#18 AikidoCMU

Page 1

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

AikidoCMU NEWSLETTER

จัดทําโดย ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาคารกิจกรรมนักศึกษา (อ.มช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถ. สุเทพ อ.เมือง จ. เชียงใหม่ 50200 ติดต่อได้ท ี่

ปิง (ประธานชมรม) 087-1772511

ป๋อม (ผู้ประสานงานชมรม) 089-701 7686

กบ (บรรณาธิการจดหมายข่าว) 084-047 4344

Website:

http://www.geocities.com/cmu_aikido

Email:

AikidoCMU@gmail.com


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

ช่วงนี้สอบมิดเทอม น้องๆตั้งใจเรียนกันหน่อยนะค๊า ไม่งั้นต้องมารับจ๊อบพิเศษอย่างพี่

นักเขียนในฉบับ สารบาญ ดร.สมบัติ

ไอคิโดกับภาวะผูนำ ขอคิดจากเนลสัน แมนดาลา .....ดร.สมบัติ ตาปญญา CENTERING AND GROUNDING .....อ.ธีระรัตน บริพันธกุล จุดยืน จะมั่นคงได ตองรูจักถายเท ... วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ มาฝกไอคิโดกับเด็กๆกันเถอะ ... วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ แนะนำประธานชมรมไอคิโด ม.ช.: ปง ฤกษพิศุทธิ์ มาเยี่ยม มาเยือน : KOICHI ASAMI (3RD DAN) AIKIDO(KA) IN FOCUS เด็กๆวังคำ อานได อานดิ ... นายหนาอาน AIKIDO FAMILY: รดน้ำดำหัว ๒๕๕๑ ปฏิทินกิจกรรม

๓ ๑๑

ตาปัญญา อ.ธีระรัตน์ บริพันธกุล

๑๔ ๑๗ ๒๐ ๒๒ ๒๓ ๒๖ ๒๘ ๒๘

วิสุทธิ์ เหล็ก สมบูรณ์

โฟกัส

นายหน้าอ่าน

หน้า ๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

ไอคิ โดกับภาวะผูนำ ขอคิดจากเนลสัน แมนดาลา ผศ.ดร. สมบัติ ตาปญญา

! กอนอื่นคงตองเกริ่นกันสักนิดสำหรับคนที่อาจยังไมคุนเคยกับเนลสัน แมนเดล ลา เขาคือผูนำของอัฟริกาใต ไดรับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในป ค.ศ. 1993 และ ดำรงตำแหนงเปนประธานาธิบดีของประเทศระหวางป ค.ศ. 1994-1999 ! แตที่นาทึ่งอยางยิ่งก็คือ ในวัยเด็กเขาเคยเปนเพียงเด็กเลี้ยงวัว ตองตอนฝูงวัว ไปกินหญาตามทุงนา เมื่อเขาอายุเพียงเกาขวบพอก็เสียชีวิตลง และหัวหนาเผาใน หมูบานเอาเขาไปเลี้ยงแทน เขาไดเขาเรียนจนจบมัธยมปลายเมื่ออายุ 19 แลวจึง เรียนตอในมหาวิทยาลัยในทองถิ่น เขาเริ่มกอตั้งองคกรทางการเมืองเมื่ออายุ 26 ป และทำการรณรงคตอตานกฎหมายที่ไมเปนธรรมซึ่งรัฐบาลผิวขาวบัญญัติขึ้นเพื่อ กดขี่คนผิวดำในประเทศเดียวกัน แตสิบปตอมาเขาก็ถูกจับขังคุกและตองติดคุกอยู นานถึง 27 ป ภาพจาก http://blog.travelstart.co.za/2007/01/index.html

หน้า ๓


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

! เมื่อเขาออกจากคุกมาในป ค.ศ. 1990 นั้นเขาอายุ 72 ปแลว ดวยวัยขนาดนี้ สำหรับคนสวนใหญก็คงไมอยากทำอะไรแลว แตสำหรับแมนเดลลา เขายังทำงานตอ ไปอยางไมหยุดยั้งจนกระทั่งไดรับรางวัลโน เบลและไดเปนประธานาธิบดี ที่มาจากการเลือกตั้งในอีกสี่ปตอมา ! ถึงตอนนี้ผูอานคงอยากรูกันแลววา! เนลสัน แมนเดลลา มีหลักการอะไรใน การเปนผูนำของเขาจึง ทำใหเขาไดประสพความ สำเร็จเชนนั้น บังเอิญผม เปนสมาชิกนิตยสารไทม รายสัปดาหอยูและฉบับ ลาสุดในสัปดาหที่ผานมา นี้ (21 กรกฎาคม 2008)

!!

ภาพจาก http://pinzoner.wordpress.com/

มีเรื่องของแมนเดลลาขึ้นปก ฉลองครบรอบวัน เกิดอายุ 90 ปของเขา โดยใหหัวเรื่องวา “เคล็ด ลับของภาวะผูนำ – แปดบทเรียนจากหนึ่งใน บุคคลผูเปนสัญลักษณทางประวัติศาสตร” เขียนโดยริชารด สเตงเกล ผูซึ่งเคยไปใชชีวิตอยู กับแมนเดลลาถึงสองปเพื่อเขียนหนังสือ ชีวประวัติของเขา

ภาพจาก http://www.time.com/time/ covers/0,16641,1101080721,00.html

! ผมอานดูแลวมีบางสวนที่คลายกับหลักการ ของไอคิโดที่เราใชเปนแนวทางในการปฏิบัติตอผู อื่นมาก เลยอยากเรียบเรียงมาแบงปนกับพวก เรา เพื่อใหเห็นวาไอคิโดมีความเปนสากล หรือมี สัจจธรรมอยูในหลักของไอคิโดไมนอยทีเดียว แม


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

! นักโทษที่เคยอยูรวมคุกกับ เขาบอกวาเพียงแคเห็นแมนเดล ลาเดินผานสนามหญาอยางองอาจ มั่นคงหนึ่งครั้งเขาก็เกิดความ มั่นใจที่จะสูชีวิตตอไปไดอีกหลาย วัน เขารูวาเขาเปนแบบอยางให ภาพจาก http://www.wethepeoplepolitics.com/ คนอื่นๆ และมันทำใหเขาเขมแข็ง มากพอที่จะเอาชนะความกลัวของ เนลสัน แมนเดลลาอาจไมเคยรูจักไอคิโดเลย แต ตนเองได สิ่งที่เขายึดเปนแนวทางการปฏิบัตินั้นชาง เหมือนกับของไอคิโดอยางนาประหลาดใจทีเดียว J บทเรียนที่สอง นำจากขาง หนา และอยาทิ้งฐานไวขางหลัง ! J บทเรียนที่หนึ่ง ความกลาไมใชการ ! ในชวงที่ติดคุกอยูนั้นแมน ปราศจากความกลัว แตเปนการสรางความ เดลลาตัดสินใจวาถึงเวลาแลวที่จะ บันดาลใจใหคนอื่นๆ เอาชนะมันไดตางหาก ตองเจรจากับผูกดขี่ เมื่อเขาเริ่ม ! เขาเคยบอกผูเขียน (ริชารด สเตงเกล) วา การเจรจากับรัฐบาลอัฟริกาใตในป ชวงที่เขาทำงานใตดินเพื่อตอตานรัฐบาลผิวขาว 1985 นั้น หลายคนคิดวาเขาหมด และตองติดคุกอยูนานนั้น เขากลัวบอยๆ เพราะ หวังในการตอสูเสียแลว แตเขาก็ อันตรายตางๆ ที่เขาตองเผชิญนั้น หากไมมี ยืนหยัดที่จะดำเนินการตอและ ความกลัวเลยก็คงจะไมสมเหตุผลแนนอน “แต พยายามไปชักชวนเพื่อนรวม ในฐานะผูนำคุณจะปลอยใหประชาชนเห็น อุดมการณในคุกทีละคน และ ไมได คุณตองวางมาดใหดี” และนั่นคือสิ่งที่ สามารถนำพวกเขาใหดำเนินงาน เขาเรียนรูจนเชี่ยวชาญ คือการแสดงใหเห็นวาไร ตามไปไดอยางชาๆ ความกลัวจนกลายเปนการสรางความบันดาลใจ ใหคนอื่นๆ เอาชนะความกลัวไปดวย หน้า ๕


