สิริแห่งพุทธะ ประมวลนิ พนธ์ของ สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ)
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ข้ อมูลหนังสื อ เรื่อง
“ประมวลนิพนธ์ของ สมเด็จพระวันรัต (พุทธสิ ริ ทับ) วัดโสมนัสวิหาร”
เรียบเรียง
ยุคนธร
ผู้จัดพิมพ์
สานักพิมพ์ลา้ นเพีย ถ. พระราม ๓ บางโพงพาง ยานนาวา กรุ งเทพฯ ๑๐๑๒๐
พิมพ์เมื่อ
เมษายน ๒๕๕๗
หมายเหตุ
จัดทาขึ้นเพื่อแจกจ่ายให้กบั สาธารณชน ผูส้ นใจในพระพุทธศาสนา และเพื่อเป็ น ประโยชน์ในทางวิชาการ และเพื่อเผยแผ่ คาสอนของพระอริ ยเจ้าองค์สาคัญของ วงการพุทธศาสนาในประเทศไทย
หน้ าปก
ภาพถ่ายของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิ ริ) ซึ่งปรากฎอยูใ่ น หนังสื อ “The pearl of Asia. Reminiscences of the court of a supreme monarch; or, Five years in Siam” ตีพิมพ์ เมื่อปี ค.ศ. ๑๘๙๒
๑
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
สิริแห่งพุทธะ ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ)
เรียบเรียงโดย ยุคนธร
๒
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
พระประธานในพระอุโบสถวัดโสมนัสวิหาร พระนามว่า “พระสัมพุทธสิริ” หน้าตักกว้าง ๒ คืบ ๖ นิ้ ว ซึ่ งเป็ น พระที่สมเด็ จพระวันรัต พุทธสิริมหาเถระ ได้สร้างและอัญเชิญมาจากวัดราชาธิวาสคราวยกวัด
๓
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
“ อะไรๆ หมดทัง้ สิ้นไม่ใช่ของเรา ตายแล้วทิ้งเสียหมด เอาไปไม่ได้ อย่าหลงมัวเมาไปเลย
”
๔
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
สารบัญ คานา
๖
ประวัตสิ มเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ)
๗
ประวัตวิ ดั โสมนัสราชวรวิหาร
๑๗
วิธีบูชาพระ ไหว้พระ รักษาศีล
๑๙
จตุรารักษ์
๒๗
สังขิตโตวาท
๔๘
วิธีเจริญวิปัสสนา
๘๘
อุบายแยบคายจากความตาย
๑๑๕
ชาติ ชรา มรณาธิกถา
๑๒๓
มรโณบาย
๑๓๘
กิตติกรรมประกาศ
๑๕๐
๕
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
คานา หนังสื อ “สิ ริแห่งพุทธ : ประมวลนิพนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิ ริ)” ข้าพเจ้าเรี ยบเรี ยงขึ้นโดยมีเหตุผลสาคัญคือ ประการแรก ข้าพเจ้ามีความเลื่อมใสศรัทธาในสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิ ริ) เป็ นอย่าง ยิง่ โดยเฉพาะหลังจากที่ได้อ่านพระธรรมเทศนาของท่านแล้ว บังเกิดความ กระจ่างมากมายในทางธรรม เกิดความปี ติยนิ ดีในธรรมอย่างยิง่ และ ปราโมทย์เหลือประมาณที่ได้ทราบว่า แม้ในพระนครอันวุน่ วายก็ยงั มีพระเถ ราจารย์ผทู ้ รงความรู ้ลึกซึ้งในพระธรรมวินยั ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัม พุทธเจ้า ในเวลาต่อมา เมื่อได้ศึกษาประวัติของท่านและประวัติของพระ เถระรุ่ นต่อมาๆ ที่ได้รับศึกษาพระธรรมเทศนาของท่าน ยิง่ บังเกิดความ ศรัทธาใหญ่หลวง ใคร่ ที่จะเผยแพร่ ประวัติของงสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธ สิ ริ) และเผยแผ่พระธรรมเทศนาของท่านให้มหาชนได้ลิม้ รสอันเป็ นอมตะ คือรสพระธรรมวินยั ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตรัสไว้ดีแล้ว โดยมีพระสงฆ์ผเู ้ จริ ญเป็ นผูส้ ื บทอดและสัง่ สอนอบรมชนทั้งหลายในพระ ธรรมอันงาม หนังสื อเล่มนี้ ข้าพเจ้ามีหน้าที่เป็ นผูเ้ พียงผูร้ วบรวมจากแหล่งต่างๆ ทั้งทางอินเทอร์เน็ตและจากหนังสื อต่างๆ มาไว้รวมกัน มิได้มีคุณงามความดี อันใด คุณความดีท้ งั ปวงนั้นอยูท่ ี่ท่านผูม้ ีจิตกุลศลมากมายที่ได้เผยแผ่คา เทศนาของงสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิ ริ) ในแหล่งต่างๆ ซึ่งข้าพเจ้านามา เรี ยบเรี ยงไว้ให้เป็ นรู ปเล่ม เพื่อให้ผสู ้ นใจได้คน้ คว้า และศึกษาได้อย่าง สะดวกเท่านั้น หากจะมีคุณความดีประการใดเหลืออยูบ่ า้ งอันเกิดจากการเผยแผ่ พระธรรมเทศนาของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิ ริ) แล้ว ข้าพเจ้าของอุทิศ ผลบุญกุศลทั้งสิ้นนี้แก่องค์ผนู ้ ิพนธ์พระธรรมทเศนาอันประเสริ ฐ ท่าน ทั้งหลายผูร้ ่ วมกันเผยแผ่พระธรรมเทศนานี้ รวมถึงบุพการี ครู บาอาจารย์ อุปัชฌาย์ เจ้ากรรมนายเวร ญาติพี่นอ้ งทั้งหลายของข้าพเจ้าด้วยเทิญ ขอสรรพสัตว์ท้ งั หลายจงเป็ นสุขเป็ นสุขเเถิด ยุคนธร
๖
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ประวัติ
สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ)
สมเด็จพระวันรัตน์ (พุทฺธสิริ) เป็ นหนึ่ งในคณะสงฆ์ท่ รี ่วมในพระราชพิธที รงพระผนวชในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๑๖ โดยสมเด็จพระวันรัตน์ (พุทฺธสิริ) คือรู ปที่ ๔ นับจากทางขวา ส่วนพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงประทับอยู ่ ทางด้านซ้ายสุ ด ภาพนี้ถา่ ยที่พระพุทธรัตนสถาน ในพระบรมมหาราชวัง
สมเด็จพระวันรัต(ทับ พุทธสิ ริ) วัดโสมนัสวิหารเป็ น สมเด็จพระวันรัตองค์ที่ ๑๒ แห่งกรุ ง รัตนโกสิ นทร์ท่าน เป็ นมหาเถระองค์หนึ่งในจานวนพระมหาเถระ ๑๐ องค์ผเู ้ ป็ นต้นวงศ์ ธรรมยุติกนิกาย เป็ นเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายใต้ เป็ นพระมหาเถระที่มีความ รู ้แตกฉานในพระไตรปิ ฎก เป็ นนักกรรมฐานที่ชอบธุ ดงค์ เป็ นผูท้ ี่มีปฏิปทามุ่งพระนิพพาน และเป็ นนักปฏิบตั ิที่เคร่ งครัด ต่อ
๗
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
พระธรรมวินยั มาก ท่านมีอาจารสมบัติที่น่าประทับใจ น่าเลื่อมใสและเป็ นสมเด็จที่ทรงเกียรติคุณ ควรแก่ การเคารพบูชามากองค์หนึ่งของประเทศไทย
ชาติภูมิ สมเด็จพระวันรัต วัดโสมนัสวิหาร มีนามเดิมว่า ทับ มีฉายาว่า พุทฺธสิ ริ ท่านเกิดเมื่อวันที่ ๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๓๔๙ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ ณ. หมู่บา้ นสกัดน้ ามัน ปากคลองผดุงกรุ งเกษม ฝั่งตะวันออก ใกล้วดั เทวราชกุญชร กรุ งเทพมหานคร โยมบิดาชื่อ อ่อน ผูค้ นนิยมเรี ยกว่าท่านอาจารย์อ่อน โยมมารดาชื่อคง ท่านเป็ น บุตรคนโตในตระกูลนี้ กล่าวกันว่าครอบครัวของท่านเป็ นชาวกรุ งเก่า แต่เมื่อกรุ งศรี อยุธยาเสี ยแก่ พม่า เมื่อพ.ศ. ๒๓๑๐ ก็ได้อพยพเข้ามาอยูใ่ นกรุ งเทพฯ
การศึกษาเมื่อปฐมวัย ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย รัชกาลที่ ๒ เมื่อท่านมีอายุ ๙ ขวบ ได้เข้าเรี ยนอักษรสมัยอยูท่ ี่วดั ภคินีนาถ แล้วต่อมาได้ เข้าเรี ยนบาลีโดยเรี ยนสู ตรมูลกัจจายน์ อยูท่ ี่วดั มหาธาตุ คือได้เรี ยนบาลีต้ งั แต่สมัยที่ยงั ไม่ได้บวช ครั้งนั้น พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ยัง ทรงดารงพระยศเป็ นพระเจ้าลูกเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ทรงพอพระราชหฤทัยในตัวท่าน จึง ทรงให้อุปการะในการเล่าเรี ยนศึกษาพระปริ ยตั ิธรรมของท่าน ทรงจัดสอบความรู ้ผทู ้ ี่เรี ยนสู ตรเรี ยน มูลที่วงั เนืองๆ ท่านได้ไปสอบถวาย โปรดทรงประทานรางวัล จึงได้ทรงเมตตาในตัวท่านแต่น้ นั มา
๘
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
การบรรพชาอุปสมบท ท่านได้บรรพชาเมื่ออายุเท่าไรยังไม่ปรากฎหลักฐาน ทราบแต่วา่ ท่านได้บรรพชาเป็ น สามเณรที่วดั สังเวชวิศยาราม บางลาภู ครั้นได้บรรพชาเป็ นสามเณรแล้ว รัชกาลที่ ๓ ในสมัยที่ยงั ดารงพระยศเป็ นกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ได้ทรงโปรดให้ท่านไปอยูท่ ี่วดั ราชโอรส อันเป็ นวัดที่ พระองค์ทรงสร้างขึ้น แล้วให้อยูเ่ รี ยนในสานักของพระโพธิวงศ์ (ขาว) ขณะดารงสมณศักดิ์ที่พระ ญาณไตรโลก ต่อมาเรี ยนพระปริ ยตั ิธรรมในสานักพระพุทธโฆษาจารย์ (คง) วัดอรุ ณราชวราราม แต่ ครั้งยังดารงสมณศักดิ์ที่พระวินยั มุนี ขณะนั้นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ขณะดารงพระ อิสสริ ยยศเป็ นเจ้าฟ้ ามงกุฏประทับที่พระราชวังเดิม ได้เสด็จไปวัดอรุ ณฯอยูเ่ สมอ จึงรู ้จกั คุน้ เคยกับ ท่านมาแต่ครั้งนั้น ครั้นเมื่ออายุครบอุปสมบทแล้ว คุณโยม ของท่านจึงให้ท่านมาอุปสมบทที่วดั เทวราชกุญชร อันเป็ นวัดที่ต้ งั อยูใ่ กล้บา้ นเดิม ท่านจึงได้อุปสมบท เมื่อปี จอ พ.ศ. ๒๓๖๙ ที่วดั เทวราชกุญชร โดยมี พระธรรมวิโรจน์ (เรื อง) วัดราชาธิวาส เป็ นอุปัชฌาย์ พระพุทธโฆษาจารย์ (ขุน) วัดโมกฬีโลกยาราม เป็ นพระกรรมวาจาจารย์ พระวินยั มุนี (คง) วัดอรุ ณราชวราราม เป็ นพระอนุกรรมวาจาจารย์ เมื่อบวช แล้วก็ได้อยูใ่ นสานัก พระธรรมวิโรจน์ที่วดั ราชาธิวาส ตั้งแต่น้ นั มาท่านได้ไปอยูแ่ ละศึกษาเล่าเรี ยน ในสานักอาจารย์นพรัตน์ ที่วดั ไทรทอง (วัดเบญจบพิตร) บ้าง ที่พระมหาเกื้อวัดชนะสงครามบ้าง เนืองๆ
สอบได้ เปรียญ ๙ ประโยค ลุถึงปี วอก พ.ศ. ๒๓๗๙ เมื่อท่านมีพรรษา ๑๑ อายุ ๓๑ ปี ยังเป็ นพระอันดับอยู่ พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงอาราธนาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั (ขณะที่ ทรงผนวช) เสด็จไปครองวัดบวรนิเวศวิหาร และในสมัยนั้นพระสงฆ์วดั ราชาธิวาสมีท้ งั พระ
๙
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
มหานิกายและพระธรรมยุตอยูด่ ว้ ยกัน แต่อธิบดีสงฆ์เป็ นมหานิกาย จึงได้โปรดให้ท่านอยูค่ รองฝ่ าย ธรรมยุตที่วดั ราชาธิวาส ครั้นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เสด็จมาประทับที่วดั บวรนิเวศ วิหารเรี ยบร้อยแล้ว จึงโปรดให้ท่านเข้าแปลพระปริ ยตั ิธรรมในสนามหลวง ครั้งแรกท่านแปลได้ถึง ๗ ประโยค แล้วท่านไม่แปลต่อ รอมาอีกระยะหนึ่งจึงเข้าแปลได้อีก ๒ ประโยค รวมเป็ น ๙ ประโยค หลังจากท่านเป็ นเปรี ยญ ๙ อยูไ่ ม่นาน พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ ั วก็ทรงแต่งตั้งท่านเป็ น พระราชาคณะที่พระอริ ยมุนี และท่านคงอยูท่ ี่วดั ราชาธิวาสต่อมา
ทั้งนี้ เมื่อสรุ ปรวมสมณศักดิ์ขององค์ท่านแล้ว จะมีรายละเอียด ดังนี้
ในปี ใดไม่ปรากฏหลักฐาน แต่หลังจากเป็ นเปรี ยญธรรม ๙ ประโยคแล้ว พระบาทสมเด็จ พระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ต้ งั เป็ นพระราชาคณะที่ พระอริ ยมุนี พ.ศ. ๒๔๐๐ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงเลื่อนสมณศักดิ์เป็ นพระราชาคณะ ผูใ้ หญ่ ที่ พระพรหมมุนี คัมภีรญาณนายก ตรี ปิฎกปั ญญาคุณาลังกรณ์ มหาคฤศร บวรสังฆา ราม คามวาสี พ.ศ. ๒๔๑๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนสมณศักดิ์เป็ น พระพิมลธรรม พ.ศ. ๒๔๒๒ ได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็ นสมเด็จพระราชาคณะที่ สมเด็จพระวันรัตน์ ปริ ยตั ิ พิพฒั น์พงศ์ วิสุทธิสงฆ์ปริ ณายก ตรี ปิฎกโกศล วิมลญาณสุ นทร มหาทักษิณคณฤศร บวร สังฆาราม คามวาสี อรัญวาสี
๑๐
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
เป็ นเจ้ าอาวาสองค์ แรกของวัดโสมนัสวิหาร หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงลาผนวชและขึ้นครองราชย์ในปี ๒๓๙๔ แล้ว พระองค์ได้ทรงสร้างวัดโสมนัสวิหารขึ้น ด้วยพระราชทรัพย์ของพระนางโสมนัส วัฒนาวดี อัครมเหสี ของพระองค์ ได้พระราชทานนามว่า วัดโสมนัสวิหาร โดยทรงวางศิลาฤกษ์พระ อุโบสถ เมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๓๙๖ ทรงสร้างเป็ นพระอารามหลวงชั้นโทชั้นราชวรวิหาร ในเนื้อที่ ๓๑ ไร่ เศษ ครั้นสิ่ งก่อสร้างสาเร็ จลงบ้าง พอเป็ นที่อาศัยอยูจ่ าพรรษา ของภิกษุสามเณรได้ บ้างแล้ว ใน พ.ศ. ๒๓๙๙ พระองค์กไ็ ด้ทรงอาราธนาสมเด็จพระวันรัต ในสมัยที่ยงั เป็ นพระอริ ยมุนี จากวัดราชาธิวาส พร้อมด้วยคณะสงฆ์ประมาณ ๔๐ รู ป โดยขบวนแห่ทางเรื อ ให้มาอยูค่ รองวัด โสมนัสวิหาร ท่านจึงได้เป็ นเจ้าอาวาสองค์แรกของวัดนี้ ท่านปกครองวัดโสมนัสวิหารมาจนกระทัง่ ได้ถึงมรณภาพลงเมื่อวันที่ ๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๔
ว่ าด้ วยจริยาวัตร สมเด็จพระวันรัตเป็ นผูแ้ ตกฉานในพระไตรปิ ฎก ท่านเคร่ งครัดต่อพระธรรมวินยั และการ ปฏิบตั ิกมั มัฏฐานเป็ นอย่างยิง่ มีความชานาญและเข้าใจสมถะและวิปัสสนากัมมัฏฐานอย่างลึกซึ้ง หนังสื อธรรมจานวนมากที่ท่านนิพนธ์น้ นั มีท้ งั ด้านปริ ยตั ิและการปฏิบตั ิวิปัสสนากัมมัฏฐาน เช่น หนังสื อ จตุรารักขกัมมัฏฐาน หรื อ จตุรารักษ์ และสังขิตโวาทเป็ นอาทิ นอกจากนี้ ท่านยังเคร่ งครัดในพระธรรมวินยั เป็ นอย่างยิง่ สมกับเป็ นที่เป็ นหนึ่งใน ๑๐ ต้น วงศ์ธรรมยุติกนิกาย โดยคุณภัทระ คาพิทกั ษ์ บรราธิ การหนังสื อพิมพ์โพสต์ทูเดย์ ได้เล่าถึงจริ ยวัตร ด้านนี้ของท่านไว้บทความเรื่ อง “สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทฺธสิ ริ) ก่อตั้งธรรมยุต บรรลุพระ นิพพาน” ความตอนหนึ่งว่า
๑๑
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ปกติท่านจะจาวัดผูเ้ ดียวในกุฏิใหญ่คณะ ๕ แต่มีคืนหนึ่งอสุ รกายปรากฏขึ้นในรู ปหญิงสาว นับแต่ นั้นมาท่านจึงให้พระเณรมานอนเป็ นเพื่อน เพราะเกรงว่าจะมีผพู ้ บแล้วเข้าใจผิด นอกจากศึกษาปริ ยตั ิแล้ว สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทฺธสิ ริ) ยังมุ่งปฏิบตั ิโดยเฉพาะอสุ ภกรรมฐาน แม้แต่ภาพถ่ายของท่านที่ตกมาถึงคนรุ่ นหลังก็ยงั เป็ นรู ปที่ท่านกาลังนัง่ พิจารณากองกระดูกอยู่ ตามประวัติน้ นั บ่งชัดว่า สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทฺธสิ ริ) เป็ นผูม้ นั่ คงในพระรัตนตรัยมาก ท่านจะ สวดมนต์ไหว้พระวันละ ๓ ครั้ง กล่าวคือ หลังฉันเช้าแล้วจะไหว้พระสวดมนต์ที่กฏุ ิเพียงลาพัง พอ ๔ โมงเช้าจะไหว้พระในพระอุโบสถพร้อมพระภิกษุสามเณร พลบค่าก็จุดเทียนไหว้พระพร้อมกับ ลูกวัด ครั้งหนึ่งซึ่งพิเคราะห์กนั แล้วเชื่อว่าจะเป็ นสมัยรัชกาลที่ ๕ มีพระราชพิธีจดั สวดมนต์ในวังหลวง สังฆการี ได้มานิมนต์ท่านเข้าไปร่ วมสวดมนต์ดว้ ย โดยนิมนต์ท่านให้เข้าวังในเวลา ๔ โมงเย็น ท่าน ก็ตอบว่า “๔ ทุ่มข้าจะไป” เพราะที่วดั โสมนัสฯ สวดมนต์เย็นไหว้พระเสร็จกันตอน ๓ ทุ่ม พอพระเจ้าอยูห่ วั เสด็จออก พระภิกษุท้ งั หลายก็เข้าประจาที่ ขาดแต่สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทฺธสิ ริ) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ก็เลยทรงถามสังฆการี ว่า ไปนิมนต์ท่านอย่างไร ท่านถึงยังไม่มา สังฆ การี กก็ ราบทูลตามความดังกล่าว จึงมีรับสั่งว่า “ท่านไม่อยากเข้าวังแล้ว ทีหลังอย่าไปนิมนต์ท่าน” พอสังฆการี ไปกราบเรี ยนให้สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทฺธสิ ริ) ทราบ สมเด็จฯ ท่านจึงว่า “เออ ข้างๆ วัดของข้านี้กอ็ ิ่มแล้ว”
๑๒
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
คุณวิเศษของสมเด็จพระวันรัต สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิ ริ) มีพระจริ ยาวัตรอันเคร่ งครัดและงดงามตามสมณสารู ป เป็ น ที่ยกย่องเชิดชูอย่างยิง่ จากพระเจ้าแผ่นดินถึง ๓ รัชกาล นัน่ คือพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๓ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๔ และพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๕ ซึ่งพระเจ้าแผ่นดินพระองค์หลัง ทรงมีพระราชศรัทธามนต์ให้เข้า ไปประจาที่พระพุทธรัตนสถาน ซึ่งอยูใ่ นพระบรมมหาราชวัง เพื่อถวายพระธรรมปริ ยายแด่พระองค์ ในระหว่างที่ทรงผนวชนจนกระทัง่ ลาผนวช อีกทั้งยังได้ทรงสถาปนาให้ท่านดารงตาแหน่งสมเด็จ พระวันรัต นอกจากนี้ สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิ ริ) ยังมีคุณูปการยิง่ ใหญ่ต่อคณะสงฆ์ ทั้งในการเผย แผ่พระธรรมวินยั อันลึกซึ้ ง โอฬาริ ก จนพระเถระสายพระป่ านาไปใช้ปฏิบตั ิสงั่ สอนอบรมคณะสงฆ์ ดังเช่นหลวงปู่ เสาร์ กันตสี โล ก็มกั เอ่ยถึงคาสอนของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิ ริ) อยูบ่ ่อยครั้ง หรื อจะเป็ นพระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ ก้ได้รับอิทธิ พลอย่างใหญ่หลวงจากคาสอนของท่าน กระทัง่ ตัดสิ นใจครั่้ งใหญ่ในชีวติ ในหมู่พระสงฆ์สายอื่นๆ ของฝ่ ายธรรมยุตก็ยกย่องท่านอย่างยิง่ เช่นกัน ดังปรากฎความใน “สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทฺธสิ ริ) ก่อตั้งธรรมยุต บรรลุพระนิพพาน” ดังนี้วา่
"พระพรมมุนี (บู่ สุ จิณฺโณ) เจ้าอาวาสวัดบรมนิวาส ว่า สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) วัดบรม นิวาส เคยเล่าว่า “ครั้งสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทฺธสิ ริ) มีชีวติ อยูน่ ้ นั พระสงฆ์ในคณะธรรมยุตนับถือ ท่านมากเป็ นพิเศษ ถือท่านเป็ นแบบอย่าง เป็ นอาจารย์ ถึงกับมีธรรมเนียมเกิดขึ้นในสมัยนั้นว่า พระ เถระหรื อเจ้าคณะจังหวัดต่างๆ ตามหัวเมืองทุกภาคของประเทศเมื่อเข้ามาในกรุ งเทพฯ ต้องไปวัด โสมนัสฯ ขอนิสสัยกับสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทฺธสิ ริ) และในการเข้าขอนิสสัยกับท่านนั้น ต้อง
๑๓
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
สวดโมกขุปายคาถาหรื อคาถาแสดงอุบายในการพ้นทุกข์ ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงนิพนธ์เอาไว้ในสมัยเมื่อทรงผนวชให้ท่านฟังด้วย”
แม้ในหมู่พุทธศาสนิกชนโดยทัว่ ไปเองต่างก็เชื่อมัน่ กันว่าสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทฺธสิ ริ) ได้บรรลุ ธรรมขั้นสู ง เป็ นพระอริ ยะเจ้าผูห้ มดสิ้ นกิเลสแล้ว ณ กุฏิของท่าน ในวัดโสมนัสฯ นัน่ เอง นับเป็ นอีกหนึ่งพระอริยะเจ้ ากลางกรุงทีพ่ ทุ ธศาสนิกชนสมควรรู้ จักและศึกษาพระธรรม เทศนาของท่ าน เพือ่ เป็ นกุศลปัจจัยไปสู่ พระนิพพานในกาลข้ างหน้ า ๚
๑๔
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
สมเด็จพระวันรัต (ทับ พทุธสิริ) กับพระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ พระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ แห่งวัดเจติยาคีรีวหิ าร (ภูทอก) อ.บึงกาฬ จ. หนองคาย พระเถระและพระอริ ยะเจ้าผูเ้ ป็ นที่รักยิง่ ของพุทธศาสนิกชาว ไทยโดยทัว่ ไป รวมถึงพระบรมวงศานุวงศ์ ท่านเป็ นพระป่ าที่เคร่ งครัด เป็ นหนึ่งในศิษย์ของหลวงปู่ มัน่ ภูริทตั โต แต่ก่อนที่ท่านจะตัดสิ นใจสละทางโลก แล้วมาเป็ นศิษย์ของหลวงปู่ มัน่ เพื่อแสวงหาโมกขธรรมนั้น น้อยคนนักจะทราบว่า มีหนังสื ออยู่ ๒ เล่ม ที่ สร้างแรงบันดาลใจอันยิง่ ใหญ่แก่พระอาจารย์จวน ถึงกับทาให้ตดั สิ นใจ สละชีวติ ฆราวาสอย่างเด็ดขาด และบาเพ็ญเพียรแสวงหาพระอริ ยสัจจ์ใน พระศาสนา จนกระทัง่ กลายมาเป็ นพระอริ ยะเจ้าผูย้ งิ่ ใหญ่ นัน่ คือ หนังสื อ “จตุรารักขกัมมัฏฐาน” และ “สังขิตโตวาท” งานนิพนธ์ ของสมเด็จพระวันรัต วัดโสมนัส นัน่ เอง โดยเฉพาะอย่างยิง่ หนังสื อ “จตุรารักขกัมมัฏฐาน” นั้น หลังจากที่พระ อาจารย์จวนได้อ่านแล้ว ถึงกับเกิดความสลดสังเวชใจว่า คนเราทุกคนเกิด มาแล้วต้องตาย แล้วให้บงั เกิดนิพพิทา หรื อความเบื่อหน่ายในสังสารวัฏ ท่านจึงตัดสิ นใจหันเข้าสู่เส้นทางของพระศาสนาในที่สุด อย่างไรก็ตาม ในระยะหลังมีผเู ้ ข้าใจผิดว่า “จตุรารักขกัมมัฏฐาน” เป็ น ผลงานของหลวงปู่ เสาร์ กันตสี โล หนึ่งในพ่อแม่ครู อาจารย์ของคณะสงฆ์ สายพระป่ า ซึ่งในความจริ งแล้ว หนังสื อเล่มนี้เป็ นงานนิพนธ์ของสมเด็จ พระวันรัต (ทับ พุทธสิ ริ) แต่ได้รับความนิยมและยกย่องบูชาจากคณะ สงฆ์สายพระป่ าเป็ นอันมาก เช่นเดียวกับผลงานของพระอุบาลีคุณูปมา จารย์ (จันทร์ สิ ริจนั โท) ซึ่งเป็ นพระเมืองที่พระป่ าเคารพย่อกย่องเช่นกัน
๑๕
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
“ ...มีพรรษายุกาลเจริญมาก ประกอบด้วยรัตตัญญูมหาเถระ ธรรมยัง่ ยื นมานานปละมีปฏิภาณปรีชาตรีปิฎกกลาโกศล ฉลาดในธรรมโมบาย ขวนขวายในการสัง่ สอนนิ กรบรรษัททัง้ คฤหัสถ์บรรพชิ ต เป็ นพาหุลกิจนิ ตยสมาทานมิได้ย่อหย่อน เป็ นที่มหานิ กรนับถือ เป็ นปูชนี ยฐานบุญเขตที่ควรเคารพ บูชา และมีสุตาคมและศีลาธิคุณมัน่ ...
