#09 AikidoCMU

Page 1

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๙ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

AikidoCMU NEWSLETTER ยอดฝมือ : อัจฉริยภาพ ดร.สมบัติ ตาปญญา เติบโตโดยไมทำลาย อ. ธีระรัตน บริพันธกุล ทำไมได E E E น.พ.กฤษณชัย ไชยพร AIKIDO(ER) IN FOCUS : น.พ.กฤษณชัย ไชยพร ในหนึ่งวันของปรมาจารย กาคุ ฮมมะ เซนเซ

พบกับ

จัดทำโดย ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาคารกิจกรรมนักศึกษา (อ.มช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถ. สุเทพ อ.เมือง จ. เชียงใหม่ 50200 ติดต่อได้ท ี่

เอ้ (ประธานชมรม) 086-658 7015

ป๋อม (ผู้ประสานงานชมรม) 089-701 7686

กบ (บรรณาธิการจดหมายข่าว) 084-047 4344

Website:

http://my.2poon.com/my/?aikidoCMU http://www.geocities.com/cmu_aikido

Email:

AikidoCMU@gmail.com

Webboard:

หน้า ๑


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๙ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

สารบาญ

ขอเอาใจช่วยพี่รัตน์ที่กำลังไป ศึกษาต่อปริญญาเอก ที่พระจอมเกล้า ธนบุรี สาขา อะแฮ่ม แล้วจะ เทคโนโลยี กลับมาเยี่ยม พลังงาน บ่อยๆนะครับ

รักน้องจริง อย่าทิ้งน้องนะเพ่

นักเขียนในฉบับ ดร.สมบัติ ตาปัญญา

ไอคิโดกับชีวิต: ยอดฝมือ - บทที่ ๓: อัจฉริยภาพ โดย .....ดร.สมบัติ ตาปญญา ๓ เติบโตโดยไมทำลาย.....อ.ธีระรัตน บริพันธกุล ๗ ในหนึ่งวันของปรมาจารย โมริเฮอิ อูเอชิบะ ตอนที่ ๓ ...กาคุ ฮมมะ เซนเซ แปลโดย ฮานีล คือทองฟา ๙ การฝกไอคิโดในความคิดของผม: ทำไมได ...น.พ.กฤษณะชัย ไชยพร ๑๒ AIKIDO(ER) IN FOCUS : น.พ.กฤษณชัย ไชยพร ๑๔ มาเยี่ยม มาเยือน : RYNDES PETER จากเบลเยี่ยม และ TANAKA KENJI จากฟูกูโอกะ ๑๗ การสวมฮากามา ๑๙ AIKIDO FAMILY: รับขวัญนองมิ๊ง ๒๐ ปฏิทินกิจกรรม ๒๐

อ.ธีระรัตน์ บริพันธกุล นพ.กฤษณชัย ไชยพร

ฮานีล คือ ท้องฟ้า

โฟกัส

หน้า ๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๙ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

ไอคิโดกับชีวิต: ยอดฝีมือ เขียนโดย จอร์จ เลียวนาร์ด

ผศ.ดร. สมบัติ ตาปญญา

บทที่ 3: อัจฉริยะภาพ !

(ความเดิมจากตอนที่แลว ... คุณเริ่มตระหนักวาจะตองตัดสินใจ ทำอะไรสักอยางแลว ในชวงหนึ่งของการ เดินทางครั้งนี้ หากไมใชตอนนี้ก็คงอีกไม นาน คุณชักอยากเลิกเลนเทนนิสแลวไปมอง หาอะไรที่งายกวานี้ หรือคุณอาจพยายามให มากขึ้นเปนสองเทา ขอเพิ่มชั่วโมงเรียนเปน พิเศษ ฝกซอมทั้งวันทั้งคืน หรือคุณอาจ หยุดเรียนกับครูแลวลงแขงกับเพื่อนๆ โดย อาศั ย ความชำนาญเท า ที ่ ค ุ ณ ได ม าจนถึ ง ตอนนี้ คุณอาจลืมเรื่องการปรับปรุงฝมือการ เลนเสีย แลวก็คิดเพียงสนุกกับเพื่อนๆ ซึ่ง ไมไดเลนเกงกวาคุณไปสักเทาไหรหรอก แต แนละ คุณอาจเลือกทำอยางที่ครูแนะนำ และเดินตอไปบนเสนทางอันยาวไกลสูความ เปนยอดฝมือ ! คุณจะเลือกแบบไหนดีละ?)

คำถามนี้ หรือนาทีของการตัดสินใจนี้ มัก ผุดขึ้นมาในใจของเรานับครั้งไมถวน โดยไมไดเปน เรื่องเฉพาะกับเทนนิสหรือกีฬาอยางอื่นๆ แตเปน ทุกเรื่องที่เกี่ยวกับการเรียนรู การพัฒนาหรือการ เปลี่ยนแปลง บางครั้งเราเลือกหลังจากพิจารณา อยางถวนถี่แลว แตบอยครั้งเรากลับเลือกอยางไม ระมัดระวัง อยางแทบจะไมรูตัว เพราะเราถูก เรงเราดวยความเยายวนของลัทธิบริโภคนิยม ดวย สังคมที่ตองการแกปญหาเฉพาะหนาอยางลวกๆ บางครั้งเราจึงเลือกทำสิ่งที่นำมาซึ่งภาพลวงของ ความสำเร็จ เงารางๆ ของความพึงพอใจ และบาง ครั้งดวยความที่รูนอยหรือไมรูเลยวากระบวนการ ไปสูความเปนยอดฝมือนั้นเปนอยางไร เราจึงไมรู วามีทางเลือกใหเราเดิน แตถึงกระนั้นความไม สามารถที่จะเลือกอยางรูตัวของเราก็กลับกลาย เปนทางเลือกตางๆ ไดอีก เปนการเพิ่มหรือลด ศักยภาพของเราที่จะตองนำมาใชในที่สุด หน้า ๓


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๙ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

