CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
AikidoCMU NEWSLETTER
จัดทําโดย ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาคารกิจกรรมนักศึกษา (อ.มช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถ. สุเทพ อ.เมือง จ. เชียงใหม่ 50200 ติดต่อได้ท ี่
Website:
เอ้ (ประธานชมรม) 086-658 7015
ป๋อม (ผู้ประสานงานชมรม) 089-701 7686
กบ (บรรณาธิการจดหมายข่าว) 084-047 4344
http://www.geocities.com/cmu_aikido
Newsletter Website: http://web.mac.com/kopwow/iWeb/AikidoCMU/ Email:
AikidoCMU@gmail.com
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
สารบาญ
ฟ้องด้วยภาพ - เคัาทําอะไรกันน่ะ ควันหลงจากไอคิโดสัมพันธ์ 2007 (แอบไปเอามาจากบล๊อกของจุฬาเลยนะเนี่ย http://cuaikido.informe.com/uo-u-u-a-u-uo-ue -u-u-uo-u-u-a-u-uo-dt3.html)
นักเขียนในฉบับ ดร.สมบัติ ตาปัญญา อ.ธีระรัตน์
ยอดฝมือ : ตอนที่ 6 .......ดร.สมบัติ ตาปญญา ๓ หยิน-หยาง พลวัตรออนแข็งในปฏิสัมพันธไอคิโด (ตอนที่ 1) .....อ.ธีระรัตน บริพันธกุล ๗ ประวัติไอคิโด ... ชมรมไอคิโด จุฬาฯ ๙ หลักการไอคิโด ... ชมรมไอคิโด จุฬาฯ ๑๑ คำศัพทไอคิโด ... ชมรมไอคิโด จุฬาฯ ๑๒ ทาฝกไอคิโด : การเขาจับ หรือเขาโจมตี ... บก.กบ ๑๕ ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวของกับไอคิโด ...น.พ.กฤษณะชัย ไชยพร ๑๙ ศิลปะการตอสู ศิลปะกรรม ศิลปะธรรม ... วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ ๒๐ AIKIDO(KA) IN FOCUS: ณัฐพรรธ อิงสกุลสมบูรณ ๒๔ A SOFT ANSWER ...TERRY DOBSON แปลโดย ฮานีล คือทองฟา ๒๖ ฝกไอคิโดที่เทนโดกัง ... นฤมล ธรรมพฤกษา ๓๐ มาเยี่ยมมาเยือน : PETER MACLEAN ๓๔ ขาวจากเรนบูกัง ๓๕ AIKIDO FAMILY: Aikido of South-East Asian Nations Fellowships ๓๖ ปฏิทินกิจกรรม ๓๖
บริพันธกุล นพ.กฤษณะชัย ไชยพร ชมรมไอคิโด จุฬาฯ
โฟกัส
วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ์ ฮานีล คือ ท้องฟ้า นฤมล ธรรมพฤกษา หน้า ๒
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
ยอดฝีมือ เขียนโดย จอร์จ เลียวนาร์ด
แปลโดย ผศ.ดร. สมบัติ ตาปญญา
ตอนที่ 6 นำเรื่อง ! มนุษยเกิดมาพรอมกับเครื่องมือที่จะ ชวยในการเรียนรูและเขาสามารถเรียนรูไดอยาง มากมายมหาศาลตั้งแตเกิดจนตาย และสิ่งนี้เอง ที่แยกมนุษยออกจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ทั้งหมด ใน ยุคตางๆ มีผูใหคำนิยามความเปนมนุษยไว หลายแบบ เชน เปน สัตวกอสราง สัตวทำงาน และสัตวนักสู และคำนิยามเหลานี้ลวนขาด ความสมบู ร ณ แ ละท า ยที ่ ส ุ ด แล ว ก็ ไ ม ต รงกั บ ความเปนจริง มนุษยคือสัตวแหงการเรียนรูและ แกนแทของเผาพันธมนุษยุนี้ก็อยูตรงนี้เอง ! มองจากมุมนี้ก็คือความสามารถที่ไม ไดเกิดจากสัญชาติญาณที่ติดตัวมาแตกำเนิด เปนสิ่งที่แสดงลักษณะเฉพาะของมนุษยไดชัด ที่สุดยิ่งกวากิจกรรมใดๆ การเรียนรูอยางแรก และที่ทำไดดีที่สุดไมไดมีการจัดเตรียมอยางเปน ทางการใดๆ ทั้งสิ้น เพียงมีโลกเปนโรงเรียน เทานั้นก็เพียงพอแลว ! เราทุกคนลวนมีสวนรวมในการเดินทาง ไปสูความเปนยอดฝมือตั้งแตวัยเด็กตอนตนเมื่อ เราเรียนรูที่จะพูดหรือเดิน
! ผูใหญหรือเด็กที่โตกวาเราทุกคนรอบตัว เราลวนเปนครูสอนภาษา – เปนครูประเภทที่ยิ้มให เมื่อเราทำไดสำเร็จ ยอมใหเราลองผิดลองถูกได และมักจะไมชอบสอนแบบบรรยายติดตอกันนานๆ ตอมาดวยความชวยเหลือจากครูคนเดียวกันที่ให กำลังใจและไมเขมงวดกับเรา ประกอบกับแรงเสริม อยางทันทีและเด็ดขาดของแรงโนมถวง ซึ่งเปนครูที่ ดีที่สุดที่มีอยู ทำใหเราสามารถลุกขึ้นยืนและเดิน สองขาได แตถึงอยางนั้นเราก็อาจพูดไดวามนุษยได รับการจัดวางโดยพันธุกรรมใหใชภาษาและเดินดวย สองขาอยูกอนแลว
หน้า ๓
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
! ตอมาภายหลังตางหากที่เราตอง เรี ย นรู ท ั ก ษะซึ ่ ง ไม อ าจอาศั ย ความช ว ย เหลื อ จากสิ ่ ง รอบตั ว ได เป น ทั ก ษะที ่ พันธุกรรมของเราไมไดเตรียมมาใหกอน (เชน ในระยะแรกๆ ของวิวัฒนาการมนุษย เราไมเคยมีเครื่องบินไอพนหรือแกรนดเปย โนเลย) ยิ่งเราเขาสูวัยรุนและวัยผูใหญ เรา ก็ยิ่งตองคนหาประตูที่จะเปดออกไปสูความ เปนยอดฝมือมากขึ้นเรื่อยๆ ในบทที่หาถึง บทที่เกานี้ผูเขียนจะนำเสนอกุญแจหาดอก ที่จะชวยไขบานประตูเหลานี้ได ! การสอนอาจมาในหลายรูปแบบ การที่จะเปนยอด ฝมือในเรื่องใดเรื่องหนึ่งไมมีอะไรที่จะดีไปกวาการฝากตัว กุญแจดอกที่ 1 เปนศิษยของครูผูเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ไมวาจะเปนการ การสอน เรียนแบบตัวตอตัวหรือแบบกลุมเล็กๆ ก็ตาม แตยิ่งกวา ทั ก ษะบางอย า งเราอาจเรี ย นรู นั้นเรายังมีหนังสือ ภาพยนตร เทป โปรแกรมการเรียน ดวยตัวเอง และอีกบางอยางเราก็อาจลอง จากคอมพิวเตอร หรือสถานการณจำลองจากคอมพิวเตอร พยายามดูได แตถาหากคุณตั้งใจที่จะเขาสู (เชน ไฟลทซิมมูเลเตอร หรือโปรแกรมเครื่องบินจำลอง วิถีแหงความเปนยอดฝมือแลว สิ่งที่ดีที่สุด สำหรับหัดขับเครื่องบิน) การเรียนเปนกลุม เรียนใน ที่คุณจะทำไดก็คือตองหาครูที่ดีที่สุด คนที่ หองเรียน จากเพื่อนที่มีความรูในเรื่องนั้น ที่ปรึกษา ผูรวม เรียนรูดวยตัวเองจะมีความเสี่ยงอยูบาง วิชาชีพ หรือแมกระทั่งเรียนรูจาก “ทองถนน” (คือจาก สวน ดานที่เปนขอไดเปรียบก็มีอยูบาง ประสบการณในชีวิตจริง) แตถึงอยางนั้นเราก็ยังตองถือวา เชน คุณจะไมรูวามีอะไรที่ทำไมได คุณอาจ ครูหรือครูฝก (โคช) เปนมาตรฐานของการสอนในทุกรูป เดินไปในทิศทางที่เต็มไปดวยสิ่งมีคาซึ่งนัก แบบ เปนประทีปนำทางดวงแรกและดวงที่สวางที่สุดใน สำรวจสวนใหญคิดไมถึง บางคนที่เปนครู การเดินทางไปสูความเปนยอดฝมือ ของตัวเองก็สามารถประสพความสำเร็จได ! การคนหาครูที่ดีเริ่มจากการตรวจสอบคุณสมบัติ เชน เอดิสัน หรือ บัคมินสเตอร ฟูลเลอร และเชื้อสาย เชน ใครคืออาจารยของครูคนนี้ ใครคือ (วิศวกรและนักประดิษฐที่มีชื่อเสียง) แต อาจารยของอาจารยทานอีกที? ยอนไปเรื่อยๆ จนถึงยุคที่ สวนใหญแลวจะใชชีวิตใหหมดไปกับการ ตัวบุคคลเลือนหายเขาไปในตำนานของการเริ่มตนแลว พยายามประดิษฐวงลอขึ้นมาใหม (คือเสีย แมวาวิธีนี้อาจฟงดูลาสมัยไปแลวในยุคปจจุบัน แตมันก็ยัง เวลาไปคิ ด ทำสิ ่ ง ที ่ ม ี ค นทำไว ก อ นแล ว ) เปนวิธีที่ดีอยู (แมเทปหรือหนังสือ หรือโปรแกรม เทานั้นเอง คอมพิวเตอรก็ยังมีตนตระกูลหรือที่มา) หน้า ๔
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
! แตการยกยองคุณสมบัติก็ไมควรทำให คุณมองขามสิ่งควรพิจารณาอื่นๆ ไปเสียหมด อาจารยที่โฆษณาตัวเองวาเปนสายดำชั้นแปดใน วิทยายุทธสาขาหนึ่ง สายดำชั้นเกาในอีกสาขา หนึ่ง และเปนแชมปโลกรุนไลทมิดเดิ้ลเวททั้งสอง วิชา อาจเปนครูที่ไมเอาไหนก็ได จอหน แมคเอน โร (นักเทนนิสชื่อดัง) อาจกลายเปนครูที่วิเศษใน วัยชรา หรืออาจไมเปนก็ได การสอนของนัก ฟสิกสระดับรางวัลโนเบล อาจเปนยาพิษทางใจ สำหรับนักฟสิกสมือใหมก็ได ที่จริงแลวการที่คน ที่เปนยอดฝมือจะมาเปนครูชั้นหนึ่งก็เปนเรื่องที่ ไมงายทีเดียว การสอนตองอาศัยความออนนอม ถอมตัวในระดับหนึ่ง อยางนอยที่สุดครูจะตองมี ความสุขที่เห็นลูกศิษยไปไดไกลกวาตนเอง โคช ยิมนาสติก เบลลา คาโรล คงจะยากที่จะทำทาที่ เขาสอนให นาเดีย คอมมาเนสิ จากโรมาเนียและ แมรี่ ลู เรทตั้น จากสหรัฐได