” ประกาศแต่งตัง้ สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ)
๑๖
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ประวัติ
วัดโสมนัสราชวรวิหาร วัดโสมนัสวิหาร เป็ นพระอารามหลวงราชวรวิหารชั้นโท เรี ยกชื่อเต็มว่า “วัดโสมนัสราชวรวิหาร” พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๔ ทรงสร้างพระราชอุทิศ สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี จึงได้พระราชนามว่า “วัดโสมนัสวิหาร” ในต้นรัชกาลของพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงวางศิลาฤกษ์พระอุโบสถ เมื่อวัน ๑ ฯ ๒ ค่า ปี ฉลู จ.ศ. ๑๒๑๕ ตรงกับวันที่ ๑๕ มกราคม พ.ศ.๒๓๙๖ เนื้อที่วดั ประมาณ ๓๑ ไร่ เศษ(รวมทั้งที่ขุดคู) พระราชทานเป็ น วิสุงคามสี มา ด้านหน้าจดคลองผดุงกรุ งเกษม ด้านข้างขุดคูเป็ นเขตทั้ง ๓ ด้าน ในเนื้อที่วสิ ุ งคามสี มาที่เป็ นตัววัดนั้น ได้สมมุติเป็ นมหาสี มาเฉพาะภายในกาแพง เว้นนอกกาแพงไว้เป็ น อุปจารสี มาและคู เพื่อกันเขตบ้านในที่ธรณี สงฆ์ กับมหาสี มาที่อยูข่ องพระสงฆ์ให้ห่างกัน เฉพาะพระอุโบสถ สมมุติเป็ นขัณฑสี มา มีสีมนั ตริ กที่ลานรอบพระอุโบสถ ภายในกาแพงจากด้านหน้าไปด้านหลังแบ่งออกเป็ น ๓ แถบ มีพระอุโบสถ พระวิหาร วิหารคด พระเจดีย ์ ซึ่ งเป็ นเขตพุทธาวาสอยูแ่ ถบกลาง หมู่กุฎีที่อยูอ่ าศัยของพระสงฆ์ ซึ่ งเป็ นเขตสังฆาวาส อยูแ่ ถบข้างทั้ง ๒ แถบ แถบละ ๓ คณะ ระหว่าง คณะนั้นๆ มีอุปจาร มีบริ เวณเป็ นระเบียบไม่ยดั เยียดกัน ส่ วนด้านหน้าวัดมีลานกว้าง ในปั จจุบนั ใช้เป็ นเขต โรงเรี ยน ด้านหลังวัดใช้เป็ นเขตฌาปนสถานของกองทัพบก ด้านข้างเป็ นสุ สานด้านหนึ่ ง เป็ นถนนทางเข้าผ่าน ไปหลังวัดด้านหนึ่ง. ครั้นสิ่ งก่อสร้างสาเร็ จลงบ้าง พอเป็ นที่อาศัยจาพรรษาของภิกษุสามเณรได้แล้ว พอถึงเดือนแปด ขึ้นเก้า ค่า วันพฤหัสบดี พ.ศ. ๒๓๙๙ เวลาเช้า พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงอาราธนา "พระอริ ยมุนี" (พุทธสิ ริเถระ ทับ ป, ๙) จากวัดราชาธิวาส พร้อมด้วยพระสงฆ์ราว ๔๐ รู ปโดยขบวนแห่ทางเรื อ เสด็จมาประทับ ที่กุฎี ทรงถวายอาหารบิณฑบาตและสมณบริ ขารแก่พระอริ ยมุนีและพระฐานานุกรมเปรี ยญอันดับทั้งปวงแล้ว เสร็ จกลับ พระเถรานุเถระทั้งปวง มีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวิริยาลงกรณ์ เสด็จมาประทับเป็ น ประธาน ณ ที่น้ นั ได้ถวายดอกไม้ธูปเทียนแก่พระอริ ยมุนีโดยฉันทานุรักษ์ ตามธรรมเนี ยมขึ้นกุฎีใหม่ทุกองค์ ภายหลังทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้า ฯ เลื่อนตาแหน่งพระอริ ยมุนีเป็ นพระพรหมมุนี ในปี มะเส็ ง ๒๔๐๐ ถึงรัชกาลที่ ๕ ในปี วอก ๒๔๑๕ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้า ฯ เลื่อนตาแหน่งพระพรหมมุนีเป็ นพระพิมลธรรม และในปี เถาะ พ.ศ. ๒๔๒๒ ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้า ฯ สถาปนาพระพิมลธรรมเป็ นสมเด็จพระวันรัต ๚
๑๗
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
“ จะระวังปิ ดกัน้ บาปอกุศลเสียได้ ก็ตอ้ งอาศัยการปฏิบตั ดิ ี ในพระธรรมวินัยนี้
”
๑๘
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
วิธีบชู าพระ ไหว้พระ รักษาศีล สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิ ริ) วัดโสมนัสราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร ๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏
๏ นโม ตสฺ ส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺ ส ฯ ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระผูม้ ีพระภัคย์ คือบุญ เป็ นองค์พระอรหันต์ ตรัสรู้ ชอบแล้วเอง ซึ่งเป็ นที่พ่ ึงของข้าพเจ้าพระองค์น้ นั ๏ ยมห สมฺมาสมฺพทฺธ ภควนฺต สรณ คโต (หญิงว่า คตา) พระผูม้ ีพระภาค พระองค์ตรัสรู้ดีแล้วโดยชอบ พระองค์ใดแน่ะ ข้าพเจ้าถึง แล้วว่าเป็ นที่พึงกาจัดภัยจริ ง อิมินา สกฺกาเรน ต ภควนฺต อภิปูชยามิ ข้าพเจ้าบูชาพระผูม้ ีพระภาคเจ้าพระองค์น้ นั ด้วยเครื่ องสักการะอันนี้ ๏ ยมห สฺ วากฺขาต ภควตา ธมฺม สรณ คโต (หญิงว่า คตา) พระธรรมที่พระผูม้ ีพระภาคตรัสดีแล้วเหล่าใดแน่ะ ข้าพเจ้าถึงแล้วว่าเป็ นที่ พึ่งกาจัดภัยจริ ง อิมินา สกฺกาเรน ต ธมฺม อภิปูชยามิ ข้าพเจ้าบูชาพระธรรมนั้น ด้วยเครื่ องสักการะอันนี้ ๏ ยมห สุ ปฏิปนฺน สงฺฆ สรณ คโต (หญิงว่า คตา)
๑๙
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
พระสงฆ์ที่ท่านปฏิบตั ิดีแล้วหมู่ใดแน่ะ ข้าพเจ้าถึงแล้วว่าเป็ นที่พ่ ึงกาจัดภัย จริ ง อิมินา สกฺกาเรน ต สงฺฆ อภิปูชยามิ ข้าพเจ้าบูชาพระสงฆ์หมู่น้ นั ด้วยเครื่ องสักการะอันนี้ ๏ นีว้ ธิ ีบูชาดอกไม้ ธูปเทียน ๚ ๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏ ๏ ยมห สมฺมาสมฺพทฺธ ภควนฺต สรณ คโต (หญิงว่า คตา) พระผูม้ ีพระภาค พระองค์ตรัสรู้ดีแล้วโดยชอบ พระองค์ใดแน่ะ ข้าพเจ้าถึง แล้วว่าเป็ นที่พึงกาจัดภัยจริ ง ต ภควนฺ ต อภิวาเทมิ ข้าพเจ้าไหว้พระผูม้ ีพระ ภาคเจ้าพระองค์น้ นั (กราบลง) ๏ ยมห สฺ วากฺขาต ภควตา ธมฺม สรณ คโต (หญิงว่า คตา) พระธรรมที่พระผูม้ ีพระภาคตรัสดีแล้วเหล่าใดแน่ะ ข้าพเจ้าถึงแล้วว่าเป็ นที่ พึ่งกาจัดภัยจริ ง ต ธมฺ ม นมสฺ สามิ ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมนั้น (กราบลง) ๏ ยมห สุ ปฏิปนฺน สงฺฆ สรณ คโต (หญิงว่า คตา) พระสงฆ์ที่ท่านปฏิบตั ิดีแล้วหมู่ใดแน่ะ ข้าพเจ้าถึงแล้วว่าเป็ นที่พ่ ึงกาจัดภัย จริ ง ต สงฺ ฆ วนฺ ทามิ ข้าพเจ้าไหว้พระสงฆ์หมู่น้ นั (กราบลง) ๏ นีว้ ธิ ีไหว้พระ ๚ ๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏๏
๒๐
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
๏ สุภมัตถุ ขอความงามความดีจงมีแก่ท่านผูส้ ปั บุรุษทั้งหลาย เมื่อท่านจะถือ ศีลรับศีล จงมีสติคิดงดเว้นจริ ง ๆ ทุกสิ กขาบทไปให้ครบทั้ง ๕ ให้ได้ ถ้าเผลอไปไม่ คิดเว้นในสิ กขาบทใด สิ กขาบทนั้นเป็ นอันไม่ได้รับไม่ได้ถือ ก็ขาดองค์ไป หาครบทั้ง ๕ ไม่ ผูถ้ ือศีลไม่ครบทั้ง ๕ เป็ นผูท้ ุศีล ว่ามีศีลชัว่ เหตุน้ นั เมื่อจะรับศีล ให้มีสติต้งั จิตต์ คิดงดเว้นจริ ง ๆ ทุกสิ กขาบทไป ให้ครบทั้ง ๕ ให้ได้ จงตั้งจิตคิดเว้นจริ ง ๆ ดังนี้วา่ เราจักไม่ แกล้งทาสัตว์ให้ ตายที่ ๑ เราจักไม่ ฉ้อลักเข้ าของ ๆ เขา ที่ ๒ ถ้ าชายให้ คดิ เว้นว่า เราจักไม่ คบสตรีอนื่ ด้ วยล่วงประเวณี ถ้ าหญิงให้ คิดเว้นว่า เราจักไม่ คบบุรุษอืน่ ด้ วยล่วงประเวณี ที่ ๓ เราจักไม่ ล่อลวงปดผู้หนึ่ง ที่ ๔ เราจักไม่ กนิ เหล้า เครื่องดองของเมาต่ าง ๆ ที่ ๕ ตั้งจิตคิดเว้นครบทั้ง ๕ ได้ดงั ว่ามานี้แล้ว อย่างนี้ท่านกล่าวว่า ถือศีลรับศีล ด้วยดีน้ นั ทีเดียว ครั้นรับศีลตั้งจิตคิดเว้นครบทั้ง ๕ ด้งว่านี้แล้ว จงรักษาเจตนาที่คิดเว้น ทั้ง ๕ นั้น ๆ ไว้ให้ดี ให้เป็ นนิตย์ อย่าให้ขาดได้ อย่างนี้ท่านกล่าวว่า รักษาศีล ๕ ด้วยดี เป็ นผูม้ ีศีล ๕ นั้นเทียว ถ้าล่วงสิ กขาบทใดด้วยกายหรื อด้วยวาจา สิ กขาบทนั้นก็แตกไป ท่านกล่าวว่า ศีลขาด เป็ นคนทุศีลทีเดียว ฯ ๏ ถึงในอุโบสถก็ปฏิบตั ิเหมือนกัน เมื่อจะสมาทาน จะถือ จงมีสติคิดงดเว้น ทุก ๆ สิ กขาบทไปให้ครบทั้ง ๘ ให้ได้ทีเดียว ถ้าเผลอไปเสี ย ไม่ได้คิดเว้นในสิ กขาบท
๒๑
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ใด สิ กขาบทนั้นก็เป็ นอันไม่ได้สมาทาน ไม่ได้ถือ ขาดองค์ ๘ ไปหาเป็ นอุโบสถไม่ เพราะอุโบสถพร้อมด้วยองค์ ๘ ขาดเสี ยไม่ได้ ไม่เป็ นอุโบสถ เหตุน้ นั เมื่อจะสมาทาน จะถือ อุโบสถ จงตั้งจิตคิดงดเว้นทุก ๆ องค์ไปให้ครบทั้ง ๘ ให้ได้ดงั นี้วา่ เราจักไม่ แกล้งให้ สัตว์ตาย ที่ ๑ เราจักไม่ ฉ้อ ลักเข้ าของ ๆ เขา ที่ ๒ เราจักไม่ เสพเมถุน เป็ นข้ าศึกแก่พรหมจรรย์ ที่ ๓ เราจักไม่ ล่อลวง ปดผู้ใดผู้หนึ่ง ที่ ๔ เราจักไม่ กนิ เหล้า เครื่องดองของเมาต่ าง ๆ ที่ ๕ เราจักไม่ กนิ โภชนาหารในเวลาวิกาล ตั้งแต่ เที่ยงแล้วไป ที่ ๖ เราจักไม่ ฟ้อนราเอง ดูเขาฟ้อนรา ขับร้ องเอง ฟังเขาขับร้ อง ไม่ ดูการ เล่นอันเป็ นข้ าศึกแก่บุญ แก่กศุ ล ไม่ ตกแต่ งร่ างกายด้ วยระเบียบดอกไม้ ของหอม ทา กายให้ วจิ ติ รงามด้ วยเครื่องประดับต่ าง ๆ ที่ ๗ เราจักไม่ นั่ง นอน เตียงตัง่ ม้ าทีม่ ีเท้ าสู งเกินประมาณ และฟูกเมาะใส่ นุ่นและสาลี และเครื่องปูลาดอันวิจติ รงามด้ วยเงินและทองต่ าง ๆ ที่ ๘ ถ้าสมาทานตั้งจิตคิดเว้นทุก ๆ สิ กขาบทให้ครบทั้ง ๘ ดังว่ามานี้แล้ว อย่างนี้ แหละจึงเป็ นอันสมาทาน เป็ นอันถือ อุโบสถด้วยดี ครั้นสมาทานดังว่ามานี้แล้ว ก็จง รักษาเจตนาที่คิดเว้นทั้ง ๘ นั้นไว้ให้ดี อย่าให้ขาดได้ตลอดคืนหนึ่งวันหนึ่ง อย่างนี้ ท่านกล่าวว่า รักษาอุโบสถด้วยดี ถ้าล่วงสิ กขาบทใดด้วยกาย หรื อด้วยวาจา สิ กขาบท
๒๒
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
นั้นก็ขาดไป ไม่เป็ นอุโบสถ เพราะอุโบสถพร้อมด้วยองค์ ๘ นั้นนัน่ แหละ เหตุน้ นั เมื่อ จะรับศีล ๕ เมื่อจะสมาทานอุโบสถอย่าเผลอไป จงตั้งจิตคิดเว้นทุก ๆ สิ กขาบทให้ ครบองค์ ๕ และให้ครบองค์ ๘ ด้วยดีให้ได้เถิด แล้วจงรักษาเจตนาที่งดเว้นนั้น ๆ ไว้ ให้ได้ทีเดียว ทั้งในศีล ๕ และอุโบสถที่พร้อมด้วยองค์ ๘ นั้น อย่าล่วงด้วยกายหรื อ ด้วยวาจาดังว่ามานี้เทอญ ฯ ๏ อนึ่ง ศีลวิบตั ิไม่บริ สุทธิ์นี้ พระพุทธเจ้าแสดง อาทีนพโทษ ไว้ ๕ อย่าง โทษ ๕ อย่างนั้น คือ ผู้ที่มีศีลวิบัตเิ ป็ นคนทุศีล ย่ อมถึงซึ่งความฉิบหายแห่ งสมบัตใิ หญ่ เพราะเหตุประมาทในศีล เป็ นโทษที่ ๑ อนึ่ง ผู้ทมี่ ีศีลวิบัติ อันวิญญูชนรู้แล้วย่ อมติเตียน กิตติศัพท์ ข้างชั่ว ย่ อมปรากฏทั่วไป ได้ ซึ่งความร้ อนใจ เป็ นโทษที่ ๒ อนึ่ง ผู้มศี ีลวิบตั ิ เมื่อเข้าไปใกล้บริษทั ใด ๆ ย่ อมเกรงกลัวครั่นคร้ าม หวาดหวัน่ ไป เป็ นโทษที่ ๓ อนึ่ง ผู้มศี ีลวิบตั ิ เมื่อจะตาย ไม่ ได้ สติ หลงใหลตายไป เป็ นโทษที่ ๔ อนึ่ง ผู้ทมี่ ีศีลวิบัติ ตายไปแล้วเกิดในคติอนั ชั่วคืออบายทั้ง ๔ เป็ นโทษ ที่ครบ ๕ ๏ อนึ่ง ผูท้ ี่มาเกิดเป็ นมนุษย์น้ ี มีอายุนอ้ ย สั้นตายเร็วพลัน นี้เป็ นเศษผลของ ปาณาติบาต, อนึ่งผูท้ ี่มาเกิดในมนุษย์น้ ี มีโภคะน้อย ยากจนไร้ทรัพย์สมบัติไป นี้เป็ น
๒๓
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
เศษผลของอทินนาทาน, อนึ่ง ผูท้ ี่มาเกิดในมนุษย์น้ ี มีศตั รู คิดประทุษร้ายมาก หา ความสุขยาก นี้เป็ นเศษผลของกามมิจฉาจาร, อนึ่ง ผูท้ ี่มาเกิดในมนุษย์น้ ี อยูด่ ี ๆ มีผมู้ า กล่าวตู่ใส่โทษซัดขว้างเอาเปล่า ๆ ต้องเสี ยทรัพย์บา้ ง ต้องติดจาโทษบ้าง นี้เป็ นเศษผล ของมุสาวาท, อนึ่ง ผูท้ ี่มาเกิดในมนุษยโลกนี้ เป็ นบ้า เสี ยจริ ตคลัง่ ไคล้เสี ยคนไป นี้เป็ น เศษผลดื่มกินสุราเมรัย เมื่อประสงค์จะใคร่ พน้ โทษจากทุศีลต่าง ๆ ดังว่ามานี้แล้ว ก็จงอุตส่าห์ ปฏิบตั ิให้ดีในศีล ๕ นี้เถิด ๏ ก็ศีล ๕ นี้ พระพุทธเจ้าทรงแสดงอานิสงส์ไว้ ๕ อย่าง อานิสงส์ ๕ อย่าง นั้น คือ ผู้ที่มศี ีลได้ ซึ่งทรัพย์ สมบัตมิ าก เพราะเหตุไม่ ประมาทในศีล เป็ น อานิสงส์ ที่ ๑ อนึ่งผู้ที่มศี ีล อันวิญญูชนมักสรรเสริญ กิตติศัพท์ ย่อมลือชาปรากฏ ทั่วไป ได้ ซึ่งความบันเทิงใจ เป็ นอานิสงส์ ที่ ๒ อนึ่งผู้ที่มศี ีล เมื่อเข้ าไปใกล้บริษทั ใด ๆ ย่อมเป็ นผู้กล้าหาญ ไม่ กลัว ไม่ ครั่นคร้ าม เป็ นอานิสงส์ ที่ ๓ อนึ่ง ผู้ทมี่ ีศีล เมื่อจะตาย ย่ อมเป็ นผู้มีสติ ไม่ ฟั่นเฟื อน ไม่ หลงตาย เป็ นอานิสงส์ ที่ ๔ อนึ่ง ผู้ทมี่ ีศีล ตายแล้วย่อมไปเกิดในสุ คติ คือมนุษย์ และโลกสวรรค์ เป็ นอานิสงส์ ที่ ๕
๒๔
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
อนึ่งศีลนี้ มีอนั ไม่วิปปฏิสารเดือดร้อนใจเป็ นคุณ เป็ นอานิสงส์ เป็ นทรัพย์อนั ประเสริ ฐ ให้สาเร็จความปรารถนาของคนตามประสงค์ดว้ ย เป็ นเหตุ เป็ นปัจจัยแก่อนั บัลลุมรรคผล และทาให้แจ้งซึ่งพระนฤพานด้วย อนึ่ง อุโบสถที่พร้อมด้วยองค์ ๘ อันนรชาติหญิงชายรักษาตลอดคืนหนึ่งวัน หนึ่งด้วยดีน้ ี พระพุทธเจ้าทรงตรัสสรรเสริ ญไว้วา่ มีผลอานิสงส์ยงิ่ ใหญ่ มีความสว่าง รุ่ งเรื องแผ่ไพศาลมากยิง่ นัก ถ้าจะเปรี ยบด้วยสมบัติในมนุษยโลกแล้ว ก็ให้แบ่ง ออกเป็ น ๑๖ ส่วน ๑๖ เสี้ ยว ๑๖ หน ส่วนเสี้ ยวที่สุดครบ ๑๖ นั้นก็เลิศประเสริ ฐวิเศษยิง่ กว่าสมบัติของพระเจ้าจักรพรรดิ์และกษัตริ ยห์ มดทั้งสิ้นในมนุษย์โลกนี้ เพราะอุโบสถ นั้นให้ผลเป็ นทิพย์ เหตุน้ นั เราทั้งหลายจงอย่าประมาทเลย อุตส่าห์ปฏิบตั ิในศีล ๕ และอุโบสถ นี้ให้ดีเถิด จะได้ประสพผลที่เลิศ เป็ นอันไม่เสียทีเกิดเป็ นมนุษย์พบพระพุทธศาสนานี้ เทอญ ฯ ๏ นีว้ ธิ ีรักษาศีล ๕ และอุโบสถ ๚
๒๕
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) พิจารณาอสุ ภกรรมฐาน มีโครงกระดูกมนุ ษย์วางไว้ ณ เบื้องหน้าเป็นเครื่ องนิ มิต
๒๖
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
จตุรารักษ์ สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร ๏ อนึ่งเมื่อจะระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย พึงระลึกดังนี้กไ็ ด้วา่ เพลิงกิเลสเพลิง ทุกข์ลุกโพลงรุ่ งเรื อง ไหม้สตั ว์เผาสัตว์ให้รุ่มร้อนอยูเ่ ป็ นนิตย์ในภพทั้ง ๓ เพลิงกิเลส นั้น คือ ราคะ ความกาหนัดยินดี และ โทสะ ความเคืองคิดประทุษร้าย และโมหะ ความหลง รู้ไม่จริ ง ราคะ โทสะ โมหะ ทั้ง ๓ นี้ ท่านกล่าวว่าเป็ นเพลิง เพราะเป็ น เครื่ องร้อนรนกระวนกระวายของสัตว์ เพลิงทุกข์น้ นั คือ ชาติ ความเกิด คือขันธ์และ อายตนะ และนามรู ปที่เกิดปรากฏขึ้น และชรา ความแก่ทรุ ดโทรมคร่ าคร่ า และ มรณะ ความตาย คือ ชีวิตขาด กายแตก วิญญาณดับ และโสก ความเหื อดแห้งเศร้าใจ และ ปริ เทวะ ความบ่นเพ้อ คร่ าครวญ ร่ าไร และทุกข์ทนยากเจ็บปวด เกิดขึ้นในกาย และ โทมนัส ความเป็ นผูม้ ีใจชัว่ เสี ยใจ และอุปายาส ความคับแค้น อัดอั้นใจ ทุกข์มีชาติ เป็ นต้นเหล่านี้ ท่านกล่าวว่าเป็ นเพลิง เพราะเป็ นทุกข์ให้เกิดความร้อนรน กระวน กระวายต่าง ๆ แก่สตั ว์ เพลิงกิเลส เพลิงทุกข์เหล่านี้ ยกพระพุทธเจ้าเสียแล้ว ไม่มีผใู้ ดผู้ หนึ่งในโลกดับได้ แต่ผทู้ ี่จะรู้วา่ เป็ นเพลิง เครื่ องร้อนเท่านั้นก็หายากเสียแล้ว ผูท้ ี่จะ ดับเพลิงนั้น จะได้มาแต่ใดเล่า ก็ในโลกหมดทั้งสิ้นไม่มีผใู้ ดผูห้ นึ่งดับได้ จึงพากันร้อน รนกระวนกระวายอยูด่ ว้ ยเพลิงหมดทั้งโลก ก็ไม่รู้สึกตัวว่า เพลิงมันไหม้มนั เผาเอา ให้ เร่ าร้อนอยูเ่ ป็ นนิตย์ เพราะอวิชชาความหลงไม่รู้จริ ง สมฺมาสมฺพุทฺโธ ภควา พระผูม้ ีพระภาคที่เป็ นที่พ่ ึงของเรา พระองค์ตรัสรู้ ชอบ ตรัสรู้ดีแล้วเอง ตรัสรู้จริ งเห็นจริ ง ดับเพลิงกิเลส เพลิงทุกข์ ทาให้แจ้งซึ่งพระ
๒๗
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
นฤพานได้ดว้ ยพระองค์น้ นั จึงเป็ นผูเ้ ลิศกว่าสัตว์ ประเสริ ฐกว่าสัตว์ เป็ นผูอ้ ศั จรรย์ ใหญ่ยงิ่ นัก ควรเลื่อมใสจริ ง ๆ สฺ วากฺขาโต ภควตา ธมฺโม พระธรรมที่เป็ นที่พ่ ึงของเรา ที่พระผูม้ ีพระภาค ตรัสแล้วดี ทรงคุณ คือดับเพลิงกิเลส เพลิงทุกข์ของสัตว์ผปู้ ฏิบตั ิชอบ ช่วยให้พน้ จาก ทุกข์ภยั ทั้งสิ้นได้ คือ ศีล สมาธิ ปัญญา มรรคผล นฤพาน พระธรรมนั้น ท่านทรงคุณ คือดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์ได้อย่างนี้ จึงเป็ นอัศจรรย์ใหญ่ยงิ่ นัก ควรเลื่อมใสจริ ง ๆ สุ ปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ พระสงฆ์ผสู้ าวกของพระผูม้ ีพระภาค ที่เป็ น ที่พ่ ึงของเรา ท่านปฏิบตั ิดีแล้ว ทาให้บริ บูรณ์ในศีล สมาธิ ปัญญา บันลุมรรคผล ทาให้ แจ้งซึ่งพระนฤพาน ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์ของตนได้ดว้ ย และเป็ นเขตต์ให้เกิดบุญ เกิดกุศล แก่เทวดามนุษย์มากมายนัก พระสงฆ์น้ นั ท่านปฏิบตั ิดีอย่างนี้ จึงเป็ นอัศจรรย์ ใหญ่ยงิ่ นัก ควรเลื่อมใสจริ ง ๆ ฯ ๏ เมื่อนึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ๓ รัตนะนี้ ตรึ กตรองด้วยปัญญา ครั้นเห็นจริ ง เกิดความเลื่อมใสขึ้นแล้ว จะนึกแต่ในใจ หรื อจะเปล่งวาจาว่า อโห พุทฺ โธ พระพุทธเจ้าเป็ นที่พ่ งึ ของเรา พระองค์ตรัสรู้จริ ง เห็นจริ ง สาเร็จประโยชน์ตน สาเร็จประโยชน์อื่นได้แล้ว ควรซึ่งทักษิณาอันเลิศ เป็ นผูป้ ระเสริ ฐกว่าสัตว์ท้งั หมด ทั้งสิ้น เป็ นอัศจรรย์น่าเลื่อมใสจริ ง อโห ธมฺโม พระธรรมเป็ นที่พ่ ึงของเรา ท่านทรงคุณ คือ ดับกิเลสเครื่ องร้อนใจของสัตว์ได้ นาสัตว์ออกจากทุกข์ได้ เป็ นอัศจรรย์น่าเลื่อมใส จริ ง อโห สงฺโฆ พระสงฆ์เป็ นที่พ่ งึ ของเรา ท่านปฏิบตั ิดีแล้ว เป็ นเขตต์บุญอันเลิศ หา เขตต์บุญอื่นยิง่ กว่าไม่มี เป็ นอัศจรรย์น่าเลื่อมใสจริ ง ภาวนาดังนี้ ก็ได้ดีทีเดียว ฯ ๏ เมื่อพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ๓ รัตนะนี้เป็ นที่พ่ งึ ของตนจริ ง ๆ เสมอ ด้วยชีวิตแล้ว ท่านกล่าวว่าถึงสรณะแล้ว มีผลอานิสงส์ใหญ่ยงิ่ กว่าทานหมดทั้งสิ้น อนึ่งผูใ้ ดได้ความเชื่อความเลื่อมใสในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ๓ รัตนะนี้แล้ว ผู้
๒๘
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
นั้นชื่อว่าเลื่อมใสแล้วในที่อนั เลิศ ผลที่สุกพิเศษ เลิศใหญ่ยงิ่ กว่าผลแห่งกุศลอื่น ๆ ทั้งสิ้น ย่อมมีแก่ผเู้ ลื่อมใสในรัตนะทั้ง ๓ นั้น อนึ่งพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ นี้ เป็ นรัตนะอันเลิศวิเศษยิง่ กว่ารัตนะอื่นหมดทั้งสิ้น ย่อมให้สาเร็จความปรารถนาแก่ สัตว์ผทู้ ี่เลื่อมใสได้ทุกประการ เหตุน้ นั เราทั้งหลายจงอุตส่าห์นึกถึงคุณพระพุทธ พระ ธรรม พระสงฆ์ ให้เกิดความเลื่อมใสทุก ๆ วันเถิด จะได้ไม่เสี ยทีประสพพบ พระพุทธศาสนานี้ ฯ ๏ นีว้ ธิ ีระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย ฯ
