CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
AikidoCMU NEWSLETTER
ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาคารกิจกรรมนักศึกษา (อ.มช.) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถ. สุเทพ อ.เมือง จ. เชียงใหม่ 50200 ติดต่อได้ที ่ อ๊อบ (ประธานชมรม) 081-7221227
ป๋อม (ผู้ประสานงานชมรม) 089-701 7686
กบ (บรรณาธิการจดหมายข่าว) 081-405 5379
Email : AikidoCMU@gmail.com Facebook : Aikido CMU Blog : http://aikidocmu.wordpress.com
หน้า ๑
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
พี่ปิงขา...... ลงไปอยู่บางกอกแล้วอย่าลืม แวะกลับมาหาน้องที่เจียงใหม่ บ้างนะฮ้า.......
นักเขียนในฉบับ ดร.สมบัติ
สารบาญ
ตาปัญญา
ความกลมกลืนกับผูอื่น : บทเรียนเรื่องความรักจากไอคิโด .....ดร.สมบัติ ตาปญญา ๓ ชนะโดยการแพ .....อ.ธีระรัตน บริพันธกุล ๘
อ.ธีระรัตน์
เทาไมไดมีไวเตะ ... วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ
๑๐
บริพันธกุล ชูชีพ สุนทรานนท์
สุภาษิตโกะกับขาพเจา ๙ : ความสามารถทัดเทียม ผูมีไหวพริบยอมไดเปรียบ ..... NOURNOURS’ MOM
๑๒
สัมภาษณอาจารย ฮายาโตะ โอซาวะ .... ซือเป
๑๖
สิ่งสำคัญที่มักถูกลืม .... ชูชีพ สุนทรานนท
๒๒
AIKIDO FAMILY : ชมรมไอคิโดลำปางจัดงานสาธิต ๒๖ AIKIDO FAMILY : อบรมการปองกันภัยทางเพศ
๒๗
AIKIDO FAMILY : สาธิตไอคิโด งาน “นิฮงไซ”
๒๖
AIKIDO FAMILY : ฝกพิเศษกับ อ.ฮัตโตริ ทากาโอะ
๓๐
AIKIDO FAMILY : ขอแสดงความยินดี
๓๒
วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ์
Nounours’ Mom
ซือเป๋
หน้า ๒
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
ความกลมกลืนกับผูอื่น บทเรียนเรื่องความรักจากไอคิโด
ผศ.ดร. สมบัติ ตาปญญา
จดหมายขาวฉบับนี้เดือนกุมพาพันธ เปนเดือนแหงความรักหรือวันวาเลนไทน คงตอง พูดถึงความรักกับไอคิโดเสียหนอยตามธรรมเนียม ในการฝกวิชาไอคิโดเราจะพูดกันบอยๆ ถึงการฝกสรางความกลมกลืนระหวางคูฝกสอง คนที่กำลังฝกดวยกัน ดังที่เปนที่ทราบกันดีอยูแลว วาคำวา “ไอ” ในคำ “ไอคิโด” แปลวา “ความ ประสานกลมกลืน” หรือบางครั้งก็แปลวา “ความรัก” ในการฝกไอคิโดเราจึงตองพยายามทำให การเคลื่อนไหวของเรากลมกลืนลื่นไหลไปกับคูฝกเสมอ จะไมมีการปะทะ กระทบกระแทก หรือ การพยายามทำใหอีกฝายหนึ่งบาดเจ็บโดยเจตนา แตภายในใจของนักไอคิโดควรจะมีแตความ คิดที่จะปกปองคุมครองอีกฝายหนึ่งดวยความรักความเมตตา (loving protection) แตในขณะ เดียวกันก็ตองมั่นคง ไมเสียศูนยการทรงตัว (ทั้งทางรางกายและทางจิตใจ คืออารมณก็มั่นคง หนักแนนดวย) ตลอดเวลา ในชีวิตจริง ความสัมพันธที่อยูบนพื้นฐานของความรักและความเมตตาก็เชนเดียวกัน แตละฝายจะพยายามกลมกลืนกับอีกคนหนึ่งเสมอ ไมมีเจตนาที่จะทำรายหรือทำใหเจ็บปวด มี แตจะคุมครองปกปอง ดูแล ใหปลอดภัยและมีความสุขใหมากที่สุดที่จะทำได ไมวาคนๆ นั้นจะ เปนพอ แม พี่นอง ลูก คนรัก เพื่อน แมกระทั่งสัตวเลี้ยงหรือใครก็ตามที่เรารูสึกรักและเมตตา ในวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ นักจิตวิทยาไดทำการทดลองและพิสูจนใหเห็นไดวาความ กลมกลืนในความสัมพันธระหวางแมกับลูก (หรือพอกับลูก) เปนรากฐานของความรักความ ผูกพันที่เด็กจะตองพัฒนาใหมีตอพอแมกอน แลวจึงขยายวงใหกวางออกไปถึงสมาชิกคนอื่นๆ ในครอบครัว ญาติ เพื่อน และคนอื่นๆ ในชีวิตของเขาเมื่อเติบโตขึ้นไปตามลำดับ หน้า ๓
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
การทดลองทางจิตวิทยาอันหนึ่งที่นาสนใจคือเขาเอาเด็กที่เพิ่งคลอดออกมาใหมๆ ประมาณสิบนาที ใหพออุมอยูสักครูหนึ่ง ขณะที่อุมนั้นพอจะสบตาลูก แลวเคลื่อนไหวหนาตา เชน อาปาก แลบลิ้น จะเห็นไดชัดวาลูกจะทำตามทันที แสดงวาเด็กจะคอยสังเกตผูใหญอยูตลอดเวลา และพยายามทำตามหรือเลียนแบบ (ทำตัวใหกลมกลืน) การทดลองแบบนี้เรียกชื่อวา “การเลียน แบบของเด็กหลังคลอด (neonate imitation)”
หากอยากเห็นวิดีโอใหลองใชคำภาษาอังกฤษนี้คนดูใน YouTube ไดเลย ยิ่งไปกวานั้น นักวิจัยในเยอรมนียังคนพบดวยวาเด็กเรียนรูหรือเลียนแบบผูใหญมาแลวตั้งแตอยูในทองแม โดย เฉพาะในชวงสามเดือนกอนคลอด เพราะตอนนั้นหูของเด็กสามารถไดยินเสียงไดแลว เขาพบวา เมื่อเด็กคลอดออกมาแลวรอง “อุแว!!” จะมีสำเนียงคลายแมของตนเอง คือเด็กทารกเยอรมันจะ เนนพยางคแรก เพราะคนเยอรมันจะพูดแบบนั้น (เชนเรียกแมวา “มามา”) สวนเด็กทารกฝรั่งเศส จะเนนพยางคหลัง เพราะคนฝรั่งเศสจะพูดแบบนั้น (เชนเรียกแมวา “หมามา”) ขอมูลนี้สามารถ คนหาดูใน Google และฟงเสียงเด็กเปรียบเทียบกันได โดยใชคำคนวา “new born accents” เรื่องนี้หากคิดใหดีก็ไมแปลกอะไร เพราะเราจะเลียนแบบคนที่เรารักหรือใกลชิดเสมอ เชน เดินเหมือนแม หัวเราะเหมือนพอ หรือเวลาที่เราสนิทกับเพื่อนบางคนหรือใชเวลาอยูกับ แฟนมากๆ เราจะยืมเอาคำพูดหรือสำนวนภาษาของเขามาใช หรือทำหนาตาทาทาง คลายเขาโดยไมรูตัว หน้า
๔
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
