#03 AikidoCMU

Page 1

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

AikidoCMU NEWSLETTER ฉบับ...วัฒนธรรมแหงสันติ พบกับ

Aikido: Non-Violent Approach in Peace making ศิลปะการตอสูปองกันตัวใน มุมมองของนักสุขภาพจิต ทรงตัวไว ไมใหเสียศูนย ปรัชญาในไอคิโด และ

สันติวิธีเชิงปฏิบัติในชั่วโมง ฝกศิลปะการตอสู จัดทำโดย ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาคารกิจกรรมนักศึกษา (อ.มช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม ถ. สุเทพ อ.เมือง จ. เชียงใหม่ ๕๐๒๐๐ ตืดต่อได้ท ี่ Email:

เจตน์ ๐๘๙-๘๕๕๗๒๒๕

ป๋อม ๐๘๙-๗๐๑๗๖๘๖

กบ ๐๘๔-๐๔๗๔๓๔๔

aikidoCMU@yahoogroups.com

หน้า ๑


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

ศัพทไอคิโด นาเงะ! อูเกะ! อูเกมิ! กี! โอบิ! ฮากามา ! !

การทุม หรือ ผูที่ทำหนาที่ทุมในการฝกซอมทาตางๆของไอคิโด ผูเขาโจมตีและเปนผูรับเทคนิคตางๆของไอคิโด โดยทั่วไปหมายถึงผูถูกทุม ศิลปะการลมโดยใหไดรับบาดเจ็บนอยที่สุด รวมไปถึงการมวนหนา มวนหลัง และการลอยตัว ชุดฝกสีขาว (ถือเปนชุดชั้นใน จะแตงใหครบตองใสฮากามา) สายคาดเอวของชุดฝกแบบญี่ปุน กางเกงขาบานทีม่ สี ายผูกเอว เปนเครือ่ งแตงกายของชาวญีป่ นุ สมัยโบราณ ในสมัยนีใ้ ชใสใน! การซอมบูโดหรือแตงตัวแบบญี่ปุนโบราณ สำหรับไอคิโด คนที่สายดำแลวจึงจะใส ! สำหรับผูหญิงจะใสตั้งแตสายน้ำตาลขึ้นไป

นักเขียนในฉบับ

ไอคิโดกับชีวิต: ทรงตัวไว ไมใหเสียศูนย .......ดร.สมบัติ ตาปญญา ๓ AIKIDO STUDENT HANDBOOK : การสอบเลื่อนสาย ๕ ศิลปะตอสูปองกันตัวในมุมมองนักสุขภาพจิต (๒) ........อ.ธีระรัตน บริพันธกุล ๗ Aikido: Non-Violent Approach in Peace making ...นฤมล ธรรมพฤกษา (กบ) ๑๐ การฝกไอคิโดในความคิดของผม : อูเกมิ ....น.พ.กฤษณชัย ไชยพร ๑๔ สันติวิธีเชิงปฏิบัติในชั่วโมงฝกศิลปะการตอสู ......วิสูตร เหล็กสมบูรณ ๑๖ ปรัชญาในไอคิโด ....ซาโตริ ๑๘ มาเยี่ยมมาเยือน ๑๙ AIKIDO FAMILY ๒๐ ปฏิทินกิจกรรม ๒๐

ดร.สมบัติ ตาปัญญา อ.ธีระรัตน์ บริพันธกุล น.พ.กฤษณชัย ไชยพร วิสูตร เหล็กสมบูรณ์

ซาโตริ

นฤมล (กบ) ธรรมพฤกษา

หน้า ๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

ไอคิโดกับชีวิต

ทรงตัวไว ไมใหเสียศูนย คำวา “ไมเสียศูนย” ที่บางครั้งเราไดยินใน การดำเนิ น ชี ว ิ ต หรื อ เผชิ ญ ป ญ หาอุ ป สรรคต า งๆ หมายถึงความสามารถในการควบคุมอารมณ ระงับ ความรูสึก ไมแสดงออกมากเกินไป แตก็ไมไดหมาย ถึงการเก็บกดหรืออัดอั้นใจเหมือนลูกโปงที่ใกลระเบิด ทฤษฎีทางจิตวิทยาพูดถึงความสามารถใน การปรับตัวเองของมนุษยใหมีสภาพสมดุลอยูเสมอ ตั้งแตระดับโมเลกุลไปจนถึงทุกระบบในรางกายและ จิตใจ ระดับระหวางบุคคลเชนในครอบครัว ชุมชน และสังคมโดยรวม ตองมีการปรับใหสมดุลกันอยู เสมอ เมื่อไหรที่ความสมดุลนี้เสียไป เราก็จะเกิด ความไมสบาย ทำใหตองรีบปรับตัวใหเขาที่อีกทันที เชน เมื่อน้ำในรางกายลดลงจนถึงจุดหนึ่งเราก็จะเริ่ม กระหาย ตองไปหาน้ำมาดื่มทดแทน เมื่ออากาศ หนาวอุ ณ หภู ม ิ ใ นร า งกายลดต่ ำ ลงถึ ง ระดั บ หนึ ่ ง รางกายก็จะสั่นเกร็งเหมือนกับจะพยายามเพิ่มความ รอนใหสูงขึ้น แตเมื่ออากาศรอนไปเราก็จะขับเหงื่อ ออกมาเพื่อเปนการระบายความรอน เมื่อน้ำตาลใน เลือดลดลงเราก็จะเริ่มมีอาการใจสั่นหวิว ตองรีบไป หาอะไรหวานๆ มากินเพื่อใหสบายขึ้น เมื่อน้ำตาลใน เลือดอยูในระดับสูงเกินไปตับออนของเราก็จะผลิต อินซูลินออกมาเพื่อคอยปรับระดับน้ำตาลในเลือดให พอดี (คนที่เปนโรคเบาหวานจะทำเชนนี้ไมได เขาจึง ตองเปนทุกขเพราะขาดความสมดุลอยูเกือบตลอด เวลา) รางกายของเราตามปกติจึงตองมีการปรับตัว อยูตลอดเวลาทั้งในขณะหลับหรือตื่น

จิตใจของเราก็เชนเดียวกัน เมื่อเรามี อารมณความรูสึกตางๆ ที่รุนแรง ไมวาจะเปนความ โกรธ เสียใจ ดีใจ เหงา เราก็มักจะหาทางระบาย อารมณเหลานี้ออกมาเพื่อไมใหมันคั่งคางอยูในใจ มากเกินไปจนอึดอัด แตเมื่อเราเบื่อ เพราะอยูเฉยๆ โดยไมมีอารมณอะไรนานเกินไป เราก็มักหาทาง กระตุนอารมณความรูสึกของตนเอง เชน ออกไป หาความบันเทิง ออกไป “ผจญภัย” หรือหาอะไรทำที่ สนุกสนานตื่นเตนกวาเดิม จะวาไปแลวโลกโดยรวมที่คงอยูไดทุกวันนี้ ก็เพราะมันยังคงความสมดุลไวไดอยูนั่นเอง แตขณะ นี้เรากำลังกังวลใจกันมากขึ้นเรื่อยๆ กับภาวะโลก รอนและมลพิษจากสภาพแวดลอมซึ่งเปนผลจากการ กระทำของพวกเราเอง ที่กำลังทำใหภาวะสมดุลของ โลกลดนอยลงไปอยางรวดเร็ว จนเชื่อกันวาหากเรา ไมรีบแกไข เมื่อถึงจุดหนึ่งเราก็จะอยูกันไมไดอีกตอ ไป คนที่ฝกจิตใจไดดีจึงไมเปนทาสอารมณความรูสึกที่ หวือหวาขึ้นลง หรือเสียการควบคุมที่เรียกกันวา “ฟวสขาด” หรือ “นอตหลุด” อยูบอยๆ แตจะประคอง จิตไวใหกระเพื่อมนอยที่สุด ประดุจมหาสมุทรที่ยิ่ง ใหญลึกล้ำแตบนผิวสงบนิ่งอยูตลอดเวลา