๏ อนึ่งเมื่อจะเจริ ญเมตตา พึงเจริ ญดังนี้กไ็ ด้วา่ สพฺเพ สตฺตา สัตว์ท้งั หลายที่เป็ นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกัน หมดทั้งสิ้น อเวรา จงเป็ นสุข เป็ นสุข เถิด อย่าได้มีเวรแก่กนั และกันเลย สพฺเพ สตฺตา สัตว์ท้งั หลายที่เป็ นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกัน หมดทั้งสิ้น อพฺยาปชฺฌา จงเป็ นสุข เป็ นสุขเถิด อย่าได้มีความเจ็บไข้ลาบากกาย ลาบากใจเลย สพฺเพ สตฺตา สัตว์ท้งั หลายที่เป็ นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกัน หมดทั้งสิ้น อนีฆา จงเป็ นสุข เป็ นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย สพฺเพ สตฺตา สัตว์ท้งั หลายที่เป็ นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตายด้วยกัน หมดทั้งสิ้น
๒๙
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
สุ ขี อตฺตาน ปริหรนฺตุ จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนพ้นจากทุกข์ ภัยทั้งสิ้นเถิด ฯ ๏ เมตตาภาวนานี้ เป็ นข้าศึกแก่พยาบาทโดยตรง เมื่อเจริ ญเมตตานี้ยอ่ มละ พยาบาทเสี ยได้ดว้ ยดี เมตตานี้ชื่อว่า เจโตวิมุต์ ิ เพราะเป็ นเครื่ องหลุดพ้นจากพยาบาท ของใจ มีผลอานิสงส์ยงิ่ ใหญ่กว่าทานและศีลหมดทั้งสิ้น อนึ่งเมตตานี้ พระพุทธเจ้า ทรงตรัสไว้วา่ มีอานิสงส์ ๑๑ ประการ อานิสงส์ ๑๑ ประการนั้น คือ ผูเ้ จริ ญเมตตานี้ หลับก็เป็ นสุ ขที่ ๑ ตืน่ ก็เป็ นสุ ข ที่ ๒ ฝันเห็นก็เป็ นมงคล ไม่ ลามก ที่ ๓ เป็ นที่รักของมนุษย์ ที่ ๔ เป็ นที่รักของอมนุษย์ ที่ ๕ เทวดาย่ อมรักใคร่ รักษาไว้ให้ พ้นภัย ที่ ๖ ไฟก็ไม่ ไหม้ ไม่ ทาให้ ร้อนได้ และ พิษต่ าง ๆ และสาตราวุธก็ไม่ ประทุษร้ ายทาอันตรายแก่ชีวติ ได้ ที่ ๗ จิตต์ กลับตั้งมั่นได้ โดยเร็วพลัน ที่ ๘ มีผวิ หน้ าผ่องใสงาม ที่ ๙ เป็ นผู้มีสติไม่ หลงตาย ที่ ๑๐ ตายแล้วไปเกิดในพรหมโลกด้ วยเมตตาฌานนี้ ที่ ๑๑
๓๐
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
เมตตามีอานิสงส์วิเศษมากต่าง ๆ ดังว่ามานี้ เหตุน้ นั เราทั้งหลายจงอย่าได้ ประมาทในเมตตาภาวนานี้เลย อุตส่าห์เจริ ญเถิดจะได้ประสพอานิสงส์วิเศษต่าง ๆ ซึ่ง ว่ามานี้เทอญ ฯ ๏ นีว้ ธิ ีเจริญเมตตา ฯ
๏ อนึ่งเมื่อจะเจริ ญอสุภะ พึงเจริ ญดังนี้กไ็ ด้วา่ อตฺถิ อิมสิมึ กาเย ของไม่งามเป็ นของปฏิกลู น่าเกลียดมีอยูใ่ นกายนี้ เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง มส นหารู อฏฺฐี อฏฺฐิมญ ิ ฺช วกฺก คือ เนื้อ เอ็น กระดูก เยือ่ ในกระดูก ม้าม หทย ยกน กิโลมก ปิ หก ปปฺผาส คือ เนื้อหัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด อนฺต อนฺตคุณ อุทริย กรีส คือ ไส้ใหญ่ สายเหนี่ยวไส้ ราก ขี้ ปิ ตฺต เสมฺห ปุพฺโพ โลหิต เสโท เมโท คือ น้ าดี น้ าเสมหะ น้ าเหลือง น้ าหนอง น้ าเลือด น้ าเหงื่อ น้ ามันข้น อสฺ สุ วสา เขโฬ สิงฆาณีกา ลสิกา มุตฺต คือ น้ าตา น้ ามันเปลว น้ าลาย น้ ามูก น้ าไขข้อ น้ าเยีย่ ว ฯ ๏ ผม นั้นงอกอยูต่ ามศีรษะ ดาบ้าง ขาวบ้าง ขน นั้นงอกอยูต่ ามขุมขนทัว่ กาย เว้นไว้แต่ฝ่ามือฝ่ าเท้า เล็บ นั้นงอกอยูต่ ามปลายมือปลายเท้า ฟัน นั้น งอกอยูต่ าม กระดูกคาง ข้างบนข้างล่าง สาหรับบดเคี้ยวอาหาร ชุ่มอยูด่ ว้ ยน้ าลายเป็ นนิตย์ หนัง นั้น
๓๑
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
หุม้ ทัว่ กายผิวนอก ออกเสี ยแล้วมีสีขาว เนือ้ นั้นมีสีแดงเหมือนกะชิ้นเนื้อสัตว์ เอ็น นั้น รึ งรัดรวบโครงกระดูกไว้ มีสีขาว กระดูก นั้นเป็ นร่ างโครงค้าแข็งอยูใ่ นกาย มีสี ขาว เยือ่ ในกระดูก นั้นมีสีขาวเหมือนกะยอดหวายที่เผาไฟอ่อนแล้วใส่ไว้ในกระบอก ไม้ฉะนั้นเยือ่ ในขมองศีรษะ นั้นเป็ นยวง ๆ เหมือนกะเยือ่ ในหอยจุกแจง ม้ าม นั้นคือ แผ่นเนื้อมีสีแดงคล้ า ๆ สองแผ่นมีข้วั อันเดียวกัน เหมือนกะผลมะม่วงสองผล มีข้วั อัน เดียวกันฉะนั้น อยูข่ า้ งซ้ายเคียงกับหัวใจ เนือ้ หัวใจ นั้นมีสีแดง สัณฐานดังดอกบัวตูม ตั้งอยูท่ ่ามกลางอก ตับ นั้นคือแผ่นเนื้อสองแผ่น สี แดงคล้ า ๆ ตั้งอย่างข้างขวาเคียงเนื้อ หัวใจ พังผืด นั้นมีสีขาวเหนี่ยวหนังกับเนื้อ เอ็นกับเนื้อ กระดูกกับเอ็นติดกันไว้ บ้าง ไต นั้นเป็ นชิ้นเนื้อสี ดาคล้ าเหมือนกับลิ้นโคดา อยูช่ ายโครงข้างซ้าย ปอด นั้นเป็ น แผ่นเนื้อสี แดงคล้ า ชายเป็ นแฉกปกเนื้อหัวใจอยูท่ ่ามกลางอก ไส้ ใหญ่ นั้นปลายข้าง หนึ่งอยูค่ อหอย ปลายข้างหนึ่งอยูท่ วาร ทบไปทบมามีสีขาว ชุ่มอยูด่ ว้ ยเลือดใน ท้อง สายเหนี่ยวไส้ ใหญ่ นั้นมีสีขาว รากนั้นคือของที่กลืนกินแล้วสารอกออกมาเสี ย ฉะนั้น คูถ นั้นคือของที่กินขังอยูใ่ นท้องแล้วถ่ายออกมาฉะนั้น นา้ ดีน้ นั สี เขียวคล้ า ที่ เป็ นฝักตั้งอยูท่ ่ามกลางอก ที่ไม่เป็ นฝักซึมซาบอยูใ่ นกาย นา้ เสมหะ นั้นมีสีขาวคล้ า ๆ เป็ นมวก ๆ ติดอยูก่ บั พื้นไส้ขา้ งใน นา้ เหลือง นา้ หนอง นั้น มีอยูใ่ นที่สรี ระมีบาดแผล เป็ นต้น นา้ เลือด นั้นมีอยูต่ ามขุมในกายและซึมซาบอยูใ่ นกาย นา้ เหื่อ นั้นสร้านออก ตามขุมขนในกาลเมื่อร้อนหรื อกินของเผ็ด นา้ มันข้ น นั้นมีสีเหลือง ติดอยูก่ บั หนังต่อ เนื้อ นา้ ตานั้นไหลออกจากตาในกาลเมื่อไม่สบาย นา้ มันเปลว นั้นเป็ นเปลวอยูใ่ นพุง เหมือนกับเปลวสุกร นา้ ลายนั้นใสบ้าง ข้นบ้าง นา้ มูก นั้นเหลวบ้างข้นบ้างเป็ นยวง ออกจากนาสิ ก นา้ ไขข้ อ นั้นติดอยูต่ ามข้อกระดูก นา้ เยีย่ ว นั้นเกรอะออกมาจากราก และคูถฯ ๏ อยเมว กาโย กายคือประชุมส่วน เป็ นของปฏิกลู น่าเกลียดนี้นนั่ แหละ อุทฺธ ปาทตถา เบื้องบนแต่พ้นื เท้าขึ้นมา อโธ เกสมตฺถกา เบื้องต่าตั้งแต่ปลายผมลงไป ตจ
๓๒
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ปริยนฺโต มันมีหนังหุม้ อยูท่ ี่สุดรอบ ปูโร นานปฺปการสฺ ส อสุ จโิ น มันเต็มไปด้วยของไม่ สะอาดมีประการต่าง ๆ มีผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เป็ นต้น เชตุจฺโฉ ปฏิกกฺ โุ ล แต่ลว้ นเป็ น ของไม่งาม มีกลิ่นเหม็น ปฏิกลู น่าเกลียดหมดทั้งสิ้น ฯ ๏ อสุภกัมมัฏฐาน อสุภสัญญานี้ เป็ นข้าศึกแก่ราคะความกาหนัดยินดี โดยตรง ผูใ้ ดมาเจริ ญอสุภะเห็นเป็ นของไม่งามในกาย เห็นกายเป็ นของไม่งาม ปฏิกลู น่าเกลียด จนเกิดความเบื่อหน่ายไม่กาหนัดยินดี ดับราคะโทสะโมหะเสี ยได้ ผูน้ ้ นั ได้ ชื่อว่าดื่มกินซึ่งรส คือพระนฤพาน เป็ นสุขอย่างยิง่ เหตุน้ นั พระพุทธเจ้าจึงได้ตรัส สรรเสริ ญกายคตาสติอสุภกัมมัฏฐานนี้วา่ ผูใ้ ดได้เจริ ญกายคตาสติน้ ี ผูน้ ้ นั ได้ชื่อว่า บริ โภคซึ่งรสคือนฤพานเป็ นธรรมมีผตู้ ายไม่มีดงั นี้ นฤพานนั้นก็ดบั ราคะ โทสะ โมหะ นั้นเอง เหตุน้ นั เราทั้งหลายจงอย่าได้ประมาทในกายคตาสติน้ ีเลย อุตส่าห์เจริ ญเถิดจะ ได้ประสพพบพระนฤพานเป็ นสุขอย่างยิง่ เลิศกว่าธรรมหมดทั้งสิ้น ๏ นีว้ ธิ ีเจริญอสุ ภะ ฯ
๏ อนึ่ งเมื่อจะเจริ ญมรณสติ พึงเจริ ญดังนี้กไ็ ด้วา่ มรณธมฺโมมฺหิ มรณ อนตี โต (หญิงว่า มรณธมฺมามฺหิ มรณ อนตีตา) แปลว่า เรามีความตายเป็ นธรรมดา ล่วง ความตายไปไม่ได้แล้ว ความตายนั้น คือสิ้นลมหายใจ กายแตกวิญญาณดับ ฯ ๏ อนึ่งพึงเจริ ญดังนี้กไ็ ด้วา่ อธุว ชีวติ ชีวิตของเรามันไม่ยงั่ ยืน ธุว มรณ ความ ตายของเรามันยัง่ ยืน อวสฺ ส มยา มริตพฺพ เราคงจะตายเป็ นแน่ มรณปริโยสาน เม ชี วิต ชีวิตของเรามีความตายเป็ นที่สุด ชีวติ เม อนิยต ชีวิตของเรามันไม่เที่ยง มรณ เม นิยต ความตายของเรามันเที่ยงแล้ว ฯ
๓๓
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
๏ อนึ่ง พึงเจริ ญดังนี้ กไ็ ด้วา่ สพฺเพ สตฺตา มรนฺติ จ สัตว์ที่ตายอยูเ่ ดี๋ยวนี้ก็ ดี มรึสุ จ มริสฺสเร ที่ตายดับศูนย์ไปแล้วก็ดี จักตายต่อไปข้างหน้าก็ดี ตเถวาห มริสฺสา มิ เราก็จกั ตายดับศูนย์ไปเช่นนั้นเหมือนกันนัน่ แหละ นตฺถิ เม เอตฺถ สสโย ความสงสัย ในความตายนี้ไม่มีแก่เรา เราไม่สงสัยในความตายนี้แล้ว เหตุน้ นั เราจงเร่ งขวนขวาย ก่อสร้างบุญกุศลซึ่งเป็ นที่พ่ ึงของตนเสี ยให้ได้ทนั เป็ นมีชีวิตอยูน่ ้ ีเถิด อย่าให้ทนั ความ ตายมาถึงเข้า ถ้าความตายมาถึงเข้าแล้ว จะเสี ยทีที่ได้เกิดเป็ นมนุษย์พบ พระพุทธศาสนานี้ทีเดียว ฯ ๏ ผูใ้ ดได้เจริ ญมรณสติ นึกถึงความตายได้เห็นจริ ง ตนเกิดความสังเวชได้ ผู้ นั้นย่อมไม่เมาในชีวิต ละอาลัยในชีวิตเสี ยได้ เป็ นผูไ้ ม่ประมาท รี บร้อนปฏิบตั ิละบาป บาเพ็ญบุญกุศล ชาระตนให้เป็ นผูบ้ ริ สุทธิ์โดยเร็วพลัน เพราะเหตุน้ นั พระพุทธเจ้าจึง สรรเสริ ญมรณสติที่บุคคลเจริ ญทาให้มากนี้วา่ มีผลานิสงส์ยงิ่ ใหญ่มากนัก นับเข้าใน พระนฤพานเป็ นธรรมมีผตู้ ายไม่มีดงั นี้ มรณสติมีผลานิสงส์มากอย่างนี้ อนึ่ง พระพุทธเจ้าก็ตรัสสัง่ ไว้วา่ ให้คิดถึงความตายให้ได้ทุก ๆ วัน มาในอภิณหปัจจเวกขณ์ เหตุน้ นั เราทั้งหลายจงอุตส่าห์เจริ ญมรณสติคิดถึงความตายให้เห็นจริ ง จนเกิดความ สังเวชให้ได้ทุก ๆ วันเถิด จะได้ประสพผลอานิสงส์ที่วิเศษ เป็ นเหตุไม่ประมาทในอัน ก่อสร้างบุญกุศลซึ่งเป็ นที่พ่ ึงของตน ฯ ๏ นีว้ ธิ ีเจริญมรณสติ ฯ
๏ ที่นึกถึงคุณพระรัตนตรัย และเจริ ญเมตตาและอสุภและมรณสติ ทั้งสี่ อย่าง ซึ่งว่ามานี้ ท่านกล่าวว่า จตุรารักษ์ เพราะเป็ นธรรมป้ องกันปกครองรักษาผูท้ ี่เจริ ญนั้น ให้พน้ จากทุกข์ภยั อันตรายวิบตั ิท้งั สิ้นได้ และเป็ นทางสวรรค์และนฤพานด้วย เหตุน้ นั
๓๔
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
เรามั้งหลายจงอุตส่าห์เจริ ญให้ได้ทุก ๆ วันเถิด อย่าให้ขาดได้เลย จะได้เป็ นความดี ความชอบอย่างยิง่ ของเรา ที่ได้เกิดมาเป็ นมนุษย์พบพระพุทธศาสนานี้เทอญ ฯ ๏ นีว้ ธิ ีเจริญจตุรารักษ์ ต่ อนีไ้ ปวิปัสสนา ๚
๏ เมื่อเจ็บไข้หรื อเมื่อจะตาย พึงศึกษาทาไว้ในใจดังนี้วา่ อาตุรกายสฺ ส เม สโต เมื่อกายของเราอาดูรกระวนกระวายอยูด่ ว้ ย ทุกขเวทนา จิตฺต อนาตุร ภวิสฺสติ จิตต์ของเราจักไม่อาดูรเดือดร้อนไปตามกาย ภิทุราย กาโย กายนี้มนั จักแตก วิราคธมฺม วิญฺญาณ วิญญาณจิตต์ผรู้ ู้แจ้งนี้มนั จะดับไป เป็ นของ ไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน ช่างมันเถิด อนิจฺจา สงฺขา รา เพราะสังขารคือร่ างกายจิตต์ใจนี้มนั ไม่เที่ยง เกิดขึ้นแล้วแตกดับไปเป็ นธรรมดา ของมันอย่างนั้นเอง ตงฺกเุ ตตฺถ ลพฺภา ความเที่ยงยัง่ ยืนอยูน่ ้ นั จะพึงได้มาแต่ไหน ใน สังขารคือร่ างกาย จิตต์ใจเหล่านี้เล่า อนึ่ง พึงเห็นจริ งแจ้งชัดด้วยปัญญาดังนี้วา่ เปล่า ไม่มีใครเกิด ไม่มีใครตาย, รู ป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ขันธ์หา้ มันเกิดขึ้น, ขันธ์หา้ มันแตกไปต่างหาก, ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน ขันธ์หา้ ต่างหาก ช่างมันเถิด เปล่า ไม่มีใครเกิด ไม่มีใครตาย จักขุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กาย ใจ อายตนะหก มันเกิดขึ้น, อายตนะหก มันดับไปต่างหาก, ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน อายตนะหกต่างหาก ช่างมันเถิด
๓๕
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
เปล่า ไม่มีใครเกิด ไม่มีใครตาย ดิน น้ า ไฟ ลม อากาศ วิญญาณ ธาตุหก มัน เกิดขึ้น, ธาตุหกมันแตกไปต่างหาก, ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน ธาตุหก ต่างหาก ช่างมันเถิด เปล่า ไม่มีใครเกิด ไม่มีใครตาย นามรู ปมันเกิดขึ้น, นามดับรู ปแตกไป ต่างหาก, ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน นามรู ป ต่างหาก ช่างมันเถิด อนึ่งเมื่อเกิดก็ไม่ได้เอาอะไรมา เมื่อตายก็ไม่ได้เอาอะไรไป เข้าของที่มี วิญญาณ และไม่มีวิญญาณหมดทั้งสิ้น เป็ นของกลางสาหรับแผ่นดิน ไม่ใช่ของใคร ช่างมันเถิด เมื่อพิจารณาด้วยปัญญาเห็นจริ งแจ้งชัดอย่างว่านี้แล้ว จิตต์กไ็ ม่อาดูร เดือดร้อนไปตามกาย ที่กระวนกระวายอยูด่ ว้ ยทุกข์เวทนา อนึ่ง ก็ไม่อาลัยพัวพันติดข้องอยูใ่ นเข้าของเหล่านั้นหมดทั้งสิ้น ด้วยความที่ เห็นจริ งแจ้งชัดดังนี้ เมื่อปฏิบตั ิทาใจได้อย่างนี้ ขณะหนึ่ง ครู่ หนึ่งนั้นก็ดี ก็ได้ชื่อว่าดื่ม กินซึ่งรส คือพระนฤพาน เป็ นธรรมมีผตู้ ายไม่มี เป็ นอันได้ประสพพระสัมมาสัมพุทธ เจ้าด้วยน้ าใจ ในขณะหนึ่ง ครู่ หนึ่งนั้น เพราะพระองค์ทรงตรัสไว้วา่ ผูใ้ ดเห็นธรรม ผู้ นั้นเห็นเราผูต้ ถาคตดังนี้ ๏ อนึ่ง พึงพิจารณาด้วยปัญญาให้เห็นจริ งแจ้งชัดดังนี้วา่ รูป อนิจฺจ รู ปเป็ นของทรุ ดโทรม ไม่เที่ยง เกิดขึ้นแล้วแตกทาลายไป ดังฟอง ก้อนใหญ่ต้งั ขึ้นแล้ว แตกละลายเป็ นน้ าไปฉะนั้น เวทนา อนิจฺจา ความสบายและไม่สบายและเฉย ๆ อยูท่ ี่วิญญาณรู้แจ้ง มันไม่ เที่ยง เกิดขึ้นแล้วดับไป ดังต่อมน้ าตั้งขึ้นใส ๆ แล้วแตกไปโดยเร็วฉะนั้น
๓๖
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
สัญญา อนิจฺจา ความสาคัญจาหมายไว้มนั ไม่เที่ยง ขึ้นแล้วหายไป ดังพยับ แดด เข้าใกล้แล้วหายไปหมด ไม่ปรากฏฉะนั้น สงฺขารา อนิจฺจา ความคิดเป็ นเครื่ องตกแต่งจิตต์ที่เป็ นบุญและเป็ นบาป มัน ไม่เที่ยงเกิดขึ้นแล้วดับศูนย์ไป ไม่มีแก่นสารอันใด ดังต้นกล้วยฉะนั้น วิญฺญาน อนิจฺจ จิตต์ผรู้ ู้แจ้งอารมณ์มนั ไม่เที่ยง เกิดขึ้นหลอกลวงให้สตั ว์ลุ่ม หลงว่าของเรา ว่าเรา ว่าตัว ว่าตน แล้วดับไป ดังมายาหลอกลวงให้ลุ่มหลงเหมือนกะ เล่นกลฉะนั้น รูป อนตฺตา รู ปเป็ นของทรุ ดโทรม ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน เวทนา อนตฺตา สุข ทุกข์ อุเบกขา เฉย ๆ ที่มีวญ ิ ญาณรู้แจ้ง ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน สญฺญา อนตฺตา ความสาคัญจาหมายไว้ ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน สงฺขารา อนตฺตา เจตนาเป็ นเครื่ องตกแต่งจิตต์ที่เป็ นบุญและเป็ นบาป ไม่ใช่ ตัว ไม่ใช่ตน สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา ธรรมที่ปัจจัยตกแต่งสร้างขึ้น คือ รู ป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ หมดทั้งสิ้น มันไม่เที่ยง เกิดขึ้นแล้วแปรปรวนแตกดับไป สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรมทั้งสิ้นไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน ไม่ใช่สตั ว์ ไม่ใช่บุคคล ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เพราะว่าตัวตน สัตว์บุคคลไม่มี มีแต่รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็ นตัวทุกข์ และมีทุกข์ดบั หมด คือ พระนฤพาน และมีสภาวธรรมอย่างหนึ่ง ๆ ไปต่างหาก ไม่มีใครผูใ้ ดผูห้ นึ่ง เมื่อพิจารณาด้วยปัญญาเห็นจริ งแจ้งชัดว่า เราเขา สัตว์ บุคคล ตัวตนไม่มีดงั นี้ แล้ว ก็ปล่อยวางเสี ยได้ ไม่ถือว่าของเรา ว่าเรา ว่าตัว ว่าตน ละสักกายทิฏฐิได้ใน
๓๗
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ขณะหนึ่ง ครู่ หนึ่งนั้นก็ดี ก็ได้ชื่อว่าดื่มกินซึ่งรสคือพระนฤพานเป็ นธรรมมีผตู้ ายไม่มี และได้ประสพพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยน้ าใจในขณะหนึ่งครู่ หนึ่งนั้น เพราะพระองค์ ทรงตรัสไว้วา่ ผูใ้ ดเห็นธรรม ผูน้ ้ นั เห็นเราผูต้ ถาคตดังนี้ ๏ อนึ่ง เมื่อพิจารณาด้วยปัญญาเห็นจริ งแจ้งชัดว่า เรา เขา สัตว์ บุคคล ตัวตน ไม่มีดงั นี้แล้ว ใจก็บริ สุทธิ์เป็ นสุขใหญ่ยงิ่ ทุกข์โทมนัสคับแค้นเครื่ องร้อนใจก็ดบั เสี ย ได้ คุณคือใจบริ สุทธิ์ของพระพุทธเจ้า และคุณพระธรรมที่ดบั เพลิงเครื่ องร้อนใจได้ และคุณพระสงฆ์ปฏิบตั ิดี คือละกิเลสเครื่ องเศร้าหมองเสี ยได้ ก็ยอ่ มปรากฏขึ้นในใจ ของตน เป็ นผูม้ ีความเชื่อความเลื่อมใส หยัง่ ลงมัน่ ในคุณพระรัตนตรัย เป็ นอันได้ถึง สรณะทั้ง ๓ นี้เป็ นที่พ่ ึงของตนด้วยดี ด้วยปัญญาที่มาพิจารณาเห็นซึ่งสภาวธรรม ทั้งสิ้นเป็ นอนัตตาว่ามานี้ ฯ ๏ ก็วิปัสสนานี้ มีผลอานิสงส์ใหญ่ยงิ่ กว่าทาน ศีล พรหมวิหาร ภาวนา ย่อม ทาผูท้ ี่เจริ ญนั้นให้มีสติ ไม่หลงทากาลกิริยา มีสุคติภาพคือมนุษย์และโลกสวรรค์เป็ นที่ ไปในเบื้องหน้า นี้วา่ โดยไม่บลั ลุผลทาให้แจ้งซึ่งพระนฤพาน ถ้าอุปนิสยั มรรคผลมี ก็ ย่อมทาผูน้ ้ นั บัลลุมรรคผล ทาให้แจ้งพระนฤพานได้ในชาติน้ ีนนั่ เทียว อนึ่ง เมื่อเกิดก็ไม่ได้เอาอะไรมา เมื่อตายก็ไม่ได้เอาอะไรไป ทรัพย์สมบัติเข้า ของเงินทองทั้งหมดทั้งสิ้นไม่ใช่ของเรา เป็ นของกลางสาหรับแผ่นดิน ตายแล้วทิ้งเสี ย หมด เอาไปก็ไม่ได้ อย่าหลงมัวเมาไปเลย แต่ความแก่ ความเจ็บ ความตายนี้เป็ นของ ๆ เราแท้ หนีไม่พน้ เหตุน้ นั เราจงอุตส่าห์รีบเร่ งก่อสร้างบุญกุศลซึ่งเป็ นที่พ่ ึงของตน จง อุตส่าห์บาเพ็ญศีล และเจริ ญจตุรารักษ์และวิปัสสนา ซึ่งว่ามานี้เป็ นทางสวรรค์และ นฤพานเถิด ดีกว่าประกอบกิจอื่น ๆ ที่ไม่เป็ นประโยชน์แก่ตน เตรี ยมตัวไว้ท่าความ ตายเถิดดีกว่า เพราะเราจะต้องตายเป็ นแท้ แต่ไม่รู้วา่ เมื่อไร
๓๘
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
อนึ่งยากนักที่จะได้เกิดเป็ นมนุษย์ เพราะต้องตั้งอยูใ่ นธรรมของมนุษย์ คือศีล ๕ และ กุศลกรรมบถ ๑๐ จึงจะได้เกิดมาเป็ นมนุษย์ได้ ชีวิตทีเป็ นมานี้กไ็ ด้ดว้ ยยากยิง่ นัก เพราะอันตรายของชีวิตทั้งภายในภายนอกกายมีมากต่าง ๆ การที่ได้ฟังธรรม ของสัปบุรุษ คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้านี้กไ็ ด้ดว้ ยยากยิง่ นัก เพราะกาลที่เปล่าว่างอยู่ ไม่มีพระพุทธเจ้าเกิดขึ้นในโลกยืดยาวนานนัก บางคาบบางสมัยจึงจะมีพระพุทธเจ้า เกิดขึ้นในโลกสักครั้งสักคราวหนึ่ง เหตุน้ นั เราทั้งหลายพึงอยูด่ ว้ ยความไม่ประมาท เถิด อย่าให้เสี ยทีที่ได้เกิดมาเป็ นมนุษย์พบพระพุทธศาสนานี้เลย ฯ ๏ ขอท่านผูส้ ปั บุรุษที่ได้รับหนังสื อนี้ไป จงอ่านให้ได้ทุก ๆ วันเถิด เมื่ออ่าน จงตรองตามไปให้ได้ความเห็นจริ ง เมื่อได้ความเห็นจริ งแล้ว ก็เป็ นอันได้ประสพพระ สัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยน้ าใจ อนึ่งเป็ นอันได้เจริ ญภาวนามัยกุศล มีผลใหญ่เลิศเกิดขึ้นแก่ ตนด้วย เพราะทาความเห็นจริ งให้เกิดขึ้นในจิตต์ได้น้ ี จึงเป็ นภาวนามัยกุศลมีผลเลิศ ถ้ากิจการมีมากไม่มีโอกาสที่จะอ่านแล้ว เมื่อจะนอน พึงอ่านเสี ยก่อนจบหนึ่งแล้วจึง นอน จะได้เป็ นนิพทั ธกุศลมีผลเลิศเกิดแก่ตนทุกวัน ๆ เพราะภาวนามัยกุศลนี้ พระพุทธเจ้าทรงตรัสสรรเสริ ญว่ามีผลใหญ่กว่าทานและศีล ในสูตรมี เวลามสู ตร เป็ น ตัวอย่างเหตุน้ นั ควรที่เราทั้งหลายจะพึงไม่ไประมาท ในภาวนามัยกุศลนี้ อุตส่าห์เจริ ญ ให้ได้ทุกวัน ๆ เทอญ ๚
๓๙
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
๏ ต่ อไปนีเ้ ป็ นปกิรณกกถาซึ่งเป็ นสุ ภาษิต ๚