ตอนนี้มีหลักฐานชัดเจนแลว วา พวกเราทุกคนที่เกิดมา หากไมมีความ บกพรองทางพันธุกรรมอยางรายแรงก็จะ เปนอัจฉริยะไดกันทั้งนั้น เพราะแมจะไม เคยไดรับการฝกสอนอยางเปนทางการเลย เราก็ยังสามารถฝกตัวเองใหเปนนายของ ภาษาพูดซึ่งเปนระบบการใชสัญลักษณที่ ครอบคลุมทุกอยาง และไมใชเพียงภาษา เดียวเทานั้น แตเปนถึงสองสามภาษา เชน เราสามารถถอดรหัสของการแสดงอารมณ ทางสีหนาคน ซึ่งเปนสิ่งที่แมคอมพิวเตอรที่ มีกำลังสูงที่สุดก็ยังทำไมได เราสามารถเขาใจและแสดงออกซึ่ง ความละเอียดออนของอารมณไดโดยไมวิธี ใดก็วิธีหนึ่ง แมเราไมเคยเขาโรงเรียนเลย ก็ตาม เราก็ยังสามารถเขาใจความเชื่อมโยง ของสิ่งตางๆ จัดแบงประเภทสิ่งตางๆ ที่ เปนนามธรรม และจัดลำดับความสำคัญ ของสิ่งตางๆ ไดอยางมีความหมาย ยิ่งไป กวานั้น เราสามารถประดิษฐสิ่งที่ไมเคยมี ใครเห็นมากอนได ถามคำถามที่ไมเคยมี ใครถาม และหาคำตอบที่ไกลออกไปยิ่งกวา ดวงดาวบนท อ งฟ า และเราต า งจาก คอมพิวเตอรตรงที่เราตกหลุมรักไดดวย

สิ่งที่เราเรียกวาเชาวนปญญานั้นมีอยู ในหลายรูปแบบ ฮาวเวอรด การดเนอร จาก มหาวิทยาลัยฮารวารดและโรงเรียนแพทยแหง มหาวิทยาลัยบอสตันไดแยกแยะมันออกมาได ถึงเจ็ดประเภท คือ เชาวนปญญาทางภาษา ทางดนตรี ทางตรรกะ/คณิตศาสตร ทางการ เขาใจชองวางระหวางสิ่งตางๆ ทางรางกาย/ การเคลื่อนไหว และเชาวนปญญาสวนบุคคล สองแบบที่อาจใหรายละเอียดไดวาเปนเชิง ภายในตนเองและเชิงระหวางบุคคล

หน้า ๔


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๙ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

พวกเราจะมีความแตกตางหลาก หลายกันไปในระดับตางๆ ของเชาวน ปญญาทั้งเจ็ดแบบนี้ ถึงกระนั้นแตละคนก็ เกิ ด มาพร อ มกั บ ความสามารถโดยรวมที ่ เมื่อเอามาเฉลี่ยกันแลวก็มากเพียงพอที่จะ เขาถึงภาวะที่ลึกลับและหายากซึ่งเราเรียก วา “ความเปนยอดฝมือ” นี้ได ในบาง ลักษณะของความคิด การแสดงออก ความ สัมพันธระหวางบุคคล หรือการดำเนินงาน ในกิจการทางธุรกิจบางอยาง และศิลปะ หรืองานฝมือบางประเภท

ความจริงในเรื่องนี้อีกประการหนึ่ง ที่ จะเห็นไดก็คือในดานสรีระของมนุษยเอง ครั้งหนึ่งเราเคยเชื่อกันวาบรรพบุรุษของ เราในสมัยบุพกาลนั้นนาเวทนามากเมื่อ เทียบกับสัตวอื่นๆ ในปาดงดิบและทุงหญา เราเชื่อกันวาแมมนุษยจะไรซึ่งเขี้ยวเล็บ และพละกำลังพิเศษของสัตวลาเหยื่อทั้ง หลายแตก็ยังเอาตัวรอดไดเพราะมีสมอง ใหญและความสามารถในการใชเครื่องมือ ตางๆ ซึ่งความคิดเชนนี้ละเลยความ สำคัญของความสามารถที่นาอัศจรรยใจ ของมนุษยในการสรางกลุมที่ซับซอนและ ผูกพันกันเหนียวแนน ซึ่งเปนความทาทาย ที ่ น  า จะเป น สาเหตุ ห นึ ่ ง ของการพั ฒ นา สมองที่ใหญโตของเรา และมันยังละเลยความสำคัญของ รางกายมนุษยลงไปอีกดวย

หน้า ๕


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๙ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

เราชื่นชมนักหนากับความเร็วปาน สายฟาของเสือดาวชีตาห การกระโดดอัน นาทึ่งของจิงโจ ความชำนาญใตผิวน้ำของ ปลาโลมาและพลังนาตื่นตาดุจนักยิมนาสติก ของลิงชิมแปนซี แตความเปนจริงก็คือไมมี สัตวชนิดไหนที่จะเอาชนะคนไดในการแขง ขันแบบรวมความสามารถทางการกีฬาทุก อยางเขาดวยกัน หากเราเอาสัตวเลี้ยงลูก ด ว ยนมทุ ก อย า งมาแข ง กั บ มนุ ษ ย ใ นกี ฬ า รวมสิบประเภท หรือทศกรีฑา (decathlon) ซึ ่ ง ประกอบไปด ว ยการวิ ่ ง เร็ ว วิ ่ ง ทน กระโดดไกล กระโดดสูง วายน้ำ ดำน้ำลึก ยิมนาสติก ชกมวย เตะ และขุดรู สัตวอื่นๆ จะชนะในการแข ง แต ล ะอย า งแบบเดี ่ ย วๆ แตมนุษยที่ฝกมาอยางดีแลวจะไดคะแนน เฉลี่ยสูงสุด และในกีฬาวิ่งทน มนุษยจะ เอาชนะสัตวอื่นๆ ในขนาดใกลเคียงกัน ทั้งหมด และแมกระทั่งบางตัวที่ใหญกวาพอ สมควรดวย เราไมไดเกิดมาเปนอัจฉริยะ เพียงดานความคิดและความรูสึกเทานั้น แต เรายังเปนอัจฉริยะในการใชศักยภาพของ รางกายดวย แนนอนที่สุดวาตองมีกีฬา อยางใดอยางหนึ่งที่เราแตละคนสามารถเปน ยอดฝมือได

