พระประวัติสมเด็จพระสังฆราชแห่งพระราชอาณาจักรลาว

Page 1


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

1

พระประวัติ

สมเด็จพระสังฆราช แห่ ง พระราชอาณาจักรลาว

เรี ยบเรี ยงโดย ยุคนธร


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว เรียบเรียงโดย

ยุคนธร

พิมพ์ครั้งที่ ๑

เมษายน ๒๕๕๗ (ในลักษณะไฟล์ PDF เพื่อการดาวน์ โหลดโดยไม่ เสี ยค่ าใช้ จ่าย)

เรียบเรียง/พิมพ์ที่

สานักพิมพ์ “ล้านเพีย” ถ. พระราม ๓ แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร

ภาพหน้ าปก ภาพหน้ าปก

ที่ระลึกในงานบุญฉลองพระชนมายุ ๘๐ ปี

ทีวั่รนะลึ ๘๐ ปี ที่ ๘กในงานบุ กุมภาพันญ ธ์ ฉลองพระชนมายุ พ.ศ. ๒๕๑๖ วัธันมทีมญาณะมหาเถระ ่ ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๖

2


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

คานา ข้ าพเจ้ าเรี ยบเรี ยงพระประวัติของสมเด็จพระสังฆราชพระยอดแก้ วพุทธชิโนรส สมเด็จพระประมุขแห่ง พุทธจักรลาวขึ ้น เพราะมีความสนใจในพระบวรพุทธศาสนาเป็ นทุนเดิม กับทังยั ้ งมีความสนใจในประวัติศาสตร์ ลาวอย่างยิ่ง จนเมื่อครัง้ ยังศึกษาเล่าเรี ยนในระดับอุดมศึกษา ได้ มีโอกาสได้ ศกึ ษาประวัตศิ าสตร์ พทุ ธศาสนาใน ลาวอย่างลึกซึ ้งมากขึ ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานการณ์พทุ ธศาสนาในลาว หลังเปลี่ยนแปลงระบอบการ ปกครองจากพระราชอาณาจักรมาสูร่ ะบอบคอมมิวนิสต์ ครัน้ ได้ ทราบเรื่ องราวสมเด็จพระสังฆราชพระยอดแก้ วพุทธชิโนรส ก็เกิดความสนใจใคร่ร้ ูเรื่ องราวของ พระองค์มากขึ ้น แต่ติดตรงที่ข้อมูลเกี่ยวกับพระองค์มีอยูเ่ พียงน้ อยนิด แม้ ในหมูช่ าวลาวที่พานักอาศัยในต่าง แดน ก็มีข้อมูลเกี่ยวกับพระองค์ไม่มาก มิพกั จะเอ่ยถึงข้ อมูลในสาธารณะประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึง่ แทบ หาไม่มี เพราะการเอ่ยถึงบุคคลสาคัญระดับประมุขของ “ระบอบเก่า” สุม่ เสี่ยงที่จะตกเป็ นเป้าการจับตาของ ทางการในฐาน “พวกปฏิการ” หรื อผู้ตอ่ ต้ านการปฏิวตั สิ งั คมนิยม-คอมมิวนิสต์ หนังสือ “พระประวัตสิ มเด็จพระสังฆราชแห่งพระราชอาณาจักรลาว” เล่มนี ้ ข้ าพเจ้ าเรี ยบเรี ยงขึ ้น โดย อาศัยข้ อมูลทังฝ่้ ายลาว ไทย และเอกสารในภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส อาจมีข้อมูลบางส่วนคลาดเคลื่อน ผิดพลาดไป ข้ าพเจ้ าผู้จดั ทา ต้ องขอประทานอภัยผู้อา่ น หรื อท่านผู้ที่เกี่ยวข้ องกับข้ อมูลในหนังสือเล่มนี ้ด้ วย โดยเหตุที่ข้าพเจ้ ามีเจตนาที่จะบันทึกเรื่ องราวทางพุทธศาสนาในแผ่นดินล้ านช้ างไว้ มิให้ สาบสูญไปในภายภาค หน้ า มิได้ มีเจตนาแอบแฝงอื่นใด โดยเฉพาะเจตนาทางการเมือง สุดท้ ายนี ้ คุณความดีที่ข้าพเจ้ าให้ บนั ทึกและเผยแพร่พระประวัตขิ องสมเด็จพระสังฆราชลาวองค์แรก และองค์สดุ ท้ าย ข้ าพเจ้ าของถวายอุทิศผลบุญกุศลแก่องค์สมเด็จพระสังฆราชแห่งพระราชอาณาจักรลาว สมเด็จพระสังฆราชแห่งแผ่นดินสยามอันเป็ นบ้ านเกิดเมืองนอนของข้ าพเจ้ า รวมถึงบิดร มารดา ผู้มีพระคุณ ทังหลายของข้ ้ าพเจ้ า และขอวถายหนังสือเล่มนี ้เป็ นพุทธบูชา ธรรมบูชา และสงฆ์บชู า ด้ วยเทิญ ขอให้ สรรพสัตว์ทงหลายจงเป็ ั้ นสุขเป็ นสุขเถิด ยุคนธร ๑๕ มษายน ๒๕๕๗

3


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

4


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

มเด็จพระสังฆราชของพระราชอาณาจักรลาว ทรงมีพระนามเดิมว่า บุญทัน บุปผ รั ตน์ ประสูติเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๓๔ ตรงกับรัชสมัยของพระเจ้ าสักรินทรฤทธิ์ หรื อพระ เจ้ าคาสุก สมเด็จเจ้ ามหาชีวิตองค์ที่ ๑๒ แห่งอาณาจักรล้ านช้ างหลวงพระบาง อัน

เป็ นรัชกาลที่ลาวตกเป็ นเมืองขึ ้นของฝรั่งเศส นิวาสสถานถิ่นกาเนิดอยู่ ณ ที่บ้านป่ าข้ าม ตาแสงป่ าขาม กาแพงเมืองหลวงพระบาง บิดาชื่อเซียงผุย มารดานางป้อม มีพี่น้อง ๕ คน พระองค์เป็ นลาดับที่ ๔ ศึกษาอักษรสมัย และ ศึกษาการสวดมนต์กบั อาชญาครู หลวงเหล็ก วัดล่ องคูน ๏ ภาพที่ ๑ สิม หรือพระอุโบสถวัดล่ องคูน วัดล่ องคูน เป็ นวัดเล็กๆ ตังอยู ้ ่ฝั่งขวาของแม่น ้าโขง ตรง ข้ ามกับวัดเชียงทอง อันเป็ นวัดที่ มีความสาคัญและงดงามยิ่งของ เมืองหลวงพระบาง แม้ จะเป็ นวัด เล็กๆ ตังอยู ้ ่ฝั่งตรงข้ ามกับเขต ชุมชนและเขตพระราชวังหลวงของเมืองหลวงพระบาง หรื อที่เรี ยกันว่าเมืองเชียงแมน แต่วดั ล่อง คูนกลับมีความสาคัญอย่างยิ่งในการประกอบพระราชพิธีหลวงของสมเด็จเจ้ ามหาชีวิตของหลวง พระบาง ตามประวัติกล่าวว่า วัดนี ้สร้ างขึ ้นเมื่อปี ๒๓๓๔ ในสมัยพระเจ้ าอนุรุธ คาดว่าเดิมคงเป็ น วัดป่ ากรรมฐาน นับตังแต่ ้ พทุ ธศตวรรษที่ ๒๓ เป็ นต้ นมา วัดล่ องคูนใช้ เป็ นที่บาเพ็ญธรรม และรับ น ้าสรงของสมเด็จเจ้ ามหาชีวิตทุกพระองค์เป็ นเวลา ๓ วัน ก่อนขึ ้นครองราชย์ จากนันจะข้ ้ ามไป ตระเตรี ยมพระองค์ที่วัดเขียงทองก่อนครองราชสมบัติ

5


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

เป็ นเรื่ องบังเอิญหรื อฟ้ากาหนดก็ยากที่จะหยัง่ ถึงได้ ที่ทาให้ บุญทัน บุปผรั ตน์ อนาคตผู้ที่ จะได้ รับการแต่งตังจากเจ้ ้ ามหาชีวิต ให้ ดารงตาแหน่งสมเด็จพระสังฆราชของแผ่นดินลาว ได้ เริ่มต้ นชีวิตใต้ ร่มเงาของพระบวรพุทธศาสนาในพระอารามที่มีความสาคัญยิ่งกับพระราชวงศ์ลาว ต่อมา เด็กชายบุญทันในขณะนัน้ ได้ บรรพชาเป็ นสมเณรที่วัดล่ องคูน เมื่อวันทื่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๔๔๗ โดยมีอาชญาครู หลวงเหล็กเป็ นอุปัชฌา อุปสมบทที่วัดป่ าไผ่ เมื่อวันที่ ๒๐ เมษายน ๒๔๕๕ พระอัครราชราชครู พุทธรั กขิตโต เป็ นอุปัชฌา ได้ ฉายาว่า ธมฺมญาโณ ท่าน ได้ “ฮดสรง” เป็ นพระสาเร็จ ในปี ๒๔๕๕ เป็ นอาชญาซา ในปี ๒๔๕๘ เป็ นอาชญาครู ในปี ๒๔๖๒ เป็ นหลักคาธรรมญาณวิสุทธิคุณในปี ๒๔๖๕ ๏ ภาพที่ ๒ ตัวอย่ างสุพรรณบัตรสาหรั บพระหลัก คา ในภาพเป็ นสุพรรณบัตรของพระหลักคาสุวรรณ บุรีศรีคณาจารย์ (ฝั้ น ติสสะวังโส )อดีตเลขาธิการ สมเด็จพระสังฆราชพุทธชินโรส

กระทัง่ ในที่สดุ พระหลักคา ธรรมญาณวิสุทธิคุณ ก็ได้ รับการ อภิเษกฮดสรงเป็ นพระยอดแก้ ว พุทธชิโนรส สกลมหา สังฆปาโมกข์ ธรรมญาณมหาเถระ แห่งวัดเตาไห อันเป็ นตาแหน่งทางสงฆ์สงู สุดของพระราชอาณาจักรหลวงพระบาง มีอานาจดูแล กิจการคณะสงฆ์ในนครหลวงพระบาง ในยุคที่แผ่นดินลาวยังแบ่งออกเป็ น 3 แผ่นดิน ภายใต้ การ ปกครองของฝรั่งเศส เมื่อปี ๒๔๘๐

