบาดเจ็บไดมากขึ้น ดังนั้นจงฝกใหมี รางกายที่แข็งแรงและยืดหยุน กินใหพอ นอนใหพอ ผมแนใจวารางกายของเราไมไดกิน แสงแดดหรือพลังจักรวาลแทนอาหารและการนอน การมีแรงมากเพียงอยางเดียวแตไมมีความคิดไมมีวิทยายุทธควรเปลี่ยนไปฝกยก กอนหินจะดีกวา ฟงและดูผูแนะนำที่ดี จริงอยูผูมีปญญาเมื่อทำการฝกเพียงพอในที่สุดยอม พิจารณาสามารถพบหนทางและวิธีที่ถูกตองไดดวยตนเอง แตในเบื้องตนถาถูกนำใหหลงทาง ไปก็เสียเวลามากขึ้น ถายิ่งไดรับสิ่งที่ผิดติดตัวไปและไมไดรับการแกไขก็จะติดอยูกับที่ไมไปไหน ไดอีก คำแนะนำที่ถูกตองชวยใหกาวหนาไดเร็วขึ้น แตก็นั่นแหละนะแรกๆใครจะไปรูวาอะไร ถูกอะไรไมถูก จนกวาจะมองออก หวังวาคุณจะมองออกและไมสายเกินไป รับฟงแตอยา เพิ่งเชื่อทั้งหมดจนกวาคุณจะไดปฏิบัติมากพอและพิจารณาอยางถองแทแลว เปนตัวของคุณ เอง มีความคิดที่ถูกตองของคุณเองและรับความคิดที่ถูกตองของผูอื่นดวย ใหความเคารพ นับถือแกผูควรไดรับความเคารพนับถือ ดื้อและตอตานเฉพาะในสิ่งที่ควรดื้อและควรตอตาน ฝกกับคูฝกที่ดีจะกาวหนาเร็วและปลอดภัยกวา เริ่มตนฝกดวยการฝกชาๆ เบาๆกอน ทิศทางการเคลื่อนที่,ระยะ,ทาทาง,ความเร็ว,จังหวะ,ความพอดี,ความ กลมกลืน,ความเหมาะสม ทำใหถูกกอน ความรุนแรงและความเร็วเพิ่มทีหลังได ไมตองรีบ รอน อยาทำลายเพื่อนดวยการมีจิตใจแขงขันเอาชนะในขณะที่เพื่อนเพิ่งเริ่มหัดและยังไมเกง จงชวยเพื่อนและตัวเองพัฒนาการฝกไปดวยกัน แรกๆออนใหเขานิดหนึ่ง พอเขาเกงขึ้นก็ แข็งเพิ่มขึ้น ใหยากขึ้นอีกนิดเพื่อใหเขาเกงขึ้นอีก พยายามดูแลอยาใหเพื่อนบาดเจ็บ หน้า

28


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

[

[

[

[

ยืดเสนยืดสายใหเพียงพอกอนเริ่มการฝกทุกครั้ง ใหมๆอยาดักทางเพื่อน ถาพบวาเพื่อนมี จุดออนแสดงใหเขารูแตตองรูใหแนวานั่นเปนจุดออนจริงๆ ถาไมแนใจบอกเขาวาไมแนใจ ถาไมรูเงียบเสียดีกวา อยาเอาตัวเขาไปเสี่ยงกับคูฝกที่อันตราย เชน พวกที่อัดอยาง เดียว,พวกที่คิดแตจะสูเอาชนะ,พวกที่อยากจะอวด,พวกที่มีแตแรงและออกแรงมากๆโดยไมมี ความคิด,พวกที่ไมสามารถรับรูความเจ็บและอันตรายของคูฝก,พวกไมระมัดระวังความเหมาะ สมระหวางชายหญิง เปนตน ไมคุมคาเลยที่จะฝกแลวบาดเจ็บหรือเสียสุขภาพทั้งในระยะสั้น และระยะยาว คนฝกใหมมีอันตรายมากกวาคนฝกเกาที่มีความชำนาญและมีจิตใจดีคอยชวย ระมัดระวังให คนฝกเกาที่ดีจะทำเบาหรือรุนแรงอยางเหมาะสมตามระดับความสามารถของคู ฝก เมื่อฝกกาวหนาจนถึงที่สุดแลวคุณควรรับมือการโจมตีไดทุกระดับความสามารถ,ทุกรูป แบบ,ทุกวิทยายุทธ แตจะรอดหรือไมนั้นเปนอีกเรื่องหนึ่ง การฝกเปนเหมือนหลักหรือแนวใหคุณคอยๆเกาะ ยืนและคอยๆเกาะเดินในระยะแรก เพื่อที่คุณจะไดเรียนรูที่จะเดิน ดวยตัวของคุณเองในเวลาตอไป ในที่สุดคุณจะตองไปดวยตัวของ คุณเองบนพื้นฐานที่คุณไดฝกมา ในที่สุดคุณควรจะมีวิทยายุทธที่ เปนของคุณเอง ในแตละสถานะการณที่แตกตางกันจะมีรูปแบบ ของวิทยายุทธที่เหมาะสมแตกตางกัน ใหมีสมดุลยที่เหมาะสมระหวางความมั่นคง ความแข็งแกรง ความมีพลัง ความออนตัว ความคลองแคลวใน การเคลื่อนไหวและความเปลี่ยนแปลง ควรรูและเขาใจหลัก เกณฑทางฟสิกส,กายวิภาค และสรีระวิทยาบาง จงรูวาการฝกกับการตอสูจริงๆนั้นไมเหมือนกัน สูกับคนที่ไมไดตั้งใจจะสูจริงๆ สูกับคนที่ตั้งใจจะสูจริงๆ สูกับ คนที่ขี้ขลาด สูกับคนที่กลาหาญ สูกับคนที่ไมมีวิทยายุทธ สูกับคนมีวิทยายุทธ สูกับคนที่ เปนเหมือนสัตว ลวนแตกตางจากการฝก ในขณะตอสูคุณมีเวลานอยมากที่จะคิด เขาอาจ จะโจมตีคุณอยางดีที่สุดไปจนถึงเลวที่สุด จะเปนการดีถาคุณสามารถอานคูตอสูของคุณออก ไดบาง การฝกที่ดีและฝกมามากจะชวยใหคุณคิดไดเร็วและมีปฏิกิริยาที่เหมาะสมและรวดเร็ว ได ชวยโอกาสรอดของคุณใหดีขึ้น