แตอัจฉริยะทุกคน ไมวาจะฉลาด ปราดเปรื่องแคไหน ก็ไมอาจประสพความ สำเร็จได หรืออาจหมดไฟไปอยางรวดเร็ว หากไมเลือกทางเดินในวิถีของความเปนยอด ฝมือ เสนทางนี้จะเต็มไปดวยทั้งความยาก ลำบากและความตื่นตาตื่นใจ มันจะนำมาทั้ง ความเจ็บปวดใจและรางวัลที่ไมไดคาดหวัง และคุณจะไมมีวันไปถึงปลายทาง (มันคงจะ เปนสิ่งที่เล็กนอยมากทีเดียวหากคุณสามารถ ฝกใหชำนาญไดอยางถึงที่สุด) ในทายที่สุด คุณอาจจะไดเรียนรูเกี่ยวกับตัวคุณเองมาก พอๆ กับสิ่งที่คุณพยายามเรียนรูนั้น และ แมวาคุณจะประหลาดใจบอยๆกับสิ่งที่คุณ เรียนรูและวิธีการเรียนรูของคุณ ความ กาวหนาของคุณสูการเปนยอดฝมือจะเปนไป ในลั ก ษณะของเส น กราฟแบบที ่ แ สดงไว น ี ้ เสมอ

ภาพประกอบทั้งหมดมาจาก http://www-users.cs.umn.edu/~shkim/Gallery/charlesbibbs.html

หน้า ๖


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๙ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

เติบโตโดยไมทำลาย อ.ธีระรัตน บริพันธกุล

ในการปองกันตัวคนสวนใหญจะ เขาใจโดยเหมาเอาวานอกจากเราจะพน จากอั น ตรายแล ว ยั ง ต อ งทำให อ ี ก ฝ า ย หนึ่งไดรับบาดเจ็บหรือลมตาย ในการฝก ไอคิโดจะเนนวาการตอสูที่แทจริงตองจบ ลงดวยความปลอดภัยของทั้งสองฝาย ความสามารถในการตอสูไมได วัดกันดวยพละกำลังดานรางกายเพียง อยางแตวัดกันที่ความเขมแข็งของจิตใจ ที่จะควบคุมความกลัว ความโกรธที่มีตอ ผูที่เขากระทำเราไดดวย หากเราคุม ความโกรธในตัวเราไมไดก็ควบคุมพลัง ทำลายไมได การฝกไอคิโดนอกจากจะ เปนการฝกดานรางกายแลวจำเปนอยาง ที่จะตองฝกทัศนะคติหรือมุมมองที่มีตอ การปองกันตัวรวมทั้งคนที่เขาทำรายเรา ดวย ผมเคยอานหนังสือเรื่อง “เซ็น : ศิลปะในการตอสู” มีตอนหนึ่งที่อาจารย ยื่นไมใหอันหนึ่งใหแกลูกศิษยและถามวา เธอจะทำอยางไรใหไมที่ถืออยูนี้สั้นลงได

ลูกศิษยก็ตอบทันทีวาก็หักไมอันนี้ สิ ไมก็จะสั้นลง วิธีคิดของลูกศิษยเซ็นรวม ทั ้ ง คนใหญ ข องสั ง คมมั ก จะคิ ด ว า ถ า เรา ตองการแกปญหา หรือถาเราอยากจะเกง กวาเขาก็มักจะหนีไมพนการทำลายหรือ การใช ค วามรุ น แรงโดยลื ม คิ ด ไปว า การ ทำใหไมสั้นลงอาจทำไดโดยการนำไมที่ยาว กวามาวางขางๆโดยไมจำเปนจะตองหักไม หรือทำลายใหมันสั้นลง

ภาพจากเว๊บไชต์ http://www.izauk.org/index.asp

หน้า ๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๙ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

ในการฝ ก ไอคิ โ ดต อ งการวิ ธ ี ค ิ ด และวิธีการพัฒนาตนเองในแบบที่สองคือ เราสามารถที่จะเกงกวาหรือเหนือกวาคน อื่นไดโดยไมตองไปย่ำยีหรือทำลายคนอื่น คูตอแขงที่แทจริงๆของเราก็คือตัวเราเอง โดยเฉพาะเรื่องของความเบื่อหนายใน การฝกซอม อารมณโกรธที่ควบคุมไมคอย ได ทั ศ นะในการแข ง ขั น ที ่ เ น น การ เอาชนะ ฯลฯ ศัตรูชีวิตมักจะเปนสิ่งแฝง เร น ที ่ อ ยู  ภ ายในมากกว า ภายนอกและ เปนการยากที่จะมองเห็นหรือปรับเปลี่ยน แกไขตนเอง

สังคมทุกวันนี้มุงเนนความสำเร็จ และการเอาชนะโดยตั้งอยูบนพื้นฐานของ การทำลายทำใหขาดทักษะในการพัฒนา ตนเองและมีมุมมองที่เห็นอกเห็นใจคนอื่น เรานาจะลองวิธีการของศิษยเซ็นคนนี้แลว ดู ส ิ ว  า ตนเองแตกต า งไปจากคนเดิ ม อยางไร?

The Art of Peace # ๓ เขียนโดย Morihei Ueshiba แปลโดย John Stevens All things, material and spiritual, originate from one source and are related as if they were one family. The past, present, and future are all contained in the life force. The universe emerged and developed from one source, and we evolved through the optimal process of unification and harmonization. John Stevens ไดรวบรวมเอา Doka หรือบทกวีขนาดสั้นของปรมาจารยไวในหนังสือ The Art of Peace ตอมา William McLuskie ไดนำมาลงเผยแพรที่เวบไซต http://omlc.ogi.edu/aikido/talk/osensei/artofpeace/

ภาพจาก http://www.aikidojournal.com/images/catalog/ph010b_full.jpg

หน้า ๘


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๙ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

ในหนึ่งวันของปรมาจารย มอริเฮ อุเอชิบะ ~ ตอนที่ 3 ~

ปรมาจารย์สวดต่อเทพอมาเทระสึ (เทพพระอาทิตย์ของศาสนาชินโต) ภาพนี้ถ่ายเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2512 เวลาหกโมงเช้า บนดาดฟ้าของฮมบุโดโจ กาคุ ฮมมะเป็นผู้ถ่ายด้วยกล้องที่ยืมาจากทสุโนดะ