6


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

ทังนี ้ ้ ผู้อ่านชาวไทยภาคอื่น อาจไม่ค้ นุ เคยกับตาแหน่งสงฆ์ที่เคยใช้ กนั ในประเทศลาวแต่ โบราณ รวมถึงในภาคอีสานของไทยก่อนการปรับปรุงกิจการคณะสงฆ์ให้ สอดคล้ องกับส่วนกลาง และภาคอื่นๆ ของประเทศ โดยในแผ่นดินล้ านช้ างแต่โบราณนัน้ ตาแหน่งสงฆ์ หรื อ สมณศักดิ์จะ แบ่งออกเป็ น ๑๐ ตาแหน่งชัน้ กล่าวคือ ๑. ชันส ้ าเร็จ (แบ่งแห่งเรี ยก สมเด็จ) ๒. ชันชา ้ (ปรี ชา) ๓. ชันคู ้ (ครู) ๔. ชันราชคู ้ (สาหรับครูบาอาจารย์สอนลูก เจ้ านาย) ๕. ชันเจ้ ้ าหัวคูฝ่าย ๖. ชันเจ้ ้ าหัวคูค้าน ๗. ชันเจ้ ้ าหัวคูหลักคา ๘. ชันเจ้ ้ าหัวคูลกู แก้ ว ๙. ชันเจ้ ้ าหัวคูยอดแก้ ว ๑๐. ชันราชคู ้ หลวง

๏สาธุวัดใหม่ วัดประจาราชสานักหลวงพระบาง ถ่ ายหลังปี 2448

สมณศักดิ์ตามข้ อ ๑ ถึงข้ อ ๔ เป็ น สมณศักดิ์ฝ่ายปริยตั ิ ส่วนข้ อ ๕ ถึงข้ อ ๑๐ เป็ นสมณศักดิ์ ฝ่ ายบริหาร การเลื่อนสมณศักดิฝ์ ่ ายปริยตั ิ พระภิกษุสามเณรจะได้ รับสมณศักดิช์ นใด ั ้ จะต้ องได้ รับ การศึกษาเป็ นบันไดไต่ขึ ้นเป็ นชัน้ ๆ ตามหลักสูตร การแบ่งหลักสูตรการศึกษาในสมัยโบราณมี ๓ ชัน้ หลักสูตรชันหนึ ้ ง่ ๆ เรี ยกว่า “บัน้ ” ซึง่ มีดงั นี ้

7


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

๏ บัน้ ต้ น ๑. สูตรมนต์ น้อย คือ ตังมุ ้ งคุลน้ อย (มงคลน้ อย) ได้ แก่ ๗ ตานาน สูตรมนต์หลวง คือ ตังมุ ้ งคุลหลวง (มงคลหลวง)ได้ แก่ ๑๒ ตานาน ไชยน้ อย ไชยใหญ่ จบบริ บรู ณ์ ๒. สูตรมนต์ กลาง คือ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มหาสมัยสูตร อนัตตลักขณสูตร อา ทิตตปริยายสูตร มาติกา แจง พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ พระวินยั พระสูตร ๓. สูตรมนต์ ปลาย คือ สัททนีติปกรณ์ (บาลีมลู กัจจายนสูตร) อภิธมั มัตถสังคห บาลี ปาฏิโมกขบาลี ๏ คัมภีร์ใบลานสวดมนต์ ไชยน้ อย ไชยใหญ่ และเจ็ดตานาน จากวัดใหม่ สุวรรณภูมาราม หลวงพระบาง สร้ างโดยเจ้ ากุลบุตรปั ญญาเมืองละคอน

๏ บัน้ กลาง ๑. เรี ยนมูลกัจจายนสูตร เริ่มตังแต่ ้ สามัญญา ภิธานและสนธิ นาม อาขยาต กิตก์ สมาส เป็ นต้ นไป ดุจเรี ยนบาลีไวยากรณ์ในสมัยนี ้ แต่พสิ ดารมากและต้ อง เรี ยนจากพระคัมภีร์ใบลานอักษรขอม อักษรธรรมอีสาน ธรรมล้ านนา และไทยน้ อย ๒. แปลคัมภีร์บาลีอัฏฐกถาทัง้ ๕ คือ พระ วินยั อัฏฐกถา อัฏฐากถาปาจิตตีย์ อัฏฐกถาจุลลวรรค อัฏฐกถามหาวรรค อัฏฐกถาปริวารวรรค ๓. อัฏฐกถาธรรมบทบาลี ๘ ภาค ประกอบด้ วยปฐมภาโค ภาค ๑ ทุติยภาโค ภาค ๒ ตติยภาโค ภาค ๓ จตุตถภาโค ภาค ๔ ปั ญจม ภาโค ภาค ๕ ฉัฏฐภาโค ภาค ๖ สัตตมภาโค ภาค๗ และ อัฏฐมภาโค ภาค ๘

8


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

๏ บัน้ ปลาย ๑. คัมภีร์ทสชาติบาลี พระบาลีแสดงถึงเรื่ องทศชาติของพระพุทธเจ้ า ๒. มังคลัตทีปนีบาลี พระบาลีแสดงถึงเรื่องมงคล ๓๘ ประการ ๓. อัฏฐกถาวิสุทธิมรรคบาลี พระบาลีแสดงถึงเรื่ องหนทางแห่งการปฏิบตั ิเพื่อถึง ความบริสทุ ธิ์ ๔. อัฏฐกถาอภิธรรมสังคหะบาลี พระบาลีแสดงถึงพระอภิธรรมขันสู ้ ง นอกจากนี ้ ยังมีอีกหลายคัมภีร์ที่ภิกษุสามเณรต้ องเรี ยนรู้ แต่หลักๆ คือคัมภีร์ที่ระบุชื่อไว้ ข้ างต้ น ทังนี ้ ้ เมื่อพระภิกษุสามเณรรูปใดมีความวิริยะอุตสาหะเล่าเรี ยนจนจบบันใดจากบั ้ นต้ ้ นมา บันปลาย ้ ก็จะได้ รับการยกย่องให้ เป็ นที่ปรากฏ โดยจะได้ รับการถวายสมณศักดิ์ซงึ่ มีลาดับชั ้น ดังต่อไปนี ้ โดยเริ่มจากลาดับสมณศักดิ์ของสงฆ์ฝ่ายปริยตั ิ

๏ พิธีฮดสรงพระสงฆ์ ในลาว ภาพจากยุคอาณานิคมฝรั่ งเศส

9


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

๑. ชัน้ สาเร็จ ผู้ที่จะได้ ฐานันดรศักดิ์เป็ นชั ้นสาเร็จ จะต้ องเรี ยนจบหลักสูตรบันต้ ้ นก่อน จะ เป็ น จัว หรื อ เจ้ าหัว ก็ได้ ย่อมได้ รับการสถาปนาขึ ้นเป็ นชันส ้ าเร็จทังนั ้ น้ ทังนี ้ ้อาจจะเนื่องจาก ท่อง บ่นจาได้ สาเร็จในสวดมนต์ที่กาหนดไว้ ในหลักสูตร เมื่อเป็ นสาเร็ จการเรี ยกเจ้ าหัวเรี ยกสับเปลี่ยน กัน คือ ถ้ าเป็ นจัว ใช้ คาว่า สาเร็จ นาหน้ า แล้ วใส่ชื่อจัวรูปนัน้ ๆ ต่อข้ างหลัง เช่น สาเร็จจัวสา สาเร็จจัวมา ฯลฯ ถ้ าเป็ นเจ้ าหัวใช้ คาว่า สาเร็จไว้ หลัง เช่น เจ้ าหัวสาเร็จสี เจ้ าหัวสาเร็จมี เป็ นต้ น

๏ หอไตรวัดใหม่ สุวรรณภูมาราม ถ่ ายไว้ เมื่อราวปี ๒๔๒๒ – ๒๔๓๘

๒. ชัน้ ชา คาว่า “ชา” คงหมายถึง ปรี ชา นัน่ เองแต่ตดั คาต้ นออกคงไว้ เพราะชาตัวเดียวซึง่ หมายถึง ฉลาด รอบรู้ หรื อคงแก่เรี ยน ตรงกับคาว่า ปริญญาหรื อเปรี ยญในปั จจุบนั คนอีสานออก เสียงว่า ซา ผู้ที่จะได้ เลื่อนสมณศักดิ์ชนนี ั ้ ้จะต้ องผ่านชั ้นสาเร็ จมาก่อน แล้ วพยายามเล่าเรี ยนจบ หลักสูตรบันกลาง ้ จนมีปรี ชาสามารถรอบรู้แตกฉานแตกในพระไตรปิ ฏกควรแก่การเลื่อนสมณศักดิ์ ชันนี ้ ้ จะเป็ นจัวหรื อเจ้ าหัวก็ได้ ถ้ าเป็ นจัวเรี ยกว่า ซาจัว ถ้ าเป็ นเจ้ าหัวเรี ยกว่าเจ้ าหัวซาแล้ วใส่ชื่อจั่ว เจ้ าหัว ต่อท้ าย เช่น ซาจัวขาว เจ้ าหัวซาแดง เป็ นต้ น