สามีภรรยาที่อยูดวยกันมานานหลายป (ดวยความรักกัน ไมใชอยูเพราะจำใจ) จะทำ หนาตาคลายกันมากขึ้นเรื่อยๆ จนบอยครั้งคนแปลกหนาจะทักวาเปนพี่นองกันหรือเปลา ความ สามารถแบบนี้นักวิจัยเพิ่งคนพบไมนานมานี้วาเปนเพราะเรามี “เซลกระจกเงา (mirror neuron)” ในสมองของเรา ทำใหเราสามารถเขาใจหรือคาดเดาความรูสึกของคนอื่นๆ ได แตการทดลองอีกอันหนึ่งที่ดูแลวยิ่งทำใหเห็นไดชัดวาความตองการที่จะกลมกลืนหรือ ไดรับความกลมกลืนจากคนที่เรารักนั้นมีพลังอำนาจอยางยิ่ง คือการทดลองที่เรียกวา “การทำ หนานิ่งเฉย (Still Face Experiment)” ซึ่งเปนการทดลองระหวางแมกับเด็กทารก โดยใหเด็กนั่ง เอนบนเบาะแลวแมนั่งอยูขางหนา ในเวลาที่เด็กกำลังสบายๆ (ไมงวงไมหิว) และอารมณดี จะ เห็นไดวาตามธรรมชาติแมก็จะสงเสียงหยอกลอกับลูก และลูกก็จะตอบสนองดวยการทำหนาตา ทาทางที่เขากันไดดีกับแม ภาษาทางจิตวิทยาจะเรียกพฤติกรรมแบบนี้วา “attunement” ซึ่งก็ แปลวาการปรับตัวให “กลมกลืน” ตอกันและกันของแมและลูกเหมือนเวลาเราฟงวิทยุเราจะตอง “จูนคลื่น” คือพยายามปรับหาตรงที่ฟงไดชัดที่สุดนั่นเอง
แตในการทดลองนี้ผูทดลองจะบอกแมไวกอนวาในขณะที่ลูกกำลังมีความสุขอยูนี้ใหแม แกลงทำหนานิ่งเฉยทันที และใหพยายามทำหนาแบบนั้นอยูประมาณ 2 นาที จะเห็นไดชัดวาลูก จะเริ่มพยายามเรียกรองความสนใจจากแม เชนสงเสียง ชี้มือ พยายามแตะหรือจับที่หนาแม แต พอไมไดรับการตอบสนองลูกก็จะเริ่มหงุดหงิดและรองไหออกมาอยางเจ็บปวด บางคนที่ดูวิดีโอการทดลองนี้อยางตั้งใจจะพลอยเจ็บปวดกับเด็กไปดวยจนแทบจะทนไม ไหว (แตไมตองเปนหวงเด็กนะครับ เพราะเพียงสักครูเดียวแมก็จะกลับมาปลอบและหัวเราะเลน กับลูกอยางเดิม ถาอยากดูวิดีโอนี้ใหเขาไปคนไดที่ YouTube อีกเชนเคย ใชคำคนวา Still Face Experiment: Dr. Edward Tronick) หน้า ๕
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
ทั้งนี้เปนเพราะตามธรรมชาติของคนตองการการตอบสนองที่ “กลมกลืน” จากคนใกลชิด เสมอ และเราเรียนรูที่จะรักและผูกพันกับคนอื่นๆ จากประสบการณเชนนี้นี่เอง เด็กที่โชครายเชน มีแมที่เปนโรคซึมเศราหรือวิตกกังวล มีพอที่ไมสนใจ (มัวแตหมกมุนกับงาน) ไมตอบสนองทาง อารมณกับลูก คือเมินเฉยตอความรูสึกหรือความตองการของลูก หมกมุนอยูแตกับตัวเอง เมื่อเขา โตขึ้นมาจึงรักใครไมเปน เพราะเขาไมเคยเรียนรูการ “กลมกลืน” กับผูอื่นมากอน a สัปดาหกอนผมไปเยี่ยมสถานเลี้ยง เด็กกำพราและก็ไดประสบการณเชนนี้จริงๆ คือเด็กที่นี่สวนใหญมาจากการที่แมทอดทิ้งเขา คือไปคลอดที่โรงพยาบาลแลวแมก็หนีออกไป ทิ้งลูกไวที่นั่น เมื่อมาอยูที่สถานเลี้ยงเด็กกำพรา มีเด็กแบบนี้อยูหลายสิบคน แตมีคนเลี้ยงเพียง 5-6 คน ไมสามารถมากอด อุม พูดคุยเลนกับ เขาได เด็กจึงถูกทิ้งใหอยูคนเดียวเปนสวนใหญ เมื่อนานเขาเด็กก็ไมสามารถสรางความรัก ความผูกพันกับคนอื่นๆ ไดอีก หรือบางครั้งก็ทำตรงกันขาม คือเมื่อโตขึ้น เดินไดแลว ก็จะเขาไป สนิทสนมกับคนแปลกหนาโดยไมเลือกวาเปนใคร เวลาที่เราเดินเขาไปในหองเลี้ยงเด็ก เขาจะเขา มานั่งตัก มากอดเราไว แลวจะเกาะติดกับเราไมยอมปลอย ในขณะที่บางคนก็จะแยกตัว ไมสนใจ ใคร เห็นไดชัดวาเด็กเหลานี้เมื่อโตขึ้นจะมีปญหากับความสัมพันธอยางแนนอน ตองไดรับการ บำบัดรักษาเพื่อใหเขาสรางความรักความผูกพันกับคนอื่นๆ ไดอยางเหมาะสม การบำบัดแบบนี้ เรียกชื่อวา Attachment Therapy หรือการบำบัดความผูกพันซึ่งตองใชเวลานานและความอดทน มาก และไมใชเรื่องงายเลยที่จะทำได
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
a คราวนี้เราคงเขาใจไดงายขึ้นนะครับ วาทำไมเวลาแฟนเรา “งอน” นิ่งเฉย ไมตอบ สนอง ไมพูดไมคุยเหมือนเคย เราถึงเจ็บปวดทุกขทรมานใจอยางยิ่ง ดังนั้นหากเราเปนนักไอคิ โดแลวมีคนรักอยูรอบตัว (ไมใชเฉพาะแฟน แตรวมถึงพอแม พี่นอง เพื่อน ฯลฯ ดวย) เราจึงจะ ตองฝก “กลมกลืน” กับเขาใหมาก พยายามสังเกตความรูสึกความตองการของกันและกัน ดวย ทัศนคติของความรักความเมตตา ปรารถนาที่จะปกปองคุมครองไมใหเขาเปนทุกขหรือเจ็บ ปวด ไมใชคิดแกลงงอนเพื่อความ “สะใจ” ของเราเทานั้น เพราะถาเราทำใหเขาเจ็บแบบนั้น บอยๆ สักวันหนึ่งเขาก็จะจำเปนตองนิ่งเฉยบางเพื่อความอยูรอดของเขาเอง หรือไมเขาก็จะ จากเราไปและไมกลับมาอีก เหมือนเด็กกำพราที่ถูกแมทิ้งไป ก็จะรักใครไมเปนอีกแลวนั่นเอง
ในเบาะไอคิโดก็เชนเดียวกัน ถาเราโชคราย เจอคนที่กุกๆ กักๆ เหยียบเทาเรา กระตุกกระชาก ทำใหเราเจ็บตลอดเวลา เราก็อยากเลิกฝกกับเขา แตถาโชคดีไดฝกกับคนที่ฝมือ ดีๆ ทุมสวย ลมสวย เทคนิคละเอียดออน กลมกลืนกันไปหมด เราก็จะไมอยากเลิกเลนกับเขา เห มือนนานๆ ครั้งที่ผมไดฝกกับเซนเซฝมือขั้นเทพ ผมก็จะสัมผัสไดถึงความกลมกลืนเชนนี้ และทุก ครั้งที่ถูกทุมจะรูสึกสบายอยางบอกไมถูกและนึกในใจวา “เอาอีกๆๆ” อยูเรื่อยๆ ไมเบื่อเลย หน้า ๗
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
ชนะโดยการแพ ตัดตอนจาก เรื่องชนะโดยการแพ้ หนังสือเซนในศิลปะการต่อสู้ แปลโดยวันทิพย์ สินสูงสุด
อ.ธีระรัตน บริพันธกุล