! โดยทั่วไปแลว ในระหวางการรอทาน ปรมาจารยทำพิธีกรรมในแตละวัน ขาพเจาและคิ คุโนจะนั่งแบบ เซอิสะ (seiza; การนั่งคุกเขาทับ ขอเทาโดยใหสวนหนาเทาแนบกับพื้น; ผูแปล) กมศรีษะลงกับพื้น แตไมใชการพักศรีษะ และจะ พยายามนั่งใหนิ่งที่สุดเทาที่จะทำได การนั่งใน อิริยาบทนี้ทำใหเมื่อยและปวดบริเวณเขา ! ดวยอายุของขาพเจาในขณะนั้นเพียงสิบ เจ็ดป ขาพเจายังไมเขาใจในสิ่งที่ทานปรมาจารย สวดภาวนา ดังนั้นการพยายามนั่งฟงอยางตั้งใจจึง เปนอีกปญหาหนึ่งของขาพเจา มีเพียงแต พิธีกรรมที่ใชโจ (Jo no mai การรายรำทาวิทยา ยุทธโดยใชไมพลอง) เทานั้นที่ขาพเจาสนใจ ข า พเจ า จะมุ  ง ไปยั ง การเคลื ่ อ นไหวโจ ข องท า น ปรมาจารย

ฮานึล คือทองฟา - ผูแปล

! โจที่ทานปรมาจารยใชมีขนาดความยาวเทากับ โจโดยทั่วไป หากแตปลายดานหนึ่งของโจจะถูกทำให แหลม ซึ่งมันดูราวกับทวนที่ถูกเฉือนดวยดาบตามแนว ทแยง ! ในบางครั้งทานปรมาจารยจะใช ชาคุ (shaku) แทนการใชโจ ชาคุ คืออุปกรณที่ใชในพิธีกรรมของ ศาสนาชินโต มีลักษณะรูปรางเปนไมพายเรียบ ทาน ปรมาจารยจะใชชาคุประกอบการเคลื่อนไหว ประหนึ่ง วาชาคุนั้นเปน ทรึรุกิ (ดาบแหงเทพเจาตามตำนานของ ศาสนาชินโต) / หลังจากเสร็จสิ้นพิธีกรรมในตอนเชาที่ศาลเจา ไอคิแลว ทานปรมาจารยจะยอนกลับมายังสนามดาน หนาโดโจ ซึ่งทานจะหยุดและสวดภาวนาที่ โฮโครา (ศาลเจาเล็ก) เพื่ออุทิศไปยังเทพ อุชิโทรา (Ushiitora no Konjin) / เทพอุชิโทรา เปนเทพที่ทานปรมาจารยเคารพ นับถือ ซึ่งทานจะนำติดตัวไวตลอด เมื่อครั้งที่ทาน ปรมาจารยเดินทางไปยังเกาะ ฮอคไคโด ทานไดนำเทพ องคนี้ติดตัวทานไปดวย และไดอุทิศใหกับศาลเจาสราง ใหมที่ทานพบในหมูบานชิราทาเคะ (Shiratake) / แมวาทานปรมาจารยจะดูเหมือนพกพาบางสิ่ง ติดตัวไวตลอด แตแทจริงแลวไมมีเลย สิ่งที่ทานนำ ติดตัวไวก็คือจิตวิญญานของเทพเจานั่นเอง หน้า ๙


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๙ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

/ เมื่อจบพิธีกรรมในตอนเชา ทานปรมาจารย จะยืนตรง ถือชาคุไวในมือและมองไปยังทองฟา ทาน ปรมาจารยจะเงยหนาขึ้น และมองตรงไปยังดวง อาทิตย ไมวาวันนั้นจะเปนวันที่ทองฟาสดใส หรือ วันที่ดวงอาทิตยถูกบดบังดวยหมูเมฆก็ตาม ทานจะ สวดภาวนาแดเทพ อมาเทระสึ (Amaterasu O Kami) ซึ่งเปนเทพแหงดวงอาทิตยในศาสนาชินโต / พิธีกรรมนี้เปนพิธีกรรมที่นาทึ่งสำหรับ ขาพเจา ซึ่งขาพเจาเคยลองทำตามในบางครั้ง แต ขาพเจาก็ไมสามารถที่จะมองตรงไปยังดวงอาทิตยได นานเมื่อเทียบกับทานปรมาจารย เพราะแสงอาทิตย นั้นสวางเกินกวาที่ตาของขาพเจาจะทนได นั่นทำให ข า พเจ า เริ ่ ม คิ ด ว า แววตาที ่ ด ู ม ี พ ลั ง ของท า น ปรมาจารยนั้นไดมาจากการทำพิธีกรรมนี้เปนประจำ ทุกวัน หลังจากพิธีกรรมนี้ ก็จะเปนเวลาสำหรับ การเตรียมอาหารเชา / ที่จอดรถ และโรงอาหารของอุชิเดชิ(ศิษย กนกุฏิ)ที่อิวามะโดโจในวันนี้ ถูกสรางขึ้นในบริเวณที่ ครั้งหนึ่งเคยเปนสวนผักของทานปรมาจารย สวนดัง กลาวจะปลูกพืชผักเพื่อใชบริโภคกันในครัวเรือน และจะไดรับการดูแลเปนอยางดี หลังจากที่ทาน ปรมาจารยเสร็จสิ้นพิธีกรรมในตอนเชา ทานจะตรง ไปยังสวนผักทั้งที่ยังอยูในชุดพิธีกรรม คือสวมคิโม โน และฮากามาอยู ในเดือนเมษายนจะเปนชวง เวลาของการเก็บผักกุยชาย (Nira) นาโนะฮานา (Nanohana; ดอกไมชนิดหนึ่งมีสีเหลือง บานในฤดู ใบไมผลิ) หัวไชเทา (Daikon) และคาบุ (Kabu; พืช หัวสีขาว คลายมันแกวขนาดเล็ก)

มีนาคม 2511 ปรมาจารย์มองตรงไปที่ดวง อาทิตย์สวดภาวนาต่อเทพอมาเทระสึ อยู่ทาง ด้านซ้ายของรูปเป็น โฮโครา (ศาลเจ้าเล็กๆ) สำหรับเทพ อุชิโทรา ภาพโดย กาคุ ฮมมะ

