#24 AikidoCMU

Page 1

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

AikidoCMU NEWSLETTER

ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาคารกิจกรรมนักศึกษา (อ.มช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถ. สุเทพ อ.เมือง จ. เชียงใหม่ 50200 ติดต่อได้ที ่ ปีใหม่ (ประธานชมรม) 087-1772511

ป๋อม (ผู้ประสานงานชมรม) 089-7017686

กบ (บรรณาธิการจดหมายข่าว) 081-4055379

Email:

AikidoCMU@gmail.com

Facebook: Aikido CMU

หน้า ๑


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Introducing “Toey” - the plastic man นักเขียนในฉบับ ดร.สมบัติ ตาปัญญา อ.ธีระรัตน์

สารบาญ

มารยาทบนเบาะ .....ดร.สมบัติ ตาปญญา พลังใจในการฝกไอคิโด .....อ.ธีระรัตน บริพันธกุล เที่ยวบินที่ TG642 เดินทางสู HOMBU DOJO ... ชูชีพ สุนทรานนท คนหาความตองการที่แทจริงของคูพิพาท ... วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ

บริพันธกุล

๓ ๘ ๑๒

ชูชีพ สุนทรานนท์ วิสุทธิ์

๑๗

THE SPIRIT OF AIKIDO (2) ... KISSHOMARU UESHIBA ๒๐ สุภาษิตโกะกับขาพเจา ๖ : การโจมตีคือรูปแบบที่ดีของ การตั้งรับ ..... NOURNOURS’ MOM ๒๘ AIKIDO(KA) IN FOCUS วรัญญา สุขเลิศวิมล

๓๐

มาเยี่ยมมาเยือน .... JOE BRENT .... OLIVER THORNE AIKIDO FAMILY .... อาจารยประพันธ จิตตะปุตตะ มาเยี่ยมชาวเชียงใหม .... นองเอกไปเรียนตอที่อเมริกา

๓๒ ๓๓

เหล็กสมบูรณ์

Kisshomaru Ueshiba Nounours’ Mom

โฟกัส

๓๕ ๓๖ หน้า ๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

มารยาทบนเบาะ ผศ.ดร. สมบัติ ตาปญญา

มารยาทในสถานฝก-มารยาทในชีวิต บทเรียนในการอยูรวมกับผูอื่น เมื่อไมนานมานี้มีสมาชิกถามผมบางเรื่องเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวบนเบาะ เชน ถามวา ถามีแขกมาเยี่ยมเยียนและรวมฝกกับเรา (โดยเฉพาะคนตางชาติ) สมาชิกควรแนะนำหรือ ชวยสอนเขาหรือไม และถาไปแนะนำเขาแลวเขาไมยอมรับ เชน มีฝรั่งคนหนึ่งเมื่อเราแนะนำ เทคนิคให เขากลับบอกวาที่เคยเรียนมาเขาไมไดทำแบบนี้ หรือแบบที่เราสอนมันไมถูก เรา ควรจะทำยังไงดี เลยทำใหผมคิดวาเรามาทบทวนเรื่องมารยาทในการฝกหรือมารยาทใน สถานฝกกันเสียหนอยก็นาจะดี ผมเลยลองรวบรวมดูจากเวปไซทของสถานฝกหลายๆ แหง ในตางประเทศ เพื่อเปรียบเทียบกันดูวาเขาเนนอะไรในเรื่องนี้บาง หน้า ๓


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

จุดประสงคของการแสดงมารยาทในสถานฝกก็คือเพื่อแสดงความเคารพตอครูผู ฝกและเพื่อนรวมฝกดวยกัน เพื่อชวยกันดูแลสถานฝกและกระบวนการฝกใหดำเนินไปได อยางราบรื่น และเพื่อความปลอดภัยของทุกคน นอกจากนั้นมารยาทในการฝกยังชวยให เรามีสมาธิดีและพัฒนาฝมือของเราใหดีขึ้นและเร็วขึ้นอีกดวย มารยาทในสถานฝกอาจแบง ออกเปนหลายดานดังตอไปนี้ การรักษาความสะอาด ❖การฝกไอคิโดเปนกิจกรรมที่ตองใกลชิดถึงเนื้อถึงตัวกัน การรักษา

ความสะอาดของรางกายและชุดฝก ตลอดจนเบาะและบริเวณรอบๆ จึงสำคัญมาก คงไมมีใครอยากฝกกับคนที่ตัวเหม็น ปากเหม็น เสื้อผาขึ้นราหรือเหม็นอับชื้น หรือเบาะและบริเวณรอบๆ ที่ สกปรก มีคราบฝุนหรือของเหลวที่เหนียวหนึบติดเสื้อผาและเนื้อ ตัวเรา และบอยครั้งที่เราตองเอาหนาแนบไปกับพื้นเบาะดวย สิ่ง ที่ควรปฏิบัติในเรื่องนี้คือ ❖กอนมาฝกควรอาบน้ำ ถูฟน ลางมือ ลางเทา ใหสะอาด

เตรียมชุดฝกที่สะอาดมาดวย

❖เพื่อรักษาความสะอาดของเบาะ ควรพกรองเทาแตะใสถุงไวใน

กระเปาใสชุดฝกและนำออกมาใชเวลาเดินไปมาในสถานฝก ถา อยากเทแบบธรรมเนียมญี่ปุนจะหารองเทาแตะแบบญี่ปุนมาใสก็ได แตถาขี้เกียจแบกของเยอะ รองเทาฟองน้ำบางๆ ก็ยังดี ไมงั้นเราจะ เหยียบเอาฝุนผงและความสกปรกรอบๆ เบาะขึ้นไปเลอะบนเบาะดวย (เกี่ยว กับเรื่องนี้ผมเห็นสมาชิกบางคนไมชอบเอาชุดฝกใสกระเปาหรือถุงมาใหเรียบรอย แตหอบมาพะรุงพะรัง ซึ่งดูไมเรียบรอยและนาจะทำใหสกปรกงาย จะเอาอุปกรณ ฝกอื่นๆ เชน ขวดน้ำ รองเทาแตะ ใสมาก็ไมสะดวก และเมื่อเปลี่ยนชุดแลวก็ไมมี อะไรใสเสื้อผาและขาวของที่ใสมาอีก ตองเอาวางไวโลงๆ เสี่ยงตอการถูกขโมย จึง ควรหาถุงผาหรือกระเปาใสชุดฝกและอุปกรณดวย) หน้า ๔


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

งดเวนการประพรมน้ำหอมหรือใชเครื่องสำอางที่มีกลิ่นฉุนรุนแรงเพราะบางคนอาจ แพสิ่งเหลานี้ หรือแมวามันจะหอมสำหรับเรา แตสำหรับคนอื่นๆ บางคนเมื่อได กลิ่นแลวอาจไมถูกรสนิยมหรือสรางอารมณที่ไมเหมาะสมกับการฝกขึ้นมาได

ความปลอดภัย ในการฝกไอคิโดเราตองบิดขอ ทุม ลม หรือมวนตัวไปมา ทามกลางกลุมคน บางครั้งอาจลมทับกัน ทำใหบาดเจ็บ หรือเกิดอันตรายได เราจึงควรใหความสนใจกับเรื่อง ความปลอดภัยเปนพิเศษ สิ่งที่ควรปฏิบัติ คือ ❖

คอยระวังไมใหเกิดอุบัติเหตุอยูเสมอ ขณะฝก ไมควรคึกคะนอง แตควรสนใจระแวดระวัง บริเวณรอบๆ ตัวตลอดเวลา เพื่อไมใหกระแทก หรือลมทับคนอื่นๆ เมื่อชน เหยียบหรือลมทับผู อื่นควรรีบโคงคำนับและกลาวขอโทษทันที และ พยายามถือเปนบทเรียนใหระมัดระวังยิ่งขึ้น

ขณะฝกควรคำนึงถึงระดับความสามารถและประสบการณของตนเองและคูฝก แลว ฝกในระดับที่รูสึกสบายทั้งสองฝาย คุณไมควรที่จะพยายามกดดันหรือบังคับคูฝก เพื่อใหเกงเร็วขึ้น หรือใชกำลังและความเร็วอยางเต็มที่ตลอดเวลาโดยไมคำนึงถึง ความเหมาะสมของคูฝก หลักงายๆ ในขอนี้ก็คือ เมื่อคูฝกมีฝมือและประสบการณ สูงกวาเราและน้ำหนักไมตางกันมาก ควรฝกใหเต็มกำลัง แตถาอีกฝายมีปจจัยดัง กลาว (ฝมือ ประสบการณ น้ำหนัก) นอยกวาเรา ควรลดความเร็วความแรงให เหมาะกับเขา คือใหทาทายความสามารถแตไมใชกันไวหมดหรือแกลงทำใหเขาฝก ไมไดเลย แตก็ไมควรออนปวกเปยกหรือเขาขยับนิดหนอยก็กระโดดลมตัวลอย ซึ่ง ก็จะไมชวยใหเขาไดพัฒนาฝมือเชนเดียวกัน การฝกไอคิโดไมใชเพียงแตจะฝก เพียงความสามารถดานรางกายเทานั้น แตการฝกจิตหรือทัศนคติที่เหมาะสมก็ตอง ทำไปพรอมกัน การไมรูจักอดทนตอผูอื่น (หงุดหงิดกับเขางาย) หรือไมอดทนกับ ตัวเอง ยอมเปนอุปสรรคตอความกาวหนาในวิธีแหงสันติของเราดวย หน้า ๕


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

พยายามฝกในลักษณะที่นุมนวล ราบรื่น สม่ำเสมอ ใหมากที่สุด การฝกแบบกระตุก กระชาก กระแทกกระทั้น ทำใหคูฝกรูสึกไมสบายและอาจเปนอันตรายตอผูฝกใหม ที่ยังไมพรอมที่จะปรับตัวใหทันกับความรุนแรงของเทคนิคไอคิโดได

การแสดงความเคารพและใหเกียรติผูอื่น ในการฝกไอคิโด (และศิลปะ การตอสูปองกันตัวแบบอื่นๆ) เราจะเห็นวามีการเคารพกัน บอยๆ ตลอดเวลา เหตุผล หนึ่งก็คือเรามีโอกาสที่จะ กระทบกระทั่งหรือผิดพลาด สรางความเจ็บปวดหรือเสี่ยง อันตรายใหแกคูฝกได เราจึงแสดงการเคารพเพื่อ ขอบคุณและขอโทษ เมื่อจะเริ่มฝกดวยกัน เราจึงมักถือธรรมเนียมกลาวเปนภาษาญี่ปุนวา a aaaaaaaaaaaa “โอเนไกชิมัสสึ” ซึ่งแปลวา “โปรดกรุณา (หรืออนุเคราะห) ขาพเจาดวย” และเมื่อฝกเสร็จก็จะ กลาวคำขอบคุณวา “อาริกาโตะ โกไซมาชิตะ” แปลวา “ขอบคุณสำหรับสิ่งที่ทานไดกรุณาแก ขาพเจาไปแลว” สวนการเคารพรูปปรมาจารย และเคารพครูฝกก็เปนการแสดงความ ออนนอมและขอบคุณในความเมตตาของปรมาจารยที่คิดคนวิชานี้ขึ้นมาใหเราไดเรียน และ ครูฝกที่กรุณาชวยฝกสอนใหเรานั่นเอง ผมเขาใจวามารยาทในการเคารพผูอื่นนี้จะมีคุณคาก็ตอเมื่อเราทำอยางจริงใจและมี สติ ใหเกียรติ เคารพในศักดิ์ศรีของผูอื่น และรูสึกขอบคุณจริงๆ จึงจะใหผลในการฝกลด ความยึดติดในตัวตนหรือ “อัตตา” ซึ่งเปนสวนสำคัญของการฝกไอคิโด (เชนเดียวกับการฝก ปฏิบัติดานจิตวิญญาณแบบอื่นๆ) ไมใชสักแตวาทำไปพอเปนมารยาทหรือทำตาม ธรรมเนียมเทานั้น หน้า ๖