“ชนะรอยครั้งในรอยสนามรบ ก็ยังไมถือวา เปนผูชำนาญสูงสุด สยบศัตรูดวยการไมตองสู จึงเปน ผูชำนาญสูงสุด” ซุน จื้อ ตอนผมฝกศิลปะการตอสูใหมๆผมสรางจินตนาการวา ผมกับภรรยาเดินบนถนนที่มืดแหงหนึ่งทันใดนั้นก็มีพวก อันธพาลเขามาทักทายเชิงรุกราน หัวหนากลุมกาวเขามาเปน คนแรก ผมซัดผัวะเขาไปพรอมเสียงรองที่หนากลัวแลวมันก็ลม ลงสวนลูกนองที่เหลือก็พากันวิ่งหนีดวยความกลัว ผมกลาย เปนฮีโรในสายตาภรรยา ยี่สิบหาปตอมาเมื่อผมมีประสบการณในศิลปะการตอสูบางแลววันหนึ่งผมมา สงภรรยาที่สนามบิน พอสงเสร็จผมก็รีบกลับบานโดยขับรถยอนศรในลานจอดรถ เปนเหตุใหรถที่ วิ่งสวนมาเหยียบแบรกเสียงดังจนแสบแกวหู คนขับดาผม ผมขอโทษขอโพยเขา แตนั่นก็ไมชวยให เขาหายโกรธได เขาใชรถกันทางออกของผมพรอมกับเดินมาตรงประตูดานคนขับแลวตอวาอยาง ดุเดือด ผมกลาวคำขอโทษซ้ำ แตเขาก็ยังไมยอมลดลาวาศอกและบอกวาจะสอนบทเรียนให ผมรูสำนึก ผมออกจากรถโดยใชประตูดานผูโดยสาร รถจึงชวยกันเราสองคนไว แตเขาก็ยังเดิน ออมาหาผม ในวินาทีนั้นผมเตรียมตัวพรอมแลว แขนและมือที่แบบพรอมที่จะทำงาน ผมตัดสินใจ ในตอนนั้นวาจะไมเปนฝายลงมือกอนหากเขาไมเขามาใน “วง” ของผม แตโชคยังดีที่เขาอยูหาง จากวงและจองผม หน้า ๘
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
“ผมบอกคุณแลววาผมขอโทษ” “ผมจะฉีกลิ้นคุณออกมาแลวยัดเขาไปในปาก” ผมถามอยางเบาๆวา “แลวคุณจะไดอะไรจากการทำเชนนั้น ผมอายุมากกวาคุณ เกือบสองเทาผมเทียบคุณไมไดเลย” เขายังคงขยับตัวเขามาอีก ผมคอยๆขยับตัวเชนกันเพื่อใหเทาขวาเยื้องไปขางหนา น้ำหนักลงที่ศูนย ผมมองเขาทั่วทั้งรางโดยไมโฟกัสจุดใดจุดหนึ่งโดยเฉพาะ จิตและกายตื่นตัว พรอมระวังทุกสวนของรางกายของเขา ทานี้เปนทาเตรียมพรอมแบบคลาสสิคซึ่งทำใหการ เคลื่อนไหวทำไดฉับพลัน ใจสงบนิ่ง เปดและผอนคลาย มั่นใจในความสามารถที่จะจัดการกับ สถานการณที่กำลังเกิดขึ้นได “ผมเหยียบเบรกเต็มเหนี่ยวเพื่อไมใหชนคุณ” เขายังคงกาวราวอยางไมลดละ “เปนความผิดของผมเอง” ผมยอมรับ “เออ เอา โอเค “เขาพูดแลวเดินกลับไปที่รถ แมผมพรอมที่จะตอบโตการจูโจมของเขาแตมันก็ไมจำเปนในเมื่อเขายังพอที่จะ ยอมรับคำกลาวขออภัยจากผมไดในวินาทีสุดทาย ผมไดปลดชนวนความโกรธของเขาลงไดแลว ผมชนะโดยการแพ เอ็ด พารกเกอรกลาววา “คนเราสูกันเพราะรูสึกไมมั่นคงปลอดภัย คนหนึ่งตองการ พิสูจนวาตนเองดีกวาหรือแข็งแรงกวาอีกฝายหนึ่ง คนที่มั่นคงปลอดภัยในตัวเอง ไมจำเปนตอง พิสูจนถึงสิ่งใดดวยกำลัง เขาผูนั้นจะเดินเลี่ยงการตอสูดวยความภาคภูมิใจและสงางาม เขาเปน คนที่เขมแข็งภายในโดยไมตองสำแดงฤทธิ์เดชภายนอก นี่คือนักสูที่แทจริง ความมั่นใจแบบนี้ ในภาษาจีนใชคำวา “ไซ” ซึ่งหมายถึง “การอยูรวม” สิ่งนี้เปน ผลพลอยไดจากความเชื่อมั่นในตนเองและความตระหนักอยางชัดเจนวาจะจัดการกับ สถานการณอยางไร นักศิลปะการตอสูเชื่อในความสามารถของตนเองเมื่อเผชิญกับอันตรายที่ อยูขางหนาเชนเดียวกับผูชำนาญในสาขาวิชาของตนเองก็ยอมจะมั่นใจในความสามารถในวิชา นั้น อยางไรก็ตาม การเปนคนมั่นใจในตนเอง ไมไดหมายถึงความกลาอยางบาบิ่น ใน การออกราย โทรทัศน มีผูถามผมวาจะทำอยางไรถามีคนเอามีดมาจี้และขูใหสงกระเปาเงินไป ให ผมตอบวา “ก็สงเงินไปใหเขาซิ” อยางที่จิม เลา เคยกลาวไววา “บางครั้งคุณควรสู บางครั้งก็ควรเลี่ยง ไมมีนักศิลปะ การตอสูตนใดที่จะยอมเสี่ยงชีวิตของตนกับกระเปาสตางคแนๆ”
หน้า ๙
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
เท้าไม่ได้มีไว้เตะ สโมสรผูนำเยาวชนเพื่อการศึกษาและพัฒนาชุมชน อำเภอปางมะผา จังหวัดแมฮองสอน
วิสุทธิ์ เหล็กสมบูรณ์
จริงๆแลว ไอคิโด ก็ไมไดมีการใชเทาเตะ นะครับ แตที่เขียนเรื่องนี้ เอามาจากชื่อหนังสือ นิทานภาพเรื่อง “เทาไมไดมีไวเตะ” เปน หนังสือนิทานภาพ 1 ใน 108 เลมที่ไดรับการ คัดสรรจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สรางเสริมสุขภาพ (สสส.) วาเปนหนังสือดี สำหรับเด็กปฐมวัย ที่ผมอานแลวประทับใจ เลมหนึ่ง ก็เลยนำมาฝาก ! เด็กเล็กวัยขวบถึงสามขวบมีพลังมากมาย กำลังชอบผจญภัย และสนใจสังคมที่กวาง ขึ้นกวาในบาน แตเด็กยังควบคุมรางกายและอารมณตัวเองไมคอยได บางครั้งก็เด็กจะหงุดหงิด ทะเลาะปงปง เตะตอยคนอื่นอุตลุด ผูใหญจึงตองชวยใหเขาเขาใจวาการทำรายผูอื่นเปนสิ่งไมดี เราเตะเขาเขาก็เจ็บ เขาเตะเราเราก็เจ็บ เทาไมไดมีไวเตะใคร ! “เทาไมไดมีไวเตะ” เปนหนังสือนิทานภาพสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) จากเรื่อง Feet are Not for Kicking (สหรัฐอเมริกา) แตงโดย อลิซาเบท เวอรดิก แปลโดยนานกฮูก เหมาะกับ เด็กอายุ 1-3 ขวบ หนังสือตองการจะบอกเด็กๆวา การใชความรุนแรง เปนสิ่งที่ไมดี พรอมกับ แนะนำใหใชเทาในกิจกรรมที่สรางสรรค ไมวาจะเปน การเดิน วิ่ง ยืน กระโดด หรือใชเลนปน ปายตางๆนาน ถาอยากใชเทาเตะ มีอะไรใหเตะตั้งมากมาย เชน เตะลูกบอลก็ได เตะไบไมที่รวง บนพื้นก็ได เทาไมไดมีไวเตะใคร เพราะจะทำใหคนอื่นเจ็บ และเดือดรอนตามมา สอนใหเด็ก รูจักควบคุมอารมณ ยับยั้งชั่งใจผานการเรียนรูจากหนังสือนิทาน หน้า ๑๐
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
! ในการฝกไอคิโด เราสอนวาความ รุนแรงเปนสิ่งไมดี ในหนังสือเลมนี้ก็สอนไว เชนกัน แตเด็กเล็กอานคนเดียวก็คงยากจะ เขาใจ ตองอาศัยผูใหญอุมมานั่งตัก ชวนเด็ก ฟงไปอานไปทีละหนาๆ เปนการปลูกฝงสันติ วัฒนธรรมตั้งแตเล็กไดเปนอยางดี ! นาดีใจที่ปจจุบันบานเรามีหนังสือ นิทานที่สอนเรื่องสันติวัฒนธรรมมากขึ้น ผม คิดวามีนิทานภาพอยางนี้อยูหลายเลมตาม รานหนังสือและหองสมุดตางๆ พอแม ผูใหญ ตองไปเลือกดูกันเอง หรือจะพาเจาตัวเล็กไปเลือกดวยก็ยิ่งดี แตจะใหไดผลผูใหญตองแบงเวลา อ า นนิ ท านเหล า นี ้ ใ ห เ ด็ ก ๆฟ ง ซ้ ำ ๆ บ อ ยๆ สม่ำเสมอดวยครับ
หน้า ๑๑
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
สุภาษิตโกะกับ ขาพเจา !