/ ท า นปรมาจารย จ ะตรวจดู ต  น ผั ก ต า งๆ อยางละเอียด และบอกแกขาพเจาวาตนไหนที่ สามารถเก็บไปเปนเครื่องเคียงได เราจะยังไมตัดเก็บ มาทั้งตน เนื่องจากในเดือนเมษายน พืชผักเหลานี้จะ ยังไมโตเต็มที่ และการเก็บโดยการตัดเล็มพืชผักเหลา นี้จะชวยใหมันโตขึ้นอยางแข็งแรง ขาพเจายังจำได เมื่อครั้งที่ทานปรมาจารยสอนใหขาพเจาเก็บผัก กุยชาย ทานสอนใหขาพเจาเหยียบลงตนกุยชายหลัง จากเก็บ และรดดวยน้ำซาวขาว ซึ่งจะทำใหตน กุยชายโตขึ้นใหมอยางสมบูรณ

หน้า ๑๐


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๙ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑) พฤษภาคม 2511 กาคุ ฮมมะที่แปลง ผักของอิวามะโดโจ แปลงด้านบน ปลูกมันฝรั่ง ด้านล่างปลูกถั่วลิสง ภาพโดย คิคุโนะ ยามาโมโต

/ อาหารเชาจะประกอบดวย โจก (congee) กับขนมโมจิ (ขาวเหนียวตมสุก ตำ แลวปนเปน กอน) เปนหลัก ทานปรมาจารยชอบทานขนมโมจิ มาก และบางครั้งทานจะทานเพียงแตขนมโมจิ ปญหาหนึ่งของการทานขนมโมจิคือมันมักจะเขาไป ติดในฟนปลอมของทานปรมาจารย

/ ดังนั้นการเตรียมขนมโมจิโดยสวนใหญ จะ ทำโดยนำลงไปปรุงพรอมกับโจกเพื่อทำใหมันนุมขึ้น ของเคียงประกอบดวยผักสดที่เก็บมาจากสวน และ เตรียมขึ้นอยางงายๆ ในเวลาอาหารเชา ทาน ปรมาจารยจะยังคงอยูในชุดพิธีการโดยสวมคิโมโน และฮาคามาอยู สำหรับทานแลว การทานอาหารเชา ยังถือเปนสวนหนึ่งของพิธีกรรมในตอนเชา / หลังจากอาหารเชา ขณะที่ทานปรมาจารยพัก ผอน ก็จะเปนเวลาที่ขาพเจา และคิคุโน จะทำงานบาน ตางๆ และเดินทางระยะสั้นๆ ไปยังนาขาวของทาน ปรมาจารยที่อยูไมไกลจากโดโจนัก การดูแลนาขาวนี้ก็ ถือเปนอีกหนาที่หนึ่งของขาพเจาเชนกัน ขาพเจามัก สวมชุดฝก (keiko-gi) กับกางเกงสำหรับทำงานไว เสมอ โดยที่ไมรูวาเมื่อไหรทานปรมาจารยจะเรียก ขาพเจา และคิคุโน ไปฝกไอคิโด เปนการเตรียมพรอม ไวกอน เผื่อในกรณีที่ทานเรียกฝก

กาคุ ฮมมะ เปนศิษยคนสุดทายของปรมาจารย ทานไดเดินทางไป สอนไอคิโดที่ประเทศสหรัฐอเมริกาในป 2519 ในบริเวณเทือกเขา รอคกี้ ทานมีลูกศิษยลูกหามากมายถึงหมื่นคนในเมืองเดนเวอร รัฐโค โรลาโด ที่ซึ่งทานเปนเจาสำนักนิปปอนคังมาจนถึงปจจุบัน

ในหนึ่งวันของปรมาจารย มอริเฮ อุเอชิบะ เขียนโดย กาคุ ฮมมะ เซนเซ (Nippon Kan Kancho)!

! เขียนไวเนื่องในวันระลึกถึงวันครบรอบการถึงแกอนิจกรรมของปรมาจารยโมริเฮอิ อูเอชิบะ ในวันที่ 26 เมษายน 2512 บทความและภาพ จากเว็บไซต์ http://www.nippon-kan.org/senseis_articles/day-in-the-life.html

หน้า ๑๑


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๙ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

การฝกไอคิโดในความคิดของผม

ทำไมได

! ขณะที่ผมเปนคูฝกไอกิโดใหกับสมาชิกชมรม ไอกิโดของเรา บางครั้งสมาชิกทำไมได ผมพบวาที่ ทำไมไดเปนกรณีตางๆดังนี้

โดย นพ.กฤษณชัย ไชยพร

๒. ทำไมไดเพราะไมมีความเชื่อวาเท็คนิคที่ ไดรับการสอนจะใชการไดจริง ไมเคยชิน จึง ทำเท็คนิคตามความเชื่อตามความเคยชินของตัว เอง ทำใหดูบอกวิธีใหก็ไมทำตาม ทำวิธีทาทาง แปลกๆของตนเอง อันนี้เกิดขึ้นโดยเจาตัวไมรูตัว หรือรูตัวก็ได หากเท็คนิคที่ไดรับการสอนเปนสิ่งที่ ถูกตองใหผลดีแตสิ่งที่สมาชิกผูนั้นเชื่อและเคยชิน เปนสิ่งที่ไมใหผลดี เท็คนิคที่สมาชิกผูนั้นทำยอม ไมใหผลดี อาจลงเอยที่ทำไมได จะแกไขไดตองมี ความเชื่อและความเคยชินที่ถูกตอง ทำไดโดยการ *ฝก* จนเห็นผลของวิธีที่ถูกตองที่ตนเองทดลอง ฝกดูหรือผูอื่นทำใหเห็นผลจนเกิดความเชื่อและ ความเคยชิน............(ทำไมไดเพราะไมเชื่อไม เคยชินจึงไมทำตาม)

๑. ทำไมไดเพราะไมรูวิธีจึงทำไมถูก ใหมๆสมาชิกดูตัวอยางแลวยังจำไมได, ยังไมเขาใจ จึงทำทาทางไมถูก, ทิศทางไมถูก, ระยะไมดี, จังหวะ ไมดี, ความเร็วไมเหมาะสม, ความสัมพันธไมดี, แรง ไมพอดีไมวาจะมากไปหรือนอยไปก็ตาม หรือ รางกายบอบบางมากๆ เหลานี้ทำใหการทำไมได เปนชนิดทำไมไดเพราะทำไมไดจริงๆ คงแกโดย *ฝก* ทำเท็คนิคใหถูก,ฝกรางกายใหแข็งแรง ขึ้น.......(ทำไมไดเพราะยังไมรูวิธีไมรูจะทำอยางไร)