หน้า ๓


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

การฝกไอคิโดก็เปรียบเสมือนการเผชิญกับ สิ่งไมพึงปรารถนาตางๆ ที่เขามาในชีวิตและพยายาม จะทำใหเราเสียศูนยไป ทุกครั้งที่คูฝกโจมตีเขามา ไม วาจะดวยอาวุธแบบไหน เราจึงตองพยายามรักษา การทรงตัว (centering) ของเราไวใหดีเสมอ ดวยการ เคลื่อนไหวที่กลมกลืนกับทิศทางของการโจมตีจากคู ฝก และเปนการเคลื่อนไหวที่มั่นคง เยือกเย็น ไมลุก ลี้ลุกลนหรือหวั่นไหวจนเสียศูนยการทรงตัว เปนที่แนนอนวาเมื่อรางกายมั่นคง จิตใจก็ ตองมั่นคงไปดวย ในการฝกไอคิโดการรักษาศูนยการทรงตัว จึงเปนเรื่องสำคัญมาก อาจารยบางทานกลาววาหาก ยืนอยูกับที่ ควรจินตนาการวาศีรษะเราเหมือนกับ แตงโมที่วางตั้งอยูบนดามไมกวาดหรืออยูบนปลาย กระบองที่ตั้งเปนมุมฉากกับพื้น และเราตองประคอง แตงโมไวไมใหหลนลงมา และเมื่อเราหมุนตัวเชนใน การใชเทคนิคเทนคันโฮ เราควรจินตนาการวาเรา เปนเหมือนลูกขางที่กำลังหมุนอยู และลูกขางจะหมุน อยูไดก็เพราะมันยัง “ทรงตัว” หรือมีสมดุลอยูนั่นเอง ทุกครั้งที่เราใชเทคนิคของไอคิโด เราจึงตองพยายาม ฝกใหเปนนิสัยวาหลังและศีรษะเราจะตองตรงอยู เสมอ ไมวาจะอยูในทายืนหรือนั่ง และควรเปนความ ตรงแบบมั่นคง สงางาม และผอนคลาย ไมใชแข็ง เกร็งเหมือนทหารเขาแถวแลวยืดอกเกร็งไวอยางนั้น

ในชีวิตปกติของเราซึ่งตองมี การเกี่ยวของปฏิสัมพันธกับคนอื่นๆ อยูเสมอ จึงมักจะมีความขัดแยงกันเกิดขึ้นเปนบางครั้ง หากเรานำเอาปรัชญาของไอคิโดมาประยุกต ใชทุกครั้งที่ขัดแยงกับผูอื่น เราจะมั่นคงและ พรอมมากกวาที่จะฟงและเขาใจคูกรณีของ เรา เหมือนกับทุกครั้งที่คูฝกของเราโจมตีเขา มาเราจะควบคุมจิตใจและรางกายใหมั่นคง แลวรับการโจมตีของเขาดวยความยินดี เฉกเช น เดี ย วกั น กั บ สิ ่ ง ไม พ ึ ง ประสงคทั้งหลายที่เกิดขึ้นในชีวิต ไมวาจะ เปนเหตุการณราย คำพูดหรือการกระทำที่ไม นาพึงใจจากผูอื่น เราจะยินดีรับแลวจัดการ กับมัน มากกวาที่จะคอยปดปอง แกตัว พยายามหาคำอธิ บ ายเพื ่ อ ปกป อ งตั ว เอง หรื อ ตอบโต ข  อ กล า วหาของอี ก ฝ า ยด ว ย เหตุผลตางๆ เพราะหากเราไม “เสียศูนย” จากความขัดแยงนั้น แตประคองตัวประคอง ใจใหเผชิญกับมันไดอยางมั่นคง เรายอม จัดการกับมันไดอยางมีประสิทธิภาพและนำ ความกลมกลืนกลับคืนมาไดในที่สุด

หน้า ๔


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

Aikido Students Handbook เขียนโดย Greg O’Conner แปลโดย ไอกิ

การสอบเลื่อนสาย ! “ในการฝกหัด อยารีบรอน อยาคิดถึงตัวเองวาเปนผูรู อาจารยผูสมบูรณแบบ เราควรจะฝกฝน อยางตอเนื่องไปพรอมกับเพื่อนๆและนักเรียนของเรา และพัฒนาไปดวยกันในศิลปะแหงสันติภาพ” มอริเฮอิ อุเยชิบะ ! นักเรียนที่ตองการสอบสายจะตองมีจำนวนวันฝกสะสมใหไดตามที่กำหนดไว หากจำนวน ชั่วโมงครบแลวเราควรถามผูสอนเพื่อประเมินวาเราสามารถแสดงทาเทคนิคไดตามที่กำหนด และมี คุณสมบัติเพียงพอที่จะขอสอบเลื่อนสายที่สูงขึ้นไปได หากผูสอนเห็นสมควร เราก็เริ่มตนฝกฝนเทคนิค ตางๆที่จะใชสอบ ในสายนั้นๆ เราควรฝกจนกระทั่งรูสึกคลองแคลวทั้งตำแหนงของนาเงะ (ผูแสดง เทคนิค) และอูเกะ(ผูแสดงอุเกมิหรือผูเขาโจมตี/ผูลม) ไมเพียงแตเราจำเปนตองมีความชำนาญใน เทคนิคของสายที่เราเปนอยูเดิมเทานั้น เราควรฝกทาที่จะใชสอบของสายที่สูงถัดไปอีกดวย ! หากเราตองการความชวยเหลือเพื่อเตรียมสอบสาย ถามอาจารยผูสอน หรือรุนพี่ พวกเขา ยินดีใหความชวยเหลือเปนอยางดี

การสอบ ! จุดประสงคของการสอบก็คือ การใหสิทธิผานเกณฑ โดยการประมาณการฝกฝนของนักเรียน รายวัน รายเดือน และรายป การสอบหมายถึงการที่นักเรียนสามารถสาธิตระดับความเขาใจในเทคนิค และหลักการของไอคิโดได ! การเตรียมตัวควรทำแตเนิ่นๆ อยารอจนนาทีสุดทายแลวคอยมายัดเยียดฝกเอาวันกอนสอบ หากเราเตรียมตัวไมเหมาะสม อยาคาดหวังที่จะสอบผานหรือแมแตไดรับอนุญาตใหเขาสอบ !