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

! สมาชิกในกลุมคนหนึ่งบอก วาแมนเดลลาเปนผูนำที่ตองนำ สมุนไปยึดชายหาดใหไดกอน แลว จึงปลอยใหพรรคพวกเดินตอไป หลักการของเขามีประการเดียวที่ มั่นคงอยางชนิดที่จะไมมีใครมาสั่น คลอนได คือการลมลางการแบง แยกผิวและใหทุกคนมีสิทธิออก เสียงเลือกตั้ง แตวิธีการที่จะไปให ถึงนั้นจะเปนอะไรก็ได J บทเรียนที่สาม นำจากขาง หลัง และปลอยใหคนอื่นๆ เชื่อวาพวก เขาอยูขางหนา ! แมนเดลลาเคยใชอุปมาเปรียบ เทียบวาเชนเดียวกับการเลี้ยงวัวเปนฝูง การนำหมายถึงการตอนจากขางหลังฝูง เทานั้น บางครั้งผูนำจึงตองนำจากขาง หลังเชนเดียวกัน เขาเลาวาในวัยเด็ก เมื่อเขาอาศัยอยูกับหัวหนาเผาใน หมูบานนั้น เมื่อมีการประชุม ผูอาวุโสที่ เขาประชุมจะนั่งลอมเปนวง และหลัง จากที่หัวหนาเผาไดใหโอกาสทุกคนพูด แลวเทานั้นเขาจึงจะเริ่มพูดบาง

! เขาบอกวาหนาที่ของหัวหนาไมใชการ บอกหรือสั่งใหคนอื่นๆ ทำอะไรตางๆ แต เปนการฟงเสียงสวนใหญมากกวา @ “อยาเขาสูการอภิปรายถกเถียงเร็ว เกินไป” ! ในชวงที่เขาเปนผูนำอัฟริกาใตก็เชน เดียวกัน บอยครั้งในที่ประชุมซึ่งอาจเปน เพียงโตะกินขาวที่บานเขา หรือบนลาน หนาบาน สมาชิกของกลุมจะนั่งลอมวงกัน บางคนจะตะโกนเรง บอกใหเขาไปเร็วๆ หนอย หรือทำอะไรที่รุนแรงกวานี้ แตแมน เดลลาก็จะนั่งฟงเงียบๆ เทานั้น

ภาพจาก http://www.nelsonmandela.org/index. php/ news/article/ commemorating_18_years _of_freedom/

หน้า ๖


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

! ตอเมื่อทุกคนพูดเสร็จแลว เขาจึงจะเริ่ม พูดบาง โดยสรุปยอสิ่งที่แตละคนพูดอยางเปน ขั้นเปนตอน แลวจึงคอยๆ เปดเผยความคิด ของเขาเอง คอยๆ นำใหกลุมเคลื่อนไปใน ทิศทางที่เขาตองการโดยไมไดแสดงใหเห็นวา เปนการยัดเยียดความคิดหรือฝนใจคนอื่นๆ เลย กลเม็ดของการเปนผูนำก็คือบางครั้งตอง ปลอยใหตัวเองเปนฝายถูกนำบาง เขากลาววา “เปนการฉลาดที่เราจะชักชวนใหคนทำสิ่ง ตางๆ โดยทำใหเขาคิดวามันเปนความคิด ของเขาเอง” J บทเรียนที่สี่ รูจักศัตรูของคุณและเรียนรู เกี่ยวกับกีฬาโปรดของเขาดวย ! ! ! ! ยอนไปไกลถึงชวงทศวรรษที่ 1960 แมน เดลลาเริ่มเรียนภาษาอัฟริกาน (Afrikaans) ซึ่ง เปนภาษาของคนผิวขาวในอัฟริกาใตผูกอตั้ง ลัทธิแยกผิว พรรคพวกของเขาตางพากันลอ เลียนเขาวาจะรูไปทำไม แตเขาตองการเรียนรู มุมมองของฝายศัตรู เขารูวาสักวันหนึ่งเขาจะ ตองสูหรือไมก็ตองตอรองกับคนพวกนี้ ความ คิดเชนนี้อยูบนพื้นฐานของยุทธศาสตรสอง ประการคือ ! การพูดภาษาของศัตรูจะทำใหเขาเขาใจ ถึงความเขมแข็งและจุดออนของพวกเขา และ หาทางตอสูได และก็จะเปนการทำใหพวกนั้น

ปกหนังสือ “Playing the Enemy”! เป็น ภาพของแมนเดลล่า มอบถ้วยรักบี้เวิล์ดคัพให้ แก่ Francoir Piennar ในปี 1995 ภาพจาก http://www.nzherald.co.nz/section /4/story.cfm?c_id=4&objectid=10470346

ชอบเขาดวย ผูคนทุกระดับตั้งแตผู คุมในคุกไปจนถึงผูนำของคนผิว ขาวลวนประทับใจที่เขาตั้งใจเรียนรู ภาษาและประวัติศาสตรของพวก เขา แมนเดลลาทำแมกระทั่งการ หาความรูเกี่ยวกับรักบี้ซึ่งเปนกีฬา โปรดของคนผิวขาวในอัฟริกาใต ดวย เพื่อเวลาที่พูดคุยกับพวกเขา จะไดรูวาทีมไหนหรือใครที่เลนดี หน้า ๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

! เขารูวาคนผิวดำและคนผิวขาวใน อัฟริกาใตมีพื้นฐานบางอยางคลายกัน คือ คนผิวขาวที่นั่นเชื่อวาเขามีความเปนอัฟริ กันมากพอๆ กันกับคนผิวดำ และเขาก็รู ดวยวาคนผิวขาวเหลานี้เปนเหยื่อของการ ดูถูกเหยียดหยามและเลือกปฏิบัติจาก รัฐบาลอังกฤษและฝรั่งชาติอื่นๆ ที่มาตั้ง รกรากอยูที่นี่ดวย

! พวกเขามีปมดอยทางวัฒนธรรม มากเกือบพอกันกับคนผิวดำ แมนเดลลา เปนทนายความและเมื่ออยูในคุกก็ไดให คำปรึกษาปญหาดานกฎหมายกับผูคุม ซึ่งเปนคนผิวขาวดวย ซึ่งเปนเรื่องที่นา ประทับใจสำหรับคนเหลานี้มากที่เขา เห็นวาคนผิวดำมีเจตนาและมีความ สามารถที่จะชวยเขาได เพราะพวกเขามี การศึกษาและความรอบรูเจนจัดโลก นอยกวาแมนเดลลามากนัก J บทเรียนที่หา ใหมิตรอยูใกลๆ และศัตรูตองเอาไวใหใกลยิ่งกวา N N N แขกหลายคนที่แมนเดลลาเชิญให มาที่บานเปนคนที่เขาไมไดไววางใจเต็มที่ เลยทีเดียว เขาเชิญคนพวกนี้มากินขาว ปรึกษาเรื่องตางๆ กับเขา แสดงความ ชื่นชมและใหของขวัญแกพวกเขา !