๏ ว่าด้ วยคนที่พระพุทธเจ้ าทรงตรัสติเตียนไว้มอี ยู่ ๔ จาพวก พวก ๑ เป็ นอยูเ่ หมือนกับคนตายเสี ยแล้ว พวกนี้อาศัยคนที่ประมาท ปล่อย สติเสี ย ไม่คิดถึงแก่ ถึงเจ็บ ถึงตาย ทิ้งบุญ ทิ้งกุศลเสี ยหมด พวก ๑ มีตาดีอยู่ เหมือนกับคนตาบอดเสี ยแล้ว พวกนี้อาศัยตา คือปัญญาที่รู้ จริ งเห็นจริ งไม่มี หลงไปตามสมมติที่ไม่จริ ง พวก ๑ มีเงินทองทรัพย์สมบัติมาก ก็เหมือนกับคนจน พวกนี้อาศัยอริ ยทรัพย์ ๗ มีศรัทธาและศีลเป็ นต้น ไม่มี เป็ นคนจนในธรรมวินยั นี้ พวก ๑ ปฏิบตั ิอยูใ่ นพระศาสนานี้ กลับกลายเป็ นคนนอกศาสนานี้ไปเสี ยไม่ รู้ตวั พวกนี้อาศัยปฏิบตั ิผดิ จากศาสนาคาสัง่ สอนของพระพุทธเจ้า, เมื่อรู้อยูอ่ ย่างนี้แล้ว จงปฏิบตั ิให้ดีเถิด อย่าให้เหมือนกับคน ๔ จาพวก ที่ พระพุทธเจ้าทรงตรัสติเตียนไว้อย่างว่ามานี้เลย จะได้ไม่เสี ยทีที่เกิดมาเป็ นมนุษย์พบ พระพุทธศาสนานี้ ฯ ๏ อนึ่ง คนโง่ คนหลงมีอกี ๔ จาพวก พวก ๑ ตัวของตัวไม่รัก ไปหลงรักคนอื่นมากกว่าตัว นี้กเ็ ป็ นคนโง่ คนหลง ไม่รู้วา่ ตัวของตัวเป็ นที่พ่ ึงแก่ตวั , พวก ๑ สิ่ งของที่จะนาไปได้ไม่ขวนขวายหา หลงขวนขวายหาแต่ของที่ตาย แล้วทิ้งเสี ยหมด เอาไปไม่ได้ นี้กเ็ ป็ นคงโง่ คนหลง, พวก ๑ หาเข้าของที่เอาไปไม่ได้
๔๐
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
แต่ไม่เลือกหา ขนเอาแต่ของที่ชวั่ คือบาปอกุศลติดตนไปเสวยทุกข์ภายหน้า นี้กเ็ ป็ น คนโง่ คนหลง, พวก ๑ อยากได้ความสุขสาราญ ทางเตียน ๆ ที่จะเดินไปได้ความสุขมีอยูไ่ ม่ เดิน หลงไปเดินทางรก กลับได้ทุกข์ ไม่ได้สุขตามประสงค์ นี้กเ็ ป็ นคงโง่ คนหลง, ๏ ทางเตียนนั้นคือกุศลกรรมบถ ๑๐ กุศลกรรมบถ ๑๐ นั้น คือ บริสุทธิ์กาย ๓ ไม่เบียดเบียนสัตว์ ฆ่าสัตว์ที่ ๑ ไม่ฉอ้ ลักเข้าของของเขา ที่ ๒ ไม่ ประพฤติผดิ ในกาม คือ ล่วงประเวณี หรื อเว้นเมถุนเสี ย ที่ ๓ และ ความบริสุทธิ์วาจา ๔ คือ พูดจริ งไม่ปดใคร ที่ ๑ ไม่พดู ส่อเสี ยดยุยงให้เขาแตกร้าว ที่ ๒ ไม่พดู หยาบช้าด่าว่าผูใ้ ด ที่ ๓ พูดที่เป็ นประโยชน์ เป็ นธรรม เป็ นวินยั ที่ ๔ และบริสุทธิ์ใจ ๓ ไม่เพ่ง มุ่งเอาแต่ของ ของใคร ที่ ๑ ไม่คิดประทุษร้ายใคร ที่ ๒ เห็นชอบไม่ผดิ จากจริ ง ที่ ๓ นี้เป็ นกุศลกรรมบถ ๑๐ เป็ นทางเตียนไปยังสุคติ คือ มนุษย์และโลกสวรรค์
๔๑
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
๏ ทางรกนั้นคือ อกุศลกรรมบถ ๑๐ อกุศลกรรมบถ ๑๐ นั้น คือ ความไม่บริ สุทธิ์กาย ๓ ไม่บริ สุทธิ์วาจา ๔ ไม่ บริ สุทธิ์ใจ ๓ นี้เป็ นฝ่ ายอกุศล กรรมบถ ๑๐ เป็ นทางรก ไปยังทุคติคืออบาย ๔ เมื่อรู้อยูอ่ ย่างนี้แล้ว ก็อย่าพึง ปฏิบตั ิให้เหมือนกับคนโง่ คนหลง ๔ จาพวกอย่างว่ามานี้เลย จะได้ไม่เสี ยทีที่ประสพ พบพระพุทธศาสนานี้ ฯ ๏ อนึ่ง เกิดเป็ นคนให้พึงรู้จกั คนดีคนชัว่ ถ้าไม่รู้จกั แล้ว ยากอยูท่ ี่จะได้สุข กลับจะได้ทุกข์เดือดร้อนภายหลังเสี ยอีก ด้วยความโง่ที่ไม่รู้จกั คนชัว่ นั้นนัน่ แหละ เพราะพระพุทธเจ้าพระองค์ทรงตรัสไว้วา่ เหตุที่จะไปอบายของสัตว์ที่โง่ ไม่รู้จกั คน ชัว่ คนดี มีอยู่ ๔ จาพวก จาพวก ๑ คนดี ๆ มีคุณควรสรรเสริญ กลับไปติเตียนเขา พวก ๑ คนชั่วไม่ ดี ควรติเตียน กลับไปสรรเสริญเขา พวก ๑ คนที่มีคุณ ควรเลือ่ มใส ไม่ เลือ่ มใส พวก ๑ คนที่มีโทษทุจริตปฏิบัตผิ ดิ ไม่ ควรเลือ่ มใส ไปหลงเลือ่ มใส ทั้งนี้กเ็ พราะเหตุหลงเป็ นคนโง่ ไม่รู้จกั คนดีคนชัว่ จึงจะไม่พน้ จากทุกข์ใน อบาย เพราะมาประกอบเหตุที่จะไปอบาย ๔ อย่าง ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้อย่างว่า มานี้ ฯ
๔๒
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
๏ อนึ่ง เกิดมาเป็ นคน ให้พึงรู้จกั ที่พ่ ึงที่อาศัยของตน ถ้าไม่รู้จกั ที่พ่ ึงที่อาศัย ของตนแล้ว ไม่พน้ ทุกข์ ไม่ได้สุขเกษมเลย ที่พ่ ึงที่อาศัยของตนนั้น ไม่ใช่สิ่งอื่น คือ บุญกุศลสุจริ ตความชอบนั้นเอง จาไว้เถิด อย่าประมาทเลย อุตส่าห์ก่อสร้างบุญกุศล สุจริ ตนั้น ให้เกิดให้มีข้ ึนในสันดานของตนเถิด จะได้ความสุขพ้นจากทุกข์กนั สมดัง ความหวังของตน ฯ ๏ อนึ่ง เกิดเป็ นคน พึงตั้งตนไว้ชอบ อย่าพึงตั้งตนไว้ผดิ ถ้าตั้งตนไว้ผดิ ประพฤติทุจริ ตความชัว่ อยูแ่ ล้ว ไม่แคล้วอบาย ไม่ได้ความสุข ไม่พน้ จากทุกข์ได้เลย เสี ยทีที่เกิดเป็ นมนุษย์พบพระพุทธศาสนานี้ทีเดียว ตั้งตนไว้ชอบนั้น คือทาตนให้ ประกอบด้วย ศรัทธา ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา จึงจะได้ความสุข พ้นจากทุกข์ สมดัง ความหวังของตนได้นนั่ แหละ ฯ ๏ อนึ่ง เกิดมาเป็ นมนุษย์ดว้ ยอานาจธรรมของมนุษย์ที่ตนได้สงั่ สมมาแล้ว ถ้า ไม่ต้งั อยูใ่ นธรรมของมนุษย์ได้แล้ว ยากอยูท่ ี่จะได้มาเกิดเป็ นมนุษย์อีกในภายหน้า ก็ ธรรมของมนุษย์น้ นั อย่างน้อยคือศีล ๕ อย่างใหญ่คือกุศลกรรมบถ ๑๐ นี้เป็ นธรรมของ มนุษย์แท้ จาไว้เถิด จงอุตส่าห์ปฏิบตั ิให้ดี ทาให้บริ บูรณ์ในศีล ๕ และกุศลกรรมบถ ๑๐ เถิด จะได้มาเกิดเป็ นมนุษย์และได้สุคติโลกสวรรค์เสวยความสุขเกษมสาราญ ฯ ๏ อนึ่ง เกิดมาเป็ นคน เมื่อต้องการสุขประโยชน์แก่ตนแล้ว พึงมีสติระวังไว้ ให้ดี อย่าหลงไปตามลมปากพูดของคน เพราะว่าลมปากพูดนั้นมันล่อลวงให้ลุ่มหลง เสี ยคนวุน่ วายไป เขาก็ยอ่ มว่าอยูว่ า่ ลมแรงมันไม่แรงเหมือนลมปากพูด อนึ่ง เมื่อจะ ใคร่ พบพระพุทธเจ้าแล้ว จงตรึ กตรองค้นหาของจริ งให้ได้เถิด อย่าหลงไปตามสมมติ ของโลกที่ไม่จริ ง ถ้าหลงไปตามสมมติของโลกที่ไม่จริ งแล้ว ไม่ได้พบพระพุทธเจ้า เลย
๔๓
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
พระพุทธเจ้าไม่อยูท่ ี่ไหน อยูท่ ี่รู้เห็นซึ่งธรรมเป็ นของจริ งในใจนั้นเอง เพราะ พระองค์ทรงตรัสไว้วา่ ผูใ้ ดเห็นธรรมของจริ ง ผูน้ ้ นั เห็นเราผูต้ ถาคตดังนี้ อนึ่ง เมื่อปรารถนาจะออกจากทุกข์ ทาให้แจ้งซึ่งพระนฤพานแล้ว ก็จงทาให้ บริ บูรณ์ในศีลและสมาธิ และเจริ ญวิปัสสนา พิจารณาสังขารให้เห็นจริ งตามลักษณะที่ ไม่เที่ยง เป็ นทุกข์เป็ นอนัตตาเถิด ถ้ารู้ไม่เท่าต่อสังขาร หลงไปตามสังขารแล้ว ไม่พน้ ทุกข์ทาให้แจ้งซึ่งพระนฤพานได้เลย เพราะสังขารเหล่านั้นมันหลอกลวงให้ลุ่มหลงอยู่ เป็ นนิตย์ สัตว์ที่ลุ่มหลงอยูเ่ หล่านั้น จึงมีแต่ความรัก ความชัง รุ่ มร้อนอยูด่ ว้ ยเพลิงกิเลส ถ่ายเดียวเท่านั้น อนึ่งความหลงของสัตว์มีอีก ๔ อย่าง คือหลงรัก หลงชัง หลงถือตัวถือตน หลงกลัวภัยต่าง ๆ ความหลง ๔ อย่างนี้คือตัวอวิชชา ความหลงที่ไม่รู้แจ้งเห็นจริ งใน สังขารที่ไม่เที่ยว เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา ฯ ๏ อนึ่ง วิบตั ิมี ๖ อย่าง คือ วิบตั ิคติ และวิบตั ิกาล และวิบตั ิประเทศ และวิบตั ิ ตระกูล และวิบตั ิอุปธิ คือร่ างกาย และวิบตั ิทิฏฐิ ความเห็นผิด ฯ ๏ พระพุทธเจ้าเกิดขึ้นในโลก แสดงธรรมนาสัตว์ออกจากทุกข์ (ตรงนีค้ วาม ไม่ ชัด น่ าจะตกคาว่ า แต่ บุคคลผู้เกิดมาแล้ ว) ได้ไปเกิดเสี ยในอบาย มีเดียรัจฉานกาเนิด เป็ นต้น อย่างนี้ วิบัตคิ ติ มาเกิดในมนุษยโลกนี้แล้ว ไม่มีพระพุทธศาสนา เป็ นกาลว่างเปล่า พระพุทธเจ้าไม่เกิดในโลก โลกมืด อย่างนี้ วิบัตกิ าล พระพุทธเจ้าเกิดขึ้นในโลกแล้ว พระพุทธศาสนาไม่แผ่ไปในประเทศทั้งสิ้น ประเทศในแผ่นดินมีมากนัก ประเทศใดที่ไม่มีพระพุทธศาสนา ไปเกิดในประเทศนั้น อย่างนี้ วิบัตปิ ระเทศ
๔๔
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
มาเกิดในประเทศที่มีพระพุทธศาสนาแล้ว ประเทศนั้นมีตระกูลมาก ที่เป็ น สัมมาทิฏฐิกม็ ี ที่เป็ นมิจฉาทิฏฐิกม็ ี ไปเกิดในตระกูลที่เป็ นมิจฉาทิฏฐิเสี ย อย่างนี้ วิบัติ ตระกูล เกิดในตระกูลที่เป็ นสัมมาทิฏฐิ แล้วเป็ นคนหูหนวกตาบอด เป็ นง่อย เป็ น เปลี้ย เป็ นบ้า เป็ นใบ้ เสี ยจริ ตไป อย่างนี้ วิบัตอิ ปุ ธิ คือร่ างกาย เกิดในตระกูลที่เป็ นสัมมาทิฏฐิแล้ว บริ บูรณ์ดว้ ยอุปธิ ร่ างกายไม่เป็ นคนหู หนวก ตาบอด ไม่เป็ นง่อย เป็ นเปลี้ย ไม่เป็ นบ้า เป็ นใบ้ บริ บูรณ์ดว้ ยอุปธิร่างกายแล้ว ไปส้องเสพคบคนที่เป็ นมิจฉาทิฏฐิ ก็กลายเป็ นมิจฉาทิฏฐิไปเสี ย อย่างนี้ วิบัตทิ ฏิ ฐิ เห็นผิด เราทั้งหลายพ้นจากวิบตั ิ ๖ ประการดังว่ามานี้ เป็ นลาภของเราแล้ว ความเป็ น มนุษย์อนั เราได้ดว้ ยดีแล้ว เพราะบุญกุศลของเรามีได้ก่อสร้างไว้ในชาติก่อนแล้ว จึงได้ พ้นจากวิบตั ิ ๖ ประการนี้ ควรเราทั้งหลายจะพึงยังกุศลสุจริ ตความชอบที่เป็ นที่พ่ ึงของ ตน ให้ถึงให้พร้อมบริ บูรณ์ดว้ ยดีเถิด ฯ ๏ อนึ่ง สมบัติเข้าของเงินทองหมดทั้งสิ้น เป็ นของกลางสาหรับแผ่นดิน ไม่ใช่ของใคร ไม่มีผใู้ ดเป็ นเจ้าของ ใครคิดได้อย่างนี้ ผูน้ ้ นั คล้ายกับพระโสดา คิด ไม่ได้ให้ไปดูที่ป่าช้าเถิด อะไร ๆ ทั้งสิ้นทิ้งเสี ยหมด เอาไปไม่ได้ ศูนย์เปล่า เหลืออยู่ แต่กระดูกอย่างเดียวเท่านั้น นี้เป็ นของแท้จริ งจาไว้เถิด เราทั้งหลายเกิดมามีกรรมอย่าง เดียวนัน่ แหละเป็ นของ ๆ ตัว อย่ามัวเมาหลงทาบาปกรรมความชัว่ เพราะสมบัติเข้า ของเงินทองที่ตายแล้วทิ้งเสี ย เอาไปไม่ได้ แต่บาปกรรมความชัว่ ที่ทาไว้น้ นั ย่อมติดตัว ไปให้ผลได้ทุกข์ภายหน้า อย่างนี้ไม่ดีเลยแก่เราทั้งหลาย เสี ยทีที่ได้เกิดเป็ นมนุษย์พบ พระพุทธศาสนานี้ทีเดียว นี้เป็ นสุภาษิตสัง่ สอนไว้ดว้ ยกรุ ณา หวังจะให้ปฏิบตั ิให้ได้ สุข พ้นจากทุกข์อย่างเดียว พระพุทธศาสนานี้หายาก จะได้ประสพด้วยยากยิง่ นัก เหตุ
๔๕
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
นั้นเราทั้งหลายจงมีสติ อุตส่าห์ก่อสร้างบุญกุศล สุจริ ตความชอบ ซึ่งเป็ นที่พ่ ึงของตน ให้ถึงพร้อม ให้บริ บูรณ์ดว้ ยดี ด้วยความไม่ไประมาทเถิด ฯ ๏ จบจตุรารักษ์ แต่ เท่ านี้ ๚
๏ หนังสื อพิมพ์เล่มนี้
นามมี
ชื่อว่าธรรมเจดีย ์
ดัง่ อ้าง
ทวยชนทัว่ คฤหัสถ์ชี
เชิญท่าน จาแฮ
เป็ นกุศลสื บสร้าง
ส่างพ้นบาปกษัย ฯ
๏ พึงทาในจิตต์ไว้
นิจจกาล
สาหรับเมื่ออวสาน
ป่ วยไข้
อารมณ์เนื่องชานาญ
จนตลอด ตายแฮ
เป็ นที่พ่ ึงตนได้
ดัง่ นี้อย่าฉงน ฯ
๔๖
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
“ การที่จะปฏิบตั ิออกจากทุกข์ ทาให้ แจ้งซึ่งพระนิ พพานนัน้ ก็ตอ้ งปิ ดกัน้ บาปกุศลเสีย อย่าให้เกิดขึ้นได้ ถ้า เกิดขึ้นแล้วก็ตอ้ งเพียละเสีย เว้นเสีย ด้วยการทากาย วาจา ใจ ให้บริสุทธิ์
”
๔๗
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
สังขิตโตวาท สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร ๏ จิตฺต เจตสิก รูป จิตต์ เจตสิ ก รู ป เป็ นเพลิงเครื่ องร้อน เป็ นทุกข์ของ สัตว์ นิพฺพาน ปรม สู ญญ ฺ ดับเพลิงเครื่ องร้อนหมด เป็ นสุข ศูนย์จากทุกข์อย่างยิง่ นิพฺ พาน ปรม สุ ข ดับทุกข์หมด เป็ นสุขอย่างยิง่ เอเตน สจฺจวชฺเชน ด้วยคาสัตย์น้ ี สุ วตฺถิ โห ตุ สพฺพทา ขอความสวัสดีเกษมสุขนิราศภัย จงมีแก่ผทู้ ี่รับหนังสื อนี้ไปปฏิบตั ิ ในกาล ทุกเมื่อเทอญ ๚ *********************** ๏ อนึ่ง บรรพชิตและคฤหัสถ์สตรี และบุรุษ ผูป้ ฏิบตั ิในเมถุนวิรัติ ไม่เสพ เมถุน เป็ นผูป้ ระพฤติพรหมจรรย์ โดยที่สุดแม้รักษาอุโบสถอยู่ ก็ชื่อว่าเป็ นผูป้ ระพฤติ พรหมจรรย์ดว้ ย ผูท้ ี่ประพฤติพรหมจรรย์เหล่านั้นให้พึงรู้วา่ พรหมจรรย์จะเศร้าหมอง ด้วยเมถุนสังโยค ๗ ประการ คือ จิตต์กาหนัดยินดีในเมถุนแล้ว และใช้ สตรี บุรุษ ให้ปฏิบตั ินวด ฟั้นและพัดวี ๑ คือ กาหนัดในเมถุนแล้วก็ยมิ้ แย้มหัวเราะล้อเลียนกับด้วยสตรี บุรุษ ๑ คือ เพ่งเล็งตาต่อตาของ สตรี บุรุษ ด้วยกาหนัดในเมถุนธรรม ๑
๔๘
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
คือ ได้ยนิ เสี ยง สตรี บุรุษ ขับร้องเจรจา เกิดความกาหนัดยินดีดว้ ย เมถุนราคะ ๑ คือ ได้เห็นหรื อได้ยนิ สตรี กบั บุรุษบาเรอด้วยกามคุณ เป็ นต้นว่า คลึง เคล้าจูบกอด ก็เกิดกามราคะกาหนัดในเมถุน ๑ คือ ตนแต่ก่อนได้พดู แทะโลมสัมผัสกับด้วย สตรี บุรุษ และมาคิดถึง เรื่ องความแต่ก่อนนั้น ก็เกิดกามราคะกาหนัดยินดีในเมถุน ๑ คือ ตนได้ทาบุญทากุศลอันใดอันหนึ่งไว้ มาปรารถนาจะเกิดเป็ น เทวดา เสวยสมบัติคือกามคุณอันเป็ นทิพย์ ๑ บรรจบเป็ นเมถุนสังโยค ๗ ประการด้วยกัน เหตุน้ นั เมื่อจะปฏิบตั ิ พรหมจรรย์ของตนให้บริ สุทธิ์ พ้นจากความเศร้าหมองแล้ว ก็จงปฏิบตั ิตวั ให้ไกลจาก เมถุนสังโยค ๗ ประการดังว่ามานี้เถิด พรหมจรรย์ของตนก็จะมีผลเลิศใหญ่ ใกล้ต่อ พระนฤพานโดยเร็วพลันนัน่ เทียว ฯ ๏ อนึ่ง ว่าด้วยทาบุญทากุศล ก็คนทุกวันนี้เดี๋ยวนี้อยากได้บุญอยูโ่ ดยมาก หารู้ ว่าบุญอย่างไรไม่ ครั้นไม่รู้จกั ทาบุญแล้ว ทาเข้าหาถูกต้องไม่ เป็ นแต่เฉียด ๆ เข้าบ้าง ผิดไปบ้าง ทั้งนี้กเ็ พราะไม่รู้บุญอย่างหนึ่ง เพราะขี้เกียจมักง่ายอย่างหนึ่ง บุญนั้น อย่างไร บุญนั้นอยูท่ ี่ไหนก็หารู้จกั ไม่ เป็ นแต่เขาว่าอย่างนี้ได้บุญ ๆ เชื่อเขาแล้วก็ หลับตาทาไป หาตรึ กตรองด้วยปัญญาของตนไม่ อย่างว่ามานี้แหละ จึงชื่อว่าเป็ นผูไ้ ม่ รู้จกั บุญ ครั้นไม่รู้จกั บุญแล้ว เมื่ออยากได้บุญทาเข้า ก็หาถูกต้องเป็ นบุญเป็ นกุศลไม่ เป็ นแต่เฉียดเข้าบ้างผิดไผบ้าง ขี้เกียจมักง่ายนั้นอย่างไรเล่า คือคนอยากได้บุญแต่วา่ ขี้ เกียจมักง่าย เลือกเอาแต่ที่ง่าย ๆ สบาย ๆ ตามชอบใจของตน ที่อยากเป็ นบุญเป็ นกุศล
๔๙
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
แท้หาทาไม่ ท้อถอยเสีย ด้วยมาดูหมิ่นเสี ยว่า กุศลทาได้ง่าย ๆ โดยที่สุด เมื่อจะภาวนา นัง่ หลับตาบริ กรรมเสี ยครู่ หนึ่ง พอเมื่อยขาว่าได้บุญมากแล้ว ละความเพียร นอนเสี ย ให้พึงรู้เถิดในการกุศลทั้งปวง ถ้าทาขึ้นโดยขี้เกียจมักง่ายดังว่ามานี้แล้ว ก็หาถูกต้อง เป็ นบุญเป็ นกุศลไม่ เป็ นแต่เฉียด ๆ ไป เพราะหาได้ความจริ งไม่ การจะทาบุญทากุศล ต้องให้รู้จกั ตัวบุญตัวกุศล ครั้นรู้จกั แล้ว อย่ามักง่าย อย่าเกียจคร้าน ถ้าจะทาแล้ว ทาให้ เป็ นบุญเป็ นกุศลจริ ง ๆ จึงจะดี ไม่เสี ยทีทา ไม่เสี ยทีเกิดมาเป็ นมนุษย์พบ พระพุทธศาสนานี้ ฯ ๏ บุญนั้นอย่างไร บุญนั้นอยูท่ ี่ไหน บุญนั้นก็อยูท่ ี่ใจ ๆ นั้นอย่างไรจึงเป็ นบุญ ใจที่บริ สุทธิ์ ไม่โลภ ไม่โกรธ ไม่หลงนั้น เป็ นมูลเป็ นรากให้เกิดบุญเกิดกุศล เมื่อทา อะไรลงด้วยกาย วาจา ใจ ด้วยความไม่โลภ ไม่โกรธ ไม่หลงนั้นแล้ว สิ่ งที่ทานั้นล้วน เป็ นบุญเป็ นกุศลทั้งสิ้น ก็ความโลภ ความโกรธ ความหลง เป็ นมูล เป็ นรากให้เกิดบาป เกิดอกุศล เมื่อทาอะไรลงด้วยกาย วาจา ใจ ด้วยความโลภ ความโกรธ ความหลงนั้น แล้ว สิ่ งที่ทานั้นล้วนเป็ นบาปเป็ นอกุศลทั้งสิ้น ผูท้ ี่ชาระใจให้บริ สุทธิ์นั้น ให้พึงรู้จกั ชัด ซึ่งบุญและบาป และเหตุเกิดบุญเกิดบาปดังนี้ดว้ ย อนึ่ง ว่าโดยพิสดาร ใจไม่โลภ ไม่ เพ่งไม่มุ่งเอาของเขา ไม่คิดประทุษร้ายเขา ไม่โกรธ ไม่เคือง ไม่ผกู เวรหมายมัน่ ไม่ดู ถูกลบหลู่คุณเขา ไม่ยกตัวเทียมท่าน ไม่อิจฉาริ ษยาเขา ไม่ตระหนี่เหนียวแน่นหวงเกียจ กันเข้าของ ไม่มีมารยาปกปิ ดบังโทษของตัวไว้ ไม่อวดดีให้ยงิ่ กว่าคุณที่มี ไม่กระด้าง ดื้อดึง เมื่อเขาว่ากล่าวสัง่ สอนโดยธรรมโดยชอบ ไม่ทาใจแข็งทุ่มเถียงว่ากล่าวกลบ เกลื่อนเขา ไม่มานะทิฏฐิถือเราถือเขาถือตัวถือตน ไม่ดูถูกดูหมิ่นล่วงเกินเขา ไม่เมามัว อยูว่ า่ ตัวเป็ นหนุ่มเป็ นสาว ด้วยแลเห็นอยูว่ า่ ความชรานาเอาอายุหมดเปลืองเข้าไป ความตายใกล้เข้ามาทุกวัน ๆ สาคัญตัวอยูว่ า่ ชราครอบงาเป็ นนิตย์ และไม่มวั เมาว่าตัว สบายไม่เจ็บไข้ เข้าใจว่าตัวเป็ นโรคเจ็บไข้ไม่สบายอยูเ่ ป็ นนิตย์ เพราะต้องกินยาคือ ข้าวน้ าทุกเช้าค่าไม่ขาดสักวันหนึ่ง และไม่มวั เมาอยูว่ า่ ตัวจะไม่ตาย ด้วยสาคัญว่า
๕๐
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ร่ างกายชีวิตเป็ นอนิจจัง พลันที่จะแตกจะดับอยูเ่ ป็ นนิตย์ ไม่รู้วา่ วิบตั ิแห่งชีวิตจะมาถึง เมื่อไร เหมือนกับไฟตามไว้ที่แจ้ง อนึ่งไม่เมามัวทัว่ ไป อารมณ์อนั ใดที่น่ารักชอบใจยัว่ จิตต์ให้กาหนัดยินดี ก็มิได้หลงยินดีรักใคร่ ต่ออารมณ์เหล่านั้น อารมณ์อนั ใดที่น่า เกลียดน่าชัง มักทาให้ใจโกรธเคือง ตั้งสติข่มจิตต์ไม่โกรธเคืองชิงชังต่ออารมณ์ เหล่านั้น ใจที่บริ สุทธิ์อย่างว่ามานี้แหละ เรี ยกว่าใจบุญใจกุศลแท้ เพราะไม่เศร้าหมอง ด้วยอุปกิเลส ๑๖ ประการ ครั้นจิตต์ไม่เศร้าหมองด้วยอุปกิเลส ๑๖ ข้ออย่างว่ามานี้แล้ว ถ้าตายลงคงจะ ได้คติอนั ดีเป็ นแท้ เพราะพระพุทธเจ้าตรัสไว้ดงั นี้วา่ จิตฺเต อสงฺกลิ ฏิ ฺ เฐ สุ คติ ปาฏิกงฺ ขา แปลว่า ถ้าจิตต์ไม่เศร้าหมองบริ สุทธิ์แล้ว ให้พึงหวังเถิดซึ่งคติอนั ดี ถึงจะไม่อยาก ได้คติอนั ดี ก็คงจะต้องไปเป็ นแท้ ด้วยจิตต์ที่บริ สุทธิ์ไม่เศร้าหมองนั้นเอง พระตรัสไว้ ดังนี้ จึงว่า จิตต์บริ สุทธิ์แล้ว ถ้าตายลงจะได้ไปคติอนั ดี ถ้าจิตต์ของตัวไม่บริ สุทธิ์เศร้าหมอง ด้วยอุปกิเลสเครื่ องเศร้าหมอง ๑๖ อย่าง อย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ตายลงคงจะไปคติอนั ชัว่ คืออบายทั้ง ๔ เป็ นแท้ เพราะ พระพุทธเจ้าท่านตรัสไว้ดงั นี้วา่ จิตฺเต สงฺกลิ ฏิ ฺ เฐ ทุคฺคติ ปาฏิกงฺขา แปลว่า ถ้าจิตต์เศร้า หมองด้วยอุปกิเลสเครื่ องเศร้าหมอง ๑๖ อย่าง อันใดอันหนึ่งนี้แล้ว ให้พึงหวังเถิด ซึ่ง คติชวั่ คืออบายทั้ง ๔ ถึงใจจะไม่สมัครไป คงจะต้องจาใจไปเป็ นแท้ดว้ ยจิตต์ที่เศร้า หมองไม่บริ สุทธิ์นัน่ เอง ฯ ๏ อุปกิเลสเครื่ องเศร้าหมองแห่งจิตต์ ๑๖ ข้อนั้น คือ
๕๑
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
อภิชฺฌา วิสมฺโลโภ ความโลภเพ่งเล็งอยากได้ของเขา เป็ นเครื่ องเศร้า หมองจิตต์อย่างหนึ่ง โทโส ความคิดประทุษร้ายเขา โกโธ ความโกรธเคืองเขา อุปนาโห ความผูกเวรหมายมัน่ กัน มกฺโข ความลบหลู่ดูถูกเขาที่มีคุณแก่ตวั ปลาโส ความยกย่องตัวขึ้นเทียมเขา อิสฺสา ความอิจฉาริ ษยาเขา มจฺฉริย ความตระหนี่เหนียวแน่นเกียจกัน หวงเข้าของและวิชชา ความรู้และที่อยูอ่ าศัย มายา ความปกปิ ดบังความชัว่ ที่ตวั ทาไว้ สาเถยฺย ความโอ่อวดตัวให้ยงิ่ กว่าคุณที่มีอยู่ ถมฺโภ ความแข็งกระด้างดื้อดึงเมื่อเขาสัง่ สอนว่ากล่าวโดยชอบ สารมฺโภ ความปรารภไม่ยอมตาม ชักเหตุผลมาอ้างทุ่มเถียงต่าง ๆ เมื่อเขาว่ากล่าวโดยธรรมโดยชอบ มาโน ความเย่อหยิง่ ถือเราถือเขาถือตัวถือตน อติมาโน มานะดูถูกล่วงเกินผูอ้ ื่น มโท ความเมาหลงในร่ างกายที่ทรุ ดโทรมด้วยความชราอยูท่ ุกวัน มา สาคัญว่ายังหนุ่มยังสาวอยู่ ประมาทไป และมาหลงในร่ างกายที่ป่วยไข้อยูเ่ ป็ นนิตย์ ต้องกินยาคือข้าวน้ าทุกเช้าค่า มาสาคัญว่าไม่มีโรคเป็ นสุขสบาย ประมาทไป และมา