! หากอยากเห็นครูชัดๆ ก็ใหดูที่ลูกศิษยของ ครูนั่นแหละ เพราะพวกเขาคือผลงานศิลปะของครู นั่นเอง ถาเปนไปได กอนที่จะตัดสินใจเลือกเรียนกับ ครูคนไหน ควรไปนั่งดูครูสอนกอนสักชั่วโมงหนึ่ง กอน โดยเนนการดูที่นักเรียน และยิ่งไปกวานั้นใหดู ที่ปฏิสัมพันธ ดูวาครูสอนโดยใชการชมเชยหรือ ตำหนิดุดา มีครูประเภทหนึ่ง ที่มักยกยองกันใน ตำนานแมหากไมมีอยูจริง วามีชื่อเสียงในการใหคำ ชมนอยที่สุด ในกรณีที่การสอนแบบนี้ไดผล จะเปน ไปตามหลักเศรษฐศาสตร เพราะคำชมหายากเหลือ เกิน เมื่อครูเพียงพยักหนานิดๆ หรือพึมพำวาใชได นักเรียนก็จะเห็นวาเปนคำชมที่มีคาอยางยิ่ง แตสิ่งที่ ไมไดผลแนนอน แมครูที่มีมาดหาวบางคนจะเชื่อวา ไดผลก็ตาม ก็คือการดูถูกเหยียดหยาม ประจานให ไดอาย หรือวิธีใดๆ ก็ตามที่ทำลายความมั่นใจและ ความภูมิใจในคุณคาของตนเองของนักเรียน แม กระทั่งครูที่ตระหนี่คำชมก็ยังตองแสดงทาทีเคารพ ศักดิ์ศรีนักเรียนในทางใดทางหนึ่ง หากจะ ให ไ ด ผ ลดี ใ นระยะยาว ครู ท ี ่ ด ี ท ี ่ ส ุ ด จะ จอหน วูดเดน พยายามชี้ใหนักเรียนเห็นสิ่งที่เขาทำถูก อยางนอยใหบอยพอๆ กับที่ชี้ใหเห็นวา นักเรียนทำอะไรผิด ซึ่ง จอหน วูดเดน โคช บาสเกตบอลของ UCLA ที่ถือกันวาเปน ยอดแหงโคชที่เคยมีมาในประวัติศาสตร ของบาสเกตบอล ได ท ำอยู ต ลอดเวลา หลายป ข องการเป น ครู ท ี ่ ป ระสพความ สำเร็จสูงสุดของเขา มีผูสังเกตวาเขาจะให คำชมและคำวิจารณเปนสัดสวนเทาเทียม กันคือ หาสิบ/หาสิบเปอรเซ็นต และเต็มไป ดวยความกระตือรือรนในการทำทั้งสอง อยางตลอดเวลา หน้า ๕
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
! ลองสังเกตดูนักเรียนและการปฏิสัมพันธระหวางครูกับนักเรียนอีกครั้ง ครูใหความสนใจกับ นักเรียนที่มีพรสวรรคและฝมือล้ำหนาคนอื่นๆ เปนพิเศษหรือเปลา? แลวคนที่เกๆ กังๆ และคนที่เพิ่ง หัดใหมละ? บางทีคุณอาจกำลังดูครูประเภทที่ชอบสอนเฉพาะนักเรียนที่เกงที่สุด ที่มีโอกาสจะเปน แชมปเทานั้นก็ได ครูประเภทนี้มีอยูจริงและก็มีประโยชน แตสำหรับผูเขียนแลว หัวใจของความเปนครู นาจะอยูที่ความสามารถที่จะสอนคนมือใหมไดดีและดวยความกระตือรือรน และเปนผูนำทางคนที่ไมเร็ว หรือมีความถนัดเทากับคนทั่วไป ใหไปสูความเปนยอดฝมือได เราอาจเรียกการสอนในลักษณะนี้วา เปนการเสียสละ แตที่จริงแลวมันเปนมากกวานั้น เพราะการที่จะเขารวมในการเรียนรูของผูเริ่มเรียน ใหมที่ตองเผชิญกับความผิดพลาดในการเคลื่อนไหวทั้งทางรางกายและความคิดเพื่อเรียนรูทักษะใหมๆ ไมเพียงแตเราจะตองแทงทะลุเขาไปใหถึงโครงสรางภายในของทักษะนั้นเทานั้น แตตองเขาถึง กระบวนการของการไปสูความเปนยอดฝมือดวย ความรู ความเชี่ยวชาญ ทักษะดานเทคนิค และ คุณสมบัติที่มีปริญญาหรือประกาศณียบัตรรับรองลวนมีความสำคัญ แตถาปราศจากความอดทนและ เขาถึงจิตใจของนักเรียนซึ่งจำเปนตองมีในการสอนผูเริ่มตนเสียแลว คุณสมบัติเหลานั้นก็ไรความหมาย โดยสิ้นเชิง ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! (โปรดติดตามตอนตอไป) ภาพจาก http://www.kidport.com/ http://www.uclalumni.net/eNewsletters/Connect/Mar07/Mar07_SD.htm http://www.farrer.provo.edu/staff.htm
หน้า ๖
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
หยิน-หยาง: พลวัตออน-แข็ง ในปฏิสัมพันธของไอคิโด (ตอนที่1)
อ.ธีระรัตน บริพันธกุล
! เหตุ ใ ดไอคิ โ ดจึ ง ถู ก จั ด เป น ศิ ล ปะการ ปองกันตัวแบบออน? ! ในการฝกไอคิโด ผูกระทำเปนผูใชความ รุนแรงหรือความแข็ง และโดยกฎของนิวตันแลว แรงกระทำทำใหเกิดแรงปฏิกิริยาที่เทาๆกัน แรง กระทำที่แข็ง(หยาง)จะกอใหเกิดแรงตานที่ออน (หยิน)ดังนั้นผูที่เปนนาเงะจะตอบโตอุเกะดวย ความออน ! ก อ นอื ่ น ต อ งทำความเข า ใจให ถ ู ก ต อ ง กอนวาคำวาออนหมายถึงอะไร? ความออนใน ไอคิโดกวาจะไดมาตองผานการฝกฝนมาอยาง หนัก โดยเฉพาะอยางยิ่งในการรักษาความสมดุล ในการเคลื่อนไหวอันจะนำมาซึ่งความกลมกลืน ! การต อ สู ค วามแข็ ง ด ว ยความแข็ ง ก็ เสมือนกฏตาตอตา ฟนตอฟนยอมไมใชหลักการ ของไอคิโด การตอสูความออนดวยความออนก็ ยอมไมใชหลักการของไอคิโดเชนกัน แทจริงแลว การจัดการความแข็งตองใชพลังที่ออนและการ จัดการกับออนตองใชพลังที่แข็ง เชนเดียวกับ พลังขั้วลบตองจัดการดวยพลังขั้วบวกและพลัง จากขั้วบวกตองจัดการดวยพลังขั้วลบ ! ความสมดุลของพลังแข็งและออน จึง เปนพลังที่แข็งแกรงและนำไปสูความกลมกลืน หากพลังแข็ง-ออน(หยาง-หยิน)ไมสมดุลจะทำให เกิดความสับสนและความไมกลมกลืน
! ในระหวางการฝกเทคนิก โชแมงอุจิ อิริมิ นาเงะ ผูที่เปนอุเกะใชพลังแข็ง(หยาง)โดยมีทิศทางแรง จากบนลงลาง(พลังดิน) สวนนาเงะใชพลังออน(หยิน) ทิศทางแรงจากลางขึ้นบน(พลังฟา) หากนาเงะโนมนำ พลั ง หยางให ส มดุ ล กั บ พลั ง หยิ น ได ก ็ จ ะเกิ ด ความ กลมกลืน นาเงะจึงสามารถที่จะนำอุเกะไปในทิศทางที่ ตนเองปรารถนาได นาเงะเปนผูใชเทคนิกไอคิโดจึงเปน แหลงศูนยกลางแหงพลัง กระแสหยิน-หยางจะไหล รอบๆตัวนาเงะดุจดังกระแสไฟฟาขั้วบวก-ลบที่หมุน รอบๆนิ ว เครี ย สของอะตอม เนื ่ อ งจากนาเงะเป น ศูนยกลางแหงจักรวาลของอุเกะ อุเกะจึงยอมที่จะให นาเงะควบคุมโดยดุษฎี ยิ่งการโจมตีรุนแรงมากเทาไร การตอบโต ก ็ จ ะยิ ่ ง อ อ นและความสามารถในการ ควบคุมก็จะยิ่งมากขึ้นเทานั้น
ภาพจาก http://www.orientaloutpost.com/proddetail.php?prod=0yyf
หน้า ๗
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
! หยินอาจเปลี่ยนเปนหยาง หยางก็อาจ แปรเปลี่ยนเปนหยิน พลังสลับสับเปลี่ยนยอม เกิดขึ้นไดในชองวางขณะหนึ่งที่หัวใจกำลังเตน หรืออาจเปนณ.ชวงเวลาหนึ่งที่อุเกะและนาเงะมี การเปลี่ยนพลังหยินเปนหยางซ้ำกันหลายๆครั้ง ก อ นที ่ ค นใดคนหนึ ่ ง จะรั ก ษาความสมดุ ล และ ควบคุมอีกฝายหนึ่งได
! ปฏิสัมพันธระหวางแข็งกับออน ระหวาง หยางกับหยินยอมเปนพลวัตและมีพลังยิ่ง พลังใน ไอคิโดไมไดมาจากพลังออนของนาเงะเพียงอยาง เดี ย วแต ย ั ง มาจากความสมบู ร ณ ข องวงกลมและ ความกลมกลืนที่สรางขึ้นมาในภายหลัง ดังนั้นการ ควบคุ ม ด ว ยพลั ง ที ่ ส ร า งสรรค จ ึ ง เป น หั ว ใจของ ปฏิสัมพันธของไอคิ ! จริ ง อยู แ ม ว า ความสมดุ ล และความ กลมกลืนจะเปนสิ่งที่สรางสรรคและสวยงาม แตหาก เราผะวงหรือติดยึดกับขั้นตอนที่จะทำใหเกิดความ สมดุลหรือความกลมกลืนมากเกินไปก็อาจนำไปสู พลังทำลายลางและสูญเสียปฏิสัมพันธที่มั่นคงได ตัวอยางเชน อุเกะและนาเงะตางก็พยายามจะรักษา สมดุลของตนเองเอาไวก็คงจะไมมีใครที่จะยอมลมลง ตางคนตางก็จะเอาชนะกันซึ่งทำ การฝกไมกาวหนา
! นาเงะ ส ว นใหญ ม ั ก จะ เข า ใจว า ความ สมดุลและความ กลมกลืนคือความ อ อ น และความ อ อ นก็ ค ื อ ไอคิ โ ด แทจริงแลวใน หลายๆสถานการณ ที่นาเงะจำเปนจะตองใชความแข็งดวย ! นักไอคิโดบางคนอาจทำใจยอมรับความ แข็งไมได โดยคิดวาการตอบโตความออนดวย ความแข็ ง เป น การทำลายจื ต วิ ญ ญาณแห ง ไอคิ อย า งไรก็ ต ามเราควรทำความเข า ใจให ถ อ งแท วาการรักษาความสมดุลระหวางหยิน-หยางไวได นั้น หากจะใชความออนจัดการกับความออน หรือ อุเกะและนาเงะตางก็ใชพลังออนในเวลาเดียวกัน ในกรณีนี้ศูนยกลางของทั้งคูจะขัดแยงกัน ขาด ความสมดุลและไมกลมกลืน การโนมนำสูความ สมดุลไดจำเปนตองทำใหเกิดการทำงานที่ตรงขาม ที่สมดุล(counterbalance) ดังเชนการทำงานที่ ตรงขามกันของขั้วบวกกับขั้วลบ ดังเชนพลัง หยินที่ตรงขามกับพลังหยางและดังเชนความแข็งที่ ตรงข า มกั บ ความอ อ นที ่ ต า งอยู ร ว มกั น ได อ ย า ง สมดุล (โปรดติดตามตอนที่ 2 ในฉบับตอไป)
หน้า ๘
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
รวบรวมโดย ชมรมไอคิโด จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย
ประวัติของไอคิโด
! “ไอคิโด” เปนที่รูจักนิยมแพรหลายใน ประเทศญี่ปุน และประเทศแถบทวีปอเมริกา ยุโรป มาเปนเวลานานกวา 80 ปแลว และใน ทวีปเอเชียก็กำลังนิยมฝกหัดอยูไมนอย ไดแพร หลายเขามาในประเทศ ไทยตั้งแตป พ.ศ. 2504 จนถึงปจจุบันนี้ และเปนที่นิยมในหมู ขาราชการ ทหาร ตำรวจ นิสิต นักศึกษา และ ประชาชนเปนจำนวนมาก ! ศิลปะการตอสูพิเศษซึ่งพัฒนาขึ้นมาโดย ปรมาจารย โมริเฮอิ อูเอชิบา ซึ่งในญี่ปุนถูกเรียก วา “ไอคิโด” นี้ไดรวมเอาวิธีการปองกันตัว/ตอสู ซึ่งนำมาจากการตอสูดวยดาบ/หอก , jujitsu, aiki-jitsu และศิลปะการตอสูแบบโบราณอื่นๆ ซึ่ง มุงเนนการฝกปรับวิธีคิด และธรรมชาติของ รางกาย การรักษาศูนยกลาง ทั้งดานความคิด และการกระทำ และการจะนำ “คิ” หรือพลัง ภายในซึ่งเปนลักษณะเดนอีกอยางของไอคิโดมา ใชนั้น รางกายและจิตใจของเรา จะตองผอนคลาย เปนธรรมชาติที่สุด เสมือนกับการดึงเอา ธรรมชาติอันเปนรากฐานเดิมของมนุษยกลับมา นั่นเอง “ไอคิโด” เปนศิลปะที่มีเอกลักษณเฉพาะ ตัว
!
