CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
AikidoCMU NEWSLETTER
จัดทําโดย ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาคารกิจกรรมนักศึกษา (อ.มช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถ. สุเทพ อ.เมือง จ. เชียงใหม่ 50200 ติดต่อได้ที่
ปิง (ประธานชมรม) 087-1772511
ป๋อม (ผู้ประสานงานชมรม) 089-701 7686
กบ (บรรณาธิการจดหมายข่าว) 084-047 4344
Website:
http://www.geocities.com/cmu_aikido
Email:
AikidoCMU@gmail.com
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
สวัสดีคร๊าบ ผมเต้ยเองคร๊าบ อย่าลืมมาฝึกดาบกันตอนห้าโมงเย็น วันจันทร์ พุธ ศุกร์นะคร๊าบ อ.ฮัตโตริอุตส่าห์มาสอนให้เป็นพิเศษ ถ้าไม่มาฝึกกัน ผมกัดจริงๆด้วย แฮ่...
นักเขียนในฉบับ สารบาญ ดร.สมบัติ
งานสัมนาไอคิโดนานาชาติที่กรุงเทพ .....ดร.สมบัติ ตาปญญา ๓ หยิน-หยาง พลวัตรออนแข็งในปฏิสัมพันธไอคิโด (ตอนที่ 2) .....อ.ธีระรัตน บริพันธกุล ๗ ทาฝกเทคนิคตางๆของไอคิโด ... บก.กบ ๑๐ การพัฒนาเด็กชนบทไทยดวยไอคิโด ... วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ ๑๓ มาเยี่ยม มาเยือน : PETER MACLEAN (5TH DAN) ๑๕ มาเยี่ยม มาเยือน : FREDDY T.H. KHONG ๑๙ (5TH DAN) อานได อานดิ ... นายหนาอาน ๒๑ AIKIDO FAMILY: รดน้ำดำหัว ๒๕๕๑ ๒๒ ปฏิทินกิจกรรม ๒๔
ตาปัญญา อ.ธีระรัตน์ บริพันธกุล
วิสุทธิ์ เหล็ก สมบูรณ์
Peter MacLean
นายหน้าอ่าน
หน้า ๒
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
ไอคิโดกับชีวิต
ผศ.ดร. สมบัติ ตาปญญา
งานสัมนาไอคิโดนานาชาติที่กรุงเทพ ระหวางวันที่ 19-20 เมษายน ที่ผานมา นี้ ผมไดไปเขารวมงานสัมมนาของชาว ไอคิโดซึ่งสมาคมไอคิโดประเทศไทยจัด ขึ้นที่โรงแรมเจาพระยาปารค ที่กรุงเทพ งานนี้มีชื่อวา “First Aikido of South-East Asian Nations Fellowships Gathering”
I มีสมาชิกไอคิโดจากหลายประเทศ มาเขารวมฝกและสาธิตโชวฝมือกัน เชน จาก มาเลเซีย สิงคโปร เวียตนาม พมา ลาว ฟลิปปนส อินโดนีเซีย นิวซีแลนด ไตหวัน และญี่ปุน และที่พิเศษก็คือเราไดรับเกียรติ จากสำนักใหญของไอคิโดที่โตเกียว โดย ทาน Waka Sensei Mitsuteru Ueshiba ซึ่งเปนเหลนของปรมาจารย (โอเซนเซ) ผู กอตั้งไอคิโด ไดมานำการฝกและสาธิตให พวกเราดูดวย หน้า ๓
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
การไดมารวมงานเชนนี้ มีประโยชนมากในการทำความ รูจักกับชาวไอคิโดจากหลาย ประเทศ เปนการสรางเครือ ขายความสัมพันธกัน เรียนรู รวมกัน และเพื่อที่จะไดชวย เหลือสนับสนุนกันตอไปใน อนาคต เปนโอกาสที่จะไดพบ เพื่อนเกา และสรางมิตรภาพ กับเพื่อนใหม และไดรับความ บันดาลใจจากการฝกกับคนที่มี ฝมือหรืออาจารยชั้นอาวุโสหลายคน I