หน้า ๑๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๙ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

๓. ทำไมไดเพราะคิดเพราะเชื่อวาตัวเอง ยังไงก็ทำไมได ก็เลยทำไมได เรี่ยวแรงจึงมีนอย กวาที่มีอยูจริง ไมคอยกลาจะเคลื่อนที่ บางทีคิด เชื่อเชนนี้โดยไมรูตัวเปนจิตใตสำนึก เหมือนคนกลัว คนไมกลาสู คิดแตวาแพแนๆ บางทีก็กลัวคนอื่น จะเจ็บ บางทีก็กลัวตัวเองจะเจ็บ ขอนี้คงแกโดย การเปลี่ยนความคิดใหมีความเชื่อมั่นในตนเอง เมื่อ มีคนบอกใหหรือเห็นตนเองแลววาเปนอยางไรให คอยๆพิจารณาวาตนเองเปนอยางนั้นจริงหรือไม เราควรเปนเชนนั้นหรือไม ถาไมควรเปนก็พยายาม เปลี่ยน คิดวาเราจะสู ผมหมายถึงวาเมื่อจำเปน ตองสูจะสูจริงๆ แตไมใชใหเปนคนกราวราวเที่ยว หาเรื่องสูกับคนโนนคนนั้ไปเรื่อย ขอนี้คงจะแกโดย *ฝก* จนรูและเคยชินตามสมควรกับการตอสู, ความเจ็บ, การรูรักษาตัวไมใหบาดเจ็บ, การ ควบคุม, การถูกควบคุมทั้งของตนเองและของผู อื่น.............(ทำไมไดเพราะใจไมสูเพราะกลัว) ๔. ทำไมไดเพราะยังไมสามารถรูสึกได รับรูได บางครั้งสมาชิกทำเท็คนิคจนผมอยูใน ทาทางที่เสียเปรียบ, ไมมั่นคง, ตอบโตไมไดแลว สมาชิกอยูในสถานะที่จะเอาชนะไดแลว แตสมาชิก ก็ไมเขากระทำตอ หยุดหรือถอยออกไป เพราะไม สามารถรูสึกไดวาผม, สมาชิกกำลังอยูในสถานะดัง กลาว หากรูไดและเขาทำตอ, ออกแรงอีกหนอย, เคลื่อนที่อีกหนอยหรือปรับเท็คนิคอีกหนอยก็จะ กลายเปนทำไดไป ขอนี้ถา *ฝก* ไป, พิจารณา บาง, ถามหรือฟงผูรวมฝกบางบางทีคงจะหัดใหมี ความรูสึกนี้ได..........(ทำไมไดเพราะยังไมมีความ รูสึก, ความรับรูสถานะของตนเองและคูตอสู)

๕. ทำไมไดเพราะขาดไปอีกนิดเดียว ขาด ความมุงมั่นไปนิดหนึ่ง ขอออกแรงเพิ่มอีกนิดหนึ่ง ขอ การเคลื่อนที่เพิ่มอีกนิดหนึ่ง ถาทำเท็คนิคใหเต็มเท็ คนิคไดก็ควรจะฝกทำใหเต็มเท็คนิค แตการทำเต็มเท็ คนิคผมรูสึกวาตองระวังอยูบางเพราะอาจจะเกิดการ บาดเจ็บแกบางคนได *ฝก* ใหถึงพรอมให สมบูรณ...........(ทำไมไดเพราะยังไมสมบูรณขาดไปนิด หนึ่ง ขาดความเด็ดเดี่ยวมุงมั่นอยางเหมาะสม ๖. ทำไมไดเพราะแทบจะมีแตความคิด กาวราวลวนๆ คิดแตจะทำแรงๆทำรายใหบาดเจ็บ คิดแตจะเอาชนะ ทำใหไมมีหรือแทบไมมีเท็คนิค ไม คิดถึงความปลอดภัยของผูรวมฝก แบบนี้ถาเจอคน เกงหนอยถึงเขาทำก็อาจทำไมได บางทีลงทายไมใคร ก็ใครจะบาดเจ็บจนฝกไมได ใครๆก็ไมอยากฝกดวย แบบนี้ถาเปลี่ยนความคิดไมไดไมฝกดีกวา...........(ทำ ไมไดเพราะไมไดฝกไอกิโด เพียงแตแสดงและฝกความ กราวราว) พิจารณา, รักษาตัวไมใหบาดเจ็บ, รักษา สุขภาพครับ หน้า ๑๓


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๙ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

Aikido(er) in Focus นับเวลากวายี่สิบป ที่อาจารยสมบัติ ตาปญญา และอาจารยธีระรัตน บริ พั น ธกุ ล ได ท ุ  ม เทแรงกาย แรงใจใหกับชมรมไอคิโดม หาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม สมาชิกสวนมากของชมรม จึงเปนนักศึกษาและใชชวง หนึ่งของชีวิตนักศึกษามา ฝกฝน แต ด  ว ยความเป น สถานศึ ก ษาที ่ ใ ช เวลาเพียง ๔ – ๖ ป ก็เรียนจบ จากนั้นก็มักแยก ย า ยไปทำงานที ่ ต  า งๆ นั ก ไอคิ โ ดของ มหาวิทยาลัยเชียงใหมที่ฝกเปนเวลานานจนได สายดำจึงมีนอยถาไมนับอาจารยทั้งสองทาน ของเราแลว สายดำที่ถือกำเนิดจากชมรมไอคิ โดมหาวิทยาลัยเชียงใหมนับไดเพียง ๔ คนซึ่ง ลวนแลวแตฝกมาเปนเวลารวมสิบป / ตอจากพี่รัตน (รัตนพล พนมวัน ณ อยุธยา) ซึ่งเปนสายดำโชดั้ง*คนแรกของเรา ในป 2538 แลว ตองใชเวลาอีกถึงสิบสองปเรา จึงไดโชดั้งคนที่สอง