!
! สิ่งที่อาจจะแสดงใหเห็นในครั้งแรกอาจ จะเห็นไดวา เปนการใชยุทธวิธีในการปองกัน ตนเอง จากการโจมตีทุกรูปแบบ ซึ่งโดยความ จริงแลว ไอคิโดไมเพียงเปนการปองกันตนเอง โดยใชวิธีการที่มาจาก Bujitsu ศิลปะของ นักรบญี่ปุนเทานั้น แต “ไอคิโด” ยังมีจุดซึ่ง ดึงดูดผูคน ใหมา ทำการฝกฝนยังโดโจ (Dojo) หรือสถานที่ฝก จุดดังกลาวนี้ก็คือ "ระเบียบวินัยในการเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน" ! หลังจากชวงเวลายาวนานในอดีตของทาง เปนวิธีการในการเพิ่มความแข็งแกรงของ ประเทศซีกโลกตะวันออก ในชวงเวลาที่ศิลปะการ รางกาย และจิตใจ โดยการรวมกันของ ตอสู เปนที่รูจักเพียงในวงจำกัด “ไอคิโด” ไดถูก รางกาย และจิตใจนี้จะชวยใหเขา หรือเธอ ขนานนามวาเปนหนึ่งในศิลปะการตอสู ที่ออนโยน กลายเปนมนุษยที่มีความสมบูรณ ความหมาย และ ละเอียดออนแขนงหนึ่ง และในระดับสูงๆ ของ คำวา “ไอคิโด” หมายถึง " วิธีหรือวิถีใน เปนการฝกฝนระเบียบวินัยในการพัฒนา การรวม การรวม หรือการเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน" ของ พลัง และ การเปน อันหนึ่งอันเดียวกันของกำลัง พลังทางวิญญาณ กับ พลังทาง กาย และใจของมนุษยอยางมีประสิทธิภาพ กาย หน้า ๙
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
! 2. “ไอคิโด” มีลักษณะเดนอยูที่ ใชวิธี การควบคุมแรง และจูงใจฝายตรงขาม เปน ศิลปยุทธที่อาศัยจิต หรือพลังภายในประสาน กับการเคลื่อนไหวของรางกาย ควบคุมคูตอสู โดยใชแรงของฝายตรงขามใหยอนกลับไปหา ตัวเขาเอง (สุภาพสตรีฝกไดดี เพราะไมตอง ใชกำลังของตัวเองมาก) ! 3. “ไอคิโด” เปนศิลปะการจับควบคุม นำพาโดยสุภาพ และหากเราตองการก็ สามารถเพิ่มความเจ็บปวด และอันตราย เขาไปในกระบวนทาได (แตเราก็ไมสอนให ทำ) ! 4. “ไอคิโด” สามารถปองกันตัวจาก การกระทำทุกรูปแบบ ทั้งมือ เทา และอาวุธ ในระยะประชิดตัว รวมไปถึงวิธีการแก การ ถูกจับกุม และถูกล็อคตางๆ (เชน ถูกล็อคคอ โดยมีมีดจี้หลัง) ! เหตุใดเราจึงกลาววา “ไอคิโด” มีความเปน เอกลักษณเฉพาะตัว? ศิลปะการปองกันตัวเกือบ ทุกแขนงสามารถกลาวไดวามีประสิทธิภาพในการ ปองกันตนเอง และสามารถฝกไดทุกเพศ ทุกวัย เชนกัน สำหรับขอแตกตางของ “ไอคิโด” นี้อยู ภายในแรงจูงใจ ซึ่งสงผลถึงลักษณะที่แสดงออก ในการฝก โดยมีรายละเอียดดังนี้ : ! 1. “ไอคิโด” เปนศิลปะเพื่อการปองกัน ตัวอยางแทจริง และโดยปรัชญานั้นการแขงขันจะ กอใหเกิดความขัดแยงระหวางมนุษย ซึ่งขัดกับ หลักปรัชญาที่วาดวยความรักของไอคิโด ดังนั้น ไอคิโดจึงไมมีการแขงขัน
! 5. “ไอคิโด” จะใชการปองกันตัวโดย การทุม และการล็อคขอตอตาง ๆ ของ รางกาย เชน ขอมือ ขอศอก ฯลฯ ! 6. “ไอคิโด” เปนศิลปยุทธที่ไมมีทา รุกหรือโจมตีกอน (เราไมทำรายใครแตก็ไมให ใครมาทำรายเราได) และมุงเนนทั้งปองกันตัว ใหปลอดภัย และปองกันไมใหฝายตรงขามได รับบาดเจ็บไปดวย
หน้า ๑๐
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
หลักการของไอคิโด
รวบรวมโดย ชมรมไอคิโด จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย
! หลักการของไอคิโด คือการฝกฝนตนเอง ในศิลปศาสตร และการใหความรัก (ai) ตอ ตนเอง ผูรวมฝก และคนทั่วไป ผูฝกไอคิโด (aikidoka) ที่สามารถยกระดับตนเอง ใหมีความ เชี่ยวชาญของศิลปศาสตรในระดับสูง ไมเพียงแต จะสามารถใชไอคิโด ในการปองกันตนเอง แต เพียงอยางเดียว แตยังสามารถ ปองกันผูเขาโจมตี ไมใหบาดเจ็บไดดวย (แสดงวา ทานมีความรักตอ ผูอื่นดวย) ! จุดประสงคของการฝกฝนอยางหนักของ ไอคิโดนั้น ไมใชเพื่อเพิ่มความรุนแรงของการ ปองกันตัว แตเพื่อใหผูฝกหัด สามารถปองกันตัว เองไดอยางมีประสิทธิภาพ คือการไมใหตนเอง บาดเจ็บ และไมทำอันตรายตอผูโจมตี (ในกรณีที่ หลีกเลี่ยงได หรือตองการเลือกที่จะทำเชนนั้น)
! ผูฝกไมสามารถศึกษาเทคนิคของไอคิโด จากการสังเกตุเพียงอยางเดียว การเรียนรู มา จากการสังเกต การปฏิบัติซ้ำๆ และการแกไข ขอผิดพลาด
! การฝกไอคิโด เปนกระบวนการในลักษณะ 'รวมกัน' (cooperative) ไมใชการ 'แขงขัน' (competitive) ผูฝกทุกเพศ และทุกวัย สามารถ รวมฝกซอมไดอยางเต็มที่ โดยปราศจากความ รุนแรง และ สามารถกาวหนาไปตามความ สามารถของตนเอง
! ผูฝก ควรเปดใจใหกวาง และควรระลึก เสมอวา เทคนิคที่ฝกยังไมสมบูรณ 100 เปอรเซ็นต เราสามารถหาจุดบกพรอง และ ปรับปรุงใหดีขี้นไดเสมอ อยาลืมวา 'ถวยที่มี ชาเต็มอยู ยอมไมสามารถรินชาเพิ่มไดอีก'
! ไอคิโด ไมใช 'อาหารจานดวน' ที่สามารถ เรียนรู และเชี่ยวชาญไดในเวลาอันสั้น ผูฝกตองมี ความอดทน ในการฝกซอม เปนเวลานาน จึงจะ สามารถซึมซับเทคนิคตางๆ ไดอยางถองแท ผูที่ ฝกมาเปนเวลาหลายสิบป
! ผูฝก ไมควรยึดติดกับคูซอมเดิมตลอด เวลา การฝกซอมกับคูฝกอื่น ที่รูปรางเล็กกวา ใหญกวา สูงกวา เตี้ยกวา ผอมกวา อวนกวา ตางเพศ ตางวัย จะทำใหเรียนรูถึงการตอบ สนองที่ตางกัน ทำใหผูฝกเขาใจเทคนิคได ถองแทขึ้น หน้า ๑๑
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
ไอคิโด: คำศัพท Aikido ! เปนคำรวมมาจาก Ai หมายถึง ความคลองจอง เปนหนึ่งเดียว ความรัก Ki หมายถึง สปริต จิตใจ พลังจักรวาล และ Do หมายถึง วิถี เมื่อ แปลโดยรวมหมายถึง วิถี การเปนหนึ่งเดียวกับ วิถีของจักรวาล Atemi ! การโจมตีเขาโดยตรงใสผูที่เขามา ทำราย เพื่อหัน เหความสนใจ ทำใหชะงัก หรือ ทำใหฝายที่เขา มาทำรายนั้นเสียสมดุล เปน การสรางโอกาสให สามารถทำเทคนิคของ ไอคิโดไดงายขึ้น Bokken ! ดาบไม Dan+ + ระดับขั้นของสายดำ Dojo ! โรงฝก Doshu ! ตำแหนงที่ใหเพื่อเปนเกียรติ ! ! สำหรับ Master ของศิลปศาสตรนั้น Kyu ! ระดับขั้นของชั้นต่ำกวาสายดำลงมา Gokyo ! ทาหักล็อคขอมือทาที่ 5 Hakama ! กระโปรงกึ่งกางเกง เปนเครื่อง! ! แตงกายสำหรับ ชั้นสายดำขึ้นไป ! ! ในบางแหงผูหญิงอาจสวมฮากามาไดแม! ! ไมไดอยูระดับสายดำ Hanmi ! การยืนโดยยื่นเทาดานหนึ่งมา!! ! ดานหนา Hanmi Handachi ! ทาที่ฝาย nage อยูในทา! ! ! คุกเขาและ uke อยูในทายืน
รวบรวมโดย ชมรมไอคิโด จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย
สะดือ
ฮาระ
Hara ศูนยกลางมวลของบุคคล ตำแหนงอยู! ! บริเวณ 2 นิ้วต่ำกวาสะดือ เชื่อกันวาเปน! ! แหลงกำเนิดของคิ Ho ทาบริหาร Irimi การเคลื่อนเขาหา, เปนการเคลื่อนที่สัม! ! พัทธกับผู เขาโจมตี โดยมีจุดมุงหมายเพื่อ ! ! ไมใหอีกฝาย สามารถโจมตีไดอยางสะดวก ! และทำใหเรา สามารถควบคุมสมดุลของผู! ! เขาโจมตีไดอยางมี ประสิทธิภาพ Jiyuwaza !ทาฟรีสไตล บางครั้งอาจใชคำวา ! ! ! Randori Jo พลองทำจากไม มีความยาว 4-5 ฟุต Kaeshi waza ! ทาแก ; เมื่อ uke กลับ ! ! ! กลายเปน nage หน้า ๑๒
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
Kaiten !
การหมุนรอบแกน
Kamae ! ทายืนเตรียมพรอม ; ในไอคิโด! ! ! รางกายและจิตใจ จะมีความ! ! ! สัมพันธกัน การยืนที่มั่นคง ! ! ! ไมเสีย สมดุลจะสงผลถึงจิตใจ! ! ! และทัศนคติในลักษณะเดียวกัน Kata ! ! ! ! !
O-sensei ! หมายถึงปรมาจารยโมริเฮอิ !! ! ! อุเอชิบะ ผูคิดคนไอคิโด Omote ! ! !
ดานหนา ; การเคลื่อนที่ของ nage มายัง ดานหนาของ uke
Osae !
การล็อค
ไหล หรือลักษณะการ!! Rei ! ! เคลื่อนไหวที่มีแบบแผนแนนอน ! Ryote ! เชน ทาในการฝก Jo
!การเขาจับโดยทีฝ่ า ย uke ใชมอื ! Sensei ! ขางหนึ่ง จับมืออีกขางหนึ่งของ Shihan ! nage เชน uke ใชมือซายจัับ! มือขวาของ nage Shiho ! Katatori ! การเขาจับโดยที่ฝาย uke จับ! Shikko ! ! ! ไหลของ nage Katatetori ! ! ! ! ! !