๕๒
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
หลงในชีวิตเป็ นของไม่เที่ยงพลันดับดังประทีปจุดไว้ที่แจ้งฉะนั้น มาสาคัญว่ายังจะไม่ ตาย ประมาทไป ปมาโท ความมัวเมาทัว่ ไป อารมณ์อนั ใดที่น่ารัก ก็ไปหลงรักใน อารมณ์เหล่านั้น อารมณ์อนั ใดที่น่าชัง ก็ไปหลงชิงชังโกรธต่ออารมณ์เหล่านั้น บรรจบเป็ นอุปกิเลสเครื่ องเศร้าหมอง ๑๖ ข้อ ฯ ๏ จิตต์อนั ใดเศร้าหมอง ด้วยอุปกิเลสเครื่ องเศร้าหมอง ๑๖ อย่าง อย่างใด อย่างหนึ่งดังว่ามานี้แล้ว จิตต์น้ นั ล้วนเป็ นบาปเป็ นอกุศลหมดทั้งสิ้น ถ้าหากตายลงด้วย จิตต์ที่เศร้าหมองนั้น ถึงจะไม่อยากไปสู่คติอนั ชัว่ ก็จาจะต้องไปอยูเ่ องโดยแท้ ด้วย จิตต์ที่เศร้าหมองอันเป็ นกุศลนั้นเอง เพราะพระพุทธเจ้าท่านตรัสไว้อย่างว่ามานี้แหละ แม้ถึงบุคคลจะกระทากุศลอื่น ๆ ด้วยใจจะไม่ไปสู่คติอนั ชัว่ ถ้าไม่ชาระใจของตัวให้ บริ สุทธิ์แล้ว เมื่อขณะตายจิตต์เศร้าหมองอยูแ่ ล้ว คงไม่แคล้วอบายเป็ นแน่ เหตุน้ นั แหละจาจะต้องชาระใจของตนให้พน้ จากอุปกิเลสเครื่ องเศร้าหมอง ทาให้บริ สุทธิ์ไว้ ถ้าจะคิดไปว่า เครื่ องเศร้าหมองมากมายหลายอย่างนัก เห็นจะชาระไปไม่ได้ ตัวเราเห็นจะไม่พน้ จากอบาย จะทอดธุระเสี ยว่า ตัวเราเห็นจะไม่พน้ อบายดังนี้ ก็ไม่ ขวนขวายชาระใจให้บริ สุทธิ์ คิดเช่นนี้หาชอบไม่ เพราะว่าใจอันเดียว ถึงเครื่ องเศร้า หมองจะมาก ถ้าใจนึกนิ่งอยูใ่ นอารมณ์อนั หนึ่งแล้ว ก็ทาให้เศร้าหมองไม่ได้ เหมือนกับตอไม้ เฉพาะนัง่ ได้แต่คนเดียว ถ้าคนอื่นเข้านัง่ อยูแ่ ล้ว ถึงคนอื่นจะมาก ก็ไม่ อาจนัง่ ได้ฉนั ใด สันดานของสัตว์กอ็ นั เดียว ถ้าจิตต์ดวงหนึ่ง เกิดขึ้นนึกอารมณ์อนั ใด
๕๓
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
อันหนึ่งอยูแ่ ล้ว ถึงเครื่ องเศร้าหมองใจจะมาก ก็ไม่อาจทาใจให้เศร้าหมองได้ฉนั นั้น เหตุน้ นั จาจะต้องชาระใจของตนให้บริ สุทธิ์ ด้วยกัมมัฏฐานภาวนาอันใดอันหนึ่งไว้ ถ้าจะชาระใจด้วยกัมมัฏฐานภาวนา ที่พระตรัสสัง่ สอนไว้อย่างเดียวนัน่ แหละ ก็แต่กมั มัฏฐานนั้นมีมากถึง ๓๘ ประการ มีมาในบาลีอรรถกถาเพิ่มอากาสก สิ ณ และอาโลกกสิ ณทั้ง ๒ เข้าด้วยกัน จึงเป็ นกัมมัฏฐาน ๔๐ ทัศ คือ ๏ กสิณ ๑๐ อสุ ภ ๑๐ อนุสสติ ๑๐ อัปปมัญญา ๔ ธาตุววัตถาน ๑ อาหาเร ปฏิกลู สัญญา ๑ อรูปฌาน ๔ บรรจบเป็ นกัมมัฏฐาน ๔๐ เมื่อจะเจริ ญให้รู้จกั ลักษณะในกัมมัฏฐานเหล่านั้น ๆ จะว่าโดยสังเขปพอให้ รู้จกั ลักษณะ กสิณ ๑๐ นั้น เป็ นกัมมัฏฐานสาหรับชาระใจให้บริ สุทธิ์ ด้วยมานึก ถึงกสิ ณ ทาใจให้นิ่งอยูอ่ ย่างเดียวเป็ นสมาธิ อสุ ภ ๑๐ นั้น เป็ นกัมมัฏฐานสาหรับชาระใจให้บริ สุทธิ์ ด้วยมานึกเห็นว่า เป็ ปฏิกลู เสี ยอย่างเดียว พุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ สีลานุสสติ จาคานุสสติ เทวตานุสส ติ ทั้ง ๖ นี้ เป็ นกัมมัฏฐานสาหรับชาระใจให้บริ สุทธิ์ ด้วยมานึกให้เกิดความเลื่อมใส อิ่มใจจนจิตต์นิ่งอยูใ่ นคุณนั้น ๆ อานาปานสติ นั้น เป็ นกัมมัฏฐานสาหรับชาระใจให้บริ สุทธิ์ ด้วยมานึกถึงลม หายใจ จนใจนิ่งอยูไ่ ด้เป็ นสมาธิ กายคตาสติ นั้น เป็ นกัมมัฏฐานสาหรับชาระใจให้บริ สุทธิ์ ด้วยมานึกถึงกาย คือประชุมส่วนเป็ นของน่าเกลียด มี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เป็ นต้น ให้เป็ นของปฏิกลู จนเกิดความเบื่อหน่าย
๕๔
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
มรณสติ นั้น เป็ นกัมมัฏฐานสาหรับชาระใจให้บริ สุทธิ์ ด้วยมานึกถึงความ ตาย ให้เกิดความสังเวชสลดใจอยูเ่ ป็ นนิตย์ อุปสมานุสสติ นั้น เป็ นกัมมัฏฐานสาหรับชาระใจให้บริ สุทธิ์ ด้วยมานึกถึง คุณพระนฤพาน เป็ นที่ระงับทุกข์ท้งั ปวง จนใจของตนบริ สุทธิ์ไม่คิดถึงสิ่ งใด อัปปมัญญา ๔ (เมตตา - กรุ ณา - มุทิตา - อุเบกขา) นั้น เป็ นกัมมัฏฐาน สาหรับชาระใจให้บริ สุทธิ์ ด้วยมาปรารภสัตว์ไม่มีประมาณเป็ นอารมณ์ นึกไปให้เขา ได้สุข และให้เขาพ้นทุกข์ และชื่นชมอยูด่ ว้ ยความสุขของเขา และมัธยัสถ์เฉย ๆ ไม่ดี ใจเสี ยใจด้วยสุขและทุกข์ของเขา ธาตุววัตถาน นั้น เป็ นกัมมัฏฐานสาหรับชาระใจให้บริ สุทธิ์ ด้วยมาแยกกาน ออกให้เห็นว่าเป็ นธาตุท้งั ๔ จนไม่ถือว่าเป็ นสัตว์เป็ นบุคคล เป็ นตัวเป็ นตน ทาใจให้ เหมือนดิน น้ า ไฟ ลม เช่นนั้น อรูปฌาน ๔ นั้น เป็ นกัมมัฏฐานสาหรับชาระใจให้บริ สุทธิ์ พ้นจากรู ปธรรม ฝ่ ายเดียว ให้รู้จกั ลักษณะกัมมัฏฐานเป็ นเครื่ องชาระใจให้บริ สุทธิ์ โดยสังเขปดังว่านี้มา ก่อน ผูท้ ี่ปฏิบตั ิชาระใจให้บริ สุทธิ์นั้น เมื่อจะเจริ ญกัมมัฏฐานอันใด ก็ให้ถูกต้อง ลักษณะอย่างว่ามานี้เถิดไม่ผดิ แล้ว นี่หยิบยกเอาแต่ยอดขึ้นมาว่าพอให้เข้าใจ ก็แต่วิธี ภาวนานั้นมีอยูม่ าก จะว่าในกายคตาสติก่อน ฯ ๏ เมื่อจะเจริ ญ ให้เจริ ญโดยนัยที่มาในบาลีดงั นี้วา่ อย โข เม กาโย อุทฺธ ปาทตลา อโธ เกสมตฺถกา ตจปริยนโต ปูโร นานปฺ ปการสฺ ส อสุ จโิ น อตฺถิ อิมสฺ มึ กาเย เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ มส นหารู อฏฺฐี อฏฺฐิ
๕๕
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
มิญฺช วกฺก หทย ยกน กิโลมก ปิ หก ปปฺผาส อนฺต อนฺตคุณ อุทริย กรีส ปิ ตฺต เสมฺห ฟุพฺ โพ โลหิต เสโท เมโท สฺ สุ วสา เขโฬ สิงฺฆาณิกา ลสิกา มุตฺต เอวมย เม กาโย อุทฺธ ปาทตลา อโธ เกสมตฺถกา ตจปริยนฺโต ปูโร นานปฺปการสฺ ส อสุ จโิ นติ ให้จาบาลีกายคตาสติน้ ีเสี ยก่อนให้ได้ แล้วให้รู้เนื้อความดังนี้วา่ อย โข เม กาโย กายของเรานี้เหละ อุทฺธ ปาทตลา เบื้องบนตั้งแต่พ้ืนเท้าขึ้นมา อโธ เกสมตฺถกา เบื้องต่าตั้งแต่ปลายผมลงไป ตจปริยนโต มีหนังหุม้ อยูท่ ี่สุดรอบ ปูโร นานปฺปการสฺ ส อสุ จโิ น เต็มไปด้วยเครื่ องโสโครก มีประการต่าง ๆ อตฺถิ อิมสฺ มึ กาเย มีอยูใ่ นกาย เป็ นที่ประชุมของน่าเกลียดนี้ เกสา ผมทั้งหลาย ที่อยูต่ ามหนังศีรษะทั้งสิ้น ดาบ้าง ขาวบ้าง ตโจ หนังหุม้ ทัว่ กาย ผิวนอกออกเสี ยแล้วมีวรรณะอันขาว โลมา ขนทั้งหลาย ที่งอกอยูต่ ามขุมขนทัว่ กาย เว้นไว้แต่ฝ่ามือ ฝ่ าเท้า สี มิได้ ดานักขาวนัก นขา เล็บทั้งหลาย ที่งอกอยูต่ ามปลายมือ ปลายเท้า มีวรรณะขาว ทนฺตา ฟันทั้งหลาย ที่งอกอยูต่ ามกระดูกคาง ข้างบนข้างล่าง สาหรับบดเคี้ยว อาหาร ชุ่มอยูด่ ว้ ยน้ าลายเป็ นนิตย์ มส เนื้อ มีวรรณะอันแดง
๕๖
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
นหารู เอ็นทั้งหลาย ที่รึงรัดรวบโครงกระดูกไว้ มีวรรณะอันขาว อฏฺฐี กระดูกทั้งหลาย ที่เป็ นร่ างโครงค้าแข็งอยูใ่ นกาย มีวรรณะอันขาว ประมาณ ๓๐๐ ท่อน อฏฺฐิมิญฺช เยือ่ ในกระดูก มีวรรณะอันขาว เหมือนกะยอดหวายที่เผาอ่อนแล้ว ใส่ไว้ในกระบอกไม้ฉะนั้น เยือ่ ในกระดูกขมองศีรษะ เป็ นยวงขาวเหมือนกะ เยือ่ ใน หอยจุ๊บแจง หรื อ นุ่นคลุกกะทิ วกฺก ม้าม คือก้อนเนื้อ มีสีแดงคล้ า ๒ ก้อน มีข้วั อันเดียวกัน เหมือนกับผล มะม่วง ๒ ผล มีข้วั อันเดียวกัน อยูข่ า้ งซ้าย เคียวกับหัวใจ หทย เนื้อหัวใจ มีสีแดง สัณฐานเหมือนดอกบัวตูม ตั้งอยูท่ ่ามกลางอก ยกน ตับ คือเนื้อ ๒ แผ่น มีสีแดงคล้ า ตั้งอยูข่ า้ งขวาเคียงเนื้อหัวใจ กิโลมก พังผืด มีวรรณะอันขาว เหนี่ยวหนังกับเนื้อ เอ็น กับเนื้อ กระดูกกับ เนื้อ ติดกันไว้บา้ ง ปิ หก ไต เป็ นชิ้นเนื้อสี ดาคล้ า เหมือนลิ้นโคดา อยูข่ า้ งชายโครงข้างซ้าย ปปฺผาส ปอด เป็ นแผ่นเนื้อมีวรรณะอันแดงคล้ า ๆ ชายเป็ นแฉก ปกเหนือ หัวใจและม้าม อยูท่ ่ามกลางอก อนฺต ไส้ใหญ่ ปลายข้างหนึ่งอยูค่ อหอย ปลายข้างหนึ่งอยูท่ วาร ทบไปทบมา มีวรรณะอันขาว ชุ่มอยูด่ ว้ ยเลือดในท้อง เหมือนกับงูขาวเขาตัดศีรษะแล้วแช่ไว้ในราง เลือดฉะนั้น อนฺตคุณ สายติดเหนี่ยวไส้ใหญ่ไว้ มีวรรณะอันขาว
๕๗
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
อุทริย อาหารนอนท้อง เช่นกับของที่กินกลืนเข้าในท้องแล้วและรากออกมา เสี ยเช่นนั้น กรีส ของที่กินค้างอยูใ่ นท้องกลายเป็ นคูถ เช่นอุจจาระที่ถ่ายออกมาฉะนั้น ปิ ตฺต น้ าดี สี เขียวคล้ า ๆ ที่เป็ นฝักตั้งอยูท่ ่ามกลางอก ที่ไม่เป็ นฝักซึมซาบซ่าน อยูใ่ นกาย เสมฺห น้ าเสลด มีวรรณะขาวคล้ า ๆ เป็ นมวก ๆ ติดอยูก่ บั พื้นไส้ขา้ งใน ปุพฺโพ น้ าเหลือง น้ าหนอง ย่อมตั้งอยูใ่ นสรี ระมีบาดแผลเป็ นต้น โลหิต น้ าเลือด ที่ขงั อยูต่ ามขุมในร่ างกาย และซึมซาบซ่านอยูใ่ นกาย เสโท น้ าเหงื่อที่ซ่านออกตามขุมขนในกาลเมื่อร้อนหรื อกินของเผ็ด เมโท น้ ามันข้น มีสีเหลืองติดอยูก่ บั หนังต่อเนื้อ อสฺ สุ น้ าตา ที่ไหลออกจากตา ในกาลเมื่อทุกข์โทมนัสมาถึง วสา น้ ามันเหลว ที่เป็ นเปลวอยูใ่ นพุง เหมือนเปลวสุกร เขโฬ น้ าลายใสและข้น สิงฺฆาณิกา น้ ามูกเหลวบ้าง ข้นบ้าง เป็ นยวงออกจากนาสิ ก ลสิกา น้ าไขข้อ ติดอยูต่ ามข้อกระดูก มุตฺต น้ าเยีย่ ว เกรอะออกจากรากและคูถ เอวมย เม กาโย กายของเรานี้ อุทฺธ ปาทตลา ข้างบนตั้งแต่พ้นื เท้าขึ้นมา
๕๘
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
อโธ เกสมตฺถกา ข้างล่างตั้งแต่ปลายผมลงไป ตจปริยนฺโต มีหนังหุม้ อยูท่ ี่สุดโดยรอบ ปูโร นานปฺปการสฺ ส อสุ จโิ นติ เต็มไปด้วยเครื่ องโสโครก ไม่สะอาด มี ประการต่าง ๆ มี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เป็ นต้น ดังว่ามานี้ ให้พิจารณาอาการ ๓๒ ในกายของตัวนี้ ให้เป็ นเครื่ องปฏิกลู น่าเกลียดทุก ๆ ส่วน ถ้าไม่เห็นเป็ นปฏิกลู ลงได้ ยังกาหนัดยินดีอยูใ่ นกายของตัวนี้ ก็ให้ถามตัวว่า สิ่ ง อันใดที่เป็ นของหอม ของดี ของงามมีอยูใ่ นกายนี้ จึงมาหลงกาหนัดยินดี รักใคร่ ใน กายนี้อยู่ แต่ลว้ นเป็ นเครื่ องปฏิกลู พึงเกลียดสิ้นทั้งนั้น หาไม่หรื อ แล้วก็ให้ไล่ไปว่า นัน่ ก็ผม นัน่ ก็ขน นัน่ ก็เล็บ จนถึงมูตรเป็ นที่สุด แล้วจึง กลับถามตัวว่า ไหนเล่าเป็ นของดี ของงาม ของหอม เป็ นสะอาดในกาย จึงมาหลง กาหนัดยินดีรักใคร่ ถ้าพิจารณาดังว่ามานี้ ก็จะเห็นเป็ นปฏิกลู พึงเกลียดลงได้ในกายนี้ ถ้าพิจารณาไม่เห็นเป็ นของปฏิกลู ลงได้ทุก ส่วน ๆ ส่วนอันใดที่เป็ นของปฏิกลู พึง เกลียดปรากฏชัด คือมูตรคูถ หรื อเสมหะปุพโพโลหิ ต ก็มนสิ การนึกแต่ส่วนนั้น ๆ ให้ เห็นปฏิกลู ไว้ เพราะเห็นส่วนหนึ่งแล้ว ส่วนอื่น ๆ ก็คงปรากฎเป็ นของปฏิกลู เหมือนกันหมดทั้งสิ้น เหมือนกับผักหญ้างอกขึ้นที่คูถเขาก็เกลียดฉันใด ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง ก็อาศัยมูตร คูถ ปุพโพโลหิ ตชุ่มอยู่ ก็เป็ นของปฏิกลู พึงเกลียดเช่นนั้น เหมือนกัน อนึ่ง เข้าของผ้าผ่อนอันใด ถึงบริ สุทธิ์สะอาดดี ถ้าแปดเปื้ อนด้วยเลือดหนอง มูตรคูถแล้ว ก็เป็ นของปฏิกลู พึงเกลียดฉันใด ถึง ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง จะสาคัญว่างาม ก็แปดเปื้ อนอยูด่ ว้ ยมูตร คูถ เลือด หนอง เป็ นของปฏิกลู พึงเกลียดเหมือนกันฉันนั้น
๕๙
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
อนึ่ง เมื่อจะวาดเขียนตกแต่งให้งาม ก็ขา้ งนอก ข้างในเต็มไปด้วยมูตรคูถเป็ น ปฏิกลู น่าเกลียดฉันใด กายนี้เล่า ถึงจะตกแต่งประดับประดาให้วิจิตรงามด้วย เครื่ องประดับต่าง ๆ ก็ขา้ งในเต็มไปด้วยมูตรคูถ เป็ นของปฏิกลู น่าเกลียดเหมือนกับ หม้อฉะนั้น ถ้าพิจารณากายของตัวนี้เห็นเป็ นปฏิกลู ลงได้ ด้วยอุบายอันใดอันหนึ่งดัง ว่ามาแล้ว ก็ให้รักษาปฏิกลู สัญญานั้นไว้ อย่าให้หายไปเสี ย ถึงจะเห็นก็ให้เห็นเป็ นของ ปฏิกลู ตามสัญญานั้นไว้ อย่าให้เกิดกามราคะความกาหนัดขึ้นได้ ถ้าปฏิบตั ิได้ดงั ว่ามา นี้แล้ว พรหมจรรย์ที่ตนรักษานั้น ก็จะเป็ นอันบริ สุทธิ์ด้วยดี เพราะพรหมจรรย์จะเศร้า หมอง จะทาลาย ก็อาศัยกามราคะ กาหนัดยินดีในกามารมณ์ เหตุน้ นั กุลบุตร เมื่อจะบรรพชาอุปสมบท ท่านบอกกัมมัฏฐานคือ กายคตา สติ ซึ่งว่ามานี้ให้เสี ยแต่เดิมที เพราะเป็ นอุบายสาหรับระงับกามราคะ ความกาหนัด ยินดีในกามารมณ์ อนึ่ง ใครได้เจริ ญกายคตาสติน้ ี ให้เกิดปฏิกลู พึงเกลียดขึ้นในใจ ก็ ระงับความกาหนัดยินดีเสี ยได้ เพราะกายคตาสติน้ ีเป็ นข้าศึกแก่ราคะ ความกาหนัด ยินดีโดยตรง ถึงโทสะโมหะก็เป็ นอันระงับเสียได้ ด้วยผูท้ ี่จะเจริ ญกายคตาสติน้ นั จึง ชื่อว่าดื่มกินซึ่งรสคือพระนฤพาน เพราะพระพุทธเจ้าท่านตรัสไว้ดงั นี้วา่ อมตนฺเตส ภิกฺขเว แน่ ะภิกษุท้งั หลาย ใครเจริญกายคตาสติ ผู้น้ันได้ ชื่อว่าดืม่ กินซึ่งรสคือพระนฤพาน เป็ นธรรมอันไม่ตายแล้ว เพราะว่าพระนฤพานเป็ นธรรมดับ ราคะ โทสะ โมหะ ก็ที่เจริ ญกายคตาสติน้ ี ทาให้เกิดปฏิกลู พึงเกลียด ระงับดับราคะ โทสะ โมหะเสี ยได้ พระองค์จึงตรัสว่า ดื่มกินซึ่งรส คือพระนฤพาน เหตุน้ นั เมื่อ ปรารถนาจะรักษาพรหมจรรย์ของตนให้บริ สุทธิ์ และจะใคร่ ดื่มกินซึ่งรสคือพระ นฤพานแล้ว ก็พึงเจริ ญเถิดซึ่งกายคตาสติกมั มัฏฐานนี้ เมื่อเจริ ญก็ให้เกิดปฏิกลู ขึ้นใน ใจของตนให้ได้ ครั้นเกิดแล้วให้รักษาปฏิกลู สัญญานั้นไว้ ถ้าเพียรไปก็อาจให้เกิด สมาธิฌานได้ อันนี้กเ็ ป็ นอุบายชาระใจให้บริ สุทธิ์ เป็ นกุศลอันวิเศษอย่างหนึ่ง ฯ
๖๐
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
๏ แต่ นีจ้ ะว่าในมรณสติ เมื่อจะเจริ ญให้เจริ ญตามบาลีวา่ ดังนี้ มรณธมฺโมมฺหิ มรณ อนตีโต (หญิงว่า มรณธมฺมามฺหิ มรณ อนตีตา) ว่าตัว เรามีความตายเป็ นธรรมดา ล่วงความตายไปไม่ได้แล้ว ดังนี้กไ็ ด้ อนึ่งหรื อจะคิดถึงความตายโดยนัยนี้วา่ อธุว ชีวติ ธุว มรณ อวสฺ ส มยา มริตฺตพฺพ มรณปริโยสาน เม ชีวติ ชีวติ เม อนิยต มรณ เม นิยต แปลว่า อธุว ชีวติ ชีวิตไม่เที่ยง ธุว มรณ ความตายเที่ยงแท้ อวสฺ ส มยา มริตฺตพฺพ ตัว เราต้องตายเป็ นแน่ มรณปริโยสาน เม ชีวติ ชีวิตของเรามีความตายเป็ นที่สุด ชีวติ เม อนิยต ชีวิต ของเราไม่เที่ยง มรณ เม นิยต ความตายของเราเที่ยงแล้ว เมื่อจะนึกถึงความตาย ให้เห็นความตายจริ ง ๆ ให้เกิดความสังเวชจึงจะเอา ถ้าไม่เห็นความตายแล้ว ถึงจะนึกไปก็ไม่ได้ความสังเวช เหตุน้ นั เมื่อจะเจริ ญมรณสติ นึกถึงความตาย ก็จาจะต้องรู้จกั ความตายก่อน ความตายนั้นอย่างไร ความตายนั้นคือ ขาดชีวติ ินทรี ยท์ ี่เลี้ยงรู ปกายไว้ เพราะ ชีวิตินทรี ยข์ าดแล้ว รู ปกายก็เน่าเปื่ อยไป ชีวิตินทรี ยส์ าหรับเลี้ยงรู ปกายให้สดใสอยู่
๖๑
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
เหมือนกะไฟอาศัยน้ ามันชุ่มอยูท่ ี่ไส้ติดรุ่ งเรื องอยูไ่ ด้ พอน้ ามันขาดสิ้น ไฟก็ดบั ฉันใด รู ปกายก็เหมือนกะไฟ ชีวิตินทรี ยเ์ หมือนน้ ามัน ถ้าชีวิตินทรี ยข์ าด รู ปกายก็แตกเน่า เปื่ อยไปเหมือนกะไฟดับ อนึ่งชีวิตินทรี ยเ์ ลี้ยงรู ปกายไว้เหมือนกะน้ าเลี้ยงดอกอุบลไว้ น้ าแห้งขาด ดอกอุบลก็เหี่ ยว ฉันใด ชีวิตินทรี ยข์ าดรู ปธรรม ก็ทาลายเหมือนกันฉะนั้น เหตุน้ นั ความตายได้แก่ขาดชีวิตินทรี ย ์ นี้วา่ ด้วยปรมัตถ์สุขมุ เห็นยาก ถ้าไม่ เห็นความตายโดยนัยนี้แล้ว ก็ให้พิจารณาโดยนัยดังนี้วา่ ความตายคือสิ้นลมหายใจ ครั้นลมหายใจสิ้นแล้ว วิญญาณดับ ตาก็ไม่เห็น หู ก็ไม่ได้ยนิ จมูกก็ไม่ได้กลิ่น ลิ้นก็ไม่รู้รส กายก็แข็งเป็ นท่อนไม้ หารู้จกั เย็นร้อนอ่อน แข็งไม่ ครั้นทิ้งไว้กเ็ หม็นสาบเหม็นสาง พองขึ้นพึงเกลียด เปื่ อยเน่าพังไป จนถึงคนที่ รักใคร่ สนิทก็เอาไว้ไม่ได้ ต้องเอาไปเผาเสี ยให้ศูนย์ในไฟบ้าง เอาไปฝังเสี ยในแผ่นดิน บ้าง อย่างนี้แล เรี ยกว่าความตาย ครั้นเห็นความตายชัดดังว่ามานี้แล้ว ก็ให้นึกน้อมเอาความตายนั้นมาใส่ตวั ดังนี้วา่ เรามีความตายดังนีเ้ ป็ นธรรมดา ล่วงความตายดังนีไ้ ปไม่ ได้ แล้ว หรือนึกว่า ชีวติ ของเราไม่ เที่ยง ความตายเที่ยง เราต้ องตายเป็ นแท้ อย่ างใดอย่ างหนึ่งก็ได้ ก็แต่ ให้ เกิดความสังเวชสลดใจขึน้ ให้ ได้ เพราะมรณสติกมั มัฏฐานนี้ สาหรับชาระใจให้ บริสุทธิ์ คือให้ เกิดความสังเวชเท่ านั้นเอง
๖๒
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ก็แต่มรณสติ การระลึกความตายนี้ จะสาเร็จเป็ นอันได้เจริ ญมรณสติ กัมมัฏฐานนี้ ด้วยเป็ นบุญเป็ นกุศลใหญ่ยงิ่ ก็ตอ้ งพร้อมด้วยองค์ ๓ คือ สติระลึกถึงความตายอยู่ ๑ คือ ญาณะรู้ตวั ว่าจะตายเป็ นแท้ ๑ คือ ความสังเวชสลดใจ ๑ พร้อมด้วยองค์ ๓ นี้ จึงจะสาเร็จการภาวนานี้ ถ้านึกถึงความตาย ความสังเวช ไม่เกิดขึ้นแล้ว ก็ไม่เป็ นอันเจริ ญมรณสติกมั มัฏฐานนั้น เพราะกัมมัฏฐานนี้เป็ นอุบาย ชาระใจให้บริ สุทธิ์ คือให้เกิดความสังเวชอย่างเดียวเท่านั้นเอง ก็ความสังเวชนั้นเป็ น ตัวบุญตัวกุศล เหตุน้ นั เมื่อเจริ ญมรณสติคิดถึงความตายด้วยอุบายอันใดอันหนึ่ง ถ้าเกิด ความสังเวชขึ้นแล้ว ก็เป็ นอันสาเร็จกิจในกัมมัฏฐานอันนี้ ให้อุตส่าห์เพียรรักษาจิตต์ สังเวชนั้นไว้ให้อย่าเสื่ อมเสี ย เพราะว่าความสังเวชนั้นเป็ นเหตุไม่ประมาท ย่อมให้รีบ ร้อนทาบุญทากุศล อันเป็ นที่พ่ ึงของตนโดยเร็วพลัน เหตุน้ัน พระพุทธเจ้ าจึงตรัสสรรเสริญมรณสตินีว้ ่ามีผลอานิสงส์ ใหญ่ ยงิ่ นับ เข้ าในพระนฤพาน เป็ นธรรมอันไม่ ตายแล้วดังนี้ อนึ่งเมื่อเห็นความตาย ได้ความสังเวชแล้ว ให้คิดถึงตัว เหมือนคนตาบอดตก จากยอดไม้อนั สูง ธรรมดาว่าคนตาบอดตกจากยอดไม้อนั สูง เมื่อพลัดแล้วก็ลิ่ว ๆ ต่าลงมาหาที่แตกที่ตาย ก็หารู้วา่ กระทบกระทัง่ อันใดไม่ ก็แต่ความตายนั้นใกล้ตวั เข้า มาอยูเ่ สมอเป็ นนิตย์ฉนั ใด ตัวเราก็เหมือนกัน เกิดมาได้ชื่อว่าตัวลิ่ว ๆ ลงมาหาความ แตกความตายใกล้อยูเ่ ป็ นนิตย์หารู้ตวั ไม่ ว่าจะแตกจะตายอยูท่ ี่ไหน จะตายด้วยโรค
๖๓
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