ที่ผมประทับใจมากเปน พิเศษก็คือการไดพบกับเพื่อน ชาวไอคิโดจากพมา คือคุณ U Mya Sein ผมไดมีโอกาสนั่งคุย และซักถามเกี่ยวกับไอคิโดใน พมากับเขาในเย็นวันหนึ่งซึ่งเรา ไดไปกินอาหารเย็นรวมกัน ทำใหผมไดทราบวาชาวพมาได เรียน วิชาไอคิโดกอนคนไทยถึง สิบป และคุณ U Mya Sein ก็ เคยไปเรียนไอคิโดถึงญี่ปุนดวย ตอนนี้เขาเปนหัวหนาสำนักอยู ในกรุงยางกุง
I
หน้า ๔
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
หลังจากกลับมาจากงานสัมนาที่กรุงเทพไม นานนักเราก็ไดทราบขาววามีพายุเขาทำลาย บานเรือนในพมาและประชาชนไดรับความ เดือดรอนกันเปนอันมาก ทางสมาคมไอคิโด กรุงเทพโดยอาจารยใหญของเรา คืออาจารย โมโตฮิโร ฟูคาคูซา จึงมีความคิดที่จะระดมทุน เพื่อไปชวยเหลือชาวพมาโดยผานสมาคมไอคิ โดของพมาดวย ตอนนี้ทางชมรมไอคิโดของ มหาวิทยาลัยเชียงใหมก็เริ่มรับบริจาคเงินเพื่อ รวบรวมสงไปใหอาจารยที่กรุงเทพดวย และ I ในเดือนนี้เปนเวลาเริ่มเปดเทอม ปการศึกษาใหมของโรงเรียนใน ไดรับบริจาคมาประมาณหาพันบาทแลว
วากะ เซนเซ
ประเทศไทย ที่เชียงใหมซึ่งผมได ทำงานวิจัยโครงการปองกันความ รุนแรงในโรงเรียนกับโรงเรียนสองแหง ผมไดติดตอทางโรงเรียนและเตรียม เผยแพรไอคิโดใหนักเรียนในโรงเรียน สองแหงนี้แลว โดยหวังวาจะชวยให เยาวชนไดรับการปลูกฝงทัศนคติของ การแกปญหาดวยการไมใชความ รุนแรง เชาวันนี้หลังจากเขียน บทความนี้เสร็จผมก็จะไปสาธิตไอคิโด ใหกับนักเรียนในโรงเรียนแรกรวมกับ ลูกศิษยนักเรียนไอคิโดจากชมรมไอคิ โดมหาวิทยาลัยเชียงใหม และอีกไม นานก็คงเริ่มสอนไอคิโดในโรงเรียน เหลานี้ได หน้า ๕
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
ในเดือนเมษายนและพฤษภาคมนี้ ผมมีโอกาสไดเดินทางไปหลายจังหวัดใน ประเทศไทยเพื่ออบรมครูและผูบริหาร โรงเรียนเกี่ยวกับเรื่องการสอนนักเรียนโดย ไมใชความรุนแรง ซึ่งพบวาไดรับการตอบ รับดีมาก ลาสุดเมื่อวันเสารอาทิตยที่ผานมา นี้ผมไดไปอบรมครูที่จังหวัดพังงาประมาณ รอยกวาคน และปลายสัปดาหหนาก็จะไปที่ จังหวัดนครพนมดวย ทำใหผมดีใจที่ครูใน ประเทศไทยคงจะลงโทษเด็กดวยความ รุนแรงนอยลงเรื่อยๆ นอกจากนี้โรงเรียนใน เชียงใหมหลายแหงก็เริ่มใหความสนใจ เพราะไดยินเพื่อนครูบอกกันตอๆ ไปวามี วิธีการจัดการกับนักเรียนโดยไมตองตี ทำใหผมไดรับคำเชิญบอยครั้งและเริ่มได อบรมผูปกครองในโรงเรียนเหลานี้ดวย I