คำนับ สองมือ อาจารย อาจารยใหญ, อาจารยของอาจารย สี่ทิศ การเดินเขา
Kokyu ! การหายใจ ; ในไอคิโดจะฝก การหายใจให ประสานไปกับการเคลื่อนไหว ตัวอยางที่อาจทำ ใหเห็นภาพได เชน การยก ของหนักจะทำไดงาย ขึ้นหากเราหายใจออก นอกจากนี้การฝกการ หายใจยังชวยใหมีสมาธิ ดีขึ้น และเปนการผอน คลายความเครียด Kosa !
ทางขวาง ตามแนวเสนทแยงมุม
Koshi !
สะโพก
Ma ai ! ! !
ระยะหางที่เหมาะสมระหวาง ! uke และ nage
Mokuso !
ทำสมาธิ
Nage !
ทุม, คนทุม
ภาพจาก http://www.aikido.waw.pl/pol/ techniki/shikko_podstawy.htm
หน้า ๑๓
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
การยืน Ai hanmi การยืนดานเดียวกัน หมายถึง การยืนหันหนา เขา หากัน โดยที่ฝาย uke และ nage ยื่นเทาขาง เดียวกันมาดานหนา Shomenuchi การโจมตีลง ณ จุดศูนยกลาง! ! ! ของศีรษะ Suburi ! ! !
ทาพื้นฐานของการฝก bokken ! และ jo
Suwariwaza เทคนิคที่ uke และ nage ลวน! ! ! อยูในทานั่ง Tanto !มีด Tenkan ! การหมุนรางกาย 180 องศา Tsuki !
การชก
Uke !! ! ! ! !
คนถูกทุม ; ฝายทีเขาโจมตี! กอนแลวรับผลจากการทำ! เทคนิค!ของไอคิโดจาก nage
Ukemi !
การลม
Undo !
การบริหารรางกาย
Ura ! ! !
ดานหลัง หมายถึงเทคนิค! ตางๆ ที่ผูทำเทคนิคนั้นจะ! เคลื่อนที่หรือหมุนตัวเขาไป! ทางดานหลังของผูโจมตี
!! ! ! !
Ushiro ! ! !
ไปทางดานหลัง เชน ushiro ! ukemi หมายถึงการ ลมหลัง
Gyaku hanmi การยืนตรงขาม หมายถึง การยืนหันหนาเขาหา กันโดยที่ฝาย uke และ nage ยื่นเทาคนละขาง กันมาดานหนา
ภาพจาก http://www.stenudd.com/aikido/ aikido-attacks-aihanmi.htm
หน้า ๑๔
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
ทาฝกไอคิโด: การเขาจับหรือเขาโจมตี ชื่อท่า
ภาพประกอบ
คําอธิบาย
GYAKU HANMI KATATE DORI
ยืนแบบยาคุ-ฮันมิ (เทาคนละ ขางอยูขางหนา) เชน นาเงะ เทาซายอยูขางหนา สวนอูเกะ เปนเทาขวา อูเกะใชมือขวาจับ ขอมือซาย
AI HANMI KATATE DORI
ยืนแบบไอ-ฮันมิ (เทาขาง เดียวกันอยูขางหนา) เชน เทา ขวาอยูขางหนาเหมือนกัน และ ใชมือขวาจับขอมือขวา
KATATE RYOTE DORI (MOROTE DORI)
อูเกะใชสองมือ จับขอมือขาง หนึ่งของนาเงะ
RYOTE DORI
อูเกะใชสองมือ จับขอมือทั้งสอง ของนาเงะ
USHIRO RYOTE DORI
จับ 2 มือจากดานหลัง
หน้า ๑๕
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
ชื่อท่า
ภาพประกอบ
คําอธิบาย
USHIRO RYO HIJI DORI
ล็อคแขนสองขางจากดานหลัง
USHIRO DORI
กอดจากดานหลัง
USHIRO (RYO) KATA DORI
Ushiro ryokata tori จับไหล จากดานหลัง Ushiro tekubi tori จับขอมือ จากดานหลัง
RYOKATA DORI
สองมือจับไหลทั้ง 2 ขาง
MUNE DORI
มือขางหนึ่งจับคอเสื้อ
KATA DORI
มือขางหนึ่งจับไหล
หน้า ๑๖
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
ชื่อท่า USHIRO KUBI SHIME
USHIRO KATATE DORI KUBI SHIME SHOMEN UCHI
YOKOMEN UCHI
CHUDAN TSUKI
JODAN TSUKI
ภาพประกอบ
คําอธิบาย
การล็อคคอจากดานหลัง
การล็อคคอจากดานหลัง อีกมือ หนึ่งจับขอมือของนาเงะไว
ฟนลงตรงกลางศีรษะ
ฟนทแยงตรงดานขางของศีรษะ
การชกตรงไปที่ตำแหนงทอง
การชกสูง ตรงไปบริเวณใบหนา
หน้า ๑๗
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
ชื่อท่า
ภาพประกอบ
คําอธิบาย
KATA DORI MEN UCHI
มือหนึ่งจับคอเสื้อ อีกมือฟน
MAE GERI
เตะเขากลางลำตัว
USHIRO ERI DORI
จับคอเสื้อจากดานหลัง
SODE DORI
RYO HIJI DORI
จับไหลจากดานขาง
จับศอก
จากเวบไซต http://free.of.pl/a/aiki/index.php?id=ataki และ http://zorbaelbuda.wordpress.com/2007/02/16/tecnicas-de-aikido/
และ http://pagesperso-orange.fr/judoclubdelongueau/ceinture/vingttechniques.htm หน้า ๑๘
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวของกับไอคิโด นพ.กฤษณชัย ไชยพร Aikido ศิลปะการต่อสู้ที่เน้นความกลมกลืน, ความพอดี, การประสานกัน Practice การฝึก (การฝึกเป็นส่วนที่ใหญ่ที่สุดของไอกิโด้) Regular อย่างธรรมดา อย่างสม่ําเสมอ (การฝึก ควรฝึกอย่างสม่ําเสมอ) Save รักษาความปลอดภัย (ดูแลความปลอดภัยทั้งของตนเองและเพื่อน) Gently อย่างเบา อย่างนุ่มนวล (ใหม่ๆฝึกเบาๆนุ่มนวลก่อนก็ได้) Slow ช้า (ใหม่ๆฝึกช้าๆก็ได้) Flow ไหล (การเคลื่อนไหวควรต่อเนื่อง เหมือนน้ําหรือคลื่น) Oneness เป็นหนึ่งเดียวกัน Conscious รู้สติ รู้ตัวอยู่ (พิจารณาอยู่เสมอ) Feel รู้สึก Natural เป็นธรรมชาติ เป็นไปตามธรรมชาติ Harmony ความกลมกลืน Distance ระยะ Stance ท่า Position ตําแหน่ง Direction ทิศทาง Movement การเคลื่อนที่ 4 dimensional แบบสี่มิติ Curve โค้ง Line เส้น แนว Enter เข้า Turn หัน หมุน Velocity ความเร็ว Mass มวล (ใช้มวลของร่างกายให้เป็นประโยชน์) Timing จังหวะ Spirit จิต Courage ความกล้าหาญ Confidence ความมั่นใจ
Flexibility ความยืดหยุ่น อ่อนตัว แปรเปลี่ยนได้ Stability ความเสถียร ความมั่นคง Balance สมดุล Protection การป้องกัน การปกป้อง Powerful มีพลัง Connect เชื่อมโยง Distract ทําให้เขว Blend ปน Deflect เบน Lead นํา Control ควบคุม Mechanical advantage ได้เปรียบเชิงกล Fulcrum จุดหมุนของคาน Lever คาน Gravity แรงดึงดูดระหว่างมวล Anatomy กายวิภาค Together ด้วยกัน Friend เพื่อน Foe ศัตรู Enemy ศัตรูคู่อริ Rival คู่แข่ง Opponent ฝ่ายตรงข้าม Villain คนชั่ว Correct ถูกต้อง, แก้ไขให้ถูก Do it right ทําให้ถูก Endurance ความทนทาน Speed ความเร็ว (เป็นสิ่งที่เพิ่มทีหลังได้) Force แรง (เป็นสิ่งที่เพิ่มทีหลังได้) Impolite ไม่สุภาพ (คนส่วนมากไม่ชอบ) Bold บ้าบิ่น Aggression ความก้าวร้าว (โปรดเอาไปใช้ที่อื่น) Ego ตัวกู (มีน้อยๆหน่อย) Compete แข่งขัน Violence ความรุนแรง (ตอนนี้ยังไม่ต้องมี)
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
ศิลปะการต่อสู้ ศิลปะกรรม ศิลปะธรรม จาก http://gotoknow.org/blog/culturalgarden/166967
วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ์ (เวา)
! ขึ้นชื่อวาศิลปะการตอสู ชื่อก็บอกอยู แลววาเปนการแสดงศิลปะ แตในแงศิลปะ เมื่อเทียบกับในแงของกีฬาแลว ศิลปะมักจะ ถูกสังคมจัดวางใหอยูปลายแถว ในขณะที่ กีฬาถูกยกระดับใหเปนเรื่องชั้นแนวหนาของ โลก เปนเรื่องของความเปนแมน ความเปน คนมีคุณภาพ ขนาดที่วา ถาหนุมโสดคนไหน ไมชอบกีฬา ก็จะถูกสังคมวารายไปตางๆ นานา ! ผมคนหนึ่งละที่ไมคอยสนใจกีฬา แตโชคดีที่มีครอบครัวแลว ก็เลยรอดจากการ ถูก “ปะปาย”ดังกลาว ! ดูหนังสือและสื่อตางๆ ก็เปนตัวอยางไดวา ถึง ขนาดที่ยังมีหนังสือนิตยสารกีฬา มีหนังสือพิมพกีฬา มี สถานีโทรทัศนชองกีฬาเอาใจมวลชนโดยเฉพาะ ในขณะ ที่แงมุมสุนทรียทางศิลปะกลายเปนเหมือนโลกของคน เพอฝน ถึงจะมีนิตยสารกะเขาอยูบาง แตก็เทียบยอด ขายกันไมไดเลย ! ถาจะใหศิลปะขายได ก็ตองเนนไปเชิงพาณิชย คือมุงกระตุนกิเลสใหคนใชอารมณรัก รุมรวยอารมณ หลง อารมณโกรธ ยิ่งกระชากเอาอารมณดิบๆออกมา เทาไร ยอดขายก็มีโอกาสจะดังระเบิดเถิดเทิง กวาจะรู เดียงสาผูบริโภคก็เสพติดหู ดูติดตา แลวแบงครอย (หลายๆใบ) ก็ถูกควักจากกระเปาออกมา โดยที่เจาของ ไมทันรูตัว
! ผมไมใชศิลปนนะครับ แตเปนคนรักในศิลปะ ก็พอจะนึกไดวา สุนทรียะทางศิลปะไมใชสิ่งที่มุง กระตุนสันดานดิบของมนุษย แตสุนทรียะนาจะหมาย ถึงความงดงามวิจิตรบรรจง ทำใหผูเสพผลงานศิลปมี จิตใจที่ยกระดับขึ้น หมายถึง มีใจประณีต ละเอียด ออน เขาถึงตัวเอง และเขาใจผูอื่น นำไปสูจิตวิญญาณ ที่ผองแผว ไมตีบตัน เห็นชีวิตตัวเองมีคุณคาสัมพันธ เชื่อมโยงกับคุณคาของผูคนและธรรมชาติที่อยูรอบๆ ! อยางไรก็ตาม เราก็ปฏิเสธไมไดวา โลก ปจจุบัน กำลังดูดกลืนตัวเองอยางบาคลั่งไปดวยแรง บดขยี้จากการแขงขันในทุกระดับ แมแตศิลปะหรือผูที่ เปนศิลปน จะอยูรอดได ก็ดวยการชิงความเปนเจา ยุทธจักรกับคนอื่นๆ เขาทำนอง “เผลอเปนถีบ งีบเปน เหยียบ” หน้า ๒๐