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

จะวาไปแลวมารยาทในสถานฝกนาจะเปรียบเทียบกับมารยาทในการดำรงชีวิต รวมกับผูอื่นได เพราะการมีมารยาทเปนการแสดงออกวาเราหวงใยความรูสึกของคนที่ เราอยูดวยในขณะนั้น ตั้งแตเรื่องพื้นๆ งายๆ เชน การแสดงออกของรางกาย เชน การไม หันหลังให ไมสบตา (เพราะเรากำลังดูทีวีหรือเลนเกมคอมฯสนุกๆ อยู) หรือลวงโทรศัพท มาเลนเวลาเขาพูดกับเรา ไมหาว เรอเสียงดัง หรือแมกระทั่งผายลมออกมาตอหนาเขา ไปจนถึงเรื่องที่ละเอียดออน เชน การคอยสังเกตดูแลไมใหเขารูสึกอึดอัด ไมสบายทั้งดาน รางกายหรือจิตใจ หากเราทำเชนนี้ไดดี เราก็จะอยูรวมกับคนอื่นไดอยางมีความสุข บางคนอาจบอกวา ผมไมอยากเสแสรง อยากทำตัวเปนธรรมชาติ แตเราคงตอง แยกแยะใหดีกอน ระหวางการเกรงใจผูอื่นกับการเสแสรง เพราะถาจะใหเปนธรรมชาติ จริงๆ เราก็คงไมตองนุงผา หรือจะทำธุระ “สวนตัว” อะไรตางๆ ในที่สาธารณะก็ทำไดโดย ไมตองแครสายตาใคร ซึ่งผมแนใจวาไมมีใครที่สามารถทำไดอยางสบายใจ (ยกเวนคนไข โรคจิตที่ผมเห็นเดินไปมาตามขางถนนเปนบางครั้ง ซึ่งไมเคยอาบน้ำ ตัดผม หรือพูดคุย กับใครเลย) หรือถาคุณกำลังพยายามทำอยางนี้อยูก็อาจเปนเพราะคุณกำลังเสแสรงหรือ หลอกตัวเองมากกวา เรื่องมารยาทในสถานฝกไอคิโดยังมีอีกหลายดาน ซึ่งเพื่อไมให บทความนี้ยาวเกินควรคงจะตองนำมาเสนอตออีกใน ตอนตอไป แตสำหรับคำถามที่เกริ่นไวขางตนบท ความวาเราควรสอนเทคนิคใหกับผูรวมฝก ที่มาเยี่ยมเยียน หรือผูมีประสบการณ นอยกวาเราหรือไม มีแนวทางจาก สถานฝกบางแหงที่แนะนำเกี่ยว กับเรื่องนี้เหมือนกัน เชน จาก http://www.aikido-west.org/ handbook/dojo_etiquette. html บอกวา

หน้า ๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

❖เราควรแสดงความ

เคารพผูที่มีอาวุโส กวาเรา ไมควร โตแยงเกี่ยวกับ เทคนิค

❖คุณมาที่นี่เพื่อ

ฝกฝนตนเอง อยา ยัดเยียดความคิดของ คุณใหคนอื่น ๆ ❖ถาคุณรูเทคนิคที่ครูกำลังใหฝก

อยู แตคูฝกของคุณไมรู คุณอาจชวยนำทางใหเขาทำเทคนิคนั้นไดในระดับหนึ่ง แตไมควรพยายามแกไขหรือสอนคูฝกอยางจริงจัง ถาคุณไมใชครูผูชวยฝกที่ได รับการแตงตั้งอยางเปนทางการ ❖

ควรพูดคุยใหนอยที่สุด เพราะการฝกไอคิโดเปนเรื่องของการสั่งสม ประสบการณ ไมใชการถกเถียงทางวิชาการหรือทางความคิด

a ในกรณีที่ผูฝกไมยอมทำเทคนิคตามที่ครูฝกแนะนำ โดยอางวาที่เคยฝกมาไมใช แบบนี้นั้น นาจะเปนความออนดอยทางมารยาทหรือความคับแคบของจิตใจของเขาเอง มากกวา เพราะเทคนิคไอคิโดมีหลากหลายจนนับไมถวน ไมมีอันใดอันหนึ่งที่ถูกที่สุด แลวอยางอื่นๆ ผิดหมด a เราจึงควรพยายามฝกสิ่งที่ครูแนะนำและเปดใจรับใหกวางไวดีกวา เพื่อจะได เติบโตและพัฒนา ไมเชนนั้นเราก็จะยึดอยูกับแตสิ่งที่เราคุนเคย ไมไดขยายโลกทัศน ของตนเอง และไมพัฒนาในที่สุด

หน้า ๘


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

พลังใจในการฝกไอคิโด การฝกไอคิโดก็เชนเดียวกับการทำกิจกรรม อื่นๆของชีวิต เชน ความรักที่ครั้งหนึ่งหวานปานจะ กลืนกินก็อาจจืดจางและเลิกรากันไป ในดานการเรียน เราก็มักจะไมสามารถตั้งใจเรียนไดอยางตอเนื่อง การฝกไอคิโดก็เชนกันที่บางครั้งเราก็ขยันหรือรูสึก คึกคักในการฝกซอมแตบางครั้งเราก็ขี้เกียจและมีขอ อางสารพัดที่จะทำใหเราไปฝกซอมไมได

ภาพจาก http://www.yachigusaryu. com/blog/pics/cartoon_ki.jpg

อ.ธีระรัตน บริพันธกุล

ปรากฏการณดังกลาวเปนเรื่องธรรมดาและเปนไปตามธรรมชาติของวงจรการเกิดขึ้น ตั้งอยูและดับไป เพียงแตวาหากเบื่อหนายในการฝกซอมก็ขอใหไมเบื่อยาวจนเกินไปถาจะใหดีก็ ควรมองหาสาเหตุที่ทำใหเรารูสึกเชนนั้นและหาทางแกไขแรงจูงใจของเรา แงมุมที่ดีอยางหนึ่งของ ความเบื่อหนายและขี้เกียจก็คือเปนการพักตัวการเรียนรูและเปนการชารจพลังชีวิตขึ้นมาใหม เรา เคยสงสัยไหมครับวาอาจารยสายสูงๆหลายคนมีไฟในการฝกซอมอยางสม่ำเสมอจนอาจกลาวได วาฝกกันซอมจนกวาจะตายไปขางหนึ่ง มีอาจารยฝรั่งคนหนึ่งถึงแมจะมีอายุมากแลวทานก็ยัง ฟนดาบไมวันละ 1,000 ครั้งโดยไมมีวันหยุดสุดสัปดาหเลย พฤติกรรมของมนุษยเกิดจากแรงจูงใจและเรื่องแรงจูงใจเปนเรื่องที่นักจิตวิทยาใหความ สนใจและพยามศึกษาคนความากที่สุด แนวคิดเกาเรื่องแรงจูงใจถูกมองวาเปนเรื่องเฉพาะตัว เชน คนที่ติดเหลา หากเขาไมคิดที่จะเลิกเองก็ไมมีใครที่จะชวยอะไรเขาได แตจากการศึกษาในเรื่อง แรงจูงใจในปจจุบันทำใหเรามีมุมมองใหมและมีทัศนคติใหมที่นาสนใจดังนี้ หน้า ๙


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

แรงจูงใจเปนหัวใจของการเปลี่ยนแปลง การฝกไอคิโดจะตอเนื่อง ยาวนานเพียงใดและจะประสบความสำเร็จหรือไมขึ้นอยูกับแรงจูงใจ ของแตละคน บางคนเริ่มฝกแค 2-3 ครั้งแลวก็ไมมาอีกเลย แตบางคน ฝกตลอดชีวิตจนกวาจะถึงวาระสุดทายของชีวิตก็มีมากเชนกัน

✤แรงจูงใจเปนเรื่องที่สลับซับซอน

แรงจูงใจเปนเรื่องที่อยูในระดับ จิตใตสำนึกและระดับจิตสำนึก แรงจูงใจบางอยางมาจากภายในตัวของเรา เองและแรงจูงใจบางอยางก็มาจากภายนอกตัวเรา เชนบางคนตองฝกอาจ เพราะมีความกลัวทีจะถูกทำราย บางคนฝกเพื่อควบคุมอารมณกาวราว ของตนเอง บางคนเนนความสำเร็จ บางคนเนนความสุขและสุขภาพ บาง คนอาจตองการการเขาสังคม บางคนมาฝกเพราะถูกขอรองแกมบังคับ ฯลฯ ✤แรงจูงใจเปนสิ่งที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

บางครั้งเราก็รูสึกคึกคัก ในการไปฝกแตบางครั้งเราก็รูสึกเบื่อหนายกับการฝก อุปสรรคที่จะ บั่นทอนแรงจูงใจอาจมาจากภายใจจิตใจ เชนความรูสึกเบื่อหนาย ความรูสึกวาเรียนรูชา สวนอุปสรรคภายนอกเชนปญหาการเดินทาง ภาระงานอื่นๆที่มีมาก ✤

แรงจูงใจอยูภายใตอิทธิพลของปฏิสัมพันธทางสังคม แรงจูงในการฝกอาจถูกกระตุนจาก ความสัมพันธที่ดีระหวางเพื่อนสมาชิกในชมรมรวมถึงการไดรับการสนับสนุนดานกำลัง ใจจากคนในครอบครัว

นอกจากที่ไดกลาวไวขางตนแลวยังมีสถานการณบางอยางที่จะชวยกระตุนหรือเรงเรา ใหเกิดแรงจูงใจในการในการฝกดังนี้ ✤

ระดับของความเครียด เรามักจะขยันชวงที่ใกลสอบเพราะเรามีความเครียดที่มากกวา ปกติ การฝกไอคิโดก็เชนกันหากเราตัดสินใจที่จะสอบเลื่อนสายแลวละก็จะทำใหเรา กระตือรือรนในการฝกมากกวาปกติ หน้า ๑๐


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

วิกฤติการณในชีวิต นักไอคิโดหลายคนเคยถูกทำรายหรือไมก็ถูกรังแกมากอน วิกฤติดัง กลาวทำใหเขาสนใจที่จะฝกอยางจริงจังรวมทั้งยังมีแรงบันดาลใจที่จะสอนคนอื่นใหรูจัก การปองกันตัวดวย

การใชสติปญญาในการประเมินคุณคา ผูที่ฝกเปนเวลานานๆแทบจะไมนาสงสัยเลยวา พวกเขาประเมินแลววาการฝกฝนที่ตองทุมเททั้งกำลังกายกำลังใจ ตองเสียทั้งเวลาและ การเดินทาง ไหนจะตองลดกิจกรรมบางอยางที่ชอบในชีวิตประจำวันไปแตพวกเขาก็ ถือวาเปนสิ่งที่คุมคากับการลงทุน อาจเขาไดกับคำกลาวที่วา “our loss is our gain” แต ถาใครที่ประเมินแลววา “our gain is our loss “ ก็คงตองยุติการฝกไปเปนธรรมดา

การตระหนักถึงผลดีผลเสียที่เกิดจากพฤติกรรมของตนเอง หากการฝกสามารถที่จะตอบ สนองตอแรงจูงใจสวนตัวไดหลายหลายประการ เชน การฝกชวยใหเกิดความเชื่อมั่น มี สุขภาพดีขึ้น มีความสนุกกับการฝก ไดเพื่อนที่ดีมีน้ำใจ ชวยใหหายเหงา ฯลฯ การฝกก็ เสมือนหนึ่งไดรับรางวัลหรือการเสริมแรง แตถาหากการฝกนั้นไมไดรับประโยชนใดๆแถม ยังไดรับบาดเจ็บหรือถูกตำหนิตอวา แรงจูงใจในการฝกก็ยอมจะหมดไป