มีนักจิตวิทยาบางคนกลาววาเมื่อมีสิ่ง ที่เลวรายเกิดขึ้นในโลก สิ่งที่ดีๆ ก็จะ เกิดตามมาเสมอ พายุที่พัดเขาทำลาย บานเรือนในพมาและแผนดินไหวใน จีนทำใหคนเดือดรอนกันมาก แตก็ เปนโอกาสที่หลายคนในโลกจะได แสดงความเมตตาและชวยเหลือกัน ราคาน้ำมันที่แพงขึ้นทุกวันก็ทำใหเรา ใชรถกันนอยลง โลกก็สะอาดขึ้น และ อีกไมนานบริษัทรถยนตก็จะสราง รถยนตไฟฟาใหเราไดใชกัน ถาน้ำมัน ไมแพงก็คงไมมีใครอยากทำ เราจึงควร ขอบคุณสิ่งเลวรายที่เกิดขึ้นเสมอ เพราะมันใหโอกาสเราไดทำสิ่งที่ดีๆ นั่นเอง หน้า ๖
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
หยิน-หยาง: พลวัตออน-แข็ง ในปฏิสัมพันธของไอคิโด (ตอนที่ 2) อิริมินาเงะ
โชแมงอุชิ
อ.ธีระรัตน บริพันธกุล
! เทคนิคโชแมงอุชิ อิริมินาเงะ เปน ตัวอยางที่ดีอยางหนึ่งของพลวัตแหง ปฏิสัมพันธของหยิน-หยาง ! อุเกะเปนฝายเริ่มใชความแข็งโดยใช แรงจากบนลงลาง(หยาง) นาเงะตอบโต ดวยแรงออนจากลางขึ้นบน(หยิน) ณ จุด ที่แรงที่ลงมาขางลางของอุเกะเริ่มออน พลังลงจะเปนการสลับเปลี่ยนพลังจาก หยางมาเปนหยิน ขณะเดียวกันหาก นาเงะตองการที่จะคงสภาพการควบคุม เอาไวจะตองสลับพลังหยินไปเปนหยาง โดยเปลี่ยนความออนในตอนแรกกลาย เปนความแข็งในตอนทาย ทิศทางแรง จากบนลงลางโดยใชแขนกดคางที่เชิดอยู ใหลงไป ดวยการใชความแข็งจัดการ ความออนในตอนทายจึงทำใหเกิดความ สมดุลและความกลมกลืนตามมา
อิริมินาเงะ
ภาพจาก http://membres.lycos.fr/bushinkan/Htm/AIKIDO/Tecnicas/tecnicas.htm
หน้า ๗
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
! อีกเทคนิคหนึ่งของไอคิโดคือ คาตาเทโดริ เท็นคัน ซึ่งมักฝกกันเปนประจำในการอบอุน รางกาย เทคนิคนี้เปนการบริหารรางกายที่ดีใน การพัฒนาความรูสึกและความเขาใจในพลัง ปฏิสัมพันธระหวางหยิน-หยาง หากอุเกะจับขอ มือนาเงะแนนมาก การหมุนตัวแบบเท็นคันจะ ทำไดยากมาก หนทางที่ดีที่สุดคืออุเกะควรบิดขอ มือเล็กนอยเพื่อคลายการจับแลวจึงหมุนตัวและ เลื่อนตัวไปขางหนาก็จะสามารถทรงตัวและ กลมกลืนกับอุเกะได แตหากการจับขอมือไมแนน การเคลื่อนตัวแบบเท็นคันจะทำไดอยางงายดาย และนำหยิน-หยางใหเขาสูความสมดุลไดอยาง รวดเร็ว คาตาเทโดริ เท็นคัน
ปรมาจารย์นําอูเกะเข้าสู่ท่าเทนคัน ภาพจาก http://fourwindsaikido.50megs.com/photo.html
เท็นชินาเงะ