7

คุณหมอกฤษณชัย ไชยพร ที ่ ห ลายๆคนเรี ย กกั น ว า อาหมอ แตถามีเด็กๆเรียกพี่หมอ จะทำให อารมณดีเปนพิเศษ อาหมอเริ่มฝก ไอคิ โ ดที ่ ม หาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม เมื ่ อ มี อ ายุ พ อสมควรและเป น เพราะความบังเอิญเนื่องจากตั้งใจ จะไปฝกยูโด แตกลับไปในวันที่ ไอคิโดเขาฝกกัน (เมื่อหลายปกอน ไอคิโดกับยูโดใชเบาะรวมกัน แต ฝกคนละวัน) อาหมอจึงฝกไอคิ โดนับแตนั้นมา นับวาเปนผูอาวุโสทั้งวัยวุฒิ และคุ ณ วุ ฒ ิ ท ี ่ เ หล า สมาชิ ก ให ค วามเคารพ เพราะอาหมอเปนเซมไป (รุนพี่) ผูนำฝกให กับพวกเราเวลาที่อาจารยติดธุระ เปนคน ดูแลความเปนระเบียบเรียบรอยและวินัยบน เบาะ นอกจากนั้นอาหมอยังเปนคนคอยไปดู อาการเวลาที่สมาชิกไมสบาย ทั้งเปนหวงเปน ใยในสุขภาพของสมาชิกทุกคน และตอบ คำถามไดทุกคำถาม ถาตอบไมไดในทันทีก็จะ ไปคนควาหาคำตอบมาให Focus เลมนี้ ไดมีโอกาสไดสัมภาษณ อาหมอมาใหทุกคนไดรูจักกันมากขึ้นคะ

* สำหรับประเทศไทยเมื่อผูฝกสอบไดสายดำครั้งแรกจะเรียกวา ”โชดั้งโฮะ” ซึ่งยังไมถือวาไดสายดำ จริงๆ จากนั้นจึงสอบอีกครั้งจึงจะได “โชดั้ง” ซึ่งเปนขั้นแรกของสายดำ กอนที่จะฝกฝนใหสูงขึ้นไป

หน้า ๑๔


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๙ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

Focus : ตอนนี้อาหมอเกษียณแลวเนี่ย ปจจุบันอาหมอทำอะไรบางคะ อาหมอ : ชีวิตประจำวันตอนนี้ก็กิน นอน ดูทีวี เลนเกมส และฝกไอคิโดครับ มี ความสุขกับชีวิตดีเพราะไดฝกไอคิโด Focus : แลวในแตละวันคิดเรื่องไอคิโด บางมั้ยคะ อาหมอ : คิดเหมือนกันครับ คิดวาทานั้น ทานี้ ทำยังไง ก็ลุกขึ้นมาออกทาออกทางดู Focus : ในแงของปรัชญาตางๆของ ไอคิโดละคะเคยคิดบางหรือเปลา อาหมอ : ไมคิดมากครับ กลัวฟุงซาน เรื่องปรัชญาถารูมากไป พูดมากไป แลวทำไม ไดก็ไมเกิดประโยชนอะไร ไมมีคาอะไร

Focus : เห็นอาหมอฝกมานานมาก แลว ก็มาฝกทุกวัน ไมรูสึกเบื่อๆ ตันๆ หรือเคยคิด อยากเลิกฝกบางมั้ยคะ อาหมอ : ไมเคยครับ มีบางครั้งอาจจะ รูสึกมันชาๆ ไปบาง แตก็สงบจิตสงบใจฝกตอ ไป แลวก็พิจารณาวาเปนเพราะอะไร ถาคิดไม ออกก็ไปฝก ก็ทำใหคอยๆออกมาเอง ที่สำคัญ คือการฝกครับ เพราะการปฏิบัติทำใหเรารู การอานการดูจากหนังสือตางๆ ทำใหเรารูแค ทาทางในหนังสือเทานั้น มันก็ไมเหมือนกับ การปฏิบัติจริงนะครับ การปฏิบัติจะนำมาสู ความรูและการแกปญหา เราตองมีจิตใจมุงมั่น กับการฝก ในที่สุดหนทางก็จะออกมาเอง ที่ สำคัญตองอยาหยุดฝกครับ Focus : ในวันที่อาจารยไมไดมานำฝก ก็ จะมีรุนพี่สายสูงๆนำฝกใหพวกเรา อาหมอ บาง อั้มบาง และอั้มก็มักใหความสำคัญกับ การรวม การรวมมันเปนยังไงคะ อาหมอ : อันนี้ก็ตองไปถามอั้มเคานะ ครับ Focus : คะ ไวจะถามอั้มเพื่อลงในฉบับ หนา แตอยากทราบความคิดเห็นอาหมอนะ คะ

หน้า ๑๕


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๙ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

อาหมอ : ผมคิดวามันเปนสองอยางนะครับ คือในแงของตัวเราเอง เราตองมุงมั่นไป ใหพรอมกัน ผมหมายถึงไปทั้งหมดทั้งตัวเรา ไมวาแขน ขา หรือจิตใจ ตองมุงไปดวยกัน บางทีมันก็ยากเหมือนกัน แลวก็การรวมกับคนอื่น ซึ่งมันก็ยากยิ่งกวา มันพูดยากเหมือน กัน ยังไงก็ตองฝกมากๆครับเดี๋ยวก็จะคอยๆเขาใจเอง Focus : มีนองฝากมาถามวา วิธีปฐมพยาบาลเบื้องตนคนอกหักทำยังไงคะ อาหมอหัวเราะเหอะ เหอะ อาหมอ : เปนที่หัวใจใชมั้ยครับ ก็ตองดูอาการกอน ถาถูกแทงที่หัวใจมาละก็ตอง วินิจฉัยใหไดกอน ถาเลือดออกมากก็อาจตองใหเลือด ถาหายใจไมไดก็ตองชวยหายใจ ผายปอด นวดหัวใจ CTR ............................ ฯลฯ Focus : ????????????????? เห็นมั้ยวาอาหมอตอบใหไดทุกเรื่อง !!!!