แมนเดลล่ากับสหายวอลเตอร์และสุนัขชื่อบลู ทําความเคารพแบบ “Afrika” หลังจากใช้เวลาด้วย กันในคุกราวสองทศวรรษ ภาพจาก http://www.dogsforpeace.com/tide.htm

! แมนเดลลาเปนคนมีเสนหที่ยากจะ หาใครเทียบเคียงได และเขาจะใชเสนห ของเขากับคูแขงมากยิ่งกวากับพันธมิตร เสียอีก เขาจะจำวันเกิดของคนเหลานี้ได และโทรไปอวยพร ไปงานศพของ ครอบครัวพวกเขาดวย เมื่อเขาออกจาก คุกมาแลวเขาก็ปฏิบัติตอผูคุมเหมือน หน้า ๘


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

เพื่อนและแตงตั้งผูนำผิวขาวที่เคยพยายาม ใหเขาตองอยูในคุกนานๆ ใหมีตำแหนงใน สภา แมนเดลลาเชื่อวาการโอบกอดศัตรูไว หรือทำใหเขาอยูภายในขอบเขตที่เรามี อิทธิพลอยูเปนวิธีหนึ่งที่จะควบคุมพวกเขา ได หากปลอยใหอยูหางพวกเขาจะมี อันตรายมากกวา J บทเรียนที่หก รูปโฉมภายนอก สำคัญ และอยาลืมยิ้ม ! ! ! ! ! แมนเดลลาไมไดเปนนักพูดที่ โดดเดนและบอยครั้งคนฟงมัก ใจลอยไปที่อื่นหลังจากฟงเขา พูดเพียงไมกี่นาที แตเขาเชื่อ วาสัญลักษณนั้นสำคัญพอๆ กันกับสาระ ! เขารูวารูปลักษณ ภายนอกจะชวยสงเสริมใหเขา ไปสูเปาหมาย ได และจะ เอาใจใสแตง ตัวใหเหมาะสม กับโอกาส ตางๆเสมอ

! เขาเปนคนผิวดำในอัฟริกาใตคน แรกที่ไปวัดตัวตัดชุดเสื้อนอกที่รานตัด เสื้อของชาวอินเดียที่นั่นในชวง ทศวรรษที่ 1950 ! แตสิ่งที่เปนที่ประทับใจของคน ทั่วไปและมีผูกลาวถึงอยูเสมอก็คือรอย ยิ้มที่สวางไสวเหมือนพระอาทิตยเปลง ประกายทะลุเมฆออกมาในวันที่มืด ครึ้ม เปนยิ้มที่สดใสเต็มเปยมดวย ความสุขและตอนรับทุกคน สำหรับคนอัฟริกันผิวขาว รอยยิ้มของเขาเปน เสมือนสัญลักษณที่ บอกวาเขาปราศจาก ความขมขื่นและมีความ เห็นอกเห็นใจ และ สำหรับคนผิวดำผูออก เสียงเลือกตั้งมันเหมือนจะบอก วาฉันคือนักรบที่มี ความสุขและเรา จะชนะแนนอน

ภาพจาก http://www.flickr.com/photos/ onionpowder/142147956/

หน้า ๙


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

J บทเรียนที่เจ็ด ไมมีอะไรขาวหรือ ดำโดยสิ้นเชิง สำหรับแมนเดลลา แลว ชีวิตไมเคยเปนเพียงอยางใด อยางหนึ่ง การตัดสินใจนั้นซับซอน และมีปจจัยตางๆ มากมายเกี่ยวของ เสมอ สมองมนุษยมักพยายามมองหาคำ ตอบงายๆ แตมันไมตรงกับสภาพความ เปนจริง ไมมีอะไรตรงไปตรงมาอยางที่ ปรากฏใหเห็นภายนอก ปญหาทุกอยาง มีสาเหตุมากมาย ! และหลายคนก็รูสึกวาหลังจากหลาย ปที่เขาเสียไปในคุกสิ่งนี้อาจเปนอยางนอยที่ ! ในขณะที่เขาตอตานการแบงแยก สุดที่อัฟริกาใตจะใหกับเขาได แตมันเปน ผิวอยางชัดเจน แตเขาก็รูวาสาเหตุของ ความตั้งใจของเขาที่จะทำไวใหเปนตัวอยาง เรื่องนี้นั้นซับซอน มีทั้งมิติทาง แกคนที่จะติดตามมาในภายหลัง ไมเพียง ประวัติศาสตร สังคมวิทยา และจิตวิทยา แคอัฟริกาใตเทานั้น แตรวมถึงประเท วิธีคิดของแมนเดลลาคือตั้งคำถามเสมอ ศอื่นๆ ในทวีปอัฟริกาทั้งหมด เขาอยูใน วา เปาหมายที่ฉันตองการคืออะไร และ ตำแหนงเพียงหาป ระหวางป ค.ศ. 1994 วิธีไหนที่จะมีประสิทธิภาพที่สุดที่จะไป ถึง 1999 เทานั้น ใหถึงได? J บทเรียนที่แปด การหยุดก็คือ การนำดวย ! ตำนานยิ่งใหญที่สุดที่ แมนเดลลาในฐานะประธานาธิบดีขอ งอัฟริกาใตทิ้งไวใหคนรุนหลัง ก็คือวิธีที่ เขาเลือกที่จะลงจากตำแหนง แมวาเขา อาจเรียกรองใหตัวเองเปนประธานาธิบดี ตลอดชีวิตก็ได

N เพื่อประหยัดเนื้อที่และเวลา และไม เปนการดูถูกภูมิปญญาผูอานสมาชิกชาวไอคิ โดซึ่งคุนเคยกับหลักการของไอคิโดอยูแลว ผู เรียบเรียงจะขอไมแจกแจงวาแนวคิดของเนล สัน แมนเดลลากับหลักการของไอคิโดมีความ คลายคลึงกันตรงไหน แตอยากใหทานลอง ทบทวนดูเองและอภิปรายถกเถียงกันตอเพื่อ ประเทืองปญญานะครับ