! เทคนิคเท็นชินาเงะ ถือวาเปนเทคนิค ที่คลาสสิกมากในการชวยใหเขาใจพลวัต และพลังหยิน-หยาง ! คำวา “เท็น” หมายถึงสวรรค คำวา “ชิ” หมายถึง ดิน ดังนั้นมือขางหนึ่งของ นาเงะจะชี้ไปขางบน สวนมืออีกขางหนึ่งจะ ชี้ลงลาง จึงเปนการใชพลังรวมกันในคราว เดียวกันระหวางสวรรค-ดิน ระหวางแข็งออน ระหวางเปด-ปด ระหวางบวก-ลบ และเปนเทคนิคที่สามารถมองเห็นพลังทั้ง สองไดอยางชัดเจนมากที่สุด ! พลังที่เกิดขึ้นในคราวเดียวกันนี้จะยัง ความแปลกใจอยางยิ่งแกอุเกะ พลังที่เกิดขึ้น นี้ยอมพิสูจนวาเปนพลังความสมดุลของ หยิน-หยาง ครูผูฝกสวนใหญมักชื่นชอบที่ จะจบการฝกดวยเทคนิคดังกลาวนี้เพราะ ทำใหทุกคนมีความรูสึกที่ตกคางในเรื่อง ความสมดุลแหงพลังที่จะนำไปสู ความกลมกลืน หน้า ๘
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
! การใชเทคนิคอะเทมิ (atemi) ก็ เปนเทคนิคที่ทำใหหยิน-หยาง เกิดความ สมดุลไดเชนกัน มีเหตุผลหลายอยางที่จะ นำเทคนิคนี้มาใชฝกไอคิโด แตไมวาจะดวย เหตุผลใดก็ตามก็เปนการนำไปสูความ สมดุลของหยิน-หยาง และความกลมกลืน นั่นเอง
อะเทมิ
! เหตุผลประการตอมาคือ ใชอะเทมิเพื่อ กระตุนจิตใจเพื่อเปนทางผานเขาไปสูรางกาย อะเทมิทำใหฝายที่เขากระทำผวาหรือสมาธิถูก เบี่ยงเบนออกไป กายกับจิตไมสามารถที่จะ รวมเปนอันหนึ่งอันเดียวกันไดซึ่งเปดโอกาสให นาเงะรักษาความสมดุลและกลมกลืนไดงาย มาก ! ประสุดทาย ใชอะเทมิเพื่อการควบคุม รางกายเพื่อเปนทางผานเขาไปควบคุมจิตใจ ในกรณีนี้นาเงะจะเปนฝายลงมือใชเทคนิค สถานการณเชนนี้ทำใหอุเกะเปนฝายตั้งรับ และตอบสนองตอความตองการของนาเงะ หา กนาเงะควบการตอบสนองทางกายของอูเกะ ไดยอมจะนำไปสูการควบคุมจิตใจของอูเกะ และบรรลุถึงความสมดุลและความกลมกลืน ในเวลาเดียวกัน
ภาพจาก http://www.aikidofaq.com/principles.html
! คนสวนใหญมักจะเปรียบเทียบไอคิโด ! เหตุผลขอแรกของการใชอะเทมิคือ กับการศิลปะการปองกันตัวแบบอื่นๆและดวน ใชเพื่อพิฆาตปรปกษ ทำหนาที่เสมือนยาที่ สรุปวาไอคิโดเปนการปองกันตัวแบบออน แต จากการที่เราพยายามทำความเขาใจในเรื่อง ฆาเชื้อโรคซึ่งจะทำใหรางกายเกิดความ หยิน-หยาง พลวัตแหงปฎิสัมพันธในไอคิโด สมดุลและกลมกลืนตามมา เหตุผลดัง กลาวนี้คนสวนใหญอาจจะทำใจยอมรับได ทำใหเรามีมุมมองใหมวาไอคิโดเปนทั้งความ ยาก จึงควรทำความเขาใจเรื่องนี้ใหถองแท ออนในความแข็งและเปนไดทั้งความแข็งใน หากวาหยางคือพลังแหงชีวิตและพลังแหง ความออนหากแมนวาไอคิโดเปนเพียงความ ความตาย ความตายจึงเปนปลายสุดขาง ออนการนำไปสูความสมดุลและกลมกลืนยอม หนึ่งของความมีชีวิต ดังนั้นจึงมีคำเปรียบ เกิดขึ้นไมได เปรยวาอายุที่ไดมาก็คือวันเวลาที่เสียไป เอกสารอางอิง ความสมบูรณของธรรมชาติแหงความ Dennis Hooker. Soft and hard in the dynamics กลมกลืนดังกลาวเปนสิ่งที่ทุกคนไมอาจจะ of Aiki interaction. Aikido today magazine. A หลีกเลี่ยงได Nonpartisan Journal of the Art of Aikido 1996; 9(6): 12-3.