The Art of Peace # ๒ เขียนโดย Morihei Ueshiba แปลโดย John Stevens One does not need buildings, money, power, or status to practice the Art of Peace. Heaven is right where you are standing, and that is the place to train. John Stevens ไดรวบรวมเอา Doka หรือบทกวีขนาดสั้นของปรมาจารยไวใน หนังสือ The Art of Peace ตอมา William McLuskie ไดเผยแพรผานเวบไซต http://omlc.ogi.edu/aikido/talk/osensei/artofpeace/

ภาพปรมาจารยฝกกับอาจารยไซโตจาก http://aikido-france.net/_img_articles/saito2.jpg หน้า ๑๖


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๙ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

มาเยี่ยม มาเยือน

Reyndes Peter จากเบลเยี่ยม E ผมอายุ 43 ป เริ่มเรียนไอคิโดใน ป 1986 ในเดือนกุมภาพันธ ป 1994 ไดรับ ยูดั้งฉะ หมายเลข 115624 ภายใตการดูแลของ ซูกาโนะ เซนเซ ผมฝกฝนสัปดาหละสามถึงสี่ครั้ง แตในสิบหาปแรกใชเวลาฝกหกครั้งตอ สัปดาห ในเบลเยี่ยม เราโชคดีที่มี อาจารยจากตางประเทศซึ่งแวะเวียนมา สอน จากฮมบุโดโจบาง เชน ไซโตเซน เซ ชิมิสึเซนเซ และสมาชิกจากโตเฮ รวมทั้งจากองคกรอื่นๆ

อาจารยที่เปนแรงบันดาลใจใหกับผมมาก ที่สุดคืออาจารยที่โดโจของผมเอง คือ Peter Van De Ven เซนเซ, ซาโอะโตเม เซนเซ, Christian Tissier เซนเซ, ทามูระ เซนเซ, และซูกาโนะ เซนเซ แตละปผมจะฝกประมาณ 150 ชั่วโมงกับอาจารยระดับชิฮันE สำหรับตัวผมแลว ไอคิโดก็คือการพัฒนา ตัวเอง ตามคำสอนของปรมาจารยอูเอชิบะ มันคือการสื่อสารระหวางบุคคลสองคนเพื่อ บรรลุถึงการแกไขขอขัดแยง ดวยการให เกียรติ เคารพในศักดิ์ศรี และไมทำรายอีก ฝายหนึ่ง สิ่งที่สำคัญที่สุดสำหรับเราก็คือ การ สื่อสารกับอูเกะ (คูฝก) ของเรา ดังนั้น เมื่อ เราสื่อสารเราจึงสามารถตอบสนองตอการ เคลื่อนไหวของเขาได และเปดรับเขาเขามา ในวิถีแหงไอกิของเรา ซึ่งมันตางกับการที่อู เกะวิ่งไปชนกำแพงที่ไมตอบสนองอะไรเขา เลย มีแตจะเจ็บตัว

หน้า ๑๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๙ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

จากนั้น อูเกะก็จะเขาใจไอคิโด แลวก็จะ เปนตัวของตัวเอง ไมตองลอกเลียนแบบผู อื่น และตอนนี้เขาก็จะสามารถถอดรหัสของ ไอคิโดไดดวยตัวเขา และก็สามารถควบคุม ความรุนแรงของการใชเทคนิคไอคิโดได หากสนใจ กรุณาชมภาพเพิ่มเติมไดที่ http://www-us.flickr.com/photos/ tags/sugano/ เปนรูปภาพบางสวนที่ได เลือกเอาไวของ aikidotravels ในปนี้ จะมีอาจารยมาเยี่ยมเยียนอีก หลายทาน คือ เอนโด เซนเซ, โคบายาชิ เซนเซ, ทามูระ เซนเซ, และ ซูกาโนะ เซนเซ ที่โดโจของเรา ใหความสำคัญตอการฝก อาวุธมาก และฝกอิไอโด (การใชดาบ) ดวย ผมหวังวาในอนาคต จะยายมาอยูที่ จังหวัดลำปาง และเปดไอคิโดโดโจที่นี่ดวย E E ขอบคุณครับ E E ริอันเดส ปเตอร

Tanaka Kenji, Japan E ผมมาที่เชียงใหมเพื่อเรียนนวด ฝาเทาแบบไทย ผมดีใจมากที่ไดมา รวมฝกกับสมาชิกชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม E ขอบคุณครับ E ทานากะ เคนจิ (1 กิ้ว) E จากสำนัก คิวชู โชเฮจิวกุ สอนโดย อาจารย สุกานูมะ (ชิฮัน) ! ! หน้า ๑๘


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB

การสวมฮากามา

ฉบับที่ ๙ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

ภาพจาก http://www.aikido-thueringen.de/grafiken/traghaka.gif

หน้า ๑๙


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๙ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ (ปีที่ ๑)

Aikido Family ขอแสดงความยินดีกับคุณ พ่อรัตน์ คุณแม่ปุ้ย ชาวไอคิโดม.ช.ขอรับขวัญ ด.ญ. ชัญญานุช พนมวัน ณ อยุธยา

น้องมิ๊ง เกิดวันศุกร์ที่ 25 พฤษภาคม 2550 นี้ “ชาวไอคิโดก็ขออวยพรให้ น้องมิ๊งโตมาพร้อมกับความเป็น ไอคิโดของคุณพ่อและครอบครัว ชาวไอคิโด ม.ช.ทุกคนจ้า”

ขอให้น้องมิ๊งมีสุขภาพดี รวมทั้งคุณแม่คุณพ่อด้วย โตแล้วหวังว่าจะได้มาฝึก ไอคิโดด้วยกันนะครับ

ขอให้เลี้ยงลูกด้วย “ไอ” ด้วยความรัก และใน อนาคต หวังว่าจะเห็นน้อง มิ๊งบนเบาะไอคิโดนะครับ

ป้าป๋อม

ลุงหมอต๋อง

ลุงธีระรัตน์

ขอต้อนรับ "น้องมิ้ง" สมาชิกคนใหม่ของ ชมรมไอคิโดด้วยความยินดียิ่ง รีบโตเร็วๆ นะ ครับ จะได้มาร่วมฝึกด้วยกัน มีความเก่ง ไอคิโดอยู่ในสายเลือดแล้ว อีกไม่นานก็ตาม คุณพ่อทันแน่นอน

ลุงสมบัติ

หน้า ๒๐


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.