(๙)
“ความสามารถทัดเทียม ผูมีไหวพริบยอมไดเปรียบ” ! คนที่มีไหวพริบมักจะคาดการณไดลวง หนา สวนคนที่เขลากวา ยังไมทราบแมสาเหตุ แหงผลนั้นดวยซ้ำไป ดังนั้น การรูเขารูเรา รู สถานการณ รูสมรภูมิ ก็ยอมมีโอกาสสมหวังไป แลวครึ่งทาง ยิ่งรูถึงความเหมาะสมของจังหวะ เวลา และโอกาส ก็ยอมประสบความสำเร็จได อยางแนนอน ! การเดินหมากแตละเม็ดบนกระดาน ตองเดินอยางละมัดระวังอยางมีสติ เพราะหนึ่ง หมากคือหนึ่งโอกาส หนึ่งหมากคือหนึ่งลม หายใจ หนึ่งการเคลื่อนไหวของหมากบน กระดานในแตละครั้ง สามารถสงผลสะเทือนตอ สถานการณโดยรวมทั้งหมดบนกระดาน การ พบความพลิกผันเกิดขึ้นไดทุกการเคลื่อนไหว ไมใชเพียงการเคลื่อนไหวบนกระดานและ สภาวะแวดลอมเทานั้น แตรวมไปถึงแมการกระ เพื่อมของการหายใจของตัวเราเองดวย
โดย Nounours’ Mom “ขาพเจาเปนเพียงผูเริ่มฝกหัดเลนโกะ เทานั้น และยังโงเขลาที่จะเขาใจแกน แทของโกะอยางลึกซึ้ง แตถาเปนจิต วิญญาณของไอคิโดแลว ขาพเจาไม ปฏิเสธเลยวามันเปนธรรมชาติและ ชีวิตของขาพเจาไปแลว จากหนังสือ โกะ อัจฉริยะ เกมแหงพิภพ โดย วันชัย ประชาเรือง วิทย ที่ขาพเจา ไดรับมาจาก เพื่อนผูหนึ่ง ทำใหขาพเจาพบ สุภาษิตโกะบาง ขอที่จุดประกาย ความคิดใหขาพเจาไดเขียนบทความนี้ ขึ้นมาเพื่อเผยแพรสุภาษิตโกะที่ขาพเจา เห็นวาสอดคลองกับหลักไอคิโดที่ ขาพเจายึดถือเปนแนวทางในการใช ชีวิตอยางสงบสุขตามความเขาใจของ ขาพเจา โดยมิไดยึดติด วาผูใดจะตองเห็นดวย” หน้า ๑๒
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
! ดังนั้น เราจึงไมสามารถรูความเปนไปทั้งหมดที่จะเกิดขึ้นบนกระดานไดโดย สมบูรณ ไมวาจะเกิดผลตามมาเชนใด เราพึงยอมรับใหได พึงปรับตัวใหยอมรับความ ผกผันเหลานี้ใหเต็มที่ที่สุด และพึงรำลึกวาผลแหงชัยชนะ เปนเพียงผลพลอยไดที่เกิด จากการรับมือกับความแปรผันตางๆที่ผานเขามาไดอยางสมบูรณแบบเทานั้น การเลนหมากกระ ดานโกะ มีการแบงเปน ฝายหมากดำ หมากขาว แตละฝายมีเม็ดหมากที่มี สถานภาพเทากันฝายละ ๑๘๐ เม็ด หมากแตละ สีหนาตาและสถานะภาพ เหมือนๆกัน ดังนั้น สภาวะการเดินหมาก ทั้งหมดจึงขึ้นอยูกับผู เลนที่เปรียบเหมือน จอมทัพของฝายหมาก ดำและฝายหมากขาว ที่ มีขุนศึกฝายละ ๑๘๐ เม็ดที่มีศักยภาพทัดเทียมกัน ผูเลนจึงตองควบคุมสภาวะของตนใหดี มิใหยึดติดอยูใน มายาคติเกี่ยวกับอำนาจ ลาภ ยศ และคำเยินยอที่เกิดขึ้นบนกระดาน การวางหมากโดย พิจารณาถึงผลที่จะเกิดขึ้นตามมาอยางถวนถี่ ก็จะเปนอีกชองทางหนึ่งที่นำไปสูเปาหมาย ที่กำหนดไว ! ยิ่งรูเกี่ยวกับผูที่ประมือดวยไดมากเทาไหรก็ยิ่งดี ไมวาจะเปนการประมือแบบตัว ตอตัว(หมากตอหมาก) หรือแบบจูโจมพรอมกันทีละหลายๆคน (หลายๆจุดบนกระดาน) การรูหรือเขาใจฝายตรงขามเปนอยางดี ก็จะทำใหเราสามารถอานใจเขาออกวาเขาจะ ทำสิ่งใดตอไป และจะทำใหเราสามารถรับมือเขาและเขาควบคุมสถานการณไดโดยงาย อยางละมุนละมอม และยังสามารถปดชองทางที่เขาจะเขามาควบคุมเรา การตอสูจะไร คาหากเราปลอยใหทุกอยางเปนไปตามโชคชะตา หน้า ๑๓
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
การจะควบคุมผูอื่น ได เราตองควบคุมจิตใจ ของเราใหไดกอน เราตอง ควบคุมตัวเองใหกระทำใดๆ หรือเคลื่อนไหวโดย ปราศจากความคาดหวัง ตองกระทำหรือเคลี่อนไหว ไปอยางลื่นไหลเปน ธรรมชาติ ใหประสาน กลมกลืนตามทิศทางการ เคลื่อนไหวของฝายตรง ขามไปอยางตอเนื่อง จนสัมผัสไดถึงปฏิกิริยาหรือเจตนาของอีกฝายหนึ่งไดจนพบจุดออนของเขา แลวเราก็จะ สามารถเขาควบคุมเขาไดโดยที่เรายังคงสามารถรักษาความสมดุลของเราใหยังอยูในจุด ที่ยังไดเปรียบอยู ! ในทางเทคนิคไอคิโด นอกจากการควบคุมฝาย หนึ่งใหยอมจำนนแลว ยังตองใสใจเขาดวย เราจะไมตอ ตานหรือฝนแรงเขา แตเรามักจะเคลื่อนไหวใหกลมกลืน ไปกับการเคลื่อนไหวของผูโจมตีจนถึงสภาวะที่เหมาะ สม จึงคอยชักนำใหเขาเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนไหว คลอยตามเราโดยปราศจากการตอตาน เชนการรับมือ กับการโจมตีดวยการโจมตีลงกลางศีรษะ(Shomen Uchi) เมื่อผูโจมตี (Uke) ใชมือฟนลงมาโดยมีทิศทาง แรงจากบนลงลาง เราสามารถคลอยตามแรงที่ฟนลง มาของเขาที่เริ่มแผวลง โดยใชเทคนิค Irimi Nage โดยการเคลื่อนที่สัมพันธกับผูโจมตี (Uke) แลวเขา ควบคุมความสมดุลของเขาโดยนำแรงที่แผวลงของเขา ขึ้นบน แลวเมื่อเขาเริ่มคลอยตามก็เปลี่ยนทิศทางแรง อยางกลมกลืนจากบนลงลางดวยการใชแขนเรากดคาง ที่เชิดอยูของฝายตรงขามลงไปอยางนุมนวล
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
! หรือการใชเทคนิค Tenchi Nage ที่เปนตัวอยางที่ดีอีกเทคนิคในการเอาชนะดวย การใชไหวพริบ เมื่อผูโจมตี (Uke) ใชการเขาโจมตีแบบ Ryote Dori การใชสองมือจับมือ ทั้งสองขางของเรา เมื่อผูโจมตี (Uke)เริ่มดึงมือเราเขาไปหาตัวเอง เราก็เคลื่อนที่ตามแรง ไป และเพิ่มแรงของเราเสริมเขาไปอีก ก็จะทำใหเราเขาควบคุมหรือทำใหคูตอสูยอมจำนน ตอเราไดโดยงายอยางมีประสิทธิภาพ หรือถาคูตอสูใชการโจมตีแบบ Tsuki การชกตรง เราก็ยิ่งจะควบคุมเขาอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้นถาเราไมไปขัดขวางทิศทางการเขามา ของเขา เราตองเชิญเขาเขามาแลวปลอยใหเขาไปตามทิศทางที่เขาพุงไปดวยการใชการ เคลื่อนที่แบบ Tenkan การหมุนตัว ๑๘๐ องศา ! ทั้งนี้ทั้งนั้น การฝกฝนอยางสม่ำเสมอเทานั้น ที่จะทำใหเราสามารถใชเทคนิค เหลานี้ไดอยางเปนธรรมชาติไดทันทีอยางลื่นไหลทันการณ โดยไมตองเกิดภาวะชะงักงัน เมื่ออยูในสถานการณที่ถูกโจมตี ติดต่อ Nounours’
Mom ได้ที่
<http://NounoursMom.hi5.com>
ภาพจาก http://www.playjapanese.ob.tc/phung14.html และ http://studio-marino.deviantart.com/art/Tenchi-Nage-104149817? q=favby%3Aroykatalan%2F3784521&qo=20
The Art of Peace # ๔๙ เขียนโดย Morihei Ueshiba แปลโดย John Stevens The heart of a human being is no different from the soul of heaven and earth. In your practice always keep in your thoughts the interaction of heaven and earth, water and Fire, yin and yang. John Stevens ไดรวบรวมเอา Doka หรือบทกวีขนาดสั้นของปรมาจารยไวในหนังสือ The Art of Peace ตอมา William McLuskie ไดนำมาลงเผยแพรที่เวบไซต http://omlc.ogi.edu/aikido/talk/osensei/artofpeace/