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

Centering and Grounding อ.ธีระรัตน บริพันธกุล

ผมเปนแฟนหนังสือพิมพ “มติชน” โดยเฉพาะในคอลัมภ & “จับดวยจิต” มีฉบับหนึ่งที่ลงเรื่องที่เกี่ยวของกับไอคิโด ผมจึงเอา เรื่องนี้มาลงใหพวกเราไดอานกัน เพื่อเปนแนวคิดใหพวกเราไดนำ ไปใชเพื่อพัฒนาฝมือกันตอไป เรื่องก็มีอยูวา………………… R คนสมัยใหมแมวารางภายนอกจะดูเหมือนวาครบปกติ แตในรูปแบบของพลังงานที่ไหลออกมานั้นไมมีความสมดุลเลย ถาจะเปรียบเทียบก็เหมือนสิ่งมีชีวิตที่มีหัวใหญมากและหัวมักจะ ใหญขางซายมากกวาขางขวาเพราะใชพลังของสมองซีกซาย มากกวาหัวใจ(สมองชั้นกลาง) สองสวนที่เกี่ยวกับอารมณและ ความรูสึกจึงเล็ก สมองสวนของการคิดและใชเหตุผลจึงใหญ R ขณะเดียวกันแขนขาก็ลีบเพราะไมคอยไดหยิบจับอะไร ถา เปรียบกับตนไมก็เหมือนกับตนไมที่ไมมีรากแกว ที่พรอมจะโคน ลมทันทีเมื่อมีพายุพัดผานเขามา ถาเราลองใหใจของเราไปสนใจตรง ในบทความนี้ผูเขียนอยากลงลึกถึง ตำแหนงนี้อาจจะใชมือทั้งสองขางไปกุมอยูที่ เทคนิคงายๆในการเขาหา “ปญญากาย” ตำแหนงนี้ดีๆแลวสังเกตการหายใจของเราให หรือการฝกสมองชั้นตนของเราใหแข็งแรง สัมพันธกับการเคลื่อนไหวของตำแหนงนี้ เรา ผูเขียนพบวาทักษะพื้นฐานในเรื่องของ กำลัง “เซ็นเตอริง” ครับ ใหเราเคลื่อนไหว “การรับรูตระหนักรู” นั้นสำคัญมาก รางกายเชนลองเดิน โดยที่ใหใจอยูที่ “จุด กึ่งกลางลำตัว” ที่วานี้ ลองรักษาใหระดับของ R “เซ็นเตอริ่ง” คือการกลับมาให ตำแหนงนี้อยูในระดับที่คงที่สูงจากพื้นดินใน ตระหนักรู ณ จุดกึ่งกลางของรางกาย ตำแหนงเดิม ความสูงเดิมในขณะที่แขนขาเรา ทั้งหมด นั่นก็คือตำแหนงที่ต่ำกวาสะดือของ เคลื่อนไหวไปชาๆจะทำใหเราสามารถเขาสู เราประมาณหนึ่งนิ้วถึงหนึ่งนิ้วครึ่ง “เซ็นเตอริง”ไดดีมากขึ้นเรื่อยๆครับ ภาพจาก http://lolife.blogfa.com/post-13.aspx

หน้า ๑๑


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

เมื่อเราสามารถ “เซ็นเตอริง” ไดแลว ก็ใหลอง “กราวดิ้ง” ซึ่งในที่นี้หมายถึง การกลับสูพื้นปฐพี การกลับสูพื้นดิน การมี รากหรือการจมตัวลง

“กราวดิ้ง” ของรางกายมนุษยไมใชมาจับตัว เราไปตอสายดินเหมือนอยางเครื่องใชไฟฟา นะครับ

“กราวดิ้ง” (Grounding) คือการตอ สายดินสำหรับเครื่องใชไฟฟาเพื่อใหพลังงาน ไฟฟาสวนที่ไมเหมาะสมไหลลงพื้นดิน ซึ่งจะ สามารถดูดซับพลังงานเหลานั้น เพื่อ ทำใหเปนกลางและเครื่องใชไฟฟาไม เสียไมช็อต ไมทำอันตรายคนอื่น

การ “กราวดิ้ง” ของรางกายมนุษยก็ คือการถายเทพลังงานลงพื้นดินและการ สรางความรูสึกวารางกายเชื่อมตอ กับพื้นดิน ซึ่งจะสามารถดูดซับ และทำใหประจุพลังงานเปนก ลาง ใหลองยืนใหเทาสองขาง หางกันเปนความกวางประมาณ หัวไหล เทาทั้งสองขางเปนเลข 11 คือขนานไปขางหนา ใหรูสึก วากำลังยอตัวลงเหมือนกำลังจะ นั่งลงบนเกาอี้ที่วางจออยูที่ กนกบของเราต่ำกวาทายืน ปกติเพียง 1-2 นิ้ว

“รางกายของมนุษย” ก็ตองการ “กราว ดิ้ง” เชนเดียวกันครับ R ในแตละวัย รางกายของเรามีพลังงาน ที่ไมเหมาะสมและไมประสานงานกัน วิ่ง วุนวายมากมาย ถารางกายมนุษยได “กราว ดิ้ง” จะชวยใหพลังงานเหลานี้ในรางกายได ไหลเวียนอยางเหมาะสมมากยิ่งขึ้น แตการ

เซ็ตลำคอดวยการให จินตนาการวาที่จุดสูงสุดของ ศีรษะของทานมีที่แขวนลวด สะลิงที่ขึงทานไปที่กอนเมฆใน แนวดิ่ง 90 องศา แบบนี่จะ ทำใหทานเก็บคางลงมาเล็ก นอยและขากรรไกรลางของ ทานจะผอนคลายลง ภาพจาก http://ecmweb.com/grounding/ electric_shocking_truth_grounding/ และ http://www.prom-hairstyles.org/beauty/ beauty4.htm

หน้า ๑๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

จากนั้นใหทานปรับน้ำหนักของลำตัว ทั้งหมดใหอยูที่กลางฝาเทา คือไมโยกหนา ไมโยกหลัง ไมโยกซาย ไมโยกขวา ใหเพื่อน ออมไปดานหลังแลวใชมือสองขางกดไปที่หัว ไหลของทาน โดยที่เพื่อนของทานจะกดน้ำ หนักบนหัวไหลในแนวดิ่งคือ 90 องศา ใหทานรับรูถึงน้ำหนักที่เพิ่มเขามาใน ตัวทานจากการกดไหลของเพื่อน ปลอยให ไหลของทานสบายๆ แลวทำความรูสึกใหได วาน้ำหนักตัวที่เพิ่มเขามาจากการกดหัวไหล ของเพื่อนของทานนั้นไหลลงไปที่ฝาเทาทั้ง สองขาง “จดจำความรูสึกตรงนี้ไว” R จากนั้นใหเพื่อนของทานสอดมือ เขาไปใตรักแรของทาน ครั้งนี้ใหพยายามยก ตัวของทานสูงขึ้นในแนวดิ่ง 90 องศาอีก เชนกัน ใหรับรูความรูสึกที่น้ำหนักตัวของ ทานหายไป โดยใหสังเกตความรูสึกที่ฝาเทา ทั้งสองขาง โดยที่ทานจะยังคงใหฝาเทาทั้ง สองขางของทานแนบกับพื้นอยูตลอดเวลา นะครับ “จดจำความรูสึกตรงนี้ไว” เชน เดียวกันนะครับ” ขั้นตอนตอไปเมื่อ “จดจำความรูสึก” ทั้งสองแบบไวไดแลว คราวนี้ใหลองยืนเอง คนเดียวในทาเดิม มือสองขางยังวางขางลำ ตัวสบายๆทิ้งน้ำหนักตัวทั้งหมดใหไหลลงฝา เทาพรอมๆกับการหายใจออกเบาๆ ยาวๆ สบายๆ ขอย้ำวาน้ำหนักตัวทั้งหมดใหไหลลง ฝาเทา

ถาทานรูสึกตึงที่ตนคอ หนักหัว ไหล แสดงวาน้ำหนักทั้งหมดยังไมได ไหลลงฝาเทา ใหลองรูสึกเหมือนตอนที่ เพื่อนของทานกำลังชวยกดไหลทั้งสอง ของทานอยูและเมื่อหายใจเขาใหรูสึก เหมือนกับตอนที่เพื่อนของทานกำลัง สอดมือเขาไปใตรักแรเพื่อยกลำตัวของ ทานขึ้นในแนวดิ่ง 90 องศา ความรูสึก แบบนี้ที่ฝาเทาทั้งสองขางคือ “กราว ดิ้ง” จอนห คองเกอร นักจิตวิทยาสาย โซมาติกสไดบอกไววา “Being ungrounded in this world is dangerous”….เปนอันตรายอยางยิ่งที่ จะอยูในโลกใบนี้โดยไมรูวิธีกราวดิ้ง ริชารด เฮกเลอร ซึ่งเปนครูสอน ไอคิโดบอกไววา “If we work through the body, we shall discover who we are and how we can cultivate certain qualities in life ”…ถาเรา เรียนรูผานรางกายของเรา เราจะรูวา เราเปนใครและเราจะรูวิธีที่จะบมเพาะ คุณภาพชีวิตที่ดีบางอยางของเราได เอกสารอางอิง