หน้า ๕


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

! กอนสอบ เราควรผานหลักเกณฑพื้น ฐาน มีจำนวนครั้งที่เขาเรียนครบตามที่กำหนด กรอกใบสมัคร จายคาสอบและคาสมาชิกสมาคม ไอคิโดแหงประเทศไทย (ในกรณีตออายุหรือที่ยัง ไมไดเปนสมาชิก) เราจะสอบสายสีอะไรก็ควร ตรวจสอบทาเทคนิคที่จะใชสอบ และฝกฝนจนถูก ตอง คลองตัว ! ! หลายครั้ง การสอบก็เกิดขึ้นในวัน ชุดฝก! สุดทายของการสัมนาไอคิโด หากเราสมัครสอบใน ชวงนั้น ก็ควรเขารวมสัมนาใหมากที่สุดเทาที่จะ ชุดฝกตามประเพณีของการฝกไอคิโด ทำได เพื่อที่เราจะไดฝกฝนและถูกประเมินโดยอา เรียกวา “กี” (Gi) ประกอบดวยเสื้อสีขาวแขนยาว จารยระหวางสัมนาดวย กางเกงขายาวสีขาว และโอบิ (สายคาด) สีขาว ! ในระหวางสอบ ควรอยูรวมในสถานที่ หรือสีอื่นๆตามระดับ ในประเทศญี่ปุน สอบจนกระทั่งการสอบสิ้นสุดลง แมวาเราจะเปน สหรัฐอเมริกา และบางประเทศ สายคาดสีขาว คนที่สอบคนแรกก็ตาม เพราะเปนมารยาทที่ไม สำหรับ “กิ้ว” ในทุกระดับ และจะเปลี่ยนเปนสาย ควรลุกออกจากสถานที่เมื่อเราสอบเสร็จโดยไมรอ สีดำก็ตอเมื่อฝกจนไดระดับ “ยูดังฉะ” สวนของ คนอื่น! ประเทศไทย เราใชระบบสายดังนี้ ! ถึงแมจะยังไมถึงการสอบของเรา เราก็ ควรสนับสนุนผูที่จะทำการสอบคนอื่น วิธีที่ดี ที่สุดก็คือสวมกีของเราและนั่งอยูที่เบาะ หาก ลำดับขั้น(กิ้ว) ชั่วโมงฝก สายสี เราสามารถเปนอุเกะได ก็อาสาตัวเองชวย เหลือคนอื่น ๑๐ ๓๐ ช.ม. สม ! ขณะที่การสอบดำเนินไป ควรให ๙ ๔๐ ช.ม. สมปลายฟา ๓ นิ้ว ความเคารพตอกระบวนการทั้งหมด หาก จำเปนตองพูดคุย ใหพูดเสียงเบาๆ เคลื่อนไหว ๘ ๔๐ ช.ม. สมปลายฟา ๖ นิ้ว ใหนอย การเดินเหินไปมา กิน ดื่ม หรือนั่งเอก ๗ ๔๐ ช.ม. ฟา เขนก ถือเปนกิริยาที่ไมสุภาพ เพราะรบกวน สมาธิของผูสอบและผูเขารวมคนอื่นๆ ๖ ๔๐ ช.ม. ฟาปลายเขียว ! ระลึกเสมอวา การฝกฝนไอคิโดไมใช ๕ ๖๐ วัน เขียว มุงเนนการเลือกเฟนหาผูเปนเลิศที่สายสูงๆ แต ก็เพื่อขัดเกลาบุคลิกภาพและความสัมพันธของ ๔ ๖๐ วัน เขียวปลายน้ำตาล เราตอสิ่งแวดลอมรอบตัวเรา ๓ ๖๐ วัน น้ำตาล ๒ ๖๐ วัน น้ำตาลปลายดำ ๓ นื้ว ๑ ๖๐ วัน น้ำตาลปลายดำ ๖ นื้ว โชดั้ง ๑ ป ดำ หน้า ๖


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

ศิลปะตอสูปองกันตัว ในมุมมองของนักสุขภาพจิต (๒) ศิลปะป้องกันตัวเป็นเสมือนจิตบำบัด

อ.ธีระรัตน บริพันธกุล*

แตเดิมนั้น การเรียนศิลปะปองกันตัวเปนสิ่งที่เกี่ยวของกับการฝกวินัยใหแกตนเอง และตลอด ชีวิตของผูสอนหรือปรมาจารยจะเปนเสมือนผูทำหนาที่ใหคำปรึกษาแกลูกศิษย แตปจจุบัน สังคมได เปลี่ยนแปลงไปจนทำใหผูสอนศิลปะปองกันตัวตองมอบหนาที่ดังกลาวไปใหแกนักจิตบำบัด เปนเรื่องที่นาแปลกใจมากที่งานเขียนที่เกี่ยวกับศิลปะปองกันตัวมีสวนสัมพันธกับจิตบำบัดนั้น มีการกลาวถึงกันนอยมาก อยางไรก็ตาม เมื่อทำการคนควาแลวก็จะเห็นวาศาสตรทั้งสองแขนงนี้มี ความคลายคลึงกันและมาบรรจบกันได ตัวอยาง เชน PARSON (1984) ไดพบความคลายคลึงกันของนักจิตวิเคราะหกับนักศิลปะ ปองกันตัว กลาวคือ ทั้งคูตองเรียนรูความรูพื้นฐานและเทคนิคของตนเอง NORDI (1981) ไดศึกษา เปรียบเทียบระหวาง จิตบำบัดแบบ RATIONAL EMOTIVE THERAPY ของ ELLIS กับซามูไร ซึ่งเรียก วา “บูชิโด” วามีความคลายคลึงกัน เชน คำวา RINKIOHEN หมายถึงการปรับตัว และคำวา MUSHIN หมายถึงสภาวะที่ไรจิตสำนึก ซึ่งคำเหลานี้ก็มีความสัมพันธกับจิตบำบัด และทั้ง PARSON และ NORDI ตางก็มองวา ปรมาจารยของทั้งสองดานนี้เปนเสมือนองคประกอบที่สำคัญที่สุด SAPOSNEK (1980) ไดกลาววา หลักพื้นฐานของศิลปะ ปองกันตัวแบบไอคิโด (AIKIDO) กับเทคนิคที่ใชในจิตบำบัด ครอบครัว (FAMILY THERAPY) มีความคลายคลึงกันคือ ทั้งคูจะ ใชแนวทางของปฏิสัมพันธ (INTERACTION APPROACH) ในการ มองรูปแบบปญหาและการแกไขปญหาที่เปนวงกลม การยืดหยุน ตอการแกไขปญหา หลักแหงความกลมกลืน การแผขยายพลังเพื่อ รับการโจมตีจากฝายตรงขาม การสลายพลังตานทานจากฝายตรง ขาม รวมทั้งการแกไขปญหา หรือการจัดการกับฝายตรงขามดวย การใชสติปญญา *

ภาควิชาจิตเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใม แปลและเรียบเรียงจาก Journal of Medical Psychology. Martial Art And Psychological Health หน้า ๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

REINHART (1985) ไดโยงไอคิโดเขา กับจิตบำบัดอยางหนึ่งที่สงเสริมความสมบูรณ ของบุคลิกภาพและการคนพบตัวเองโดยใชวิธีการ เคลื่อนไหวรางกาย รวมทั้งมีการพูดคุยกันถึงเรื่อง ที่จะผสานศาตรทั้งสองแขนงนี้ เพื่อนำไปใชใหได ผลอยางจริงจังตอไป การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ การนำศิลปะ ปองกันตัวไปใชในเชิงจิตบำบัดยังมีคอนขางนอย KONZAK & BOUDREAU (1984) กลาวถึง การนำเอาวิชาคาราเตมาสอนในกลุมผูที่มีความ บกพรองทางกายและทางเชาวปญญา ในกลุมนัก ธุรกิจ ในกลุมผูปวยจิตเวชและผูตองขัง FLOSDORF (1983) ไดกลาววา การฝกศิลปะปองกัน ตัวอาจเปนสิ่งที่มีคุณคาตอเด็กที่มีปญหาทางดาน พฤติกรรม แตอยางไรก็ตามมีรายละเอียดเกี่ยวกับ เรื่องนี้นอยมาก TRULSON (1986) ไดศึกษาเด็กจำนวน 34 คน ซึ่งมีบุคลิกภาพแบบอันธพาล (ไดจากผล การทดสอบดวย MMPI) แลวแบงเด็กออกเปน สามกลุม กลุมที่หนึ่ง ไดรับการฝกเทควนโดเปน เวลา 72 ชั่วโมง กลุมที่สอง ไดอานหนังสือเกี่ยว กับศิลปะการตอสูและปองกันตัวแบบเทควนโด สวนกลุมที่สามซึ่งเปนกลุมควบคุม จะไดรับการ สอนใหรูจักกีฬาตางๆ หลังจากหกเดือนแลวก็มี การทดสอบซ้ำดวยแบบทดสอบ MMPI, SELF REPORT และ PROJECTIVE TEST เพื่อดูความ กาวราว

ผลการศึกษาปรากฏวา กลุมที่หนึ่งมีการ ลดลงของความกาวราวและความวิตกกังวล และ มีการเพิ่มขึ้นของความภูมิใจในตนเองและความ สามารถในการเขาสังคม ในกลุมที่สอง ยังคงพบ ลั ก ษณะที ่ เ ด น ชั ด ของความก า วร า วและ บุคลิกภาพแบบอันธพาล สวนในกลุมที่สามนั้น มี การเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กนอยในดานความภูมิใจ ในตนเองและความสามารถทางเชาวปญญา จากการติดตามผลเปนเวลาหนึ่งป ยังคง พบลักษณะแนวโนมของพฤติกรรมแบบอันธพาล ในกลุมที่สองและสาม แตไมพบในกลุมที่หนึ่ง TRULSON ไดกลาววา ผลที่ไดจากการฝกศิลปะ ปองกันตัวเปนสิ่งที่เกิดจากการทำสมาธิ การสอน ขอคิดในเชิงปรัชญา การเนนในเรื่องของความ เคารพคนอื่น ความฟตของรางกาย ความอดทน ความซื่อสัตย และจิตสำนึกของความรับผิดชอบ MADELIAN (1979) รายงานการศึกษา เพียงชิ้นเดียวที่เกี่ยวกับการนำศิลปะปองกันตัวไป เปรียบเทียบกับจิตบำบัด กลุมที่ศึกษาเปนเด็ก ชายอายุ 12 -14 ป จำนวน 66 คน ซึ่งถูกสงไปยัง ศูนยสุขภาพจิตดวยปญหาทางพฤติกรรม แบง กลุมเด็กออกเปนสามกลุม กลุมที่หนึ่งไดรับการฝก ศิลปะปองกันตัวแบบไอคิโด 16 ครั้งนานเปนเวลา สี่เดือน กลุมที่สอง ไดรับจิตบำบัดชนิดรายบุคคล กลุมที่สามเปนกลุมควบคุมตัวแปรที่จะวัด คือ SELF CONCEPT (แนวความคิดที่มีตอตนเอง) ซึ่งจะสงผลตอการปรับตัวและความสำเร็จในดาน การเรียน หน้า ๘


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

จากการทดสอบดวย PIERS-HARRIS SELF CONCEPT SCALE พบวา กลุมที่หนึ่งจะมี SELF CONCEPT หรือความคิดความรูสึกที่เกี่ยวกับตนเองดีขึ้นมากกวาในกลุมที่สอง และไมพบความ เปลี่ยนแปลงในเรื่อง SELF CONCEPT ในกลุมที่สาม HECKLER (1984) ซึ่งเปนทั้งนักจิตวิทยาและนักไอคิโด ไดนำเสนอการใชศิลปะปองกันตัว แบบไอคิโดไปประยุกตใชรวมกับการรักษาแบบจิตบำบัดเปนรายบุคคล ถึงแมจะยังไมมีการประเมินผล ในระยะแรกของการศึกษาก็ตาม แตเขาก็นำเอาหลักพื้นฐานของไอคิโดไปใช เชน ความเปนศูนยกลาง ของพลัง การมีฐานหรือการทรงตัวที่มั่นคง การผอนคลาย การแผพลัง และการเคลื่อนที่อยางกลมกลืน สิ่งเหลานี้จะนำไปสูการกอใหเกิดจิตสำนึกและความสมบูรณของบุคลิกภาพในผูปวยที่มี ปญหาทางอารมณ การฝกฝนจะคอนขางเรียบงายและมุงสูการนำเอาวิธีการตางๆเขาแกไขความขัด แยงที่ผูปวยเผชิญอยูในสิ่งแวดลอมรอบตัวเขาเอง

หมายเหตุ :

บทความนี้ตีพิมพ์คร้​้งแรกที่ “วารสารจิตวิทยาคลีนิค” กรกฎาคม ธันวาคม ๒๕๓๕ ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒ หน้า ๙


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

Aikido: Non-Violent Approach in Peace making Narumol (Kop) Thammapruksa

“Thump!” Forceful sounds of human body slamming against the white mat. Ping, a high school student from the Prince’s Royal College, slaps his left arm on the mat to absorb the fall of his body. His practice partner, a man in a white top with loose black pants moves in quickly and locks his right arm up tightly. Ping cannot move any longer. After a few seconds, Ping is freed. He quickly stands up and raises his left arm, positioning it like a sword. He chops down on his partner, the high ranking practitioner who makes a circular movement as he grabs Ping’s left wrist, twists, and throws him on the floor. “Thump!” Then they start everything all over again, but this time Ping is the one who applies the Aikido technique.

Aikido is a Japanese martial art. Different practitioners find aikido answer their own different interests whether they are applicable self-defense technique, spiritual enlightenment, physical health, or peace of mind. On a purely physical practice, aikido is an art of stopping an aggressive act by using some throws and joint locks. Punching or kicking the opponents is not in focus of aikido, but rather on using the opponents own energy to gain control over them or to throw them away. Movement in aikido is not static, but dynamic. Aikido places great emphasis on spherical rotation characterized by flowing, circular, and dance-like motions with firm and stable center.

หน้า ๑๐


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

Every Monday, Wednesday, and Friday from 6 – 8 p.m., Ping and members of the Chiang Mai University Aikido Club practice on the ground floor of the Student Union Building. Regular members include both Thai and international students and non-students who practice diligently. “I first came to the Aikido class early last year. My aim was to learn how to fight. In my school, there are many boys who love fighting. I seek to learn martial arts then I can win over them.” Ping said with big smile. “Aikido is about protecting, not harming others,” Dr.Sombat Tapanya, CMU Aikido master and assistance professor at the Faculty of Medicine explains basic techniques of Aikido, “it is not just a sport, but a way of life, as the Japanese word ‘do’ suggests.”

“Aiki is love. It is the path that brings our hearts into oneness with the spirit of the universe to complete our mission in life by instilling in us a love and reverence for all of nature,” these are words that OSensei used in describing the spirit of Aikido.

Originated in Japan O-Sensei, Morihei Ueshiba (1883 - 1969) the founder of Aikido, combined the techniques of a variety of martial arts forms with a strong spiritual belief in love, peace, and harmony. As a result of this unique combination, aikido is beautiful and flowing, yet also powerful and effective.

Kanshu Sunadomari, was a live-in student of the founder of Aikido. He dedicated his life to the studying of the philosophical and spiritual teaching of Aikido. He states in his book “Enlightenment through Aikido” that Aikido is the way of expressing love through physical techniques.

The literary meaning of the word Aikido is: Ai - love or harmony Ki - energy, spirit and life (similar to Chinese word “Chi”) Do - the way or path

At the beginning of each practice at his dojo, practitioners recite the spirit of Aikido. “It (aiki) not only takes hostility from our heart, but transforms those who appear as enemies into enemies-no-more” This is a reminder for all practitioners to turn the opponents in the quarrel or fight into friends.

หน้า ๑๑


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

Everyday many people are victimized, injured, and died from wars in many parts of the world. Racial conflicts, religious strife, differences in thinking styles, and economic factors are among the various problems that lie at the root of this bloodshed and violence. “I am right and you are wrong”, this way of thinking contribute to further conflicts that exist in the world today that divides people into “we” and “they”, the “enemies”. O-Sensei wrote in his book “Budo” (p.31) that “the appearance of an “enemy” should be thought of as an opportunity to test the sincerity of one’s mental and physical training.” He continued “Once facing the realm of life and death one must be firmly settled in mind and body and transform your entire body into a true sword.” In essence, the sword is the soul of warrior. When you draw a sword you are holding your soul in your hands. Once body and spirit become harmonized this sword can cut through falsehood and evil. (That can be called as “Avija” or ignorance in Buddhism)

In diligent training, the aikido practitioners train their body, mind, as well as spirit at the same time. They also unconsciously practice “Budo” - the way of the warrior by incorporating humanity, love, and sincerity of bravery, wisdom, and empathy. In aikido practice, two practitioners pair up and apply the technique over one another. There is no such thing as enemy but both of the partner practice together. They do not compete with anyone else but themselves. “Uke” is a term used to describe the practice partner who acts like an attacker. “Nage” is the one who applies a technique. By using Aiki confluence, the Nage must move in harmony with and try to blend into the attack of the Uke whether by throwing or leading him into an unmovable position. They would switch roles back and forth so both can be skillful as “Uke” and “Nage.” Dealing with conflict means to bring the offender back to balance and regain harmony, - neither being afraid nor angry but keeping good center. Terry Dobson and Victor Miller used the word “attack-tics” in their book “Aikido in daily life” to describe the way of using aikido movements as metaphors to handle all forms of social or psychological attack. “Giving in to get your way” is the sub-title of their book. หน้า ๑๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

When people get angry and want to attack someone, whether physically or verbally, they already lose their balance. The receiver can apply aikido technique by giving in first. That means to be open for the attack and absorb aggressive energy by drawing it out in the direction we want, moving along in harmony, turning in the appropriate manner, and then throwing or pinning the attacker down to finally neutralize the attack. There is not one perfect approach to peace making. In Aikido, there are hundreds of techniques to stop conflict by not using violence. It is important that the more you practice those techniques the more options you will have available based on your own assessment of the conflict situation. “The practice of aikido is not about correcting what’s wrong with the world or in other people, but about changing yourself so that you can inspire others to change as well,” concludes Dr. Sombat. Practicing Aikido is the way to personal growth and spiritual transformation. The spirit of aikido may be discovered only through the practice of techniques, and techniques may be improved when the spirit is embraced.

“After two years of learning how to neutralize and control other people’s attack, I no longer want to fight. I don’t want to hurt anyone” Ping admitted, again with a big smile.

หน้า ๑๓


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

การฝกไอคิโดในความคิดของผม อูเกมิ อูเกมิ เปนคำญี่ปุน บนเบาะเราพูดกันวา "ลม" โดย นพ.กฤษณชัย ไชยพร เท็คนิคไอกิโด มีอาเตมิ มีการควบคุม และมีการทุม เมื่อมีผูทุมยอมมีผูถูกทุม ถูกทุมแลวทำอยางไรไมใหเจ็บ จะไดลุกขึ้นมาฝกกันอีก P จึงตองมีอูเกมิ มีวิธีการลม ผมแบงอูเกมิเปน ๒ แบบ คือ ๑ กลิ้งไป กลิ้งไปขางหนา คือ มวนหนา และกลิ้งไปขางหลัง คือ มวนหลัง วิธีการกลิ้งมีราย ละเอียดแตกตางกันไปตามผูสอน ถามวนแลวกลมๆ ไมเจ็บตัว เปนธรรมชาติ ใชงานไดทันทีโดยไมตองตั้งทา นาน อันนั้นคือ ถูกตอง ใชได การกลิ้งเปนการลมที่เบา ถาถูกทุมแลว กลิ้งไดควรกลิ้ง การเลือกจะลมโดยการกลิ้งหรือจะลม โดยใชวิธีอื่นไมมีเวลาคิดนาน ถาตองคิดก็ไมทันแลว การตัดสินใจตองใชเวลานอยมาก คือ ใชความรูสึก เหมือนเปนไปโดยอัตโนมัติ โดยสัญชาติญาณ จะทำ อยางนี้ไดตองฝกมากๆ ๒. การลมโดยการตบเบาะ เมื่อถูกทุมในลักษณะลอยลงมาฟาดพื้น ไมสามารถกลิ้งได จะตองกระจาย แรงที่พื้นกระทำตอรางกายออกไปตามพื้นที่รางกายใหมากที่สุด เพื่อใหความกดดันลดลง(ความกดดัน มีคาเทากับ แรง หารดวย พื้นที่ที่แรงกระทำ) เชน สมมุติมีแรงกระทำ ๑๐ ก.ก. ถากระทำบนพื้นที่ ๑ ตร.ซ.ม. ความกดดันมีคา ๑๐ ก.ก./ ตร.ซ.ม. ถาเพิ่มพื้นที่รองรับใหเปน ๑๐๐ ตร.ซ.ม. ความกดดันจะมีคาลดลงเหลือเพียง ๐.๑ ก.ก./ตร.ซ.ม. ใหสวนของ รางกายที่นำมารับการกระจายแรงเปนสวนที่แข็งแรงพอที่จะรับแรงไดมากพอที่จะไมบาดเจ็บ เราใชแขนทั้งทอนและ ฝามือที่ฟาดเหยียดออกตีพื้นในจังหวะพอดีที่รางกายกระทบพื้นเปนสวนหนึ่งของพื้นที่กระจายแรง แขนทำมุมประมาณ ๔๕ องศากับลำตัว ถาถูกทุมหลังลงพื้นโดยเอียงไปขางใดขางหนึ่งเล็กนอยเราใชแขนและฝามือขางนั้นตีพื้นโดยแรงเพียง ขางเดียว มืออีกขางที่ไมไดใชตีเบาะอาจสัมผัสไวที่ชายโครงฝงเดียวกับดานที่ใชตีเบาะ ใชดานขางของลำตัวเยื้องไปทางดานหลัง(ดานเดียวกับแขนและฝามือที่ตีพื้น)ชวยรับ แรงดวย และใชดานขางของสะโพก,ดานขางของขาที่งอเล็กนอยและดานขางของเทา (ขางเดียวกับแขนและฝามือที่ตีพื้น)ชวยรับแรงดวย ขาอีกขางจะงอเล็กนอย ดานใน หรือฝาเทาของเทาขางนั้นจะชวยรับแรงดวย แยกขาทั้งสองขางใหหางกันพอควร ไม เชนนั้นเขาและตาตุมจะกระแทกกันเจ็บ สำหรับผูชายถาไมแยกขาออกใหดีอัณฑะอาจ ถูกหนีบจุกได สวนคอนั้นใหกมไว ศีรษะจะไดไมกระแทกพื้น ตามองไปที่มือที่ตี เบาะ ถาลมหงายหลังลงไปตรงๆใหกมศีรษะตามองที่สะดือหรือหัวเข็มขัดไว ใชแขน และฝามือทั้งสองขางตีเบาะพรอมๆกันขณะที่หลังสวนบนเริ่มสัมผัสพื้น (ในกรณีนี้ไม สามารถใชสวนอื่นของรางกายชวยกระจายแรงได) ตองมีกลามเนื้อคอที่แข็งแรงเพื่อที่ จะไมใหศีรษะสะบัดหรือหงายกระแทกพื้น หน้า ๑๔


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

! ผูทุมที่มีความสามารถและตองการชวยเหลือผูถูกทุมใหตบเบาะไดงายขึ้นจะทุมอยางถูกตองสวยงามตอเนื่อง ชวยจัดระยะความสูงให ชวยจัดทาทางในการลงสูพื้นใหผูถูกทุม อาจชวยดึงเล็กนอย*ในจังหวะที่เหมาะสม*เพื่อชวยลด แรงกระแทก(ตรงนี้เสื้อฝกที่แข็งแรงจะชวยไดดีเพราะดึงแลวไมขาด) การทุมที่ถูกตองสวยงามตอเนื่องจะทำใหมีแรง เหวี่ยงฟาดพื้นและการเคลื่อนที่อยางพอเหมาะ บางครั้งผูถูกทุมอาจแทบไมตองออกแรงตบเบาะเลยเพียงปลอยไปตาม ธรรมชาติของการเหวี่ยงก็สามารถลงสูพื้นไดโดยปลอดภัย การทุมที่ไมถูกตองตะกุกตะกักจริงๆแลวมักจะทุมไมได แตบางครั้งผูถูกทุมก็ออนให ยอมใหทุมไดเพื่อให ผูทุมที่ยังไมเกงไดมีโอกาสทุมบาง อันนี้จะเปนภาระของผูถูกทุมเพราะลงลำบากมีโอกาสเจ็บตัว แตคนที่แข็งแรงและเกง มากจะลงไดไมวาผูทุมจะทุมอยางไร เขาจะปรับทาทางและแรงตั้งแตเริ่มสัมผัสกัน รูวาเมื่อไรควรทรงตัวเมื่อไรควรออน ตาม อูเกมิที่ดีเริ่มมาแลวตั้งแตกอนการสัมผัสพื้น อีกปจจัยหนึ่งที่สำคัญมากของการลม คือ"พื้น" ที่จะลม โรงฝกที่มีพื้นดี คือมีเบาะที่ตอกันสนิทราบเรียบ ไมแยกตัวออก ไมมีรองมีปุม ไมออนยวบยาบ มีความแข็งพอที่จะผูฝกจะเคลื่อนที่ไดอยางมั่นคง สามารถซับแรงกระแทกจากการลมได ดี สะอาด เบาะวางอยูบนพื้นที่ชวยผอนแรงกระแทกอีกขั้น เชน พื้นไมที่ยกสูงขึ้นมา จะชวยลดความสะเทือนจากการลม ที่มีตอรางกายผูถูกทุม ผูฝกสามารถฝกกันไดเต็มที่และบอยครั้ง ผูฝกที่ลมบนเบาะที่วางบนพื้นซีเมนตจะไดรับแรง กระแทกรุนแรงกวาเบาะที่วางบนพื้นไมดังกลาว ความสามารถที่จะลมไดดีมีความสำคัญมาก เพราะนอกจากทำใหผูถูกทุมไมเจ็บ ฝกไดนาน ฝกไดบอย แลว ยังทำใหผูฝกการทุมสามารถพัฒนาและทำเท็คนิคไดเต็มเท็คนิคโดยไมตองกังวลหรือยั้งมือจนเกินไป ไมมีอูเกมิที่ดี ยอมไมมีการฝกทุมที่สมบูรณ

หน้า ๑๕


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

สันติวิธีเชิงปฏิบัติในชั่วโมงฝกศิลปะการตอสู วิสูตร เหล็กสมบูรณ ! ตอนนี้ หลายๆวงการกำลังตื่นตัวกับคำวา “สมานฉันท” และ “สันติภาพ” และดูเหมือนวา รัฐ พยายามผลักดันใหเปนวาระแหงชาติอีกวาระหนึ่งไป แลว แตคำๆนี้ จะกลายเปนแคแฟชั่นวูบวาบหรือเปลา ก็ยังตองดูกันยาวๆตอไป คนธรรมดาๆคนนี้ก็เอาใจชวย รัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาสังคมฯอีกแรง ! เห็นขาววาทานรัฐมนตรีเปรยๆมาวาจะสงเสริม สถาบันสันติวิธีขึ้นในระดับทองถิ่น ผมก็เห็นดวยนะครับ และมิอาจจะไปวิพากษวิจารณอะไร ตองใหเวลาทาน ทำงาน และสังคมตื่นตัวกันมากกวานี้ อยางไรก็ตาม ผมก็มีประสบการณการสอนสันติวิธีที่ทำมากือบปแลวได เสียงตอบรับคอนขางดี มาเลาสูกันฟงนะครับ ! ที่อำเภอปางมะผา ซึ่งเปนอำเภอเล็กๆของจังหวัดแมฮองสอน เปนโรงเรียนในโลกกวางของผม ที่นี่ ผมไดทดลองเปนครูอาสาฝกสอนศิลปการตอสู ที่เรียกวา “ไอคิโด” ที่ร่ำเรียนมาจากชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัย เชียงใหมใหกับเด็กและเยาวชนที่นี่ ทำมาไดเกือบหนึ่งปแลว ยังไมมีเงินสนับสนุนจากที่ไหน อาศัยทุนตัวเองนี่ แหละครับ และบางสวนเด็กๆก็กันเงินอุดหนุนจากโครงการบางอยางมาชวยบาง เพื่อนๆรุนพี่รุนนอง อาจารย จากชมรม ที่มหาวิทยาลัยเชียงใหมก็บริจาคชุด บริจาคเบาะฝกมาชวยก็เปนกำลังใจสำคัญ ! ! แรกๆ ผมก็ชวนเด็กวัยรุนแถวบานมาฝกดวย เพราะปกติแลว ผมจะไปฝกซอมที่ชมรมในมหาวิทยาลัย ทุกเย็น มาทำงานอยูไกลอยางนี้ ถาไมซอมเลย เดี๋ยวฝมือตก แรกๆ ผมคิดอยางนี้ ไมไดคิดวามันจะมีพลังไปขับ เคลื่อน หรือสรางแรงบันดาลใจอะไรใหกับใคร ซอมไปซอมมา เอ ชัก มันส แมจะมีคนมาฝกกันนอย เพราะ ไอคิโดเปนศิลปการตอสูที่ยาก ที่ยากนี้ คือ มันไมมีการเตะตอยหรือเจตนาทำรายคูตอสู ไมมีการแขงขัน หรือ ใหรางวัล ตัดสินแพชนะ แตตองทำใหคูตอสูยุติความกาวราวที่มีตอเราอยางละมุนละมอมที่สุด ไมไดเปนแบบบู ลางผลาญแบบหนัง action-hero ที่อุตสาหกรรมภาพยนตรเมืองนอกที่สรางขึ้นมาลางสมองเด็กบานเรา นี่คือ สิ่งที่แฝงอยูลึกๆในทวงทาการหักขอตอ การทุม การล็อคและปลดล็อค ซึ่งเปนเทคนิคตางๆในไอคิโด พูดงายๆ ก็คือหลักการ win – win นั่นเอง ! เด็กๆตองผานการทดสอบตัวเอง แรกทีเดียว ก็เริ่มดวยการฝกความกลาที่จะฝก เมื่อฝกตอนมาใหมๆ ก็จะตองกลาที่จะถูกเพื่อนหัวเราะเยาะในความเงอะงะ และกลาที่จะบาดเจ็บบาง ..............หลายๆคนยกธงขาวตั้งแตจุดนี้แลว............ แตก็มีหลายคนที่กาวผานไปได หน้า ๑๖


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

! ผานจุดนั้นมา เด็กที่มีฝมือขึ้นก็จะเริ่มกลาที่จะอดทนตอความโกรธหรือความกาวราวของตน หมายความวา การฝกตองสุขุม ใจรอน วูวามไมได เราอาจจะถูกคูฝกทำใหเจ็บ แตหามเอาคืนเด็ดขาด และ ไมมีการชิงลงมือใหคูตอสูบาดเจ็บ นอกจากนี้ ผูฝกตองกลาที่จะออนนอมยอมรับคำวิจารณอยูเสมอ แมจะฝก มาสิบป ก็ยังตองปรับปรุงตัวตลอดเวลา คูฝกของเรา ไมวา เด็ก ผูเฒา สตรี จะเพศใด วัยใด ศาสนา เชื้อ ชาติใด ลวนเปนผูสอนใหเราเขมแข็งจากภายในไดเสมอ จึงตองมีน้ำใจกับคูตอสู และถือเปนจริยธรรมสำคัญที่ ผูฝกตองถือปฏิบัติเปนสำคัญ ! ที่กลาวมานี้ จะเห็นไดวา จากจุดเล็กๆที่ผมเคยคิดวาจะหาคนมารวมฝกซอม เพียงเพื่อรักษาระดับ ฝมือตัวเอง พอขยายวงออกไป วัตถุประสงคก็เปลี่ยนไป กลายมาเปนการสรางวัฒนธรรมยอยๆใหเด็กและ เยาวชนเรียนรูสันติวิธีโดยใชศิลปการตอสูเปนเครื่องมือจูงใจ ! ผมคนพบวา สันติวิธี ตองปลูกฝงกันตั้งแตเล็กๆเลยที เดียว มิใชเอาผูใหญมาอบรมกินกาแฟกันตามโรงแรมหรูๆ สันติ วิธีมิเพียงแตตองฟูมฟกมาแตเยาววัย หากแตตองเรียบงายและ เนนภาคปฏิบัติมากกวาทฤษฎี ทั้งยังควรจะมีบรรยากาศเอื้อตอ การเรียนรู เชน สนุก สรางสรรค และที่สำคัญคือตองมีอิสรภาพ อยางตอเนื่อง หากขาดซึ่งปจจัยเหลานี้แลว ก็เหมือนมีเมล็ดพันธุ นอยๆแตขาดปุยขาดน้ำที่ดี สันติวิธีก็จะเติบโตกระพรองกระ แพรง ! และสันติวิธี นาจะเกิดขึ้นจากการหยั่งรูจากภายใน หรือ บรรลุมาจากภายในจิตเปนสำคัญ การสอนสันติวิธีไมวาจะใชงบ ประมาณ หรือบุคลากรมากมายเพียงใด แตใชรูปแบบของระเบียบบังคับ หรือใชอำนาจเพื่อสรางสันติวิธี จึง เปนสิ่งที่ขัดแยงและสูญเปลาอยางยิ่ง และทั้งหมดที่กลาวมานี้ ตองอาศัยความกลาหาญ กลาที่จะถูกหัวเราะ เยาะ กลาที่จะเจ็บปวด กลาที่จะอดทนตอความกาวราวของตน และกลาที่จะออนนอมยอมรับคำวิจารณอยู เสมอ เปนคุณธรรมที่สำคัญ ! วันนี้ ที่ปางมะผา มีเด็กและเยาวชนกลุมหนึ่งตั้งชุมนุมไอคิโดขึ้นมา เรามีการฝกเปนประจำกันที่ โรงเรียนอนุบาลปางมะผา โรงเรียนศูนยปางมะผา และกำลังจะไปสานตอที่โรงเรียนราชประชานุเคราะห 34 ผมดีใจทุกครั้ง ที่เห็นเด็กๆมารอฝก และพูดคุยกับผมอยางยิ้มแยมแจมใส เปนกันเอง ทั้งๆที่เราไมมีคะแนน ไมมีการเช็คชื่อ ไมมีการออดออน เอาใจใหเด็กมาเรียน ใครพรอมจะเรียนก็เชิญเขามา แตก็ตองเคารพกติกา การฝก เพื่อมิใหรบกวนผูอื่น หรือเสี่ยงตอการบาดเจ็บ ก็เทานี้ ! ผมดีใจที่เด็กๆเริ่มตั้งชุมนุมไอคิโดและสันติวิธีขึ้นในบางโรงเรียนแลว เราหวังอยูลึกๆวา สันติวิธีในเชิง ปฏิบัติเชนนี้ จะไดรับการสนับสนุนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น และองคกรพัฒนาภาครัฐและเอกชนมากขึ้น ในสักวัน C สันติวิธีมิเพียงแตตองฟูมฟกมาแตเยาววัย หากแตตอง เรียบงายและเนนภาคปฏิบัติมากกวาทฤษฎี ทั้งยังควรจะมี บรรยากาศเอื้อตอการเรียนรู เชน สนุก สรางสรรค และที่สำคัญ คือตองมีอิสรภาพอยางตอเนื่อง

หน้า ๑๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

ปรัชญาในไอคิโด ทุกศิลปะการตอสูปองกันตัวลวนมีปรัชญา ของตัวเอง เพื่อเปนแนวทางใหผูฝกฝนไดโนมนำ จิตใจของตนใหกาวไปสูจุดหมายที่แทจริงของศิลปะ การตอสูและปองกันตัวนั้นๆ และเนื่องจากศิลปะการ ตอสูสวนใหญลวนมีตนกำเนิดจากประเทศแถบเอเซีย โดยเฉพาะประเทศญี่ปุน ซึ่งศาสนาที่มีอิทธิพลตอ จิตใจอยางมากก็คือศาสนาพุทธนั่นเอง เมื่อกลาวถึง " ไอคิโด " อันเปนศิลปะการตอสู ปองกันตัวแขนงหนึ่งที่มีตนกำเนิดจากประเทศญี่ปุน ปรัชญาของไอคิโดจึงมีความสัมพันธอยูกับแนวคิด ทางพระพุทธศาสนา นิกายเซน ซึ่งเปนนิกายที่มีคน นับถือกันมากในประเทศญี่ปุน ดังนั้น ปรัชญาของ ไอคิโดจึงเปนไปในแนวทางที่จะกอใหเกิดสันติมาก กวาจะกอใหเกิดการแขงขันหรือสงคราม ตรงกับ หลักการของศาสนาที่มุงใหคนมีเมตตาตอกัน หัวใจของการปฏิบัติแบบเซนนั้น ก็คือการได เขาถึงจิตแทดั้งเดิมของตัวเรา นั่นก็คือความวาง ซึ่ง การจะเขาถึงความวางอันนี้จะเกิดขึ้นไดโดยการ ปฎิบัติเทานั้น อยางเชน ซามุไรในสมัยกอนที่ฝกฝน วิชาดาบจนสามารถบรรลุถึงสัจธรรมนี้ได เปนตน ดังนั้นการที่จะเขาถึงความวางอันเปนสัจธรรมนี้ นอกจากการฝกสมาธิภาวนาแบบเซนแลว ยังอาจ เขาถึงไดโดยการฝกฝนศิลปะการตอสูตาง ๆ หรือ ศิลปะแขนงอื่น อยางเชน ไอดิโด หรือศิลปะการชง ชาของญี่ปุน ดวยเชนกัน ในปรัชญาของไอคิโด ก็ไดมีการกลาวไวใน ทำนองเดียวกันเกี่ยวกับความวาง ดังคำกลาวที่วา

" if you have not linked yourself to true emptiness , you will never understand the Art of Peace.” (จาก The Art of Peace แปลโดย จอหน โอ สตีเวน)