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
! แตก็ยังมีศิลปะบางแขนง ที่หลีกรอดและเลี้ยงตัว มันเองได แมจำตองปรับเปลี่ยนตัวเองไปตามกติกาโลก ทุนนิยม แตก็ยังคงมั่นใน “อุดมการณ”และ “สุนทรียะ” ในรูปแบบ “ศิลปะเพื่อมวลชน”อยู ! สังคมไทย ในอดีตเวลากลาวถึงศิลปน ไมวาจะ เปนศิลปนพื้นบานแขนงใด ผมคิดวาคำที่มีนัยยะอยูเบื้อง หลัง ก็คือ “เปนครู” ในที่นี้หมายถึง เปนผูมีอุดมการณใน การสอน เปนผูที่มีธรรมะและแสดงธรรมะผานการสอน ! ไปดูเอาเถอะ ไมวาจะเปน ศิลปะในเชิงชาง เชิง การแสดง งานสรางโบสถวิหาร ไปจนถึงสรางศาลเจาที่ ลิเก ลำตัด งานจิตรกรรม ประติมากรรม นาฏศิลป ศิลปน ที่เกงๆก็คือครูผูสอนศิลปกรรมเหลานี้ แตจะสอนและเปน ! หรือพูดงายๆ คือมีศิลปะธรรมนั่นเอง ที่ศรัทธาของสาธุชนจนระบือลือเลื่องได ก็ตองเปนผูมี ธรรมประจำใจ รูจักใชธรรมมะในการสอนศิลปะ ! ผมก็เลยสรุปเอางายๆตามความคิดของผมวา ในอดีต ศิลปกรรมกับศิลปะธรรม มันเปนเรื่องที่ สอดคลองไปดวยกัน ถาศิลปนมีแตศิลปกรรมแตไมมี ศิลปะธรรม ก็ยากที่จะไดรับการยอมรับจากสังคม ใน ขณะที่ถามีแตธรรมแตไรศิลปกรรม ก็ไรความดึงดูดใจ จากมหาชน ! ที่เลามานี่เพื่อที่จะโยงใยใหเห็นวา ดานลึกๆของ ไอคิโด ไมใชแคเปนศิลปะการตอสู แตผมคิดวาไอคิโด ยังเปนศิลปะธรรม หรือศิลปะในการแสดงธรรม ที่เซนเซ หรือผูสอนไดถายทอดผานทวงทาตางๆ ! ผมตีความเอาวา ไอคิโด ก็เหมือนกับศิลปะพื้น บานแขนงตางๆของไทย ที่ในอดีตเปนศิลปกรรมที่แยก ไมออกกับศิลปะธรรม ! เปนศิลปะการตอสูที่หลอมเปน เนื้อเดียวกับศิลปะธรรม หน้า ๒๑
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
! แมวันเวลาจะผานไป ยุคเงินตราคือศาสดาองคใหมของมนุษยชาติไดระบาดมาถึง จนกระทั่งจิตวิญญาณ ของศิลปะพื้นบานถูกทลายลงดวยสถาบันที่สรางและอาง “ศิลปน” อยาง อารเอส แกรมมี่ ฯลฯ ! แตไอคิโด ก็ยังทรงคุณคาอยูในพื้นที่เล็กๆของมัน แมจะมีการขยายตัวออกไปในเชิงพาณิชยมากขึ้น เพื่อ ความอยูรอดในสังคมโลก แตก็ยังคงมี “พอครู” “แมครู” จำนวนมากที่ยังครองตนดุจศิลปนที่ยึดมั่นในอุดมการณ ไวไดเปนอยางดี และยังคงแสดงศิลปะธรรมผานศิลปการตอสูแหงสันติแขนงนี้ ใหสานุศิษยไดเจริญรอยตาม อยางไมหยุดยั้ง
! ในแงพุทธศาสนิกชนและผูมีโอกาสสัมผัสกับศิลปะการตอสูแขนงนี้คนหนึ่ง ผมพบวา ผูสอน (เซนเซ) แตละทานไดแสดงธรรมในการฝกทุกครั้ง อาทิ ! ธรรมมะสูความสำเร็จหรืออิทธิบาท 4 (ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา : ภาษาอังกฤษใช PDCA ยอมาจาก Plan Do Check Act) หน้า ๒๒
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
! นอกจากนี้ ยังสอนใหเราเรียนรูเรื่องเมตตา ธรรม การใหอภัย ศีลธรรม ( ศีล = การเคารพสิทธิผู อื่น) ความกตัญู กตเวที รวมทั้งอะไรหลายอยาง ! แมกระทั่งเรื่อง ความเรียบงาย ความพอ เพียงนี่ก็มีปรากฏอยูในการสอน แตผูเรียนนำมาถก กันนอยมาก ก็ปลอยใหเปนการรับรูของแตละคน เปนปจเจกๆไป ! สวนจะรับรูตื้นลึกหนาบาง แคไหน อยางไร นั้น ก็ขึ้นอยูกับเงื่อนไข ปจจัยตางๆ
! ธรรมะอันทำใหงาม หรือแสดงไดงดงาม ไดแก ขันติ (ความอดทน อดกลั้น) และโสรัจจะ (ความ สงบเสงี่ยม) !
ความไมยึดมั่นถือมั่น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
! ผมคิดวาเราตางเรียนรูอะไรมากมาย…… และยิ่งฝกฝน เรายิ่งคนพบ ยิ่งคนพบ เรายิ่งเรียนรู เหลานี้ ดูเสมือนหนึ่ง วงจรที่ไมรูจบ และหนึ่งในมิติ ของการคนพบนัยยะนี้ก็คือคุณคาทางจริยธรรมที่ สอดแทรกอยูในทวงทา ทุกครั้งที่มีการฝกซอม ! .....ลองมานึกทบทวนกันดูเลนๆไหมครับ วา ครั้งสุดทาย ที่เซนเซ (รวมทั้งมิตรสหายที่รวมฝก)สอน เรา ทานเหลานั้นแสดงศิลปะธรรมในเรื่องใดบาง???
มีตําแหน่งงานว่าง (ครู) ที่ปางมะผ้า น้องๆ หรือพี่ๆคนไหนที่สนใจอยากจะมาเป็นครูสอนเด็กประถมไร้สัญชาติบนดอยสักหนึ่งเดือน โรงเรียนบ้านห้วยแห้งกําลังรับสมัครอยู่ แต่มีค่าจ้างให้มาสอนเฉพาะเดือนมีนาคมเดือนเดียวครับ ที่พักและอาหารฟรี ค่าตอบแทน 6,000 บาท โดยมาช่วยสอนไอคิโดและช่วยงานค่ายพักแรมแก่เด็กๆที่ ปางมะผ้าด้วยนะครับ วุฒิขั้นต่ํา ม.6 นะครับ น้องๆนักศึกษาคนไหนปิดเทอมนี้ว่าง สนใจงานนี้รีบติดต่อผมด่วนนะครับ ครูใหญ่ต้องการให้เริ่มงานสอนตั้งแต่สัปดาห์แรกของมีนาคมนี้ เบอร์ติดต่อผม 086-9169486, 053-617128 ขอบคุณครับ
หน้า ๒๓
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
Aikido(ka) in Focus ฉบับนี้เรามาทำความรูจัก กับคุณณัฐพรรธ อิงสกุลสมบูรณ นักไอคิโดสายดำแหงสมาคมไอคิ โดประเทศไทย ที่เราตามไป สัมภาษณถึงกรุงเทพฯเลยทีเดียว
Focus : คิดวาตัวเองเปนคนยังไง คุณณัฐ : สบายๆ งายๆ พยายามทำตัวใหไมเครียดG G เพราะเครียดจากงานอยูแลว Focus : ชอบอานการตูนมั้ย คุณณัฐ : ตอนเด็กๆชอบอานเหมือนกัน G พวกโดเรมอน ปาแมน ดรากอนบอล G G อะไรที่บูๆ เยอะเหมือนกัน Focus : ชอบเลนเกมสคอมพิวเตอรมั้ย คุณณัฐ : ไมชอบ แตก็เลนไดนะ ไมชอบเพราะมัน ไรสาระ แตมั้นก็มีขอดีนะชวยใหคลองตัวเวลาใชG G คียบอรด แตใหนั่งเลนก็ไมเอา Focus : ฝกไอคิโดแลวไดอะไร คุณณัฐ : ทำใหสุภาพขึ้น สุขุมมากขึ้น ลดความG G ใจรอนเพราะฝกไอคิโดตองใชความอดทน Focus :ฝกมานานรึยัง คุณณัฐ : ฝกมาตั้งแตเด็กๆแลว (ดวยความบังเอิญ) Focus : ฝกยังไง
โดย...โฟกัส
คุณณัฐ : เริ่มจากเบาๆกอน เพื่อปองกันอุบัติเหตุ > > ซึ่งจะเจ็บมาก นอกจากจะเปนวิชาสำหรับ> > >>ป อ งกั น ตั ว แล ว ก็ ท ำให เ ราแข็ ง แรง สร า ง> เสริมสุขภาพ Focus : แลวเคยใชไอคิโดในชีวิตประจำวันมั้ย คุณณัฐ : เคยเหมือนกันนะ ตอนขี่มอเตอรไซดแลว ไดรับอุบัติเหตุ มีรถแซงเราแลวแซงไมพน กลิ้ง ไปไกลเหมือนกันแตไมเปนอะไรมาก ถลอกนิด หนอย แตตัวงี้ลอยไปเลยนะ Focus : ตอนที่ลอยอยูรูสึกยังไงบาง คิดอะไรมั้ย คุณณัฐ : ไมรูสึกอะไรเพราะไมรูวาจะชนอะไร แตรู วาตอนลงมาตองเก็บตัวแลว Focus : รูมาวาเคยเปนตำรวจเปนนานมั้ย คุณณัฐ : ๘ ปครับ Focus : เคยใชไอคิโดในงานมั้ยคะ คุณณัฐ : ใชเหมือนกัน(หัวเราะ)ใชตอนไลจับคน เลนไพ Focus : วิ่งไลจับไมเห็นตองเปนไอคิโดเลย คุณณัฐ : ใชควบคุมคนรายครับ Focus : งานตอนนี้เปนยังไง คิดเปลี่ยนงานอีกรึ เปลา คุณณัฐ : ดีแลวครับ ไมคิดจะเปลี่ยนแลว ถาจะ เปลี่ยนก็จะทำงานสวนตัวทำสวนทำไร ชอบ ชีวิตเศรษกิจพอเพียงแบบในหลวง ไมตองดิ้นรน หาเงินหาทองมากมาย หน้า ๒๔
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
Focus : คิดภาพตัวเองตอนอายุ ๖๐ ยังไง คุณณัฐ : สุขภาพยังแข็งแรงและเลนไอคิโดได Focus : ไมชอบคนแบบไหน คุณณัฐ : คนเห็นแกตัว Focus : ทุกคนก็เห็นแกตัวกันทั้งนั้น คุณณัฐ : แตที่ไมชอบคือคนเห็นแกตัวที่ทำใหคน อื่นเดือดรอน ตัวเราเองก็ไมเคยเห็นแกตัวจน ทำใหคนอื่นเดือดรอน แตชอบแกลงคนเลนๆ สนุกๆแตตองดูจังหวะเวลา และอารมณเขาดวย Focus :ถาไดพบ O sensei จะพูดอะไรกับทาน คุณณัฐ: จะขอบคุณทานที่ไดใหกำเนิดวิชานี้ขึ้นมา Focus : เคยชักชวนใครมาฝกไอคิโดบางมั้ย คุณณัฐ : ก็เปนพี่นอง มีพี่นองทั้งหมด ๕ คน มา ฝก ๔ คน แตตอนนี้เหลืออยูคนเดียว
Ole Kingston Jensen แรงบันดาล ใจให้เกิดภาพยนตร์เรื่อง “ไอกิ”
Focus : เคยปลูกตนไมหรือเปลา คุณณัฐ : เคยตอนเด็กๆ แตตนอะไรจำไมไดแลว แตก็ไมรอด ไมเคยดูแลอยางจริงจัง สวนใหญจะ รดน้ำตนไมมากกวา แมจะชอบปลูกกลวยไม Focus : เคยทำใหอะไรตายบางมั้ย คุณณัฐ : มด ยุง สัตวเล็กๆ ใหญขึ้นมาหนอยก็ เปนนก Focus : นกกระจอก คุณณัฐ : นกเคาแมว Focus : โห ! ไมใชตัวเล็กๆนะเนี่ย ไปยิงมันทำไม คุณณัฐ : ตอนนั้นเปนตำรวจโดนยุใหยิงนกเคาแมว Focus : แสดงวาทาไมได คุณณัฐ : ไมใชแบบนั้น ตอนนั้นไปเปนการดให เขาแลวเขาอยากทดสอบฝมือ แตตั้งแตนั้นก็ไม Focus : เคยดูหนังเรื่องไอกิมั้ย เคยยิงอีกเลยเพราะรูสึกผิด เคยแตดักหนู แตก็เอา คุณณัฐ : เคยครับ จริงๆแลวเปนเรือ่ งจริงของฝรัง่ คนG ไปทิ้ง นึ ง เรื ่ อ งนี ้ ก ็ ด ี น ะครั บ เป น อี ก แนวทางนึ ง ใหG Gคนพิ ก ารฝ ก ทำให ร ู ว า ไม เ พี ย งแต ใ ห ค นสมG ภาพจาก http://www.aikidojournal.com/article?articleID=293 ประกอบฝกเทานั้นคนพิการก็สามารถฝกได