หน้า ๙
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
ทาฝกเทคนิคตางๆของไอคิโด ชื่อท่า
ภาพประกอบ
อิ๊กเกี้ยว
นิ๊กเกี้ยว
ซังเกี้ยว
ย่งเกี้ยว
โกะเกี้ยว
หน้า ๑๐
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
ชื่อท่า
ภาพประกอบ
Aiki Otoshi
Ushiro Kiri Otoshi
Koshi Nage
Kokyu Ho
Hiji Kime Osae
Irimi Nage
Juji Garami
Kokyu Nage
Kaiten Nage
Kote Gaeshi
หน้า ๑๑
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
ชื่อท่า
ภาพประกอบ
Shiho Nage
Tenchi Nage
Shokomen Irimi Nagehi
Ude Garami
Sumi Otoshi
Udekime Nage
ภาพจาก
http://honkadori.radek.sk/techniky.php http://free.of.pl/a/aiki/index.php?id=techniki
The Art of Peace # ๕๖ เขียนโดย Morihei Ueshiba แปลโดย John Stevens You must realize this! Aiki can not be captured with the brush Nor can it be expressed with the mouth And so it is that one must proceed to realization (satori). John Stevens ไดรวบรวมเอา Doka หรือบทกวีขนาดสั้นของปรมาจารยไวในหนังสือ The Art of Peace ตอมา William McLuskie ไดนำมาลงเผยแพรที่เวบไซต http://omlc.ogi.edu/aikido/talk/osensei/artofpeace/
หน้า ๑๒
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
การพัฒนาเด็กชนบทไทยด้วยไอคิโด วิสูตร เหล็กสมบูรณ์
สโมสรผูนำเยาวชนเพื่อการศึกษาและพัฒนาชุมชน อำเภอปางมะผา จังหวัดแมฮองสอน
T ทุกครั้งที่ผมไดกลับ มาฝกรวมกับพี่ๆนองๆชาวไอคิโดที่มอชอก็ดี หรือ ไปฝกไอคิโดเฟรนชิปในแตละปก็ดี นอกจากความ รูสึกอบอุนในการตอนรับ และมิตรภาพที่ซึมซับจาก การฝกแลว ผมจะมีคำถามในใจอยูเสมอวา ทำ อยางไร เด็กๆยากจน เด็กดอยโอกาสตามปาเขา หรือในชนบทจะไดมีโอกาสฝกอยางนี้บาง T สำหรั บ ผม ผมยั ง มี โอกาสฝกไอคิโดอีก ตลอดชีวิต แตสำหรับเด็กดอยโอกาสอีกมากมาย แคจะซื้อรองเทากีฬาสักคู ยังเปนเรื่องยากเย็น ! • ทำไม เราจึงควรสนับสนุนใหเด็กดอยโอกาส ไดฝกไอคิโด ที่จริง ความเห็นของผม คือเด็กทุกคนละครับนา จะไดฝกไอคิโด แตเด็กดอยโอกาสนี่นาจะมีโอกาส ตรงนี้มากขึ้น เพราะอะไรนะหรือครับ เพราะเด็กเหลา นี้มีความเสี่ยงสูงที่จะถูกรังแกแลวปองกันตัวเองไม ได ไมใชวาพอแมพี่นองเด็กในชนบท ไมเหลียวแล ลูกหลานนะครับ แตผมคิดวาลำพังครอบครัวเครือ ญาติหาเพียงพอไมในการรับมือกับปญหาที่เกิดขึ้น กั บ อนาคตของสั ง คมเหล า นี ้ แม จ ะมี ก ฎหมาย มากมาย มีจารีตประเพณี มีเครือขายสังคม แตตัว เด็กเองตางหากที่จะเปนผูจัดการตัวเองที่สำคัญที่สุด
ผมคิดวา หากมองในแงการรับรูขอมูลขาวสาร และพฤติกรรมการเรียนรู เด็กในเมืองเปนเด็กที่ เขาถึงขอมูลขาวสารมากมาย พวกเขาสวนใหญ จึงรูวิธีปองกันและมีไหวพริบในการแกไขปญหา เรื่องเพศและความรุนแรงมากกวาเด็กในชนบท นะครับ แตเด็กชนบทนี่การเรียนรูจะหนักไปใน ทางปฏิบัติ เหมือนพอแมที่เปนชาวบานจะเรียนรู จากการลองผิดลองถูกมากกวาจากการอาน หรือ คนควา หรือเรียนในหอง และไอเรื่องเพศและ ความรุนแรงนี่ ถาเรียนจากการปฏิบัติ โอกาส พลาดมันก็สูง เมื่อพลาดแลว ในชนบทก็ไมไดมี กลไกอะไรที ่ ช ั ด เจนและเข ม แข็ ง พอจะจั ด การ เรื่องเหลานี้อยางเหมาะสม เมื่อพลาดแลว ตัว เด็ ก ยากจนเองถ า ถู ก อั ป เปหิ ห ลุ ด ออกไปจาก ชุมชนบานเกิดดวยแลว ก็ไมพนจะตกเปนปลาซิว ปลาสอย เปนเหยื่ออันโอชะของปลาใหญใจราย ในเมืองอีกหลายทอด หน้า ๑๓
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