10


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

11

๓. ชัน้ คู ผู้ที่จะได้ ชนนี ั ้ ้ จะต้ องประกอบด้ วยคุณสมบัติ ๒ ประการคือ ๑.เรื่ องอายุ พรรษา จะต้ องพ้ น นวกภูมิและมัชฌิมภูมิ ตังอยู ้ ่ในเถรภูมิ เรี ยกว่า มีวยั สมบัติอย่างหนึง่ และ ๒. เรื่ อง คุณวุฒิ จะต้ องผ่านชันส ้ าเร็จและชันซามาแล้ ้ ว มีอตุ สาหะวิริยะ เล่าเรี ยนจบหลักสูตรบันปลายและ ้ ค้ นคว้ าให้ กว้ างขวางยิ่งขึ ้น อยู่ในเกณฑ์ที่เรี ยกว่า พหูสตู สมควรเป็ นครูบาอาจารย์ได้ จัวเรี ยกว่า คูจัว เจ้ าหัว เรี ยก เจ้ าหัวคู เช่น คูจวั ทอง เจ้ าหัวคูเงิน เป็ นต้ น อนี่งผู้มีสมณศักดิ์เป็ นชันคู ้ นี ้ถ้ าได้ รับ อาราธนาให้ เป็ นครูอาจารย์สอนลูกเจ้ านายหรื อพระราชโอรส ร่ วมกับปุโรหิตาจารย์ ก็เรี ยกว่า ราช คูจัว เจ้ าหัวราชคู ส่วนการเลื่อนสมณศักดิ์ฝ่ายบริหาร ตาแหน่งสมณศักดิฝ์ ่ ายบริหารของพระสงฆ์ ล้ านช้ าง และอีสานโบราณนัน้ ผู้จะได้ ตาแหน่ง เหล่านี ้ตามปรกติจะต้ องมีคณ ุ สมบัติต่อจาก ฝ่ ายปริยตั ิ ๓ ขันดั ้ งกล่าวแล้ วก่อน แต่อาจมี ข้ อยกเว้ นสาหรับพระภิกษุผ้ มู ีคณ ุ ธรรมสูง เป็ น ที่เชื่อถือและเคารพนับถือของพระภิกษุ สามเณรและประชาชน ตาแหน่งฝ่ ายบริหาร มี ดังนี ้

๏ พระสงฆ์ ลานกาลังจารใบลาน

๑. คูฝ่ายหรื อเจ้ าหัวคูฝ่าย (ครู ฝ่าย) เป็ นตาแหน่งปกครองหมู่สงฆ์ส่วนหนึ่ง หรื อฝ่ ายหนึง่ และผู้จะรับตาแหน่งนี ้ปรกติจะต้ องเป็ นเจ้ าหัวคูมาแล้ ว ซึง่ มีความรู้สามารถพอที่จะอบรมสัง่ สอน


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

และปกครองคณะสงฆ์ตลอดประชาชนพลเมืองให้ ประพฤติปฏิบตั ิไปตาม “ฮีตคอง” (จารี ต ประเพณี) อันดีงาม ตาแหน่งนี ้อาจเทียบได้ กบั เจ้ าคณะหมวดหรื อเจ้ าคณะตาบลในปั จจุบนั ๒. คูด้านหรื อเจ้ าหัวคูด้าน (ครู ด้าน) เป็ นตาแหน่งปกครองหมู่สงฆ์ส่วนหนึ่งจะมีอานาจ ที่ต่างกับคูด้านอย่างไรยังคลุมเคลือไม่ชดั เจน บางท่านกล่าวว่าคูด้านเทียบกับเจ้ าคณะแขวงหรื อ เจ้ าคณะอาเภอในปั จจุบนั

๏ สุพรรณบัตรตาแหน่ งสังฆปาโมกข์ ทีเจ้ ามหาชีวิตศรีสว่ างวงศ์ พระราชทานแก่ พระยอดแก้ วพุทธชิโนรส เมื่อปี ๒๔๘๐

๓. คูหลักคา (ครู หลักคา) เป็ นตาแหน่งยศ ซึง่ ปกครองคณะสงฆ์ในเขตกว้ าง ประกอบกับ ผู้มนั่ คงในพระธรรมเป็ นหลักในการประกอบศาสนกิจเทียบได้ กบั หลักหล่อด้ วยทองคา บางที เรี ยกว่า เจ้ าหัวคูหลวง คงจะเนื่องจากได้ รับแต่งตังจากหลวงหรื ้ อพระมหากษัตริย์ ตาแหน่งนี ้เทียบ ได้ กบั คณะจังหวัดเพราะเมืองหนึง่ มีได้ เพียงรูปเดียว

12


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

๔. คูลูกแก้ ว (ครู ลูกแก้ ว) การแต่งตังดู ้ ลกู แก้ ว ส่วนมากคงมีเฉพาะเวียงจันทร์ และหลวง พระบางซึง่ พระมหากษัตริย์ทรงสถาปนา คงเหมือนเป็ นทายาทของคูยอดแก้ ว หรื อมิฉะนันก็ ้ ช่วย ราชภาระบริหารรองคูยอดแก้ วซึง่ คล้ อยรับภาระด้ านบริหารฝ่ ายซ้ ายของราชคูหลวง คูยอดแก้ วนัน้ บริหารฝ่ ายขวา ท่านผู้เป็ นราชคูหลวงเป็ น ประมุขสงฆ์ตาแหน่งพระสังฆราชนันเอง ้ ๕. คูยอดแก้ ว (ครู ยอดแก้ ว) เป็ น ตาแหน่งรับสนองพระบัญชา ดุจตาแหน่ง บัญชาการคณะสงฆ์แทนองค์สมเด็จ พระสังฆราช เท่ากับตาแหน่งสังฆนายก ผู้ จะได้ รับตาแหน่งนี ้จะต้ องมีคณ ุ สมบัติเป็ น ที่เคารพยาเกรงของสังฆมณฑล และ ประชาชนทัว่ ไปทังแคว้ ้ น ตาแหน่งนี ้คงมี เฉพาะเมืองเวียงจันทน์เท่านันและต ้ าแหน่ง นี ้สาคัญเท่ากับเป็ นรองสมเด็จพระสังฆราช และคงจะเป็ นตาแหน่งที่พระมหากษัตริย์ ทรงสถาปนาและทรงประกอบพิธีเถราภิเษ กด้ วยพระองค์เอง

๏ สมเด็จพระสังฆราชพระยอดแก้ วพุทธชิโนรส เมื่อครั้ ง ยังเป็ นพระภิกษุหนุ่มในเมืองหลวงพระบาง

13


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

๖. ราชคูหลวง (ราชครูหลวง) คงเป็ นตาแหน่งพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก ซึง่ เป็ น ตาแหน่งสูงสุดทางคณะสงฆ์และคงมีแต่เฉพาะในเมืองหลวงเท่านัน้ เมื่อมีการสถาปนาและเลื่อนสมณศักดิ์แก่พระสงฆ์ผ้ สู าเร็จการศึกษาและทรงคุณธรรม ชันสู ้ งจนเป็ นที่เคารพสักการะตามลาดับชันดั ้ งกล่าวมา ทุกลาดับชันต้ ้ องผ่านการถวายน ้าสรง การ ดังกล่าวจึงจะถือว่าเสร็จสมบูรณ์ พิธีการสรงน ้านันก็ ้ คือพิธีฮดสรง หรื อพิธีเถราภิเษกนัน่ เอง ทังนี ้ ้ หลังจากที่อาณาจักรล้ านช้ างเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงต่างๆ นานา จากการแตก แผ่นดินออกเป็ น ๓ ส่วน การยุบอาณาจักรศรี สัตนาคนหุตเวียงจันทน์ และการตกเป็ นรัฐใน อารักขาของฝรั่งเศส ตาแหน่งสงฆ์เหล่านี ้มีการปรับเปลี่ยนธรรมเนียมการแต่งตังและล ้ าดับชันตาม ้ ไปด้ วย ดังจะเห็นได้ ว่า พระยอดแก้ วพุทธชิโนรสฯ เป็ นพระครู ยอดแก้ ว อันถือเป็ นตาแหน่ง สูงสุดของคณะสงฆ์ในหลวงพระบาง เป็ นต้ น ในปี ๒๔๙๖ เมื่อลาวรวมเป็ นอันหนึง่ อันเดียวกัน โดยมีสมเด็จพระเจ้ าศรี สว่ างวงศ์ เจ้ า มหาชีวิตแห่งหลวงพระบาง ทรงขึ ้นครองพระราชบัลลังก์ปกครองพระราชอาณาจักรลาวทังปวงเป็ ้ น หนึง่ เดียวกัน พระยอดแก้ วพุทธชิโนรสฯ จึงได้ รับการสถาปนาโดยสมเด็จเจ้ ามหาชีวิต ให้ เป็ น สมเด็จพระสังฆราชแห่งพระราชอาณาจักรลาว ประทับ ณ วัดใหม่ สุวรรณภูมาราม ใกล้ กบั พระราชวังหลวง ในนครหลวงพระบาง ซึง่ วัดใหม่ฯ นี ้ เคยเป็ นที่ประดิษฐานพระบางพุทธลาวรรณ พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของลาว แต่ต่อมาได้ ย้ายพระบางไปประดิษฐานยังพระราชวังหลวง แต่ที่วดั ใหม่นนั ้ ยังมีพระบางองค์จาลองประดิษฐานอยู่อีกองค์หนึง่

14


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

15

๏ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าศรีสว่ างวงศ์ เจ้ ามหาชีวิต หรือ พระมหากษัตริย์องค์ ที่ ๑๒ ห่ งราชอาณาจักรล้ านช้ างหลวงพระบาง และ พระมหากษัตริย์พระองค์ แรกแห่ งพระราชอาณาจักรลาว


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

อนึง่ แต่เดิมนันประมุ ้ ขสงฆ์ของหลวงพระบาง จะสถิตอยู่ ณ วัดอาฮาม เนื่องจากวัดอา ฮาม เป็ นศูนย์กลางการจัดงานพุทธพิธีและราชพิธีมาแต่โบราณ ซึง่ ต้ องท้ าวความว่า แต่เดิมนัน้ บริเวณสถานที่อนั เป็ นที่ตงของวั ั้ ดอาฮาม เคยเป็ นที่ตงของศาลปู่ ั้ เยอ ย่ าเยอ หรื อ “เทวดาหลวง” ซึง่ ถือกันว่าเป็ นอารักษ์ รักษาเมืองหลวงพระบาง โดยศาลปู่ เยอ ย่ าเยอ แรกตังขึ ้ ้นในสมัยพระเจ้ า ฟ้างุ้ม ปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรล้ านช้ าง (ครองราชย์พ.ศ. ๑๘๙๖ - ๑๙๑๕) แต่ต่อมาในรัชสมัย ของพระเจ้ าโพธิสารราช (ครองราชย์พ.ศ. ๒๐๖๓ - ๒๐๙๐) ทรงเป็ นกษัตริ ย์ที่มีพระราชศรัทธา ในพระบวรพุทธศาสนาอย่างยิ่ง จึงมีพระบรมราชโองการสัง่ พสกนิกร มิให้ ประกอบพิธีเซ่นสรวง บูชาภูติผีเทพยดา ตามความเชื่อดังเดิ ้ ม อีกทังยั ้ งทรงทาลายศาลปู่ เยอ ย่ าเยอเสียแล้ ว สถาปนา พระอารามขึ ้น ณ จุดที่ตงศาล ั้ ซึง่ เป็ นพระอารามที่มีมาก่อนวัดอาฮาม แต่ตงอยู ั ้ ่ในจุดเดียวกัน ๏ วัดดอาฮามกับตันโพธืศักดิ์สิทธิ์ ๒ ต้ น