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
A Soft Answer (A Kind Word Turneth Away Wrath)
G เทอรรี่ ดอบสัน (Terry Dobson) นักไอคิโดระดับหาดั้ง ผูเชี่ยวชาญการแก ปญหาความขัดแยง เขารวมเขียนหนังสือ เรื่อง “Aikido in Everyday Life” (North Atlantic Books) และเปนผูเขียน เรื่อง “It’s a Lot Like Dancing: An Aikido Journey” (Frog Ltd.) เขาเสีย ชีวิตในป 1992 เมื่ออายุได 55 ป G บทความนี้ไดตีพิมพครั้งแรกใน Lomi School Bulletin และไดเปนที่รูจัก แพรหลายเมื่อตีพิมพใน New Age Journal ในป 1981กลายเปนบทความคลาสสิคที่ถูก กลาวถึงบอยๆในเรื่องปรัชญาของไอคิโด G จุดหักเหในชีวิตผมเกิดขึ้นในวันหนึ่ง บนรถไฟชานเมืองโตเกียว ตูรถไฟเกาๆสง ครองแครงกระทบรางเหล็กในยามบายของ ฤดูใบไมผลิที่ดำเนินไปอยางอิดโรย ตูที่เรา โดยสารอยูนั้นเกือบจะวางเปลาเลยก็วาได มีเพียงแมบานไมกี่คนกับเด็กๆ ที่มาดวยกัน และคูสามีภรรยาสูงวัยที่ออกมาจับจายซื้อ ของ ผมนั่งอยูอยางเงียบๆ จองออกไปยัง บานที่ดูไรซึ่งอารมณ และสุมทุมพุมไมขาง ทาง ภาพจาก http://olympia.fortunecity.com/ discus/602/web6.htm เรื่องจาก railmagic.wordpress.com/
โดย Terry Dobson แปลโดย ฮานึล คือท้องฟ้า
เทอรี่ ดอบสัน (นั่งอยู่ด้านหน้าขวาสุด)
G ณ สถานีแหงหนึ่ง เมื่อประตูของรถไฟเปด ออก ในทันใดนั้นเอง ความเงียบสงบยามบายก็ถูก ทำลายลงสิ้นดวยเสียงคำรามดาอยางโหดรายและฟง ไมไดสรรพของชายคนหนึ่ง ในขณะที่ประตูกำลังปด เขายังคงตะเบ็งเสียงและถลาเขามาในรถไฟ ตัวเขาสูง ใหญ มึนเมา และสกปรก เขาสวมชุดคนงาน บริเวณ เสื้อดานหนามีรอยเปอนแข็งๆของอาเจียรแหง ตาของเขา แดงฉานพองโตเหมือนปศาจ เสนผมจับกันเปนตังเม เขา คำรามและกระชากคนคนแรกที่เจอ ซึ่งก็คือผูหญิงที่กำลังอุม เด็กอยู แรงกระชากจากหัวไหลสงใหเธอลมคะมำไปอยูที่ตัก ของคูสามีภรรยาสูงวัย โชคดีที่เด็กนอยไมไดรับบาดเจ็บใดๆ G คูสามีภรรยาลนลานลุกขึ้นดวยความกลัว และ ตะกายไปยังดานทายของตูโดยสาร ชายคนนั้นเตะเทาเล็งไป ยังหลังของหญิงชราที่กำลังหนี “อีกระหรี่แก” เขาตะคอก “กูจะเตะตูดมึง” แตเขาพลาด หญิงชราหลบไปได ซึ่งนั่นยิ่ง ทำใหเขาเดือดดาล เขาควาเอาเสาเหล็กที่อยูกลางตูโดยสาร พยายามกระชากมันออกมา ผมสังเกตุเห็นวาที่มือของเขามี บาดแผล และมีเลือดไหล รถไฟพุงทะยานไปขางหนา ผู โดยสารตางอยูในอาการชะงักงันดวยความ ตระหนก ผมจึงยืนขึ้น... หน้า ๒๖
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
G เหตุการณนี้เกิดขึ้นเมื่อราวยี่สิบปกอนซึ่ง ในตอนนั้นผมจัดไดวาเปนคนหนุมที่มีรางกายแข็ง แรงทีเดียว ผมสูง 180 เซนต หนักรอยกิโล ผม เคยผานการฝกไอคิโดอยางหนักแปดชั่วโมงตอวัน และฝกติดตอกันทุกวันเปนเวลากวาสามป ผม ชอบการทุมและการล็อคคูตอสู ผมคิดวาผมก็มี ฝมือรายกาจพอตัว ปญหามีอยูเพียงวาทักษะ ความสามารถในศิลปะการปองกันตัวของผมนั้น ยังไมเคยผานการปฏิบัติในเหตุการณจริงใดๆ และดังเชนที่ผูฝกไอคิโดทุกคนตระหนักดี เราไมไดฝกมาเพื่อไปสูรบกับใคร G อาจารยของผม ผูที่กอตั้งวิชาไอคิโด พร่ำสอนเราทุกเชาวาศิลปศาสตรนี้ยึดมั่นในสันติภาพ “ไอคิ โด” ทานกลาวครั้งแลวครั้งเลา “คือศิลปะแหงการประณีประนอมรอมชอมกัน ผูใดก็ตามที่มีจิตใจฝกใฝ ในการตอสู เขาไดทำลายซึ่งความเชื่อมโยงระหวางตัวเขาและจักรวาล หากเธอพยายามที่จะเอาชนะ เหนือผูอื่น เธอนั่นแหละที่เปนผูแพ เราเรียนรูเพื่อที่จะยุติความขัดแยง มิใชเปนผูริเริ่มมัน” G ผมยึดถือปฏิบัติตามคำสอนของอาจารย ผมพยายามอยางหนัก ผมตองการที่จะยุติการตอสู ผม ถึงขนาดที่ตองพยายามเดินไปไกลขึ้นเพื่อเลี่ยงที่จะขามถนนตรงที่มีพวก ชิมประ หรือพวกจิ๊กโกปาจิงโกะ ที่เตร็ดเตรอยูบริเวณสถานีรถไฟที่คงจะดีใจถาไดทดสอบความสามารถทางศิลปะปองกันตัวของผม ความ อดกลั้นชวยยกระดับจิตใจผมใหสูงสงขึ้น ผมรูสึกทั้งบึกบึนและใจบุญในเวลาเดียวกัน อยางไรก็ตามในใจ ของผมนั้นอยากแทบตายที่จะไดเปนฮีโร ผมตองการโอกาส จังหวะที่เหมาะเจาะชอบธรรมที่สุด ที่ อนุญาตใหผมไดชวยเหลือผูบริสุทธิ์ โดยปราบปรามเหลาอธรรมเหลานั้น G นี่ไงละโอกาส ! ผมพูดกับตัวเองพลางลุกยืนขึ้น “ไอคนสกปรก สัตวรายตัวนี้ เมา มอมแมม และ โหดราย ผูคนกำลังตกอยูในอันตราย หากผมไมรีบทำอะไรสักอยาง พวกเขาอาจจะไดรับบาดเจ็บ ผมจะ ตองลากกนมันออกไป” G เมื่อเห็นผมลุกขึ้น ชายอันธพาลก็จับจองมาประหนึ่งวาผมเปนเปาหมายที่เขาจะไดปลดปลอย โทสะ “อาฮา” เขาคำราม “ไอฝรั่งหัวแดง...แกคงอยากจะเรียนมารยาทของญี่ปุนละสิ” เขาตอยเสา เหล็กไปทีนึงเพื่อใหคำพูดดูนากลัวยิ่งขึ้น หน้า ๒๗
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
G ผมจับเชือกเหนือศรีษะบนราวจับของตูรถไฟอยางหลวมๆ แลวคอยๆมองดูชายคนนั้นดวยสายตาที่ เหยียดหยามและรังเกียจ ผมคิดที่จะฉีกเจานักเลงนี่ออกเปนชิ้นๆ แตเขาตองเปนฝายที่ขยับกอน ผม ตองการใหเขาคลั่ง ยิ่งเขาโกรธเทาไรก็ยิ่งประกันชัยชนะใหผมไดเทานั้น ดังนั้นผมจึงเชื้อเชิญเขาโดยการจีบ ปากและสงจูบใหอยางยะโส ไดผล มันเหมือนเขาโดนตบหนาฉาดใหญ “ไดเลย!” เขาตะโกน “แกไดเรียน แน” เขาเตรียมที่จะพุงเขาหาผม เขาไมมีทางรูเลยวาเขาจะโดนกับอะไรบาง G ในเสี้ยววินาทีที่เขากำลังจะขยับ มีเสียงหนึ่งตะโกน ขึ้น “เฮย !” เสียงนั้นดังกองและผมยังจำไดถึงความรื่นรมยอัน นาประหลาดที่เจือมาในน้ำเสียง ประหนึ่งวาคุณกับเพื่อนกำลัง หาของชิ้นหนึ่งอยางขมักเขมนอยู และจูๆ เพื่อนของคุณก็ สะดุดกับเจาของชิ้นนั้น “เฮย !” G ผมหันไปทางดานซาย ไอขี้เมานั่นหันไปทางดานขวา เราทั้งคูมองลงมายังชายชราตัวเล็กๆชาวญี่ปุนคนหนึ่ง ผูซึ่งยัง คงดูแข็งแรงในวัยเจ็ดสิบกวาป ชายชรารางเล็กที่ดูสุภาพออน โยนคนนี้ นั่งอยูอยางสงบเรียบรอยในชุดกิโมโนและฮากามา เขาไมไดใสใจผมเลย หากแตเพงมองไปยังชายอันธพาลดวย แววตาที่ออนโยน ราวกับวาเขามีสิ่งสำคัญที่สุดหรือความลับที่ เขายินดีจะแบงปน G “มานี่สิ” ชายชราเรียกชายอันธพาลดวยสำเนียง ทองถิ่นเรียบๆ และกวักมือเบาๆ “มานี่มา มาคุยกับลุงหนอย” ชายตัวโตเดินเขาไปหาราวกับถูกลาก เขาหยุดเทาอยางหนักหนวงตรงหนาชายชรา และยืนตระหงานครอม รางเขาไว “คุยกับแกเหรอ?” เขาคำรามกลบเสียงลอรถไฟ “ฉันจะคุยกับแกไปทำบาอะไรหา” ตอนนี้ชาย อันธพาลหันหลังใหกับผม หากขอศอกของเขาขยับแมเพียงแคครึ่งกระเบียด ผมก็จะลมเขาลงไปกองกับพื้น G ชายชรายังคงยิ้มกวางสงไปใหชายอันธพาลคนนั้น ไมมีรองรอยของความกลัวหรือขุนเคืองใดๆ “ไป ดื่มอะไรมารึ” เขาถามเบาๆ แววตาเปนประกายดวยความสนใจ “ฉันกินสาเกมา” ชายอันธพาลแผดเสียง ตอบ “แลวมันก็ไมใชธุระอะไรของแก” เขาพูด พลางน้ำลายกระเซ็นไปโดนชายชราที่นั่งอยู T “โอ ดีจริงๆ” ชายชรากลาว “ดีมากๆ เลยละ เธอรูไหม ฉันก็ชอบสาเกเหมือนกัน ทุกๆคืน ฉันกับ เมีย รูไหม ตอนนี้เธออายุเจ็ดสิบหกปนะ เราชอบอุนสาเกขวดเล็กๆ เอาไปนั่งดื่มในสวน เราจะนั่งบนเกาอี้ ไมเกาๆที่นักเรียนคนแรกของพอฉันทำใหทาน เรานั่งดูพระอาทิตยตกดินแลวเราก็จะดูวาตนพลับของเรา เปนอยางไรบาง ทวดของฉันทานปลูกมันไวนะ เราก็กังวลวามันจะอาการดีขึ้นรึเปลาหลังจากที่มันผานพายุ หิมะเมื่อฤดูหนาวที่แลว ตนไมของเรากลับทำไดดีกวาที่เราคิดไวนะ แมวาคุณภาพของดินจะแยหนอยก็เถอะ มันชางรูสึกดีที่ไดออกไปดื่มด่ำกับบรรยากาศตอนหัวค่ำ และไดมองดูสิ่งเหลานี้ไปพรอมๆ กับดื่มสาเก ถึง แมวาบางทีฝนจะตกก็เถอะนะ” ชายชรามองขึ้นมายังชายอันธพาล นัยยตาฉายแววเปนประกายในขณะ เลาเรื่องอยางมีความสุข หน้า ๒๘