!•! โอกาสสำหรับการสงเสริมไอคิโดใน ชนบทนั้นมีครับ อยางนอยก็สามทาง คือ TT 1. จากผูมีจิตอาสาจากขางนอก อยางเราๆ เขาไปชวยพัฒนา คือลุยเดี่ยวเขาไปเลย ใคร สนใจมาฝกก็รับเปนศิษย แตรับจำกัด ไมมีขอ ผูกมัดอะไร แตตองมีระเบียบฝก และตอง “เอาใจมาแลก” อันนี้เปนแนวทางที่ผมทำมาแต แรก สภาพบ้านเรือนในหมู่บ้านตามชายแดน อ. ปางมะผ้า จ. แม่ฮ่องสอน TT 2. ชมรมไอคิโดจากขางนอก หรือหนวย งานภายนอก เปดโอกาสใหเด็กในชนบทเขารวม T วิเคราะหในแงสังคมนี้จะเห็นไดวา เด็ก ฝกตามวาระตางๆ อันนี้ เปนแนวทางที่มอชอเราทำอยู ยากจนในชนบทนี่ จนทั้งโอกาสในการเรียนรู นะครับ ผมเองก็พาเด็กมาฝกที่โดโจมอชอบางเปนครั้ง และเมื่อพลาดพลั้งแลว ก็ยังจนโอกาสในการ คราวและก็ไดโควตาพาเด็กเหลานี้ไปรวมฝกไอคิโด แกปญหาดวย การสรางภูมิคุมกันแกเด็กดอย สัมพันธทุกป ซึ่งตองขอบคุณมาก นอกจากนี้ชมรมไอคิ โอกาสเหลานี้ จึงเปนเรื่องที่สำคัญและตองเนน โดจากในเมืองก็อาจจัดคายพักแรม อบรม workshop มาก อาจจะมากกวาการสรางกลไกการแกไข ลงสูชนบทก็เปนรูปแบบที่พยายามผลักดันกันอยู ปญหาดวยซ้ำ TT 3. จากการผลักดันของชาวบาน เขาสูแผน พัฒนาทองถิ่นของหนวยงานตางๆ เชน อบต. โรงเรียน T •!โอเซนเซ กลาวถึงพวกเรา ผูฝกไอคิโด ในชุมชน แนวทางการไดรับการสนับสนุนจาก อบต. วาเราทั้งหลายลวนเปนสวนหนึ่งของ โรงเรียน และเครือขายองคกรเอกชน นี้สำคัญเชนกัน จักรวาล ครับ หนวยงานเหลานี้มีทรัพยากร มีงบประมาณครับ แตมักจะใชไปในทางอื่น ไอคิ T อั น นี ้ ผ มว า สำคั ญ ครั บ โดเราเปนที่รูจักนอย และ มันเหมือนกับวา ทุกสรรพสิ่ง ตองใชเวลาในการสื่อสาร ลวนสัมพันธกันหมด อยาง ที่จีน ถึงหลักการสันติภาพ ถาจะ เผาถานหินมาก ก็พลอยทำให เปดกอกใหกระแสไอคิโด ทุกประเทศทั่วโลกไดรับผลกระ ไหลผานทอทางนี้ จำเปนที่ ทบจากปญหาโลกรอน , และ ชาวไอคิโดจะตอง on tour ถาเด็กๆในชนบทมีปญหา เรา เพื่อประชาสัมพันธใหทอง จะคิดหรือไมวา มันจะสัมพันธ ถิ่นรูจักไอคิโดใหมากขึ้น กั บ ความอยู เ ย็ น เป น สุ ข ของ การสาธิตไอคิโดของเด็กไรสัญชาติจากแมฮองสอน ในงาน นะครับ คนในเมืองอยางไร นิทรรศการหนังสือทำมือสัญจรระดับจังหวัด เมื่อ 17 ก.พ. 51 ที่หองสมุดประชาชนจังหวัดแมฮองสอน
หน้า ๑๔
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
T ถาจะวิเคราะหจากการฝกไอคิโดของตัวเองที่ ปางมะผาแลว ผมเองพยายามผลักดันทั้งสาม แนวทางนะครับ ลาสุดก็ไดใหชาวบานหมูบานหนึ่ง ชวยกันลงชื่อรับรองโครงการ ฝกอบรมศิลปการ ปองกันตัว “เด็กยุคใหม สูภัยทางเพศ” โดยใหมี การฝกไอคิโดในหมูเด็กนักเรียนชายแดน ซึ่งชาว บานก็รวมลงชื่อสนับสนุนจำนวนมาก และผมก็สง เอกสารโครงการพรอมแนบรายชื่อชาวบานมอบแด นายก อบต. ไปเพื่อพิจารณาบรรจุไวในแผนพัฒนา ตำบลเรียบรอยแลว ผลจะออกมาอยางไรนั้น ตอง ติดตามดูตอไป ก็เปนอีกกาวที่เราพยายามผลักดัน ชุมชนใหรับรู และชวยใหไอคิโดมีที่ทางเขาไปดึง เอางบจากทองถิ่นนะครับ T ทั้งสามแนวทางนี้ ใครถนัดอยางไร ก็นาจะได ขยายตั ว ตนของตั ว เองเข า ไปร ว มด ว ยช ว ยกั น เพราะพวกเราลวนเปนสวนหนึ่งของจักรวาลนะ ครับ
T การสาธิ ต ไอคิ โ ด ของเด็ ก ไร ส ั ญ ชาติ จ าก แมฮองสอน ในงาน มหกรรมพลั ง คนหนุ ม สาว สรางสรรคสังคม จัดโดย เครื อ ข า ยเด็ ก และเยาวชน ภาคเหนือ เมื่อ 6-8 มิ.ย. 51 ที่โรงแรมเดอะแฟมิลี่ เชียงใหม
หน้า ๑๕
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
มาเยี่ยมมาเยือน
Peter MacLean Sensei
ปีเตอร์ แมคลีน - เซนเซ (5 ดั้ง) เป็นผู้สอนร่วมกับพอล แมคลีน ที่โดโจ Antigonish Aikikai เมือง Nova Scogia ประเทศคานาดา
I am living in the Atlantic Provinces, on the east coast of Canada, from the small town of Antogonish, Nova Scotia. Antogonish Aikikai at Saint Francis Xavier University with my brother Paul. I started practicing aikido in Halifax over 30 years ago. Growing up as a child, my father taught judo, it was through his influence that my brother Paul and I started aikido in 1979. From that day we haven't looked back, aikido continues to fill our lives period.