หน้า ๑๕
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
สัมภาษณอาจารย
ฮายาโตะ โอซาวะ
โดย ซือเป๋
วากันวาอันสุราเมรัย ไมวาจะเปนชนิดไหน ๆ ยิ่งใชระยะบมนาน เพียงใด ก็ยิ่งจะมีรสชาติที่หวาน นุม กลมกลอมลิ้นยิ่งขึ้น จาก ประสบการณการอานของซือเป เห็นวาศิลปะไอคิโดก็เชนกัน นักไอคิโดที่ เชี่ยวชาญศิลปะนี้ กลาวคือเลนไดพลิ้วไหว และนุมนวล ยอมตองผาน การฝกฝนและขัดเกลาเปนเวลานาน อาจารยฮายาโตะ โอซาวะ (Hayato Osawa) ซึ่งเปนนักไอคิโดสาย สูง (๗ ดั้ง) ทานหนึ่งของโลกก็เชนกัน ไดผานการหลอหลอมศิลปะชนิด มาตั้งแตเด็ก ซือเปไดรับคำขอรอง (แกมบังคับ) จากบรรณาธิการสาว สวย แหงจุลสารไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม ในการแปลบทสัมภาษณ ของอาจารยฮายาโตะ ซึ่งถูกสัมภาษณโดย อาจารยเดวิด ฮาวพริน (David Halprin) นักไอคิโดระดับ ๖ ดั้ง และอาจารยวอลเทอร วาน เอิน (Walter Van Enck) นักไอคิโดระดับ ๔ ดั้ง จากการเขาคายฤดูรอนฉลอง การครบรอบ ๔๐ ปของศิลปะไอคิโดสายไอคิไก แหงเมืองนิวยอรก ณ มหาวิทยาลัยคอลเกต (Colgate University) เมืองแฮมมิลตัน (Hamilton) ในการแปลซือเปขอใชคำ “ปุจฉา” แทนผูสัมภาษณ และคำ “วิสัชนา” แทนผูถูกสัมภาษณครับ ปุจฉา! ! ขอเรียนถามวา อาจารยเริ่มฝกฝนไอคิโดตั้งแตเมื่อไร วิสัชนา!! ผมเขาเปนสมาชิกของฮมบุโดโจ (Hombu Dojo) เมื่ออายุแปดขวบ เปนปที่ ๒ ของการ เรียนในชั้นประถมศึกษา ในขณะนั้นชั้นเรียนสำหรับเด็ก ณ ฮมบุโดโจ ยังไมไดถูกจัดตั้งขึ้น ผม ตองเรียนกับสมาชิกที่เปนผูใหญ คุณพอของผมเกรงวาผมจะเปนภาระใหกับผูฝกผูใหญในสถาน ฝก ดั้งนั้นหนึ่งปกอนหนาเริ่มฝก คุณพอก็เลยรื้อหองขนาด ๘ เสื่อ เพื่อใชเปนโดโจ และสอนผม เกี่ยวกับเทคนิคเบื้องตนของศิลปะไอคิโดที่บาน อิกเกียว วาซา (Ikkyo Waza), ชิโฮนาเงะ (Shihonage) เราสองคนฝกซอมกันอยูที่บาน เปนปกอนที่ผมจะไดฝกซอมที่ฮมบุโดโจ ความทรง จำเกี่ยวกับการฝกที่บานระหวางผมและคุณพอยังคงกระจางชัด ถึงแมผมจะไมแนใจวาจะเรียก การฝกซอมนั่นวาการฝกไดหรือไมก็ตามที ! ! แมผมจะไดเขาเปนสมาชิกของฮมบุโดโจแลว แตผมก็ยังเล็กมาก ผมรูสึกวาผมไปที่โดโจ เพื่อวิ่งเลนเสียมากกวา อยางไรก็ตามผมก็สามารถพูดไดวา วันเวลาแหงการฝกศิลปะไอคิโด ของผมเริ่มเมื่อตอนผมอายุ ๘ ขวบ หน้า ๑๖
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
ปุจฉา! ! ในเวลานั้น มีเซนเซทานไหนที่ทำใหอาจารยรูสึกประทับใจบางไหมครับ วิสัชนา!! ตอนเริ่มตนอายุ ๘ ขวบนั้น มันเหมือนกับวาผมไปที่โดโจเพียงเพราะความสนุกเทานั้น ผมไม ไดมีเปาหมายที่ชัดเจนเกี่ยวกับการฝก และผมก็ไมไดเขาใจสิ่งที่อาจารยทั้งหลายสั่งสอนมากนัก ผมคิดวา เพราะวาคุณพอของผมเปนอาจารยสอนศิลปะไอคิโดที่นั่น ทำใหบรรดารุนพี่ทั้งหลาย ดูแลและเอาใจใสตอผมเปนอยางดี ผมมีความทรงจำที่ดีมากมายเกี่ยวกับการฝกกับรุนพี่เหลานั้น และประทับใจผมมาถึงทกวันนี้ ปุจฉา, , อะไรที่เปนแรงผลักดันทำใหอาจารยหันมาใสใจกับศิลปะไอคิโดมากขึ้น ในชวงวัยรุนครับ วิสัชนา!! ผมเริ่มฝกอยางเอาจริงเอาจังมากขึ้น ในชวงการเรียนระดับอุดมศึกษา ผมตองการชีวิตที่ สามารถฝกซอมศิลปะไอคิโดไดทุกวัน ผมตองตัดสินใจเลือกสิ่งที่ดีที่สุดที่จะตอบสนองตอความ ตองการของผม ในตอนนั้นผมมีทางเลือกระหวางทำงานประจำและหาเวลามาฝกซอม ซึ่งมักไม คอยเปนเวลา และอีกทางเลือกหนึ่งคือการเปนผูฝกสอนที่ฮมบุโดโจ ในความตั้งใจแรกของผมนั้น เพียงเพราะตองการการฝกซอมอยางสม่ำเสมอ ผมจึงไมไดคิดถึงการเปนนักไอคิโดในระดับมือ อาชีพ หรือมีชีวิตดวยการสอนศิลปะไอคิโด พึ่งจะเมื่อไมนานมานี้เทานั้นที่ผมตระหนักวานี่คือ อาชีพของผม ! ! ผมคอย ๆ ตระหนักวา ผมเปนนักไอคิโดอาชีพ และผมมีภาระที่ตองนำพานักเรียนของผม เพราะวาผมคือครู ปจจุบันนี้เมื่อผมมีอายุสูงขึ้น ก็เริ่มรูสึกถึงภาระที่มากขึ้นกวาเดิมในการทำสิ่ง ที่เหมาะสมและเปนผูสอนที่ดี ในขณะเดียวกัน คงพูดไดวา นักเรียนของผมเปนผูที่ทำใหผมมีความ รูสึกนี้ มากกวาที่ผมจะรูสึกเอง ภาพจาก http://wazajournal.com/latest.html/page/28
หน้า ๑๗
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
ปุจฉา! ! กอนหนาที่อาจารยจะมีตารางสอนที่ฮมบุโดโจ คุณพอของอาจารย ไดมอบหมายใหอาจารย ไปสอนหรือดูแลที่สถานฝกอื่นหรือไมครับ วิสัชนา!! คุณไมมีอะไรใหทำมากนักหรอก ในชวงเริ่มแรกของการรวมเปนผูสอนของฮมบุโดโจ เมื่อมี คำขอมาถึง ผูสอนอาวุโส จะมอบหมายใหใครก็ตามที่สะดวกในเวลานั้นไปสอนตามโดโจตางๆ
ภาพจาก http://www.aikido-castres- lambert.fr/pratique.html
ปุจฉา! ! อาจารยครับ พวกเราเคยไดยินเรื่องเลาวาคุณพอของอาจารย ใหอาจารยไปสอนที่โดโจผู หญิงลวน ใชหรือไมครับวาทานไดสรางโอกาสนี้ขึ้นมาใหอาจารยจะไดพบกับสาวๆสวยๆ วิสัชนา!! (หัวเราะอยางหนัก) นั่นเปนแคเรื่องลอกันเลนเทานั้น แตสถานฝกที่คุณวามานั้นมีอยูจริง แต เปนโดโจสวนบุคคลในเมืองโตเกียว มันเริ่มตนดวยการเปนสถานฝกสำหรับเด็ก ๆ และเมื่อบรรดา คุณแมมารวมฝกดวย พวกเธอก็บริหารจัดการโดโจไปดวย ในตอนนั้น ผมยังอายุนอย และมีความ รูสึกกระตือรือรนในการฝกอยางมาก ในตอนแรกผมรูสึกทอแทมากจากการที่ตองมาดูแลการฝก ของเด็ก ๆ และบรรดาคุณแมทั้งหลายก็รางกายไมสมบูรณพอที่จะฝกไอคิโดอยางจริงจัง ! ! ผูฝกสอนของสถานฝกนั้นเกิดปญหาทางดานสุขภาพ ผมจึงตองรับหนาที่แทน โดโจที่นั่นขนาด 12 คูณ 12 ฟุต เปนหองที่มีขนาดเล็กมากๆ โดยเฉพาะสำหรับเด็กๆ 80 คน เด็กๆเหลานั้นขยัน และมีความกระตือรือรนมาก ผมตองยอมรับเลยวาผูสอนคนกอนไดฝกฝนพวกเขาอยางดีจริงๆ ผมไดเรียนรูเรื่องสำคัญจากพวกเขา เด็ก ๆ เหลานั้นไดทำใหผมเห็นถึงคุณคาของสิ่งที่ผมควรทำ ผมตระหนักวา ผมตองเพิ่มความจริงจังและความรับผิดชอบในฐานะผูสอนมากขึ้น
!