อะไร จะตายเมื่อไรก็ไม่รู้ แต่เที่ยงที่จะตายอย่างเดียว เหมือนคนตาบอดที่ตกจากยอด ไม้ฉะนั้น อนึ่งให้คิดถึงความตายเหมือนกับ นักโทษที่เขาจะฆ่าเสี ย ธรรมดาว่านักโทษ ที่เขาจะฆ่า จะตายด้วยอาการ ๒ อย่าง เมื่อนายเพ็ชฆาตจูงไป ถ้าขืนขัดดุร้ายขึ้น เขาก็ ตัดศีรษะเสี ยในที่น้ นั ทันใด ถ้าไม่ขดั ขืนเดินตามเขาไป ก็ใกล้ความตายเข้าทุกก้าว ๆ ครั้นถึงที่ฆ่า เขาก็มดั เข้ากับหลักแน่นไหวกายไม่ได้แล้ว และลงดาบตัดศีรษะฉันใด ตัวเราก็เหมือนกัน ความเกิดเป็ นโทษผิดของเรา จะต้องตายแท้ ด้วยอาการทั้ง ๒ อันใด อันหนึ่ง บางทีกเ็ ป็ นโรคปัจจุบนั ทันด่วนตาย เหมือนกับนักโทษขัดขืน เขาก็ตดั ศีรษะ เสี ยในที่น้ นั ทันใด บางทีกเ็ จ็บไข้ประกอบด้วยทุกขเวทนาใหญ่ ปวดเจ็บทัว่ สรรพางค์ กายจนลุกนัง่ ไหวกายไม่ได้ ยังอยูแ่ ต่ใจริ ก ๆ คอยจะดับอยู่ เหมือนกับนักโทษเขามัด เข้ากับหลักแน่น พอสิ้นวิญญาณดับ เหมือนกับนักโทษเขาลงดาบตัดศีรษะฉะนั้น ให้ คิดถึงตัว ให้เห็นความตาย เหมือนกับคนตาบอดที่ตกจากยอดไม้ และนักโทษที่เขา ประหารชีวติ เสี ยอย่างว่ามานั้น ให้ได้ทุกวัน ๆ เถิด อย่าให้ขาดเลย ก็จะได้ความสังเวช และไม่ประมาทตัวมัวเมาอยูใ่ นความชัว่ แล้ว ก็จะเป็ นบุญเป็ นกุศลแก่ตวั ทุกวัน ๆ แล้ว ครั้นไม่สะดุง้ กลัวถ้าความตายมาถึงเข้า ก็จะได้สติไม่หลงตาย อนึ่ง ก็จะเตรี ยมตัวหาที่ พึ่งที่จะตาย เพราะมรณสติมีคุณมากนักอย่างนี้ จึงให้ระลึกถึงความตายอย่างว่ามานั้น ทุกวัน ๆ ไป ถ้าคิดถึงความตายได้อย่างนี้ทุกวัน ๆ แล้ว ก็เป็ นความไม่ประมาทอย่าง เอกทีเดียว อนึ่ง ถ้าจะเจริ ญกัมมัฏฐานอันใดอันหนึ่งแล้วให้พึงรู้เถิด กัมมัฏฐานนั้นจะ สาเร็จได้กด็ ว้ ย (การ) ละองค์ ๕ (และ) ประกอบด้วยองค์ ๕ ละองค์ ๕ นั้น คือ
๖๔
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
กามฉนฺโท ความพอใจรักใคร่ รูปเสี ยงกลิ่นรส เครื่ องสัมผัสที่ชอบใจ เรี ยกว่ากามคุณ ๑ พฺยาปาโท ความแค้นเคืองประทุษร้าย ๑ ถีนมิทฺธ ความง่วงเหงาเคลิ้มเขลาหาวนอน ๑ อุทฺธจฺจกุกฺกจุ ฺจ ความฟุ้ งสร้าน สติเลื่อนลอยและความราคาญใจ ๑ วิจกิ จิ ฺฉา ความสงสัยเคลือบแคลงอยูไ่ ม่แน่แก่ใจ ๑ ธรรมทั้ง ๕ อย่างนี้เรี ยกว่านิวรณ์ เป็ นของห้ามข้างดี ถ้าตาย นิวรณ์อนั ใด อันหนึ่งมีอยู่ ไม่ได้คติอนั ดีเป็ นแท้ คงไปอบายเป็ นแน่ เพราะพระพุทธเจ้าท่านตรัสไว้ ดังนี้วา่ ถ้ าจิตต์ เศร้ าหมองด้ วยอุปกิเลสเครื่องเศร้ าหมองอันใดอันหนึ่งแล้ว ให้ พงึ หวัง เถิดซึ่งคติอนั ชั่ว คืออบายทั้ง ๔ ถึงจะไม่สมัครไปคงจะต้องจาใจไปเป็ นแท้ อนึ่ง ถ้ามนสิ การกัมมัฏฐานอันใด (แต่) นิวรณ์ท้งั ๕ อันใดอันหนึ่งยังมีอยูใ่ น ใจแล้ว (ก็จะ) ไม่ได้เลยซึ่งความสุขและสมาธิ ไม่สาเร็จในกัมมัฏฐานอันนั้น เพราะ นิวรณ์น้ นั เป็ นตัวอกุศลใหญ่ท้งั สิ้น ถ้าจะสาเร็จในกัมมัฏฐานขณะเมื่อมนสิ การ เมื่อเจริ ญนิวรณ์ท้งั ๕ ละเสี ยได้ ไม่มี พร้อมด้วยองค์ ๕ คือ วิตกฺโก วิตกตรึ กนึกอารมณ์อยู่ ๑ วิจาโร ตรองพิจารณาไปด้วยปัญญา ๑
๖๕
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ปี ติ ครั้นตรองไปอารมณ์แจ้งกายใจเข้า ก็เกิดความปราโมทย์ อิ่มกาย อิ่มใจ ๑ สุ ข ครั้นความอิ่มกายอิ่มใจเกิดขึ้นแล้ว กายและใจก็เป็ นสุขสบาย ๑ เอกคฺคตา ครั้นกายใจเป็ นสุขสบายแล้ว จิตต์น้ นั ก็แน่แน่วนิ่งเป็ นหนึ่ง อยูใ่ นอารมณ์ที่ตวั นึกนั้น ๑ เมื่อได้ดงั นี้แล้ว นี่แหละเป็ นตัวสมาธิเป็ นตัวฌาน ดังแก้วอันประเสริ ฐ ให้เอา สติประคองรักษาไว้ อย่าให้หายไปเสี ย เพราะพระพุทธเจ้าตรัสสัง่ สอนให้เจริ ญ กัมมัฏฐาน พระองค์กต็ อ้ งการเท่านี้เองให้พึงรู้เถิด ถ้าเจริ ญกัมมัฏฐานอันใดอันหนึ่งแล้ว ละองค์ ๕ พร้อมด้วยองค์ ๕ ทาได้ อย่างว่ามานี้แล้ว ไม่ตอ้ งไต่ถามใคร ๆ ว่าสาเร็จแล้ว หรื อยังไม่สาเร็จในกัมมัฏฐานที่ ตนเจริ ญนั้น พึงเข้าใจเองเถิดว่า สาเร็จซึ่งที่สุดแล้วในกัมมัฏฐานนั้น ๆ ถ้าเข้าใจว่า กัมมัฏฐานสาเร็จด้วยอาการอื่น ๆ มีสีสนั เป็ นต้น ผิดจากอย่างว่ามานี้แล้ว ไม่ถูกทีเดียว ถ้าถือไปจะเป็ นบาป เป็ นมิจฉาทิฏฐิ เพราะผิดไม่ถูกต้องกับบาลีที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ ๏ อนึ่ง ถ้าจะเจริ ญวิปัสสนา ให้จาบาลีน้ ีไว้ให้ข้ ึนใจว่า รูป อนิจฺจ เวทนา อนิจฺจา สญฺญา อนิจฺจา สงฺขารา อนิจฺจา วิญฺญาณ อนิจฺจ รูป อนตฺตา เวทนา อนตฺตา สญฺญา อนตฺตา สงฺขารา อนตฺตา วิญฺญาณ อนตฺ ตา สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา
๖๖
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ดังนี้ พระพุทธเจ้าตรัสสัง่ สอนให้บริ ษทั ภาวนาดังนี้ มาในบาลีโดยมาก ครั้น จาบาลีน้ ีได้ข้ ึนใจแล้ว ให้สาธยายไว้ให้เสมอทุกเช้าค่า เพราะเป็ นธรรมคาสัง่ สอนของ พระพุทธเจ้าแท้ ก็แต่จะเจริ ญให้รู้ความดังนี้วา่ รูป อนิจฺจ รู ปภายในภายนอกเป็ นของไม่เที่ยง ทรุ ดโทรมฉิบหายไป เวทนา อนิจฺจา ความสบายและไม่สบายและความมัธยัสถ์เฉย ๆ ไม่เที่ยง เกิดขึ้นแล้วดับไป สญฺญา อนิจฺจา ความสาคัญหมายอารมณ์จาได้ ไม่เที่ยง เกิดขึ้นแล้วก็ดบั ไป สงฺขารา อนิจฺจา ความคิดตรึ กตรองเป็ นบุญและเป็ นบาปทั้งสิ้น ไม่เที่ยง เกิดขึ้นแล้วก็ดบั ไป ๆ วิญฺญาณ อนิจฺจ ความรู้แจ้งในใจเป็ นอนิจจัง ไม่เที่ยง รู้แล้วก็หายไป รูป อนตฺตา รู ปภายในภายนอก มิใช่ตวั มิใช่ตน เป็ นของศูนย์เปล่า ไม่ใช่ของ ใคร เวทนา อนตฺตา ความสบายและไม่สบายและความเฉย ๆ มิใช่ตวั มิใช่ตน เป็ นของศูนย์เปล่า ไม่ใช่ของใคร สญฺญา อนตฺตา ความสาคัญจาได้ในอารมณ์ ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน เป็ นของศูนย์ เปล่า ไม่ใช่ของใคร สงฺขารา อนตฺตา ความตรึ กตรอง เป็ นบุญและเป็ นบาปทั้งสิ้น ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ ตน เป็ นของศูนย์เปล่า ไม่ใช่ของใคร วิญฺญาณ อนตฺตา ความรู้แจ้งในใจ ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน เป็ นของศูนย์เปล่า ไม่ใช่ของใคร
๖๗
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา สารพัด รู ป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ทั้งสิ้น ล้วนเป็ นอนิจจัง ไม่เที่ยง เป็ นธรรมแปรปรวน มีข้ ึนแล้วก็หายไป เกิดขึ้นแล้วก็ดบั ไป เหมือนกับฟองน้ า ตั้งขึ้นใส ๆ แล้วก็ดบั ไปเล่า เหมือนกับอารมณ์ที่ฝันเห็นตื่นขึ้นแล้ว ก็ดบั ไปเล่า เหมือนกับไฟจุดขึ้นสว่างแล้วก็ดบั หายไปเล่า ก็ถา้ ไม่เห็นเป็ นอนิจจังลงได้ ก็ให้ตรองเอาให้เห็นลงจงได้ ถ้าตรองไม่เห็น ก็ให้นึกถึงญาติพี่นอ้ งพวกพ้องที่ตาย ศูนย์ไป ว่าเดี๋ยวนี้หายไปข้างไหนเล่า แล้วให้นึกถึงตัวและพวกพ้องที่เป็ นเห็นหน้ากัน อยูว่ า่ เราก็จะดับศูนย์ไปเช่นนั้นเหมือนกัน นี่แล สารพัดสังขารเป็ นอนิจจังไม่เที่ยง เกิดขึ้นแล้วก็ดบั ไป มีข้ นึ แล้วก็หายไป ให้ตรึ กตรองให้เห็นเป็ นอนิจจังลงให้ได้อย่างว่า มานี้ ถ้าเห็นลงได้ขณะหนึ่ง ครู่ หนึ่งเป็ นยอดกุศลอยูแ่ ล้ว จะหากุศลอันใดอันหนึ่งสู้ ไม่ได้ เพราะเป็ นทางพระนฤพานโดยแท้ พระพุทธเจ้าก็ได้ตรัสสรรเสริ ญไว้วา่ ชีวติ ของใครที่ได้ เห็นอนิจจัง เป็ นอยู่วนั หนึ่งเท่ านั้นตายไป ประเสริฐกว่า ชีวติ ของคนที่ไม่ เห็นอนิจจังเป็ นอยู่ร้อยปี ฯ ๏ สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา สารพัดธรรม รู ป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ จนถึงพระนฤพานทั้งสิ้น เป็ นอนัตตา ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน เป็ นของศูนย์เปล่า หาเจ้าของ มิได้ ไม่เป็ นไปในอานาจผูใ้ ด เพราะตัวไม่มี ตนไม่มี ถ้ามีตวั มีตน มีเจ้าเข้าเจ้าของแล้ว ก็จะเป็ นไปในอานาจ เป็ นไปตามใจ นี่หาตามใจไม่ เมื่อไม่อยากแก่กข็ ืนใจแก่ ไม่อยาก เจ็บก็ขืนใจเจ็บไข้ ไม่อยากตาย ก็ขืนใจตายไป จะมาหลงอยูว่ า่ ของตัวของตนอย่างไร เมื่อไม่เป็ นไปตามใจสักอย่างหนึ่งแล้ว จะว่าของตัวอย่างไร สรรพธรรมทั้งปวงเป็ น อนัตตา ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตนอย่างนี้นนั่ แหละ ให้ตรึ กตรองด้วยปัญญา ให้เห็นว่าธรรม ทั้งปวงไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน เป็ นของศูนย์เปล่า หาเจ้าของมิได้ ให้เห็นจงได้ ถ้าไม่เห็นก็
๖๘
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ให้แยกขันธ์ ๕ อายตนะ ๖ หรื ออาการ ๓๑ กระจายออกไล่คน้ หาตัวหาตน ก็จะเห็นชัด ว่า สรรพธรรมทั้งปวงไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตนจริ ง ตัวตนไม่มี หาเจ้าของมิได้ เป็ นของศูนย์ เปล่าไปจริ ง ครั้นเห็นลงได้ดงั นี้แล้ว โมหะ ความหลงและตัณหา ความปรารถนารักใคร่ ก็ละเสี ยได้ และมานะ ถือเราถือเขาก็ไม่มี และทิฏฐิถือตัวถือตนก็ดบั ไป ด้วยปัญญา ที่มาตรองเห็นสรรพธรรมทั้งปวงเป็ นอนัตตา ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน ไม่มีเจ้าของ เป็ นของ ศูนย์เปล่า แล้วก็ให้นึกเห็นไว้ดว้ ยปัญญาอย่างนี้ ในสรรพธรรมทั้งปวงว่า เนต มม อ้ายนัน่ ทั้งสิ้นไม่ใช่ของเรา เนโสหมสฺ มิ อ้ายนัน่ ทั้งสิ้นไม่ใช่ของเรา มิใช่เขา น เม โส อตฺตา อ้ายนัน่ ทั้งสิ้น มิใช่ตวั มิใช่ตน ครั้นนึกด้วยปัญญา เห็นจริ งเป็ นหนึ่งอย่างนี้แล้ว ใจก็บริ สุทธิ์เป็ นสุขใหญ่ยงิ่ ทุกข์โทมนัสคับแค้นอันใดก็ดบั เสี ยได้ คุณคือใจที่บริ สุทธิ์ของพระพุทธเจ้า และคุณ พระธรรมที่ดบั ทุกข์โทมนัสเครื่ องร้อนใจ และคุณพระสงฆ์ที่ปฏิบตั ิระงับเสี ยซึ่งเครื่ อง ร้อนในใจได้ ก็ยอ่ มปรากฏแจ้งในใจของตัว ด้วยปัญญาที่มาพิจารณาเห็นจริ งซึ่งสรรพ ธรรมทั้งปวงเป็ นอนัตตาดังว่ามานี้ ใจก็หยัง่ ลงมัน่ ด้วยความเลื่อมใสในคุณพระ รัตนตรัย ไม่หวัน่ ไหวด้วยโลกธรรม เมื่อเห็นจริงจนใจบริสุทธิ์ได้ ดงั ว่ามานี้ ขณะหนึ่งก็ดี ครู่หนึ่งก็ดี ก็ได้ชื่อว่า เป็ นอันได้ ประสพพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ด้ วยนา้ ใจในขณะนั้นครู่หนึ่งนั้น เพราะ พระองค์ทรงตรัสไว้ว่า ผู้ใดเห็นธรรม ผู้น้นั เห็นเรา ผู้ตถาคตดังนี้ ก็วิปัสสนาปัญญาที่วา่ มานี้ เป็ นยอดในพระศาสนา เป็ นทางพระนฤพานโดย แท้ อุตส่าห์เจริ ญเถิด ถึงจะไม่ถึงพระนฤพาน ก็คงเป็ นที่พ่ งึ เมื่อตัวจะตายเป็ นแน่ ครั้น ตายแล้วก็คงจะเป็ นนิสสัยติดตัวไป ให้ได้พระนฤพานข้างหน้าโดยแท้ เพราะปัญญานี้ ประเสริ ฐ ทาสัตว์ให้บริ สุทธิ์พ้นทุกข์ได้จริ ง ๆ
๖๙
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
วิธีวิปัสสนาที่วา่ มานี้โดยสังเขป เจริ ญง่ายพอจะให้เห็นจริ งได้ดว้ ยปัญญา ของเรา ถึงสัง่ สอนกันก็ใช้อย่างนี้ ครั้นจะว่าให้วิตถาร แจกรู ป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณไป ก็แจกไปได้ ก็แต่จะยึดเอาให้เห็นจริ ง ลงเป็ นหนึ่งว่า อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นั้นยากนัก เพราะอารมณ์มาก ถึงกระนั้นก็จาจะต้องรู้ไว้โดยวิตถารดังนี้วา่ รู ป อนิจฺจ รู ปไม่เที่ยง เพราะเกิดขึ้นแล้วแปรปรวนดับไป ฯ ๏ ก็รูปนั้น ๒๘ มหาภูตรูป ๔ คือ ปฐวีธาตุ ๑๙ ตั้งแต่ เกสา จนถึง กรี ส เป็ นที่สุด คือ อาโปธาตุ ตั้งแต่ ปิ ตฺต จนถึง มุตฺต เป็ นที่สุด ปฐวาตุ ๑๙ อาโปธาตุ ๑๒ นั้น ให้ไปดูเอาในกายคตาสติที่เขียนไว้ขา้ งต้นนั้นเถิด คือ เตโชธาตุ ๔ สมฺตปฺปคฺคิ ไฟสาหรับเผาให้กายอุ่นอยูเ่ ป็ นนิตย์ ๑ ชิ รณคฺคิ ไฟสาหรับเผากายให้แปรปรวนย่อยทรุ ดโทรมแก่หง่อมไป ๑ ปริฑยฺหคฺคิ ไฟ สาหรับเผาให้เร่ าร้อนทัว่ กายเหลือที่จะทนได้ ต้องประพรมพ่นด้วยน้ ายาและพัดวี ใน การเมื่อเจ็บไข้ไม่สบาย ๑ ปริณามคฺคิ ไฟสาหรับเผาผลาญอาหารที่บริ โภค ให้ แปรปรวนย่อยยับกลับกลายเป็ นมูตรเป็ นคูถไป ๑ บรรจบเป็ นเตโชธาตุ ๔ ด้วยกัน วาโยธาตุ ๖ นั้น คือ อุทฺธงฺคมาวาตา ลมสาหรับพัดขึ้นเบื้องบนให้หาวให้เรอ เป็ นต้น ๑ อโธคมาวาตา ลมสาหรับพัดลงข้างล่าง ให้ผายลม ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะเป็ น ต้น ๑ กุจฺฉิสยาวาตา ลมสาหรับพัดอยูใ่ นท้อง นอกไส้ให้ลนั่ ให้ปวด เป็ นต้น ๑ โกฏฺฐาสยาวาตา ลมสาหรับพัดอยูใ่ นลาไส้ ให้เป็ นลาให้แข็งไปเป็ นต้น ๑ องฺคมงฺคานุ สารีวาตา ลมสาหรับพัดสร้านทัว่ ไปตามอวัยวะน้อยใหญ่ ไหวกายไหววาจาได้ ๑ อสฺ สาสปสฺ สาโส ลมสาหรับหายใจเข้าออก ๑ บรรจบเป็ นวาโยธาตุ ๖ ด้วยกัน
๗๐
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ก็ธาตุท้งั ๔ ที่วา่ มานี้แหละ เรี ยกว่า มหาภูตรูป เพราะเป็ นรู ปเกิดขึ้นใหญ่กว่า รู ปทั้งปวง ฯ ๏ อุปาทยรูป ๒๔ นั้น คือ ปสาทรูป ๕ คือ จักขุปสาท รู ปที่ใสอยูใ่ นจักษุเรี ยกว่าแก้วตา ๑ โสตปสาท รู ป ที่ใสอยูใ่ นโสต เรี ยกว่าแก้วหู ๑ ฆานปสาท รู ปที่ใสอยูใ่ นจมูกสาหรับได้กลิ่น ๑ ชิวหา ปสาท รู ปที่ใสอยูใ่ นชิวหา สาหรับใช้ชิวหาวิญญาณรู้รสต่าง ๆ ๑ กายปสาท รู ปที่ใสอยู่ ทัว่ กาย สาหรับให้กายวิญญาณรู้จกั เย็นร้อนอ่อนแข็งได้ ๑ บรรจบเป็ นปสาทรู ป ๕ ด้วยกัน ปสาทรู ป ๕ นั้น เป็ นของใสอยูใ่ นกาย สาหรับให้วิญญาณรู้อารมณ์ เหมือนกับ กระจกเป็ นของใส สาหรับให้คนส่องดูเงาได้ ตัววิญญาณเหมืนกับคน ตัวปสาทรู ปเป็ น ของใสเหมือนกระจกฉะนั้น ก็ วิสัยรูป ๔ คือสี สนั ต่าง ๆ แต่บรรดาของที่เห็นด้วยตาทั้งสิ้น เรี ยกว่า วณฺโณ ๑ คือ เสี ยงต่าง ๆ แต่บรรดาที่ได้ยนิ ด้วยโสตทั้งสิ้น เรี ยกว่า สทฺโท ๑ คือ กลิ่นต่าง ๆ แต่ บรรดาที่รู้ดว้ ยนาสิ กทั้งสิ้น เรี ยกว่า คนฺโธ ๑ คือรสต่าง ๆ แต่บรรดาที่รู้ดว้ ยชิวหา ทั้งสิ้น เรี ยกว่า รโส ๑ บรรจบเป็ นวิสยั รู ป ๔ รู ป ๔ นี้เรี ยกว่าวิสยั รู ป เพราะเป็ นอารมณ์ ของวิญญาณ ภาวรูป ๒ คือรู ปเป็ นหญิงและรู ปเป็ นชาย หทยรูป คือรู ปเนื้อหทัย เป็ นที่อาศัยของจิตต์ ๑ ชีวติ รูป คือชีวิตินทรี ยท์ ี่เลี้ยงรู ปธรรมให้สดอยู่ ๑ ปริจเฉทรูป คืออากาศที่เป็ นช่องอยูใ่ นกาย มีช่องหู ช่องจมูกเป็ นต้น ๑
๗๑
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
วิญญัตริ ูป ๒ คืออาการที่ไหวกายให้ผอู้ ื่นรู้ได้ เรี ยกว่า กายวิญญัตริ ูป ๑ คือ อาการที่ไหววาจาให้เขารู้ได้ เรี ยกว่า วจีวญ ิ ญัตริ ูป ๑ บรรจบเป็ นวิญญัติรูป ๒ ด้วยกัน วิการรูป ๓ คือ รู ปวิการที่เบา เรี ยกว่า รูปสฺ ส ลหุตา ๑ คือรู ปวิการที่อ่อน เรี ยกว่า รูปปสฺ ส มุทุตา ๑ คือรู ปวิการที่ควรแก่การงานได้ เรี ยกว่า รู ปสฺ ส กมฺ มญฺ ญ ตา ๑ บรรจบเป็ นวิการรู ป ๓ ด้วยกัน ลักขณรูป ๔ คือรู ปที่เจริ ญขึ้น เรี ยกว่า รูปสฺ ส อุจฺจโย ๑ คือรู ปที่ต่อติด เนื่องกัน เรี ยกว่า รูปสฺ ส สนฺตติ ๑ คือรู ปที่ยอ่ ยคร่ าคร่ า เรี ยกว่า รูปสฺ ส ชรตา ๑ คือรู ปที่ ไม่เที่ยงแปรปรวนดับไป เรี ยกว่า รูปสฺ ส อนิจฺจตา ๑ บรรจบเป็ นลักขณรู ป ๔ ด้วยกัน อาหารรูป คือโอชะที่เกิดขึ้นแต่อาหารที่กิน ๑ ตั้งแต่ปสาทรู ป ๕ มาจนถึงลักขณรู ปและอาหารรู ปเป็ นที่สุด บรรจบเป็ นรู ป ๒๔ ด้วยกัน เรี ยกว่า อุปาทยรูป เพราะเป็ นรู ปอาศัยมหาภูตรู ป ๔ เป็ นไป มหาภูตรู ป ๔ และ อุปาทยรู ป ๒๔ บรรจบเป็ น รูป ๒๘ ด้วยกัน ก็รูป ๒๘ เหล่านั้น เป็ นอนิจจัง ไม่เที่ยง เกิดขึ้นแล้ววิบตั ิแปรปรวนดับไป เป็ นอนัตตาไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน เป็ นของศูนย์เปล่า หาเจ้าของมิได้ อาศัยธาตุและอาหาร เกิดขึ้นแล้วก็แตก ทาลายไป ฯ ๏ เวทนา อนิจฺจา เวทนาไม่เที่ยง เกิดขึ้นแล้วก็ดบั ไป ก็เวทนานั้น ๓ อย่าง คือความรู้แจ้งว่าสบาย เรี ยกว่า สุ ขเวทนา ๑ คือ ความรู้แจ้งว่าไม่สบาย เรี ยกว่า ทุกขเวทนา ๑ คือความรู้แจ้งว่า เฉย ๆ จะสบายก็ไม่ใช่ จะไม่สบายก็ไม่ใช่ เรี ยกว่า อุเบกขาเวทนา ๑
๗๒
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ความสุ ข เปรี ยบเหมือนกะของที่มีรสอันหวานอร่ อย ความทุกข์ เปรี ยบ เหมือนกะของเผ็ดของร้อนของแสบ อุเบกขา ใช่สุขใช่ทุกข์ นั้น เปรี ยบเหมือนกะของ จืด ๆ อีกนัยหนึ่ง เวทนา ๕ ความสุขความสบายกาย เรี ยกว่า สุ ขเวทนา ๑ ความทุกข์ ไม่ สบายกาย เรี ยกว่า ทุกขเวทนา ๑ ความสุขสบายใจ ดีใจ เรี ยกว่า โสมนัสสเวทนา ๑ ความทุกข์ ไม่สบายใจ เสี ยใจ เรี ยกว่า โทมนัสสเวทนา ๑ ความเฉย ๆ ใช่สุข ใช่ทุกข์ เรี ยกว่า อุเบกขาเวทนา ๑ บรรจบเป็ นเวทนา ๕ เวทนาที่วา่ มาทั้งสิ้นนี้ เป็ นอนิจจังไม่เที่ยง เพราะเกิดขึ้นแล้วดับไป เป็ น อนัตตา ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน ไม่เป็ นของใคร เป็ นธรรมชาติอาศัยผัสสะ เกิดขึ้นแล้วดับ ศูนย์ไป ฯ ๏ สัญฺญา อนิจฺจา ความหมายจาไว้ได้ เรี ยกว่า สัญญา ไม่เที่ยง เกิดขึ้นแล้วดับ ไป ก็สญ ั ญานั้น ๖ อย่าง รูปสญฺญา ความหมายจาไว้ได้ในรู ป ๑ สทฺทสญฺญา ความหมายจาไว้ได้ในเสี ยง ๑ คนฺธสญฺญา ความหมายจาไว้ได้ในรส ๑ โผฏฺฐัพฺพสญฺญา ความจาไว้ได้ในเครื่ องสัมผัสถูกต้อง ๑ ธมฺมสัญฺญา ความหมายจา ไว้ได้ในธรรมที่เป็ นอารมณ์ของใจ ๑ บรรจบเป็ นสัญญา ๖ อย่างด้วยกัน ก็สญ ั ญา เหล่านั้นทั้งสิ้นเป็ นอนิจจัง ไม่เที่ยง เป็ นอนัตตา ไม่ใช่ตวั ตน เป็ นของศูนย์เปล่าไม่ใช่ ของใคร เป็ นธรรมชาติ อาศัยผัสสะเกิดขึ้นแล้ว ดับศูนย์ไป ฯ ๏ สงฺขารา อนิจฺจา สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง ก็สงั ขารเหล่านั้น ได้แก่ เจตสิก ๕๒ ดวง ก็ในที่น้ ี ยกเวทนาและสัญญาทั้ง ๒ ออกเสี ย ยังเหลืออยูแ่ ต่ ๕๐ ดวง
๗๓
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
คือ อายตนะภายนอก ๖ และอายตนะภายใน ๖ วิญญาณ ๖ สาม หมวดนี้เกิดขึ้นถึงพร้อมถูกต้องกันด้วยดี ชื่อว่า ผสฺ โส ดวง ๑ คือความคิดในอารมณ์ต่าง ๆ เป็ นบุญบ้าง เป็ นบาปบ้าง เรี ยกว่า เจตนา ดวง ๑ คือจิตต์นิ่งอยูใ่ นอารมณ์อนั หนึ่ง เรี ยกว่า เอกคฺคตา ดวง ๑ คือนามธรรมอย่างหนึ่งสาหรับเลี้ยงนามธรรมไว้ เรี ยกว่า ชีวติ นิ ฺทฺ ริย ดวง ๑ คือความทาไว้ในใจ เรี ยกว่า มนสิกาโร ดวง ๑ คือความตรึ กตรอง เรี ยกว่า วิตกฺโก ดวง ๑ คือความพิจารณา เรี ยกว่า วิจาโร ดวง ๑ คือความน้อมไปในอารมณ์คล้าย ๆ กันกะศรัทธา เรี ยกว่า อธิโมกฺ โข ดวง ๑ คือความเป็ นคนกล้า เพียร ไม่เกียจคร้าน เรี ยกว่า วิริย ดวง ๑ คือความอิ่มกาย อิ่มใจ เรี ยกว่า ปี ติ ดวง ๑ คือความพอใจ เรี ยกว่า ฉนฺโท ดวง ๑ บรรจบเป็ น ๑๑ ดวง ยกเวทนาและ สัญญาออกเสี ยแล้ว เรี ยกว่า อัญญสมา นา เพราะเป็ นบุญด้วย เป็ นบาปด้วยเจือกันทั้ง ๒ อย่าง ฯ ๏ เจตสิ กที่เป็ นตัวบาปแท้ ๑๔ ดวง คือ โมโห ความหลง ไม่รู้จริ ง ๑
๗๔
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