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
G ขณะที่ชายอันธพาลพยายามฟงตามบทสนทนาของชายชรา ใบหนาของเขาก็ดูผอนคลายลง มือที่กำ แนนคอยๆ คลายออก “ใช...” เขาพูด “ผมก็ชอบตนพลับเหมือนกัน...” น้ำเสียงของเขาฟงดูเปลี่ยนไป “ใช แลว” ชายชราพูดพลางยิ้ม “และฉันก็มั่นใจวาเธอตองมีภรรยาที่ดีแนนอน” T “ไมมี” ชายอันธพาลตอบ “เมียของผมตายไปแลว” ชายคนนั้นยืนคอตก ตัวแกวงไกวเล็กนอยตาม แรงของรถไฟที่แลนอยู และเขาก็เริ่มรองไห “ผมไมมีเมีย... ไมมีบาน... ไมมีงาน... ผมละอายตัวเองเหลือ เกิน” น้ำตาไหลลงอาบแกมทั้งสองขางของเขา เขาสะอึกรองไหจนตัวสั่นเทิ้ม ความสิ้นหวังสะทานไปทั่ว รางกายของเขา ในขณะที่เหนือขึ้นไปจากชั้นวางของเหนือศรีษะเขาเปนแผนปายโฆษณาสี่สีบรรยายถึงชีวิต สุดหรูชานเมืองกรุง G ทีนี้ก็เปนตาของผมบาง ผมผูถูกปนแตงดวยความเดียงสาของวัยเยาว ดวยความเขลาที่ตองการจะ ผดุงความ ‘ปลอดภัย’ ‘ถูกตอง’ ‘ชอบธรรม’ ของโลก บัดนี้ไดเพียงแตยืนนิ่ง ทันใดนั้นเองผมก็รูสึกวาตัวผม นั้น สกปรกยิ่งกวาชายอันธพาลคนนั้นเสียอีก G จากนั้นรถไฟก็หยุดยังสถานีปลายทางของผม ชานชาลาเต็มไปดวยผูคนที่แออัดยัดเยียดเขามาใน รถไฟเมื่อประตูเปด ในขณะที่ผมพยายามแทรกตัวออกมา ผมไดยินเสียงอันออนโยนของชายชรา “โถ...โถ” ชายชราพูดเบาๆ “คงจะลำบากมากเลยสินะ มานั่งตรงนี้สิแลวเลาใหฉันฟงหนอย” G ผมหันไปมองเปนครั้งสุดทาย ชายอันธพาลคนนั้นนอนเผละเหมือนกระสอบลงบนเกาอี้ ศรีษะหนุน อยูบนตักของชายชราที่มองเขาอยางเมตตาพลางลูบเสนผมที่สกปรกและยุงเหยิงของเขาอยู G ในขณะที่รถไฟแลนออกไป ผมนั่งลงที่มานั่งยาว สิ่งที่ผมตองการจะสะสางดวยพละกำลังและความ กาวราว แทจริงแลวมันสามารถบรรลุผลไดดวยถอยคำที่ออนโยน ผมไดเห็นความอุตสาหะของไอคิโดในการ ตอสู และสารัตถะของไอคิโดนี้ก็คือความรักดังที่ปรมาจารยไดกลาวไว ผมคงตองฝกซอมศิลปะแขนงนี้ดวย จิตวิญญานที่แตกตางอยางสิ้นเชิง และผมคงตองใชระยะเวลาอีกยาวนาน กอนที่ผมจะสามารถพูดถึงการยุติ ความขัดแยงไดG G G G G G G
The Art of Peace # ๒๑ เขียนโดย Morihei Ueshiba แปลโดย John Stevens ! As soon as you concern yourself with the "good" and "bad" of your fellows, you create an opening in your heart for maliciousness to enter. Testing, competing with, and criticizing others weaken and defeat you. John Stevens ไดรวบรวมเอา Doka หรือบทกวีขนาดสั้นของปรมาจารยไวในหนังสือ The Art of Peace ตอมา William McLuskie ไดนำมาลงเผยแพรที่เวบไซต http://omlc.ogi.edu/aikido/talk/osensei/artofpeace/
หน้า ๒๙
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
ฝกไอคิโดที่เทนโดกัง นฤมล ธรรมพฤกษา
Conference ที่ Setagaya Public Theatre
! แมจะตองทำงานทั้งวัน แตก็ยังพอมี เวลาในชวงเชากอนสิบโมง กบจึงไดมีโอกาสไปขอ ฝกที่เทนโดกังโดโจ ของชิมิสึ เคนจิเซนเซ เปน เพราะโรงแรมใกลโดโจมาก เดินแคสองสามนาที ก็ถึง แตตารางเวลากบคอนขางยุง จะมาฝกได เฉพาะแตตอนชวงเชา กลางวันก็สอนทั้งวัน ตอน เย็นก็มีประชุมจนถึงสามทุมครึ่งเกือบทุกวัน และ ตองขึ้นพูดที่ symposium อีกสองคืน ก็เลยมาฝก ไมไดทุกวันอยางที่ตั้งใจแตก็พยายามจัดเวลาได บางวัน
! เมื่อเดือนกุมภาพันธที่ผานมา กบไดมีโอกาสไป สอนการเขียนบทละครและการกำกับละครที่โรงละคร Setagaya Public Theatre กรุงโตเกียว รวมกับศิลปนจาก สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลิปปนส และไดเขา รวม symposium โดย มหาวิทยาลัยวาเซดะเปนเจาภาพจัด ใหคุยเกี่ยวกับการทำงานของศิลปนในเอเซียอาคเนยคะ
ผลงานการกํากับของนักเรียนญี่ปุ่น
บรรยากาศการเรียนเขียนบทที่เซตะกายะ
หน้า ๓๐
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
นักไอคิโดที่นี่นารักมาก ใหการตอนรับเปน อยางดี สาวเยอรมันที่ไดรับทุนมาเรียนไอคิโดชื่อ Birgit Lauenstein เปนคนชวยดูแลฝกคูกับกบ
ถ่ายกับเบอร์กิตที่เทนโดกัง
เบอรกิตอยูที่ญี่ปุนมาเกือบป ในฐานะอาสา สมัคร เธอจึงตองชวยงานตางๆในโดโจ โดยเฉพาะ การแปลเอกสารตางๆเปนภาษาอังกฤษและแปลให เซนเซดวยเวลาไปตางประเทศ และเธอก็ไดพักใน หอพักของโดโจเปนกรณีพิเศษ ที่นี่มีหองพักสองหอง ใหกับแขกที่มาเยี่ยมเยือนในคาเชาราคาถูกและใกลกับ โดโจมาก เบอรกิตฝกไอคิโดแบบเทนโดริวมา 25 ป แลว ตั้งแตอายุ 17 และใฝฝนจะมาฝกที่ญี่ปุน ทาทาง ที่สุภาพและถอมตัวทำใหไมรูเลยวาเบอรกิตเปนผูหญิง คนเดียวของเทนโดกังทั้ง 32 แหงทั่วโลกที่ไดสี่ดั้ง
! เมื่อกบแนะนำตัว เบอรกิตก็พาไปเลือก ฮากามาที่วางไวในตูใตราวแขวนชุดฝกดานหลังของ โรงฝก ในตูจะมีทั้งกีและฮากามาทุกขนาดเพื่อใหคน ไดยืมใส ผูหญิงที่นี่ทุกคนตองใสฮากามาแมวาจะเริ่ม ฝกก็ตาม ผูหญิงใสสีมวง ผูชายใสสีดำ แตผูชายก็ จะใสเมื่อขึ้นถึงโชดั้ง การนับสายก็เริ่มจากสายขาว หากิ้วขึ้นไปเทากับสายเขียวของกบเลย เบอรกิตวา ถากบฝกที่นี่นานๆก็คงตองนับลำดับสายใหม จาก นั้นก็พาไปหองเปลี่ยนเสื้อผาแยกหญิงชาย ในนั้นก็มี หองอาบน้ำดวย เพราะบางคนฝกเสร็จตอนเชาก็ ตองไปทำงานตอเลย ! ทุ ก คนจะมาก อ นเวลาอย า งน อ ยสิ บ ห า นาทีเพื่อแตงตัวและวอรมอัพ เพราะเวลาฝกจะไม วอรมอีก อาจเปนเพราะชั้นเรียนหนึ่งมีเวลาแค 45 นาทีเทานั้น กอนเริ่มการฝกประมาณหานาที ทุกคน จะยืนพรอมสงบนิ่ง รอจนกวาอาจารยจะออกจาก หองมาที่เบาะ จากนั้นทุกคนจะนั่งลงเรียงแถวแตไม ไดเรียงตามสาย เพียงแตเวนใหอาจารยและผูชวย นั่งริมซายสุด ทุกคนสงบนิ่งพักใหญโดยไมมีการกลา วนำการเคารพ จนกระทั่งอาจารยเดินออกไปนั่ง ขางหนาและเคารพกามิซา ทุกคนก็คำนับกามิซา พรอมกัน อาจารยหันกลับมาหานักเรียน ทุกคนกม คำนั บ อาจารย แ ล ว พู ด ว า โอเนงั ย ชิ ม ั ส จากนั ้ น อาจารยก็นำฝกเหมือนโดโจเรา
หน้า ๓๑
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
! นักเรียนใหมเคามักใหอยูทางซายเพราะใกลผู ชวยสอน ซึ่งจะชวยดูใหเปนพิเศษ เบอรกิตจะอยูเปนคู ของกบทุกครั้ง เวนแตบางครั้งคุณทากาฮาชิผูจัดการก็ มาขอฝกดวย มีชั่วโมงหนึ่งที่เบอรกิตไมไดซอม เคนตะ ลูกชายของชิมิสึเซนเซก็จะมาเปนคูฝกให เคนตะอายุยี่ สิบตนๆเลนไอคิโดมาตั้งแตเปนเด็กประถมจนไดสายดำ สามดั้ง ปจจุบันเปนอุชิเดชิคนเดียวของเทนโดกัง เคน ตะสอนชั้นไอคิโดเด็กตอนเย็นและยังสอนชั้นทั่วไปในวัน เสาร-อาทิตยอีกดวย เขาเลนไดนิ่มมากๆและมีเมตตา สูง สัมผัสไดเลยวาชวยดูแลความปลอดภัยของอูเกะ มากซึ่งทั้งเบอรกิตและทากาฮาชิก็เชนกัน ! วันนึงชิมิสึเซนเซเดินมาบอกวากบเลนไดลื่น ไหลดี ปกติคนเลนสไตลอื่นมาเลนที่นี่จะขลุกๆขลักๆ อัน นี้ตองชมเซนเซที่โดโจเชียงใหมของเราคะที่สอนมาดี อนึ่ง กบคิดวาสไตลเคาไมตางจากเราเลย เพียงแตอาจ มีรายละเอียดตางกันเล็กนอย เชน ! การลม ที่นี่ตบเบาะเกือบทุกครั้ง จำไดวา คราวกอนที่ไอคิโดสัมพันธฟูกากูซาเซนเซบอกวาไมใหตบ เบาะ เพราะหากใชไอคิโดนอกเบาะในความเปนจริงแลว การตบพื้นแข็งๆอาจทำใหมือบาดเจ็บได