(5th Dan)
ตลอดเดือนมีนาคม-เมษายน 2551
Judo "the gentle way" is similar to aikido so it was easy to comprehend initially some of the principles and our judo breakfalls was an asset. The free flowing movement and noncompetitive aspect of training is very appealing. หน้า ๑๖
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
I'm most grateful for the opportunity to practice and teach at CMU Aikido Club. Thank you Sensei Sombat and all dojo members from welcoming me so sincerely. One of the aspect of aikido is to be connected to uke and nage, a feeling of kokyu flowing through your body. Aikido is free flowing movement for both uke and nage, nage responding to uke's committed attack.
Last year was our 30th anniversary in Nova Scotia, celebrating with Kawahara Shihan, as our guest instructor, from Victoria, BC. He has been our sensei all of these years. He has been very supportive in our region coming to instructor at seminars and summer camps annually. Mr. Kawahara is the technical director for all of Canada and affiliation with Canadian Aikido Federation. After 30 years, there are five active dojos in Nova Scotia spread throughout the province. We continually support one another by attending seminars at each others' respective dojos throughout the year. This has been essential in the development of aikido in our province. Promoting the true spirit of aikido, bring people together in a peaceful environment which bring out the best in each individual. Striving to nourish our full potential on and off the mats.
หน้า ๑๗
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
It was rewarding and made it easy for me when instructing at the dojo because students were supportive and attentive, putting energy out and getting some back allows for interesting practice to manifest and train in the moment, being totally present, mind is clear, body relaxed and spirit unleashed. The understanding of "kokyu" is essential to the exchange of energy experienced when practicing, it encompasses and is part of everything, every movement. Practice and training basic form, "kata"... irimi, tenkan correct body alignment and four principles of aikido... Keeping one point relaxing, keeping body weight underside or down and fully extended will assist to develop a sense of body movement and awareness of centre. It is very important to learn basic detail and basic movement. The application of the form when done correctly can then be applied to techniques, keeping the "body" flexible and also the "mind" flexible so we don't get stuck. Aikido is like water in the river always flowing, moving around obstacles not through them. Combining mind, body and spirit and all one does on and off the mats creating positive actions. Thank you very much for this opportunity.