ทาทีของครูผูสอน ครูผูสอนที่มีทาทีใสใจและเห็นอกเห็นใจรวมทั้งเปนแบบอยางที่ดีแก นักเรียนจะชวยใหนักเรียนมีแรงบันดาลใจในการฝกซอม ในทางตรงทาทีที่ไมใสใจแถมยัง มีความไมเปนมิตรแฝงของครูจะสงผลใหนักเรียนไมอยากที่จะมาฝกซอม แรงจูงใจหรือพลังใจในการฝกจึงเปน กุญแจสำคัญของความสำเร็จไมเพียงใน การฝกไอคิโดเทานั้นแตยังจำเปน สำหรับกิจกรรมตางในชีวิตประจำวัน ดวย Einstein เคยกลาวไวอยางถอมตัว วาทานไมไดเกงไปกวาคนทั่วๆไปแต ทานมีกำลังใจความมุงมั่นที่จะใช ศักยภาพที่มีอยูไดอยางเต็มที่เทานั้นเอง

ภาพจาก http://www.aikidofaq.com/bilder/humor/logo.gif.html

หน้า ๑๑


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

àเ·ท∙Õีè่ÂยÇวºบÔิ¹น·ท∙Õีè่ TG642 àเ´ดÔิ¹น·ท∙Òา§งÊสÙู ‹

HOMBU DOJO âโ´ดÂย ªชÙูªชÕี¾พ ÊสØุ¹น·ท∙ÃรÒา¹น¹น·ท∙ 

äไÍอ¤คÔิâโ´ด ÇวÔิ¶ถÕีáแËห ‹§งÊสÑั¹นµตÔิ Ëห¹นÖึè่§งãใ¹นÈศÔิÅล»ปÐะáแËห ‹§ง ¡กÒาÃร»ป ‡Íอ§ง¡กÑั¹นµตÑัÇว ·ท∙Õีè่¶ถ×ืÍอ¡กÓำàเ¹นÔิ´ด ãใ¹น»ปÃรÐะàเ·ท∙Èศ­ÞญÕีè่»ปØุ †¹น âโ´ดÂย·ท∙ ‹Òา¹น»ปÃรÁมÒา¨จÒาÃรÂย  âโÁมÃรÔิàเÎฮ ÍอØุàเÍอÐะªชÔิºบÐะ (植芝盛平)

àเ´ดç็¡ก¤ค¹นËห¹นÖึè่§งäไ´ด ŒàเÃรÔิè่ÁมµตÑัé้§งäไ¢ข ‹ãใ¹นÇวÔิ¶ถÕีáแËห ‹§งäไÍอ¤คÔิâโ´ด ãใ¹นªชÁมÃรÁมäไÍอ¤คÔิâโ´ดÁมËหÒาÇวÔิ·ท∙ÂยÒาÅลÑัÂยàเªชÕีÂย§งãใËหÁม ‹ âโ´ดÂย¤คÇวÒาÁม¡กÃรØุ³ณÒา¢ขÍอ§ง·ท∙ ‹Òา¹นÍอÒา¨จÒาÃรÂย ÊสÁมºบÑัµตÔิ áแÅลÐะÍอÒา¨จÒาÃรÂย ¸ธÕีÃรÐะÃรÑัµต¹น  ÊสÔิºบÊสÍอ§ง»ป ‚¼ผ ‹Òา¹นäไ»ป àเ´ดç็¡กÁมÑั¸ธÂยÁม¤ค¹น¹นÑัé้¹น ¡กç็ÂยÑั§ง¤ค§งÂยÖึ´ดÁมÑัè่¹นãใ¹นËห¹น·ท∙Òา§งäไÍอ¤คÔิâโ´ด Ëห¹นÖึè่§งãใ¹น¤คÇวÒาÁม½ฝ ˜¹น¢ขÍอ§งàเ¢ขÒา áแÅลÐะ¹น ‹Òา¨จÐะàเ»ป š¹น ¢ขÍอ§ง¹นÑั¡กäไÍอ¤คÔิâโ´ดáแ·ท∙ºบ·ท∙Øุ¡ก¤ค¹น¡กç็¤ค×ืÍอ ¡กÒาÃรäไ´ด ŒÃร ‹ÇวÁม½ฝ ƒ¡กãใ¹น ªชÑัé้¹นàเÃรÕีÂย¹นäไÍอ¤คÔิâโ´ด·ท∙Õีè่ÊสÓำ¹นÑั¡กãใËห­Þญ ‹ HOMBU DOJO áแÅลÐะãใ¹น·ท∙Õีè่ÊสØุ´ด... ¤คÇวÒาÁม½ฝ ˜¹น¢ขÍอ§งàเ¢ขÒา¡กç็àเ»ป š¹น¨จÃรÔิ§ง หน้า ๑๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

เที่ยวบินที่ TG642 เดินทางสูทาอากาศยานนาริตะ ประเทศญี่ปุน เปนเที่ยวบิน ที่เติมเต็มความฝนของนักไอคิโดคนหนึ่ง ผมทำหนาที่เปนนักบินผูชวยในเที่ยวบินนี้ การไปปฏิบัติหนาที่ในการบินครั้งนี้ ผมจะมีเวลาอยูในญี่ปุนเพียง 24 ชั่วโมง ดวยเวลาอัน จำกัด เพื่อไมใหพลาดชั้นเรียนไอคิโดที่มีการกำหนดไวอยางชัดเจน ผมจึงตองทำการบานเกี่ยวกับ การเดินทางระหวางโรงแรมที่ผมพักกับ HOMBU DOJO อยางละเอียด เชาวันใหมขณะที่พระอาทิตยเริ่มสองแสงลงสูแผนดินของเมืองโตเกียว ลอเครื่องบินสัมผัส พื้นรันเวย ที่สนามบินนาริตะผมรูสึกตื่นเตนอยางบอกไมถูก เมื่อเสร็จภารกิจจากการปฏิบัติหนาที่ การบินแลว ลูกเรือทุกคนก็เขาสูหองพักที่โรงแรมนาริตะวิว ซึ่งอยูหางจากสนามบินเพียงสิบนาที เมื่อเขาหองพักผมรีบจัดเตรียมชุดฝก แผนที่ และสิ่งจำเปนทุกอยางสำหรับการเดินทาง จากนั้นก็ เอนตัวลงนอนลงบนที่นอนสีขาวเขาสูหวงแหงความฝนดวยความเหนื่อยลาจากการบินเพื่อพัก ผอนเอาแรงสำหรับการฝกในชวงบายอันรอนอบอาวที่สุดในรอบปของญี่ปุน เพียงชวง 2 ชั่วโมงกวาๆ เสียงนากาปลุกไดคอยๆดึงผมขึ้นมา จากความฝนหนึ่งสูอีก ความฝนหนึ่งที่ผมกำลังจะทำมันใหเปนจริง ผมรีบลุกขึ้นมาดวยความสดชื่นแตงตัวแลวควา กระเปาขึ้นรถเดินทางสูใจกลางกรุงโตเกียว ซึ่งก็คือยาน Shinjuku อันโดงดัง จากโรงแรมผมตองขึ้นรถทั้งหมด 4 ตอ รวมเวลาเดินทางและเวลาตอรถก็ประมาณเกือบ 3 ชั่วโมง แมจะทำการบานมาเปนอยางดี (ญี่ปุนมีปายภาษา อังกฤษนอยมาก สวนมากเปนภาษาญี่ปุน) ในที่สุดผมก็ไป ถึงที่ฝกประมาณ 10 นาทีกอนชั่วโมงฝก (ตองย้ำวาวิ่ง จริงๆ วิ่งจากสถานีรถไฟใตดินจนถึงโดโจ เพราะเกือบ ไมทันชั้นเรียน) หน้า ๑๓


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

HOMBU DOJO เปนตึก 5 ชั้น พื้นที่สำหรับการฝกมีอยู 3 ชั้น แตละชั้นมีหองฝกขนาด ใหญปูดวยเบาะ TATAMI สีขาวอยางดี กอนเขาฝกตองไปติดตอที่หองสำนักงานเพื่อลงทะเบียน ขอเขาฝก พนักงานไดถามถึงสมุดสมาชิกของ The Aikikai Foundation พรอมหยิบตัวอยางให ผมดู (รูสึกวาจะเปนเลมสีแดงๆ) แตผมไมมี เคาจึงถามถึงชื่อเสียงเรียงนามของอาจารยที่เราฝก อยูดวย ผมจึงแจงชื่ออาจารยของผมทั้งหมดไปจนถึงชื่ออาจารยใหญของเรา (จนถึงชื่อนี้คงไมมี ใครที่ไมรูจัก) เคาจึงยอมใหเขารวมฝกโดยจายคาธรรมเนียมรายครั้ง 1,575 เยน จริงๆแลว สามารถเขาฝกไดทั้งวันเลย แตผมสามารถอยูไดชั้นเรียนเดียว เพราะมิฉะนั้นจะไมสามารถกลับ ทันรถโรงแรมเที่ยวสุดทาย คงไดนอนขางทางเปนแน หลังจากจายคาธรรมเนียม ผมรีบถอดรองเทา สอดไวในชั้นรองเทาขนาดใหญตรงทางเขา มองแลดู แลวเปนระเบียบยิ่งนัก ชั่วโมงฝกนี้จะทำการฝกที่ชั้น สาม ผมรีบเปลี่ยนชุดเพื่อขึ้นเบาะใหตรงเวลาโดยเดิน ขึ้นเบาะผานประตูหลัง มีนักไอคิโดเขารวมฝกในวัน นั้นประมาณเกือบ 40 คน ผมเปนสายดำเพียงคน เดียวที่ไมไดใสฮากามา (ถาไมคิดไปเองก็มีนักไอคิโด จำนวนไมนอยที่มองผมดวยความสงสัย) เวลา 17.30 น. ตรง Seki Shihan - 7th dan เดินขึ้นเบาะจากประตูหนา นักไอคิโดทุก คนนั่งเรียงแถวดวยความเปนระเบียบ ทุกคนเงียบแสดงถึงความพรอมในการฝก เสียงที่ไดยินคง มีแตเพียงเสียงฝเทาของอาจารยที่เสียดสีกับเบาะเทานั้นจริงๆ บรรยากาศดูขลังเปนอันมาก ที่นี่การนั่งเคารพกอนการฝกนั้นไมจำเปนตองเรียงลำดับจากสายสูงถึงสายขาว อาจเปน เพราะเปนความยากที่จะเรียงลำดับเพราะสวนใหญ 80 - 90 เปอรเซ็นตเปนสายดำทั้งหมด เมื่อทำการเคารพตามลำดับขั้นเรียบรอยแลวก็เขาสูชั่วโมงฝก ทานอาจารยนำวอรมเพียงครูเดียวไมนานนัก ก็เขาสูการฝกเทคนิคเลย วันนี้เนนหนักทาง เทคนิคการเขาจับจากดานหลัง (Ushiro) แลวแกดวยเทคนิคตางๆ วิธีการที่ทานนำฝกนั้นทาน จะทำการสาธิตเทคนิคตางๆ โดยไมมีคำพูดแมแตคำเดียว เปนการสอนดวยรางกาย ลวนๆ ศิษยทุกคนตองตั้งใจเก็บเกี่ยวเทคนิคของทานดวยความตั้งใจดวยตัวเอง หน้า ๑๔