! กบไดเขาใจความเปนอูเกะ หลายอยาง เชน เวลาถูกอิกเกี้ยว ให รอจนนาเงะพามือเราขามหัวไปกอน อยาเพิ่งรีบบิดตัว แตใหหงายหลังไป จนรางกายบิดตัวเองแลวคอยพลิกตัว เพราะเราไมรูวานาเงะจะโจมตีดวยทา อะไรตอไป ใหตื่นตัวอยูเสมอ และรอ ดูพฤติกรรมนาเงะไมใชรีบลมไปกอน และเวลาถูกกดอิกเกี้ยวก็อยาพุงตัวไป ขางหนา เพราะเราอาจไปชนผนังหรือ สิ่งกีดขวางที่เรามองไมเห็นได ใหลม ลงตรงนั้นเลย และถาถูกทำอูรา อู เกะก็ลอยตัวสูงมากแทบจะปลิว เคน ตะบอกวาเวลาถูกเหวี่ยงบางทีมันเร็ว ก็ตองตามแรงไปเลย ! อีกอันนึงที่นาสนใจมาก คือเวลาถูกอะเตมิ ที่หนาก็ไมจำเปนตองเอามือมาปองดวย เบอรกิตบอก วาแคหลบก็พอ สวนมือนั้นเอาไปไวปองกันที่อื่นแทน เชนที่ทอง เพราะหากเรามัวแตคิดปองกันที่หนา จิต เราจะไปโฟกัสที่มือที่ยกขึ้นมาปกปอง แทนที่สวนหัว ของเราจะไดฝกใหมีสติและไวตอการหลบหลีก คนฝก คนหนึ่งใหเหตุผลวา ไมตองปดที่หนาเพราะเคาไม ทำรายเราที่หนาหรอก แตเปนแคอาเตมิเพื่อเบี่ยงเบน ความสนใจใหนาเงะใชเทคนิคไอคิโดอื่นไดงาย ! คุณหมอกฤษณชัยเคยตั้งขอสังเกตวา ใน การตอสูจริงๆเราไมรูวาเราจะโดนอะไรบาง บางครั้ง คูตอสูของเราก็ไมปราณี เราตองปองกันตัวเองไว กอนดีกวาโดยการยกมือขึ้นปองหนาและในสำนักไอคิ โดหลายแหงก็ปองหนาเชนกัน แตที่เทนโดเขาบอก วาการฝกนี้จะไมทำรายกันใหบาดเจ็บ ฝกแบบไมจงใจ ทำรายคูฝก (แตกบเดาวา หากเอาไปใชจริงนอกเบาะ ก็คงตองอาศัยความเร็วและความคลองตัวของผูฝก ในการหลบหลีกเอง) หน้า ๓๒
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
! ขอสังเกตที่เทนโดกังเวลาจับอิกกี้ยว นิ้วหัวแมมือจะไม สอดไปใตขอพับของขอศอก เพียงแตใชสันมือฟน(ดัน)เบาๆเหมือน ดาบ เบอรกิตอธิบายวานิ้วโปงอาจบาดเจ็บหากกระแทก และถาทำ เร็วๆก็ไมมีเวลาสอดนิ้วเขาไป (ในขณะที่อาจารยชนมสวัสดิ์เนนย้ำ มากเรื่องเอานิ้วโปงสอดใตขอศอก) ! ปกติที่นี่จะฝกตอนเชาหนึ่งคลาส เย็นอีกสามคลาส บาง วันมีชั้นเรียนเด็กตอนสี่โมงครึ่ง เมื่อมาฝกไดแตเฉพาะชวงเชา การ ตัดสินใจจายคาฝกวันละสองพันเยนจึงเปนเรื่องหนักหนาสาหัส หาก จายเหมาหนึ่งสัปดาหก็หกพันเยน แตกบก็ไมสามารถมาไดทั้ง สัปดาห ดวยความเปนคนรูคาของเงิน(ภาษาชาวบานเรียกวา “งก”) กบจึงนั่งคำนวนจำนวนครั้งที่ฝกกับจำนวนเงินที่ตองจายอยางเอา เปนเอาตาย เบอรกิตคงสังเกตเห็นกบนั่งหนานิ่วคิ้วขมวดจึงปรึกษา กับคุณทากาฮาชิผูจัดการ เขาจึงเสนอลดราคาฝกใหครึ่งนึงดวย จากวันละสองพันเยนเหลือพันเยนเทากับราคาสมาชิก ซึ่งเอาเขา จริงๆแลวกบมาฝกไดแคสองวัน เพื่อความคุมจึงฝกทั้งตอนเชาหก โมงถึงเจ็ดโมง และตอนเย็นหกโมงเย็นถึงสามทุมครึ่ง (สามคลาส) สวนวันเสารที่นาจะมาฝกไดเฉพาะตอนเชาก็คิดวาจะไมมาเพราะจะ จายไมคุม ราวกับจะอานความคิดของกบออก ชิมิสึเซนเซเมตตา มาก เสนอวาวันเสารนี้ถาวางก็มาฝกโดยไมตองจายตังคก็ได กบก็ เลยฝกสองคลาสในเชาวันเสารซะเลย แตกบก็เสนอเบอรกิตวากบ ตองการจะจายคาฝกวันเสารเพราะรูสึกผิดที่งกเกินเหตุ เบอรกิตบ อกวากบตองแจงชิมิสึเซนเซเอง เพราะทานอนุญาตแลว แลวคน อยางเรามีรึจะกลาไปแจงทานละ
ถ่ายกับ เคนจิ ชิมิสึ เซนเซ
! กบมักมาที่โดโจกอนเวลาฝกครึ่ง ชั่วโมงก็เลยมาถึงกอนสมาชิกคนอื่นเสมอ แมวาหกโมงเชากบก็มาถึงโดโจแลวแตก็ จะแพเซนเซและทีมผูชวยที่มาเตรียมหอง ฝกและเช็ดถูทำความสะอาดทั่วไปรออยู กอนแลว บางวันกบตั้งใจมาใหเชาขึ้น แต เค า ก็ อ ยู ก อ นแล ว แถมทำความสะอาด เสร็ จ เรี ย บร อ ยอี ก ต า งหาก รวมไปถึ ง การเตรียมผาเปยกสำหรับเช็ดพื้นผืนเล็กๆ ใส ก ะละมั ง ใว ใ ห ท ุ ก คนช ว ยกั น ทำความ สะอาดหลังฝกทุกครั้ง ซึ่งกะละมังและผา นี้ก็วางไวตั้งแตกอนที่กบมาถึงแลว ! เบอรกิตบอกวา บรรดาอาจารย แ ละเซมไป (รุนพี่สายสูง)จะมาเตรียมโด โจกอนทุกครั้ง พอฝกเสร็จก็ จะอยูซอมทาตางๆที่อยากฝก เปนพิเศษ เลนมวยปล้ำ หรือ ยกตุมน้ำหนักเพื่อความผอน คลาย โดยเฉพาะวันเสารอาทิ ต ย ท ี ่ ส มาชิ ก ก็ อ ยู ด ว ย นานเปนพิเศษ
ตารางฝึกของเทนโดกัง
หน้า ๓๓
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
! กบก็หวังวาสักวันเรามีโดโจเปนของตัวเองที่เราไมตองปูเบาะเก็บเบาะ และจะมีเวลาฝกไดทั้งตอนเชา และตอนเย็น แตเมื่อคิดอีกมุมหนึ่ง การปูเบาะเก็บเบาะก็เปนการฝกฝนตัวเราดวยเหมือนกัน จิตบริการแบบ เซมไปที่เทนโดกังก็เปนแบบอยางที่ดีใหกับกบถึงการถอมใจและความปติในการทำงาน การทำความสะอาดสถาน ที่ฝกก็เหมือนกับทำความสะอาดจิตใจของเรา การที่เรามากอนเวลาไมใชการเสียสละ แตเปนการฝก “ไอ” ฝก ความรักความเมตตาตอเพื่อนรวมฝกที่จะไดมีโดโจสะอาดๆ ฝกความกตัญูกตเวทีตอเซนเซที่กรุณาอบรมสั่ง สอน เซนเซจะไดไมตองเหนื่อยมาจัดการเรืื่องตางๆเอง นี่ก็คือ “โด” วิถีของไอคิโดนั่นเอง ! นอกจากการฝกไอคิโดในเบาะ และนอกเบาะแลว เรายังควรฝกไอคิโดเหนือเบาะอีกดวย ในขณะที่ฝก อยูบนเบาะ ไมใชแคฝกเทคนิค แตฝกจิตใจของเราดวย จิตที่มีความรัก ความเมตตา เปนอันหนึ่งอันเดียวกันกับ ผูที่ฝกรวม ใจที่นอบนอม ไมแบงเขาแบงเรา โดยเฉพาะเมื่อฝกกับผูที่มีพื้นฐานตางไปจากเรา สิ่งที่สำคัญไมใช การอวดอางวาเทคนิคใครดีกวาใคร ใครถูกกวาใคร แตรวมฝกกันอยางกรุณา สรางสรรค ปรองดอง เหมือนกับ เซมไปทุกทานที่เทนโดกังดูแลกบเปนอยางดี ชวยฝก แนะนำ ไมตัดสินหรือตำหนิเมื่อเราทำไมถูก แตเอื้อเฟอแบง ปนอยางเมตตา เหมือนกับทองฟาที่โอบแผนดินไว ซึ่งก็คือ “เทนโด” คือ “ไอคิโด” ขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเทนโดกัง เยี่ยมชมไดที่ http://www.aiki-tendo.jp/english/home_E.html
มาเยี่ยมมาเยือน Peter MacLean-sensei ตลอดเดือนมีนาคม-เมษายน 2551 ปีเตอร์ แมคลีน-เซนเซ (5 ดั้ง) เป็นผู้สอนร่วม กับพอล แมคลีน ที่โดโจ Antigonish Aikikai เมือง Nova Scogia ประเทศคานาดา
Antigonish Aikikai ที่อยู่ของโดโจ : St. Francis Xavier University Oland Center Building (Combat Room) Antigonish, NS B2G 2W5
ติดต่อเซนเซได้ที่ : c/o Peter MacLean RR # 1 James River 20 Hemeway Lane Antigonish, NS B2G 2K8
902-863-4475
902-863-4475
peter.maclean@ns.sympatico.ca
peter.maclean@ns.sympatico.ca
หน้า ๓๔
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
ขาวจากเรนบูกัง Chiang Mai Aikido Friendship Seminar January 12-14, 2008 Chiang Mai Aikido Dojo held their annual Aikido Friendship Seminar at the CMU campus. Fukakusa Shihan conducted most of the seminars. Hattori Sensei was also a guest instructor. He and his wife will be retiring to Chiang Mai in the near future. Many members of the Chulalongkorn University Aikido Club members traveled to Chiang Mai for the event. Several Renbukan members accompanied Fukakusa Shihan as well. At the welcome party, all savored a traditional khan toke meal followed by a jap chalat gift exchange. On this special occasion, Fukakusa Shihan announced the promotion to 3rd dan of Dr. Sombat Tapanya, Chief Instructor of Chiang Mai Aikido. Everyone very much enjoyed training together in the spirit of Aikido fellowship. Thank you Chiang Mai Aikido for hosting such a wonderful event!
จาก http://www.thaiaikikai.com/eng/home.html
หน้า ๓๕
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๖ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
Aikido Family
Aikido of South-East Asian Nations Fellowships 18-21 Apr '08 Aikido seminar in Thailand with Fukakusa Shihan will be held on 18-21 April 2008. Waka Sensei and Fujita Shihan are guest of honor in the seminar. US$250/person for the seminar fee is included accommodation, daily breakfasts, 2 lunch, 2 dinners (Welcome party and farewell party) and seminar. US$150/person for the seminar fee is included only welcome party, farewell party and seminar.
ปฏิทินกิจกรรม กิจกรรม
วัน - เวลา
นำฝกโดยอาจารยปเตอร (คานาดา) ! ! >
ฝกประจำสัปดาห! > > > > > >
ทุกวัน ๑๘.๐๐ - ๒๐.๓๐ น.
สถานที่
ชมรมไอคิโด
จันทร-พุธ-ศุกร ๑๘.๐๐ - ๒๐.๓๐ น.> สถานที่ฝก ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม ใตถุนตึกอาคารกิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม
หน้า ๓๖