ปุจฉา! ! อาจารยเดินทางมาประเทศอเมริกาครั้ง แรกเมื่อป พ.ศ. 2527 วิสัชนา!! ใช ถึงตอนนี้ก็ประมาณ 20 กวาปแลว ตอนนั้นเปนงานครบรอบ 20 ปของอาจารย ยามาดะ ผมยังอยูระดับ 3 ดั้ง เปนชิโดอิน (Shidoin) ผมมา พรอมกับเจาสำนัก คิชโชมารุ ในฐานะโอโตโมะและอู เกะ ไมไดมาเพื่อรวมสอน ปุจฉา! ! แตอาจารยไดสอนในชั่วโมงสุดทายของ การสัมมนาดวย วิสัชนา!! อาจารยยามาดะ, อาจารยโทเฮ, อาจารย ชิบะ และอาจารยคาไน ลวนเปนรุนพี่ของผม พวกเขา สอนในการสัมมนาครั้งนั้น ผมคิดวา อาจารยยามาดะคงเปนคนกลาววา “ทำไมไมลองใหเด็กหนุม ฮายาโตะ สอนในชั้นบาง” ซึ่งทานเจาสำนักก็ตอบกลับไปวา คงเปนโอกาสอันดีของฮายาโตะจะ ไดทำการสอนที่ดีที่สุดในงานสัมมนาของอาจารยยามาดะ และนั่นถือเปนประสบการณแรกสำหรับผมในการสอนในงานสัมมนาที่ใหญๆอยางนี้
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
ภาพจาก http://www.evanstonaikidocenter.com/gallery.html
ปุจฉา, , อาจารยเห็นวิวัฒนาการของไอคิโดในชวงยี่สิบปที่ผานมาอยางไรบางครับ วิสัชนา!! มันยากที่จะอธิบายดวยตัวอยางที่เปนรูปธรรม ถาจะใหพูดโดยทั่วไป ผมวาไอคิโดเริ่มเปนที่ นิยมชมชอบมากขึ้น มีคนสนใจฝกมากขึ้น บางคนก็ฝกในรูปแบบที่ตางออกไป มันเปนการดีที่ไอคิ โดกลายเปนที่ชื่นชอบของผูคน แตผมก็สงสัยวาเมื่อไหรหนอที่ไอคิโดจะหยุดเติบโตขึ้น ! ! มีการตีความเกี่ยวกับไอคิโดที่แตกตางกันมากมายในปจจุบัน แมกระทั่งจากตัวผม อยางไร ก็ตามผมคอนขางกังวลวาการเจริญเติบโตของไอคิโดจะใหผลที่ตางไปจากความตั้งใจดั้งเดิมของ ไอคิโด ผมคิดวาเปนหนาที่ของผูสอนไอคิโดในการสนับสนุนและสงวนไวซึ่งความดั้งเดิมของมัน ! ! ทั้งอาจารยคาไนย และ อาจารย อาคิระ โทเฮ ตางเรียนรูศิลปะไอคิโดจากปรมาจารยโดยตรง การที่ ทานทั้งสองไดจากไปแลว ทำใหเราสูญเสียบุคลากร สำคัญไป ผมคิดวาเราตองหันมามองหลักพื้นฐานของ ไอคิโดจากบรรดารุนพี่ของเรา เราจำเปนตองพยายาม อยางหนัก ในการรักษาสิ่งสำคัญเหลานั้น เราไม สามารถฝกซอมโดยอาศัยความชอบของเราเทานั้นได ! ผมพยายามที่จะประเมินตัวเองในทุกขณะ เพื่อให ทำในสิ่งที่ถูกตอง สอนในสิ่งที่เหมาะสม มันเปนสิ่งที่ สำคัญมากในการรักษาจิตวิญญาณดั้งเดิมของไอคิโดไว แลวเราจะทราบไดอยางไรวาผูสอนของเรา สอนจิต วิญญาณดั้งเดิมหรือไม แทนที่การสอนและฝกซอมไอคิ โดในลักษณะความชอบสวนตนแลว ผมคิดวา เปนสิ่ง จำเปนและสำคัญมากในการยอนกลับไปมองวาแทจริง แลวไอคิโดคืออะไร ! มันเปนการสงผานความรูสึกจาก อาจารย อาคิระ โทเฮ Midwest Aikido Center รุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่ง ปุจฉา! ! พวกเราไดเรียนรูไอคิโดซึ่งแตกตางจากสิ่งที่พวกเราคิดวามันเปนเมื่อตอนเริ่มฝก ตอนนี้เรา เรียนรูมันจากการฝกฝน เปนระยะเวลานาน และการสนทนากับผูสอนรวมทั้งสิ่งที่ไดยินมา สิ่ง เหลานั้นไดเปลี่ยนแปลงมุมมองและแนวคิดของพวกเราเกี่ยวกับไอคิโดซึ่งพวกเรามีตั้งแตเริ่มแรก วิสัชนา,, พูดจากประสบการณของผม เมื่อเราถูกสอนและเปนฝายรับเทคนิคจากผูสอน (Ukemi) ของเรา เราจะสัมผัสความรูสึกไดผานตัวเรา เราสามารถเรียนรูมันไดจากความรูสึกของตัวเอง การเรียนรูไมสามารถรูไดดวยการมองอยางเดียวเทานั้น คุณสัมผัสมันได หากปราศจากโอกาส เชนนี้แลว คุณจะทำไดแคมองเห็นและเฝามองผูสอนเทานั้น แตความรูสึกจริงในการฝกซอมมัน แตกตางออกไป ! ! บางทีแลวเพื่อจะใหไดเรียนรูหรือเขาใจสิ่งที่อาจารยของเรากำลังสอนเราซึ่งเปนสิ่งที่สำคัญ มากนั้น เราจะไมสามารถเห็นอยางเปนรูปรางได ดังนั้นเราจึงตองใชการสัมผัสแทน
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
!
!
! สมมติวา คุณฝกซอมมานานกวานักเรียนคนอื่น ประสบการณการซอมจะทำใหคุณเขาใจบาง แงมุมของอาจารยมากกวานักเรียนคนอื่น แลวก็จะเริ่มรูสึกถึงแงมุมอื่นๆ ตามมา ทั้งบรรยากาศ การสอน, การใชเทคนิค, การใชแรง ซึ่งสิ่งเหลานี้บางครั้งไมสามารถอธิบายออกมาเปนคำพูดให เขาใจงายได การจะใหเขาถึงและสัมผัสถึงสิ่งเหลานี้ได ตองเริ่มจากการถูกใชเทคนิค คุณเรียนรู ผานรางกายของคุณเอง ผมคิดวา มันเปนจุดเริ่มตนของการเขาใจ ! ผมจะมองยอนกลับตลอดเวลา ผมจะมองสิ่งอื่นนอกเหนือจากเทคนิคดวย ผมจะเฝาสงสัย วาผมควรทำอะไร ผมมีคำถามใหตัวเองตลอดเวลา เกี่ยวกับศิลปะไอคิโด, ชุมชนไอคิโด และการ ใชไอคิโดในชีวิตประจำวัน ผมเฝามองและเฝาถามวาผมไดทำในสิ่งที่ถูกตองหรือไม
ปุจฉา!! อาจารยครับ คุณพอของทานและเจาสำนักคิชโชมารุ เปน เหมือนคูหูและทำกันรวมกันมานานมาก อาจารยจะพอบอกไดไหม ครับวาทานทั้งสองมีความสัมพันธกันลักษณะหน ใครทำอะไร และทานทั้งสองรวมกันไดอยางไร
ภาพจาก http://www.aikidoweb.it/public/ index.php?Interviste:Kisaburo_Osawa
ภาพจากhttp://www.aikidojournal com/article?articleID=521
ปุจฉา! ! อาจารยครับ ตอนที่คุณพอของทานมาที่นี่ พวกเรารูสึกประทับใจการสอนเปนอยางมาก ทาน เคยใชเทคนิคกับอาจารยยามาดะ และอาจารยคาไนย ในตอนนั้นทานวา “ผมทำเชนนี้ได ก็เพราะ พวกเขาเหมือนลูกของผม” อาจารยคาไนยเคยบอกผมวา ตอนที่ทานเริ่มฝกใหมนั้น เปนอาจารย โอซาวา ที่คอยดุดาเวลาที่ทานทำตัวไมดี และดูเหมือนวาอาจารยคา ไนยจะมีปญหาคอนขางบอย วิสัชนา! (หัวเราะอยางหนัก) แตอาจารยคาไนยไมไดสรางปญหา ใหญมากนัก (หัวเราะอีกครั้ง)
อาจารย คิสะบุโระ โอซาวะ คุณพอของฮายาโตะ โอซาวะเซนเซ
วิสัชนา! คุณพอของผมมีอายุเยอะกวาเจา สำนักถึง 10 ป มันเปนความสัมพันธตามลำดับ ชั้นระหวางคุณพอของผมและตำแหนงเจาสำนัก พูดทางเทคนิค เจาสำนักคือหัวหนาของชุมชน ไอคิโด ทุกโดโจในเครือไอคิไก หัวหนาผูฝกสอน ดูแลงานของโดโจฮมบุ และ งานในสวนธุรการ และการสอน แตกตางจากการดูแลโครงสราง ขององคกร คุณพอของผมชวยดูและสนับสนุน ใหงานของเจาสำนักและทำใหทุกอยางงายขึ้น สำหรับทาน ณ ฮมบุโดโจ โดยมีแนวคิดเพื่อ ความเติบโตของชุมชน หน้า ๒๐
!