เซ็นเตอริ่งแอนดกราวดิ้ง โดยนพ.วิธาน ฐานะวุฑฒ หนังสือพิมพมติชน ฉบับวันที่ 30 มีนาคม 2551 หนา 6 หน้า ๑๓


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

จุดยืน จะมั่นคงได้ ต้องรู้จักถ่ายเท สโมสรผูนำเยาวชนเพื่อการศึกษาและพัฒนาชุมชน อำเภอปางมะผา จังหวัดแมฮองสอน วิสูตร เหล็กสมบูรณ์

! สองสามวันกอน ผมไดรับอีเมลจากผู ชวยนักวิจัยคนหนึ่ง เธอเลาถึงความรูสึกกับ งานที่ทำวาจะมาถึงทางตัน และรูสึกวาตัว เองสับสนในจุดยืน คิดวาตัวเองนาจะไดหา อะไรทำที่มั่นคงกวานี้ ก็เลยเมลมาถามถึง ทรรศนะของผม ! จริงๆ ผมเองก็ไมคอยถนัดนักนะครับ เรื่องการใหคำแนะนำใคร เกรงจะเปนการ ชี้นำโดยไมรูตัว แตผมขอเลาจาก ประสบการณของตนละกันนะครับ ! ในชั้นเรียนศิลปะปองกันตัวไอคิโด ซึ่ง ก็คือโรงรถตอนเย็นทุกวันที่บานผม ผมมัก จะบอกเด็กๆเสมอวา การทรงตัวเปนพื้นฐาน ที่สำคัญมาก ถาเรายืนไมมั่นคงตั้งแตแรก เสียแลว จะใชเทคนิคอะไรไปจัดการกับผู โจมตีก็ไรผล ! การสัปประยุทธกับปญหา รอยคนก็ อาจจะรอยกระบวนทา และก็ใชวาจะเลียน แบบกันไดเสมอไปนะครับ เทคนิคบางอยาง

ภาพการสาธิตไอคิโดของเด็กๆปางมะผา 22 มี.ค. 51 ณ บานปาแป อ.แมสะเรียง จ. แมฮองสอน

อาจจะสะดวกสำหรับผูที่ตัวเล็ก บางเทคนิค เหมาะกับคนที่มีขายาว การใชเทคนิคก็ยัง ตองสัมพันธกับแรงของผูที่เขามากระทำ ทั้ง ยังตองสัมพันธกับแสงสวาง ดิน ฟา อากาศ สิ่งแวดลอมรอบขาง เชน ในที่โลง หรือในที่ แคบ ในที่มืด หรือสวาง ในที่ที่มีสิ่งกีดขวาง หรือบนเบาะฝกที่ลมไดอยางปลอดภัย หน้า ๑๔


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

! นาสังเกตวา การเปลี่ยนตำแหนงในที่ นี้ ไมไดหมายถึงการเปลี่ยน “จุดยืน” นะครับ แตเปนการถายเทพลังจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งเพื่อความเหมาะสมในการจัดการปญหา ! ตรงขามกับผูที่ยึดมั่นกับตำแหนงที่ยืน วาเปน “จุดยืน” เมื่อมีแรง มีปญหาหนักๆเขา มากระทบ ยอมถูกปะทะอยางรุนแรง ชนิด ใครจะอยูใครจะไป และนั่นไมใชศิลปะการ ตอสูที่ดี เพราะมันตอบคำถามเรื่องสันติภาพ ไมได

ภาพการสาธิตไอคิโดของเด็กๆปางมะผา 26 ม.ค. 51 ณ บานจาโบ อ.ปางมะผา จ. แมฮองสอน

! การทรงตัวใหมั่นคง (ผมขออนุโลมวา การมี”จุดยืน” ที่มั่นคง) คือการทรงพลังอยูใน ตัวเอง แตหากเมื่อมีเหตุรายมากระทบ เรา เองก็ตองเปลี่ยน (ถายเท) ทิศทางตำแหนง ของการยืน ใหเราอยูในตำแหนงที่ไดเปรียบ ไมปะทะกับคูโจมตีตรงๆ และเพื่อเบน ทิศทาง/สลายแรงของคูโจมตี แลวนำเขา กลับสูความสงบ

! หากจุดยืนการมีชีวิตอยูของเราเปน เรื่องสันติภาพ การอยูรวมกับคนอื่นอยาง เขาใจ มีความสุข และมั่นคงจากขางในตัว เองแลว ผมคิดวา จำเปนที่เราจะตองคิดถึง ความมั่นคงของจุดยืน ในมิติที่สัมพันธกับกา ละ เทศะ ตัวตนของเรา และผูอื่น ! จุดยืน จะทรงตัวมั่นคงแมยามมีแรง มรสุมมาปะทะไดตองรูจักตองถายเทอยาง เหมาะสม ! ถายึดติดกับจุดยืน ติดกับตำแหนงที่ ยืน ยอมพบทางตัน เหมือนเวลาคูซอมตรึง เรากับที่แนนๆ เราไมเคลื่อนยายออกจาก แนวปะทะ หากแตมัวแตตั้งมั่น หรือตกใจอยู กับที่ เราก็ยิ่งตอกตรึงตัวเองเปนทางตันแนน หน้า ๑๕


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

! เรื่องทางตันของหนาที่การงานก็ดี ทางตันของชีวิตครอบครัวก็ดี จึงสัมพันธกับวิธีคิด เรื่องจุดยืนนะครับ วารูจักถายเทมากนอยเพียงใด !

นอกจากนี้ ผมคิดวามันอยูที่มุมมองเรื่องทางตันของแตละคนนะครับ

! แรกทีเดียวตองมองกอนวา ที่เราคิดวาตันนั้น มันเปนเพียงมโนภาพที่เราสรางขึ้นใน ใจ หรือใครก็ไมรูบอกวามันตัน แลวเราก็เชื่อรึเปลา !

ผมคิดวาทางตันจริงๆก็คงจะมี แตนอยมากนะครับ

!

ดูสิ ขนาดกำแพงหนาๆ ยังมีรอยรั่ว รูพรุนเล็กๆใหอากาศ ใหน้ำซึมผาน

! คือมันไมไดตันสักหนอย เพียงแตเรามองไมเห็นโอกาสเล็กๆเหลานั้น เพราะมันแตไป มองสิ่งที่เห็นไดชัดกวา เรียกวาถูกลวงโดยสิ่งที่ใหญ ! และถาเรามองเห็นสิ่งที่เราทำ มองอยางพินิจพิเคราะห จะเห็นวาเราสามารถเชื่อม โยงและถายเทสิ่งที่เราทำไปสูงานแขนงอื่นๆ ไปสูผูคนในที่อื่นๆ ไปสูทิศทางการเคลื่อนที่ ใหมๆในชีวิตที่สรางสรรค เหมือนผูชำนาญวิถี ไอคิโด ที่แมผูจูโจมจะ หลั่งไหลมาจาก ทิศทางใด ก็ไมถูกตอก ติดตรึงไวกับการปะทะ ! เปนอีกแวบหนึ่ง ของการคิดใครครวญ นอกโรงฝ ก ซ อ ม ที ่ อยากนำมาฝากครับ