อหิริก ความไม่เกลียดอายต่อความชัว่ ๑ อโนตฺตปฺป ความไม่สะดุง้ กลัวต่ออกุศล ๑ อุทฺธจฺจ ความฟุ้ งสร้าน ๑ โลโภ ความโลภอยากได้ ๑ ทิฏฺฐิ ความเห็นผิด ๑ มาโน ความเย่อหยิง่ ถือเราถือเขา ๑ โทโส ความโกรธคิดประทุษร้ายเขา ๑ อิสฺสา ความริ ษยาเขา ๑ มจฺฉริย ความตระหนี่เหนียวแน่น ๑ ถีน ความง่วงเหงา ๑ มิทฺธ ความเคลิ้มเขลาหาวนอน ๑ กุกฺกจุ ฺจ ความราคาญใจ ๑ วิจกิ จิ ฺฉา ความสงสัย ๑ บรรจบเป็ นอกุศลเจตสิ ก ๑๔ ดวง ดังนี้แล เรี ยกว่าตัวบาปธรรม ฯ ๏ เจตสิ กที่เป็ นกุศลแท้ ๒๕ ดวง สทฺธา ความเชื่อของที่ควรเชื่อ ๑ สติ ความระลึกอารมณ์ที่ดี ๑
๗๕
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
หิริ ความเกลียดอายต่อความชัว่ ๑ โอตฺตปฺป ความสะดุง้ กลัวต่ออกุศล ๑ อโลโภ ความไม่โลภไม่อยากได้ ๑ อโทโส ความไม่ประทุษร้ายเขา ๑ ตตฺรมชฺฌตฺตตา เป็ นธรรมมัธยัสถ์เฉยอยูใ่ นอารมณ์น้ นั ๆ ๑ กายปสฺ สทฺธิ ความสงบกาย คือเวทนา สัญญา สังขาร ๑ จิตฺตปสฺ สทฺธิ ความสงบจิตต์ ๑ กายลหุตา ความที่กาย คือเวทนา สัญญา สังขาร เป็ นธรรมเบาควรแก่ กรรม ๑ จิตฺตลหุตา ความที่จิตต์เป็ นจิตต์เบาควรแก่กรรม ๑ กายมุทุตา ความที่กาย คือ เวทนา สัญญา สังขาร เป็ นธรรมอ่อนควร แก่กรรม ๑ จิตฺตมุทุตา ความที่จิตต์เป็ นจิตต์อ่อนควรแก่กรรม ๑ กายกมฺมญฺญตา ความที่กาย คือ เวทนา สัญญา สังขาร เป็ นธรรมควร แก่กรรม ๑ จิตฺตกมฺมญฺญตา ความที่จิตต์เป็ นจิตต์ควรแก่กรรมแท้ ๑ กายปาคุญฺญตา ความที่กาย คือ เวทนา สัญญา สังขาร เป็ นธรรม คล่องแคล่วในกุศล ๑
๗๖
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
จิตฺตปาคุญฺญตา ความที่จิตต์เป็ นจิตต์คล่องแคล่วในกุศล ๑ กายุชุคตา ความที่กาย คือ เวทนา สัญญา สังขาร เป็ นไปตรงต่อกุศล ๑ จิตฺตุชุคตา ความที่จิตต์เป็ นไปตรงต่อกุศล ๑ สมฺมาวาจา เจตนาที่เว้นจากวจีทุจริ ตเป็ นเหตุกล่าวชอบ ๑ สมฺมากมฺมนฺโต เจตนาที่เว้นจากกายทุจริ ต เป็ นเหตุทาการงานชอบ ๑ สมฺมาอาชีโว เจตนาที่เว้นจากมิจฉาชีพ เป็ นเหตุสาเร็จการเลี้ยงชีวติ โดยชอบ ๑ กรุณา ความเอ็นดูสตั ว์ อยากช่วยให้พน้ ทุกข์ ๑ มุทิตา ความชื่นชมสมบัติของผูอ้ ื่น ๑ ปญฺญา ความรู้รอบทัว่ ไปที่เป็ นกุศล ๑ บรรจบเป็ นเจตสิ กฝ่ ายข้างกุศลแท้ ๒๕ ดวง ฝ่ ายข้างอกุศลแท้ ๑๔ ดวง ที่ เรี ยกว่า อัญญสมานา เป็ นกุศลบ้างเป็ นอกุศลบ้างเจือกัน ๑๓ ดวง นั้นยกเสี ย ๒ คือ เวทนาและสัญญา ยังเหลืออยู่ ๑๑ ดวง บรรจบเป็ นเจตสิ ก ๕๐ ดวงด้วยกัน ๏ เจตสิ ก ๕๐ ดวงนั้น เรี ยกว่าสังขาร เพราะเป็ นธรรมตกแต่งจิตต์ปรุ งจิตต์ ก็ สังขารเล่านั้นทั้งสิ้นเป็ นอนิจจังไม่เที่ยง เพราะเกิดขึ้นแล้วดับไปขณะหนึ่ง ๆ เป็ น อนัตตาไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน เป็ นของศูนย์เปล่าหาเจ้าของมิได้ อาศัยผัสสะเกิดขึ้นดับไป ฯ ๏ วิญฺญาณ อนิจฺจ วิญญาณเป็ นอนิจจังไม่เที่ยง ก็วิญญาณนั้นได้แก่จิตต์ ๘๙ ดวง คือ อกุศลจิตต์ ๑๒ ดวง โลภจิตต์ ๘ ดวง โทสจิตต์ ๒ ดวง โมหจิตต์ ๒ ดวง
๗๗
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
บรรจบเป็ นอกุศลจิตต์ ๑๒ ดวง อเหตุกจิตต์ ๑๘ ดวง กามาวจรกุศลจิตต์ ๒๔ ดวง เป็ น กุศล ๘ ดวง เป็ นวิบาก ๘ ดวง เป็ นกิริยา ๘ ดวง บรรจบทั้งกุศล และวิบาก และ กิริยา เป็ นกามาวจรกุศลจิตต์ ๒๔ ดวงด้วยกัน ฯ ๏ รู ปาวจรกุศลจิตต์ ๑๕ ดวง ที่เป็ นกุศล ๕ ดวง เป็ นวิบาก ๕ ดวง เป็ นกิริยา ๕ ดวง บรรจบเป็ นรู ปาวจรจิตต์ ๑๕ ดวงด้วยกัน ฯ ๏ อรู ปาวจรกุศลจิตต์ ๑๒ ดวง ที่เป็ นกุศล ๔ ดวง เป็ นวิบาก ๔ ดวง เป็ นกิริยา ๔ ดวง บรรจบเป็ นอรู ปาวจรกุศลจิตต์ ๑๒ ดวงด้วยกัน ฯ ๏ โลกุตรจิตต์ ๘ ดวง คือ มัคคจิตต์ ๔ ดวง ผลจิตต์ ๔ ดวง บรรจบเป็ นโลกุต รจิตต์ ๘ ดวงด้วยกัน หมดด้วยกันทั้งสิ้นเป็ นจิตต์ ๘๙ ดวง ก็จิตต์ ๘๙ ดวงเหล่านั้น เรี ยกว่าวิญญาณ ๑ เพราะเป็ นจิตต์รู้แจ้งอารมณ์ ก็วิญญาณทั้งสิ้นเหล่านั้นเป็ นอนิจจัง ไม่เที่ยง เพราะเกิดขึ้นแล้วดับไปในขณะนั้นนัน่ เอง เป็ นอนัตตา ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน เป็ น ของศูนย์เปล่า หาเจ้าของมิได้ อาศัยนามรู ปเกิดขึ้นแล้วดับไป ฯ ๏ วิปัสสนานี้ ใช้ปัญญาสุขมุ ที่สมาธิอบรมให้เกิดขึ้นจึงจะเห็นชัดได้ ถ้ายังไม่ ตั้งอยูใ่ นศีลและสมาธิแล้ว ก็ไม่เห็นจริ งได้ เหตุน้ นั เมื่อจะเจริ ญวิปัสสนานี้ ต้องทาให้ บริ บูรณ์ในศีลและสมาธิท้งั ๒ เสี ยก่อน จึงควรเจริ ญวิปัสสนานี้ได้ดว้ ยดี เมื่อกุลบุตร มาเจริ ญวิปัสสนานี้ ถ้าไม่บรรลุมรรค บรรลุผลได้แล้ว เป็ นแต่เพียงบุรพภาคปฏิบตั ิ ถึง กระนั้นก็มีคุณานิสงส์มากนัก ถอนอัตตสัญญาและอัสสิ มานะเสี ยได้ดว้ ยตทังคปหาน และให้ผเู้ จริ ญนั้นเกิดความเชื่อและความเลื่อมใสในพระรัตนะทั้ง ๓ โดยอาการอัน สนิท สิ้นความสงสัย ให้สาเร็จกิจในอันถึงสรณะทั้ง ๓ เป็ นที่พ่ ึง อนึ่ง ให้ผเู้ จริ ญนั้น ได้ประสพนิรามิสสุขอันไม่เป็ นวิสยั ของสามัญมนุษย์ มี ผลอานิสงส์ใหญ่ยงิ่ กว่าทาน ศีล พรหมวิหาร ภาวนา ย่อมทาให้ผทู้ ี่เจริ ญนั้นมี
๗๘
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
สติสมั ปชัญญะ ไม่ฟั่นเฟื อนทาลายขันธ์มีสุคติภพ คือมนุษย์และโลกสวรรค์เป็ นที่ไป ในเบื้องหน้า เพราะเหตุน้ นั ควรที่สาธุชนผูแ้ สวงหาซึ่งประโยชน์ของตน จะพึงเจริ ญ วิปัสสนานั้นให้เป็ นไปในสันดานสิ้นกาลนานเนือง ๆ ไม่ควรจะประมาทเลย เพราะว่า ความเกิดเป็ นมนุษย์น้ ี ก็ได้ดว้ ยยากนัก ชีวิตที่เป็ นมานี้กไ็ ด้ดว้ ยยากนัก กาลเป็ นที่ เกิดขึ้นของพระพุทธเจ้า เช่นกาลเดี๋ยวนี้กไ็ ด้ดว้ ยยากนัก เหตุน้ นั ไม่ควรจะประมาท พระพุทธศาสนาคาสัง่ สอนของพระพุทธเจ้านี้หายากยิง่ นัก พระพุทธเจ้าสัง่ สอนอย่างไร ท่านสัง่ สอนให้ปฏิบตั ิในศีล สมาธิ ปัญญา เป็ นทางสวรรค์และนฤพาน ท่านสัง่ สอนให้ละบาป ก่อสร้างบุญกุศลที่เป็ นที่พ่ ึงของตนฝ่ ายเดียว ผูม้ าได้เกิดเป็ น มนุษย์พบพระพุทธศาสนานี้แล้ว ไม่ปฏิบตั ิตามคาสัง่ สอนของพระพุทธเจ้า ผูน้ ้ นั เป็ น คนนอกศาสนานี้แท้ เสี ยทีที่เกิดเป็ นมนุษย์พบพระพุทธศาสนานี้ทีเดียว พึงตรึ กตรองดู ด้วยปัญญาให้ดีเถิด อย่าให้เสี ยทีที่เกิดเป็ นมนุษย์พบพระพุทธศาสนานี้เสี ยเลย ฯ (หมายเหตุ ๑ ธรรมตอนนีท้ ่ านแก้ ตามสังคหะ ถ้ าพิจารณาดูกจ็ ะเห็นได้ เช่ น แก้ โลกุตรจิตต์ คือ จิตตที่ข้ามขึน้ จากโลกนั้น ๆ ก็ได้ แต่ ขนั ธโลก อายตนโลก วิญญาณ ก็เป็ นขันธ์ กองหนึ่ง แล้ว วิญญาณจะข้ ามขึน้ จากวิญญาณอย่ างไร - สุพจน) ๏ อีกอย่างหนึ่งกัมมัฏฐานเครื่ องชาระใจ คือระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย พึงรู้ โดยนัยนี้วา่ เพลิงกิเลสเพลิงทุกข์ ลุกโพลงรุ่ งเรื อง ไหม้สตั ว์ เผาสัตว์ให้รุ่มร้อนอยูเ่ ป็ น นิตย์ในภพทั้ง ๓ เพลิงกิเลสนั้นคือ ราคะ ความกาหนัดยินดี โทสะ ความคิด ประทุษร้าย โมหะ ความหลงไม่รู้จริ ง ราคะ โทสะ โมหะ ทั้ง ๓ นี้ ท่านกล่าวว่าเป็ น เพลิง เพราะเป็ นเครื่ องร้อนกระวนกระวายของสัตว์ เพลิงทุกข์น้ นั คือชาติ ความที่ขนั ธ์ และอายตนะ และนามรู ปเกิดปรากฏขึ้น และความแก่และความตาย และโศกและร่ า ไห้ และทุกข์ และโทมนัส และคับแค้น ทุกข์มีชาติความเกิดเป็ นต้น เหล่านี้ ท่านกล่าว
๗๙
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ว่าเป็ นเพลิง เพราะเป็ นทุกข์ให้เกิดเครื่ องร้อนใจของสัตว์ต่าง ๆ เพลิงกิเลสเพลิงทุกข์น้ ี ยกพระพุทธเจ้าเสี ยแล้ว ไม่มีผหู้ นึ่งผูใ้ ดในโลกดับได้ แต่ผทู้ ี่จะรู้วา่ เพลิงเครื่ องร้อน เท่านั้นก็หายากเสี ยแล้ว ผูท้ ี่จะดับเพลิงนั้น จะได้มาแต่ไหนเล่า ในโลกหมดทั้งสิ้น ไม่ มีผใู้ ดผูห้ นึ่งดับได้ จึงพากันร้อนกระวนกระวายอยูด่ อ้ ยเพลิงหมดทั้งโลก ก็ไม่รู้สึกตัว ว่าเพลิงมันไหม้มนั เผาเอาให้เร่ าร้อนอยูเ่ ป็ นนิตย์ เพราะอวิชชาความหลงไม่รู้จริ ง สมฺมาสมฺพุทฺโธ ภควา พระผูม้ ีพระภาคที่เป็ นที่พ่ ึงของเรา พระองค์ตรัสรู้ ชอบตรัสรู้ดีแล้วเอง รู้ดบั เพลิงกิเลสเพลิงทุกข์ของพระองค์ได้แล้ว ทรงสัง่ สอนสัตว์ให้ รู้ตามเห็นตาม ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์ได้ดว้ ย พระองค์น้ นั จึงเป็ นอัศจรรย์ใหญ่ยงิ่ นัก ควรเลื่อมใสจริ ง ๆ สฺ วากฺขาโต ภควตา ธมฺโม พระธรรมที่เป็ นที่พ่ ึงของเรา ที่พระผูม้ ีพระภาคเจ้า ตรัสแล้วดี ทรงคุณคือดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์ของสัตว์ผปู้ ฏิบตั ิชอบ ช่วยให้พน้ จาก ทุกข์ภยั ทั้งสิ้นได้ คือ ศีล สมาธิ ปัญญา มรรค ผล นฤพาน พระธรรมที่ทรงคุณ คือ ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์ดงั นี้ จึงเป็ นอัศจรรย์ยงิ่ นัก ควรเลื่อมใสจริ ง ๆ สุ ปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ พระสงฆ์ผสู้ าวกของพระผูม้ ีพระภาค ที่เป็ น ที่พ่ ึงของเราท่าน ปฏิบตั ิดี ทาให้บริ บูรณ์ในศีล สมาธิ ปัญญา บรรลุมรรคผล ทาให้แจ้ง ซึ่งพระนฤพาน ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์ได้ดว้ ย และเป็ นเหตุให้เกิดกุศลแก่เทวดาและ มนุษย์มากนัก ท่านจึงเป็ นอัศจรรย์ใหญ่ยงิ่ ควรเลื่อมใสจริ ง ๆ เมื่อนึกถึงคุณพระพุทธ คุณพระธรรม คุณพระสงฆ์ ทั้ง ๓ รัตนะนี้ ตรึ กตรอง ด้วยปัญญา ครั้นเห็นจริ งเกิดความเลื่อมใสขึ้นแล้ว จะนึกแค่ในใจหรื อจะเปล่งวาจาว่า อโห พุทฺโธ พระพุทธเจ้าเป็ นที่พ่ งึ ของเรา พระองค์ตรัสรู้จริ ง เห็นจริ ง สาเร็จ ประโยชน์ตน ประโยชน์ผอู้ ื่นได้แล้ว เป็ นทักขิไนยบุคคล อันหาผูท้ ี่จะประเสริ ฐยิง่ เลิศ กว่าไม่มี จึงเป็ นอัศจรรย์น่าเลื่อมใสจริ ง ๆ
๘๐
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
อโห ธมฺโม พระรรมเป็ นที่พ่ ึงของเรา เป็ นธรรมเครื่ องดับร้อนของสัตว์ นา สัตว์ออกจากทุกข์ได้เทียว จึงเป็ นอัศจรรย์น่าเลื่อมใสจริ ง อโห สงฺโฆ พระสงฆ์เป็ นที่พ่ ึงของเรา เป็ นเขตบุญอันเลิศ หาเขตอื่นยิง่ กว่าไม่ มี จึงเป็ นอัศจรรย์น่าเลื่อมใสจริ ง ภาวนานี้กไ็ ด้ทีเดียว ฯ ๏ นีเ้ ป็ นความระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย ๚ ๏ อนึ่ง เมื่อเจ็บไข้หรื อเมื่อจะตาย พึงศึกษาทาไว้ในใจดังนี้วา่ อาตุรกายสฺ ส เม สโต เมื่อกายของเราอาดูรกระวนกระวายอยูด่ ว้ ยทุกขเวทนา จิตฺต อนาตุร ภวิสฺสติ จิตต์ของเราจักไม่อาดูรเดือดร้อนไปตามกาย ภิทุราย กาโย กายนี้มนั จักแตก วิราคธมฺม วิญฺญาน วิญญาณจิตต์ผนู้ ้ นั รู้แจ้งนี้มนั จักดับ เป็ นของไม่เที่ยง ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน ช่างมันเถิด เปล่าไม่มีใครเจ็บ ไม่มีใครตาย ขันธ์ ๕ มันเจ็บ ขันธ์ ๕ มันแตกไปต่างหาก ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน ช่างมันเถิด เปล่า ไม่มีใครเจ็บ ไม่มีใครตาย นามรู ป มันเจ็บ นามดับรู ปแตกไปต่างหาก ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน ช่างมันเถิด ฯ ๏ อนึ่ง เมื่อเกิดก็ไม่ได้เอาอะไรมา เมื่อตายก็ไม่ได้เอาอะไรไป เข้าของที่มี วิญญาณ และไม่มีวิญญาณหมดทั้งสิ้น เป็ นของกลางสาหรับแผ่นดิน ไม่ใช่ของใคร ช่างมันเถิด เมื่อตรึ กตรองด้วยปัญญาเห็นจริ งอย่างว่ามานี้แล้ว จิตต์กไ็ ม่อาดูรเดือดร้อน ไปตามกาย ที่กระวนกระวายอยูด่ ว้ ยทุกขเวทนา อนึ่ง ก็ไม่อาลัยพัวพันติดอยูใ่ นเข้า ของที่มีวิญญาณและหาวิญญาณมิได้เหล่านั้นทั้งสิ้น
๘๑
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ด้วยปัญญาที่เห็นจริ งนี้ เมื่อปฏิบตั ิใจทาได้อย่างนี้ขณะหนึ่งครู่ หนึ่งก็ดี ก็ได้ ชื่อว่าดื่มกินซึ่งรสคือพระนฤพาน เป็ นธรรมอันไม่ตายแล้ว เป็ นอันได้ประสพพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า ด้วยน้ าใจขณะหนึ่งครู่ หนึ่งนั้น เพราะพระองค์ตรัสไว้วา่ ผูใ้ ดเห็น ธรรมผูน้ ้ นั เห็นเราผูต้ ถาคตดังนี้ ที่วา่ มานี้เป็ นคาสัง่ สอนของพระพุทธเจ้า ที่เป็ นที่พ่ ึง ของเราแท้ ให้ปฏิบตั ิใจอย่างว่ามานี้ ในกาลเมื่อเจ็บไข้เมื่อจะตายเถิด จะได้ไม่เสี ยที ที่มาเกิดประสพพบพระพุทธศาสนานี้ อนึ่ง กิจฺโฉ มนุสฺสปฏิลาโภ ความที่ได้เป็ นมนุษย์น้ ี อันสัตว์ได้ดว้ ยยากยิง่ นัก เพราะต้องปฏิบตั ิตนให้ต้งั อยูใ่ นธรรมของมนุษย์ คือศีล ๕ และกุศลกรรมบถ ๑๐ จึงจะ ได้เกิดเป็ นมนุษย์ได้ กิจฺฉ มจฺจาน ชีวติ ชีวิตของสัตว์ที่เป็ นมานี้กไ็ ด้ดว้ ยยากนัก เพราะอันตราย ของชีวิตมีมากนัก ทั้งภายในกายและนอกกาย กิจฺฉ สทฺธมฺมสฺ สวน การที่จะได้ฟังธรรมของสัปปุรุษ คือ พระสัมมาสัมพุทธ เจ้านี้กไ็ ด้ดว้ ยยากยิง่ นัก เพราะกาลที่ไม่มีพระพุทธเจ้าเกิดขึ้นในโลก เป็ นกาลเปล่าอยู่ ว่างอยูย่ ดื ยาวนานนัก บางคาบบางสมัยจึงจะมีพระพุทธเจ้าเกิดขึ้นในโลกสักครั้งสัก คราวหนึ่ง พระพุทธศาสนาหายากยิง่ นักอย่างว่ามานี้ พึงรู้เถิดของหายากยิง่ นักอย่างนี้ เรามาได้ถึงเข้าเดี๋ยวนี้ เป็ นลาภใหญ่ยงิ่ ของเราแล้ว ควรที่เราทั้งหลายจะพึงอยูด่ ว้ ยความ ไม่ประมาททีเดียว อนึ่ง อะไร ๆ หมดทั้งสิ้นไม่ใช่ของเรา ตายแล้วทิ้งเสี ยหมด เอาไปไม่ได้ อย่า หลงมัวเมาไปเลย แต่ความแก่ ความเจ็บ ความตายนี้เป็ นของ ๆ เราแท้ หนีไม่พน้ เหตุ นั้น จงรี บขวนขวายหาที่พ่ ึงของตน คือกุศลสุจริ ตความชอบเสี ยให้ได้ทนั เป็ นมีชีวิตอยู่ ไม่รู้วา่ ความตายจะมาถึงเมื่อไร เมื่อจะตาย กุศลสุจริ ตความชอบที่ทาไว้น้ ีจะได้เป็ นที่ พึ่งของตน สิ่ งอื่น ๆ นอกจากกุศลแล้วหมดทั้งสิ้นไม่เป็ นที่พ่ ึงของตนได้ เหตุน้ นั จง
๘๒
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
อุตส่าห์ยงั กุศลสุจริ ตความชอบอันเป็ นที่พ่ ึงของตน ให้ถึงพร้อมบริ บูรณ์ดว้ ยความไม่ ประมาทเถิด จงอย่าได้เป็ นผูม้ ีวิปฏิสารเดือดร้อนในภายหลังเลย เพราะพระพุทธเจ้า ทรงตรัสสัง่ สอนไว้วา่ วยธมฺมา สงฺขารา, อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ ดังนี้ ว่า ฌายถ, มา ปมาทตฺถ, มา ปจฺฉา วิปฺปฏิสาริโน อหุวตฺถ, อย โว อมฺหาก อนุสาสนี ดังนี้ แปลความ ในพุทธภาษิตคาสัง่ สอนนี้วา่ สังขารร่ างกายจิตต์ใจเหล่านี้ มีความเสื่อมสิ้นไปเป็ น ธรรมดา เป็ นของไม่เที่ยง เกิดแล้วดับไป เหตุน้ นั ท่านทั้งหลายจงยังกุศลสุจริ ต ความชอบที่เป็ นที่พ่ ึงของตน ให้ถึงพร้อม ให้สมบูรณ์ดว้ ยความไม่ประมาทเถิด อนึ่ง ท่านทั้งหลาย จงเพ่งอารมณ์เผากิเลสให้เหื อดแห้งไปด้วยสติและวิปัสสนาทั้ง ๒ เถิด อย่าได้ประมาท มีสติต้งั มัน่ ในกุศลธรรม อย่าได้มีวิปปฏิสารเดือดร้อนในภายหลัง อย่า ให้เสี ยทีที่ได้เกิดมาเป็ นมนุษย์พบพระพุทธศาสนานี้เสี ยเลย นี่เป็ นคาสัง่ สอนอขงเราผู้ ตถาคตให้ไว้แก่ท่านทั้งหลาย ฯ ที่วา่ มานี้เป็ นคาสัง่ สอนของพระพุทธเจ้าแท้ จงเชื่อฟังเถิด จงอุตส่าห์ปฏิบตั ิ ตามคาสัง่ สอนของพระพุทธเจ้าเถิด จะได้ไม่เสี ยทีที่เกิดมาเป็ นมนุษย์ และพบ พระพุทธศาสนานี้ ซึ่งเป็ นของอันสัตว์ได้พบด้วยยากยิง่ นัก อนึ่ง อุปนิสยั บุญกุศล มรรคผลนฤพาน จะได้ติดสันดานต่อไปในภพเบื้องหน้า เทอญ ๏ จบสังขิตโตวาทแต่ เท่ านี้ ๚
๘๓
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺ โท)
๘๔
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
สังขิโตวาท กับ
พระอุบาลีคณ ุ ูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺ โท)
พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิ ริจนฺ โท) พระเถระองค์สาคัญของธรรมยุติกนิกาย มี ความเชี่ยวชาญทั้งในด้านการปกครองคณะสงฆ์ ปราศเปรื่ องในทางปริ ยตั ิ เทศนาธรรม ด้วยโวหารลึกซึ้ง อีกทั้งยังเป็ นพระนักปฏิบตั ิที่พระป่ าสายหลวงปู่ มัน่ ให้ความเคารพบูชา อย่างยิง่ แต่นอ้ ยคนนักจะทราบว่า พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ท่านมีความเกี่ยวพันกับงาน นิพนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิ ริ) อย่างลึกซึ้งยิง่ นัก เรื่ องนี้ หลวงปู่ จาม มหาปุญ โญ เล่าไว้ในหนังสื อ “ธรรมประวัต”ิ ความว่า “ท่านเจ้าคุณฯอุบาลี อายุมากกว่าเพิ่นครู อาจารย์มนั่ (ภูริทตฺ โต) ๑๓ – ๑๔ ปี ท่านเจ้าคุณฯ อุบาลี เป็ นเณรได้ ๗ ปี เพิ่นครู อาจารย์มนั่ เป็ นเณรของเพิ่นครู อาจารย์ เสาร์ มาก่อน รู้จกั กันมาตั้งแต่สมัยเป็ นน้อยเป็ นหนุ่ม แต่พดู ถึงการได้ธรรมะของแต่ละองค์น้ นั ไม่เหมือนกัน ท่านอาจารย์ต้ือ (อจลธมฺ โม) ผูฟ้ ังมาแต่เพิ่นครู อาจารย์มนั่ (ภูริทตฺ โต) มาเล่าให้ผู้ ข้าฯ ฟังว่า “ท่านเจ้าคุณอุบาลีฯได้ธรรมะอริ ยธรรมตั้งแต่พระโสดาบันเรี ยงลาดับจนได้ พระอริ ยชั้นสุดท้าย ตั้งแต่อยูเ่ ขาคอก อยูว่ ดั สุปัฏนาราม อยูว่ ดั บรมนิวาส แล้วไปได้พระ อรหันตผลอยูจ่ อมยองเชียงตุง แก้ไขตนเอง ปลดเปลื้องออกไปเป็ นลาดับ สุดท้ายมาติด อนัตตาอยู่ ๑๐ ปี ตอนนี้หล่ะ ตอนที่เพิ่นติดอนัตตานี้หล่ะ เพิ่นครู อาจารย์มนั่ กราบเรี ยน ชี้แจงชี้แนะให้จึงแก้ไขโดยลาพังพ้นไปได้ ที่เพิ่นครู อาจารย์มนั่ (ภูริทตฺ โต) มาช่วยเหลือบอกแนวทางให้กเ็ พราะเพิ่นครู อาจารย์มนั่ ได้ธรรมะชั้นที่สาม แต่อยูถ่ ้ าสิ งโต บวชเป็ นพระแล้วได้ ๑๑ ปี แปลว่าเพิ่นครู
๘๕
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
อาจารยมัน่ ได้ธรรมะชั้นที่สามก่อนท่านเจ้าคุณอุบาลี แต่ท่านเจ้าคุณอุบาลีฯได้ธรรมะ ชั้นต้นก่อนเพิ่นครู อาจารย์มนั่ แต่พอมาถึงธรรมะอริ ยผลชั้นสุดท้าย ท่านเจ้าคุณอุบาลีฯ ได้ก่อน เหตุที่ท่านเจ้าคุณอุบาลีฯดาเนินมรรคปฏิปทาของเพิน่ ได้ชา้ ก็เพราะไปติดใน ตัวหนังสื อตารับตารา จนที่สุดได้อาศัยหนังสือสังขิตโตวาทของเจ้าคุณสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทฺธสิ ริ) วัดโสมนัส เป็ นหนังสื อธรรมศึกษามาพินิจพิเคราะห์ตาม จิตใจของท่านจึง ละหนีวางออกจากตาราได้ จนที่สุดเชื่อแน่ในการเดินตามไตรสิ กขา และที่สุดเป็ นอริ ย ปราชญ์ผถู้ ึงสุคโตได้ ได้สาเร็จมรรคผลพ้นทุกข์ไปได้” นอกจากนี้ ปลวงปู่ จาม พระเถระศิษย์หลวงปู่ มัน่ ผูเ้ ป็ นที่รักยิง่ ของพุทธศาสนิกชน ยังเล่า เกร็ดเกี่ยวกับพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ และรวมคาสอนอันล้ าค่าของท่าอีกด้วยว่า “ท่านอาจารย์ต้ือ (อจลธมฺ โม) ว่า ท่านเจ้าคุณฯ นัง่ สมาธินิพพานอยูว่ ดั บรมนิวาส กรุ งเทพ อายุ ๗๗ ปี “ท่านเป็ นพระอุปัชฌาย์ของท่านอาจารย์แหวน (สุจิณฺโณ) ท่านอาจารย์ต้ือ (อจลธมฺ โม) “ศึกษาเถ๊อะใครจะศึกษาชีวิตและธรรมะคาสอนของท่าน จะได้คุณได้ประโยชน์ยงิ่ ทีเดียว” “เพิ่นครู อาจารย์มนั่ (ภูริทตฺ โต) รับรองอยูว่ า่ เป็ นการศึกษามิสูญเปล่าประโยชน์ ดอก ใครมีปัญญาเดินตามไปได้” “ใครบารมียงั อ่อนก็ได้ความรู้ความเข้าใจ”