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

เมื่อทานสาธิตเทคนิคเปนที่เรียบรอย ทุกคนตองรีบหาคูฝกโดยเร็ว ผมก็ไมรอชาที่จะ เคารพคนที่นั่งขางๆ คูฝกของผมเปนชายรางเล็ก ใสแวนแลดูใจดี เปนคนญี่ปุนแทๆ เลย อายุนาจะราวๆ 60 กวาๆได แลวผมก็เลือกคนไมผิด ผมไดเรียนรูจากชายคนนี้อยางมากมาย ดวยรางกาย โดยรับรูทั้งขณะที่ตนเองฝกเปนนาเงะและอุเกะ ระหวางชั่วโมงฝก ผมไดรับรูถึงระดับความแตกตางระหวางฝมือของผมและคูฝกของผม คูฝกของผมคนนี้ไมเพียงแตฝกเทคนิคตามทานอาจารยเพื่อฝกความชำนาญในเทคนิคสำหรับ ตัวเองเทานั้น แตทานไดพยายามเคลื่อนไหวรางกายในแตละเทคนิคชาๆ และชัดเจน ทำใหผม รูวาผมควรเนนหรือแกไขการเคลื่อนไหวสวนใดของรางกายในแตละเทคนิคไดไมยากนัก ถึงแมวาทานจะไมพูดอะไรออกมาก็ตามแตผมรับรูไดดวยตัวเองวาทานกำลังตั้งใจสอนผมอยู การฝกแตละเทคนิคที่นี่ใชเวลาคอนขางนานฉะนั้นถึงแมวาแตละชั้นเรียนจะฝกเพียง 1 ชั่วโมงก็ตาม ในชวงที่รอนที่สุดของญี่ปุนเชนนี้ ก็เหนื่อยไมนอยเลย

ภาพเซกิเซนเซจาก http://old. koinobori.ru/eng/seki.shtml

ในระหวางแตละคูไดฝกเทคนิคของตัว เอง ทานอาจารยจะเดินดูเราฝกไป เรื่อยๆ เมื่อใดที่ทานเดินดูแลวจะ แกเทคนิคของเราใหถูกตองยิ่ง ขึ้น ทานจะใหเราไปเปนอุเกะ ของทานเลย แลวใหเรารูสึก และสัมผัสถึงเทคนิคของทาน ดวยตัวเอง โดยที่ทานจะไมพูด อะไรเลย ซึ่งบางครั้งถาคูฝกคูใด สนใจที่จะใหทานฝกสอนให คูนั้นก็จะ นั่งรอเพื่อเขาไปเปนอุเกะของทานเพื่อเรียนรู และสัมผัสการเคลื่อนไหวในเทคนิคของทานดวยตัวเอง หน้า ๑๕


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

เมื่อวันนี้ไดมาอยูบนเบาะแหงนี้แลว ผมก็ไมปลอยโอกาสใหผานไป ผมจึงเปนหนึ่งในนัก เรียนหลายๆคนที่ขออนุญาตไปเปนอุเกะของทานดวยตัวเอง อาจารยคอนขางเนนการจับของอุ เกะใหถูกตองกอนที่ทานจะสาธิตเทคนิค การเคลื่อนไหวของทานคอนขางชัดเจน รวบรัดและ ฉับไว และทุกการเคลื่อนไหวของทานนั้นทำใหผมเสียสมดุลของรางกายตลอดเวลาจนกระทั่ง ตัวเองลงไปสัมผัสกับพื้นเบาะ เมื่อทานกลับมายืนตั้งหลักผมก็รีบลุกขึ้นมาจับทานตออยาง รวดเร็ว ประมาณ 5 ถึง 6 ครั้งทานก็ใหนักเรียนคนอื่นที่นั่งรออยูไดลุกขึ้นมาเปนอุเกะของทาน บาง เปนอยางนี้ไปตลอดทั้งชั่วโมง การฝกไดดำเนินตอไปอยางตอเนื่องจนถึงทาย ชั่วโมง ทุกคนกลับนั่งเขาแถวอยางเปนระเบียบ โดโจเขาสูความเงียบสงบอีกครั้งหนึ่งเมื่อทุก คนทำความเคารพเพื่อเปนการขอบคุณ สำหรับการฝกในวันนี้เสร็จเรียบรอยแลว ทานอาจารยไดเดินออกทางประตูดานหนา ซึ่งเปนประตูเดียวกับที่ทานเดินเขามา นักเรียน ทุกคนนั่งรอจนทานอาจารยเดินออกจากประตูเปน ที่เรียบรอยแลว เราจึงทำการขอบคุณคูฝกของเราอีกครั้งหนึ่ง ผมไดสนทนากับคูฝกของผมเพียงสั้นๆเทานั้น เพราะทานพูดภาษาอังกฤษไดไมมากนัก ไมนานผมก็เขาไปเปลี่ยนชุดเพื่อเดินทางกลับสูโรงแรมที่ผมพักอยู ระหวางเดินทางกลับสูโรงแรมนั้นผมไดทบทวนหลายสิ่งหลายอยางที่ไดจากการฝก พรอมดวยความรูสึกอิ่มเอิบใจอยางยิ่ง อีกหานาทีจะเที่ยงคืนผมกาวลงจากรถเดินเขาโรงแรม เดินเขาสูหองนอนเดิม อาบน้ำชำระรางกายเพื่อเตรียมนอนหลับพักผอนเพื่อเดินทางกลับสู ประเทศไทยในเชาวันรุงขึ้น คืนนี้เปนคืนที่หลับสบายอยางบอกไมถูก ไมรูวาเปนเพราะหมดแรงหรือมีความสุขกันแน หน้า ๑๖


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

ค้นหาความต้องการที่แท้จริง ของคู่พิพาท สโมสรผูนำเยาวชนเพื่อการศึกษาและพัฒนาชุมชน อำเภอปางมะผา จังหวัดแมฮองสอน

วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ์

ปลายเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา ผมมีโอกาสไปฝึกอบรมหลักสูตรผู้ประนีประนอม ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทที่จัดขึ้นโดยสํานักระงับข้อพิพาท กระทรวงยุติธรรม ผู้เข้าอบรมมาจาก ทั่วประเทศครับ ส่วนใหญ่เป็นผู้ไกล่เกลี่ยประจําศาลต่างๆ ผมมาในนามผู้พิพากษาสมทบ ศาลจังหวัดแม่ฮ่องสอนแผนกคดีเยาวชนและครอบครัว ได้โอกาสมารับบทบาทนี้ด้วยอีก บทบาทหนึ่ง ถือเป็นกําไรชีวิตที่จะได้เรียนรู้และทําความดีเพิ่มครับ

! การอบรมเปนหลักสูตรเชิงปฏิบัติการรวมทั้งสิ้นหาวัน วิทยากรเปนบรรดาผูพิพากษาที่มี ประสบการณในการไกลเกลี่ยคดีตางๆ ผมเห็นวาหลักสูตรนี้ใหความรูที่นาสนใจหลายอยาง งาน ไกลเกลี่ยขอพิพาทก็คือการสรางความยุติธรรมใหคูพิพาทสามารถยุติปญหาแลวกลับมาฟนความ สัมพันธที่ดีตอกันตอไป ไมใชชนะขอกฎหมาย แลวจากนั้นไมมองหนากันอีกเลย ซึ่งถึงแมจะเปน สันติวิธีแบบหนึ่ง คือตกลงกันดวยกฎหมาย แตไมสรางสมานฉันท ความขัดแยงก็อาจจะไมจบ การไกลเกลี่ยขอพิพาทซึ่งเปนกระบวนการยุติธรรมที่เนนความสมานฉันทไดดีที่สุดในขณะนี้ ! งานไกลเกลี่ยเปนงานสำคัญที่ระบบยุติธรรมปจจุบันใหความสำคัญมากครับ เปนวิถีทาง แกปญหาโดยสันติและทำใหทุกฝายหันหนามาคุยกันเพื่อหาทางออกรวมกันได ผมกลับมาคิด เลนๆวาไอคิโดเราเองก็เปนวิถีสันติวิธีอยางหนึ่ง นาจะมีอะไรที่ดึงสาระที่แฝงเรนในไอคิโดออกมา สัมพันธกับการไกลเกลี่ยขอพิพาทได ก็เลยเขียนบทความนี้ขึ้นมาครับ ! ขอแตกตางระหวาง ไอคิโด กับงานไกลเกลี่ยของศาล ก็มีในเรื่ององคประกอบบุคคลนะ ครับ คือ ผูไกลเกลี่ยจะเปนคนกลางในการชวนคูพิพาททั้งสอง หรือสาม สี่ คน มาคุยกัน โดยผูไกล เกลี่ยวางตัวเปนกลางนะครับ ในขณะที่ไอคิโด ไมไดมีคนกลางเฉพาะแยกออกมา แตตัวเราคือ นาเงะ หรือ ผูรับการจูโจม ทำหนาที่ไกลเกลี่ยขอพิพาท (ความรุนแรง) ที่อุเกะ หรือผูจูโจมสงเขา มา หน้า ๑๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

! ผมจึงมองวา อุเกะ ในไอคิโด คือผูทำหนาที่ประนีประนอมไกลเกลี่ย ที่มีความเปนก ลางเหมือนกัน คือไมผูกพันตัวเองกับความขัดแยง ทำตัวเปนเสมือนสื่อกลาง หรือกระจก สะทอนแงมุมของปญหาเพื่อชวยใหมองเห็นทางออกหลายๆทาง ! หลักการไกลเกลี่ยขอพิพาทอีกขอที่สำคัญที่สุดเลย คือผูไกลเกลี่ยตองคนหาความ ตองการของคูพิพาททั้งสองฝายใหเจอนะครับ เชน บางกรณีดูสำนวนขอพิพาทเปนเรื่องเงิน แต จริงๆ อาจเปนเรื่องศักดิ์ศรี ไมยอมลงใหกัน หรือมีความตองการอื่นแอบแฝงอยู แลวพยายาม สื่อสารสองทางใหคูพิพาทมองเห็นปญหา และแสวงหาทางออกรวมกัน แบบ win-win ! ในไอคิโดก็เชนกันครับ ผมคิดวากอนจะ สัปประยุทธกันนี่ ถาเปนไปได เราก็ควรจะ สังเกตหรือถามีเวลาพอก็อาจพูดคุยกับอีกฝาย หนึ่งกอน เพื่อสำรวจดูความตองการที่แทจริง ของเขาว า ทำไมเขาจึ ง ต อ งการจะต อ สู  ห รื อ ทำรายเรา ถาเขายอมเจรจากันกอนก็อาจชวย ดับอารมณที่พลุงพลาน สื่อสารกลับไปทำให เขามีสติ แลวเปลี่ยนมุมมอง นาจะลดดีกรี ความกาวราว ลดทอนแรงปะทะจากอีกฝาย ไดไมนอย หรืออาจจะเปลี่ยนทัศนคติของเขา ไปกอนที่เขาจะมาถึงตัวเรา (เปลี่ยนทิศทาง แรง) ! อีกหลักการหนึ่งที่ผูทำหนาที่ไกลเกลี่ย ขอพิพาทตองมี คือ การเปนผูฟงที่ดีครับ ผู ไกลเกลี่ยตองฟงอยางตั้งใจถึงขอมูลที่คูพิพาทแตละคนใหมา และซักถามเพื่อใหไดความ ชัดเจน เพื่อชวยใหคูพิพาทมองเห็นทางออกรวมกัน เฉกเชน ผูใชเทคนิคไอคิโด ตองสัมผัสใหรู ถึงแรงของผูจูโจม ทั้งขนาด และทิศทางของแรง เพื่อใหความรุนแรงสงบลงโดยไมมีการตอ ตาน ไมใชเอาแตแรงของตัวเองเปนตัวตั้ง แตให “ฟง” แรงของอีกฝายดวยวาจะพากันไปสูจุด ยุติไดอยางไรโดยที่ไดประโยชนทั้งสองฝาย (คือบาดเจ็บนอยที่สุด และความขัดแยงคลี่คลาย ลงอยางสมานฉันท) หน้า ๑๘


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

F

“แยกคนออกจากปญหา แข็งกับปญหา แตออนกับตัวบุคคล”

! ในการไกลเกลี่ย ผูไกลเกลี่ยตองสื่อกับคูพิพาททั้งสองวาเราไมไดจัดการคูพิพาท แตเรา จัดการขอพิพาท ! ในไอคิโด เราไมไดจัดการกับผูจูโจม แตเราจัดการกับแรงที่เขาปะทะเขามา ทำอยางไร จึงจะจัดการกับขอพิพาท จัดการกับแรงพิพาทที่อุเกะหรือผูจูโจมสงเขามา โดยใหตัวเขาเองได เรียนรู ที่จะหาทางออกไปพรอมกันกับเราอยางกลมกลืน ใหความสัมพันธของคูพิพาทกลับมา คืนดีกัน เฉกเชน ความสัมพันธของนาเงะกับอุเกะกลับมาเปนเพื่อนกันไดในทายสุด

! จริงๆแลวกระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาทมีความซับซอน แตก็มีหลักการที่นาสนใจ คลายคลึงกับไอคิโด ผมก็เลยนำมาฝากเปนเกร็ดความรู จริงๆแลว มนุษยเราใชการไกลเกลี่ย ขอพิพาทในชีวิตประจำวันกันอยูแลว เชน พอแมที่ตองไกลเกลี่ยขอพิพาทของลูกๆ ผูบริหาร ที่ตองไกลเกลี่ยขอขัดแยงระหวางพนักงานในองคกร หรือครูที่ตองไกลเกลี่ยปญหานักเรียนใน ชั้น ถาผูฝกไอคิโด สามารถนำเอาทักษะจากโดโจไปใชในการไกลเกลี่ยขอพิพาทได โดยเทียบ กับหลักการขางตน ก็นาจะมีประโยชนไมนอยครับ หน้า ๑๙


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

The Spirit of Aikido Kisshomaru Ueshiba เขียน Taitetsu Unno แปลอังกฤษ

!

!

คำนำ

! การขยายตัวของไอคิโดในระดับโลกในชวงเวลาเร็วๆนี้ถือวาเปนปรากฏการณ ประชากรผูฝกไอคิโดในวันนี้ มากกวาหนึ่งลานคน (ในปค.ศ. 1984 - ปที่หนังสือเลมนี้พิมพ ครั้งแรก- ผูแปล) และสมาพันธไอคิโดนานาชาติ (International Aikido Federation) ก็เติบโต อยางเขมแข็งอยางมาก ซึ่งขาพเจาเชื่อวา เหตุผลนี้ก็ขึ้นอยูกับความเปนไอคิโดนั่นเอง ที่ได แสดงหลักการและรูปแบบการปฏิบัติในระดับสูงสุดของศิลปะการปองกันตัวที่มีความงาม และจิตวิญญาณที่เปนผลิตผลจากวัฒนธรรมตามขนบของญี่ปุน ! ไอคิโดเปนที่ประจักษในสภาพความเปนจริงอันเปนที่สุดของ : การเคลื่อนไหวที่ลื่น ไหลอยางเปนธรรมชาติ ภายในพลังที่อัดแนนจนไมสามารถเปรียบเทียบไดของ “คิ” ! ! เปาหมายก็คือ การกอรูปของมนุษยในอุดมคติที่ผสานรางกายและจิตใจใหเปนหนึ่ง ผาน ทางการฝกจิตใหมีพลังและการฝกฝนทางรางกายจนบรรลุถึงพลวัตแหงชีวิตไมวาจะอยูนิ่ง หรือทำกิจกรรมใดๆอยูก็ตาม แกนที่ทำใหไอคิโดมีกิตติศัพทกวางไกลในระดับนานาชาติก็คือ จิตวิญญาณที่เปนหลักการพื้นฐานและเหตุผลของการฝกปฏิบัติไอคิโด ! ความกาวหนาทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และวิวัฒนาการดานวัตถุในยุคสมัยใหม ไดสงผลรายแรงตอจิตวิญญาณของมนุษย กอใหเกิดความกระสับกระสาย รูสึกไมปลอดภัย และสับสนจนหลงทิศทาง ตัวอยางการทำลายลางที่รุนแรงที่สุดก็คือการลางเผาพันธุดวย ระเบิดปรมาณู มนุษยชาติในทุกวันนี้ยืนอยูบนขอบเหวของความหายนะ ! ในยุคแหงการลดคุณคาความเปนมนุษยอยางสุดขั้ว ไอคิโดจึงดึงดูดความสนใจจาก ผูคนเปนพิเศษ โดยเฉพาะความจริงที่แตละคนไดคนพบไมวาจะอายุเทาใด เพศไหน หรือมี ทักษะทางกีฬาหรือไม ตางก็เรียนรูผานการฝกฝนที่ผสานเอาความสรางสรรคในหลักการพื้น ฐานของ คิ ที่แผซานทั่วไปในจักรวาล และ คิ ของปจเจกบุคคล หลอหลอมเขารวมกัน ดวยอานุภาพแหงลมหายใจ การผสานเปนหนึ่งนี้ก็คือแหลงกำเนิดแหงพลังชีวิต ที่ไมเพียงแคเติมเต็มความวางเปลาทางจิตวิญญาณแตยังใหความหมายและ หน้า ๒๐


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

แกนแทสำหรับการดำเนินชีวิตประจำวันอีกดวย ! ศิลปะการตอสูของญี่ปุนตางมีตนกำเนิดมาจากความบันดาลใจที่จะไปสูเปาหมาย แหงชัยชนะในสนามรบ แตชัยชนะเหลานี้มีอายุสั้น มันผานมาแลวก็ผานไปอยางรวดเร็ว บางคนอาจยินดีปรีดาไปกับความมีชัยของตนในสงคราม แตนั่นก็ยังไมใชชัยชนะในฉาก สุดทาย ดังนั้น มันก็คงจะขัดแยงหากเราอุทิศชีวิตทุมเทใหกับการฝกฝนเพื่อจะไปถึงเปา หมายที่ไมจีรังยั่งยืน ! แตความขัดแยงนี้จะไมเกิดขึ้นในไอคิโด ซึ่งเปนตัวแทนของศิลปะการตอสูสมัยใหม ที่อยูแนวหนาของ บูโด (วิถีแหงศิลปะของการสูรบ) ไอคิโดสอนวิธีที่จะเขาถึงชัยชนะที่ สมบูรณแบบที่อยูบนปรัชญาของการไมแขงขัน การไมแขงขันหมายถึงการไมใหความ สำคัญกับความกาวราว ความกระหายที่จะตอสู หรือสัญชาติญาณแหงการทำลายลางที่ อยูในตัวเขา แตเปดชองทางใหเขาไดเขาสูพลังแหงความรักที่สรางสรรค ปรัชญานี้เองจะ กระจางชัดเมื่อนำมาสอนในศิลปะการตอสู และนี่ก็คือแกนแทของไอคิโดนั่นเอง ! ดวยเหตุที่ไอคิโดแพรหลายไปทั่วโลกอยางรวดเร็ว เราจึงรูสึกวา ความหมายที่แท จริงของศิลปะแขนงนี้ ไมคอยจะไดรับการถายทอดและฝกฝนอยางเหมาะสมเทาที่ควร หาก เรายอมรับไอคิโดที่กาวเขาสูระดับนานาชาติ แตขาดซึ่งรักษาปรัชญาพื้นฐานและอุดมคติที่ หลอหลอมโดยปรมาจารยโมริเฮอิ อูเอชิบะ คงเปนเรื่องนาเสียดายอยางยิ่ง ดวยเหตุนี้เอง เราจึงมีความรูสึกอยางแรงกลาที่ตองรับผิดชอบและทำงานอยางตอเนื่องที่จะปรับปรุงให สถานการณนี้ดีขึ้น ! นับวาเปนเวลาอันเหมาะสม ที่หนังสือของขาพเจา Aikido no kokoro ไดรับการ แปลเปนภาษาอังกฤษในชื่อ The Spirit of Aikido โดยศาสตราจารยไทเทตสึ อุนโน แหง สมิธคอลเล็จซึ่งก็เปนนักเรียนที่ฝกฝนไอคิโดมาอยางยาวนาน ตนฉบับฉบับภาษาญี่ปุนได พิมพเมื่อป ๑๙๘๑ เพื่อเปนการรวมเฉลิมฉลองครบรอบ ๕๐ ปแหงสำนักงานใหญไอคิโด หนังสือนี้ไดกลาวถึงอุดมคติและมุมมองเชิงประเพณีมากมายของชาวเอเซีย บางอยางก็ อาจยากตอความเขาใจ แตขาพเจาก็หวังวา แนวคิดหลัก ซึ่งก็คือพลังแหงชีวิตที่อยูบนพื้น ฐานแหงการรวมตัวเปนหนึ่งระหวางจักรวาลกับ“คิ”ของแตละบุคคล สิ่งนี้จะสามารถเปนที่ เขาใจไดผานทางฝกฝนในภาคปฏิบัติ ! ขาพเจาหวังเปนอยางยิ่งวา งานเขียนชิ้นเล็กๆนี้หากจะเปนประโยชนก็โดยเฉพาะ ตอนักเรียนไอคิโดทุกทาน แตถาทำใหผูอานทั่วไปจะสามารถเขาใจไอคิโดไดในรูปแบบของ ปรัชญาที่ไมสนับสนุนความรุนแรงแตเอื้อใหเกิดความกลมกลืนในโลก เชนนั้นแลว ขาพเจา ก็จะปติยินดีเปนอยางยิ่ง

หน้า ๒๑


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

คิ แหงจักรวาล และ คิ ของปจเจก

หน้า ๒๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

ลักษณะเฉพาะของไอคิโด ! ไอคิโด เปนการเกิดขึ้นที่สำคัญอยางยิ่งของศิลปะการปองกันตัวสมัยใหมของ ญี่ปุนตามธรรมเนียมโบราณ (Budo) การสืบทอดจิตวิญญาณและศิลปะการสูรบไดรับ บันทึกเปนครั้งแรกในงานนิพนธเชิงประวัติศาสตรในสมัยศตวรรษที่ ๘ ชื่อ Kojiki (บันทึก แหงบรมครูโบราณ) และ Nihongi (จดหมายเหตุแหงญี่ปุน) แตไมไดหมายความวาไอคิโด จะยึดถือสืบทอดประเพณีแหงศิลปะการตอสูโบราณอยางไมลืมหูลืมตาโดยมุงแตเพียง รักษาและคงไวซึ่งแตรูปแบบดั้งเดิมของมันในโลกสมัยใหม ! ศิลปะการตอสูในอดีตคือมรดกตกทอดทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรมที่กอ กำเนิดขึ้นในสนามรบในชวงสงครามกลางเมืองและตอมาในสมัยโตกุกาวะ (๑๖๐๓ ๑๘๖๘) ก็ไดกอรางเปนบูโด หรือศิลปะแหงการสูรบซึ่งจำเปนตองไดรับยกยองเชิดชูอยาง เหมาะสม แตรูปแบบดั้งเดิมเหลานั้นกลับไมเปนที่ยอมรับตอผูคนในปจจุบันและไมเหมาะ สำหรับโลกสมัยใหมของญี่ปุนที่เริ่มตั้งแตยุคการบูรณะฟนฟูเมจิ (ป ๑๘๖๘) ! ปรมาจารยโมริเฮอิ อุเอชิบะผูกอตั้งไอคิโด เกิดวันที่ ๑๔ ธันวาคม ๑๘๘๓ ในชวง ญี่ปุนกำลังอลหมานกับการเปลี่ยนแปลงเปนยุคสมัยใหม ทานไดอุทิศตนใหกับการ สถาปนาศิลปะการปองกันตัวที่เปนที่ตองการของคนรวมสมัยและไมตกยุค ปจจัยหลาย อยางที่เปนแกนสำคัญที่ปรมาจารยตระหนักถึงเปนเรื่องแรกๆ ก็คือ ความรักอยางมั่นคงที่ มีตอศิลปะการปองกันตัว การดูแลปกปองไมใหเกิดการตีความผิดๆ และความหวังอยาง แรงกลาที่จะฟนฟูคุณภาพแหงวิญญาณของบูโด ทานไดแสวงหาทางอยางไมยนยอที่จะ ทำใหเปาหมายของทานสัมฤทธิ์ผล จนไดพบกับสัจธรรมแหงบูโดหลังจากที่ทานทุมเท ฝกฝนศิลปะการตอสูอยางตอเนื่องตลอดชวงประวัติศาสตรที่ผันแปรของญี่ปุน ! ในที่สุด ปรมาจารยอูเอชิบะก็ไดสรุปวา จิตวิญญาณที่แทจริงของบูโดนั้นไมอาจ พบไดในการแขงขันและบรรยากาศแหงการสูรบที่เต็มไปดวยพละกำลังที่โหดรายอันมีเปา หมายสูงสุดเพื่อใหไดชัยชนะที่เกิดจากการสูญเสีย ทานสรุปวา เราจำเปนตองตระหนักถึง การเสาะแสวงหาความเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกายและจิตใจ คอยๆสั่งสมผานทางการ ฝกฝนอยางยาวนานดวยจิตวิญญาณที่ออนโยนของศิลปะการปองกันตัว ! สำหรับทานแลว การปรากฏของบูโดที่แทเทานั้นที่จะเปนความหมายสำหรับโลก สมัยใหม และคุณลักษณะที่แทนั้นก็ดำรงอยูเหนือกาลเวลาและวัฒนธรรมใดวัฒนธรรม หนึ่ง ดวยความลึกซึ้งในความศรัทธาของศาสนา ปรมาจารยไดสรุปในหนึ่งประโยควาเปา หมายของทาน คือ “ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของรากฐานแหงองคประกอบที่ สรางสรรค นั่นคือ คิ แหงจักรวาล กับ คิ ของแตละปจเจกบุคคล”

หน้า ๒๓


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

! ทั้งสองสิ่งนี้ไมสามารถแบงแยกได เพราะ คิที่แผซานอยูทั่วจักรวาลก็คือหนึ่งเดียว กับคิจากพลังแหงลมหายใจของแตละคนนั่นเอง ซึ่งรวมกันไดดวยการฝกฝนจิตใจและ รางกายอยางสม่ำเสมอ และการรวมกันเปนหนึ่งนั้นปรากฏใหเห็นผานการเคลื่อนไหว อยางลื่นไหล เปนพลวัตร การเคลื่อนไหวของคินั้นเปนอิสระและราบรื่น ทำลายไมไดและ เอาชนะไมได นี่คือแกนแทของศิลปะการตอสูของญี่ปุนที่ปรากฏเปนรูปเปนรางผานไอคิโด ! ดวยอัจฉริยภาพของปรมาจารยอูเอชิบะ ทานไดคิดคนระบบการฝกฝนจิตและ กายอยางตอเนื่อง อันถือเปนวินัยพื้นฐานสำหรับมนุษยที่จะเดินเขาสูวิถีแหงจิตวิญญาณ หลักการเบื้องตนของบูโดจึงไดถูกนำมาปฏิบัติและพัฒนาใหเปนศิลปะการปองกันตัวที่รวม สมัย นั่นคือ ไอคิโด ซึ่งในทุกวันนี้คนนับไมถวนทั่วโลก ทุกฐานะและชนชั้นในสังคมตางอา แขนรับและฝกฝนไอคิโดในฐานะศิลปะการปองกันตัวที่เหมาะสมกับยุคสมัยของเรา ! การที่ไอคิโดเปนบูโดสมัยใหม แตก็ไมไดหมายความวา ศิลปะการปองกันตัวสมัย ใหมแบบอื่นๆจะผสานเอาจิตวิญญาณแหงบูโดโบราณเขาไวดวย เพราะแมวาศิลปะเหลา นั้นจะสืบทอดวิถีแหงจิตวิญญาณที่มุงเนนการฝกฝนรางกายและจิตใจเชนเดียวกับในไอคิ โด แตศิลปะการตอสูเหลานั้นก็ใหน้ำหนักไปที่การแขงขันและการประลองตางๆที่ใหความ สำคัญกับความสามารถทางกีฬามากกวา และมุงหมายเอาชัยชนะเพื่อการรักษาตำแหนง ของตนไวในโลกกีฬา ! ในทางตรงกันขาม ไอคิโดปฏิเสธที่จะเขาสูการแขงขันในรูปแบบกีฬา และปฏิเสธ การประกวดประขันหรือการประลองตางๆ รวมทั้งการเทียบรุน ระบบการเลื่อนสายที่ขึ้น อยูกับจำนวนที่ชนะ หรือการมีเข็มขัดแชมเปยน สิ่งเหลานี้เปนเสมือนเชื้อเพลิงที่โหมใหกับ อัตตา การเห็นแกตนเองโดยไมคำนึงถึงผูอื่น ความยั่วยวนที่มักลอหลอกใหคนเราเขาสู วงการแขงขันก็คือ ทุกคนอยากเปนผูชนะ แตความคิดนี้ตรงกันขามกับบูโด ที่เปาหมาย สูงสุดคือการเปนอิสระจากตัวตน เขาสูภาวะไรอัตตา และตระหนักวาอะไรคือมนุษยที่แท ! นี่ไมไดเปนการวิพากษวิจารณศิลปะการตอสูอื่นๆที่เขาสูวงการกีฬา ดวยเพราะ เหตุผลเพื่อการอยูรอดจึงเปนเรื่องที่หลีกเลี่ยงไมได ในประวัติศาสตรของญี่ปุนทันทีหลัง จากสงครามโลกครั้งที่สอง ขณะนั้นศิลปะการตอสูทุกประเภทถูกสั่งหามโดยกองกำลัง ฝายสัมพันธมิตร ผูคนเปลี่ยนไปใหความสนใจกับกีฬาซึ่งดึงดูดทั้งผูชมและผูเลน จะวาไป แลวก็เปนสิ่งที่ดี เพราะคงจะปฏิเสธไมไดวา วัยรุนตางก็ใหความสนใจกับศิลปะการตอสู เนื่องจากการที่จะไดลงแขงขันเพื่อพิสูจนวาใครเกงที่สุดในสนาม ถึงกระนั้นก็ตาม ไอคิโด ไมไดตามคานิยมเหลานี้ ไอคิโปฏิเสธที่จะเขารวมและยังคงตั้งมั่นอยูในเจตนา ดั้งเดิมแหงบูโด คือการฝกฝนและพัฒนาจิตวิญญาณใหสูงสงยิ่งขึ้น

หน้า ๒๔


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

! ในโลกของไอคิโด มีเสียงเรียกรองใหมีการแขงขันอยูตลอดเวลา ดวยเหตุผลของ การอยูรอดในยุคปจจุบัน จึงตองการใหมีผูชมในระดับที่กวางขึ้น ที่จริงแลว นักไอคิโด บางทานไดตั้งสำนักเพื่อโฆษณา “ไอคิโดเพื่อการแขงขัน” นี่เปนเรื่องที่จริงจังมาก เนื่องจากการเปลี่ยนรูปไอคิโดไปสูการเปนกีฬา ซึ่งในอนาคตก็อาจพัฒนาไปสูการแขงขัน ระดับชาติ หรือแมกระทั่งการเขาสูโอลิมปกเกม ! ไอคิโดไดขีดเสนกำหนดเขตแดนอยางชัดเจนตั้งแตวิธีคิดและเหตุผลที่ชัดเจน ที่ จะธำรงไวซึ่งหลักคุณธรรมของบูโด และสืบตอจิตวิญญาณแหงศิลปะการตอสูตามจารีต ดั้งเดิม คงไวซึ่งหลักการพื้นฐานของบูโดที่ปรมาจารยอูเอชิบะประกาศอยางชัดเจนถึง การฝกฝนจิตและกายอยางตอเนื่องอันถือเปนวินัยพื้นฐานมนุษยในการกาวเดินไปในวิถี แหงจิตวิญญาณ ! ดวยความยึดมั่นตออุดมคติของปรมาจารยและมั่นคงตอ “วิถี” โดยเครงครัดตอ จารีตดั้งเดิมของบูโดนั้นอยูเหนือสิ่งอื่นใด เหตุผลที่สำคัญยิ่งที่ไอคิโดสามารถยืนหยัดอยู ไดในโลกปจจุบันนี้ก็ดวยเอกลักษณของไอคิโดที่เปนอุดมคติของปรมาจารยอูเอชิบะ แมวาผูคนมักจะสรุปอยางงายๆวาเปนรูปแบบหนึ่งของศิลปะการตอสูเพื่อการแขงขัน ก็ตาม ! ไอคิโดมีเอกลักษณเฉพาะตัวที่แตกตางๆไปจากบูโดดั้งเดิมและสมัยใหมอยาง ชัดเจน ซึ่งทำใหคนที่มีความสนใจการตอสูแบบผิวเผินไมชื่นชอบไอคิโด อาจเปนไปไดวา ทั้งหลักการและการเคลื่อนไหวที่เปนลักษณะเฉพาะของไอคิโดอาจจะเปนอุปสรรคตอ ความนิยมของไอคิโดเองก็ได ! คนที่ฝกฝนไอคิโด มักไดรับคำถามอยูบอยๆวา “อะไรคือไอคิโด” แมวานักเรียน ไอคิโดในระดับสูงก็ยังรูสึกยากที่จะหาคำตอบที่ตรงๆได ยิ่งไปกวานั้น คนที่เพิ่งจะเห็น เทคนิคของไอคิโดเปนครั้งแรกก็มักจะงุนงงสงสัยและตั้งคำถามตางๆมากมาย คนเหลานี้ มีอยูสองกลุมคือ ! กลุมแรก คือ คนที่มองไอคิโดดวยสมมติฐานที่ทึกทักเอาเองเกี่ยวกับศิลปะการ ปองกันตัวตามที่ตนเองไดรูหรือไดอานมา เมื่อเห็นการสาธิตไอคิโดแลวปฏิกิริยาที่ไดก็คือ ความผิดหวัง เพราะเขาคาดวาจะไดเห็นการตอสูที่โหดเหี้ยม รุนแรง สะใจ ดวยเทคนิคที่ อาจทำใหถึงแกชีวิตได พอเห็นไอคิโดเปนครั้งแรก การเคลื่อนไหวที่ลื่นไหลสวยงามดูไม รุนแรงจนดูเหมือนเรื่อยๆเอื่อยๆ คนเหลานี้ก็มักจะวิพากษวิจารณวา “ทุกอยางดูเหมือน ออกแบบทาและเตี๊ยมกันไวแลว” “ไมมีไคลแมกซ ไมมีจุดปะทะ” “มันใชไมได หน้า ๒๕


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

หรอกในชวงเวลาวิกฤติ” และอื่นๆอีกมากมาย คำวิจารณเหลานี้นั้นเปนที่เขาใจได และมัก จะมาจากคนหนุมสาวที่แสวงหาความตื่นเตนหวาดเสียวในการพิชิตชัยชนะ หรือไมก็เปน คนที่มีความเขาใจวาภาพศิลปะการตอสูก็คือการตะโกน ทำเสียงขู การเตะ ตอยและ ทำรายผูอื่น ! กลุมที่สอง คือ คนที่คุนเคยกับศิลปะการตอสูสมัยใหมโดยเฉพาะแบบแขงขัน จึง มองไอคิโดดวยมุมมองที่คิดวาตนเองเหนือกวา คำวิจารณก็มีหลากหลาย เชน “ทำไมไอคิ โดไมมีการแขงขันแชมเปยนชิพทัวนาเมนตเหมือนกับยูโด คาราเต และเคนโด” “ทำไม จำกัดตัวเองแคการสาธิต พอคนเห็นครั้งเดียวก็เบื่อแลว” “พอไมมีการแขงขัน มันก็บอกไม ไดวาใครเกงใครแย ใครเปนเด็กใหมและใครเปนนักไอคิโดระดับสูง” “ถาไมมีการแขงขัน คนก็จะไมฝกอยางตั้งอกตั้งใจ” เชนกัน คำวิจารณเชนนี้เปนที่เขาใจได เนื่องจากคนโดย ทั่วไปอยากจะเห็นวาใครเกงที่สุด ใครดีที่สุด ! อีกคำถามหนึ่งที่ไมเดียงสาและมักถามบอยๆ “เราจะชนะการตอสูไดไหม ถาเรา ฝกไอคิโด” ! คำถามและคำวิจารณที่งายๆและผิวเผินเหลานี้แสดงใหเห็นความไมรูถึงหลักการ พื้นฐานของไอคิโดและไมเขาใจถึงลักษณะที่สำคัญที่สุดของศิลปะการตอสู ซึ่งก็คือ การ ฝกฝนจิตวิญญาณ ถาคนที่ไมมีวินัยในตนเองแตชอบอวดพละกำลังหรือความสามารถและ อยากจะฝกไอคิโดเพื่อเอาเทคนิคไปใชตอยตี เราก็ตองขอใหเขาเลิกฝก หากฝกไอคิโดโดย ไมมีความอดทนดวยการมีประสบการณตรงกับการฝกฝนตนเองแลว คำถามตางๆจะไม ไดรับคำตอบที่นาพอใจ ! การฝกไอคิโดเปนวิธีเดียวเทานั้นที่จะฉวยเอาสาระสำคัญและเกิดผลประโยชนทั้ง ที่จับตองไดและจับตองไมได ผูฝกไอคิโดสวนใหญก็ตองผานกระบวนการนี้ทั้งนั้น เริ่มตน ดวยความเคลือบแคลงใจและตั้งคำถามมากมาย เริ่มตนเขาสูการฝกฝน แลวคอยๆคุนเคย กับวิธีและรูปแบบของไอคิโด ภายหลังก็ไดประสบกับเสนหที่ยากจะตานไดของไอคิโดจน ในที่สุดก็ไดตระหนักถึงความลึกซึ้งอันไรขอบเขตของมัน คนที่ไดผานวงจรนี้ก็จะไดเรียนรู หลายสิ่งหลายอยางที่ทำใหไอคิโดเปนศิลปะการปองกันตัวที่มีเอกลักษณเฉพาะตัว ! สิ่งแรกก็คือ เขาจะประหลาดใจ มันไมเหมือนกับภาพ “ความนุมนวล” ที่เขาเห็น ตอนที่มีการสาธิตทาไอคิโด แตมัน “แข็งแกรง” มีพลังและคลองแคลววองไว ทั้ง ประสิทธิภาพในการล็อคขอมือและการปะทะตรงๆ(อะเตมิ) มันขัดแยงกับสิ่งที่คนทึกทัก เอาเอง ไอคิโดประกอบดวยเทคนิคที่สามารถสรางความเสียหายรุนแรงใหกับ หน้า ๒๖


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

ฝายตรงขาม โดยเฉพาะทาที่ใชสำหรับการปลดอาวุธและควบคุมบังคับศัตรู ! ตอมา เขาก็จะชอค (แมวาเขาจะยังเพิ่งเริ่มตนฝกก็ตาม) เมื่อคนพบความซับ ซอนและความยากที่จะทำทาเทคนิคพื้นฐานและการเคลื่อนไหวแบบตางๆ เชน การลม (อุเคะมิ) การวางระยะหางที่เหมาะสม (มาไอ) การกาวเขาไป (อิริมิ) และการเคลื่อนไหว รางกายแบบตางๆ (ไท สะบะคิ) ความจริงก็คือ ไมเฉพาะแขนหรือขาเทานั้น แตทั้ง รางกายตองเคลื่อนอยางตอเนื่องประสานสอดคลองกัน และจะตองทำอยางรวดเร็ว กระฉับกระเฉง มีพลัง การแสดงเทคนิคอยางลื่นไหล เฉียบพลัน จำเปนอยางยิ่งที่จะตอง มีสมาธิที่จดจอ ความคลองแคลว รวมถึงความสมดุลของรางกายและการมีปฏิกิริยา โตตอบที่รวดเร็วเกินระดับธรรมดาสามัญ ! เขาจะตระหนักถึงความสำคัญของการควบคุมการหายใจ ซึ่งก็รวมถึงการ หายใจเขาออกธรรมดาทั่วไป แตมากกวานั้นตรงที่เชื่อมโยงเขากับพลังคิ การมีอำนาจ บังคับบัญชาพลังแหงลมหายใจนั้นเปนพื้นฐานของทุกๆการเคลื่อนไหวและการกระทำทา เทคนิคตางๆ ซึ่งจะเปนหลักประกันถึงความลื่นไหลที่ตอเนื่องในทุกๆทวงทา ยิ่งไปกวานั้น มันก็สอดคลองอยางลึกซึ้งกับปรัชญาบูโดที่พัฒนาโดยปรมาจารยอูเอชิบะ ซึ่งเราจะได เรียนรูตอไป ! สุดทาย ในฐานะนักเรียนในระดับสูง เขาจะทึ่งกับการประยุกตใชเทคนิคที่หลาก หลายและเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆอยางไมมีที่สิ้นสุด ขึ้นอยูกับเหตุปจจัยและความเหมาะ สมของแตละสถานการณ หลังจากที่เขาไดมีประสบการณตรงกับการฝกฝนทวงทาอัน ซับซอนของเทคนิคไอคิโดเทานั้น เขาจึงจะสามารถซาบซึ้งกับความเปนศูนยกลางแหงคิ ทั้งคิของปจเจกและคิของจักรวาล และเมื่อนั้นเอง เขาก็จะเริ่มตนที่จะสัมผัสไดถึงความ ลึกล้ำซับซอนของไอคิโดในฐานะของศิลปะการปองกันตัว ! กลาวโดยยอ การฝกฝนอยางจริงจังเทานั้น จึงจะทำใหคนผูนั้นกลายเปนผูที่ ตระหนักถึงมิติที่สำคัญของบูโด การฝกฝนรางกายและจิตใจอยางตอเนื่องก็คือวินัยพื้น ฐานของมนุษยที่ดำเนินในวิถีแหงจิตวิญญาณ และเมื่อนั้น เขาก็จะเห็นคุณคาในการ ปฏิเสธการแขงขันและการประลองฝมือตางๆ เขาจะชื่นชมและเขาใจเหตุผลในการสาธิต ตอสาธารณชนที่เผยใหเห็นผลงานที่มาจากการฝกปรืออยางตอเนื่อง ไมใชมาจากการ อวดศักดาของอัตตาตัวตน

หน้า ๒๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

สุภาษิตโกะกับ ขาพเจา !

(๖)

โดย Nounours’ Mom

“การโจมตีคือรูปแบบที่ดีของการตั้งรับ” ! “ขาพเจาเปนเพียงผูเริ่มฝกหัดเลนโกะ เทานั้น และยังโงเขลาที่จะเขาใจแกนแทของโกะ อยางลึกซึ้ง แตถาเปนจิตวิญญาณของไอคิโด แลว ขาพเจาไมปฏิเสธเลยวามันเปนธรรมชาติ และชีวิตของขาพเจาไปแลว ! จากหนังสือ โกะ อัจฉริยะเกมแหงพิภพ โดย วันชัย ประชา เรืองวิทย ที่ขาพเจาได รับมาจากเพื่อนผูหนึ่ง ทำใหขาพเจาพบสุ ภาษิตโกะบางขอที่จุด ประกายความคิดให ขาพเจาไดเขียน บทความนี้ขึ้นมาเพื่อ เผยแพรสุภาษิตโกะที่ ขาพเจาเห็นวาสอดคลองกับหลักไอคิโดที่ ขาพเจายึดถือเปนแนวทางในการใชชีวิตอยาง สงบสุขตามความเขาใจของขาพเจา โดยมิไดยึด ติดวาผูใดจะตองเห็นดวย”

! บนกระดานหมากรุก หนึ่งหมากคือ หนึ่งโอกาส ! หมากชั้นเลิศคือหมากที่สรางประโยชน ไดหลายทาง แมยามโจมตีก็ยังปองกัน หมากอื่นๆไปพรอมๆกัน การโจมตีไมใชเพื่อ ทำลาย แตเพื่อเก็บเกี่ยวผลประโยชน ! การโจมตีนั้นก็มีหลายแบบ ทั้งแบบ จูโจมและแบบคอยเปนคอยไป ซึ่งก็ขึ้นอยู กับสถานการณที่จะเอื้ออำนวย ! “จิยูวาซา” หรือ “แรนโดริ” คือการที่อู เกะโจมตีอยางอิสระ มักจะโจมตีพรอมๆกัน มากกวาหนึ่งคน หากเราตองรับมือกับผู โจมตีหลายๆคนทีเดียวพรอมกันนั้น เรา ตองหาวิธีเอาตัวรอดจากกลุมผูโจมตีโดยที่ ไมทราบวาเขาจะเขามาโจมตีเราในรูปแบบ ใด หน้า ๒๘


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

! เพื่อจะเอาตัวรอด เราตองตั้งสติและมีจิตใจแนวแน สรางแรงกดดันใหกลุมผูโจมตีไม สามารถเขามาควบคุมเราไดโดยการเปนผูโจมตีกอน เราตองบังคับใหกลุมผูโจมตีเกิดการ เคลื่อนไหวตลอดเวลา เพื่อใหเกิดความสับสนและแตกขบวนจนไมสามารถเห็นชองทาง เขามากระทำได และในที่สุด เราก็จะเห็นโอกาสที่จะกลับเปนฝายเขาโจมตีได

ภาพจาก http://www.aikieast.com/seminars.html

! การเขาหาแบบโอโมเตะคือการเขาไปทางดานหนาของผูโจมตี โดยเลือกคนที่อยูใกล สุด จัดการใหเขากลายเปนอุปสรรคขัดขวางคนอื่นๆที่เขามาโจมตีเรา ขณะเดียวกัน เราก็ ตองไมปกหลักหยุดการเคลื่อนที่อยูที่จุดใดจุดหนึ่งเปนอันขาด เราจำเปนตองเคลื่อนไปจุด อื่นๆที่ทำใหตัวเราอยูที่ตำแหนงที่ไดเปรียบที่สุด

! การรับมือคูตอสูทีเดียวหลายคนหรือแรนโดรินี้ เราตองเปนฝายโจมตีกอน อยางสม่ำเสมอไมหยุดนิ่ง ไมปลอยใหเขาคาดเดาไดวาเราจะใชเทคนิคอะไร และตอง พยายามเขาควบคุมคูตอสูใหไดไมวาจะอยูในสถานการณใด ไมปลอยใหเขาเคลื่อนที่ได มากกวาเรา ไมลังเล ไมสับสน ! ที่สำคัญคือการมองเห็นภาพรวมของสถานการณทั้งหมด โดยเคลื่อนที่ไปรอบๆแบบ โอโมเตะไมปลอยใหพวกเขาเขามาลอมเราไวได ! หากเราควบคุมสถานการณไวได เราก็เปนผูไดเปรียบและรักษาตัวรอดปลอดภัย ติดต่อ

Nounours’ Mom ได้ที่

<http://NounoursMom.hi5.com>

หน้า ๒๙


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Aikido(ka) in Focus ตั๊กเล่าเรื่องของตัวเองให้ฟังหน่อยได้ไหม ? เราเริ่มตั้งคําถามง่ายๆกับสาวตัวเล็กๆในร้านอาหารที่เรา กินกันไปคุยกันไป ตั๊ก : ชื่อจริงคือนางสาววรัญญา สุขเลิศวิมล ค่ะ เกิดที่ กรุงเทพฯแต่ย้ายมาเชียงใหม่ตั้งแต่เด็กๆ ตั๊กจบคณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รหัส 4605490 จบเมื่อปี 2550 ก็ไปทํางาน aupair (พี่เลี้ยงเด็ก)ที่ อเมริกาอยู่ปีกว่า แล้วกลับมารับปริญญาก็เลยไม่ได้ไป อีก ได้งานโรงแรมค่ะ ทําอยู่ปีครึ่งก็ไปทําบริษัททัวร์ แล้ว ควบไปกับเปิดร้านเล็กๆขายของอยู่หน้ามอ ทําบริษัททัวร์อยู่ ประมาณปีครึ่งก็เห็นว่าทําธุรกิจของตัวเองดีกว่า ตอนนี้ก็เลยเหลืองานที่ร้านอย่างเดียว ไปเปิดเฉพาะตอนเย็น ทําให้มีเวลาว่างมาก เลยอยากหาอะไรทําเพิ่มเติม ที่มาเจอไอคิโดทีA ่ ll Gym นี่ก็เพราะปกติจะเป็นคนชอบทานมาม่าผัดร้านหน้า โรงเรียนเรยีนาฯ และผ่านยิมนี้บ่อยเลยลองเข้ามาถาม โชคดีที่ได้มาเจอครูฝน(ครูเท ควันโด) ก่อนหน้านี้ไม่เคยรู้จักไอคิโดเลย ครูฝนได้แนะนําให้ลองเรียนไอคิโดเพราะเห็น ว่าตั๊กเป็นผู้หญิงตัวเล็กๆ ครั้งแรกที่มาเรียนก็จะมีพี่ป๋อมกับแบงค์ ช่วยสอนก็สนุกดีกลิ้ง เยอะจัง พอจบคลาสแบงค์ก็ถาม “จะเรียนมั้ย” สั้นๆห้วนๆ ก็เลย “เรียนค่ะเรียน”

FOCUS : คนรอบขางวาอยางไรบางที่รูวาตั๊กเรียนไอคิโด ตั๊ก : อยางเพื่อนๆก็จะถามวา มันคืออะไร แกไปเรียนเตะเรียนตอยอะไร เหมือนเทควันโดไหม เพื่อนก็จะไมรูจักเพราะจริงๆตั๊กก็ไมเคยรูจักไอคิโดมากอนเลย อยูในมช. มา 4 ปก็ไมเคยสังเกต (คณะวิทยฯก็ติดกันกับที่ฝกนั่นแหละ) สวนพอกับแมก็ไมวาอะไรลูกชอบอะไรพอกับแมก็ เห็นดวยเพราะตั๊กไมใชคนชอบเที่ยวเตร พอแมก็ไวใจ ตั๊กมักเอาไอคิโดไปลอง เลนกับพอแตก็ทำไมได(ฮาฮา) หน้า ๓๐


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

FOCUS : มาฝกไดสักระยะหนึ่งแลวเนี่ยคิดอยางไรบาง ตั๊ก : ตอนนี้ก็รูสึกดีคะ รูสึกดีที่ไดฝกและก็ไดฝกเรื่องของสมาธินิดนึง แลวรูสึกวาเรื่องของวิชาเนี่ยทำใหเราเทคแคร(ดูแลเอาใจใส) คนอื่น มากขึ้น ตอนที่ตั๊กนั่งดูทำใหรูสึกวาเราฝกกันเปนคูมันไดชวยเหลือ กัน เราไมไดฝกอยูคนเดียว FOCUS : ไมเบื่อเหรอฝกแตทาเดิมๆ ตั๊ก : ยังคะยังไมเบื่อ ทาเดิมๆยังทำไมดีเลยอยากทำใหไดดีกวานี้ อยากฝกไปเรื่อยๆเอาไวปองกันตัวดวย อยากไดสายดำดวย FOCUS : เรียนรูอะไรจากไอคิโดบาง ตั๊ก : หนึ่งก็รูจักการดูแล เอาใจใสกันเหมือนที่พูดไปแลว สองก็ มิตรภาพ ไดพบเพื่อนใหม สามก็ทำใหใจเย็นขึ้น FOCUS :ยังไง ตั๊ก : ตั๊กเรียนในคลาสเด็กคะมันก็เลยฝกแบบรุนแรงไม ได บางทีเด็กก็ไมอยูนิ่งก็ตองชวยพี่ปอมจับเด็กใหนิ่งๆ คอยเลนกับเด็กๆคะมันทำใหเราใจเย็นอารมณเย็นรูสึก วามันออนโยนดีคะ FOCUS : พี่ปอมฝากมาบอกวาขอบคุณตั๊กมากที่เปนพี่ เลี้ยงคอยดูแลเด็กๆในคลาสใหอีกแรง ขอยกใหเปนนางงาม ประจำคลาส(รักเด็กคะ) โอกาสนี้เราขอประชาสัมพันธไอคิโด คลาสเด็กไปดวยเลย Y เราเรียนในวันจันทร-พุธ-ศุกร เวลา16.30-17.30 น. และวันเสาร-อาทิตย เวลา 17.30-18.30 น. มีพี่ปอมกับแบงคสอนและปงกับพี่ออมก็ไปชวยตอนวางๆ ไปลองซะ...แลวจะรูวาไอคิโดแบบเด็กๆเปนยังไง...

หน้า ๓๑


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

มาเยี่ยมมาเยือน Dr.Joe Brent (1st Kyu)

American Representing Myanmar Aikikai Yangon, Myanmar

Chief Instructor - U Mya Sein Myanmar Aikikai(New Organization) No,86/B, Arzarni street, Bahan Township Yangon, Myanmar (East Side of Shwedagon Pagoda) Phone – 706689 www.myanmaraikikai-neworganization.com/

! I want to sincerely thank Sensei Sombat and Sensei Tee, Kop, and all the members of the CMU Aikido dojo for a warm welcome to me and my wife Kathy on Friday evening, July 9. ! You were very gracious to allow me to participate in your class that evening to take pictures. I thoroughly enjoyed the instruction and the interaction with each student. Everyone was very friendly and the Aikido that was practiced was representative of the true spirit of Aikido. My evening spent with you will always be a special memory to me. ! Thank you also for your gift as well. I hope to return to Chiang Mai and visit with you all again very soon. Blessings! Dr. Joe Brent


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

มาเยี่ยมมาเยือน Oliver Thorne (Ni-dan) Olly’s Interview (โดยเต้ย ปิง ปีใหม่) ★ How did you started training aikido? ได้รู้จักกับไอคิโดจากการที่ได้ไปอ่านประวัติของ ท่านปรมาจารย์โมริเฮอิ อุเอชิบะผู้ก่อตั้งวิชาไอคิโด ขณะที่ยังเรียนคาราเต้อยู่ ก็เลยสนใจและหาข้อมูล จากอินเตอร์เน็ทเพื่อค้นหาที่ฝึกไอคิโด ในที่สุดก็ไป อาศัยพร้อมทั้งฝึกไอคิโดที่โดโจในสวิสเซอร์แลนด์เป็นเวลา 1 ปี ★ What do you like in aikido? เมื่อได้เข้ามาฝึกไอคิโด ก็ชอบในหลายอย่างๆ ที่เป็นไอคิโด ไม่ว่าจะเป็นหลักการฝึกที่ เป็นการช่วยกันฝึกระหว่างอุเกะและนาเงะ หลักการที่ไอคิโดไม่มีการแข่งขันเพื่อการต่อสู้ การที่สามารถนําไอคิโดไปปรับใช้ได้จริงในการป้องกันตัว แนวคิดที่สุดท้ายการฝึกไอคิโด เป็นการฝึกเพื่อพัฒนาตนเอง และประสบการณ์แปลกใหม่ที่ไม่ซ้ํากันเมื่อได้ฝึกไอคิโดใน ทุกๆ ครั้ง ★How do you feel about your third visit in Chiang Mai? รู้สึกชอบและชื่นชมว่าชมรมไอคิโดของ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มีการฝึกซ้อมที่ดี ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นเพราะ ระดับสายและฝีมือของคนเก่าๆ ที่เคย เจอในการมาที่เชียงใหม่ครั้งก่อนนั้นมี การพัฒนาสูงขึ้น หน้า ๓๓


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

★ When did you started learning about the connec@on with partner? สําหรับตัวเองนั้น ได้เริ่มฝึกการต่อแรงตั้งแต่เริ่มฝึกเพราะอาจารย์ท่านให้ความสําคัญ ทั้งด้านตัวเทคนิคของท่าต่างๆ และการเรียนรู้เรื่องของแรง ในขณะที่อาจารย์หลายๆ ท่าน เลือกที่จะสอนเฉพาะเทคนิคของท่าก่อนแล้วค่อยให้เริ่มฝึกการรับรู้เกี่ยวกับแรงเมื่อฝึกมา ได้หลายปีแล้ว ★ What is your favorite technique in Aikido? โดยปกติแล้ว จะให้ความสําคัญกับท่าเทคนิคพื้นฐานมากกว่าทําท่าทีชอบที่สุด ฉะนั้น ท่า Ikkyo จึงเป็นท่าที่ฝึกมากที่สุดในช่วงเวลาที่ผ่านมา ★ How about your aikido training in Japan? ได้ไปญี่ปุ่นครั้งแรกเมื่อประมาณ 5 ปีที่แล้ว ตอนนั้นไปฝึกที่เมืองฮิโรชิมา สําหรับการ ฝึกในครั้งนั้นก็เป็นประสบการณ์ที่ดีเพราะได้เจอกับอาจารย์ที่ดี ส่วนครั้งที่สองที่เพิ่งผ่านมา เร็วๆ นี้นั้น ก็ตั้งใจเพื่อที่จะไปเรียนภาษาญี่ปุ่นมากกว่าจะไปฝึกไอคิโด ทําให้ไม่ค่อยได้ไป ฝึกเท่าไรนัก แต่นั่นก็เพียงพอแล้วที่จะทําให้ชอบและหวังที่จะไปอยู่ประเทศญี่ปุ่น ★ What would you like to tell Aikido students in Chiang Mai University? ขอชมว่านักเรียนไอคิโดที่เชียงใหม่มีการฝึกที่ดีขึ้นทุกครั้งที่เขาได้กลับมา ก็เลยอยาก จะให้คนที่เชียงใหม่ตั้งใจฝึกแบบนี้กันต่อไปเรื่อยๆ นะครับ

หน้า ๓๔


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Aikido Family

เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๔ กรกฎาคม อ.ประพันธ์ได้เมตตา แวะมาสอนชาวไอคิโดม.ช. ทั้งที่ท่านขึ้นเชียงใหม่มา เพื่อร่วมงานแต่งงานแต่ก็ยังอุตส่าห์หอบชุดฝึกมาด้วย ทางชมรมไอคิโดม.ช.จึงขอขอบพระคุณในเมตตาจิต ของอาจารย์มา ณ ที่นี้


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๔ วันที่ ๑ กันยายน ๒๕๕๓ (ปีที่ ๓)

Aikido Family ขอร่วมแสดงความยินดีกับน้องเอก ศรัณญ์พงศ์ แดงเดช นักเรียนชั้น ม.4 โรงเรียนนานาชาติ เปรม ติณสูลานนท์ ที่ตอนนี้กําลังไปศึกษาต่อที่ โรงเรียน Glendale Adventist รัฐแคลิฟอร์เนีย ขอเอาใจช่วยให้ประสบความสําเร็จในการศึกษา และหากมีเวลาก็แวะไปฝึกไอคิโดด้วยนะจ๊ะ

น้องเอกใจดีแวะมาฝึกเพื่อ เป็นการร่ําลาก่อนเดินทาง แถมยังเอาโดนัทมาฝากพี่ๆด้วย

ฝกประจำสัปดาห! ! 1 1 1 1 1 1 1 1 1 !

ปฏิทินกิจกรรม จันทร-พุธ-ศุกร ๑๘.๐๐ - ๒๐.๓๐ น.1 สถานที่ฝก ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม ใตถุนตึกอาคารกิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม หน้า ๓๖


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.