The Art of Peace # ๒๒ เขียนโดย Morihei Ueshiba แปลโดย John Stevens The penetrating brilliance of swords Wielded by followers of the Way Strikes at the evil enemy Lurking deep within Their own souls and bodies John Stevens ไดรวบรวมเอา Doka หรือบทกวีขนาดสั้นของปรมาจารยไว ในหนังสือ The Art of Peace ตอมา William McLuskie ไดนำมาลงเผย แพรที่เวบไซตhttp://omlc.ogi.edu/aikido/talk/osensei/artofpeace/ ภาพ “Sword” โดย Kasumi Bunsho จาก http://zenpaintings.com/artist-bunsho.htm หน้า ๑๖


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

มาฝึกไอคิโดกับเด็กๆกันเถอะ สโมสรผูนำเยาวชนเพื่อการศึกษาและพัฒนาชุมชน อำเภอปางมะผา จังหวัดแมฮองสอน วิสูตร เหล็กสมบูรณ์

! ตัวผม ในฐานะคนที่พอจะมีประสบการณ ในการฝกไอคิโดกับเด็กๆ หาป นี่อาจจะไมนาน นักนะครับ แตก็ไดฝกกับเด็กหลายๆกลุม ทั้งเด็ก ผูมีอันจะกิน เด็กสองสัญชาติ และหลักๆคือเด็ก ไรสัญชาติ เด็กยากจน ก็จะพยายามสังเคราะห ประสบการณของตัวเอง เทาที่พอจะนึกได นำมา ถายทอดเผื่อจะมีประโยชนกับใครๆบางนะครับ ! ขึ้นชื่อวาเด็ก ยอมซุกซน ไมชอบอยูนิ่งๆ ชอบเคลื่อนไหว ถามโนนถามนี่ การไมรู กาลเทศะเหลานี้เปนธรรมดาวิสัยของเด็ก คือ กระตือรือรนที่จะเรียนรูนะครับ ตางจากเด็กที่ เงียบหงิม ผมวาเด็กที่เรียบรอยเกินวัย นี่ดูจะนา หวงกวาเสียอีก ! ดังนั้น ธรรมชาติของเด็กทั่วไป คือความ ซุกซน ชอบเลน ไมชอบการบังคับ การบังคับโดย ! ผมเชื่อวา ทานผูอานหลายๆคน คงมี ประสบการณการฝกไอคิโดกับเด็กๆมาบาง จะ เขาไมเต็มใจ รังแตจะทำลายความคิดสรางสรรค เปนเด็กวัยรุน หรือเด็กแปดขวบก็ดี แตเชื่อวา ประจำวัยของเขา อยาลืมวา พลังสรางสรรคของ ในการฝกเหลานั้น มีอะไรดีๆซอนอยูไมมากก็ เด็กสูงมากครับ ยิ่งสั่งนี่จะยิ่งแอนตี้ บางคนจะดื้อ เงียบ แตหลบซอนความขุนใจไวขางใน บางทีก็ นอย หน้า ๑๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

ไปทำลายความตั้งใจที่จะเรียนรูของเขาโดย ไมรูตัว ที่สำคัญคือเขาจะทำตามเราโดยดู จากการกระทำเปนหลักครับ สวนคำพูดนั้น เปนรอง ทำนอง “Action speaks louder than words” ตามสำนวนฝรั่งประมาณนั้น

! ถาดูตามคำสำนวนที่วา “Action speak lounder than words” ก็นาจะเปนวา ผูสอนเองก็ ตองเขาถึงแกนของหลักวิชาดวย จึงจะสอนเด็กๆได ! แตการสอนเด็ก ก็เปนวิถีทางในการเขาถึง “แกนของไอคิโด” เชนกัน ! เพราะการสอนเด็กที่มีธรรมชาติของการ ซุกซน อยากรูอยากเห็น ดื้อรั้น เปนการสอนให ผูใหญรูจักใชเมตตา รูจักใหอภัย รูจักควบคุม รางกาย วาจาและจิตใจของตัวเองไดอยางชะงัด

! การฝกไอคิโด โดยที่เด็กไดความขุน เคือง คับคองใจกลับไป ก็คงไมใชการฝกที่ดี นะครับ

! เด็กทะเลาะกันบนเบาะ เด็กงวงหงาวหาว นอน เด็กแตงชุดฝกไมเรียบรอย เด็กแกลงกัน เด็กไม เชื่อฟง เด็กบาดเจ็บ ฯลฯ สารพันปญหาที่เขามา ทาทายให เราหาหนทางฝกที่จะ “อยูอยาง กลมกลืน” กับความแตกตางระหวางวัย ระหวาง ความคิดอยางนี้ กับบรรดา “ยักษตัวเล็ก” อยางนอย ก็ในชวงเวลาชั่วโมง สองชั่วโมงบนเบาะ

! จริงๆแลว ไอคิโด มีประโยชนสุข อยางไร อันนี้ คงไมตองอธิบายเพราะกลาว กันไวเยอะแลวนะครับ และทานก็สามารถ สืบคนไดไมยาก แตจะทำให “แกนของ ไอคิโด” เขาถึงจิตใจเด็กนั้น จะฝกไดอยางไร นี่ตางหากคือคำถามที่ทาทาย หน้า ๑๘


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

! จะสอนจะฝกไอคิโดกับ เด็กได ผมคิดวาตองเริ่มจากมุม มอง ไมใชเรื่องเทคนิคหรือ ลำดับสูงต่ำของสายนะครับ มุม มองการฝกอยางนี้ เทากับมอง เห็นความสัมพันธระหวางเรา กับเด็ก มองเห็นตัวเราในเด็ก มองเห็นเด็กในตัวเรา ณ ปจจุบัน และมองเห็นภาพเขา เปนผูใหญที่จะสอนเด็กรุนตอๆ ไปในอนาคต ! การฝกไอคิโดกับเด็ก จึง เปนการฝกไอคิโดกับตัวเราเอง ไปพรอมๆกัน เปนการฝกที่สง ผลตอเนื่องไปไมรูจบสิ้น ! มิพักตองพูดถึง คำที่อาจารยฟูกากูซา เคยพูดไวในงาน Aikido Friendship ครั้ง ลาสุดนี้วา “สายยิ่งสูง ยิ่งตองฝกกับเด็ก ใหมใหมาก เพื่อที่จะไดไมลืมตัว วาแต กอนเราเปนมาอยางไร” ! พักหลังนี้ ผมมาไดยินขาววาเรา สามารถนำไอคิโดไปจัดตั้งเปนชมรมใน โรงเรียนวัฒนโนทัยพายัพไดแลว ผมก็ดีใจ แตสมาชิกผูใหญที่จะไปชวยฝกสอนนั้นมีไม

มาก ผมก็อยากจะใหกำลังใจผานบทความนี้ และเขียนสังเคราะหเล็กออกมาดังเรื่องราว ขางตน เผื่อจะสามารถชวยอธิบายเพิ่มเติม ความสำคัญของการฝกไอคิโดที่มีตอเด็ก และ ตอตัวเรา (ผูใหญ) และอาจจะรวมถึงสันติสุข ของครอบครัว ชุมชน สังคมที่แวดลอมทั้งเรา และเขาตอเนื่องกันไป ฝากบอกตอๆกันไป ชวยกระตุนเตือนใจใหหัน มาฝกไอคิโดกับเด็กๆกันเถอะครับ

หน้า ๑๙


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

มาเยี่ยมมาเยือน Koichi Asami

มิถุนายน 2551

(3rd Dan)

โคอิชิ อาซามิ (3 ดั้ง) ปัจจุบันเป็นสมาชิกที่ เรนบูกัง (สมาคมไอคิโดแห่งประเทศไทย) ฝึกไอคิโดมาสิบปีแล้วตั้งแต่อยู่ที่ประเทศญี่ปุ่นที่เขต โตโกโรซาวะ เมืองไซตามะ โดยฝึกสัปดาห์ละสี่วัน นอกจากฝึกที่กรุงเทพแล้ว ยังได้ขึ้นมาเที่ยว เชียงใหม่บ่อยครั้ง จึงได้มีโอกาสมาร่วมฝึกและร่วม แบ่งปันเทคนิคไอคิโดกับชาวเชียงใหม่บ่อยๆด้วย

ติดต่อคุณอาซามิได้ที่ asami_tokoro@sky.plala.or.jp

หน้า ๒๐


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

Aikido(ka) in Focus

ตอนนี้ชมรมไอคิโดมหาวิทยาลัย เชียงใหมไดขยายตัวออกไปเปดสอน ไอคิโดใหกับนักฝกตัวเล็กๆหลาย สาขา ดวยความหวังวาจะสามารถ ปลูกฝงสันติวัฒนธรรมใหแกเยาวชน คราวนี้เราทำความรูจักเด็กๆที่ฝกไอคิ โดกันบาง N ชั้นสองของอาคารวังคำ บน ถนนนิมมานเหมินทร ทุกวันเสารเวลา 15.30 – 17.00 น. เปนเวลาฝกไอคิโด ในหองฝกขนาดกะทัดรัด ของเด็กๆ อายุระหวาง 6 – 12 ป เมื่อเราถาม เด็กๆวา “ทำไมถึงมาเรียนไอคิโด” เราก็ไดรับคำตอบเปนเสียงเดียวกัน

โดย...โฟกัส

นุย : N“แมใหมาเรียน จะไดไวปอ งกันตัว 9 9 เพราะวาถูกเพื่อนแกลงบอยจะได9 9 เอาไวไปแกลงเพื่อน” นองกรีนก็สวนขึ้นมาทันควัน : “ไอคิโด9 9 เคามีไวปองกันตัว ไมไดใหเอาไป9 9 แกลงเพื่อน” แบมแบม : หนูมาเรียนเพราะวาพอไป9 9 เห็นที่ มช. แลวก็เลยอยากใหหนู9 9 เรียน ตนขาว : เพราะวาพออยากใหหนูเรียน กรีน : พอดีแมผมอยากใหมาเรียน 9 9 9 แลวผมก็อยากเรียนครับเพราะวา9 9 เอาไวปองกันตัว


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

ฮักกี้ : ตอนนั้นแมบอกวาอยากจะมาเรียนกับพี่แบมมั้ย ผมก็เลย9 9 บอกวา เอาครับจะไดปองกันตัวแลวมันก็สนุกดวย Focus : สนุกยังไงคะ ฮักกี้ : สนุกที่ไดเรียนทาหลายๆอยาง Focus : แลวชอบทาไหนคะ ฮักกี้ : ทาที่จับแลวก็ทุม Focus : ชอบเปนคนทุม 9 9 หรือโดนทุมคะ

9

ฮักกี้ : ชอบเปนคนโดนทุม สนุกดี

Focus : ตนขาวละคะ ชอบไอคิโดมั้ย ตนขาว : ก็...ชอบ (พูดเหมือนไมเต็มใจ9 9 ยังไงไมรู) Focus : ไดประโยชนอะไรจากไอคิโดบาง ตนขาว : เอาไวเวลาเลนกับเพื่อน เวลา9 9 เพื่อน9แกลงก็ใชทาไอคิโดกับเพื่อน กรีน: สำหรับปองกันตัวครับ อยูโ รงเรียน9 9 เพื่อนแกลงบอย แบมแบม : เอาไวตอนเลนกับพอ แลวก็9 9 สอนนองดวย พอบอกใหเรียนไว9 9 โตขึ้นจะไดใชประโยชน หน้า ๒๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

Focus : อายุเทาไหรกันคะ กรีน: ครับ ก็ไดเรียนทา99 9 ไอคิโดเยอะแยะครับ9 9 เอาไวปองกันตัวเอง9 9 ไดผมไมชอบเตะตอย9 9 ครับ มันเจ็บ

แบมแบม : 11 คะ ตนขาว : 8 ขวบคะ อยู ป. 39 9 9 โรงเรียนพระหฤทัย

9

ฮักกี้ : 6 ขวบครับอยูชั้น ป. 2 นุย : นุย 13 กรีน: ผมอายุ 6 ขวบครับ

Focus : มีความแตกตางอะไรบางมั้ย9 9 ระหวางตอนที่มาเรียนตอนแรกๆ9 9 กับตอนนี้ Focus : คนอื่นละคะ นุย : ไมรู แบมแบม : อืมม.. ไมรูสิ ตนขาว : ไมรูเหมือนกัน 3

3

?????

เฮอ!! นี่แหละนา เรียนไอคิโดสัปดาหละ หนึ่งชั่วโมงครึ่งก็อยางนี้แหละ หน้า ๒๓


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

อานไดอานดิ................โดย...นายหนาอาน สวัสดีครับ

Aikido

หนังสือแนะนำคราวนี้ ก็คือ “Aikido in Everyday Life:

!

Giving in to Get Your Way”

เขียนโดยเทอรี่ ดอบสันที่เปนเจาของเรื่องเลา คลาสสิค “Soft Answer” ที่เราตีพิมพในฉบับ ที่ ๑๖ เดือนเมษายนปนี้ เขาเขียนรวมกับวิค เตอร มิลเลอร ที่เปนนักการละครที่สนใจใน เรื่องการจัดการความขัดแยงโดยใชสันติวิธี N ในเลมจะอธิบายถึงหลักการของไอคิโด ที่เราสามารถนำมาใชในชีวิตประจำวันได โดยยก ตัวอยาง บทสนทนาหลายแบบที่นำไปสูความ ขัดแยง และเสนอวิธี “Attack-tics” เพื่อ จัดการความขัดแยงแบบมีพลวัตแบบไอกิ ดอบสันและมิลเลอรใชรูปเรขาคณิตเพื่ออธิบายการตอบสนองตอความขัดแยงแบบ ตางๆ สามเหลี่ยม แทนการปะทะ จูโจม เมื่อคนโกรธก็จะพรอมที่จะทำรายคนอื่นไดไมวาจะN N เปนการใชวาจาหรือลงไมลงมือ ถาอีกฝาย “สูกลับ” (Fighting back) N ก็จะไดรูปนี้ ซึ่งก็มักจะลงเอยดวยการเจ็บตัวทั้งสองฝาย N แตถาเลือก “หนี” (Withdrawal) ก็จะเปนรูปนี้ N N การตอบสนองแบบสามเหลี่ยมมักลงเอยดวยการ “แพ-ชนะ” สี่เหลี่ยม คือการนิ่งเฉย “ไมทำอะไร” (doing nothing) อาจเนื่องดวยจากความกลัว N ทำอะไรไมถูกเมื่อโจมตี หรืออาจเปนเพราะตองการเวลาเพิ่มในการตัดสินใจ


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

N N

N N N N N N N N

หรือไมอยากตอบสนอง คิดวาถานิ่งแลวเรื่องก็หยุดไปเอง หรือประเมินแลววาถาสูตอบจะไมคุม เฉยไวก็ดีกวา วงกลม เปนการตอบสนองที่มีพลวัตมากที่สุดเมื่อเทียบกับสองแบบแรก แตก็แบง ออกเปนหลายประเภทคือ การเจรจาตอรอง (Parley) เพื่อหาขอสรุปที่พึงพอใจกันทั้งสองฝาย จนในที่สุดฝายโจมตีก็พึงพอใจในขอสรุป โดยคูเจรจาทั้งสองฝายตองกลาย สภาพจากสามเหลี่ยมแหงการโจมตี เปนวงกลมทั้งคู เสียกอน จึงจะ พรอมที่จะเจรจากันได การเจรจามักใชเมื่ออยูในสถานการณที่ไมสามารถที่จะ ยอมใหมีผูชนะได (no-win) ทั้งสองฝายจึงตองตัดผลประโยชนของตนออกไป เพื่อใหความขัดแยงลดลง ทั้งคูจึง ไมใช win-win คือไมมีผูชนะอยางแทจริง ! การพูดปด (Deception) คลายกับการเจรจาแตมีสวนของการโกหกอยูดวย เชน แมที่พยายามลอหลอกใหลูกที่กำลังโยเยที่แมไมซื้อของเลนใหมใหโดย พูดวา “โอโฮ มีนกซวยสวยเกาะอยูตรงโนนแนะ” หรือโกหก (white lie) วา “ไวจะซื้อใหวันหลัง” แตนั่นก็เปนเพียงแคซื้อเวลาเทานั้น ปญหายังคงมีอยู

N บางครั้งการตอบสนองตอความขัดแยง ก็สามารถใช หลายวิ ธ ี เ ข า รวม กันได เชน พูดปด (Deception) แลวถอนตัว(withdrawal) เชน เมื่อมีคน โทรมาตอวา ก็โกหกวา “ขอโทษที มีอีกสายนึงโทรเขามาพอดี” แล ว คุ ณ ก็ ถ อน ตัวออกมาจากปญหา เพื่อไปดื่มน้ำ ทำใจใหสบาย หรือแอบวางสายโทรศัพท เพื่อที่จะ กลับมาเผชิญหนาครั้งตอไป แตนั่นก็ยังไมใชเปนการแกปญหาอยางแทจริง N การตอบสนองตางๆเหลานี้ ทั้ง และ หากใชถูกตอง ก็พอจะ สามารถใชชะลอความขัดแยงได แตผูใชตองรักษาสมดุล(balance) รักษาศูนยกลาง(centering) ไวใหดี N แตวิธีที่ดอบสันเสนอก็คือ การตอบสนองแบบวงกลมที่มีพลวัต ปรับเปลี่ยนรูป ได โดยใชหลักการของไอคิโด เขาเรียกวา “Attack-tics” N แตหลักการของ “Attack-tics” ตองทำอยางไร นาเสียดายที่หนากระดาษหมด เสียกอน ไวคอยมาตอกันคราวหนาก็แลวกันนะครับ หน้า ๒๕


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

แนะนำประธานชมรมไอคิโด ม.ช. ปการศึกษา 2551 - 2552 1. กอนอื่นแนะนำตนเองกอน นองปง:& ชื่อปงครับชื่อจริงก็ปงครับ ตอนนี้เปนอดีตเฟรชชี่ครับอยู R R ปสองคณะบริหารธุรกิจ 2. เริ่มสนใจไอคิโด ตั้งแตเมื่อไหร นองปง:R มีความสนใจในไอคิโดตั้งแต ม.สองตอนปลายๆป ก็หนึ่ง R R R อาทิตยกอน AF1(aikido friendship ครั้งที่หนึ่ง) นะครับ ในตอนแรกก็ไมรูจักหรอกครับวาไอคิโดคืออะไรก็ชอบเลนกับพอ แลวพอเคยเรียนยูโดก็จับล็อคแปลกๆก็ เลยใหพอสอนพอก็บอกวาเขาเรียกไอคีโด ปงก็งงๆวาคืออะไร แลววันนึงเห็นปายสอนไอคิโดที่คอนโด ฮิลไซตของ ”เทคควันโดคิดส” เคาบอกใหมาติดตอในม.ช. ก็เลยเริ่มฝกตั้งแตนั้นครับ สวนในความสนใจ ดานอื่นๆปงก็เปนคนที่ชอบเลนกีฬาอยูแลว เลยชอบกีฬาซะสวนใหญครับ แตก็มีบางที่บางครั้งตอง ทำตัวมีความรูก็ชอบชวยพอทำงานวิจัยครับ 3. เขามาฝกที่นี่หรือนานหรือยัง นองปง:R ตามAF ละก็ลบออก 1 ปครับ อาจจะงงๆเอาเปนวายางเขาปที่ 6 ครับ 4. ชมรมตอนนี้เปนอยางไรบาง นองปง:& ตอนนี้ชมรมเขาสูยุคเรเนซอง(renaissance)ครับ เปนการเริ่มฟนฟูชมรมเพราะวาคน R R เริ่มกลับมาเยอะขึ้นครับหลับจากหายกันไปชวงนึง และตอนนี้ก็เปนโอกาสที่ดีขึ้นที่ได R R อาจารยฮัตโตริมาสอนครับ 5. มีโครงการจะจัดกิจกรรมอะไรบางสำหรับปนี้ นองปง:& โครงการยังไมมีอะไรใหมนะครับ มีซื้ออุปกรณเขาชมรมครับ ปงกำลังคิดวาจะซื้อ R R ตูล็อคเกอรในการเก็บของขณะซอม โครงการก็มี การปองกันภัยทางเพศในปลายเดือนนี้ R R โครงการไอคิโดเฟรนชิบ โครงการขาวสารชมรม 6. ตองการความชวยเหลืออะไรบางจากสมาชิกชมรม นองปง :& ตองการความเห็นขอเสนอแนะครับเพราะปงยังเด็กนอยในการทำงานR R R ครับผม และแอบขอแรงในการจัดปองกันภัยทางเพศปลายเดือนนี้ดวยครับ

หน้า ๒๖


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

7. มีอะไรอยากบอกกับสมาชิกบาง นองปง :& ชวยสั่งสอนผมดวยคราาาบบบบ 8. คิดวาการฝกไอคิโดมีประโยชนตอเรายังไงบาง นองปง:R หลายอยางเลยครับอยาเชนดานอารมณ สมาธิ R R รางกาย รวมๆแลว happy & healthy ครับ 9. คิดวาอะไรเปนปจจัยสำคัญที่จะชวยสงเสริมในการฝกไอคิโด นองปง:R ความตั้งใจครับ แลวก็การเปดกวางทางความคิด R R R ครับ ยอมรับในสไตลที่แตกตางของแตละคนครับ 10. ถาคิดวาตัวเองเปนเครื่องใชไฟฟาซักอยาง นองปง:& เปนไมตียุงละกัน มันแปลกดี 5555+

Aikido Family โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ

หน้า ๒๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๑๘ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ปีที่ ๒)

Aikido Family โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ

ปฏิทินกิจกรรม กิจกรรม

วัน - เวลา

สถานที่

ฝกเคน (ดาบ)

จันทร - พุธ - ศุกร ๑๗.๐๐ - ๑๘.๐๐ น.

ชมรมไอคิโด

เสาร ๑๔.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.

วังคำ

ฝกที่วังคำ ! X

ฝกประจำสัปดาห! X X X X X X

จันทร-พุธ-ศุกร ๑๘.๐๐ - ๒๐.๓๐ น.X สถานที่ฝก ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม ใตถุนตึกอาคารกิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม

หน้า ๒๘


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.