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
ภาพจาก http://www.advdojo.org/osawasensei.html
ปุจฉา! ! ไอคิโดมาจากประเทศญี่ปุน และอาจารย ของเราสวนมากเปนคนญี่ปุน แตวันหนึ่งขางหนาใน ประเทศอเมริกา ผูสอนคงจะกลายเปนชาวอเมริกัน สวนหนึ่งของความสนุกในไอคิโดคือความเปนญี่ปุน ดัง นั้นพวกเราจึงพยายามเขาใจและเขาถึง แตมันยาก เหลือเกิน ผมสงสัยวาอาจารยทำไดอยางไรในการดูแล ชุมชนไอคิโดซึ่งแตกตางกันทางดานวัฒนธรรม วิสัชนา,, จริงอยูที่ศิลปะนี้เริ่มตนที่ประเทศญี่ปุน แตวาผมสามารถประยุกตใหเขากับประเทศญี่ปุนใน ปจจุบัน ปรมาจารยไดรังสรรคศิลปะไอคิโดขึ้นมาจาก ใจ แตเวลาไดผานไป ไอคิโดไดมีการพัฒนาและเราไม ไดใชวิธีเดิมแบบในอดีต เปนความทายทายในหมูผูสอน ชาวญี่ปุนที่วาอะไรคือสิ่งสำคัญที่เราตองรักษาเพื่อ ถายทอดไปยังรุนตอไป
! ผูสอนชาวญี่ปุนกำลังพยายามในการสราง สะพานเพื่อเชื่อมตอวัฒนธรรมโดยรักษา รากฐานเดิมของไอคิโดไว แมประเทศอเมริกาจะ เปนประเทศที่แตกตาง แตธรรมชาติของการ ฟนฝาก็เหมือนกัน เราไดรวมกันคิดและหา ทางออกใหสถานการณเหลานี้ แตในที่สุด สวนที่ สำคัญก็คือการรับรูของบุคคล การชวยเหลือกัน และความรับผิดชอบ ผมคิดวาเปนสิ่งที่สำคัญใน การรวมกันคิดหาวิธีรักษาสิ่งสำคัญของรุนกอน ๆ โดยหาวิธีการที่เหมาะสมในการประยุกตใชใน วัฒนธรรมที่ตางไป มันคือการตอสูประเภทหนึ่ง คุณไดแตหวังวาคุณจะทำอยางเต็มที่และดีที่สุด เทานั้น ภาพจาก http://aikitalia.blogspot.com/
บทความแปลจากhttp://www.aikidojournal.com/blog/2009/01/29/an-interviewwith- hayato-osawa-7th-dan-by-david-halprin-and-walter-van-enck/
หน้า ๒๑
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
สิ่งสำคัญที่มักถูกหลงลืม วันนี้เปนอีกครั้งหนึ่งที่ผมไดเดินทางมาที่เมือง Auckland ซึ่งตั้งอยูทางเกาะเหนือของ ประเทศนิวซีแลนด และสำหรับเที่ยวบินนี้พวกเราทั้งหมดจะมีเวลาอยูที่เมืองนี้ 3 วัน ดังนั้นลูก เรือที่เดินทางมาในเที่ยวบินนี้สวนใหญมักจะวางแผนเชารถเพื่อขับเที่ยวตามแหลงทองเที่ยวตางๆ ซึ่งเรียงรายใหนักทองเที่ยวไดยลโฉม ตั้งแตเกาะเหนือไลยาวมาจนถึงเกาะใต แตสำหรับผมแลวผมไดวางแผนที่จะใชเวลาในชวงนี้เขารวมฝกซอมไอคิโด ตามโดโจ ตางๆ ที่ตั้งอยูไมไกลจากโรงแรมที่ผมพัก แตเปนที่นาเสียดายวาโดโจที่ผมเคยซอมในครั้งกอน (ที่ ผมไดเคยเขียนเลาประสบการณความประทับใจไวในฉบับกอนหนานี้) ไดเปลี่ยนตารางการซอม ใหมซึ่งไมมีวันฝกซอมในชวงสามวันพักผอนของผมเลย ผมจึงตองทำการบานอีกครั้งเพื่อหาสถาน ที่ฝกแหงใหม โดโจสวนใหญอยูไกลออกไปคอนขางมากและมักจะมีชั้นเรียนเพียงไมกี่ครั้งตอ สัปดาห แตโชคยังเขาขางผม หน้า ๒๒
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
มีโดโจแหงหนึ่งที่มีชั้นเรียนใหผมสามารถเขารวมฝกซอมได ผมจึงสงอีเมลลติดตอขอ รวมเขาฝกซอมกับโดโจแหงนี้ โดโจอยูหางจากโรงแรมประมาณ 2 กิโลเมตรกวาๆ และผมม เองก็เคยมาเปนครั้งแรก จึงเดินหลงไปซะไกล กวาจะไปถึงก็เลยเวลาซอมมาเกือบครึ่งชั่วโมง แลว โดยสวนมากแลว โดโจที่นิวซีแลนดมักจะซอมกันแคชั่วโมงเดียว แตโชคดีมากที่โดโจนี้ ซอมครั้งละชั่วโมงครึ่ง U โดโจนี้ ตั้งอยูในอาคารศูนยกิจกรรมแหง หนึ่ง ซึ่งหองที่ใชในการฝกซอมนั้น ก็ตองมีการปู เบาะและเก็บเบาะเองไมตางกับ CMU dojo ของ เรา โดโจแหงนี้ นำฝกโดยอาจารย ไมค แอชเวล (Mike Ashwell) สายดำขั้นที่ 5 ซึ่งชั้นเรียนในวัน นี้มีนักเรียนทั้งหมด 3 คน รวมอาจารยเองแลวก็มี แค 4 คน ดูไมคอยคึกคักเทาไหรนัก เมื่อผมกาวเขา สูเบาะ อาจารยใหผมจับคูกับนักเรียนสายน้ำตาล ซึ่งวันนี้เปนนักเรียนที่มีขั้นสายสูงสุดในชั้นเรียนนี้ U เราเริ่มฝกดวยทา Kosa dori tankanho ฟงแลวสำหรับนักไอคิโดนั้น ดูเปนทาที่ธรรมดา มาก และไมนาจะยากเย็นใดๆ สำหรับสายสูงเลย แตไมใชสำหรับชั้นเรียนนี้แนนอน อาจารยใหเนน หนักเรื่องการทิ้งน้ำหนักของตัวเองลงที่จุดศูนยรวม ของรางกาย ใหทำอยางชาๆ เมื่อจบทาแลวเราตอง อยูในทาที่มีหลักดีที่สุด แลวในขณะเดียวกันนั้น Uke ก็เสียสมดุลลมลงพอดี เทคนิคที่ทำเหมือนดูงายนี้เมื่อจับคูฝกแลวเริ่มชักจะไมงายดั่งเคย การเคลื่อนไหวของ ผมในชวงเริ่มตนเปนไปดวยดี แตสิ่งที่ผมขาดไปมักเกิดขึ้นตอนลงน้ำหนักตอนจบเพื่อให Uke ลมลงบนเบาะ ซึ่งควรจะเปนจุดที่ Uke เสียหลักลมลงบนเบาะ ทุกครั้งที่อาจารยเขามาแกไขใหผมมักจะเปนเรื่องเดิมคือ อยาสนใจที่จะทำให Uke ลม ลง แควางน้ำหนักของตัวเองใหถูกตองแลว Uke จะอยูในจุดที่เสียหลักและลมลงเอง เมื่อใดที่ เรามีความคิดวาจะทำให Uke ลมลง ตัว Uke จะสามารถรับรูและเคลื่อนไหวในทิศทางที่ตอ ตานเราขึ้นมาทันที หน้า ๒๓
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
ซึ่งขอดีของการฝกกับชาวตาง ชาตินั้นคือ ถึงแมคูฝกจะสายต่ำกวาแต ถาเมื่อใดที่เคารูสึกวาเราทำไมถูกตองเคา จะบอกใหเราแกไขทันที ซึ่งจุดนี้เปนถา นั ก ไอคิ โ ดทุ ก คนเป ด ใจรั บ ฟ ง และ ปรับปรุงจะทำใหเราสามารถพัฒนาฝมือ ของเราตอไปได ในเมื่อเราไมสามารถ มองเห็นตัวเองได คูฝกของเรานี่แหละจะ เปนกระจกสะทอนใหเราเห็นขอผิดพลาด ไดเปนอยางดี ซึ่งนักเรียนสายน้ำตาลคน นี้ไดใหคำแนะนำผมตลอดการฝกซอม ถึงแมวาประสบการณของเคาจะตางกับ ผมค อ นข า งมากแต ค ำแนะนำของเค า ชวยแกไขผมไดเปนอยางดีเลยทีเดียว ในวันนี้ทำใหผมไดรับรูขอผิดพลาดในหลาย ๆ จุดของผม ชั้นเรียนในวันนี้อาจารยเขาไปแกไขเทคนนิคและทาทางใหนักเรียนไดทุกคนโดยละเอียด และนี่ก็คือขอดีของชั้นเรียนที่มีคนนอย อาจารยสามารถดูแลลูกศิษยทุกคนไดอยางทั่วถึงรวมถึง ผมซึ่งถือเปนนักเรียนใหมของที่นี่ ซึ่งการฝกในชวงแรกเปนการฝกที่เริ่มดวยแรงแบบหยุดนิ่ง (Static Force) ผมสังเกตนักเรียนทุกคนที่คูกับผมนั้น ทุกครั้งกอนที่จะเริ่มทำเทคนิคนั้นเคาจะเริ่ม จากการหยุดนิ่งสักครู ทำสมาธิ หายใจออก จากนั้นจะทิ้งน้ำหนักลง