Antigonish Aikikai ที่อยู่ของโดโจ : St. Francis Xavier University Oland Center Building (Combat Room) Antigonish, NS B2G 2W5 902-863-4475 peter.maclean@ns.sympatico.ca
Peter MacLean ติดต่อเซนเซได้ที่ : c/o Peter MacLean RR # 1 James River 20 Hemeway Lane Antigonish, NS B2G 2K8 902-863-4475 peter.maclean@ns.sympatico.ca
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
มาเยี่ยมมาเยือน
วันที่ 19 เดือนพฤษภาคม 2551
Freddy T.H. Khong Sensei (5th Dan) ก่อนที่เฟรดดี้-เซนเซจะมาเรียนไอคิโด ท่านได้ ศึกษาวิชาวูชู คาราเต้ และยูโดมาก่อน จนกระทั่งในปี 1962 จึงได้ฝึกฝนไอคิโด ภายใต้การ ดูแลของ Lee Meng Kum-sensei ่เฟรดดี้-เซนเซ เริ่มสอนไอคิโดใน ปี 1965 และได้บวชเป็นพระใน ประเทศไทยในปี 1969 จากนั้นก็ได้ ศึกษาธรรมะ ปฏิบัติกรรมฐาน และการรักษาโรคแนวธรรมชาติโดยเฉพาะการฝัง เข็ม ยิ่งไปกว่านั้น ท่านยังได้เดินทางไปยังประเทศต่างๆในยุโรปและอเมริกาเพื่อ เผยแผ่ธรรมะอีกด้วย ท่านได้กลับมาประเทศสิงคโปร์อีกครั้งในปี 1982 ร่วมก่อตั้ง Aikikai สิงคโปร์ในปี 1987 และ Singapore Aikido Federation ในปี 2002 ร่วมกับ โดโจต่างๆในประเทศสิงคโปร์
หน้า ๑๙
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
หน้า ๒๐
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
อานไดอานดิ................โดย...นายหนาอาน Aikido
กลับมาอีกครั้งนะครับ หลังจากหายหนาหายตาไปปกวา ก็ไปหมกตัวหาหนังสืออานนะครับ ตองขออภัยดวย คราวนี้ผมจพพยายามแวะเวียนมาแนะนำ หนังสือใหถี่ขึ้นครับ J ฉบับนี้ขอแนะนำหนังสือเรื่อง “Preemptive Reconciliation - Aikido - Changing the Nature of War” เปนหนังสือของกลุม Warrior for Peace ของ ฟลิปปนส เคารวบรวมประสบการณการสอนสันติวิธีผาน การฝกไอคิโดใหกับชุมชนในพื้นที่แหงความขัดแยง โดย เฉพาะนั ก รบแบ ง แยกดิ น แดนและกลุ ม คอมมิ ว นิ ส ต ท ี ่ อ ยู J JJ J J บนเกาะเนกรอส J พอผมทราบวาคุณโนเอล(เจาสำนัก) ไดมอบหนังสือใหกับอาจารยสมบัติเมื่องาน ไอคิโดเอเซียตะวันออกเฉียงใตเดือนเมษายนที่ผานมา ผมก็ปรี่ไปขอยืมมาอานทันที J หนังสืออานงายมากครับ แบงเปนสามบท บทแรกพูดถึงศิลปะแหงสงคราม ประวัติ ความเปนมา ยุทธวิธีแหงการสูรบ รวมไปทั้งบูชิโดคืออะไร ตอมาบทที่สองพูดถึง ศิลปะแหงสันติภาพ เปนวิธีการมองศิลปะการสูรบในวิถีแหงไอคิโด ในนี้อธิบายชัดเจนวา ไอคิโดทำใหเกิดสันติไดอยางไร สวนบทสุดทายพูดถึง การเปลี่ยนธรรมชาติแหงสงคราม และยกตัวอยางกิจกรรมไอคิโดที่เขาไปทำมาในชุมชนที่ทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในจิตใจของ นักรบเหลานั้นอยางไรบาง ; ไดขาววาพี่กบเคาถายเอกสารไวใหที่ชมรมแลว ไปหาอานเอานะครับ! “The way of the warrior has been misunderstood as a means to kill and destroy others. Those who seek competition are making a grave mistake. To smash, injure, or destroy is the worst sin a human being can commit. The real way of the warrior is to prevent slaughter - it is the Art of Peace, the power of love.” (Morihei Ueshiba)
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
Aikido Family รดน้ําดําหัว ๒๕๕๑
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
หน้า ๒๓
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB ฉบับที่ ๑๗ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)
ควันหลง...
ปฏิทินกิจกรรม
! T
กิจกรรม
วัน - เวลา
สถานที่
ฝกเคน (ดาบ)
จันทร - พุธ - ศุกร ๑๗.๐๐ - ๑๘.๐๐ น.
ชมรมไอคิโด
ฝกประจำสัปดาห! T T T T T T
จันทร-พุธ-ศุกร ๑๘.๐๐ - ๒๐.๓๐ น.T สถานที่ฝก ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม ใตถุนตึกอาคารกิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม หน้า ๒๔