อย่างไรก็ตาม หลังจากที่มีการทาลายศาลไปแล้ ว ได้ เกิดอาเภทต่างๆ นานา ทังโรคภั ้ ยไข้ เจ็บระบาด เกิดภัยแล้ ง พืชพันธ์ธญ ั ญาหารเสียหาย ผู้คนเชื่อว่าเป็ นเพราะการทาลายศาลปู่ เยอ ย่ าเยอ เป็ นเหตุให้ เกิดเรื่ องเลวร้ ายขึ ้น ครัน้ ต่อมาในรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้ าไชยเชษฐาธิราช มหาราช (ครองราชย์พ.ศ. ๒๐๙๑ - ๒๑๑๔) ได้ ทรงย้ ายเมืองหลวงจากหลวงพระบาง ไปยัง

16


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

เวียงจันทน์ ชาวหลวงพระบางจึงได้ ตงศาลปู่ ั้ เยอ ย่ าเยอ หรื อเทวดาหลวง ขึ ้นมาใหม่ โดยวัดอา ฮาม และวัดวิชุน ซึง่ เดิมเป็ นที่ประดิษฐานพระบาง และอยู่ติดกันมีเพียงประตูกนั ้ เป็ นศูนย์กลาง ของการจัดงานพิธีในหลวงพระบางเรื่ อยมาแต่ประวัติวดั อาฮามนันไม่ ้ ทราบแน่ชดั ว่า สร้ างขึ ้น เมื่อใด ทราบแต่ว่า ในปี ๒๓๖๒ ใน รัชสมัยของพระเจ้ ามันธาตุราช กษัตริย์แห่งอาณาจักรหลวงพระ บาง (ในครัง้ นันลาวล้ ้ านช้ างได้ แตก ออกเป็ น ๓ อาณาจักรมานานแล้ ว คือหลวงพระบาง เวียงจันทน์ และจาปาสัก) ได้ มีการสร้ างสิมขึ ้น มาในบริเวณ วัดอาฮามในปั จจุบนั กระทัง่ ล่วงมาจนถึงกลาง พุทธศตวรรษที่ ๒๔ “ศาลเทวดา หลวง” ถูกทาลายอีกครัง้ อีกทัง้ ต่อมางานพิธีต่างๆ ยังได้ ย้ายจาก วัดวิชุน ไปจัดที่วัดใหม่ สุวรรณภู มาราม เนื่องจากวัดวาอารามส่วน ใหญ่ในหลวงพระบางถูกพวกฮ่ อ ทาลาย เหลือเพียงวัดใหม่เท่านันที ้ ่รอดพ้ นไปได้ เช่นเดียวกับประมุขสงฆ์ หรื อ องค์สังฆปาโมกข์ ได้ ย้ายที่ประทับมายังวัดใหม่เช่นกัน กระทัง่ ตาแหน่งสังฆปาโมกข์ของลาว ได้ รับการยกระดับให้ เป็ นตาแหน่งสมเด็จพระสังฆราช เมื่อครัง้ ที่ลาวรวมเป็ นพระราชอาณาจักรหนึง่ เดียวกันอีกครัง้

17


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

ส่วนที่ วัดอาฮามนัน้ ได้ มีการสร้ างศาลเทวดาหลวงขึ ้นใหม่ เรี ยกว่า หอผีโขน พร้ อมกับมีความ เชื่อว่า บัดนี ้ เทวดาหลวงได้ สิงสถิตอยู่ ณ ต้ นโพธิ์ใหญ่ ๒ ต้ น ในบริ เวณวัดอาฮามอีกด้ วย

๏ พระเจ้ าสักริ นทรฤทธิ์ หรือเจ้ าคาสุกประทับพระราชยานเสด็จออกจากงานพระราชพิธีทวี่ ัดใหม่ ถ่ ายเมื่อปี ๒๔๔๐

ก่อนที่ สมเด็จพระสังฆราชยอดแก้ วพุทธชิโนรส จะเสด็จไปประทับที่วดั ใหม่สวุ รรณภู มารามนัน้ ควรทราบว่า เจ้ าวัด หรื อ “สาธุใหญ่ ” ของวัดนี ้มีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งต่อ ประวัติศาสตร์ ลาวยุดหัวเลี ้ยวหัวต่อ ในการเปลี่ยนผ่านจากเป็ นเมืองประเทศราชของสยาม สู่การ เป็ นรัฐอารักขาของฝรั่งเศส กล่าวคือ ในปี พ.ศ. ๒๔๓๑ เมื่อครัง้ ที่นายโอกุสต์ ปาวี นักสารวจชาว ฝรั่งเศส คนต้ นคิดเสนอให้ ฝรั่งเศสล่าอาณานิคมในลาวนัน้ ได้ เดินทางมาถึงหลวงพระบาง ในฐานะ

18


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

รองกงสุล ชาวฝรั่งเศสและชาวยุโรปคนแรกที่เดินทางมายังหลวงพระบางในฐานะดังกล่าว ทว่า ในขณะนันอาณาจั ้ กรหลวงพระบางยังขึ ้นอยู่กบั สยาม ฝ่ ายสยามพยายามกีดกันมิให้ ปาวี และ คณะเข้ าถึงตัวพระเจ้ าอุ่นคา กษัตริย์ลาวได้ ทังยั ้ งพยายามแทรกแซงด้ วยวิธีการต่างๆ อย่างไรก็ตาม เจ้ าอาวาส หรื อสาธุใหญ่ วัดใหม่ ซึง่ เป็ นผู้ที่พระเจ้ าอุ่นคาให้ ความไว้ วาง พระทัยอย่างยิ่ง ได้ เชิญ ปาวี และคณะมาพักที่วดั ใหม่ พร้ อมจัดการเป็ นคนกลางติดต่อระหว่าง ปาวี กับพระเจ้ าอุ่นคา นอกจากนี ้ ยังอนุญาตให้ ปาวี ทาการศึกษาคัมภีร์ใบลานจานวนมากมาย ที่เก็บไว้ ในวัดใหม่ จน ปาวี แต่งหนังสือประวัติศาสตร์ ลาวสาเร็จ นับเป็ นประวัติศาสตร์ ลาวใน ภาษาของชาวยุโรปฉบับแรกๆ

๏ทีร่ ะลึกในการบวชสามเณร (จัว) จานวน ๒๐๐ รู ป เพื่อฉลองพระชนมายุ เมื่อวันที่ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๕

19


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

ที่สาคัญก็คือ จากความช่วยเหลือของสาธุวัดใหม่ ทาให้ ปาวี และฝรั่งเศส ประสบ ความสาเร็จในการดึงเอาลาว ให้ พ้นจากอิทธิพลของสยาม จนกลายมาเป็ นรัฐอารักขา หรื ออาณา นิคมของฝรั่งเศสในที่สดุ กระนันก็ ้ ตาม แม้ พทุ ธจักรลาวและไทย มิได้ ตดั ขาดกันแต่อย่างใด ทังยั ้ งมีสายสัมพันธ์อนั ดี และเกื ้อกูลกันมาโดยตลอด ทังนี ้ ้ สมเด็จพระสังฆราชพระยอดแก้ ว พุทธชิโนรสฯ มิได้ ทรงมีความสาคัญกับ พุทธศาสนิกชนในลาวเท่านัน้ แต่ยงั ทรงมีความเกี่ยว พันธ์กบั พระเถระผู้มีควารมสาคัญของวงการพุทธ ศาสนาในไทยด้ วย นัน่ คือ หลวงปู่ โง่ น โสรโย โดยมี เกล็ดประวัติที่น่าสนใจเกี่ยวกับ สมเด็พระสังฆราช กับความเกี่ยวพันของพระองค์กบั หลวงปู่ โง่น โสรโย พระเถราจารย์ผ้ ยู ิ่งใหญ่ของประเทศไทย แห่งวัดพระ พุทธบาทเขารวก อ.ตะพานหิน จ.พิจิตร. โดยมี รายละเอียดในหนังสือพระราชทานเพลิงศพของ หลวงปู่ โง่น โสรโยได้ ระบุไว้ ดงั นี ้

๏ หลวงปู่ โง่ น โสรโย แห่ งวัดพระพุทธบาทเขารวก พิจิตร

“หลวงปู่ โง่น โสรโย อุปสมบทเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๒ ณ วัดศรี เทพประดิษฐาราม จังหวัด นครพนม โดยมี ท่านเจ้ าคุณสารภาณมุนี เจ้ าคณะจังหวัดนครพนมเป็ นพระอุปัชฌาย์ มี พระมหาพรหมมา เป็ นพระกรรมวาจาจารย์ เมื่ออุปสมบทปี แรก พระอุปัชฌาย์ และ พระ อาจารย์ผ้ อู ปุ การะคือ หลวงพ่อวัง ได้ ร้องขอและส่งให้ ไปอยู่กบั พระสหายของท่าน คือ เจ้ า

20


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

ยอดแก้ ว บุญทัน บุปผรัตน์ ธมมญาโณ ที่วดั สุวรรณารามราชมหาวิหาร นครหลวงพระบาง ราชอาณาจักรลาว ซึง่ ต่อมา เจ้ าบุญทัน บุปผรัตน์ ได้ เลื่อนสมณศักดิ์ขึ ้นเป็ น สมเด็จ พระสังฆราช แห่งราชอาณาจักรลาว ต่อมากรุงเวียงจันทน์แตกใน พ.ศ. ๒๕๑๘ พระองค์ได้ เสด็จลี ้ภัยเข้ ามาอยู่ในประเทศไทย และสิ ้นพระชนม์ใน พ.ศ. ๒๕๒๘” “ส่วน หลวงปูโง่น โสรโยในขณะนันเป็ ้ นพระนวกะ ได้ เรี ยนนักธรรมและบาลีแบบลาว ซึง่ เจ้ า ยอดแก้ ว บุญทัน ทรงรักใคร่โปรดปรานมาก เพราะดังเดิ ้ มเป็ นสายญาติกนั และใช้ งานได้ คล่อง พูดไทยได้ เก่ง เว้ าลาวได้ ดี ภาษาอังกฤษ และฝรั่งเศสก็อาศัยได้ เพราะในระยะนัน้ ประเทศลาว ยังเป็ นอาณานิคม เมืองขึ ้นของฝรั่งเศส ท่านจึงต้ องการให้ พระภิกษุที่เข้ ากับ ชาวต่างชาติร้ ูเรื่ อง อยู่ด้วย เมื่อเวลาว่างท่านให้ เข้ าป่ าเพื่อแสวงหาต้ นไม้ ที่เป็ นยาสมุนไพร เพราะพระองค์ท่านทรงสนใจรับรู้ในเรื่ องยาสมุนไพรมาก ตอนเข้ าไปในป่ าถึงเขตทุ่งไหหิน โดนทหารลาวและทหารฝรั่งจับในข้ อหาเป็ นจารชนจากเมืองไทยไปสืบความลับ ถูกขังคุกขี ้ ไก่ ๓๐ วัน พร้ อมพระลาว ๒ รูป กับเด็กอีก ๑ คน เด็กคนนัน้ คือ เจ้ าสิงคา ซึง่ ต่อมาก็คือ ท่านมหาสิงคา ผู้ทางานช่วยพวกลาวอพยพร่ วมกับสหประชาชาติ อยู่ที่วดั ยานนาวา กรุงเทพฯ ท่านจึงไปมาหาสู่บ่อย เพื่อขอความช่วยเหลือให้ พี่น้องชาวลาว หลวงปู่ โง่นก็ได้ ช่วยเหลือทุกอย่างเท่าที่ความสามารถจะมี” “เรื่ องการติดคุกขี ้ไก่อยู่เมืองทุ่งไหหินนันสนุ ้ กมาก เขาเอาไก่ไว้ ข้างบน คนและพระอยู่ ข้ างล่าง ไก่ขี ้ใส่หวั ตลอดเวลา เหม็นก็เหม็น ทรมานก็ทรมาน สนุกก็สนุก ได้ ศกึ ษาธรรมไป ในตัว ความทราบถึงเจ้ ายอดแก้ ว พุทธชิโนรสสกลมหาสังฆปาโมกข์ ท่านได้ ร้องขอให้ ปล่อย ตัว แต่ทหารปล่อยเฉพาะพระลาว ๒ รูป กับเด็ก ๑ คน ส่วนหลวงปู่ โง่นเขาไม่ปล่อย เพราะ เข้ าใจว่าเป็ นคนไทย ด้ วยเหตุที่พดู ไทยได้ เก่ง ทังนี ้ ้ ขณะนันเป็ ้ นช่วงระหว่างสงครามอินโด

21


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

จีน ฝรั่งยุให้ คนไทยกับคนลาวเป็ นศัตรูกนั เห็นคนไทยก็จบั ขังหรื อฆ่าทิ ้งเสีย จึงมารู้ตวั เข้ า คราวหลังว่า เรามันคนปากเสีย ปากพาเข้ าคุก เพราะพูดภาษาไทย” “ภายหลังสมเด็จพระสังฆราชลาว ท่านออกใบสุทธิให้ ใหม่ โอนเป็ นพระลาวเป็ นคนลาวไป เขาจึงปล่อยตัวออกมา แต่ก็ยงั ไม่พ้นสายตาของพวกนักสืบอยู่นนั่ เอง จึงกราบทูลลาผู้มี พระคุณ หาทางมุ่งกลับเมืองไทย แต่ไม่ร้ ูจะมาอย่างไร จึงตัดสินใจไปพบคนที่ร้ ูจกั รักใคร่คือ ท้ าวโง่น ชนะนิกรซึง่ เป็ นข้ าราชการลาวอยู่ในระยะนัน้ ทังสองฝั ้ ่ งแม่น ้าโขง มีแต่หลุมหลบ ภัยและเสียงปื น ที่พี่ไทยกับน้ องลาวยิงกันไม่ขาดระยะ ต้ องธุดงค์ปลอมแปลงตัว เดินเลียบ ชายฝั่ งแม่น ้าโขงลงมาทางใต้ ถึงใกล้ เมืองท่าแขก ได้ รับความช่วยเหลือจากพระลาวที่ร้ ูจกั กัน คือ ครูบาน้ อย หาทางให้ ได้ เกาะเรื อของชาวประมงข้ ามฝั่ งมาไทย พอถึงแผ่นดินไทยก็ โดนร้ อยตารวจเอกเดช เดชประยุทธ์ และ ร้ อยตารวจโทแฝด วิชชุพนั ธ์ จับในข้ อหาเป็ นพระ ลาวหลบเข้ ามาสืบราชการลับในราชอาณาจักรไทย ถูกจับเข้ าห้ องขัง ฐานจารชน อยู่ ๑๐ วัน ร้ อนถึงพระพนมคณานุรักษ์ ซึง่ เป็ นอดีตเจ้ าเมือง ได้ เจรจาให้ หลุดรอดออกมา” “พอพ้ นจากห้ องขังมาได้ ก็เข้ ากราบพระอุปัชฌาย์คือ ท่านเจ้ าคุณสารภาณมุณี สัง่ ให้ ไป ศึกษาปฏิบตั ิธรรมพระกรรมฐานกับ พระอาจารย์วงั ที่ถ ้าไชยมงคล ภูลงั กา และไปหา พระ อาจารย์เสาร์ กนฺตสีโล ซึง่ เป็ นพระอาจารย์ของ พระอาจารย์มนั่ ภูริทตฺโต ตอนเข้ าพรรษา พระอุปัชฌาย์ให้ มาจาพรรษาอยู่วดั อรัญญิกาวาส จังหวัดนครพนม” “เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๕ สอบได้ นกั ธรรมตรี พ.ศ. ๒๔๘๖ สอบได้ นกั ธรรมโท พ.ศ. ๒๔๘๗ สอบ ได้ นกั ธรรมเอก ต่อมาหนีออกธุดงค์เข้ าถ ้า จาพรรษาที่ถ ้าบ้ านยางงอย อาเภอนาแก จังหวัด นครพนม กับอาจารย์สน อยู่ ๑ ปี พระอุปัชฌาย์ร้ ูข่าวเรี ยกตัวกลับ สัง่ ให้ มาอยู่วดั อรัญญิกา วาส จังหวัดนครพนม โดยบังคับให้ เป็ นครูสอนนักธรรมโท อยู่วดั ศรี เทพ ๒ ปี เพราะวัดทัง้

22


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

สองอยู่ใกล้ กนั ไปกลับได้ สบาย ผลของการสอนได้ ผลดีมาก นักเรี ยนสอบได้ ยกชันทั ้ ง้ ๒ ปี พระอุปัชฌาย์ชมเชยมาก และปี ต่อมาได้ เปลี่ยนเป็ นครูสอนนักธรรมเวลาเช้ า ส่วนเวลาบ่าย หลวงปู่ เป็ นนักเรี ยนบาลีไวยากรณ์” “ปี พ.ศ. ๒๔๙๑ สอบเปรี ยญธรรม ป.ธ.๓ แต่ต้องตกโดยปริยาย เพราะข้ อสอบรั่วทัว่ ประเทศ จึงต้ องสอบกันใหม่ เกิดความไม่พอใจในวิธีการเรี ยนแบบสกปรก จึงย้ อนกลับไป พึง่ ใบบุญของสมเด็จพระสังฆราชแห่งประเทศลาว และได้ ตงใจเรี ั ้ ยนแบบลาว สอบเทียบได้ เปรี ยญ ๕โดยสมเด็จพระยอดแก้ วสกลมหาปรินายก ออกใบประกาศนียบัตรให้ จากนัน้ ท่านสัง่ ให้ ไปเรี ยนต่อที่ประเทศพม่า” หลังจากที่ได้ ทรงรับการสถาปนาเป็ นสมเด็จพระสังฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว แล้ ว ทรงประกอบสมณกิจทังในและต่ ้ างประเทศ โดยได้ ทรงเดินทางไปเยี่ยมเยือนนานาประเทศ เช่นไทย พม่า อินเดีย ศรี ลงั กา และนานาประเทศในยุโรป เช่นเสด็จไปเจริญสมณไมตรี กบั สมเด็จ พระสันตะปาปาปอล ที่ ๖ ประมุขแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก ที่นครรัฐวาติกนั และทรงไปชม สถานที่ต่างๆ มในประเทศอินเดีย แดนพุทธภูมิ รวมถึงยังเดินทางไปยังประเทศมา ซึง่ รัฐบาลพม่า ได้ ถวายตาแหน่ง “อภิธชนมหารั ฐคุรุ” แก่พระองค์ เมื่อปี ๒๕๐๐ เป็ นต้ น

23


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

ส่วนสมณกิจภายในประเทศที่สาคัญ คือด้ านการเผยแผ่พระศาสนา และการศึกษาพระ ปริยตั ิธรรม โดยทรงเป็ นองค์ประธานในการจัดทา “พระไตรปิ ฎกฉบับลาว” ขึ ้น โดยเริ่มโครงการ เมื่อปี ๒๕๑๕ มีคณะผู้เรี ยบเรี ยง ๕๖ คน เป็ นพระสงฆ์จากวัดใหม่บ้าง และวัดอื่นๆ บ้ างในนคร หลวงพระบาง ฉบับแรกแล้ วเสร็จเมื่อวันที่ ๑ มิถนุ ายน ๒๕๑๘ณ วัดใหม่ ฯ นับเป็ นการจัดสร้ าง พระไตรปิ ฎกภาษาลาวเป็ นครัง้ แรก โดยเริ่มจากการจัดสร้ างทีฆนิกาย ของพระสุตันตปิ ฎกก่อน และสมเด็จพระสังฆราชพระยอดแก้ วพุทธชิโนรส ทรงนิพนธ์คานา โดยทังนี ้ ้ การจัดสร้ าง พระไตรปิ ฎกภาษาลาว ได้ ทาการเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกฉบับภาษาไทย ฉบับพิมพ์เมื่อครัง้ แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั นอกจากนี ้ สมเด็จพระสังฆราชยังทรง เทียบเคียงจากหนังสือประวัติศาสตร์ ของไทยเล่มหนึง่ พิมพ์ในปี ๒๕๑๗ แต่มิได้ ทรงระบุว่าเป็ น หนังสือเล่มใด

๏ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆรา (จวน อุฏฺฐายี) ทรงถวายการต้ อนรั บ สมเด็จพระสังฆราชพระยอดแก้ วพุทธชิโนรส ทีว่ ัดมกุฏกษัตริยาราม เมื่อคราวทีเ่ สด็จเยือนประเทศไทย

24


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

เป็ นที่น่าเสียดายว่า พระไตรปิ ฎกฉบับลาวไม่อาจเรี ยบเรี ยงให้ แล้ วเสร็จได้ ตามประสงค์ เนื่องจากลาวต้ องเผชิญกับมรสุมทางการเมืองครัง้ ใหญ่หลังจากนัน้ เนื่องจากความขัดแย้ งทาง การเมืองระหว่างฝ่ ายเสรี นิยม และฝ่ ายคอมมิวนิสต์ ที่เริ่มทวีความรุนแรงขึ ้นทุกขณะ จนยากจะ เยียวยาได้ แม้ ว่า องค์สมเด็จพระสังฆราชพระยอดแก้ วพุทธชิโนรส จะทรงพยายามประสาน รอยร้ าว ด้ วยการทรงนิพนธ์คาอุทิศน์การสร้ างพระไตรปิ ฎกภาษาลาว แก่ทงเจ้ ั ้ าสุวรรณภูมา ผู้นาลาวฝ่ ายขวา และเจ้ าสุภานุวงศ์ ผ้ นู าลาวฝ่ ายซ้ าย แต่ท้ายที่สดุ บ้ านเมืองลาวก็ไม่อาจ หลีกเลี่ยงความแตกแยกได้ ทาให้ จนถึงบัดนี ้ โครงการจัดทาพระไตรปิ ฎกฉบับลาวก็ยงั ค้ างคาอยู่ และทาให้ ลาวเป็ นประเทศที่ประชาชน ส่วนใหญ่นบั ถือสาศาสนาพุทธเพียง ประเทศเดียว ที่ยงั ไม่มีพระไตรปิ ฎกแปล ในภาษาของตัวเอง อย่างที่กล่าวไปแล้ วว่า พระ ราชอาณาจักรที่เพิง่ รวบรวมเป็ นหนึง่ เดียวกลับเผชิญกับภยันตรายจากปั ญหา การเมืองที่ถาโถมเข้ ามาไม่หยุดหย่อน จากการแบ่งฝั กแบ่งฝ่ าย การแย่งชิง อานาจ และภยันตรายอันเกิดจาก สงครามเย็นที่รุกคืบเข้ ามาในภูมิภาคอิน โดจีน จนทาให้ เกิดไฟสงครามลามลุกไป ทัว่ แผ่นดินลาว เวียดนาม และกัมพูชา ๏ภาพเหมือนเจ้ าเพชรราช มหาอุปราชคนสุดท้ าย ชาวลาวนับถือ พระองค์ ว่ามีเวทย์ มนต์ ศักดิ์สิทธิ์ จึงมักมีภาพพระองค์ ประดับบ้ านไว้

25


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

ต้ องเท้ าความถึงประวิติศาาสตร์ ลาวยุคใหม่ก่อนว่า การที่ลาวได้ รับเอกราชจากฝรั่งเศสเมื่อ ปี ๒๔๙๖ มีผ้ ทู ี่มีบทบาทสาคัญในการประกาศเอกราชคือ เจ้ าเพชรราช เจ้ าสุวรรณภูมา และ เจ้ าสุภานุวงศ์ ทัง้ ๓ พระองค์เป็ นพระเชษฐาและพระอนุชาร่วมพระบิดาเดียวกัน แต่พระมารดา ต่างกัน อีกทังยั ้ งมีเจตนารมณ์ทางการเมืองแตกต่างกันอย่างสิ ้นเชิง เจ้ าเพชรราชนัน้ ทรง ปรารถนาจะให้ ลาวเป็ นเอกราชด้ วยวิธีที่เป็ นกลาง ทรงเป็ นผู้นาขบวนการ “ลาวอิสระ” เจ้ าสุวรรณ ภูมาพระอนุชาทรงมีท่าทีเอียงไปทางเสรี ประชาธิปไตย ขณะที่เจ้ าสุภานุวงศ์ พระอนุชาต่างพระ มารดาอีกองค์ ทรงสนับสนุขบวนการ “ปะเทดลาว” หรื อฝ่ ายนิยมคอมมิวนิสต์

๏ สมเด็จพระเจ้ ามหาชีวิตศรีสว่ างวัฒนาทรงประกอบพระราชพิธี

ฝ่ ายพระเจ้ ามหาชีวิตศรี สว่ างวงศ์ ซึง่ แต่เดิมทรงเป็ นเจ้ าชีวิตของอาณาจักรล้ านช้ างหลวง พระบาง หลังลาวได้ รับเอกราชแล้ ว ได้ มีการรรวมอาณาจักรล้ านช้ างหลวงพระบาง เข้ ากับลาว กลางหรื อเวียงจันทน์ และอาณาจักรจาปาสัก หรื อลาวใต้ เป็ นพระราชอาณาจักรลาว อย่างไรก็ ตามเจ้ ามหาชีวิตทรงมีท่าทีไม่ปรารถนาเอกราชจากฝรั่งเศสมาตังแต่ ้ ต้น อีกทังยั ้ งทรงสนับสนุนฝ่ าย

26


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

ขวาอย่างชัดเจน ทาให้ พระองค์ไม่เป็ นที่นิยมนักในหมู่ประชาชนบางส่วน โดยเฉพาะกลุ่มนิยมฝ่ าย ซ้ าย แม้ แต่พระเจ้ ามหาชีวิตศรี สว่ างวัฒนา พระราชโอรสที่ขึ ้นครองราชย์เอง ก็ทรงตกอยู่ใน ฐานะเดียวกัน ระหว่างปี ๒๔๙๖ – ๒๕๑๘ ลาวประสบกับความผันผวนทางการเมืองรุนแรง เกิดการ รัฐประหารหลายต่อหลายครัง้ สถานะของสถาบันกษัตริย์ถกู สัน่ คลอน และยิ่งตกอยู่ในภาวะหมิ่น เหม่ หลังเจ้ าเพชรราชทิวงคตต เนื่องจากทรงเป็ นคนกลางประสานฝ่ ายขวา คือเจ้ าสุวรรณภูมา กับฝ่ ายซ้ ายคือเจ้ าสุภานุวงศ์ รวมถึงปกป้องสถาบันกษัตริย์มาโดยตลอด นอกจากนี ้ เจ้ าเพชร ราชยังมีคณ ุ ปู การยิ่งใหญ่ต่อพุทธศาสนาในลาว โดยทรงเป็ นผู้จดั ระเบียบคณะสงฆ์ และจัดให้ มี การศึกษาพระปริยตั ิ ธรรมสาหรับพระภิกษุ สงฆ์และฆราวาสเมื่อ ราวทศวรรษที่ ๒๔๖๐ ๏ สมเด็จพระสังฆราชกับสงฆ์

หลังจากขาด เจ้ าเพชรราชบ้ านเมืองจึงวุ่นวายหนักขึ ้น ฝ่ ายขวาที่เคยยินยอมจับมือกับฝ่ ายซ้ ายหันกลับมามอง อีกฝ่ ายเป็ นศัตรู เนื่องจากได้ รับการกดดันจากสหรัฐและฝรั่งเศส ผู้นาโลกเสรี ในยุคสงครามเย็น ฝ่ ายขวาจึงทาการกวาดล้ างฝ่ ายซ้ ายอย่างหนัก จนฝ่ ายซ้ าย ซึง่ ได้ รับการสนับสนุนจากสหภาพโซ

27


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

เวียต และคอมมิวนิสต์เวียดนามต้ องไปตังฐานที ้ ่มนั่ ในป่ า ทาการสู้รบเพื่อเปลี่ยนลาวเป็ นระบอบ คอมมิวนิสต์ในที่สดุ

๏ บรรดาสาธุชนเข้ าเฝ้ารั บเสด็จสมเด็จพระสังฆราช

ความพยายามของพรรคประชาชนปฏิวตั ิลาว โดยการนาของ เจ้ าสุภานุวงศ์ ประสบ ความสาเร็จในที่สดุ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ สามารถล้ มล้ างรัฐบาลประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์ เป็ นประมุขของเจ้ ามหาชีวิตสว่างวัฒนา และสถาปนาประเทศลาวเป็ น “สาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว” ในวันที่ ๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ ต่อมาเจ้ ามหาชีวิตและพระ มเหสีทรงสิ ้นพระชนม์ในค่ายกักกันที่ซาเหนือ

28


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

29


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

ความขัดแย้ งต่างๆ นานาในทางโลกที่เกิดขึ ้นในลาว แม้ แต่องค์สมเด็จพระสังฆราช ประมุขในทางธรรมเองก็ไม่อาจรอดพ้ นจากวิกฤตการเมืองอันเลวร้ าย เมื่อครัง้ ที่รัฐบาลฝ่ ายขวาปกครองบ้ านเมืองอยู่นนั ้ สมเด็จพระสังฆราชทรงถูกกดดันจาก รัฐบาลฝ่ ายขวา ให้ เกณฑ์พระเณรมาเทศนาสัง่ สอนสาธุชนโดยสอดแทรกโฆษณาชวนเชื่อต่อต้ าน คอมมิวนิสต์ ถึงขนาดมีการเกณฑ์พระสงฆ์จากฝั่ งอีสานมาช่วยงานนี ้ แต่ปัญหาคือพระอีสานที่มา ช่วยในงานเผยแผ่ศาสนาเชิงการเมือง เป็ นพระในนิกายธรรมยุต ขณะที่พระสงฆ์ในลาวส่วนใหญ่ เป็ นพระมหานิกาย โดยเฉพาะทาง ภาคเหนือ ขณะที่พระธรรมยุติในลาว มี ศูนย์กลางอยู่ที่จาปาสัก ทาให้ เกิดความ อิหลักอิเหลื่อ และการกระทบกระทัง่ กัน พอควร ๏ สมเด็จพระสังฆราชประทานประกาศนียบัตรแก่ พระภิกษุ

ปั ญหาความลงรอยระหว่างฝ่ าย มหานิกายและฝ่ ายธรรมยุตในลาวขณะนัน้ รุนแรงยิ่งกว่าในประเทศสยาม หรื อใน กัมพูชามาก พระมหาจันลา ตันบัว ผู้เขียน หนังสือ “สถานการณ์ พระพุทธศาสนาใน ประเทศสาธารณรั ฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว” ซึง่ ตีพมิ พ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๐ ระบุว่า พระสงฆ์ทงสองนิ ั้ กายในเมืองลาวนันมี ้ การแบ่งแยกกันอย่างเด็ดขาดจนรวมเข้ า

30


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

ด้ วยกันไม่ได้ เมื่อมีเรื่ องของพระสงฆ์เกิดขึ ้นก็พดู กันไม่ร้ ูเรื่ อง ต่างยึดถือประโยชน์ของตนเป็ นหลัก แม้ แต่ประชาชนชาวลาวก็พลอยแยกกันตามพระสงฆ์ไปด้ วย ชนิดที่ว่าหนุ่มมหานิกายจะแต่งงาน กับสาวธรรมยุตไม่ได้ เลยเพราะพ่อแม่เขาไม่ยอม ที่สาคัญก็คือ พระสงฆ์ฝ่ายมหานิกายเริ่มต้ นสนับสนุนฝ่ ายขบวนการประเทดลาวในการ ต่อสู้เรี ยกร้ องเอกราชจากฝรั่งเศส ส่วนสงฆ์ธรรมยุติและมหานิกายบางส่วนโดยเฉพาะในเขตเมือง และหลวงพระบางอยู่ข้าง ฝ่ ายรัฐบาลของเจ้ ามหาชีวิต ๏ ทหารของพรรคคอมมิวนิสต์ ลาว ใน นิตยสาร "เวียงจันทน์ " ปี ๒๕๒๒

นอกจากจากนี ้ ปั ญหาใหญ่อีกประการที่ทา ให้ คณะสงฆ์ ไม่พอใจ รัฐบาลฝ่ ายขวาและสถาบัน ดังเดิ ้ มในระบอบเก่า ก็คือ การที่รัฐบาลฝ่ ายขวา พยายามรวบอานวจการ ปกครองคณะสงฆ์มาอยู่ใน กามือ ด้ วยการผ่าน พระราชบัญญัตลิ าดับที่ ๑๖๐ บัญญัติให้ รัฐบาลมีอานาจก้ าวก่ายกิจการภายในของคณะสงฆ์ ข้ าราชการสามารถใช้ สิทธิ

31


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

ยับยังอ ้ านาจการแต่งตังสาธุ ้ หรื อเจ้ าอาวาส รวมถึงการมอบสณะศักดิ์ที่คณะสงฆ์มีมติแต่งตั ้งได้ พระราชบัญญัติดงั กล่าว สร้ างความไม่พอใจให้ กบั คณะสงฆ์อย่างมาก และเป็ นเหตุให้ ฝ่ายประ เทดลาว หรื อฝ่ ายคอมมิวนิสต์ฉวย โอกาสกระพือความไม่พอใจ และ สนับสนุนสงฆ์กลุ่มต่อต้ าน จนทาให้ คณะสงฆ์รุ่นเก่าเริ่มสัน่ คลอน ภายใต้ การลุกฮือของกลุ่มพระสงฆ์ที่นิยม ฝ่ ายซ้ าย ๏ สมเด็จพระสังฆราชทรงภาวนาหน้ าทีแ่ ทนบูชาใน อิตาลี ๒๕๑๖

แต่ครัน้ เปลี่ยนแปลงเป็ น ระบอบใหม่ ภายใต้ การปกครองของ พรรคคอมมิวนิสต์ อันเป็ นเจ้ านาย ใหม่ สมเด็จพระสังฆราชกลับทรง ตกอยู่ในภาวะที่หมิ่นเหม่ยิ่งกว่าเดิม ยิ่งคณะสงฆ์ลาวในขณะนัน้ ยิ่งตกอยู่ในสภาพกล ้ากลืนไม่แพ้ กนั ในชันแรกนั ้ น้ องค์สมเด็จพระสังฆราชทรงให้ ความร่วมมือกับระบอบใหม่ในระดับหนึง่ โดยทรงมีรับสัง่ ให้ พระสงฆ์ให้ ความร่วมมือกับรั ฐบาลคอมมิวนิสต์ ฝ่ ายพรรคคอมมิวนิสต์ หรื อ พรรคประชาชนปฏิวัตลิ าวก็มีเจตนาที่จะใช้ คณะสงฆ์เป็ นสื่อกลางเชื่อมโยงระหว่างผู้นาใน ระบอบการปกครองใหม่กบั ประชาชนทัว่ ไป

32


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

อย่างไรก็ตาม ในที่สดุ รัฐบาลคอมมิวนิสต์ก็เปิ ดเผยท่าทีที่แท้ จริงต่อสถาบันพุทธศาสนาใน ประเทศในที่สดุ โดยเจตนาที่แท้ จริงก็คือบิดเบือนคาสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าและ แทนที่ด้วยแนวคิดมาร์ กซิสต์ -เลนินนิสต์

ถึงขนาดที่ว่า มีการนาพระสงฆ์ไปสัมมนาแนวคิดฝ่ ายซ้ ายอย่างหนักหน่วงขึ ้นทุกขณะ มี รายงานว่า พระสงฆ์ถึง ๑,๐๐๐ รูปถูกส่งไปอบรมที่ค่ายกักกัน บางพื ้นที่มีการจับพระสงฆ์ไปทาร้ าย และสังหารทิ ้ง

33


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

นอกจากนี ้ ยังมีรายงานว่า แม้ แต่การสวดปาติโมกข์ ยงั ต้ องทาในภาษาลาว หากพระสงฆ์ รูปใดประพฤติตนไม่สอดคล้ องกับนโยบายของรัฐบาล จะถูกวิพากษ์ วิจารณ์ออกอากาศทางวิทยุ ฝ่ ายสมเด็จพระสังฆราช ในฐานะประมุขสงฆ์จากระบอบเดิม จึงทรงตกเป็ นเป้าหมาย ของการโค่นล้ มอันดับตันๆ ้ โดยในชันต้ ้ นนัน้ รัฐบาลระบอบใหม่ได้ ประกาศยกเลิกตาแหน่งทาง คณะสงฆ์ตามพ.ร.บ.สงฆ์ พ.ศ.๒๕๐๒ และแทนที่ด้วยการจัดระเบียบสถาบันสงฆ์ใหม่ในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ โดยมีองค์ การพุทธศาสนาสัมพันธ์ ลาว เป็ นการองค์หลักองค์กรเดียวของคณะสงฆ์ ประ กาบยุบนิกายต่างๆ คือธรรมยุตและ มหานิกาย เป็ น “คณะสงฆ์ ลาว” เพียง กลุ่มเดียว หลังจากยกเลิกตาแหน่งทางคณะ สงฆ์ สมเด็จพระสังฆราชทรงกลายเป็ น พระบุญทัน บุปผรั ตน์ แต่ยงั ได้ รับการ แต่งตังเป็ ้ นประธานที่ปรึกษาขององค์ การ พุทธศาสนาสัมพันธ์ ลาว ทว่า โดยเนื ้อ แท้ แล้ วคือการปลดพระองค์จากตาแหน่ง สมเด็จพระสังฆราชนัน่ เอง ๏ สมเด็จพระเจ้ ามหาชีวติ ศรี สว่ างวัฒนา และพระอัครมเหสี พระราชาและพระราชินีองค์ สุดท้ ายของลาว

34


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

นอกจากนี ้ ยังมีการทาลายพัดยศงาช้ างของพระองค์ อีกทังพระองค์ ้ ยงั ถูกจากัดสถานที่มา ยาวนาน มิให้ เกี่ยวข้ องกับการเผยแผ่พระธรรม แต่เหตุผลหลักๆ ที่ทาให้ พระองค์ต้องตัดสินใพระทัยครัง้ ยิ่งใหญ่ในชีวิต ระบุไว้ ในหนังสือ “มูลมรดกชนชาติอ้ายลาว” ที่ได้ มีการตีพมิ พ์เนื่องในโอกาสงานพระราชทานเพลิงพระศพ เมื่อปี ๒๕๒๘ โดยระบุว่า สาเหตุสาคัญประการแรก ๆ คือการยกเครื่ องเปลี่ยนแปลงระบบการปกครอง ใหม่เสียหมด จากระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็ น ประมุขมาเป็ นระบอบสังคมนิยม คอมมิวนิสต์ ยกเลิกสถาบันกษัตริย์ และยังมีการกวาดล้ างผู้มีการจับกุมคณะรัฐมนตรี คณะผสม การเมืองอันเป็ นฝ่ ายบริหารชันสู ้ งซึง่ เป็ นฝ่ ายตรงกันข้ ามไปอยู่ค่ายกักกัน ที่สาคัญก็คือ เมื่อประกาศยกเลิกทุกๆ สถาบันในระบอบการปกครองเก่าแล้ ว ต่อมาเมื่อ วันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๑๘ เจ้ าหน้ าที่ในระบอบการปกครองใหม่ได้ ปลุกระดมนิสิต นักศึกษาและ ประชาชนในนครหลวงพระบางให้ เดินขบวนโค่นล้ มราชบัลลังก์อย่างสิ ้นเชิง นอกจากนันในวั ้ น ต่อมาก็ระดมพระสงฆ์สามเณรทายกทายิกาในเขตนครหลวงพระบาง ให้ มารวมกันที่ วัดใหม่ สุวรรณภูมาราม ซึง่ เป็ นวัดที่ประทับขององค์สมเด็จพระสังฆราช เพื่อเดินขบวนโค่นล้ ม บีบบังคับ สมเด็จพระสังฆราชให้ สิ ้นอานาจแห่งประมุขสงฆ์ และเมื่อพระองค์เสด็จถึง นครเวียงจันทน์ ไม่เห็นศาลาพันห้ อง ซึง่ พระองค์เป็ นประธาน คณะสงฆ์และคณะรัฐบาลสร้ างเป็ นอนุสรณ์ฉลองกึ่งพุทธกาล ได้ ถกู เจ้ าหน้ าที่คอมมิวนิสต์รือ้ ถอน ทาลายจนหมดสิ ้น

35


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

36

๏ เมื่อเสด็จลี้ภัยมาถึงประเทศไทยแล้ ว

จากเหตุผลเหล่านี ้ เป็ นเหตุให้ สมเด็จพระสังฆราชตัดสินพระทัยเสด็จพระองค์ลี ้ภัยมาพึง่ พระบรมโพธิสมภารในไทย โดยมีเลขาส่วนพระองค์ เป็ นต้ นคิดในเรื่ องนี ้ ซึง่ เลขาส่วนพระองค์ ก็คือ พระหลักคาสุวรรณบุรีศรี คณาจารย์ เจ้ าคณะแขวงหลวงพระบาง ในคืนวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๒๒ เวลา ๒๓.๐๐ นาฬิกา สมเด็จพระสังฆราชลาว ทรงลี ้ภัย มายังประเทศไทย ตรงท่ าหน่ วย นปข. อาเภอศรี เชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย โดยพระทับแพ ยางรถยนต์ ข้ ามแม่น ้าโขงมีผ้ วู ่ายน ้าพยุงแพติดตามทังฆราวาสและพระสงฆ์ ้ ครัน้ ทรงเดินทาง มาถึงฝั่ งไทยแล้ ว ประทับ ณ วัดหายโศก ที่หนองคายก่อน แล้ วต่อมาไปประทับที่วัดมัชฌิมาวาส จังหวัดอุดรธานี เป็ นเวลา ๓ เดือน ต่อมาทรงไปประทับรักษาพระองค์ที่โรงพยาบาลสงฆ์ ใน กรุงเทพฯ ในการอุปถัมภ์ของรั ฐบาลไทย มหาเถระสมาคม และพุทธศาสนิกชน


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

37

หลังจากที่ทรงเสด็จมาถึงเมืองไทยโดยสวัสดิภาพแล้ ว ทรงเปิ ดเผยสถานการณ์ของพุทธ ศาสนาในประเทศลาวขณะนันว่ ้ า เลวร้ ายอย่างยิ่ง ทรงเล่าว่า คนหนุ่มๆ ถูกสัง่ มิให้ บวชเรี ยน ส่วน พระสงฆ์ในพระศาสนาก็ถกู เบียดเบียนอย่างหนัก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คาสอนทางศาสนาต้ อง สอดคล้ องกับแนวทางที่รัฐบาลในระบอบให้ กาหนดไว้ นับเป็ นทังโชคดี ้ และโชคร้ าย ที่สมเด็จพระสังฆราชพระยอดแก้ วพุทธชิโนรสทรง หลบหนีจากบ้ านเกิดเมืองนอนของพระองค์มายังประเทศไทย เรื่ องโชคดีก็คือ พระประมุบแห่ง คณะสงฆ์ลาวสามารถรอดพ้ นจากการเบียดเบียนบีฑามาได้ แต่โชคร้ ายที่ประชาชนชาวลาวใน ขณะนัน้ ต้ องขาดที่พงึ่ พิงทางใจ ต้ องตกอยู่ในภาวะเคว้ งคว้ าง เจ็บช ้าน ้าใจที่ถกู รัฐบาลกดขี่พระ ศาสนา เป็ นเวลายาวนานไม่น้อยกว่า ๓๐ ปี กระทัง่ สถานการณ์พทุ ธศาสนาในลาวเริ่มดีขึ ้นเป็ น ลาดับ จนถึงปั จจุบนั


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

ว่าด้ วยพระจริยาวัตร สมเด็จพระสังฆราชพระยอดแก้ วพุทธชิโนรส ทรงบิณฑบาตรทุก วันเป็ นนิตย์ ทรงร่วมสวดมนต์ทาวัตรกับพระเณรเป็ นประจาเสมอ แต่หากอาพาธจะทรงสวดมนต์ ไหว้ พระตามลาพัง นอกจากนี ้ยังทรงอยู่ปริวาสกรรมมิเคยขาด ซึง่ การอยู่ปริวาสกรรมในที่นี ้ มิได้ หมายความถึงการอยู่ปริวาสหลังถูกปรับอาบัติ แต่เป็ นการอยู่ปริสาสกรรมเพื่อบาเพ็ญภาวนา อัน เป็ นธรรมเนียมที่นิยมกันในคณะสงฆ์ภาคเหนือของไทย ในรัฐฉานของพม่า และในลาว หรื อที่เรี ยก กันว่า “เข้ ากรรม” นัน่ เอง นอกจากนี ้ ยังไม่ทรงฉันหมากหรื อสูบบุหรี่ ปั จจัยไทยทานที่ทรงได้ รับการถวายมาจะทรงรับ เท่าที่จาเป็ น แล้ วแจกจ่ายให้ เป็ นของสงฆ์ ทรงมีนิสยั เยือกเย็นหนักแน่น ทรงโปรดสัตว์ไม่เลือกผู้ดี มีจน พระสติมนั่ คงแม้ จะชราภาพมาก

๏ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) แห่ งราชอาณาจักรไทย กาลังสรงน้าพระศพของสมเด็จ พระสังฆราชพระยอดแก้ วพุทธชิโนรส แห่ งพระราชอาณาจักรลาว

38


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

สมเด็จพระสังฆราชพระยอดแก้ วพุทธชิโนรสฯ สิ ้นพระชนม์ ที่โรงพยาบาลสงฆ์ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย เมื่อวันที่ ๒๔ มิถนุ ายน ๒๕๒๔ เะวลา ๑๙.๓๐ นาฬกิ า รวมเวลา รักษาพระองค์ที่โรงพยาบาลสงฆ์เป็ นเวลา ๔ เดือน ๒๖ วัน รวมพระชนมายุ ๙๒ พรรษา ทังนี ้ ้ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ฯ พระราชทานโกศไม้ สิบสอง ให้ สมเด็จ พระสังฆราชลาว ซึง่ โกศไม้ สิบสอง นี ้ทาด้ วยไม้ แกะสลักลวดลายย่อมุม ทรงพระศพหักเหลี่ยม ทรงไม้ สิบสอง ฝายอดทรงมงกุฎปิ ดทอง ประดับกระจกสีสร้ างในสมัยรั ชกาลที่ ๑ สาหรับ พระราชทานทรงพระศพพระราชวงศ์ ฝ่ ายพระราชวังบวร พระวรวงศ์ พระองค์เจ้ าที่ทรงรับราชการ ในตาแหน่งหน้ าที่สาคัญ และสาหรับ พระราชทานประกอบโกศศพข้ าราชการชันเสนาบดี ้ เจ้ าพระยา และรัฐมนตรี ว่าการกระทรวง และรัฐมนตรี ช่วยว่าการซึง่ ถึงแก่กรรม ในขณะดารง ตาแหน่งหน้ าที่อยู่นนั ้ และศพสมเด็จพระราชาคณะ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ฯ ทรงมีรับสัง่ ให้ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สายา มกุฏราชกุมาร ทรงถวายพระเพลิงศพ ณ ศาลาอิศริยาภรณ์ เมรุ หลวง วัดเทพศิรินทร์ เมื่อวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๒๘ โดยในงานพระราชทานเพลิงศพครัง้ นี ้ คณะศิษยานุศิษย์ได้ จดั พิมพ์หนังสือชื่อ “หนังสือมูลมรดกชนชาติไทยลาว” เป็ นส่วนอนุสรณ์ หนังสือเล่มนี ้เป็ นหนังสือรวบรวม วัฒนธรรม ประเพณีต่างๆ ของลาวเท่าที่จะรวบรวมได้ เพราะหนังสือค้ นคว้ ามีอยู่ในวงจากัดได้ อาศัยหนังสือและสอบถามจาก ฯพณฯ อดีตประธารรัฐสภา

39


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

40

สมเด็จพระสังฆราช พระยอดแก้ วพุทธชิโนรสฯ นับเป็ นสมเด็จพระสังฆราชองค์แรก และองค์เดียวของพระราชอาณาจักรลาว โดยเหตุที่แต่ก่อนนันลาวแตกออกเป็ ้ น ๓ แว่นแคว้ น การ ปกครองคณะสงฆ์จงึ ไม่ขึ ้นตรงต่อกัน มีเพียงพระเถระสูงสุดได้ รับการแต่งตังจากองค์ ้ พระประมุข ของอาณาจักร ให้ ดารงตาแหน่งสังฆปาโมกข์ หรื อประมุขคณะสงฆ์ในแว่นแคว้ นนันๆ ้ ตราบจน หลังจากที่ลาวได้ รับเอกราชจากฝรั่งเศส จึงมีการยกสมเด็จพระเจ้ ามหาชีวิตของหลวงพระบาง เป็ นสมเด็จพระเจ้ ามหาชีวิตของพระราชอาณาจักรลาวทังมวล ้ พระองค์จงึ แต่งตังให้ ้ องค์ สังฆปาโมกข์ แห่ งนครหลวงพระบางเป็ นสมเด็จพระสังฆราช เป็ นผู้ปกครองคณะสงฆ์ลาวทัง้ แผ่นดิน


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

แต่แผ่นดินลาวนันต้ ้ องประสบกับความเปลี่ยนแปลงครัง้ ยิ่งใหญ่ พระราชอาณาจักรที่ สถาปนาได้ ไม่นาน ถูกล้ มล้ างเปลี่ยนแปลงการปกครอง ตาแหน่งสมเด็จพระสังฆราชที่เพิง่ สถาปนาจึงถึงกาลสิ ้นสุดลงไปพร้ อมๆ กัน แต่ทว่า สาหรับชาวลาวที่ยงั มีใจศรัทธาเหนียวแน่นในพระบวรพุทธศานาแล้ ว ยากที่จะลืม ได้ ว่า ครัง้ หนึง่ แผ่นดินลาวยังมีพระสังฆราช อันเป็ นพระประมุขสูงสุดของคณะสงฆ์เพียงหนึง่ เดียว องค์แรกและองค์เดียวของประวัติศาสตร์ ชาติลาวยุคสมัย นัน่ คือ สมเด็จพระสังฆราชยอดแก้ ว พุทธชิโนรส (บุญทัน บุปรั ตน์ ) ๏

41


พระประวัติ สมเด็จพระสั งฆราชแห่ งพระราชอาณาจักรลาว

42


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.