หน้า

29


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

คูตอสูที่มีรางกายและจิตใจพรอมที่จะตอสูประกอบกับเปนผูมีวิทยายุทธและประสบการณในการ ตอสูจริงจะเปนคูตอสูที่ยากที่สุดของคุณ แตผมจะปลอบใจคุณวาคนแบบนี้หายากมีอยูไมกี่คน ถาคุณตองสูดวยก็นับวาเปนโชคครั้งใหญในชีวิตของคุณ และจริงๆแลวตลอดชีวิตของคน หลายๆคนไมเคยตองมีการตอสูลงไมลงมือกันแบบนี้ อยางไรก็ตามในทางตรงขามผมยืนยัน วาโลกนี้มีดานมืดแนนอนและเหตุการณที่เลวรายนั้นก็มีอยูจริง การตอสูมักหมายถึงเจ็บ หรือตาย ไมมีกรรมการ ไมมีกติกา ไมมีแบบวาครั้งนี้ไมดีขอเริ่มใหม สิ่งที่ทำไปแลวจะตองมี ผลตามมา อยางไรก็ตามหากจำเปนตองสูจงมีจิตใจราเริงที่จะสู พรอมที่จะเปนฝายรุกทันทีที่มี โอกาส สูอยางเต็มกำลังพรอมที่จะตายกันไปขางหนึ่ง สุดทายของบทความนี้ผมหวังวาคุณจะเลือกหนทางที่ถูกตอง ที่จะฝกแตสิ่งที่ ดีงามจนทำไดเปนนิสัยเพื่อประโยชนสุขที่ยั่งยืนและความกาวหนาของตัวคุณเองและคนที่คุณรัก อยาเปดชองทางหรือนำตนไปสูหนทาง,สถานที่,เวลาและบุคคลที่มีอันตราย และความเสื่อมเสีย ! [ “ในการฝกหัด อยารีบรอน อยาคิดถึงตัวเองวาเปนผูรู เปนอาจารยผูสมบูรณแบบ เราควรจะฝกฝนอยางตอเนื่องไปพรอมกับเพื่อนๆและนักเรียนของเรา และพัฒนา ไปดวยกันในศิลปะแหงสันติภาพ”

ปรมาจารย มอริเฮอิ อุเยชิบะ

หน้า

30


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

ขอบคุณที่กรุณาชวยเปนคูซอมใหค่ะ ! ไอคิโดการตูน ดาวนโหลดไดที่ http://www.aikidofaq.com/bilder/humor/ หน้า

31


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๒ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๙ (ปีที่ ๑)

AIKIDO FAMILY งานแตงงาน พี่รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา (ไอคิโดสายดำคนแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม) เสารที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ เบื้องหนา

ขอแสดงความยินดีดวย

เบื้องหลัง

ปฏิทินกิจกรรม กิจกรรม

! Y

วัน - เวลา

สถานที่

การอบรมการปองกันภัยทางเพศ (สำหรับนักเรียนมัธยม)

เสาร ๒๕ พฤศจิกายน ๐๙.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.

สำนักงานเขตการศึกษา แปด (ใกลหองสมุด ประชาชน)

ฝกพิเศษ (ดาบไม) นำฝกโดยคุณโอลีเวอร ธอรน

ทุกวันอาทิตย ๐๘.๐๐ - ๐๙.๐๐ น.

อางแกว

ฝกเด็กๆบานรมไทร

ทุกวันอาทิตย ๐๙.๓๐ ๑๑.๐๐ น.

ชมรมไอคิโด

ฝกประจำสัปดาห! Y Y Y Y Y Y

จันทร-พุธ-ศุกร ๑๘.๐๐ - ๒๐.๓๐ น.Y สถานที่ฝก ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม ใตถุนตึกอาคารกิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม หน้า

32


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.