จึงจะเริ่มทำเทคนิค ผมมอง เห็นวาอาจารยไดสอนเทคนิคขั้นสูงใหนักเรียนของทานตั้งแตเริ่มแรกเลยทีเดียว U ทุกเทคนิคการฝกนั้นอาจารยจะไมเนนเรื่องการหักเลยแมแตครั้งเดียว แมแตทา Tsuki kote gaeshi ทานจะเนนเรื่อง จุดที่ตอง“เริ่ม”เขาไปนำแรง วาตองมี“ความพอดี” ไมเร็วไปหรือ ชาไป ตลอดการหมุนตัวของเรานั้นตองทิ้งน้ำหนักลงตลอดเวลา พยายามรูสึกถึงแรงของ Uke อยู เสมอ การหักขอตอเปนเรื่องทายสุด และเปนจุดที่ Uke เสียสมดุลไปแลวทั้งสิ้น อาจารยกลาวตอ ไปวา แควางน้ำหนักลงในตอนจบถาทุกอยางตอเนื่องมาอยางถูกตอง Uke เองก็แทบจะลมลงอยู แลว ซึ่งอาจารยเองก็ไมไดสอนเนนเรื่องการหักขอตอเลย U ชวงทายของชั่วโมงฝก มีทาฝกทาหนึ่งที่ทำใหผมประทับใจ ทานอาจารยเรียกลูกศิษย ทานออกไป แลวยืนหันหลังให จากนั้นใหลูกศิษยฟนมาจากดานหลัง ซึ่งอาจารยก็หมุนตัวกลับมา รับในจังหวะที่พอดีเสมอ U
ผมซึ่งนั่งดูอยูก็นึกในใจวา “เอะ...แลวผมจะรูไดไง วาเคาจะฟนมาตอนไหน”
หน้า ๒๔
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
U สักพักอาจารยก็หันมาอธิบายวาการฝกนี้ ใหปลอยใจใหวาง ไมตองถามตัวเองวาจะหลบเมื่อ ไหร แลวเคาจะฟนมาตอนไหน ใหเชื่อสัญชาติ ญาณของเรา ใหเชื่อรางกายของเรา อยาคิดอะไร โดยเด็ดขาด รางกายจะบอกเราเองวาอันตรายจะ มาถึงเราตอนไหน แลวอยาลังเล “Just believe your body” ซึ่งระหวางฝกให Uke มีเจตนาสง ออกไปกอนฟนดวย ไมใชฟนโดยไมมีจุดมุงหมาย ซึ่งหมายความวาการฝกนี้ทั้งคูตองมีสมาธิตลอด เวลา และเปนเรื่องที่นาแปลกมาก ผมขยับหลบ พอดีทุกครั้ง มันเหมือนกับวารางกายมันรูสึกจริงๆ มีเพียงครั้งเดียวที่ผมหันมากอน แต Uke บอกวา เคามีเจตนามาแลวตอนผมหมุน เพียงแตเคาไม ขยับตัวฟนมาแคนั้นเอง และไมไดเพียงแตผมเทานั้นที่ทำได นักเรียนทุกคนในชั้นเรียนทำไดคอน ขางดีเลยทีเดียวครับ โดยเฉพาะคูฝกของผมในเทคนิคนี้เปนเด็กอายุราวๆ 15-16 ปเทานั้นเอง ทำไดดีไมแพสายสูงเลยครับ ซึ่งผมเองก็รูสึกประทับใจเปนอยางมาก และในที่สุดเวลาในชั้นเรียน นี้ก็หมดลง ถึงแมวามีแค 4 คนในชั้นเรียนนี้ แตความรูสึกคึกคักในตัวผมไมตางกับชั้นเรียนที่มี นักเรียนสัก 20 คนเลย เพราะชั้นเรียนนี้เปนชั้นเรียนที่เต็มไปดวยสิ่งที่ย้ำเตือนในการฝกของผมวา ผมหลงลืมอะไรไปบาง ซึ่งลวนแตเปนพื้นฐานที่สำคัญมากทั้งสิ้น รวมถึงสิ่งใหมที่ผมไมเคยฝก ที่ไหนมากอน U วันนี้แมวาผมจะไดรวมชั้นเรียนนี้เพียงชั่วโมง เดียว แตมันเปนชั่วโมงที่มีคาสำหรับผมมาก เปนอีก ชั่วโมงที่จะเติม “ไอคิโด” ในตัวผมใหสามารถพัฒนาตอ ไปได อยางไรก็ตาม ไมมีความสำเร็จใดทำไดภายในวัน เดียว ทุกจุดหมาย ยอมตองมีจุดเริ่มตนใหเราเริ่มเดิน เปนหนาที่ของเราที่จะตองเดิน เดิน และเดินตอไป เพื่อ ใหถึงจุดหมายปลายทาง แตเสนทางของไอคิโดนั้น คง ไมมีใครรูวาเสนชัยมีหนาตาเปนอยางไร และเราจะถึง เสนชัยวันไหน แตนั้นไมใชจุดสำคัญเลย ขอใหเราเดิน ไปเรื่อยๆ และยึดมั่นในเปาหมาย วันนึงไมชาก็เร็วเรา ทุกคนคงเดินถึงจุดๆ เดียวกัน จุดที่ทานปรมาจารยของ เราไดหวังใหนักไอคิโดทุกคนไดเดินไปถึง และยืนมอง ความสวยงามของวิวทิวทัศนบนยอดเขาของนักไอคิโด เฉกเชนเดียวกับที่ทานเคยยืนอยู
หน้า ๒๕
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
Aikido Family ชมรมไอคิโดลําปางจัดงานสาธิตไอคิโด วันอาทิตย์ ที่ 16 มกราคม พ.ศ.2554 โดยมี อ.ชัยสวัสดิ์เป็นหัวเรือใหญ่
หน้า ๒๖
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
Aikido Family กิจกรรมอบรมการป้องกันภัยทางเพศ วันพุธที่ 9 กุมภาพันธ์ 2554 การอบรมฯในปีนี้ ด้วยความช่วยเหลือของปีใหม่ ก็ได้ดึงดัน (หรืออาจจะบังคับ) ให้เพื่อนมาเข้าร่วมกิจกรรมนี้ได้ (จํานวนน้อย กว่าสมาชิกชมรมที่มาเสียอีก - -") ซึ่งสถานที่จัดงานก็คือลานไอคิ โดของเรานั่นเอง อย่างไรก็ตาม เราก็พยายามอย่างสุดๆที่จะเน้นคุณภาพ มากกว่าปริมาณ โดยเริ่มจากการแจกบทความการป้องกันภัย ทางเพศให้ และพูดคุยอย่างเป็นกันเองโดยพี่แบงค์ ให้เล่าถึง ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ การคุกคามทางเพศของ แต่ละคน จากนั้นก็เริ่มสอนวิธีการเอาตัวรอด เมื่อประสบกับ เหตุการณ์ที่ส่อว่าเป็นการคุกคามทางเพศ โดยการแสดงวิธีในการป้องกันตัวแบบต่างๆ เช่น การเอาตัว รอดเมื่อโดนจับหรือดึงข้อมือ เมื่อโดนโอบไหล่ เมื่อโดนขึ้น คร่อม เป็นต้น แล้วเราก็สรุปใจความสําคัญของกิจกรรม แล้วก็พาผู้เข้าร่วมกิจกรรมไปเลี้ยงขอบคุณ รายงานโดย... อ๊อบเอง
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
Aikido Family
หน้า ๒๘
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
หน้า ๒๙
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
Aikido Family ฝึกพิเศษกับอ.ฮัตโตริ วันที่ ๔ - ๖ มีนาคม ที่ผ่านมา
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
หน้า ๓๑
CHIANG MAI UNIVERSITY AIKIDO CLUB! ฉบับที่ ๒๗ วันที่ ๑ มีนาคม - เมษายน ๒๕๕๔ (ปีที่ ๔)
Aikido Family
¢ขÍอáแÊส´ด§ง¤คÇวÒาÁมÂยÔิ¹น ´ดÕี¡กÑัºบ¤ค ¤คØุ³ณáแÁม ‹áแÍอÃร áแÅลÐะ¹น Øุ³ณ¾พ ‹ÍอÇวÔิÊสØุ·ท¸ธÔิì์ ·ทÕีè่ÁมÕีÊสÁมÒาªชÔิ¡ก¹น ‹ÒาÃรÑั¡กæๆ ŒÍอ§งÍอÍอÁมÊสÔิ¹น ÍอÂย ‹Òา§ง¹น ŒÍอ àเ¾พÔิè่Áม¢ขÖึé้¹นÍอÕี¡กËห¹นÖึè่§ง¤ค¹น §งÍอÒาÊสÒา ¤ค ‹Ðะ
¢ขÍอáแÊส´ด§ง¤คÇวÒาÁม ÂยÔิ¹น´ดÕี¡กÑัºบ¤คÃรÙูÍอ ŒÍอÁม ãใ¹น¡กÒาÃร¡ก ‹ÍอµตÑัé้§ง ªชÁมÃรÁม¾พÑัºบ ¡กÃรÐะ´ดÒาÉษ àเªชÕีÂย§งãใËหÁม ‹
¢ขÍอáแÊส´ด§ง¤คÇวÒาÁม ÂยÔิ¹น´ดÕี¡กÑัºบ»ป §ง ·ทÕีè่¨จºบ¡กÒาÃรÈศÖึ¡กÉษÒา áแÅลÐะäไ´ด Œ§งÒา¹น·ทÕีè่ ºบÃรÔิÉษÑั·ทâโµตâโÂยµตÒา ÊสÓำ¹นÑั¡ก§งÒา¹นãใËหÞญ ‹
ปฏิทินกิจกรรม ! !
ฝกประจำสัปดาห! ! M M M M M M M M M
จันทร-พุธ-ศุกร ๑๘.๐๐ - ๒๐.๓๐ น.M สถานที่ฝก ชมรมไอคิโด มหาวิทยาลัยเชียงใหม ใตถุนตึกอาคารกิจกรรมนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม