#25 AikidoCMU

Page 1

CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

AikidoCMU NEWSLETTER

ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาคารกิจกรรมนักศึกษา (อ.มช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถ. สุเทพ อ.เมือง จ. เชียงใหม่ 50200 ติดต่อได้ที ่ อ๊อบ (ประธานชมรม) 081-7221227

ป๋อม (ผู้ประสานงานชมรม) 089-701 7686

กบ (บรรณาธิการจดหมายข่าว) 081-405 5379

Email : AikidoCMU@gmail.com Facebook : Aikido CMU Blog : http://aikidocmu.wordpress.com

หน้า ๑


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

หนูอ๊อบ ประธานชมรม คนใหม่ ยินดีรับใช้ค่ะ

สารบาญ

ฝกไอคิโดอยางเปนธรรมชาติ .....ดร.สมบัติ ตาปญญา ๓ เนนที่กระบวนการ ไมใชผลสำเร็จ .....อ.ธีระรัตน บริพันธกุล ๘ เบื้องหลังไอคิโดในทีวีไทย (PBS) ... วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ ๑๐ เกร็ดความรูไอคิโด: โดโจ ... ปะปะปะปง ๑๓ THE SPIRIT OF AIKIDO : การประสานเปนหนึ่งกับ คิ ... KISSHOMARU UESHIBA ๑๔ สุภาษิตโกะกับขาพเจา ๗ : เมื่อตองเพลี่ยงพล้ำ การวิ่งหนีก็ไมใชเรื่องแย ..... NOURNOURS’ MOM ๒๒ การตูนของนูนู ๒๖ คายสิทธิมนุษยชน TRAFCORD : ไอคิโดกับการใหความรู เรื่องการปองกันตนเองจากการลวงละเมิดทางเพศ .... พี่ปอม ๒๗ จดหมายขอบคุณจาก ...เดือน TRAFCORD ๒๘ เซนกับศิลปะการปองกันตัว .... ถอดความโดย บก.กบ ๓๑ AIKIDO(KA) IN FOCUS อ.วัชรพล ศุภจักรวัฒนา ๒๑ มาเยี่ยมมาเยือน JOSEPH ELI CONG ๔๔ และ ISHIDA SUMIKO ๔๕ AIKIDO FAMILY : ภาพการสอบสายวันที่ ๖ กันยายน ๔๗ AIKIDO FAMILY : ภาพสมาชิกรวมใจลางหองน้ำ ๔๘

นักเขียนในฉบับ ดร.สมบัติ ตาปัญญา อ.ธีระรัตน์ บริพันธกุล วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ์

ปะปะปะปิง

Kisshomaru Ueshiba Nounours’ Mom

นูนู่

พี่ป๋อม

โฟกัส หน้า ๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

ฝกไอคิโดอยางเปน ธรรมชาติ ผศ.ดร. สมบัติ ตาปญญา

พวกเราคงพอจะจำความรูสึกไดตอนที่เริ่มฝกไอคิโดกันใหมๆ วาการเคลื่อนไหว บางทามันแสนจะฝนธรรมชาติ เชน การหมุนตัวแบบเทนคันโฮ การเดินเขา และโดยเฉพาะ อยางยิ่งการมวนตัวลมหนาลมหลัง เราจะรูสึกเกๆ กังๆ ทั้งกังวล ทั้งประหมาอาย กลัวเจ็บ กลัวดูไมดี ตอนแรกมันติดขัดขลุกๆ ขลักๆ ไป หมด แตพอทำไปเรื่อยๆ เราก็เริ่มรูสึกตัววามัน ไมยากอยางที่คิด ตอมาพอรูสึกวาทำไดแลวก็ สามารถทำไปดวยคิดอะไรไปดวย หรือบางคนที่ ชอบคุยก็ทำไปคุยไป หยอกลอเพื่อนขางๆ ไป ดวยก็ได R ระหวางสัปดาหแรกของเดือนตุลาคมนี้ ผมมีโอกาสไดไปรวมสัมมนาที่รีสอรทแหงหนึ่งที่ ปราจีนบุรี เรื่องการบำบัดผูมีบาดแผลทางใจ (trauma therapy) โดยคณะผูเชี่ยวชาญหรือจอม ยุทธระดับสายดำชั้นหกชั้นเจ็ด จากเยอรมนี จีน อินเดีย และสหรัฐอเมริกา ทานเหลานี้อุทิศชีวิต ใหกับเรื่องนี้และหายใจเขาออกเปนเรื่อง trauma therapy เลยทีเดียว หากใครไดติดตามขาวเกี่ยว กับกิจกรรมนี้ของผมก็คงพอจำไดวาผมไปฝก วิทยายุทธทางนี้ในชวงสามสี่ปที่ผานมานี้หลาย ครั้ง สวนใหญจะไปที่เยอรมนี หน้า ๓


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

การอบรมครั้งนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการที่เราเรียกวา “โครงการแมโขง (Mae Kong Project)” ประกอบดวยประเทศไทย พมา และกัมพูชา เปนผูรับผลประโยชน คือ มี นักจิตวิทยาและจิตแพทยไดเขารับการอบรมรวมประมาณสามสิบคน เปนคนไทย 24 เขมร 5 และพมาเพียงคนเดียว (แตกำลังจะรับเพิ่มอีก) และมีนักจิตวิทยาจากอินโดนีเซียมาพวง ดวยอีกหาคน สวนผูจัดการโครงการคือสมาคมนักจิตวิทยาอินโดนีเซียรวมกับคณะ แพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผมเองก็เปนผูประสานงานโครงการดวย เนื่องจาก เกี่ยวของกับเรื่องนี้มาแตตน ที่ผมอยากเลาใหฟงก็คือคนพมา ที่เราไปคนพบมาจากแมสอด ซึ่งนาสนใจ มากและทำใหผมเอามาโยงเขากับเรื่องที่ ขึ้นไวในยอหนาแรก คนพมาคนนี้ชื่อคุณ ออง มิ้น เขาอายุ 64 ปแลว แตยังดูหนุม แนนกระฉับกระเฉงคลายคนอายุสี่สิบ ใกลๆ หาสิบเทานั้น จบปริญญาเอกทาง จิตวิทยาคลินิกจากออสเตรเลียและไดอยู ออสเตรเลียมานานเกินยี่สิบปจนตอนนี้ ไดบัตรประชาชนของที่นั่นไปแลว แตเขา ก็มาเปนอาสาสมัครชวยเหลือคนพมา พลัดถิ่นอยูที่คลินิก “หมอซินเธีย” ซึ่งเปน หมอผูหญิงชาวพมาที่มีชื่อเสียง และเปดคลินิกใหญ (คลายเปนโรงพยาบาลขนาดเล็ก มากกวา) อยูที่แมสอด ผมเคยไปเยี่ยมมาแลว และไดเชิญคุณอองมารวมงานดวย คุณออง หรือดอกเตอรอองนี้เปนผูรูในเรื่องพุทธศาสนาโดยเฉพาะการปฏิบัติสมาธิดวย ในชวงของ การอบรมนี้ เขาก็เสนอสอนใหฝกสมาธิฟรีนอกเวลา คือตอนเชาของทุกวันตั้งแตเจ็ดโมง ครึ่งถึงแปดโมงครึ่ง ผมลองไปเขาดูก็ไดสิ่งดีๆ มาฝากพวกเราที่อาจเชื่อมโยงเขากับการฝก ไอคิโดและการใชชีวิตได หน้า ๔


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

คุณอองแนะนำแนวคิดนาสนใจเกี่ยวกับการฝกสมาธิวา ความชำนาญของคนจะมี 4 ระดับ คือ 1. Unconsciously unskilled คือไมชำนาญหรือไมเปน แตยังไมรูตัว 2. Consciously unskilled ไมเปนแตรูตัวแลววาไมเปน 3. Consciously skilled เปนแลว คลองแลว และรูตัววาเปนแลว 4. Unconsciously skilled เปนแลว เกงแลว และความเกงนั้นหยั่งรากลึกลงไปใน ความรูตัว จนกลายเปนธรรมชาติ (บางทีเรียกวา ธรรมชาติที่สอง หรือ second nature) ผมจึงอยากชวนพวกเราใหลองเปรียบเทียบแนวคิดนี้กับการฝกไอคิโดดูกันหนอย และ เมื่อเขาใจชัดแลวก็ลองขยายออกไปสูเรื่องอื่นๆ ในชีวิตดวย ระดับแรกของความ (ไม) ชำนาญ คือ unconsciously unskilled นั้น คงเหมือนกับกอนที่เราจะลงฝก บนเบาะ หากเรานั่งดูเขาฝกกันเฉยๆ เราก็คงยังไมรูวา เวลาเราตองทำทาตางๆ พวกนั้นแลวเราจะรูสึกอยางไร คือ “ยังไมรูวาไมร”ู นั่นเอง ตอนที่ดูคนอื่นๆ อยูเราจะ รูสึกวา “ก็งั้นๆ แหละ” ไมนาจะยากเย็นอะไร แตพอเริ่ม ลงมือฝกเขาจริงๆ เราจึงจะเขาสูขั้นที่สองของการรูตัว คือสัมผัสไดถึงความรูสึกเกงกางของมือเทา แขนขา และการเคลื่อนไหวรางกายที่มันไมเปนไปอยางที่เรา ตองการเลย เราเริ่มรูตัวแลววาเราไมเปน (consciously unskilled) ซึ่งหากเราจะกาวสูขั้นตอไปไดเราก็ตองมีทั้ง ความเพียรพยายามจากภายใน และการไดรับกำลังใจ หรือการสนับสนุนจากภายนอก (จากครูฝก เพื่อนรวม ฝก ครอบครัวหรือคนใกลชิด) เราจึงจะผานขั้นนี้ไปได

หน้า ๕


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

R ตอมาอีกระยะหนึ่งเราก็เริ่มทำได และหาก ฝกฝนตอไปเราก็จะทำไดคลองแคลวกลมกลืนมาก ขึ้นเรื่อยๆ ตอนนี้เราจะภูมิใจในตัวเองมาก เพราะ รูตัววาเราทำเปนแลว (consciously skilled) แต หลุมพรางหรือจุดบอดของตรงนี้ก็คือหากเราภูมิใจ มั่นใจมากเกินไป เราจะเกิดอาการ “กราง” อยาก สรางความประทับใจ อยากสอน อยากเผยแพร อยากเรียกใหใครๆ มาดูเรา และเกิดยึดมั่นในความ รูสึกวา “กูแน” ขึ้นมา ทำใหไมอยากฟงสิ่งที่แตก ตางจากที่เราเคยชิน ไมอยากเรียนรูเพิ่ม เลยติดอยู กับความรูสึกเชนนี้ไปเรื่อยๆ ไมสามารถกาวไปขั้น ตอไปไดอีก ขั้นสุดทายจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อเราไดฝกฝนจนความชำนาญนั้นกลายเปนธรรมชาติ ที่สองของเราไปแลว คือมันซึมซับลงไปจนเปนเนื้อเดียวกับความเปนตัวตนของเรา (unconsciously skilled) คนที่เปนอยางนี้จะ “กลับสูสามัญ” คือหากดูเผินๆ จะดูไมออกวาเปนจอม ยุทธ เพราะจะดูเรียบงายธรรมดาๆ ไมแสดงทาทางหรือพยายามสรางความประทับใจให ใครๆ อีกตอไป หากเราเคยเห็นอาจารยอาวุโสระดับหกเจ็ดดั้งบางทานก็คงพอนึกภาพออกวาถา ทานเหลานี้เดินอยูตามขางถนนหรือตามตลาด เราจะไมรูเลยวาทานคือยอดฝมือตัวจริง จะ สัมผัสไดก็ตอเมื่อเราไดฝกกับทานเทานั้น โดยเฉพาะเวลาที่เราเขาโจมตีแลวทานเคลื่อนไหว เราจะไดความรูสึกที่อัศจรรยใจ (ตะโกนในใจวา “วาว” หรือ “โหย” หรือวัยรุนหนอยตองบอก วา “สุโคยๆ” ซึ่งโจเรายืมมาจากศัพทแสลงของวัยรุนญี่ปุนอีกที หมายความวาเจงหรือเยี่ยม ยอดอะไรทำนองนี้แหละ) และอยากบอกอาจารยวา “เอาอีกๆ” เรื่อยไป เพราะเราสัมผัสถึง ความกลมกลืนเปนเนื้อเดียวกันของความเคลื่อนไหวและพลังอันยิ่งใหญของทานไดจริงๆ ทำใหเกิดความปติเพลิดเพลินจนไมอยากหยุดฝก อาจารยระดับนี้สวนใหญทานจะไมคุย หรือถาคุยก็จะนอยมาก

หน้า ๖


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

R อาจารยประเภทนี้ผมไดพบในหลายวงการที่ผมไป สัมผัสมา เชน วงการจิตบำบัดที่ผมกำลังฝกอยูก็เชนเดียวกัน เวลาทานสอนหรือสาธิตการ ทำงานกับคนไขใหดูแลวเรา จะไดความรูสึกแบบเดียวกันนี้ และจะไมอยากใหทานหยุด สอนเลย อยากบอกวาเอาอีก อยูเรื่อยไปเหมือนกัน R อานแลวอยาก เปนคนประเภทไหนก็เลือก เอาไดตามใจชอบ แตถาอยาก เปนประเภทหลังสุดตองฝก หนักและทุมเทชีวิตใหสิ่งที่ตนเองอยากเกงดวยนะครับ

The Art of Peace # ๔๕ เขียนโดย Morihei Ueshiba แปลโดย John Stevens From ancient times, Deep learning and valor Have been the two pillars of the Path: Though the virtue of training, Enlighten both body and soul. John Stevens ไดรวบรวมเอา Doka หรือบทกวีขนาดสั้นของปรมาจารยไวในหนังสือ The Art of Peace ตอมา William McLuskie ไดนำมาลงเผยแพรที่เวบไซต http://omlc.ogi.edu/aikido/talk/osensei/artofpeace/

หน้า ๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

เนนที่กระบวนการ ไมใชผลสำเร็จ

อ.ธีระรัตน บริพันธกุล

ผมเริ่มเรียนแฮพคิโดกับอาจารยหานซึ่ง เปนชาวเกาหลี ตอนที่ผมอายุหาสิบแลว เริ่มตน ขบวนการเรียนรูเชื่องชามากและลำบากมาก สำหรับผม เนื่องจากแฮพคิโดตองอาศัยความ แคลวคลองของรางกาย รางกายของผมแข็งทื่อ และแถมยังมีอาการปวดหลังซึ่งทำใหผมทรงตัวไม สมดุลและทุกครั้งที่เตะสูงกวาระดับเอวก็จะเจ็บ ปวด การเรียนของผมยิ่งทำใหผมเสียความมั่นใจ เมื่อตองอยูตอหนาเด็กรุนหนุมกวา แมผมจะ พยายามและมุงมั่นแตก็รูสึกถอดใจไปหลายครั้ง และเรื่องนี้อาจารยรูดี บายวันหนึ่งหลังการฝก อาจารยหาน เชิญผมดื่มน้ำชา ทานพูดวา “คุณไมอาจเรียนสิ่งที่ ตองอาศัยความมานะบากบั่นไดอยางถูกตอง เวน แตจะใหเวลากับตนเองบาง ผมคิดวาคุณคงคุนเคย กับการรับแตสิ่งที่งาย นั่นไมใชวิถีชีวิตหรือของ ศิลปะการตอสู” “ก็ผมอดทนแลว” ผมตอบ ทานพูดตอไปวา “เราไมไดพูดถึงความอดทน อดทนเปนเรื่อง ของความสามารถในการรอคอยอยางสงบ ใหเวลาตนเองทำงานอยางกระปรี้กระเปรา ไปสูจุด มุงหมายโดยไมจำกัดเวลาไมวาจะยาวนานเพียงใด “ คำพูดนี้กระทบใจผม ผมใหเวลาตนเอง กับความคับแคนใจที่ไมสามารถทำในสิ่งที่คาดหวังได แตหลังจากที่ผมปลดเสนตาย ออกจากใจไปไดไมกี่เดือนใหหลังผมก็ทำเหมือนที่คนอื่นๆในชั้นได หน้า ๘


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

ผมยังคงนำคำพูดของอาจารยหานมา ใชในชีวิตการทำงาน ตอนนั้นผมกำลังทำ หนังสืออยูเลมหนึ่ง การเขียนเปนไปอยาง ลาชามาก ผมรูสึกคับแคนใจมากเพราะผม ตกลงจะเริ่มโครงการในไมชาและนี่ก็เสมือนมี ภูเขาไฟที่สุมอยูในใจผมเกือบตลอดเวลา ผม ตระหนักวาความทุกขมาเยือนเหมือนชวงที่ฝก ฮัพคิโดเนื่องจากผมมุงมั่นไปที่ความสำเร็จ เพียงจุดเดียว และแนนอนวาความสำเร็จและ เวลาที่จำกัดรวมกันสรางแรงกดดันไดเปน อยางดี ผมจึงขยายdead lineออกไปอยางไมมี กำหนดและมุงความสนใจมาที่สิ่งที่เปนความ สุขในขณะที่ทำงานแทน และนั่นก็เปนอีกครั้งที่ ผมรูสึกวาผมสามารถอุทิศตนเองใหกับการ ทำงานโดยปราศจากความกังวลใจ ภาพจาก http://www.martialinfo.com/photo.asp? photos_id=1574

------------------------------------เรียบเรียงและดัดแปลงจากหนังสือ”เซน ศิลปะการตอสู” เขียนโดย Joe Hyams

The Art of Peace # ๘๖ เขียนโดย Morihei Ueshiba แปลโดย John Stevens Your spirit is the true shield. John Stevens ไดรวบรวมเอา Doka หรือบทกวีขนาดสั้นของปรมาจารยไวในหนังสือ The Art of Peace ตอมา William McLuskie ไดนำมาลงเผยแพรที่เวบไซต http://omlc.ogi.edu/aikido/talk/osensei/artofpeace/

หน้า ๙


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

เบื้องหลังไอคิโดในทีวีไทย (PBS) สโมสรผูนำเยาวชนเพื่อการศึกษาและพัฒนาชุมชน อำเภอปางมะผา จังหวัดแมฮองสอน

วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ์

เย็นวันหนึ่ง ปลายเดือนกรกฏา 2553 ผมไดรับโทรศัพทจากคุณนก แหง บริษัทปาใหญครีเอชั่น ผูผลิตรายการสารคดีทางโทรทัศนแถวหนาของเมืองไทย วา เธอได search ขอมูลในอินเตอรเน็ตแลวพบวาที่อำเภอปางมะผา มีกิจกรรม เด็กๆจิตอาสาอยูในนาม”สโมสรผูนำเยาวชนเพื่อการศึกษาและพัฒนาชุมชน (สยชช.)” โดยมีผมเปนนายกสโมสรอยู เธอไดเบอรโทรจากอินเตอรเน็ตแลวจึง โทรเขามาบอกสนใจที่จะมาถายทำเรื่องราวเด็กๆ องคกรพัฒนาเอกชนเล็กๆของ เรา ผมจึงไดแนะนำใหมาถายทำกิจกรรมหลายอยาง และหนึ่งในนั้นคือ “ไอคิโด”

! จากกรกฏามาถึงตนสิงหา ผมไดนำเรื่องนี้ไปหารือกับเด็กๆแกนนำ และคุยกับคุณ นกสามสี่ครั้ง เพื่อเตรียมนัดแนะกำหนดการ สถานที่ บุคคล ที่จะเขารวมการถายทำ และนี่ เปนครั้งแรกของผมและเด็กๆที่จะไดเห็นงานที่ตัวเองปนมากับมือออกสื่อโทรทัศนสูสายตาคน ทั้งประเทศ เด็กๆไรสัญชาติรูสึกดีใจที่สื่อไทยมาใหความสำคัญกับคนชายขอบอยางพวกเขา พวกเราตื่นเตนกันมาก เตรียมซักซอมไวลวงหนาหลายวันทีเดียว หน้า ๑๐


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

บายวันเสารที่ 7 สิงหา ทีมถาย ทำทั้งสามคนก็มาถึง วันแรกนี่เราก็ถายทำกันเลย เป น คิ ว ของไอคิ โ ด เริ ่ ม ถ า ยกั น ตั้งแตหาโมงเย็น โชคดีที่ฝนไมตก ฟายังแจงอยู แตกวาจะถายทำ เสร็จก็หกโมงเศษ ชางกลองบอก ใหเราซอมไปตามปกติใหดูกอนซัก พัก กอนจะหามุมกลอง เรียกวามา ถายวิดีโอกันบนเบาะระยะคอนขาง ประชิดเลยทีเดียว ใหเห็นถึงสีหนา แววตา มุมกม มุมเงย มุมเฉียง ไมไดอยูนอกเบาะหรือหาง จากผูสาธิตเหมือนคลิปในยูทูป ทำใหผมไดตัวอยางวา ถาจะถายรูปไอคิโดใหสวย ก็อาจจะ ตองขออนุญาตผูฝกเขามาถายใกลๆ ในมุมที่หลากหลายแบบนี้ เด็กๆที่มาฝกซอม แสดงในวันนี้ ก็ใสชุดวอรมปกติอยางที่เราฝกประจำครับ ดวยเหตุผล จำเปนที่วาชุดฝกที่ไดรับบริจาคมาเรามักจะถนอมเก็บไวใชแสดงในงานที่เปนพิธีการ หรือ งานแสดงตางๆ และน้ำที่เราใชซักผากันเปนประปาภูเขา บางทีก็มีตะกอนขุน ชุดฝกสีขาวจะ ซักลำบาก ก็เลยใชชุดตามสะดวก คือเสื้อยืด กางเกงวอรม การมาถายทำออกทีวี เราก็อยาก นำเสนอความเปนธรรมดาของเรา มากกวาจะไปแตงแตมอะไร จนก็บอกวาจน แตจริงใจ เปนธรรมดาติดดินอยางไรเราก็บอกแกผูชมอยางนั้น การถายทำ เริ่มจากการซอมตามปกติ คือเด็กๆก็จะมานั่งสมาธิ เคารพอาจารย ตามธรรมเนียมเหมือนโดโจที่เชียงใหม ละครับ จากนั้นก็วอรมอัพ ไปเรื่อยๆ และขึ้นทาตางๆ ระหวางนี้ ชางกลองก็ จะถายวิดีโอไปเรื่อยๆ เราก็ฝกเหมือนที่ เคยทำ บางครั้งก็จะหยุดและเลนซ้ำ ตามแตชางกลองจะบอก เขาก็จะนำ ไมคโครโฟนไรสายมาเหน็บที่ตัวผม ให สงสัญญาณเสียงไปที่กลอง เวลาซอม ผมสอนอะไรเด็ก เสียงก็จะถูกบันทึกลง ในกลองวิดีโอขณะถายทำชัดขึ้น


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

! ถายทำการซอมบนเบาะเสร็จ ทางทีมงานก็จัดเกาอี้ใหผมกับพิธีกรนั่งคุยกัน โดยมี แบ็คกราวนเด็กๆกำลังซอมไอคิโดเปนฉากหลัง ! พิธีกรก็จะถามคำถามตางๆ เกี่ยวกับไอคิโด และการพัฒนาเด็ก ประมาณหาหก คำถาม ถามกันสดๆ แบบคำถามฉับพลัน คนตอบ ถาเรียบเรียงความคิดไมทันก็ตอบลำบาก เหมือนกัน

! เรื่องนี้สอนใหรูวา แมหลายๆคนมองวา ไอคิโดเปนประสบการณที่อธิบายไดยากถึง สัมผัสผานการปฏิบัติ แตถาเราตองการใหโลกสนใจ การถายทอดไอคิโดผานถอยคำภาษา ลายลักษณอักษรและสื่อตางๆก็เปนสิ่งที่จำเปน ! หนึ่งชั่วโมงเศษๆของการถายทำ แตใชเวลาเตรียมการกอนหนานี้นานหลายวัน ไดนำ เสนอออกทีวีในสายๆวันที่ 29 สิงหาไมกี่นาที ก็ภูมิใจที่ไดตอบแทนคุณครูบาอาจารยที่สั่งสอน วิชานี้แกพวกเรา หากใครยังไมเคยชมรายการทีวี “มดคันไฟ ตอน มด...ไมยอมแพ” ตอนนี้ คลิ๊กเขาไปดูไดนะครับที่ http://www.thaipbs.or.th/clip/index.asp?content_id=269269&content_category_id=763

ขอบคุณทุกทานที่ใหกำลังใจและเมตตาสนับสนุนพวกเราครับ

หน้า ๑๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

àเ¡กÃรç็´ด¤คÇวÒาÁมÃรÙู Œ äไÍอ¤คÔิâโ´ด

»ปÐะ»ปÐะ»ปÐะ»ป §ง

¤คÓำ­ÞญÕีè่»ปØุè่¹น©ฉºบÑัºบÅลÐะ¤คÓำÇวÑั¹น¹นÕีé้ ¢ขÍอàเÊส¹นÍอ¤คÓำÇวè่Òา "âโ´ดâโ¨จ" ÊสÁมÒาªชÔิ¡กàเ¡กè่Òาæๆ¤ค§ง¨จÐะäไ´ดé้ÂยÔิ¹น¡กÑั¹น¨จ¹นªชÔิ¹นËหÙู áแµตè่ÊสÁมÒาªชÔิ¡ก ãใËหÁมè่ÃรÙูé้ËหÃร×ืÍอ»ปÅลè่ÒาÇวÇวè่Òาâโ´ดâโ¨จ¤ค×ืÍอÍอÐะäไÃร àเÍอÐะàเ¡กÕีè่ÂยÇวÍอÐะäไÃร¡กÑัºบ âโ´ดâโ¨จ«ซÔิµตÕีé้ËหÃร×ืÍอ»ปÅลè่ÒาÇว ÇวÑั¹น¹นÕีé้¹นÒาÂย»ปÔิ§ง¨จÐะÃรè่ÒาÂยÂยÒาÇวæๆ ÍอÂยè่Òา§งÊสÑัé้¹นæๆãใËหé้·ท∙Øุ¡ก¤ค¹น¾พÍอ¨จÐะàเ¢ขé้Òาãใ¨จÅลÐะ¡กÑั¹น¹นÐะ¤คÃรÑัºบ ฀ ฀ âโ´ดâโ¨จ ÁมÒา¨จÒา¡ก¤คÓำÊสÍอ§ง¤คÓำ¤ค×ืÍอ ฀¤คÓำÇวè่Òา "âโ´ด" ÁมÕี ¤คÇวÒาÁมËหÁมÒาÂย¶ถÖึ§งÇวÔิ¸ธÕีËหÃร×ืÍอáแ¹นÇว·ท∙Òา§ง Êสè่Çว¹น "âโ¨จ" ÁมÕี¤คÇวÒาÁม ËหÁมÒาÂย¶ถÖึ§งËหé้Íอ§งâโ¶ถ§งËหÃร×ืÍอÊส¶ถÒา¹น·ท∙Õีè่¢ข¹นÒา´ดãใËห­Þญè่ ฀´ดÑั§ง¹นÑัé้¹น¤คÓำÇวè่Òา "âโ´ดâโ¨จ" ¶ถÖึ§งÁมÕี¤คÇวÒาÁมËหÁมÒาÂย¶ถÖึ§งÊส¶ถÒา¹น·ท∙Õีè่ æๆ ãใªชè่½ฝÖึ¡กÇวÔิ¶ถÕี·ท∙Òา§งµตè่Òา§ง æๆ àเªชè่¹น Êส¶ถÒา¹น·ท∙Õีè่ÊสÍอ¹นÈศÔิÅล»ปÐะâโºบÃรÒา³ณ ÊสÍอ¹น¾พÔิ¸ธÕีªช§งªชÒา áแÅลÐะ ฀ÁมÑั¡กãใªชé้ ãใ¹นÊส¶ถÒา¹นÊสÍอ¹น ÈศÔิÅล»ปÐะ¡กÒาÃร»ปé้Íอ§ง¡กÑั¹นµตÑัÇว´ดé้ÇวÂย ËหÃร×ืÍอãใ¹นºบÒา§ง¡กÃร³ณÕี¡กç็ÍอÒา¨จËหÁมÒาÂย¶ถÖึ§งÊส¶ถÒา¹น·ท∙Õีè่½ฝÖึ¡กÊสÁมÒา¸ธÔิãใ¹น¹นÔิ¡กÒาÂยàเ«ซç็¹น´ดé้ÇวÂย àเªชè่¹น¡กÑั¹น ฀ ãใ¹นÊสÁมÑัÂย¡กè่Íอ¹น¡กÒาÃรàเÃรÕีÂย¹นÈศÔิÅล»ปÐะµตè่Òา§งæๆàเÃรÔิè่Áมµตé้¹น¨จÒา¡ก¡กÒาÃรàเÃรÕีÂย¹น·ท∙Õีè่ºบé้Òา¹นÍอÒา¨จÒาÃรÂยì์ áแÅลÐะ¤คè่ÒาàเÅลè่ÒาàเÃรÕีÂย¹น¡กç็äไÁมè่ äไ´ดé้ àเ»ปç็¹นµตÑัÇวàเ§งÔิ¹นáแµตè่¨จÐะàเ»ปç็¹น¡กÒาÃร»ปÑั´ด¡กÇวÒา´ดàเªชç็´ด¶ถÙูºบé้Òา¹นËหÃร×ืÍอ«ซè่ÍอÁมáแ«ซÁมºบé้Òา¹น àเÁม×ืè่ÍอÁมÕี¹นÑั¡กàเÃรÕีÂย¹น¨จÓำ¹นÇว¹นÁมÒา¡ก¢ขÖึé้¹น ¡กÒาÃรàเÃรÕีÂย¹น¡กç็µตé้Íอ§งÂยé้ÒาÂยäไ»ปàเÃรÕีÂย¹น·ท∙Õีè่âโÃร§ง½ฝÖึ¡กáแµตè่¤คÇวÒาÁมàเ»ปç็¹น¤คÃรÍอºบ¤คÃรÑัÇว ãใ¹น¡กÒาÃร½ฝÖึ¡กÂยÑั§งÁมÕีÍอÂยÙูè่´ดÑั§ง¹นÑัé้¹น¼ผÙูé้½ฝÖึ¡ก¨จÖึ§ง ÁมÕีÊสè่Çว¹นÃรè่ÇวÁมãใ¹นâโÃร§ง½ฝÖึ¡ก àเªชè่¹นËหÅลÑั§ง½ฝÖึ¡กàเÊสÃรç็¨จºบÃรÃร´ดÒาÅลÙู¡กÈศÔิÉษÂยì์¨จÐะÇวÔิè่§งàเ¢ขé้ÒาËหÒาäไÁมé้¡กÇวÒา´ด àเ¾พ×ืè่Íอ·ท∙Õีè่¨จÐะ·ท∙Óำ¤คÇวÒาÁม ÊสÐะÍอÒา´ดâโÃร§ง½ฝÖึ¡ก âโÃร§ง½ฝÖึ¡ก¨จÖึ§งàเ»ปÃรÕีÂยºบàเÊสÁม×ืÍอ¹นºบé้Òา¹น·ท∙Õีè่ ãใËหé้¤คÇวÒาÁมÃรÙูé้áแ¡กè่¼ผÙูé้½ฝÖึ¡ก ¹นÍอ¡ก¨จÒา¡ก¹นÕีé้¡กÒาÃร·ท∙Õีè่àเÃรÒาäไ´ดé้½ฝÖึ¡ก»ปÑั´ด ¡กÇวÒา´ดàเªชç็´ด¶ถÙู Âย¡กàเºบÒาÐะÂยÑั§งàเ»ปç็¹น¡กÒาÃร·ท∙Õีè่àเÃรÒาÅล´ดÍอÑัµตµตÒา¢ขÍอ§งàเÃรÒาÅล§ง àเ¾พ×ืè่ÍอàเµตÃรÕีÂยÁมÃรÑัºบ¿ฟÑั§ง¤คÓำÊสÍอ¹นËหÃร×ืÍอ¤คÓำ áแ¹นÐะ¹นÓำ àเ¾พÃรÒาÐะ¶ถé้ÒาàเÃรÒาÂยÖึ´ดáแµตè่àเÃรÒา¶ถÙู¡กµตé้Íอ§ง âโ´ดÂยäไÁมè่àเËหç็¹น¨จØุ´ดÍอè่Íอ¹น¢ขÍอ§งµตÑัÇวàเÍอ§ง¡กÒาÃร¾พÑั²ฒ¹นÒาÂยè่ÍอÁมäไÁมè่àเ¡กÔิ´ด¢ขÖึé้¹น ´ดÑั§ง¹นÑัé้¹นÁมØุÁมÁมÍอ§ง¢ขÍอ§งàเÃรÒา·ท∙Õีè่àเ»ปç็¹นÊสÁมÒาªชÔิ¡กªชÁมÃรÁม àเÁม×ืè่Íอ¾พÙู´ด¶ถÖึ§ง¤คÓำÇวè่Òา âโ´ดâโ¨จ ¨จÖึ§ง¤คÇวÃรÁมÍอ§งÁมÒา¡ก¡กÇวè่Òา ÅลÒา¹นäไÍอ¤คÔิ âโ´ด·ท∙Õีè่½ฝÖึ¡ก ËหÃร×ืÍอªชÁมÃรÁม áแµตè่¤คÇวÃรÁมÍอ§งãใËหé้àเËหç็¹น¶ถÖึ§ง¤คÇวÒาÁมËหÁมÒาÂย·ท∙Õีè่áแ·ท∙é้¨จÃรÔิ§ง¢ขÍอ§ง¤คÓำÇวè่Òา "âโ´ดâโ¨จ" áแÅลÐะ ªชè่ÇวÂย¡กÑั¹น´ดÙูáแÅลÐะÃรÑั¡กÉษÒาºบé้Òา¹น·ท∙Õีè่ ãใËหé้¤คÇวÒาÁมÃรÙูé้¢ขÍอ§งàเÃรÒา¡กÑั¹น¹นÐะ¤คÃรÑัºบ

หน้า ๑๓


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

The Spirit of Aikido Kisshomaru Ueshiba เขียน Taitetsu Unno แปลอังกฤษ นฤมล ธรรมพฤกษา แปลไทย

การประสานเปนหนึ่งกับ คิ ! ในเวลาไมนานมานี้ ความสนใจในหลักการเกาแกของคิ เพิ่มมากขึ้นอยางมากมาย แตสิ่งที่ถูกละเลยไมกลาวถึงก็คือ รากฐานทางปรัชญาของคิ โดยยอแลว เนื้อแทของคิก็เปนทั้ง เรื่องสวนตัวและไมใชเรื่องสวนตัว เปนรูปธรรมและมีความเปน สากล เปนเรื่องพื้นฐาน พลังงานสรางสรรคและพลังแหงชีวิต กาวขามกาลเวลาและสถานที่ เราจะเรียนรูความหมายของคิ ในบทหลังๆ แตตอนนี้เราจะถามวา อะไรคือนัยสำคัญที่ทำใหความสนใจในเรื่องคิเพิ่มขึ้น อยางฉับพลันในปจจุบันนี้ ขาพเจาเชื่อวา มันคือสิ่งที่สะทอนใหเห็นถึงความปรารถนาอยาง ลึกซึ้งในชีวิตแบบรวมสมัยที่จะคนหาหลักการแหงชีวิต คนหาแหลงพลังงานที่จะเติมชีวิตให เต็มและใหความหมายกับการดำรงอยู ! เบื้องหลังของความกาวหนาในความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เชนเดียว กับความรุงเรืองทางเศรษฐกิจ ทำใหเกิดความวางเปลาในจิตวิญญาณของมนุษย ดูเหมือน วาจะเปนชะตากรรมของมนุษยสมัยใหม เราอยูทามกลางวัตถุที่กองทวมทน ความสุข สบายจอมปลอม และความพยายามอยางหนักที่จะมีชีวิตที่ยกระดับ ความไมเคยพอและ ความผิดหวังยิ่งเนนย้ำความปวยไขที่แผขยายไปทั่วโลก ยิ่งกวาชวงใดๆในประวัติศาสตร ยุคนี้เปนยุคที่มนุษยตองการอยางยิ่งที่จะแสวงหาความหมายของการเปนมนุษยที่แทและ ตองการไดรับการดูแลเอาใจใสอยางแทจริง หนึี่งในผลที่ตามมาก็คือ เมื่อโลกตะวันตกได ปะทะกับปรัชญาและวัฒนธรรมของประเทศแถบเอเซีย หนึ่งในการปะทะสังสรรคก็คือการ ไดคนพบคิและจิตวิญญาณแหงเอเซียตะวันออก ปรากฏการณดังกลาวก็เปนสวนหนึ่งของ เหตุผลที่ชาวตะวันตกหันมาสนใจวิชาไอคิโด ซึ่งหากแปลตรงตัวตามภาษาแลวก็แปลวา วิถี (โด) แหงความกลมกลืน (ไอ) กับ คิ หน้า ๑๔


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

# ความปรารถนาที่จะเรียนรูเกี่ยวกับคิปรากฏใหขาพเจาเห็นทุกที่ ไมวาขาพเจาจะ ไปเยี่ยมเยียนศูนยฝกไอคิโดที่ใดๆในโลก ตัวอยางเชน เมื่อเดือนกันยายน ป ๒๕๒๑ ขาพเจาไดไปประเทศบราซิล อารเจนตินา และอุรุกวัย ขาพเจาจำไดชัดเจนถึงถอยคำ ของ หลุยส แพนเทเลียน ศาสตราจารยดานกฏหมายและการพิพากษาแหงศาลเมืองซาน เปาโล ที่พูดวา: ! ในฐานะผูที่นั่งอยูบนบัลลังกและพิพากษาผูอื่น ผมรูสึกลำบากใจเมื่อคน พบวา ตัวเองมีนิสัยที่ชอบคิดถึงแตตัวเองและวัตถุนิยม ผมไดเขารวมบราซิลไอคิ ไคและไดเรียนรูวาไอคิโดเปนศิลปะการปองกันตัวที่แสดงใหเห็นเนื้อแทของ วัฒนธรรมญี่ปุน เมื่อฝกฝนไอคิโด ไมเพียงที่ผมจะละลายความกังวลทั้งหลาย แตก็ยังคนพบคิ ซึ่งเปนหัวใจของจิตวิญญาณมนุษยที่ซอนอยูภายใตตัวตนที่ผิว เผินของผมอีกดวย ผมสัมผัสไดถึงความปติที่แทจริงและรูสึกซาบซึ้งใจ และผม เชื่อวา ผมไดเติบโตขึ้นสมฐานะมนุษยคนหนึ่ง ในระหวางงานเลี้ยงตอนรับของสหพันธไอคิโดนานาชาติ (International Aikido Federation) ครั้งที่สามที่กรุงปารีสในชวงปลายเดือนกันยายนและตนเดือนตุลาคม ในป ๒๕๒๓ กาย บอนเนฟอนด ประธานสหพันธฯไดกลาวคลายๆกันนี้วา: ไอคิโดเปนการแสดงออกของรูปแบบที่พัฒนาอยางสูงของศิลปะการปองกันตัว อันเปนมรดกทางวัฒนธรรมและจิตวิญญาณที่สงางามของญี่ปุน ถือวาเปน อารยธรรมอันสูงสงอันเปนประเพณีของความเปนนักรบ เราเชื่อวาไอคิโดจะได รับการตอนรับอยางดีในยุโรปอยางเปนธรรมชาติ ไอคิโดเปนวิถีแหงการผสาน รางกายและจิตใจเปนหนึ่ง ไอคิโดจึงเปนของขวัญที่เหมาะแกกาลสำหรับหนุม สาวที่กำลังคอยๆสูญเสียศรัทธาในการสืบหาความหมายของการเปนมนุษย ขาพเจาขอชื่นชมอยางสุดหัวใจในโอกาสอันมีคาครั้งนี้ที่ชาวตะวันตกสมัยใหมได ทำความรูจักกับไอคิโด ! สำหรับพวกเราที่ทุมเทแรงกายแรงใจในการบมเพาะไอคิโดอยางเงียบๆโดยมิได ประโคมขาวหรือโฆษณาประชาสัมพันธใดๆ เราจึงรูสึกยินดียิ่งที่ไดยินวาไอคิโดไดรับการ ยอมรับในระดับนานาชาติ แตเราไมควรพึงพอใจอยูแคความปติยินดีเหลานั้นหากเรา ตระหนักถึงความรับผิดชอบอันใหญหลวง ที่แบกรับไวบนบาในการพยายามที่จะทำใหคน ทั่วโลกไดรับในสิ่งที่พวกเขาคาดหวังไว ความรับผิดชอบเหลานี้ไมควรถือเปนเพียงเรื่อง เล็กนอยเลย หน้า ๑๕


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

ตัวอักษร คิ เขียนโดย ปรมาจารย์โมริเฮอิ อูเอชิบะ

! หนึ่งในสิ่งที่เราเปนกังวลมากก็คือ ความโดดเดนเฉพาะ ตัวของไอคิโดที่มีรากฐานจากจิตวิญญาณของชาวญี่ปุนมักจะ กอใหเกิดความเขาใจผิดไดบอยๆ ซึ่งมักเกิดขึ้นเมื่อไอคิโดได เปนที่รูจักของคนที่มีวัฒนธรรมและวิถีชีวิตที่แตกตางกันออก ไป ไมเพียงแตผูที่เพิ่งเร่ิมตนที่มักจะมีความคาดหวังที่ไมสมจริง เทานั้นแตรวมถึงนักเรียนไอคิโดระดับสูงที่ไมเขาใจหลักการพื้น ฐาน ตีความผิดและเปนตัวอยางที่ผิดๆอีกดวย

! ทั้งครูและนักเรียนไอคิโดควรจะทุมเทตนเองให เชี่ยวชาญในศิลปะไอคิโด เขาใจอยางลึกซึ้งถึงกนบึ้ง ขจัดความ บิดเบือน และนำเสนอไอคิโดตามรูปแบบที่แทจริง หาไมแลว จะนำมาซึ่งความผิดหวังอัน ใหญหลวงตอบรรดาผูที่ใหความสนใจจนไมสามารถนำกลับคืนมาไดอีก ความรับผิดชอบ อันนี้ควรยึดถือไวไมวาจะเปนในญี่ปุนหรือในประเทศอื่นๆที่ไอคิโดกำลังเติบโตไปอยาง รวดเร็ว ยิ่งเทคนิคไอคิโดไดรับความสนใจมากขึ้น ก็ดูเหมือนวาไมมีปญหาอะไร แตกลับ กลายเปนวาเรื่องพื้นฐานทางปรัชญาและจิตวิญญาณของไอคิโดกลายเปนปญหาที่แทจริงที่ ปรากฏตัวขึ้น เวนเสียแตเราจะกลับไปสูคำสอนอันเปนตนฉบับของปรมาจารย และทำความ เขาใจใหกระจางเกี่ยวกับความหมายอันแทจริงของไอคิโดซึ่งเปนรากฐานที่สำคัญของจิต วิญญาณ ! หัวใจหลักของไอคิโดในวิถีแหงจิตวิญญาณก็คือ คิ พลังแหงการกอรูปของผืนพิภพ อันตั้งอยูที่แกนกลางของมนุษยทุกผูคน รอคอยการตระหนักรูและปฏิบัติใหเปนจริง ในขณะ ที่มโนภาพเกี่ยวกับคิไดเริ่มขึ้นโดยนักคิดผูทรงอิทธิพลของจีนโบราณ เชน เลาจื้อ จวงจื้อ ฮวยหนั่นจื้อ รวมทั้งกวนจื้อ ซุนจื้อ ขงจื้อ และเมงจื้อ แตไมไดจำกัดอยูแคนั้น แนวคิดเรื่องคิ ไดวิวัฒนาการผานวันเวลามาตลอดชวงประวัติศาสตร ความหมายของคินั้นอธิบายไดแตก ตางกันขึ้นอยูกับวัฒนธรรมและชวงเวลาที่เปลี่ยนผานในอารยธรรมเอเชียตะวันออก ใน ประเทศญี่ปุน หลังจากที่แนวคิดนี้ไดเปนที่รูจักก็ไดประสานเขากับสังคมดั้งเดิมจนไดกอ กำเนิดเปนรูปแบบเฉพาะตัวที่รวมเอาทัศนคติที่มีตอธรรมชาติ ชีวิต ความตายและอื่นๆ ! แนวคิดดั้งเดิมเกี่ยวกับคินั้นพัฒนาขึ้นมาตามสำนักคิดตางๆในฐานะหลักการหนึ่ง ของอภิปรัชญา ตัวอยางเชน คิ คือหลักการที่สำคัญยิ่งของการประสานกลมกลืน และเปน แหลงกำเนิดความคิดสรางสรรคที่แสดงออกมาในรูปของหยินและหยาง (เลาจื้อ) และบาง ครั้งก็กอเปนพลังงานที่กำเนิดขึ้นมาจากความสับสนอลหมาน (จวงจื้อ) หน้า ๑๖


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

! คิ ไดรับการขนานนามโดยนักปรัชญาบางคนวาคือ ทวิลักษณ อันเปนหลักการที่ เปนโครงสรางของจักรวาล นั่นคือ ในรูปที่เบาของคิก็คือสวรรค และคิของสวรรคก็กอให เกิดดวงอาทิตย ในขณะที่รูปที่หนักของคิก็จับตัวแข็งจนกลายเปนพื้นดิน และคิจากผืน แผนดินก็ใหกำเนิดน้ำ ทวิลักษณนี้คอยๆวิวัฒนขึ้นจนมีปฏิสัมพันธระหวางกัน เชน หยินหยาง ความมืด-ความสวาง และจากนั้นก็กำเนิดเปนทฤษฎีธาตุทั้งหาและการทำนายใน คัมภีรพยาการณ เตา เตอ จิง ! ในทฤษฎีธาตุทั้งหา ไมและไฟถือเปนคิธาตุเบา โลหะและน้ำเปนคิธาตุหนัก และ ธาตุดินจะอยูตรงกลางระหวางสองกลุมนี้ ฤดูกาลที่เปลี่ยนแปลงและโชคชะตาของมนุษย สามารถทำนายไดโดยการขึ้นและลง ความกลมกลืนและความขัดแยงของหาธาตุนี้ ใน คัมภีรเตา เตอ จิง ใชเสนเต็ม (−) เปนสัญลักณหยางและเสนประ (- -) เปนสัญลักษณ ของหยิน เมื่อเอาเสนมาเรียงรวมกันในตำแหนงบนกลางลางเรียกวาเปนตรีลักษณ หาก เรียงกันแบบไมซ้ำจะไดแปดแบบ ซึ่งบงถึงลักษณะแปดอยาง คือ การสรางสรรค การ ยอมรับ การตื่นตัว ความออนโยน ความลึกสุดหยั่ง การติดตาม ความสงบนิ่ง ความราเริง ลักษณะเหลานี้สามารถใชอานเพื่อการทำนายโชคชะตาหรือเหตุการณที่กำลังจะเกิดขึ้น หากพูดแบบกวางๆ หลักการของคิก็เชื่อมโยงกับลักษณะปฏิสัมพันธของลักษณะคูตรง ขามของหยิงและหยาง ! หลักการพื้นฐานทางอภิปรัชญานี้ไดเขาสูประเทศญี่ปุนในสมัยนาระ (ค.ศ. ๗๑๐ - ๗๙๔) และสมัยเฮอัน (ค.ศ. ๗๙๔ - ๑๑๘๕) และไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง แต วาแนวคิดทางพุทธศาสนาที่เดินทางจากอินเดียผานเขาสูจีนนั้นสงผลกระทบตอความ หมายดั้งเดิม โดยเฉพาะความคิดเรื่องกรรมและการจองเวร ! ยิ่งไปกวานั้น แนวคิดเรื่องคิก็ไดประสานกลมกลืนไปกับมุมมองทองถิ่นดั้งเดิม เกี่ยวกับธรรมชาติ และไดกลายเปนแหลงกำเนิดแหงพลังของวัฏจักรในกระบวนการ เติบโต แตกหนอ ชูชอ ผลิบาน และโรยราไปของบรรดาพืชผลนานาพรรณ มีศัพทหลาย คำไดประกอบกันขึ้นโดยผนวกเชื่อมโยงกับวิถีธรรมชาติ เชน โย-คิ คือการบมเพาะพัฒนา พลังงาน ไค-คิ คือ การฟนฟูชีวิต เซอิ-คิ คือพลังของจิตวิญญาณ และอื่นๆอีกมากมาย คิ ยังคงมีความหมายถึงพลังอำนาจที่ครอบงำและควบคุมความรักความเกลียดชังในความ สัมพันธระหวางมนุษย นอกจากนั้น ยังไดผนวกเขากับคุณไสยและพิธีกรรมทางศาสนาที่ การใชหลักการของหยินหยางตามทฤษฎีธาตุทั้งหาอยางที่ระบุถึงในวรรณกรรมสมัยเฮอัน เชน ตำนานเกนจิ เปนตน หน้า ๑๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

! การเปลี่ยนแปลงที่นาตื่นเตนที่สุดของการตีความคิและการนำไปปรับประยุกต เริ่ม ขึ้นเมื่อมีการผุดขึ้นของชนชั้นซามูไรในชวงปลายสมัยเฮอัน กระบวนการนี้ยังคงตอเนื่องไป ตลอดยุคคามาคูระ (ค.ศ. ๑๑๘๕ - ๑๓๓๖) และสมัยมุโระมาจิ (ค.ศ. ๑๓๓๖ - ๑๕๗๓) และตามมาดวยศตวรรษแหงสงครามกลางเมือง จนถึงสมัย อะสุชิ โมโมะยามะ (ค.ศ. ๑๕๖๘ - ๑๖๐๓) กระทั่งเขาถึงจุดสูงสุดในชวงตนสมัยโตกุกาวะ (ค.ศ. ๑๖๐๓ - ๑๘๖๘) บรรดาซามูไรที่ตองเผชิญกับการคุกคามอยางตอเนื่องของความตายในยุคแหงการสงคราม เขาใจคิในความหมายของ ชิ-คิ ความหาวหาญ อิ-คิ พลังที่มุงมั่น เกง-คิ ความแข็งแรง และ ยู-คิ ความกลาหาญ ยิ่งไปกวานั้น คิยังใหความหมายที่เชื่อมโยงกับจิตใจสงบภายใต สถานการณที่ตึงเครียด คือ คำวา เฮอิ-คิ และการเก็บพลัง ชู-คิ ซึ่งเปนความพยายามที่จะ ขยายลมหายใจใหยาวนานขึ้น และคำวา คิ-โซคุ หมายถึงสภาวะของความเปนความตาย ! ในชวงยุคสมัยของโชกุนโตกุกาวะ เปนชวงที่ญี่ปุนปลอดสงครามยาวนานประมาณ สามรอยป จึงไดจัดการอภิปรายครั้งใหญหลายครั้ง เพื่อคนหาพื้นฐานทางทฤษฎีของ “บูจิต สู” ในฐานะศิลปะแหงนักดาบ และเพื่อปองกันมิใหใชดาบไปในทางเสื่อมหรือเพื่อการพราก ชีวิต การประชุมเหลานั้นไดผลลัพธเปนตรรกะ วิธีวิทยาตามหลักทฤษฎีเกี่ยวกับคิ เชนเดียว กับการเรียกรองใหเขาสูแงมุมทางปรัชญาและจิตวิญญาณของคิดวย ในการบรรลุ วัตถุประสงคตามขอหลังๆจำตองกลับเขาสูแนวคิดของหยินและหยางอีกครั้ง ! ตัวอยางเชน ในคัมภีรที่ถือวาเปนอมตะสำคัญของจูจิตสูที่เชื่อมโยงกับยูโดสมัยใหม และสัมพันธอยางใกลชิดกับไอคิโด ก็คือ เดนโช ชูกากุ ของสำนักคิโต คิโต หมายถึงการขึ้นและลง การขึ้นคือรูปแบบของหยาง และการลงคือรูปแบบของ หยิน คนหนึ่งพึงชนะดวยการพึ่งพาอาศัยหยาง และชนะโดยพึ่งพาอาศัยหยิน… เมื่อ ศัตรูแสดงหยิน ชนะโดยหยาง เมื่อศัตรูแสดงหยาง ชนะโดยหยิน… การทำจิตใจใหมี พลังอำนาจ ตองใชประโยชนจากจังหวะจะโคนระหวางความแข็งแกรงและการออน ขอยอมตามในเทคนิค จึงจะแสดงวามีความเชี่ยวชำนาญการ การละทิ้งความ แข็งแกรงของตนและชนะโดยใชความแข็งแกรงของศัตรูนั้นเปนไปไดเพราะวาคิ ตาม ที่สอนในสำนักของเรา เมื่อเราละทิ้งความแข็งแกรง เราก็กลับเขาสูหลักการอันเปน รากฐาน หากเราไมพึ่งพากำลังแตใชคิ ความแข็งแกรงของศัตรูก็จะสะทอนกลับ และเขาจะลมลงดวยตัวของเขาเอง นี่คือความหมายของการชนะโดยใชกำลังของ ศัตรู เจาพึงไตรตรองอยางระมัดระวังในสาระสำคัญนี้ โดยสรุปก็คือ คนที่ออนแอ สามารถพิชิตคนเขมแข็งได หน้า ๑๘


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

เพื่อแสดงใหเห็นตัวอยางความสำคัญของคิในศิลปะแหงนักดาบ เราจึงอางอิงคำพูดตางๆที่ แสดงใหเห็นมุมมองเหลานี้ โอกาสแหงชัยชนะขึ้นอยูกับคิ สังเกตคิของศัตรูอยางระมัดระวัง เคลื่อนไหวอยาง สอดคลองกับมันจึงจะเรียกวารักษาโอกาสใหเกิดขึ้นตรงหนาเรา ในเซนเรียกวา “โอกาสในการเขาถึงเซน” ก็พูดถึงสิ่งเดียวกัน คิที่ซอนอยูและไมเปดเผยแสดงให เห็นโอกาสแหงชัยชนะ (เฮอิโฮ คาเดน โช) ในทุกเรื่องที่เกี่ยวกับงานศิลปะ รวมถึงศิลปะการตอสู ความเหนือกวาตัดสินกัน ดวยการฝกหัดและฝกฝน แตความเปนเลิศที่แทจริงขึ้นอยูกับคิ ความยิ่งใหญสงา งามของสวรรคและผืนพิภพ ความกระจางใสของพระอาทิตยและพระจันทร ใน ความเปลี่ยนแปรของกาลเวลา ความรอนและความหนาวเย็น การกำเนิดและ ความตาย ตางขึ้นอยูกับการสลับผลัดเปลี่ยนระหวางหยินและหยาง การทำงานที่ ละเอียดลุมลึกไมสามารถอธิบายไดดวยถอยคำ แตภายใตทุกสิ่งเติมเต็มชีวิตดวย หนทางของคิ คิเปนตนกำเนิดแหงชีวิต และเมื่อคิพรากออกไปจากรูป ความตายก็ ปรากฏขึ้น (เทงกุ เกอิจุตสู รอน) คราวนี้ลองมาทำความเขาใจคิตามความคิดของปรมาจารยอูเอชิบะ แนวคิดเรื่องคิของ ทานนั้น กำเนิดมาจากความเขาใจอยางถองแทที่เกิดขึ้นโดยสันชาติญาณที่มีตอการทำงาน ของจักรวาล และแสดงออกโดยถอยคำที่สั้น กระชับ ไดใจความ แมวาบางครั้งจะยากที่จะ ทำความเขาใจอยางถองแทถึงความหมายที่ทานไดกลาวถึง แตการอานอยางตรึกตรองใน สิ่งที่ทานเขียนจะทำใหเราเห็นแนวทางตามความเขาใจของทานเกี่ยวกับคิ ทานไดบรรยาย เรื่องคิไวสองครั้งดังนี้ : ดวยบูโด ขาพเจาไดฝกฝนรางกายของขาพเจาอยางถวนทั่วสมบูรณและบรรลุถึง ความลับอันสูงสุด และขาพเจาก็ยังไดตระหนักรูถึงสัทธรรมอันยิ่งใหญ นั่นคือ เมื่อขาพเจาไดเขาใจธรรมชาติที่แทของจักรวาลอยางทะลุปรุโปรงผานทางบูโด ขาพเจาก็ไดเห็นอยางชัดเจนวา มนุษยพึงผนวกจิตใจและรางกายเขากับคิ เพ ราะคิเปนจุดเชื่อมโยงระหวางสองสิ่งนั้น จากนั้นจึงจะสามารถเขาถึงความ กลมกลืนในการเคลื่อนไหวของทุกๆสิ่งในจักรวาล โดยคุณสมบัติอันงดงามอันละเอียดออนในการทำงานของคิ เราจึงประสานจิตใจ และรางกายรวมไปถึงความสัมพันธระหวางปจเจกบุคคลกับจักรวาล หน้า ๑๙


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

ไดอยางกลมกลืน แตหากการทำงานของคิไมราบลื่น โลกก็จะตกอยูในความ สับสนและจักรวาลก็จะมีแตความอลหมาน การประสานกลมกลืนของคิ จิตใจ และรางกาย เขากับการเคลื่อนไหวลื่นไหลของจักรวาลถือเปนจุดวิกฤติแหงการ จัดระเบียบและสันติภาพในโลก ปรมาจารยอูเอชิบะยังไดขยายความเพิ่มเติมเกี่ยวกับการทำงานของคิ และความสมดุล ของชีวิตที่จะขาดซึ่งคิไมได การทำงานที่ละเอียดออนของคิเปนแหลงกำเนิดที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลงอัน ประณีตของลมหายใจ คิเปนแหลงกำเนิดของศิลปะการตอสูนั่นคือความรัก เมื่อผู นั้นผสานจิตใจและรางกายดวยความดีงามของคิและสำแดงซึ่งไอ-คิ (ความกลม กลืนของคิ) ความเปลี่ยนแปลงอันประณีตในพลังของลมหายใจก็เกิดขึ้นเองอยาง อัตโนมัติและ วาซา (เทคนิคที่ถูกตองเหมาะสม) ก็จะลื่นไหลอยางเปนอิสระ การเปลี่ยนแปลงในลมหายใจนั้นเชื่อมโยงกับคิของจักรวาล ซึ่งมีปฏิสัมพันธและ แผซานเขาใปสรรพชีวิตทั้งมวล ในขณะเดียวกัน พลังของลมหายใจอันประณีตก็ ยังแทรกเขาสูทุกซอกมุมของรางกายผูนั้น เพราะการแทรกประสานอยางลึกซึ้ง ผู นั้นจึงเต็มไปดวยพลังชีวิต เปนผลทำใหเกิดความเปนธรรมชาติในหลายๆรูปแบบ ทั้งความคลองแคลวมีชีวิตชีวา การเคลื่อนไหวอยางเปนธรรมชาติ เชนนี้เอง ทั้ง รางกายรวมไปถึงอวัยวะภายในจึงประสานเปนหนึ่งเดียวกันกับความรอน แสง และพลังงาน เมื่อบรรลุถึงความเปนหนึ่งของจิตใจและรางกายรวมทั้งเปนหนึ่ง เดียวกับจักรวาลแลว รางกายก็จะเคลื่อนไปตามใจปรารถนาโดยไมวาสิ่งใดๆก็ไม สามารถตานทานได ปรมาจารยอูเอชิบะไดสรุปเกี่ยวกับคิหลังจากที่ทานไดใชเวลาทั้งชีวิตเสาะแสวงหาสัจจะแห งบูโดผานวินัยฝกฝนตนอยางเขมงวดเปนเวลาหลายสิบป กระทั่งศิลปะของทานคลี่คลาย กลายเปนความละเอียดประณีตและมีจิตวิญญาณดังที่ทานกลาววา: การเปลี่ยนแปลงอันละเอียดออนในลมหายใจเปนเหตุใหเกิดความประณีตในการ เคลื่อนไหวของคิในความวางเปลา บางครั้งการเคลื่อนไหวอาจดุดันโหดราย รุนแรง และบางครั้งก็อาจแชมชาและนิ่งสงบ ความเปลี่ยนแปลงเชนนี้ ผูนั้นจะ สามารถสังเกตไดถึงระดับขั้นของจิตใจที่จดจอหรือความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน หน้า ๒๐


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

ของจิตและกาย เมื่อความจดจอตั้งมั่นซึมแทรกจิตใจและรางกาย พลังแหงลม หายใจก็จะเปนหนึ่งเดียวกับจักรวาล แผขยายออกไปอยางออนโยนและเปน ธรรมชาติโดยไรขีดจำกัด แตในขณะเดียวกัน ผูนั้นก็เพิ่มพูนความสามารถในการ ควบคุมความรูสึกของตนและมีอิสระในตนเอง ดวยวิธีนี้ เมื่อลมหายใจทำงานรวม กับจักรวาล แกนแทแหงจิตวิญญาณที่ไมเคยประสบพบพานก็จะกลายเปนสภาพ ความเปนจริงภายในคนผูนั้น คอยหอหุม คุมครองและปองกันตัวตน นี่คือการ แนะนำแกนแทอันลึกล้ำของไอ-คิ ! ดังนั้น คิ มีความหมายสองชั้น หนึ่งคือ การผสานเปนหนึ่งระหวางปจเจกกับจักรวาล กับ สองคือการแสดงออกอยางเปนอิสระเปน ธรรมชาติของพลังแหงลมหายใจ ความหมายแรก เปนการสืบทอดแนวคิดเกี่ยวกับคิจากบรรดานัก คิดจีนโบราณและไดนำมาปฏิบัติผานการประ สานคิ-ใจ-กายเขาดวยกันในการฝกฝนไอคิโด ใน กระบวนการฝกฝนผสานใหเปนหนึ่งกับคิของ จักรวาลนั้นสามารถเขาถึงไดโดยอัตโนมัติโดยไม ตองใชความพยายามเลย ความหมายที่สอง คือ การสอนวาลมหายใจของผูที่ฝกฝนจะสามารถ ควบคุมความคิดและการเคลื่อนไหวรางกายของ ตนได เมื่อจังหวะของลมหายใจและทวงทาของ ไอคิโดผสานกลมกลืนเขากับจังหวะของจักรวาล จิตและกายของผูนั้นก็จะมีจุดศูนยกลางและทุก การเคลื่อนไหวก็จะกลายเปนการหมุนเปนวงกลม

ปรมาจารย์ในปี ๑๙๖๘ สาธิตการประสาน ki-shin-tai (คิ-จิต-กาย) เป็นหนึ่ง

! เหตุผลที่ปรมาจารยอูเอชิบะเนนย้ำถึงความเปนหนึ่งเดียวกันของการปฏิสัมพันธ ระหวางคูตรงขามและการแสดงออกอยางเปนธรรมชาติก็เพราะวา ทานไดเห็นวาแกนแท ของคิก็คือแกนแทของบูโดของทานนั่นเอง และนี่เองก็คือจุดเริ่มตนถึงความรับผิดชอบของ เราที่จะตองทำความเขาใจใหกระจางชัดอยางตอเนื่องวา คิ ก็คือศูนยกลางของการฝกฝน ไอคิโด และพัฒนาความสำคัญของคิที่เกี่ยวของกับชีวิตรวมสมัยตอไป หน้า ๒๑


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

!

สุภาษิตโกะกับขาพเจา (๗)

โดย Nounours’ Mom

“เมื่อตองเพลี่ยงพล้ำ การวิ่งหนีก็ไมใชเรื่องแย” ! โกะ หรือ หมากลอม เปนหนึ่งศิลปะใน ศิลปะจีน ๔ แขนงที่สืบทอดมาแตโบราณ ไดแก การดีดพิณ การเดินหมากกระดาน (โกะ) การเขียนพูกัน และการวาดรูป นอกจากเปนศิลปะแลว โกะยังเปนศาสตร ทางการยุทธอีกดวย พื้นที่ขนาดประมาณ ๓๖๑ ตารางเซนติเมตร ที่ตางเปนที่หมายยึด ครองของกองทัพหมากขาวและกองทัพหมาก ดำ โดยที่ทั้งสองฝายมีกำลังเทากันตางแต ไหวพริบของผูนำกองทัพที่ควบคุมการ เคลื่อนไหวของกำลังพลเทานั้น ระหวางการ เดินหมากแตละเม็ดของผูเลนที่ดูสงบนิ่งนั้น แทจริงแลวเกิดความขัดแยงและการ เคลื่อนไหวทางความคิดที่เกิดขึ้นตามเกม หมากที่กำลังดำเนินอยูอยางตอเนื่อง เพื่อ โจมตี เพื่อตานรับ และเพื่อรักษาพื้นที่ที่ตน ครอบครองอยู ดังนั้น นักหมากลอมที่มีไหว พริบเชาวปญญาจึงเปนผูที่มีโอกาสมีชัยได มากกวา

! “ขาพเจาเปนเพียงผูเริ่มฝกหัดเลน โกะเทานั้น และยังโงเขลาที่จะเขาใจแกน แทของโกะอยางลึกซึ้ง แตถาเปนจิต วิญญาณของไอคิโดแลว ขาพเจาไมปฏิเสธ เลยวามันเปนธรรมชาติและชีวิตของ ขาพเจาไปแลว ! จากหนังสือ โกะ อัจฉริยะเกม แหงพิภพ โดย วันชัย ประชา เรืองวิทย ที่ ขาพเจาไดรับมา จากเพื่อนผูหนึ่ง ทำใหขาพเจาพบสุ ภาษิตโกะบางขอที่ จุดประกายความ คิดใหขาพเจาไดเขียนบทความนี้ขึ้นมาเพื่อ เผยแพรสุภาษิตโกะที่ขาพเจาเห็นวา สอดคลองกับหลักไอคิโดที่ขาพเจายึดถือ เปนแนวทางในการใชชีวิตอยางสงบสุข ตามความเขาใจของขาพเจา โดยมิไดยึด ติดวาผูใดจะตองเห็นดวย” หน้า ๒๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

Z ไอคิโด เปนศิลปะปองกัน ตัวที่มีลักษณะการตอสูแบบยูยิตสู และยูโด ที่อาศัยเทคนิคการ เหวี่ยงฟาดเพื่อตัดกำลังของผู โจมตีใหเคลื่อนไหวชาลง หรือให หยุดชะงักงัน Z แตสำหรับไอคิโดแลว การ ใชเทคนิคก็เพียงเพื่อบั่นทอนผู โจมตีใหหมดพิษภัยเทานั้น ไมไดมุง ทำรายใหเกิดการบาดเจ็บหรือ พิการถึงตาย แตในความเปนจริง แลว หากนักไอคิโดไมมีการยั้งมือ ก็อาจทำใหผูโจมตีถึงตายไดเชนกัน Z ผูคนพบวิชาศิลปะปองกันตัวไอคิโด คือ ปรมาจารย มอริเฮอิ อูเอชิบา ชาวญี่ปุน ทานไดหลอหลอมศิลปะปองกันตัวหลายแขนงที่ทานไดฝกฝนขึ้นมา แมไอคิโดจะพัฒนามา จากลัทธิบูชิโดซึ่งเปนปรัชญาการตอสูของซามูไร แตไอคิโดก็มีการพัฒนาจุดมุงหมายในการ ตอสูที่ตางออกไป Z การตอสูทั่วๆไปมักลงเอยดวยการแบงแยกเปนฝายแพ ฝายชนะ เพื่อลมลางกัน แตสำหรับหลักปรัชญาของไอคิโดนั้น มีจุดมุงหมายเพื่อการสมานฉันท เปนศิลปะการตอสู ปองกันตัวเพื่อแสวงหาความเขาใจอันดีตอกันมากกวาเพื่อความเหนือผูอื่น ทางทฤษฎีแลว ไอคิโดไมมีเทคนิคการโจมตี จะฝกแตเทคนิคการรับมือ จึงถือไดวา ไอคิโดเปนศิลปะการ ตอสูปองกันตัวอยางแทจริง Z หลักของไอคิโดอยูที่ ความสมดุลของการทรงตัว ความตอเนื่องและความกลมกลืน ในการเคลื่อนไหว และในขณะเดียวกัน ก็ตระหนักถึงความปลอดภัยของคูฝกซอมและตัว เอง จุดสำคัญคือ การรวบรวมจิตใจใหอยูในความสงบ มีสมาธิแนวแนพรอมผนึกรางกายให อยูในสภาพพรอมเต็มที่เพื่อรับมือกับการถูกโจมตี และควบคุมผูโจมตีใหอยูมือเมื่อมีจังหวะ พลังของไอคิโดไมไดเกิดจากพลังมหาศาลของรางกายที่แข็งแรง แตเกิดจากการควบคุม จิตใจและรางกายใหประสานกันกับความเคลื่อนไหวของผูโจมตี หน้า ๒๓


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

Z ดังนั้นศิลปะการตอสูปองกันตัวไอคิโด จึงเหมาะสมกับคนทุกขนาด ทุกเพศ ทุกวัย ไมวาเด็ก ผูหญิง ผูชาย ไมวาคนรูปรางเล็ก หรือใหญ ไอคิโดที่สมบูรณแบบสามารถสยบผู โจมตีไดเสมอ การจับคูฝกเหวี่ยง และการลมตัวของผูโจมตีดูแลวเบาหวิวเหมือนไมได ออกแรงมากมายนั้น เบื้องหลังการเหวี่ยงและการลมอยางนุมนวลนั้น เกิดมาจากการ ฝกฝนมาอยางดีใหสามารถลมตัวตามแรงไดอยางปลอดภัยและสวยงาม การลมตัวตาม หลักวิชาไอคิโดคือ การแปรเปลี่ยนความหวาดเสียวหวาดกลัว ใหเปนเรื่องสนุกในการ ลอยตัวลงสัมผัสพื้นที่เกิดจากการฝกฝนอยางแทจริง Z เคล็ดลับของวิชาศิลปะปองกันตัวไอคิโด อยูที่การประสานและปรับตัวเองเขากับ การเคลื่อนไหวของผูโจมตี หรืออีกนัยยะ วิชาไอคิโด ไมใชเทคนิคการตอสูหรือเอาชนะผู อื่น แตเปนเทคนิคการปรับตัวเขากับโลก และชวยใหมนุษยอยูดวยกันอยางสันติ คูตอสูมี เพียงผูเดียว คือใจของเราเอง Z การฝกวิชาไอคิโดเปรียบเหมือนการเผชิญเรื่องตางๆที่เขามาในชีวิตและสิ่งที่เขา มาทำใหเราเสียศูนยสมดุล ทุกครั้งที่ผูฝกโจมตีเขามาไมวากี่คนก็ตาม หรือไมวารูปแบบ ไหน มีอาวุธหรือไมก็ตาม เราก็ตองรักษาศูนยกลางการทรงตัวใหดี โดยการเคลื่อนไหว อยางกลมกลืนกับทิศทางที่ถูกโจมตีดวยความมั่นคง สุขุมไมหวั่นไหว การเคลื่อนไหวที่ มั่นคงบางทาดูเหมือนคลื่นในทะเล ที่มีการกอตัวอยางนากลัวแลวกลายเปนลูกคลื่นสลาย ตัวไปในที่สุด จิตวิญญาณที่เปนอิสระไมยึดติดกับเปาหมายหรือชัยชนะ นอกจากอยูรวมกัน อยางกลมกลืน ไมปะทะหรือขัดแยง ทานปรมาจารย มอริเฮอิ อูเอชิบา ไดคนพบศักยภาพ ที่แทจริงของตนเมื่อทานอายุลวงเขาเจ็ดสิบปไปแลว ขณะที่ทานไมสามารถใชพละกำลัง ของรางกายไดอีกตอไป แตทานก็ยังมีความคลองแคลวอยางนาอัศจรรยอันเนื่องมาจาก ญาณหยั่งรู หรือการเขาสูสภาวะอันเปน เอกภาพภายในที่ไมไดหมายถึงสภาวะใดใดของ รางกายหรือของจิตใจเปนการเฉพาะ และทำตนใหกลมกลืนกับสรรพสิ่ง Z ในการตอสู สิ่งสำคัญที่สุดคือการมุงมั่นไปขางหนาดวยความแนวแน ไมหวั่นไหว ไปกับสถานการณ แตในกรณีที่เกิดการเพลี่ยงพล้ำ เราอาจจะเปนฝายเสียเปรียบหากยัง มุงมั่นที่จะรับมือคูตอไป ดังนั้น จึงตองไมอยูนิ่ง จะตองเคลื่อนไหว ลาถอยหนี แลวหลอก ลอใหคูตอสูสับสน หลอกลอใหคูตอสูพุงเขาหาอยางไรทิศทางดวยจิตใจที่สงบนิ่งไม วอกแวกจนเสียสมาธิ แกลงเปดชองโหวใหคูตอสูหลงเชื่อจนเขามาใกล แลวคอยโจมตี หรือหลอกลอหลบหลีกการจูโจมไปเรื่อยจนเห็นวาคูโจมตีเริ่มออนแรงจึง หน้า ๒๔


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

ตอบโตหากเกิดการพลาดทาเสียทีหรือตกอยูในสถานการณคับขัน ทางออกทางเดียวคือ การหนีเอาตัวรอด การวิ่งหนีไมใชเรื่องที่นาอับอาย หรือเปนสิ่งเลวรายสำหรับการตอสูเลย แตเปนการแกไขปญหาไปตามสถานการณ ในกรณีที่เกิดการเพลี่ยงพล้ำหรือกำลังเสีย เปรียบ เพื่อหาพื้นที่หรือหาสถานะที่ไดเปรียบในการตอสูใหเอื้อในการควบคุมสถานการณ และสะดวกในการรับมือ Z ความไมยึดมั่นถือมั่นนี้เปนศิลปะอยางหนึ่งที่จะนำไปสูเปาหมายที่ตั้งใจไว และทำให ไมไหวหวั่นหรือหวาดกลัวแมกระทั่งความตาย

ติดต่อ Nounours’

Mom ได้ที่

<http://NounoursMom.hi5.com>

The Art of Peace # ๒๕ เขียนโดย Morihei Ueshiba แปลโดย John Stevens To practice properly the Art of Peace, you must: ! Calm the spirit and return to the source. ! Cleanse the body and spirit by removing all malice, ! ! selfishness, and desire. ! Be ever-grateful for the gifts received from the ! ! universe, your family, Mother Nature, and your fellow ! human beings. John Stevens ไดรวบรวมเอา Doka หรือบทกวีขนาดสั้นของปรมาจารยไวในหนังสือ The Art of Peace ตอมา William McLuskie ไดนำมาลงเผยแพรที่เวบไซต http://omlc.ogi.edu/aikido/talk/osensei/artofpeace/

หน้า ๒๕


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

หน้า ๒๖


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

ไอคิโดกับการใหความรู เรื่องการปองกันตนเองจากถูกลวงเกินทางเพศ คายสงเสริมสิทธิมนุษยชน วันที่ 19 ตุลาคม 2553 คุณเดือน วงษา สมาชิกคนหนึ่งของชมรมไอคิโด มช. ทำงานดานการตอตานการคา มนุษยกับองกร Anti-Trafficking Coordination Unit Northern Thailand (TRAFCORD) ไดจัด คายสิทธิมนุษยชน อบรมเยาวชนผูนำของโรงเรียนตางๆในพื้นที่หางไกล และมีความเสี่ยง เปนเวลา ๕ วันเต็ม ทางชมรมไอคิโด มช. ของเรา ไดถูกรับเชิญไปถายทอดความรูเรื่องการปองกันตนเอง จากถูกลวงเกินทางเพศ แกสมาชิกคายในวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๓๓ ในชวงเวลา เพียงชั่วโมงครึ่ง เปนที่นาเสียดายที่อยูในชวงปดเทอม สมาชิกของเราไดกลับบานตางจังหวัดเสียเปนสวนใหญ บาง คนก็ยังไมเลิกจากงานที่ทำเพราะเรานัดกันออกเดินทางจากเชียงใหมเวลาบายสองโมงกับสมาชิกชม รมไอคิโด มช. สามคน ปอม แบงค และปใหม(อดีตประธานชมรมที่กลิ่นอายประธานยังไมเจือจาง) พี่ปอมไดกรอกหูแบงคไปตลอดทางวา แบงคตองเปนวิทยากรเอง ดำเนินงานเอง แตจริงๆแลวก็ ใหแบงคเตรียมตัวมาหลายวันแลว ทั้งยังหาเอกสารให รวมทั้งไฟลนำเสนอและคลิปตางๆ ซึ่ง ทาทางแบงคก็ดูมีความมั่นใจไมนอย งานนี้เราไดปนวิทยากรคนใหมและคาดหวังวาแบงคจะเปน กำลังสำคัญของชมรมไอคิโด มช. ไดตอไปภายภาคหนา เราไปถึงกอนเวลาชวงของเราทำใหเราไดมีโอกาสเตรียมพรอม และพบวาสิ่งที่เราคาด วาจะนำเสนอนั้น ทางทีมงานของคุณเดือนก็ไดใหความรูแกเด็กๆไปมากแลว อีกทั้งเด็กๆก็คาดหวัง วาจะไดฝกฝนทาของไอคิโดสำหรับปองกันตัว วิทยากรแบงค ก็ไดใหความรูและอธิบายถึงความ สำคัญของการไมนำพาตนเองไปสูความเสี่ยงตางๆ สลับกับการใหพี่ปอมสาธิตทาที่จะเอาตัวรอด จากการกระทำหรือจากภัยลักษณะตางๆที่คอนขางเบาๆ และใหนองๆลองทำ โดยพี่ๆคอยเดิน แนะนำ แตก็ไมสามารถแนะนำไดทั้งหมด ทำเอาบางคนไมคอยรูแรงตัวเองทำเพื่อนเจ็บไปบางก็มี ก็ นองๆทั้งหมดรวมหกสิบคน พี่สามคนดูแลไดไมทั่วถึงจริงๆ พี่ปอมไดแนะนำการนำพาตนเองใหพน อันตราย โดยปใหมเปนผูชวย(ทำอันตราย) ในขณะที่นองๆชางสงสัยวาถูกกระทำแบบนั้นแบบนี้จะ ทำอยางไร และทุกทาที่พี่ปอมสอนนั้น พี่ปอมย้ำเปนสิ่งแรกคือใหตั้งสติ อยาตื่นกลัว ใหควบคุม ตนเอง และประเมินสถานการณ สลับกับเราไดนำสินคาไปเสนอขายคือเปดคลิปไอคิโดใหดู ซึ่งเปน ที่ตื่นตาแกนองๆพอสมควร นองๆที่มาคายนี้สวนใหญเปนเด็กผูหญิงชั้นมัธยมปลาย จากโรงเรียนในอำเภอที่ไกล ออกไปจากเมืองเชียงใหม เชน อมกอย แมแจมเปนตน บางคนเปนเด็กชาติพันธุ และมีความเสี่ยง ตอการถูกรังแกและคุกคามทางเพศสูง จึงใหความสนใจและตั้งใจเปนอยาดี นอกจากนี้ยังบอกแก ทีมงานอีกวาอยากใหพี่ๆชมรมไอคิโดไปสอนใหที่โรงเรียน โดยจะเขียนเปนโครงการและขอทุน สนับสนุน และทางเราก็ไดรับปากนองๆไปแลว สรุปขาวโดย...พี่ปอม

หน้า ๒๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

àเÃรÕีÂย¹น ÍอÒา¨จÒาÃรÂย ÊสÁมºบÑัµตÔิ áแÅลÐะÊสÁมÒาªชÔิ¡กªชÁมÃรÁมäไÍอ¤คÔิâโ´ด·ทØุ¡ก·ท ‹Òา¹น ฀

¼ผ ‹Òา¹นäไ»ปáแÅล ŒÇว¹นÐะ¤คÐะÊสÓำËหÃรÑัºบ ¡กÔิ¨จ¡กÃรÃรÁม " äไÍอ¤คÔิâโ´ด¡กÑัºบ¡กÒาÃรãใËห Œ¤คÇวÒาÁมÃรÙู Œ àเÃร×ืè่Íอ§ง¡กÒาÃร»ป ‡Íอ§ง¡กÑั¹นµต¹นàเÍอ§ง¨จÒา¡ก¶ถÙู¡กÅล ‹Çว§งàเ¡กÔิ¹น ·ทÒา§งàเ¾พÈศ " ¡กÔิ¨จ¡กÃรÃรÁม¹นÕีé้ãใªช ŒàเÇวÅลÒาËห¹นÖึè่§ง ªชÁม.¤คÃรÖึè่§ง ¤ค ‹Ðะ àเ»ป š¹น¡กÔิ¨จ¡กÃรÃรÁมäไÎฮäไÅล·ท ¢ขÍอ§ง àเÁม×ืè่ÍอÇวÒา¹น¹นÕีé้ àเ·ท ‹Òา·ทÕีè่´ดÙู¨จÒา¡ก feedback ¢ขÍอ§งàเ´ดç็¡กæๆ ·ทÕีè่Ãร ‹ÇวÁม¡กÔิ¨จ¡กÃรÃรÁม (·ทÑัé้§งËหÁม´ด 60 ¤ค¹น) ฀

ÒาÃร»ป ‡Íอ§ง¡กÑั¹นµต¹นàเÍอ§ง¨จÒา¡ก¶ถÙู¡กÅล ‹Çว§ง " äไÍอ¤คÔิâโ´ด¡กÑัºบ¡กÒาÃรãใËห Œ¤คÇวÒาÁมÃรÙู ŒàเÃร×ืè่Íอ§ง¡ก ¹นØุÉษÂยªช¹น ÇวÑั¹น·ทÕีè่ 18-22 µตØุÅลÒา¤คÁม àเ¡กÔิ¹น·ทÒา§งàเ¾พÈศ "¤ค ‹ÒาÂยÊส ‹§งàเÊสÃรÔิÁมÊสÔิ·ท¸ธÔิÁม

àเ´ด×ืÍอ¹น¤คÔิ´ดÇว ‹Òา¡กÒาÃร¹นÓำàเÊส¹นÍอ¢ขÍอ§ง·ทÕีÁมÁมÕี¤คÇวÒาÁม¹น ‹ÒาÊส¹นãใ¨จ ¤ค×ืÍอÁมÕี¡กÒาÃรãใËห Œ¤คÇวÒาÁมÃรÙู Œ ÊสÅลÑัºบ´ดÑัºบ´ดÙูÇวÕี´ดÕีâโÍอ ÊสÒา¸ธÔิµต áแÅลÐะãใËห Œàเ´ดç็¡กæๆ½ฝ ƒ¡กàเ»ป š¹นªช ‹Çว§งæๆ àเËหç็¹นäไ´ด ŒªชÑั´ดÇว ‹Òาàเ´ดç็¡กæๆãใËห Œ¤คÇวÒาÁมÊส¹นãใ¨จÁมÒา¡ก âโ´ดÂยàเ©ฉ¾พÒาÐะàเ´ดç็¡ก¼ผÙู ŒËห­ÞญÔิ§ง ãใ¹นªช ‹Çว§ง·ท ŒÒาÂยæๆ¢ขÍอ§ง¡กÒาÃร½ฝ ƒ¡ก àเ¢ขÒา¨จÐะ request Êส¶ถÒา¹น¡กÒาÃร³ณ Çว ‹ÒาËหÒา¡กàเ»ป š¹น áแºบºบ¹นÑัé้¹นáแºบºบ¹นÕีé้¨จÐะ·ทÓำÂยÑั§งäไ§ง àเªช ‹¹นËหÒา¡ก¶ถÙู¡กªช¡ก·ท ŒÍอ§ง ËหÃร×ืÍอ¶ถÙู¡ก¤คÃร ‹ÍอÁม·ทÕีè่¾พ×ืé้¹น «ซÖึè่§ง·ทÕีÁม¡กç็äไ´ด ŒáแÊส´ด§งãใËห Œ´ดÙูáแÅลÐะµตÍอºบ ¤คÓำ¶ถÒาÁมäไ´ด Œàเ»ป š¹นÍอÂย ‹Òา§ง´ดÕี ฀ àเ´ด×ืÍอ¹นµต ŒÍอ§ง¢ขÍอ¢ขÍอºบ¾พÃรÐะ¤คØุ³ณÍอÒา¨จÒาÃรÂย ÊสÁมºบÑัµตÔิ·ทÕีè่ãใËห Œ¡กÒาÃรÊส¹นÑัºบÊส¹นØุ¹นáแÅลÐะàเ»ป š¹น¾พÔิàเÈศÉษÊสÓำËหÃรÑัºบ·ทÕีÁมäไÍอ¤คÔิâโ´ด ·ทÑัé้§งÊสÒาÁม·ท ‹Òา¹น·ทÕีè่ÊสÅลÐะàเÇวÅลÒาäไ»ปÊสÍอ¹นäไ¡กÅล¶ถÖึ§งáแÁม ‹áแµต§ง " ¾พÕีè่»ป ‰ÍอÁม ¹น ŒÍอ§งáแºบ§ง¤ค  áแÅลÐะ¹น ŒÍอ§ง»ป ‚ãใËหÁม ‹ " «ซÖึè่§ง¹น ŒÍอ§งáแºบ§ง¤ค áแÅลÐะ ¹น ŒÍอ§ง»ป ‚ãใËหÁม ‹¡กç็¡กÅลÒาÂยàเ»ป š¹น¢ขÇวÑั­Þญãใ¨จàเ´ดç็¡กæๆäไ»ปâโ´ดÂย»ปÃรÔิÂยÒาÂย âโ´ดÂยàเ©ฉ¾พÒาÐะ¹น ŒÍอ§ง»ป ‚ãใËหÁม ‹ÃรÙู ŒÊสÖึ¡ก¨จÐะ¶ถÙู¡กÃรØุÁม¹นÐะ¤คÐะ :) ฀ Êส ‹Çว¹น ¾พÕีè่»ป ‰ÍอÁม¡กç็¡กÅลÒาÂยàเ»ป š¹น¤คÃรÙู½ฝ ƒ¡กãใ¨จ´ดÕีàเ¾พÃรÒาÐะàเËหç็¹น¶ถÙู¡ก request µตÅลÍอ´ด ฀ ฀ àเÊสÃรç็¨จ¨จÒา¡ก¡กÒาÃร½ฝ ƒ¡กÍอºบÃรÁม¤คÃรÑัé้§ง¹นÕีé้àเÃรÒา¨จÐะÁมÕีâโ¤คÃร§ง¡กÒาÃรµต ‹Íอàเ¹น×ืè่Íอ§ง¤ค×ืÍอãใËห Œàเ´ดç็¡กæๆäไ»ป·ทÓำâโ¤คÃร§ง¡กÒาÃรµต ‹Íอãใ¹น âโÃร§งàเÃรÕีÂย¹น ฀âโ´ดÂยàเ¢ขÒา¨จÐะ·ทÓำâโ¤คÃร§ง¡กÒาÃรàเÊส¹นÍอãใ¹นÇวÑั¹นÊสØุ´ด·ท ŒÒาÂย áแÅลÐะ TRAFCORD ¨จÐะàเ¢ข ŒÒาäไ»ปµตÔิ´ดµตÒาÁมãใ¹นÃรÐะÂยÐะ·ทÕีè่ ÊสÍอ§งªช ‹Çว§งµต Œ¹น»ป ‚ 2554 ÁมÕีáแ¹นÇวâโ¹น ŒÁมÊสÙู§งÁมÒา¡กÇว ‹Òาàเ´ดç็¡กæๆÊส¹นãใ¨จÍอÂยÒา¡ก¨จÐะ·ทÓำâโ¤คÃร§ง¡กÒาÃรáแÅลÐะàเªชÔิ­Þญ¾พÕีè่æๆ ¨จÒา¡ก ªชÁมÃรÁมäไÍอ¤คÔิâโ´ดäไ»ปÊสÍอ¹น·ทÕีè่âโÃร§งàเÃรÕีÂย¹น´ด ŒÇวÂย¹นÐะ¤คÐะ («ซÖึè่§ง¾พÕีè่æๆàเÍอ ‹Âย»ปÒา¡กáแÅล ŒÇวÇว ‹ÒาÂยÔิ¹น´ดÕี¨จÐะäไ»ปáแÁม ŒÇว ‹ÒาÍอÂยÙู ‹äไ¡กÅล) หน้า ๒๘


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

฀ àเ¾พ×ืè่ÍอãใËห Œ¡กÒาÃร½ฝ ƒ¡กáแÅลÐะ ÊสÍอ¹นäไÍอ¤คÔิâโ´ด¡กÑัºบàเ´ดç็¡กæๆ¢ขÍอ§งàเÃรÒาÁมÕี »ปÃรÐะÊสÔิ·ท¸ธÔิÀภÒา¾พÂยÔิè่§งæๆ¢ขÖึé้¹นäไ»ป àเ´ด×ืÍอ¹น¢ขÍอÍอ¹นØุ­ÞญÒาµตàเÊส¹นÍอáแ¹นÐะ ¢ข ŒÍอ¤คÔิ´ดàเËหç็¹นàเÅลç็¡กæๆ¹น ŒÍอÂยæๆ ฀¨จÒา¡ก ÁมØุÁมÁมÍอ§ง¢ขÍอ§งàเ´ด×ืÍอ¹นàเÍอ§ง«ซÖึè่§งàเ´ด×ืÍอ¹น ¨จÐะàเ¢ขÕีÂย¹นÍอÕีàเÁมÅลÅล ¶ถÖึ§ง¾พÕีè่»ป ‰ÍอÁมãใ¹น °ฐÒา¹นÐะ¾พÕีè่ãใËห­Þญ ‹·ทÕีè่¹นÓำ·ทÕีÁมäไ»ป¹นÐะ¤คÐะ ฀ ฀ ฀

¤ค ‹ÒาÂยÊสÔิ·ท¸ธÔิÁม¹นØุÉษÂยªช¹นàเ¾พ×ืè่Íอ¾พÑั²ฒ¹นÒา¼ผÙู Œ¹นÓำàเÂยÒาÇวªช¹นÏฯ¹นÕีé้¨จÐะÁมÕีäไ»ป¨จ¹น¶ถÖึ§งÇวÑั¹นÈศØุ¡กÃร ·ทÕีè่ 22 µตØุÅลÒา ËหÒา¡กÊสÁมÒาªชÔิ¡ก ÍอÂยÒา¡กàเËหç็¹น¡กÔิ¨จ¡กÃรÃรÁมÇว ‹ÒาàเÃรÒา·ทÓำÍอÐะäไÃรºบ ŒÒา§ง ¢ขÍอàเªชÔิ­ÞญµตÔิ´ดµตÒาÁม´ดÙูÃรÙู»ปÀภÒา¾พäไ´ด Œ·ทÕีè่ facebook TRAFCORD ฀ àเ´ด×ืÍอ¹นÊส ‹§งÃรÙู»ปºบÒา§งÊส ‹Çว¹นáแ¹นºบäไ¿ฟÅล ÁมÒาãใËห ŒÊสÁมÒาªชÔิ¡ก´ดÙู´ด ŒÇวÂย¤ค ‹Ðะ ฀

http://www.facebook.com/?ref=home#!/pages/Anti-Trafficking-Coordination-U nit-Northern-Thailand-TRAFCORD/105848992783118 ฀

หน้า ๒๙


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

àเ´ด×ืÍอ¹นãใ¹น¹นÒาÁม¢ขÍอ§ง TRAFCORD ¢ขÍอ¢ขÍอºบ¾พÃรÐะ¤คØุ³ณÍอÕี¡ก¤คÃรÑัé้§งáแÅลÐะËหÇวÑั§งÇว ‹ÒาàเÃรÒา¨จÐะäไ´ด ŒÃร ‹ÇวÁม§งÒา¹น¡กÑั¹น ÍอÕี¡กËหÅลÒาÂยæๆ¤คÃรÑัé้§งµต ‹Íอäไ»ป¤ค ‹Ðะ ฀ ¢ขÍอáแÊส´ด§ง¤คÇวÒาÁม¹นÑัºบ¶ถ×ืÍอ àเ´ด×ืÍอ¹น Çว§งÉษÒา Duean Wongsa Project Manager Anti-Trafficking Coordination Unit Northern Thailand (TRAFCORD) Tel/Fax : 0-5321-2753-4 Website ฀ : ฀ www.trafcord.org

หน้า ๓๐


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

เซนกับศิลปะการป้องกันตัว เรียบเรียงโดย นฤมล ธรรมพฤกษา ศิลปะการป้องกันตัวนั้นพัฒนามาจาก โลกียวิถี (secular form) จากหลัก การของศาสนาพุทธและเซนในฐานะรูปแบบ หนึ่งของการทำสมาธิ โดยมีความเชื่อ ว่าการฝึกฝนร่างกายอย่างเข้มข้นเอาจริงเอา จัง จะทำให้เกิดเข้าถึงสมาธิและสภาวะ ธรรมได้ ในสมัยที่พระโพธิธรรม สังฆ ปรินายกองค์ที่ 28 (องค์แรกคือพระมหา กัสสปะ องค์ที่สองคือพระอานนท์) เป็นพระ ธรรมทูตเดินทางจากแคว้นคันธาราช ประเทศอินเดียมาถึงเมืองจีน ในช่วง ศตวรรษที่หกของสมัยพุทธกาล ด้วยความที่ เป็นคนอินเดีย นันย์ตากลมโต ผิวดำคล้ำ หนวดเครารุงรัง รูปร่างหน้าตาที่แตกต่างไป จากชาวจีนของท่าน ทำให้ผู้คนแตกตื่นเมื่อ ได้พบเห็น ก่อนหน้าที่ท่านจะเดินทางมาจีน ท่านได้ส่งพระภิกษุสาวก ๒ รูปให้มา สำรวจดูลู่ทางก่อน แต่ทว่าเมื่อศิษย์ทั้งสอง มาถึงแผ่นดินจีน กลับไม่ได้รับการต้อนรับ หรือสนับสนุนจากทั้งนักบวชและผู้คนทั้ง หลายเท่าที่ควร

ในช่วงนั้น พระพุทธศาสนาได้ สถาปนาขึ้นแล้วในประเทศจีน แต่พุทธบริษัท ทั้งหลายปฏิบัติธรรมกันแต่เพียงผิวเผิน การ สวดมนต์ภาวนา ศึกษาธรรม ก็มิได้ทำอย่าง จริงจัง แม้กระทั่งการเล่าเรียนพระไตรปิฎกก็ หวังเพียงประดับความรู้ หรือไม่ก็ใช้เป็นข้อถก เถียงเพื่ออวดภูมิปัญญา การปฏิบัติสมาธิ วิปัสสนาก็ยากที่จะหาคนทุ่มเทฝึกฝน พอนั่ง นานหน่อยก็บ่นว่าเมื่อย คนล้วนกลัวความ ยากลำบากและไม่จริงใจในการปฏิบัติ แต่ กลับร่ำร้องจะเอามรรคผล หน้า ๓๑


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

ท่านเห็นว่า ลำพังการศึกษาคัมภีร์อย่าง เดียวไม่สามารถสำเร็จมรรคผลได้ จำเป็นต้อง เข้านิโรธสมาบัติเท่านั้น จึงไปบำเพ็ญ กรรมฐานอยู่ในถ้ำหลังวัดเส้าหลินโดยการผิน หน้าเข้าหาผนังเป็นเวลาเก้าปีจึงสำเร็จมรรคผล ในขบวนของท่านนั้น คาดว่ามีพระ อินเดียที่ร่วมเดินทางมาด้วยหลายรูปและได้ฝึก โยคะ เป็นการออกกำลังกายในเวลาเช้า อย่างที่เคยทำตอนที่อยู่อินเดียใต้ จึงหัดให้ หลวงจีนเริ่มฝึกฝนร่างกายให้แข็งแกร่งควบคู่ กับการปฏิบัติธรรม จะได้ปฏิบัติสมาธิวิปัสสนา และเจริญกรรมฐานได้ดีขึ้น ยาวนานขึ้น

ความตั้งใจเดิมก็เพื่อออกกำลังกาย เพื่อให้ยกระดับทางจิตวิญญาณ แต่ได้กลาย มาเป็นศิลปะการต่อสู้ในภายหลัง เนื่องจาก พระอาศัยอยู่ในป่า ต้องเผชิญกับสัตว์ป่าและ โจรมากมาย จึงต้องปกป้องตนเอง ท่าทาง การเคลื่อนไหวต่างๆก็เอามาจากการสังเกต การเคลื่อนไหวของสิงสาราสัตว์รอบตัว การ ฝึกสอนวิทยายุทธและกังฟูของพระโพธิธรรม ภายหลังได้รับการพัฒนาจนกลายเป็นที่มา ของวิทยายุทธเส้าหลิน การสอนพุทธธรรม ของท่านได้กลายมาเป็นรากฐานของ พระพุทธศาสนาแบบเซน และผู้คนเรียกขาน ท่านในนามของ “ปรมาจารย์ตั๊กม๊อ”

หน้า ๓๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

หากเราสังเกตุ จะเห็นว่าสัตว์นั้น เคลื่อนไหวอย่างเป็นธรรมชาติ ตามสัญชาติ ญานเดิมของมัน ไม่ได้มีการประดิษฐ์ตกแต่ง ท่าทางใดๆ ไม่ต้องมีใครมาสอนเทคนิคให้ กับมัน แต่การเคลื่อนไหวของมนุษย์เป็นการ เรียนรู้ ทำให้ความคิดแบบมีเหตุผลกลายมา เป็นอุปสรรคทำให้ความสามารถในการ เคลื่อนไหวแบบธรรมชาติหายไป ในทางปรัชญา คำว่า “เซน” มาจาก คำว่า “ฉาน” ในภาษาจีน และคำว่า “ธ ยาน” (dhyan) ในภาษาสันสกฤต ซึ่งก็ คือ “ฌาน” โดยมีทรรศนะว่า มนุษย์พึง ตระหนักหรือเข้าถึงสภาวะ no mind หรือ “มู ชิน” (mu shin) ซึ่งก็คือสภาวะเงียบ สงบ เยือกเย็น เป็นสันติสภาวะ ซึ่งก็คือคำ เดียวกับ “สุญญตา” หรือความว่างในศาสนา พุทธ ความว่างในภาษาธรรมไม่ได้หมายถึง ความว่างเปล่าโล่งเตียนไม่มีอะไรเลยตามที่ เข้าใจกันในภาษาสามัญ หากหมายถึง สภาพความจริงที่สรรพสิ่งในโลกล้วนอิงอาศัย

กันเกิดขึ้นและมีอยู่ ด้วยเหตุนี้แต่ละสิ่ง จึงปราศจากแก่นสารในตัวเอง (self-nature) หรือพูดอีกแบบ หนึ่งคือไม่มีอัตลักษณ์แยกต่างหาก (separate identity) ในภาษา สันสฤตเรียกว่า ไม่มี “สวภาวะ” การไม่มีแก่นสารในตัวเอง ไม่ได้ หมายความว่าสิ่งทั้งหลายในโลกไม่มีอยู่ จริง หากมีอยู่โดยสัมพัทธ์และสัมพันธ์กับสิ่ง อื่นๆ ไม่มีสิ่งใดอุบัติขึ้นได้โดยอิสระ ใน โลกของธรรมชาติ เราจะเห็นว่า ปรากฏการณ์ทั้งปวงล้วนก่อรูป ตั้งอยู่ และ แปรเปลี่ยนไปตามเหตุปัจจัยหลายอย่างซึ่ง เชื่อมโยงสัมพันธ์กัน นั่นก็คือ ทุกอย่างใน โลกธรรมชาติล้วนดำเนินไปในอ้อมกอด ของสุญญตา สรรพสิ่งยืมตัวเองมาจากการมีอยู่ของ สิ่งอื่น ในทะเลมีสายฝน ในหยาดฝนมีทะเล กว้าง ละอองไอในก้อนเมฆแท้จริงแล้วคือ ท้องทะเลที่กำลังเดินทาง เมื่อเราเห็นฝนก็คือ เห็นทะเล เห็นทะเลก็คือเห็นฝน เหตุปัจจัยทั้งปวงนั้นไม่ได้เกิดขึ้นเอง ลอยๆ หากเป็นผลจากการมีอยู่ของปัจจัยอื่น ทั้งสิ้น ไม่มีสิ่งใดเกิดขึ้นเองได้โดยไม่มีเหตุ ปัจจัย สรรพสิ่งอาจจะเป็นเหตุและผลของกัน และกันในปราฏการณ์ที่เป็นวัฏจักรเวียนวน


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

(กฏอิทัปปัจจยตา หรือปฏิจจสมุปบาท) ความจริงในธรรมชาติเลื่อนไหลไปตามกฏ ดังกล่าวอยู่แล้ว แต่มนุษย์กลับหยั่งไม่ถึงกฏ แห่งการไร้ตัวตน กฏแห่งการอิงอาศัยกัน และกัน การเกิดขึ้นมีอยู่ และกฏแห่งการ แปรเปลี่ยนเลื่อนไหลไปตามเหตุปัจจัย

การที่ผู้คนเข้าไม่ถึง มู ชิน มองไม่เห็น สุญญตา ทำให้ต่างคนอยากกำหนดความเป็น ไปของโลกด้วยปัจจัยเดียว ก็คือตัวเอง และ กล่าวโทษผู้อื่นว่าเป็นต้นเหตุแห่งทุกข์ของตน เราแบ่งโลกออกเป็นคู่ขัดแย้งต่างๆ โดยบัญญัติ ลงไปว่าสิ่งนั้นดี สิ่งนี้ชั่ว สิ่งนี้สวย สิ่งนั้น อัปลักษณ์ สิ่งนี้บริสุทธิ์ สิ่งนั้นมีมลทิน ฯลฯ การมองโลกแบบทวิภาวะเช่นนี้มักผูก โยงอยู่กับอัตตา ทำให้นำไปสู่การปะทะขัด แย้งอยู่เนืองๆ ความจริงแล้วการแยกเป็นคู่ตรง ข้ามแบบขาวล้วนดำล้วนนั้นเป็นแค่เรื่องสมมติ การถอนอุปาทานออกจากการแยกโลกเป็นขั้ว เป็นข้างนั้นถือเป็นเงื่อนไขสำคัญที่สุดในการ หยั่งถึงความจริง อีกทั้งเป็นวิธีเดียวที่จะเชื่อม ความจริงสมมุติเข้ากับความจริงปรมัตถ์

ลัทธิเต๋า (เต๋า หมายถึง วิถีแห่ง ความเป็นจริง) ได้เปรียบเทียบ มู ชิน เสมือนกับแท่งสี่เหลี่ยมผิวเรียบราบ (uncraved block) ที่ไร้ตำหนิ แต่คนเรา มักจะยัดเยียดอัตลักษณ์หรือความคิดของตัว ตนเราใส่ลงไปในความจริงนั้น เมื่อจิต หลงติดอยู่ในข่ายความคิด ที่ยึดติดกับอัตตา ก็เหมือนกับควักคว้านลงไปในแท่งเหลี่ยม จนเกิดเป็นรูปเป็นรอยแหว่งเว้าเข้าไป เช่นเดียวกับสปริงที่ถูกกดอัดแน่น (compressed spring)

ถ้าเช่นนั้น เราจะเข้าสู่สภาวะสุญญตา หรือ มู ชิน ได้อย่างไร ในเซนได้พูดถึงการข้ามพ้นทวิภาวะ (non-duality) การข้ามพ้นธรรมคู่ หมายถึงการเห็น ความว่างและการเข้าใจความว่าง หมายถึง การมองเห็นความสัมพันธ์ที่อิงอาศัยกันเกิดขึ้นมี อยู่ของสรรพสิ่ง เห็นความเชื่อมร้อยเชื่อมโยง ของสรรพสิ่ง มองเห็นแม้แต่ความเชื่อมโยง สัมพันธ์ของสิ่งที่ดูเหมือนขัดแย้งกัน


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

นั่นหมายความว่า ความสว่างความมืด สั้น-ยาว ขาว-ดำ ล้วนแล้วแต่เป็น เรื่องสัมพัทธ์ทั้งสิ้นและไม่ได้เป็นอิสระจากกัน เช่นเดียวกับนิพพานและสังสารวัฏก็ไม่ได้แยก ขาดจากกัน สรรพสิ่งมิได้แยกเป็นสองขั้วเช่น นั้น ไม่มีนิพพานที่ปราศจากสังสารวัฏ ไม่มี สังสารวัฏที่ปราศจากนิพพาน เนื่องจาก เงื่อนไขในการดำรงอยู่(ของสรรพสิ่ง)ไม่ได้มี ลักษณะตัดขาดซึ่งกันและกัน

ฉะนั้น ความคิดสุดโต่งไม่ว่าจะมา จากขั้วไหน ล้วนหนีไม่พ้นเรื่องของอัตตา ที่เชื่อว่าตนเองคือผู้กำหนดความเป็นไป เห็น ว่าตนเองคือศูนย์กลางจักรวาล เป็นกิเลสอัน ประกอบด้วยตัณหา ทิฏฐิ และมานะ ตราบ ใดที่บุคคลหรือกลุ่มบุคคลยึดถือความเห็นของ ตนเป็นใหญ่ ไม่ยอมถอนอุปาทานจากทวิ ภาวะ ความขัดแย้งก็จะดำเนินไปสู่ความ รุนแรง เมื่อละเมิดกฎของสุญญตา ก็เกิดเป็น ความทุกข์ ดังนั้น การเข้าสู่ “มู ชิน” ก็คือการ ก้าวข้ามทวิภาวะ กลับสู่สภาวะแท่งเหลี่ยม เรียบ เช่นเดียวกับการปลดปล่อยสปริงที่กด ทับอัดแน่น สปริงนั้นก็จะคลายตัวดีดออกมา อย่างเป็นอิสระ ไม่เหลือแรงตึงแรงเครียด ใดๆ นั่นเองคือสภาวะ มู ชิน

การเชื่อเรื่องคู่ขัดแย้ง มีนัยยะเท่ากับเชื่อ ว่า ดี-ชั่ว ผิด-ถูก เกิดเองมีเองได้โดยไม่ อาศัยเหตุปัจจัยอื่นมาประกอบ เพราะฉะนั้น จะต้องเอาชนะคัดคานหักล้างกันลงไปให้ ได้ โดยหลงลืมไปว่า ทัศนะว่าตนเองถูกฝ่าย อื่นผิดนั้น เป็นทัศนะที่เราปรุงขึ้นเองทั้งสิ้น

แต่มูชินไม่สามารถวิเคราะห์หรือ อธิบายด้วยตรรกะเหตุผลได้ เราจะพบได้แต่ เพียงเข้าถึงประสบการณ์นั้นเท่านั้น ดังเช่นที่ พระพุทธเจ้าหรือพระอาจารย์เซนต่างๆสอน ว่า อย่าเพียงแต่เชื่อตามคำสอนแต่ให้ลงมือ ปฏิบัติ และประสบการณ์นี้ไม่ใช่ประสบการณ์ ที่มีต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใดๆ แต่มันก็คือวิถีทางที่ ธรรมชาติเป็นไปนั่นเอง มันเป็นเช่นนั้นเอง (isness หรือ suchness)


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

วิถีทางเข้าสู่สภาวะสุญญตาหรือ มู ชิน ทำได้หลายแบบ เช่น

ประตูหน้าต่างให้ลมไหลเวียนเข้าออกได้อย่าง เป็นธรรมชาติโดยไม่มีการบีบบังคับ ไม่ต้อง ใช้ความพยายามอะไร การหายใจที่ไม่เป็น การจัดการกับอัตตาตัวตน ธรรมชาติทำให้เราเหนื่อย เช่น ในเวลาโกรธ ในพุทธศาสนาบอกว่า อัตตาถูกปรุง ก็จะหยุดหายใจ บีบคั้นจังหวะหายใจ เป็นต้น แต่งสร้างขึ้นเพื่อสำแดงตัวตน คือความเป็น ตัวกูของกู ซึ่งเป็นอุปสรรคในการเข้าถึง มู ชิน ศิลปะการป้องกันตัวโดยเฉพาะไอคิ โดเป็นการเชื่อมโยงตนเองเข้ากับคู่ฝึกและ จักรวาลรอบตัว ไม่แบ่งแยกเขาเรา ไม่มี ศัตรู ไม่มีคู่ตรงข้าม แต่ทุกคนเป็นเพื่อนร่วม ฝึกที่พัฒนาไปร่วมกัน ละลายตัวตนออกไป ในการฝึกฝนร่างกายอย่างหนักหน่วง การทำสมาธิ การทำสมาธิแบบ “ซาเซน” คือการ นั่งสมาธิโดยกำหนดรู้ลมหายใจเข้าออก เช่นเดียวกับการทำโยคะก็ต้องกำหนดควบคุม ลมหายใจเช่นกัน ซึ่งเป็นหลักสำคัญใน ศิลปะการป้องกันตัว การควบคุมลมหายใจเพื่อที่จะตั้งจิต ให้มั่น (เพราะจิตก็เหมือนกับสปริงที่หดตัว ในเซนจะเรียกว่าเป็นจิตของลิงที่ไม่ชอบอยู่ นิ่ง) การนับลมหายใจ หากทำไปนานๆก็ จะสามารถหายใจเข้าออกได้อย่างเป็น อิสระ เป็นจังหวะ เช่นเดียวกับการเปิด

การทำสมาธิทำได้หลายแบบ เช่น การ นั่ง การเดิน การวิ่ง การภาวนาโกอัน (koan) ศิลปะเช่นบทกวีไฮกุ พิธีชงชา การ จัดดอกไม้ รวมทั้งศิลปะการป้องกันตัว(moving zen) เช่น การยิงธนู การฟันดาบ คาราเต้ และไอคิโด เป็นต้น หน้า ๓๖


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

การปฏิบัติตนไปตามธรรมชาติ มีคำในภาษาจีนสองคำที่อธิบายหัวข้อนี้ หวู-เว่ย คือ การปฏิบัติตนไปตาม ครรลองของธรรมชาติ ไม่มีการเจือปน ไม่ทำ มากจนเกินไป (over doing) เว่ย คือ ความสงบอันสร้างสรรค์ (creative quietness) หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์จะเข้ามาเมื่อเกิดความสงบ

บางครั้งเราทำมากเกินไปเพราะเรา ไม่รู้ จึงได้ใส่ความคิดของตนเองลงไป เช่นเดียวกับแท่งเหลี่ยมที่ถูเจาะเป็นรูพรุนเมื่อ จิตหลงติดอยู่กับข่ายความคิด ความสงบจึง เกิดขึ้นไม่ได้ ฉะนัน เราจึงควรเข้าใจและ ดำเนินไปตามวิถีแห่งความเป็นไปใน ธรรมชาติ

ตัวอย่างของการทำสมาธิเพื่อฝึกฝนจิต ไม่ให้ทำมากเกินไปในหลักการของเซนอัน หนึ่งก็คือ ศิลปะการวาดภาพด้วยพู่กัน เมื่อ มีตัวอย่างเรื่องเล่าของการทำมากเกินไป จรดพู่กันลงไปแล้วไม่สามารถกลับไปแก้ไข อาจารย์ให้ลูกศิษย์วาดรูปงูในเวลาสามนาที ได้อีกต่อไป ไม่สามารถแช่พู่กันลงบนภาพ แต่ศิษย์ใช้เวลาเพียงแค่หนึ่งนาทีเท่านั้นก็วาด ได้นานๆ เสียเป็นเสีย เสร็จเป็นเสร็จ ภาพเสร็จ เหลืออีกสองนาทีไม่รู้จะทำอะไร ก็ การฝึกฝนศิลปะการป้องกันตัวก็เช่น เลยใส่ขางูลงไป เดียวกัน ในภาวะที่ต้องเผชิญกับสิ่งที่อยู่ตรง หน้าทำให้ไม่มีเวลาให้คิดถึงเรื่องที่อยู่นอก เหนือออกไป หากลังเลหรือใจลอยเพียง แค่เสี้ยววินาทีก็อาจเกิดอันตราย ได้ การคำนึงถึงการประดิษฐ์ ท่วงท่าหรือคิดกังวลกับการ สำแดงตัวตน ทำให้การ เคลื่อนไหวไม่ลื่นไหลเพราะ จิตใจฟุ้งซ่านไม่นิ่ง แต่หาก เราไม่ทำมากเกินไป เคลื่อนไหวอย่างเป็นธรรมชาติ ก็คือวิถีที่สร้างสรรค์ในการเข้าถึง สภาวะอันสงบ หน้า ๓๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

การเจริญสติ การอยู่ในปัจจุบันขณะสำคัญมากสำหรับเซน อยู่ ณ ที่นี่ ตอนนี้ บางครั้งคนมีคำถาม ว่าทำไมเราจึงรู้สึกเบื่อ คำตอบของเซนจะอธิบายว่า ความเบื่อหน่ายคือการไร้ความสามารถ ที่จะต่อกรกับปัจจุบันขณะ พระเซนเอาไม้บรรทัดวางพาดบนนิ้ว เพื่ออธิบายปัจจุบันขณะ ตรงกลางไม้บรรทัดก็คือ ปัจจุบัน ปลายด้านหนึ่งคืออดีต(เมื่อวานนี้) อีกด้านคืออนาคต(วันพรุ่งนี้) หากเลื่อนนิ้วออก ไป ไม่ว่าจะไปทางปลายด้านไหนไม้ก็จะร่วงลงมา ความกรุณา

ความรักความเมตตา ในสภาวะ มู ชิน จิตของเราจะได้รับ การพัฒนาให้เป็นผู้มีจิตเมตตา พระเซนจะบอก ว่า ท่านไม่สามารถสอนคนให้รักและเมตตา คนอื่นได้ แต่ท่านสอนให้ละวางซึ่งตัวตน เมื่อ ไม่มีตัวตนแล้ว สิ่งที่หลงเหลืออยู่ก็คือความรัก ความเมตตาซึ่งอยู่ในจิตใจของเราอยู่แล้วก็จะ ปรากฏตัวออกมาอย่างเป็นธรรมชาติ

เช่นเดียวกับความ รักความเมตตา เราไม่ สามารถสอนให้คนมี ความกรุณาได้ แต่ ความกรุณาอยู่ในตัว ของเราทุกคน การ ฝึกฝนและใช้ชีวิตแบบ เซนก็เพื่อจะขัดเกลา และเข้าสู่สภาวะ มู ชิน การฝึกศิลปะการป้องกันตัวและการฝึก สมาธิ ก็เพื่อมีประสบการณ์โดยตรงกับ สภาวะ มู ชิน เข้าสู่สุญญตา สู่การหลุดพ้น หรือนิพพาน และเพื่อปฏิบัติตนด้วยความ กรุณาต่อสรรพสิ่ง ซึ่งความกรุณาจะมาเอง เมื่อเราได้สัมผัสประสบการณ์ นั้นๆแล้ว

หน้า ๓๘


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

1. เพื่อฝึกฝนร่างกายให้ควบคุมจิตให้นิ่ง การเคลื่อนไหวจะช่วยพัฒนาจิตให้นิ่ง เป็นสมาธิ กายใจประสานเป็นหนึ่ง รักษา จุดศูนย์กลาง และสามารถเข้าสู่สภาวะ มู ชิน แต่ไม่ใช่ว่าสภาวะนี้จะได้มาทันทีทันใด ต้อง มีการฝึกฝนและพัฒนาไปเรื่อยๆ 2. เห็นคู่ต่อสู้ในตัวเราและเห็นตัวเราในคู่ต่อสู้ เช่นเดียวกับแนวคิดของมาร์ติน บูเบอร์ “I and Thou” คือ เมื่อฉันเห็นคุณ ฉัน เห็นตัวฉันในคุณ ฉะนั้น ฉันจึงควรปฏิบัติกับ คุณเช่นเดียวกับที่ฉันปฏิบัติกับตัวเอง 3. ไม่มีผู้แพ้ผู้ชนะ ความคิดแบบโลกียะมักจะนิยมการ แข่งขันและการแพ้ชนะ แต่ความคิดของ เซน จะไม่มีผู้แพ้ ผู้ชนะ ไม่มีชัยชนะ ไม่มีการพ่ายแพ้ แต่กระบวนการสำคัญกว่า ก็ คือ หากมุ่งเน้นไปที่จุดหมายปลายทาง เท่านั้น อัตตาก็จะเข้ามาจับจิตได้ ฉะนั้น จึงพึงกระทำโดยไม่มีความ อยากว่าจะต้องชนะ แนวคิดนี้ได้ รับมาจากฮินดู มหาตมะคานธีพูด ว่า ในภควคีตา สงครามเป็น แค่อุปกรณ์ประกอบฉากที่ทำให้เราคิดถึง ชีวิต ไม่ใช่ให้คิดถึงตัวสงคราม

4. ศิลปะการป้องกันตัวควรช่วยให้เรา เข้าใจว่าเราต้องทะลุข้ามผ่านจิตที่เต็มไป ด้วยเหตุผล (rational mind) เข้าสู่ สหัชญาณ (intuitive mind) การหยั่งรู้ที่เกิดขึ้นเองนั้นไม่ได้ใช้ เหตุผลเข้ามากำกับ เช่นเดียวกับแท่ง สี่เหลี่ยมที่ไม่ได้ถูกเจาะ แต่เราจะคิดและ แสดงออกอย่างเป็นธรรมชาติตามสัญชาติ ญาณของเราได้อย่างไร ตัวอย่างเช่น นักดนตรีเวลากำลัง แสดงคอนเสิร์ต เมื่อใดก็ตามที่จิตกระหวัด ไปว่า จะต้องทำให้ดีที่สุด ก็มักจะทำได้ไม่ ค่อยดี แต่หากบรรเลงไปโดยไม่ต้องคิดแต่ ลื่นไหลไปกับดนตรีอย่างเป็นธรรมชาติ ก็จะ สามารถจบการแสดงลงได้ด้วยดี ภาพจาก http://diburros.blogspot.com/2009/06/aikido.html

หน้าที่ของศิลปะการป้องกันตัว

หน้า ๓๙


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

ธรรมชาติไม่เคยก่อให้เกิดความผิดพลาด บางเวลาพระอาจารย์ก็จะเข้ามาบอกว่า ด้านสุนทรียศาสตร์ “ไม่ใช่ คุณไม่เรียนรู้อะไรเลย” ทั้งที่เขายิง ถูกเป้าตรงกลางพอดี บางทีเขาก็รู้สึกโกรธ แต่การจะเล่นดนตรีให้ดี ให้งาม ให้มี สุนทรียะได้นั้นก็ต้องมีการฝึกฝนมาอย่าง วันหนึ่ง เขายิงลูกธนูออกไปแล้ว เชี่ยวชาญ เช่นเดียวกับนักไอคิโด จำต้องมี พลาดเป้า พระอาจารย์ตะโกนว่า “ยิงโดน การฝึกฝนอย่างหนักจนสามารถแสดงท่าได้ แล้ว” ทันใดนั้น เขาก็เข้าใจว่า มู ชิน อย่างสวยงามกลมกลืนโดยไม่ต้องคิดแต่ตอบ คืออะไร สนองโดยสัญชาติญาณ ไม่มัวกังวลถึงเทคนิค สำหรับไอคิโด ในมุมมองของเซน วิธีหรือความงดงามของท่วงท่า ให้ไปให้เหนือคำสอน ไปสู่สภาวะ no การเล่นดนตรีหรือไอคิโดให้ลื่นไหลเป็น mind ไปให้เหนือเหตุผล เป็นหนึ่งเดียว ธรรมชาติ ดูง่ายดายไม่สามารถเกิดขึ้นได้เลย กับการเคลื่อนไหวของเรา ไอคิโดคือวิถีที่ หากปราศจากการฝึกฝนซ้ำซากดูน่าเบื่อหน่าย เราปล่อยให้มันกระทำไปโดยตัวของมันเอง แต่นั่นคือการฝึกทักษะที่สำคัญจนกลายเป็น ธรรมชาติที่สองที่ไม่ทันได้คิดก็ตอบสนองออก ไปได้ทันท่วงที บทความนี้ถอดความมาจากการสนทนากับ ศจ.ดร.อิชวาร์ แฮริส อาจารย์พิเศษจากภาควิชาศาสนา วัฒนธรรมและ 5. ผู้กระทำและการกระทำกลายเป็นหนึ่ง สันติภาพ มหาวิทยาลัยพายัพ ต้องขอขอบพระคุณอาจารย์ มา ณ ที่นี้ ที่กรุณาเตรียมข้อมูลอย่างดี ในการเรียบเรียง เดียวกัน บทความนี้ขึ้น ก็ได้รวบรวมเอาข้อมูลอื่นๆเข้ามาประกอบ หากผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย หมายถึงไม่เกิดการแบ่งแยกเป็นทวิ สามารถอ่านข้อมูลเรื่องต่างๆเพิ่มเติมได้ที่ ลักษณ์แต่ประสานกลมกลืนไปด้วยกัน พระโพธิธรรม ในหนังสือ Zen in the Art http://thai.mindcyber.com/modules.php? of Archery พูดถึงนักวิชาการชาว name=Sections&op=viewarticle&artid=2 30&page=3 เยอรมันและภรรยาไปขอศึกษาเซนกับพระ อำนาจแห่งความว่าง ความว่างแห่งอำนาจ : ปาฐกถา ในประเทศญี่ปุ่น พระท่านให้ธนูกับลูกศร เสกสรรค์ ประเสริฐกุล แล้วบอกให้ไปยิงเป้า แม้สงสัยว่าทำไม แต่ http://www.skyd.org/site/view.php?grou p=5&aid=370 ก็ยอมปฏิบัติมาเป็นเวลาหกปี ในบางครั้ง หน้า ๔๐


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

Aikido(ka) in Focus นักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่เป็นสมาชิกชมรมไอคิโดโดยส่วนมากเมื่อจบ การศึกษาไปแล้วก็มักจะดูเหมือนจบการศึกษาเรื่องไอคิโดไปด้วย เป็นที่ทราบกันดี สําหรับผู้ฝึกไอคิโดทุกคน ว่าต้องการจบการศึกษา แต่ชีวิตนี้ไม่ต้องการจบการเรียนไอคิ โด หากเป็นเพราะวิถีชีวิตที่โคจรออกไปตามภาระหน้าที่ รอวันที่จะได้โคจรมาพบอีกที่ก็ไม่ รีรอที่จะหยั่งรากลงอีกทีเหมือนกับ “อาจารย์วัชรพล ศุภจักรวัฒนา(เอ็กซ์)” ที่เริ่มฝึกไอคิโด ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เมื่อ สิบปีที่แล้ว ครั้งยังเป็นนักศึกษาคณะรัฐศาสตร์ นอกจากนี้ ยังดํารงตําแหน่งประธานชมรมฯที่ขันแข็ง ซึ่งขณะนี้เป็นอาจารย์ภาควิชารัฐศาสตร์เเละ รัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรจังหวัดพิษณุโลก และกลับมาฝึกไอคิโด มช. ในวันที่ กลับบ้านที่เชียงใหม่

Focus : เหตุผลที่ยังกลับมาฝกใหม เอ็กซ : เอาจริงๆมั้ย Focus : เอาจริงๆสิ เอ็กซ : มันยายมาอยูใกลดวย แลวผม ก็ชอบกีฬาอยูแลว และไอคิโดก็เปนสวนนึง ที่เลนมา ตอนอยูสารคามก็ไมไดเลน Focus : ออเคยไปอยูสารคาม (มหา สารคราม) ดวยเหรอ เอ็กซ : เคยไปสอนที่สารคาม ผมก็เลน ยูโด อยูกรุงเทพฯผมก็เลนบาสเก็ตบอล เลน ฟตเนส โอกาสที่จะไปฝกไอคิโดมันยากนะ ครับ เรียนหนัก Focus : เอกซจบมช.ไปกี่ปแลวนะ เอ็กซ : ผมรหัสที่นี่นะ 43 Focus : 10 ปมาแลว หน้า ๔๑


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

เอ็กซ : ใชครับ ฝกไอคิโดที่นี่ก็ 5 ป แลวก็ไปทำงาน อยูแปบนึงนะฮะแลวก็ไปเรียนตอที่กรุงเทพฯ Focus : เอ็กซพอจะจำไดมั้ยตอนมาเริ่มฝกเมื่อ 10 ปนูน มาฝกเพราะวัตถุประสงคอะไร แลวตอนที่กลับมา ฝกอีกครั้งตอนนี้มีวัตถุประสงคอะไร แตกตางกันมั้ย เอ็กซ : ไมแตกตางกันครับ เพราะวาผมเองเปนคน ชอบใชเวลาวางเลนกีฬา แลวชอบฝกสมาธิ สวนหนึ่ง การเลนกีฬามันเทากับการฝกสมาธิสำหรับผมนะซึ่ง ไอคิโดมันก็แมทเลย มันทำใหเราอยูกับตัวเองรูนิสัยตัว เอง และรูจักคนรอบขางไดดวย Focus : หมายความวาที่ฝกไอคิโดเพราะวา... เอ็กซ : ฝกฝนตัวเอง ฝกสมาธิ จริงๆไอคิโดมัน แมทช (สอดคลอง - focus แปลเอง)กับวิถีชีวิต Focus : ยังไงละ เอ็กซ : สอดคลองกับการใชชีวิตหลายเรื่อง เชน การดำเนินชีวิตในปจจุบันนะครับ การโอนออนผอนตาม การแกปญหา ปญหาที่เขามาเราก็มีหลายทางที่ จะระงับปญหานั้น ไมจำเปนจะตองเดินชนมันอยางเดียว ผมเคยมีหลายๆเรื่องที่ปรับไปใช หลายเรื่องที่ เราไมจำเปนตองชนะนะฮะ Focus : คิดอยางนี้มากอนที่จะฝกไอคิโดหรือไอคิโดทำใหคิดไดแบบนี้ เอ็กซ : สำหรับผมนะ ไอคิโดทำใหคิดไดอยางนี้ หลายเรื่องที่ไดจากตรงนี้ Focus : สวนที่วาไดมาจากไอคิโดเนี่ย ไดมายังไง เอ็กซ : สวนนึงไดมาจากการเรียนรูจากอาจารย และสวนหนึ่งก็อานหนังสือครับเชนปรัชญาของไอคิ โด จริงๆผมเปนคนที่คอนขางจะเอาจริงเอาจัง ถาจะทำอะไรก็จะทำจริง Focus : ชมรมไอคิโดเราเนี่ย สมัยที่เอ็กซเปนประธานชมรมฯกับตอนที่กลับมาฝกอีกครั้งเหมือน หรือแตกตางกันมั้ย เอ็กซ : ความรูสึกเนี่ยไมแตกตางกันเลย แบงเปนสองประเด็นดีกวา ประเด็นแรกเนี่ยคือสมาชิกไม ไดแตกตางเลย Focus : คือ? เอ็กซ : สมาชิกมีคนเกาๆ และก็มีคนนอยเทาเดิม Focus : โห !!! ชมรมฯ ไมพัฒนาขึ้นเลย เอ็กซ : แตในแงของสถานที่ ก็ดีขึ้นนะครับ หน้า ๔๒


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

Focus : แลวมีอะไรที่เอ็กซอยากเห็นการเปลี่ยนแปลงบาง เอ็กซ : ที่อยากเห็นการเปลี่ยนแปลงคือจำนวนสมาชิกถามันเพิ่มขึ้นหรือคนมาซอมเยอะๆ มันก็สง เสริมการเจริญเติบโตของเราดวย มีคนทำงานมากขึ้น (...มองไปทางพี่ปอม)ไมใชวาพี่ปอมก็ทำเปน หนาที่หลักมาตั้งนานที่จริงนาจะเปนหนาที่ของสมาชิกนองๆที่ตองชวยกัน เสียงพี่ปอมแทรกมาวา...งานมันจะไมตอเนื่องเพราะนองๆก็จบกันไป Focus : จริงๆคนก็เขามามากหนาหลายตาและก็เยอะนะแตวาอยูไมทน อาหมอผูนำฝกประจำของเราปรี่เขามารวมออกความเห็นวา.. “ เปนเพราะคนสอนไมจูงใจ หรือวิธี การเรียน เอ็กซ : อีกอยางนึงดวยผมคิดวาดวยลักษณะวิชาครับ สำคัญเลย วิชามันไมสนองความตองการ กับวัยรุนที่ตองการเห็นชัดเจน รูสึกวาไดทำไดกระทำกับคนอื่น ถาเคาไมศึกษาอยางจริงๆเคาจะไมรูจัก วา...มันไมใชอยางนั้น ความจริงฝกศิลปะการตอสูมันเปนการฝกจิตใจซะมากกวา การที่เราจะเปนนัก ตอสูที่แทจริงคือตองเอาชนะจิตใจตนเอง Focus : โอโห!!!!.... แปะ แปะ แปะ แปะ.....มีเสียงตบมือตามมา เอ็กซ : ทำไมผมเลือกเลนอันนี้…ผมเลนยูโดมา ตั้งปกวา แตมาเลือกไอคิโดเพราะรูสึกวามันไมตอง ไปแขงขันนะฮะ อยางยูโดตองไปสอบ ตองชนะคน อื่นใหไดกอนถึงจะไดสาย ใชมั้ยฮะอาหมอ(หันไป ขอเสียงสนับสนุน)คือมันสนับสนุนการตอสูนะ Focus : ถาอยางนั้นไอคิโดก็เลือกคนสิ ใช มั้ย? เอ็กซ : ใชครับ ไอคิโดจะเลือกคนที่มีความ คิดอีกแบบนึง เชน อยากเรียนรูคน มีความ อดทน มีความเคารพตัวเอง เคารพเพื่อนรวม เบาะ ตอนที่ผมกลับมาเลนอีก ผมเห็นนองๆไป กันสายสูงๆกันหมดแลว แตทายที่สุดมันขึ้นอยู กับเรานะครับ มันพัฒนาจากตัวเรา ตัวเรา พัฒนาเองมากกวา นองสายสูงกวาเราบนเบาะ เราก็ตองเคารพนอง ในโลกของความเปนจริงมันก็เปนอยางนั้นนะฮะ เอ็กซ : ไปฮะ..อาหมอเรียกซอมตอแลว Focus : เอ!!! เราเลือกไอคิโด หรือไอคิโดเลือกเรา นะ! หน้า ๔๓


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

มาเยี่ยมมาเยือน Joseph Eli Cong (3 kyu)

โจอี้เป็นนักเรียนไอคิโดจากเมืองบาโคลอด เกาะไนกรอส ประเทศฟิลิปปินส์ โจอี้เกิดที่เชียงใหม่เนื่องจากคุณแม่ทํางานที่น่ีแต่ก็กลับไปโตที่ฟิลิปปินส์ โจอี้ฝึก ไอคิโดมาได้แปดปีแล้วที่โดโจ Kyokan ภายใต้ Noel Fuentes sensei ตอนนี้ ก็อายุได้ ๒๕ ปีก็ได้กลับมาเยี่ยมเชียงใหม่อีกครั้งและพยายามจัดเวลาเพื่อจะได้มา ฝึกกับชาวม.ช.แม้ว่าจะต้องลงทุนซื้อชุดฝึกชุดใหม่ก็ตามที

Kyokan Dojo Bacolod Affiliate of Aikido Philippines Chief instructor: Noel Fuentes 2026 Uno de Mayo Street Capitol Heights Bacolod City, Philippines Tel. +63 34-4341691 Email: noel_07@hotmail.com Website: www.kyokan-dojo.ph หน้า ๔๔


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

มาเยี่ยมมาเยือน Ishida Sumiko (2nd dan)

คุณสุมิโกะ

คุณสุมิโกะและคุณเคโกะเป็นเพื่อนกันตั้งแต่สมัยเรียนที่มหาวิทยาลัยวาเซดะ กรุง

โตเกียวประเทศญี่ปุ่น และได้ฝึกฝนไอคิโดกับทาดะเซนเซตั้งแต่สมัยตอนเป็นนักศึกษา แต่พอเรียนจบก็ห่างเหินไปนานถึง ๓๕ ปี จนกระทั่งเกษียณ คุณสุมิโกะจึงได้กลับมาฝึก ไอคิโดอีกครั้ง กับทาดะเซนเซที่เกสโซจิโดโจเมื่อปีที่แล้ว

คุณเคโกะเล่าว่า เมื่อห้าสิบปีก่อนได้ดูโทรทัศน์

ได้เห็นปรมาจารย์โมริเฮอิ อูเอชิบะสาธิตไอคิโด ก็ เลยตัดสินใจตั้งแต่บัดนั้นมาว่าจะต้องฝึกไอคิโดให้ได้ กระทั่งได้มาเข้ามหาวิทยาลัยก็ไม่รีรอ ไปขอสมัครฝึก ไอคิโดทันที แต่ก็พบว่าปรมาจารย์ท่านได้เสียชีวิตไป แล้ว ทุกวันนี้คุณเคโกะบาดเจ็บที่ขาไม่สามารถฝึก ไอคิโดได้ แต่ก็ยังแวะเวียนมาดูการฝึกอยู่บ่อยๆ เธอเล่าอีกว่า สามีในช่วงแรกๆที่คบกันตอน เป็นนักศึกษา เขาต่อต้านไอคิโดทีเดียว แต่ต่อมาได้ ไปสอนในโรงเรียนมัธยม พบว่าเด็กๆมีการรังแกกัน อย่างรุนแรง จึงได้เริ่มฝึกไอคิโดที่เกสโซจิโดโจ เพื่อ คุณเคโกะ

นําปรัชญาไอคิโดไปสอนเด็กๆและสอนการป้องกัน ตัวให้เด็กๆด้วย หน้า ๔๕


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

ทั้งคู่เล่าว่าอ่าน

เจอชมรมไอคิโดจาก หนังสือพิมพ์ญี่ปุ่น “Chao” ก็เลยหอบ หนังสือขึ้นรถแดงเข้า มาในม.ช. แล้วก็เดิน วนหาเกือบครึ่งชั่วโมง ในที่สุดก็พบ และดีใจ มากที่ได้มาร่วมฝึก

คุณสุมิโกะบอกว่า

หากชาวม.ช.จะไปที่ โตเกียวก็แวะไปพักที่ บ้านของเธอได้ ออกจะ ไกลไปสักหน่อย แต่ก็ สะดวกพอควร และเธอ จะขับรถพามาฝึกที่เกส โซจิโดโจด้วยกัน

Gessoji Dojo Chief instructor: Tada Hiroshi shihan Senior instructor: Tsuboi Takeki shihan

1-11-26 Honmachi, Kichijoji, Musashino-shi, Tokyo-to 180 Japan Tel: +81 (0422) 21-7100 Fax: + 81(0422) 43-1189 หน้า ๔๖


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

Aikido Family

ขอแสดงความยินดีกับคนที่สอบ สายผานเมื่อวันอาทิตยที่ 6 ก.ย. ปง แบงค ขวัญ พี่จรัญ ปใหม และ พี่ปอมรับมอบใบประกาศโชดั้ง

หน้า ๔๗


CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๕ วันที่ ๑ พฤศจิกายน - ธันวาคม ๒๕๕๓ (ปีที่ ๔)

Aikido Family

ได้ฤกษ์ล้างห้องน้ํา ขอบคุณสมาชิกทุกท่านที่มี สปิริตไอคิโดช่วยสละเวลา ล้างห้องน้ําให้พวกเราได้ใช้ ห้องน้ําสะอาดๆกัน

ปฏิทินกิจกรรม ! ฝกประจำสัปดาห! จันทร-พุธ-ศุกร ๑๘.๐๐ - ๒๐.๓๐ น.M M M M M สถานที่ฝก ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม M M M ใตถุนตึกอาคารกิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม หน้า ๔๘


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.