เรียบเรียงโดย ซาโตริ ซึ่งไดกลาวถึงการกลับเขาเปนหนึ่งเดียวกับ ความวางที่แทจริง สูความมีที่ไมมี การเริ่มตนและสิ้น สุดไดหยุดลง อันเปนธรรมชาติดั้งเดิมของมนุษยและ สรรพสิ่ง ดังนั้นการฝกไอคิโดในขั้นที่สูงขึ้นจึงพยาม ไมใหยึดติดกับรูปแบบของการโจมตี และเทคนิคที่จะใช โดยปลอยใหเปนไปตามธรรมชาติ ปลอยจิตใหวาง รับรูตามที่เปนอยูจริง รับรูถึงจุดศูนยกลางของตัวเอง และการเคลื่อนไหวของคูฝก โดยไมปรุงแตงความคิด ในขณะที่ฝกวาตองทำอะไร หรือใชเทคนิครับการโจมตี แบบไหน เพราะวาเมื่อมีการคิดถึงอะไรบางอยาง เรา ยอมสรางความมีอยูของตัวตนอยางใดอยางหนึ่งขึ้น มา หรือแมวาการคิดถึงความไมมี เราก็ยอมสราง ความมีอยูของความไมมีอะไร ขึ้นมาอีกอยางหนึ่ง แลว รางกายของเราก็จะถูกปะทะดวยการโจมตีทันที การคิดในทำนองที่ผิด ๆเชนนี้ จึงตองทำให สูญสิ้นไปโดยเด็ดขาด แลวก็จะไมมีอะไรเหลืออยูใหเรา ตองตอสู หรือเที่ยวแสวงหาอีกตอไป สิ่งเหลานี้จึงเห็น ไดชัดเจนในผูที่ฝกไอคิโดใหม ๆ ที่มักจะมีอาการเกร็ง เมื่อถูกจูโจม เพราะพวกเขายังคงยึดติดในตัวตนอยู มาก หรือ ที่เรียกวา มี อีโกสูงนั่นเอง ดวยเหตุนี้เอง การฝกไอคิโดจึงเปนการลดความยึดมั่นในอัตตาตัวตน ของคนลงไดทางหนึ่ง ดังนั้นการฝกไอคิโดจึงมิใชเปนเพียงการฝกฝน เทคนิคการปองกันตัวเทานั้นแตยังเปนการฝกฝนจิตใจ ใหสงบ ออนโยนและเขาถึงสัจธรรมอันแทจริงในที่สุด ฉบับหนาถามีโอกาสไดเขียนอีกจะนำเอา ปรัชญาของไอคิโดที่นาสนใจและเปนประโยชนตอการ ฝกมาฝากกันอีกนะครับ ขอมูล : จาก http://omlc.ogi.edu/aikido/talk/ คำสอนฮวงโป สำนักพิมพธรรมสภา หน้า ๑๘


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

มาเยี่ยมมาเยือน Adrian Xavier เอเดรียน ซาเวียร ไดรับการยอมรับจาก Ki no Kenkyukai ในปค.ศ. ๒๐๐๑ ใหเปนผูฝกสอน และไดเลื่อนขั้นเปนสายดำขั้นที่สองเมื่อป ๒๐๐๒ มอบสายโดยอาจารย Roby Kessler จาก Ki Society ประเทศออสเตรเลีย นอกจากนั้นยังได รับขั้นโชดั้งในดาน Ki development มอบโดย อาจารยคาตาโอกะจาก Ki no Kenkyukai (ประเทศญี่ปุน) ในขณะที่อาจารยคาตาโอกะไดมา เยี่ยมเยือนออสเตรเลียในป ๒๐๐๓ เมื่อเดือนมีนาคมที่ผานมานี้ เอเดรียนไดรับ สายดำขั้นสามและไดรับใบประกาศนียบัตรจาก อาจารย Stoopman ในระหวางการสัมนาการ สอบสายระดับประเทศ ใหเปนผูสอน ทุกวันนี้ เอเดรียนเปนอาจารยฝกสอนไอคิโด ที่โดโจเซซิน ณ เมืองเซเวนฮิลล !

จุดหมายสูงสุดของคุณเอเดรียนคือ

! “Let us have a universal spirit that loves and protects all creation and helps all things grow and develop to unify mind and body and become one with the universe is the ultimate purpose of my study” ! “ขอใหพวกเรายึด จิตวิญญาณแหงจักรวาล ซึ่งรักและคุมครองทุกสิ่งมีชีวิต และชวยใหทุกสรรพ สิ่งเจริญเติบโตและพัฒนาขึ้นดวยจิตวิญญาณที่เปน หนึ่งเดียวกับรางกายและหลอมรวมเปนหนึ่งเดียวกับ จักรวาล” ทีอ่ ยู: Brisbane Ki Aikido, Seisin Dojo C C C/O- Adrian Xavier C 461 Montague Road C West End 4101 อีเมล : seisin@gmail.com

Oliver Thorne I am 27 years old and from the UK. I came to Chiang mai to study Thai massage. I was happy to be able to come and practice AIkido here at Chiang Mai University for the last two months and especially happy to be offered to help teach, most enjoyable has been teaching the children from Baan Rom Sai, to see children training in Aikido is a very special experience. I have been practicing Aikido for the last 3 years, living as a personal student in Switzerland. Studying Aikido daily helped me to progress very quickly and now i can share that with others. I was lucky to meet several great teachers over the past 3 years and to delve deeply into the heart of Aikido. I find Aikido to be a fantastic martial art, which is both beautiful and effective. I have discovered in Aikido many friends and a family feeling worldwide which i a tribute to the founder and spirit of Aikido. Aikido is a transformational art, it requires a indivividual to change, to transform on all levels, in order to connect with the spirit of Aiki. It is a beautiful art ideal for expanding conciousness. I have taught Aikido in both Switzerland and Chiang mai, I also practice yoga and meditation and have found these to be very complimentary to the path of martial arts. I hope to return to Thailand next year after a trip to Japan, I will then too hopefully come to share more aikido experiences with the students of CMU Aikido club. Thank you for your patience and great energy! Love Olly

http://users.bigpond.net.au/amix/Seisin/index.htm หน้า ๑๙


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๓ วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

AIKIDO FAMILY

สอบเลื่อนสาย ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๙ กองเชียร์ ! (ผู้ไม่เกี่ยวกับการสอบ แต่อย่างใด)

อุ๊ย หลุดมือ ! ล็อคแน่นๆ เดี๋ยวหลุด !

ปฏิทินกิจกรรม กิจกรรม

วัน - เวลา

ฝกพิเศษนำฝกโดย ร.ศ.ชัยสวัสดิ์ เทียนพิบูลย

อาทิตย ๗ มกราคม ๑๗.๐๐ - ๒๐.๐๐ น.

ชมรมไอคิโด

อังคาร ๙ มกราคม ๑๗.๐๐ ๒๐.๐๐ น.

สามแยกหอหกหญิง กับหอสามชาย

ขึ้นบานใหม อ.ธีรรัตน บริพันธกุ​ุล

วันอาทิตยที่ ๑๔ มกราคม ๑๗.๐๐ น.

บานหางดง

ไอคิโดสัมพันธ CU - CMU Aikido

ศุกรที่ ๑๙ - อาทิตยที่ ๒๑ มกราคม

ชมรมไอคิโด จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ฝกเด็กๆบานรมไทร

ทุกวันอาทิตย ๐๙.๓๐ ๑๑.๐๐ น.

ชมรมไอคิโด

“๕ สัมพันธ” แสดงผลงาน ๕ ชมรมศิลปะการปองกันตัว

B Y

สถานที่

ฝกประจำสัปดาหB Y Y Y Y Y Y

จันทร-พุธ-ศุกร ๑๘.๐๐ - ๒๐.๓๐ น.Y สถานที่ฝก ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม ใตถุนตึกอาคารกิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม

หน้า ๒๐


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.