๘๖
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
“ เราทัง้ หลายประพฤติพรหมจรรย์ บวชเป็ นภิกษุ และสามเณร ณ ศาสนานี้ เพื่อจะหลอกให้คนในโลกเลื่อมใสนับถือก็หามิได้ เพื่อจะ ได้พูดจาปราศรัยกับชนมีศกั ดิ์คือ เจ้านายเป็ นต้นก็หามิได้ เพื่อจะ อวดให้เขารู ว้ า่ ตนเป็ นคนสุ กมิใช่คนดิบ คือ ได้บวชประพฤติ พรหมจรรย์แล้วสึ กไปจะหาเมียง่ายๆ ก็หามิได้
”
๘๗
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
วิธีเจริญวิปัสสนา สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร ๏ สุ ภมัตถุ ขอความงามความดีจงมีแก่สาธุชนผูบ้ าเพ็ญเพียรจะเจริ ญวิปัสสนา ภาวนานี้ เมื่อท่านจะเจริ ญพึงรู้จกั อรรถ รู้จกั ความของวิปัสสนาภาวนาดังนี้วา่ ข้อซึ่ง สาธุชนมาทาวิปัสสนาปัญญาที่เห็นแจ้งชัดในอารมณ์ ให้เกิดให้มีข้ ึนในจิตต์ดว้ ยเจตนา อันใด เจตนาอันนั้นชื่อวิปัสสนาภาวนา ก็วิปัสสนาภาวนานี้ เมื่อสาธุชนจะเจริ ญพึง ศึกษาให้รู้จกั ธรรม ๓ อย่าง คือ ธรรมเป็ นภูมิเป็ นอารมณ์ของวิปัสสนานั้น ๑ คือ ธรรมเป็ นรากเง่าเป็ นเหตุเกิดขึ้น ตั้งอยูข่ องวิปัสสนานั้น ๑ คือ ตัววิปัสสนานั้นด้วย ๑ อะไรเล่า เป็ นภูมิ เป็ นอารมณ์ของวิปัสสนานั้น สังขารธรรมที่ปัจจัยประชุม ตกแต่งสร้างขึ้น เป็ นอุปาทินที่นามธรรมถือเอาอาศัยอยู่ และเป็ นอนุปาทินที่นามธรรม ไม่ถือเอาอาศัยอยู่ หรื อเป็ นนามและรู ปที่พุทธาทิบณั ฑิตแจกออกโดยประการต่าง ๆ มี ขันธ์ ๕ และ อายตนะ ๑๒ และธาตุ ๑๘ และอินทรี ย ์ ๒๒ เป็ นต้นทั้งสิ้นเหล่านี้ เป็ น ภูมิเป็ นอารมณ์ของวิปัสสนานั้น ผูท้ ี่จะเจริ ญวิปัสสนานั้น ต้องเรี ยนธรรมที่เป็ นภูมิเป็ น
๘๘
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
อารมณ์ของวิปัสสนานั้น และไต่ถามให้รู้ความจาทรงท่องบ่นไว้ให้ชานาญด้วยดี จึง ควรจะเจริ ญวิปัสสนานั้นได้ ฯ ๏ อะไรเล่า เป็ นรากเง่าเป็ นเหตุเกิดขึ้นตั้งอยูข่ องวิปัสสนานั้น สีลวิ สุ ทฺธิ ความบริ สุทธิ์ของศีล จิตฺตวิสุทฺธิ ความบริ สุทธิ์ของจิตต์ คือ อุปจารสมาธิ และ อปฺปนาสมาธิ วิสุทธิท้งั ๒ นี้เป็ นรากเง่าเป็ นเหตุเกิดขึ้นตั้งอยูข่ องวิปัสสนานั้น ผูท้ ี่จะ เจริ ญวิปัสสนานั้น ต้องปฏิบตั ิให้เป็ นผูม้ ีศีลบริ สุทธิ์ เป็ นผูม้ ีจิตต์บริ สุทธิ์ด้วยสมาธิ เสี ยก่อน จึงควรจะเจริ ญวิปัสสนานั้นได้ ถ้าเป็ นผูม้ ีศีลไม่บริ สุทธิ์ ไม่ได้สมาธิ มีจิตต์ ฟุ้ งสร้านอยูแ่ ล้ว ก็เป็ นผูอ้ าภัพ ไม่ควรจะเจริ ญวิปัสสนานั้นเลย เพราะศีลและสมาธิ เป็ นเหตุแรงกล้าให้เกิดวิปัสสนานั้น ฯ ๏ ก็อะไรเล่าเป็ นตัววิปัสสนานั้น วิสุทธิ ๕ อย่าง คือ ๑. ทิฏฺฐิวสิ ุ ทฺธิ ความบริ สุทธิ์ของความเห็น ๒. กงฺขาวตรณวิสุทฺธิ ความบริ สุทธิ์ของปัญญาที่เห็นชัดข้ามล่วง กังขาเสี ยได้ ๓. มคฺคามคฺคญาณทสฺ สนวิสุทฺธิ ความบริ สุทธิ์ของความรู้จริ งเห็น จริ งว่านี่เป็ นทางและใช่ทาง ๔. ปฏิปทาญาณทสฺ สนวิสุทฺธิ ความบริ สุทธิ์ของความรู้ความเห็นเป็ น ข้อปฏิบตั ิจะให้อริ ยมรรคเกิดขึ้น ๕. ญาณทสฺ สนวิสุทฺธิ ความบริ สุทธิ์ของความรู้ความเห็นซึ่งเป็ น โลกุตร คือรู้เห็นในมรรคทั้ง ๔ ฯ
๘๙
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
๏ ก็การกาหนดรู้เห็นนามและรู ปมีจริ งเป็ นจริ งตามลักษณะเครื่ องหมายแจ้ง ชัดไม่หลงในสมมติ ว่าสัตว์ ว่าบุคคล ว่าตัว ว่าตนดังนี้ ชื่อว่า ทิฏฐิวสิ ุ ทธิ, กาหนดรู้จริ ง เห็นจริ งซึ่งนามและรู ปทั้งเหตุท้งั ปัจจัยข้ามล่วงกังขาในกาลทั้ง ๓ เสี ยได้ ไม่สงสัยว่า เราจุติมาแต่ไหน เราเป็ นอะไร เราจะไปเกิดที่ไหน เทวดามีหรื อไม่มีดงั นี้ ชื่อว่า กังขา วิตรณวิสุทธิ, ความรู้จริ งเห็นจริ งว่า นี่เป็ นตัววิปัสสนา เป็ นทางมรรคผล นี่เป็ น อุปกิเลสใช่ทางมรรคผลดังนี้ ชื่อว่า มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ, วิปัสสนาญาณทั้ง ๙ มี อุทยัพพยญาณเป็ นต้น มีอนุโลมญาณเป็ นที่สุด ชื่อว่า ปฏิปทาญาณทัสสนวิ สุ ทธิ, อริ ยมรรคทั้ง ๔ ชื่อว่า ญาณทัสสนวิสุทธิ วิสุทธิท้งั ๕ นี้ เป็ นตัววิปัสสนา ฯ ๏ อนึ่ง ปัญญาที่รู้จริ งเห็นจริ งในสภาวะความเป็ นเองของสังขาร คือเป็ นของ ไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา รู้แจ้งเห็นชัดว่า สิ่ งใดไม่เที่ยงเกิดแล้วดับไป สิ่ งนั้นเป็ น ทุกข์ทนยากจริ ง สิ่ งใดเป็ นทุกข์ทนยาก สิ่ งนั้นเป็ นอนัตตา ใช่ตวั ใช่ตนจริ ง สิ่ งใดเป็ น อนัตตาใช่ตวั ใช่ตน สิ่ งนั้นไม่ควรจะถือว่าของเราด้วยตัณหา ไม่ควรจะถือว่าเราด้วย มานะ ไม่ควรจะถือว่าตัวตนด้วยทิฏฐิจริ ง เพราะว่าเราตัวตนไม่มี ปัญญาที่รู้เห็นแจ้งชัด อย่างนี้แก่กล้าจนถึงนิพพิทา เบื่อเกลียดชังสังขาร ไม่เพลิดเพลินในสังขาร และวิราคะ หน่ายไม่กาหนัดยินดีในสังขาร และวิมุตติปล่อยวางสังขารเสี ย หลุดพ้นจากอาสว กิเลสทั้งสิ้น นี้กเ็ ป็ นวิปัสสนาเหมือนกัน ฯ ๏ สาธุชนผูบ้ าเพ็ญเพียรในตัววิปัสสนาซึ่งว่ามานี้ ทาให้บริ บูรณ์แล้ว ก็เป็ น อันเจริ ญวิปัสสนาด้วยดี เป็ นผูถ้ ึงซึ่งยอดแห่งวิปัสสนานั้น ฯ อันนี้เป็ นความสังเขปใน วิปัสสนานั้น ฯ
๙๐
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
๏ ก็ความพิสดารในวิปัสสนานั้นอย่างว่านี้ สาธุชนผูจ้ ะเจริ ญวิปัสสนานั้น พึง ปฏิบตั ิให้เป็ นผูม้ ีศีลบริ สุทธิ์ เป็ นผูม้ ีจิตต์บริ สุทธิ์ด้วยสมาธิอนั ใดอันหนึ่ง ทิฏฐิ ความเห็นวิปริ ตเป็ นเหตุให้ถือผิดไปต่าง ๆ เหล่าใดมีอยูใ่ นโลก พึงหยัง่ ลงพิจารณาด้วย ปัญญาเห็นว่าทิฏฐิเหล่านั้นผิด ไม่มีประโยชน์ไม่ใช่ทางวิปัสสนาแล้ว พึงละเว้นเสี ย ด้วยประการทั้งปวง ฯ ๏ อนึ่ง ให้สาธุชนผูจ้ ะเจริ ญวิปัสสนานั้น พึงรู้จกั ลักษณะและกิจและผลและ เหตุของวิปัสสนานั้นด้วย พึงรู้จกั วิภาคความจาแนกอีก ๖ อย่างของวิปัสสนานั้นด้วย ฯ ๏ อะไรเป็ นลักษณะเครื่องหมายของวิปัสสนานั้น สภาพความเป็ นเองของ สังขาร คือเป็ นของไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตาจริ งอย่างไร ความรู้ความเห็นว่า สังขารเป็ นของไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตาแจ้งชัดจริ งอย่างนั้น อันนี้แลเป็ นลักษณะ เครื่ องหมายของวิปัสสนานั้น เป็ นลักษณะให้รู้จกั ตัววิปัสสนานั้น ถ้ารู้เห็นเป็ นอย่าง อื่น ๆ ไป ไม่ถูกต้องตามลักษณะนี้แล้ว ก็ไม่ใช่วิปัสสนานั้น ฯ ๏ อะไรเล่าเป็ นกิจ เป็ นคุณของวิปัสสนานั้น มืดคือโมหะ ความหลงใน สังขารว่าเป็ นของเที่ยง เป็ นสุข เป็ นตัวเป็ นตนอันใด ปิ ดบังปัญญาไว้ ไม่ให้เห็นความ เป็ นจริ งของสังขาร คือเป็ นของไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา ความขจัดมืดคือโมหะ นั้นเสี ยสิ้น ไม่หลงในสังขารว่าเป็ นของเที่ยง เป็ นสุข เป็ นตัวเป็ นตน เป็ นของงาม อันนี้ แลเป็ นกิจเป็ นคุณของวิปัสสนานั้น ฯ ๏ อะไรเล่าเป็ นผลของวิปัสสนานั้น ความเห็นจริ ง ส่องสว่างเห็นทัว่ ไปใน ความที่สงั ขารเป็ นของไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา มืดคือดมหะความหลงไม่มี เข้า ตั้งอยูเ่ ฉพาะหน้า ปรากฏอยูด่ งั ดวงประทีปส่องสว่างอยูฉ่ ะนั้น อันนี้แลเป็ นผลของ วิปัสสนานั้น ฯ
๙๑
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
๏ อะไรเล่าเป็ นเหตุเกิดขึน้ ตั้งอยู่ ของวิปัสสนานั้น จิตต์ที่ไม่ฟุ้งสร้าน ตั้งมัน่ ด้วยสมาธิอนั ใดอันหนึ่ง อันนี้แลเป็ นเหตุเกิดขึ้นตั้งอยูข่ องวิปัสสนานั้น วิปัสสนานั้น ย่อมอาศัยสมาธิ จึงเกิดขึ้นตั้งอยูไ่ ด้ ถ้าไม่เจริ ญให้สมาธิเกิดขึ้นก่อนแล้ว ก็ไม่สามารถ จะเจริ ญวิปัสสนานั้นให้เกิดขึ้นได้ เพราะสมาธิเป็ นเหตุให้เกิดวิปัสสนานั้น โดยนัยนี้ ผู้ ที่มีศีลไม่บริ สุทธิ์ ไม่ได้สมาธิ มีจิตต์ฟุ้งสร้านอยูแ่ ล้ว จะมาอวดอ้างว่าได้สาเร็จใน วิปัสสนาภาวนาอย่างนั้น ๆ ไม่ควรจะเชื่อถือเลย เพราะศีลที่บริ สุทธิ์ให้เกิดสมาธิ สมาธิเล่าก็เป็ นเหตุให้เกิดวิปัสสนา วิปัสสนานั้นเล่าก็เป็ นเหตุให้เกิดอริ ยมรรค อริ ยมรรคนั้นเล่าก็เป็ นเหตุให้เกิดอริ ยผล เป็ นธรรมดานิยมมีอยูอ่ ย่างนี้ ไม่ยกั ย้ายอย่าง อื่นไปได้เลย ให้ผทู้ ี่จะเจริ ญวิปัสสนานั้น พึงรู้จกั ลักษณะและกิจและผล และเหตุของ วิปัสสนานั้น ด้วยประการดังว่ามาฉะนี้ ฯ ๏ ก็วิภาค ความจาแนก ๖ อย่าง คือ อนิจฺจ ของไม่เที่ยง ๑ กาหนดรู้วา่ เป็ นของไม่เที่ยง ๑
อนิจฺจลกฺขณ เครื่ องหมายที่จะให้
ทุกฺข ของที่สตั ว์ทนยาก ๑ กาหนดรู้วา่ เป็ นทุกข์ ๑
ทุกฺขลกฺขณ เครื่ องหมายที่จะให้
อนนตฺตา สภาวะใช่ตวั ใช่ตน ๑ อนตฺลกฺขณ เครื่ องหมายที่จะให้ กาหนดรู้วา่ ใช่ตวั ใช่ตน ๑ ในวิภาคทั้ง ๖ นั้น สังขารของที่ปัจจัยประชุมแต่งสร้างขึ้นเป็ นอุปาทินที่นามธรรมถือเอาอาศัย อยูอ่ ย่าง ๑ เป็ นอนุปาทินที่นามธรรมไม่ถือเอาอาศัยอยูอ่ ย่าง ๑ หรื อเป็ นนามและรู ปที่ พุทธาทิบณั ฑิต แจกออกโดยประเภทต่าง ๆ มีขนั ธ์, อายตนะ, ธาตุ เป็ นต้น ที่เป็ นภูมิ
๙๒
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
เป็ นอารมณ์ของวิปัสสนาทั้งสิ้น เป็ นตัวอนิจจัง เป็ นของไม่เที่ยง เพราะเกิดขึ้นแล้วดับ ไปด้วย แปรปรวนยักย้ายเป็ นอย่างอื่น ๆ ไป ไม่คงอยูอ่ ย่างเดิมด้วย ก็ความเกิดขึ้นแล้ว เสื่ อมสิ้นดับไป และผันแปรเป็ นอย่างอื่น ๆ ไปนั้นนัน่ แลเป็ นตัวอนิจจลักขณะ เครื่ องหมายที่จะให้รู้ให้เห็นว่าเป็ นของไม่เที่ยงจริ ง สังขารและนามรู ปที่เป็ นของไม่เที่ยงนั้นนัน่ แลเป็ นตัวทุกข์ เพราะเป็ นของ อันความเกิดดับและผันแปรยักย้ายเป็ นอย่างอื่น ๆ ไป ด้วยเพลิง คือ ชรา, พยาธิ , มรณะ, บีบคั้นเบียดเบียนเผาผลาญอยูเ่ ป็ นนิตย์ ก็อนั ความเกิดดับและผันแปรเป็ นอย่างอื่น ๆ ไป ด้วยชรา, พยาธิ, มรณะ เบียดเบียนเผาผลาญอยูเ่ ป็ นนิตย์น้ นั นัน่ เองเป็ นตัวทุกข ลักขณะ เครื่ องหมายที่จะให้รู้ให้เห็นว่าเป็ นทุกข์จริ ง ธรรมหมดทั้งสิ้นที่เป็ นสังขาร และวิสงั ขาร คือนิพพานเป็ นตัวอนัตตา เพราะเห็นธรรมศูนย์จากตัวจากตน ศูนย์จาก สัตว์จากบุคคล ไม่มีผหู้ นึ่งผูใ้ ดเป็ นเจ้าของ เป็ นแต่สภาวธรรมอย่างหนึ่ง ๆ ไปหมดสิ้น ก็ความเป็ นของศูนย์จากตัวจากตน ศูนย์จากสัตว์จากบุคคล ไม่มีเจ้าของเป็ นแต่ สภาวธรรมอย่างหนึ่ง ๆ ไปหมดสิ้นนั้นนัน่ แล เป็ นตัวอนันตลักขณะ เครื่ องหมายที่ให้ รู้ให้เห็นว่าเป็ นอนัตตาจริ ง ให้ ผ้ทู ี่จะเจริญวิปัสสนานั้นพึงรู้จกั วิภาค ๖ อย่ างด้ วยประการดังว่ามานี้ ฯ ๏ สาธุชนผูบ้ าเพ็ญเพียร เป็ นผูบ้ ริ บูรณ์ดว้ ยคุณสมบัติ มีสีลวิสุทธิเป็ นต้น ดัง ว่ามานี้แล้ว ก็เป็ นผูค้ วรเจริ ญวิปัสสนาด้วยดี เป็ นผูส้ ามารถจะยังวิปัสสนานั้นให้ บริ บูรณ์ได้ดว้ ยประการทั้งปวงทีเดียว ฯ ๏ ลาดับนี้จะได้แสดงธรรมที่เป็ นอารมณ์ของวิปัสสนา และวิธีที่จะเจริ ญ วิปัสสนานั้น ตามนัยที่มาในบาลีและอรรถกถา ความว่า
๙๓
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
สังขารของที่ปัจจัยประชุมแต่งสร้างขึ้นเป็ นอุปาทิน ที่เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ถือเอาอาศัยอยูแ่ ล้ว และเป็ นอนุปาทิน ที่เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ไม่ อาศัยอยูแ่ ล้ว สังขารทั้งสิ้นนั้นนัน่ แลเป็ นอารมณ์ของวิปัสสนา วิปัสสนาที่มีสงั ขาร ทั้งสิ้นเป็ นอารมณ์น้ นั ได้ในอนิจจทุกขลักขณะ ทุกขลักขณะ ทั้ง ๒ มาแล้วในบาลี ว่า สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา สังขารทั้งสิ้นเป็ นของไม่เที่ยง เกิดขึ้นแล้วดับไป สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา สังขารทั้งสิ้นเป็ นทุกข์ อันสัตว์ทนยากดังนี้ อนึ่ง ธรรมทั้งสิ้นที่เป็ นสังขารและวิสงั ขาร คือนิพพาน ก็เป็ นอารมณ์ของ วิปัสสนา วิปัสสนาที่มีธรรมทั้งสิ้นเป็ นอารมณ์น้ นั ได้ในอนัตตลักขณะอย่างเดียว มาแล้วในบาลีวา่ สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรมทั้งสิ้นไม่ใช่ตวั ใช่ตน ศูนย์จากตัวจากตน ดังนี้ ก็นิพพานที่มีสงั ขารไปปราศจากแล้ว ไม่ได้ในคาว่า สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา, สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา ดังนี้ เพราะนิพพานนั้นเป็ นธรรมเที่ยงถาวร มีอยูท่ ุกเมื่อ และเป็ นบรมสุขด้วย ก็แต่ นิพพานนั้นเป็ นอนัตตา ใช่ตวั ใช่ตน ใช่สตั ว์ ใช่บุคคล เป็ นอสังขตธาตุอย่างหนึ่ง ต่างหาก จึงได้ในคาว่า สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ดังนี้ สาธุชนเมื่อจะเจริ ญวิปัสสนาที่มีสงั ขารและธรรมเป็ นอารมณ์น้ นั พึงเจริ ญ ตามนัยที่มาในบาลีวา่ สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา, สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา, สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ดังนี้กไ็ ด้ ฯ ๏ อนึ่ง ขันธ์ ว่าหมวดว่ากอง มีอยู่ ๕ คือ รูป กอง ๑, คือ เวทนา กอง ๑, คือ สัญญา กอง ๑, คือ สังขาร กอง ๑, คือ วิญญาณ กอง ๑ ในกอง ๕ นั้น
๙๔
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
รูป มีอนั ทรุ ดโทรมฉิบหาย เพราะปัจจัยที่เป็ นข้าศึกแก่ตนมีเย็นร้อนเป็ นต้น เป็ นลักษณะเครื่ องหมายเฉพาะตัว คือ มหาภูตรู ป ๔ คือ ดิน, น้ า, ไฟ, ลม และรู ปที่ อาศัยมหาภูตรู ปทั้ง ๔ นั้น รู ปทั้งสิ้นนี้เป็ นกองรู ป เวทนา มีความรู้แจ้ง ความเสวยอารมณ์เป็ นลักษณะเครื่ องหมายเฉพาะตัว คือ สุข ทุกข์ อุเบกขา เกิดแต่สมั ผัส ความเสวยอารมณ์ท้งั สิ้นนี้เป็ นกองเวทนา สัญญา มีความรู้จกั อารมณ์ จาอารมณ์ได้ เป็ นลักษณะเครื่ องหมายเฉพาะตัว คือรู้จกั รู ป จารู ปได้ รู้จกั เสี ยง จาเสี ยงได้ รู้จกั กลิ่น จากลิ่นได้ รู้จกั รส จารสได้ รู้จกั สัมผัส จาสัมผัสได้ รู้จกั ธรรมารมณ์ จาธรรมารมณ์ได้ ความรู้จกั จาได้ท้งั สิ้นเป็ นกอง สัญญา สังขาร มีอนั ตกแต่งจิตปรุ งจิต เป็ นเครื่ องหมายเฉพาะตัว คือสัญเจตนา ความคิดกับจิตในอารมณ์มีรูปเป็ นต้นก็ดี คือ เจตสิ กธรรมที่เกิดในจิตทั้งสิ้น ยกแต่ เวทนา สัญญา เสี ยก็ดี เป็ นสังขาร วิญญาณ มีอนั รู้จกั อารมณ์วิเศษเป็ นลักษณะเครื่ องหมายเฉพาะตัว คือจิตที่ อาศัย จักษุ, โสต, ฆานะ, ชิวหา, กาย, ใจ เกิดขึ้น เป็ นกุศลบ้าง เป็ นอกุศลบ้าง เป็ น วิบากบ้าง เป็ นกิริยาบ้าง จิตทั้งสิ้ นนี้เป็ นกองวิญญาณ ขันธ์ ๕ กองซึ่งว่ามานี้ เป็ นภูมิ เป็ นอารมณ์ของวิปัสสนา วิปัสสนามีขนั ธ์ ๕ เป็ นอารมณ์น้ นั ได้ในอนิจจลักขณะ และอนัตตลักขณะ ทั้ง ๒ มาแล้วในบาลีวา่ รูป อนิจฺจ รู ปไม่เที่ยง เวทนา อนิจฺจา ความเสวยอารมณ์ไม่เที่ยง
๙๕
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
สญฺญา อนิจฺจา ความจาหมายไว้ไม่เที่ยว สงฺขารา อนิจฺจา ธรรมที่ตกแต่งจิต ปรุ งจิตไม่เที่ยง วิญฺญาณ อนิจฺจ จิตที่รู้จกั อารมณ์วิเศษไม่เที่ยง รูป อนตฺตา รู ปใช่ตวั ใช่ตน เวทนา อนตฺตา ความเสวยอารมณ์ใช่ตวั ใช่ตน สญญฺญา อนตฺตา ความจาได้หมายไว้ใช่ตวั ใช่ตน สงฺขารา อนตฺตา ธรรมที่ตกแต่งจิตปรุ งจิตใช่ตวั ใช่ตน วิญฺญาณ อนตฺตา จิตที่รู้จกั อารมณ์วิเศษใช่ตวั ใช่ตน สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา สังขารทั้งสิ้นไม่เที่ยง เกิดขึ้นแล้วดับไป สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรมทั้งสิ้นที่เป็ นสังขารและวิสงั ขารใช่ตวั ใช่ตน ดังนี้ วิปัสสนาที่มีขนั ธ์ ๕ เป็ นอารมณ์ ได้ในอนิจจลักขณะ อนัตตลักขณะทั้ง ๒ มาแล้วในบาลีดว้ ยประการดังนี้ บาลีน้ ีแสดงอนิจจลักขณะ อนัตตลักขณะทั้ง ๒ ไม่ แสดง ทุกขลักขณะไว้ เพราะทุกขลักขณะนั้นนับเข้าเสี ยในอนิจจลักขณะนั้น เพราะว่า สิ่ งใดไม่เที่ยง สิ่ งนั้นเป็ นทุกข์ เมื่อเห็นอนิจจลักขณะแล้ว ทุกขลักขณะย่อมปรากฏด้วย เพราะเหตุน้ ี บาลีจึงแสดงแต่อนิจจลักขณะ, อนันตตลักขณะทั้ง ๒ เท่านั้น สุธุชนผู้ บาเพ็ญเพียร พึงเจริ ญวิปัสสนาที่มีขนั ธ์ ๕ เป็ นอารมณ์ ตามนัยที่มาแล้วในบาลีดงั ว่ามา นี้กไ็ ด้แล ฯ ๏ อนึ่ง วิปัสสนาที่มีขนั ธ์ ๕ เป็ นอารมณ์น้ นั ได้ในลักษณะทั้ง ๓ คือ อนิจจ ลักขณะ และทุกขลักขณะ และอนัตตลักขณะ มาแล้วในบาลีดงั นี้วา่ รูป อนิจฺจ รู ปเป็ น ของไม่เที่ยง ยทนิจฺจ ต ทุกฺข รู ปใดเป็ นของไม่เที่ยง รู ปนั้นเป็ นทุกข์ ย ทุกฺข ต อนตฺตา
๙๖
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
รู ปใดเป็ นทุกข์ รู้น้ นั ใช่ตวั ใช่ตน ยทนตฺตา ต เนต มม เนโสหมสฺ มิ น เม โส อนตฺตา รู ป ใดใช่ตวั ใช่ตน รู ปนั้นไม่ใช่ของเรา รู ปนั้นไม่ใช่เรา รู ปนั้นไม่ใช่ตวั ใช่ตนของเรา ท่าน ทั้งหลายพึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามเป็ นจริ งของรู ปนั้นดังนี้เถิด เวทนา อนิจฺ จา ความเสวยอารมณ์เป็ นของไม่เที่ยง ยทนิจฺจ ต ทุกฺข สิ่ งใดไม่เที่ยงสิ่ งนั้นเป็ นทุกข์ ย ทุกฺข ตทนตฺตา สิ่ งใดเป็ นทุกข์ สิ่ งนั้นใช่ตวั ใช่ตน ยทนตฺตา ต เนต มม เนโสหมสฺ มิ น เม โส อตฺตา สิ่ งใดไม่ใช่ตวั ใช่ตน สัง่ นั้นไม่ใช่ของเรา สัง่ นั้นไม่ใช่เรา สิ่ งนั้นไม่ใช่ตวั ใช่ตนของเรา ท่านทั้งหลายพึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามเป็ นจริ งอย่างไรของสัญญา ดังนี้เถิด สงฺขารา อนิจฺจา ธรรมที่ปรุ งจิตทั้งหลายเป็ นของไม่เที่ยง ยทนิจฺจ ต ทุกฺข สิ่ ง ใดเป็ นของไม่เที่ยงสิ่ งนั้นเป็ นทุกข์ ย ทุกฺข ตทนตฺตา สิ่ งใดเป็ นทุกข์ สิ่ งนั้นใช่ตวั ใช่ ตน นทนตฺตา ต เนต มม เนโสหมสฺ มิ น เม โส อตฺตา สิ่ งใดใช่ตวั ใช่ตน สิ่ งนั้นไม่ใช่ ของเรา สิ่งนั้นไม่ใช่เรา สิ่ งนั้นไม่ใช่ตวั ใช่ตนของเรา ท่านทั้งหลายพึงเห็นด้วยปัญญา อันชอบ ตามเป็ นจริ ง อย่างไรของสังขารดังนี้เถิด วิญฺญาณ อนิจฺจ จิตรู้จกั อารมณ์วิเศษ เป็ นของไม่เที่ยง ยทนิจฺจ ต ทุกฺข สิ่ งใดเป็ นของไม่เที่ยง สิ่ งนั้นเป็ นทุกข์ ย ทุกฺข ตทนตฺ ตา สิ่ งใดเป็ นทุกข์ สิ่ งนั้นใช่ตวั ใช่ตน ยทนตฺตา ต เนต มม เนโสหมสฺ สมิ น เม โส อตฺ ตา สิ่ งใดใช่ตวั ใช่ตน สิ่งนั้นไม่ใช่ของเรา สิ่ งนั้นไม่ใช่เรา สิ่งนั้นไม่ตวั ใช่ตนของเรา ท่านทั้งหลายพึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ ตามเป็ นจริ งอย่างไรของวิญญาณดังนี้เถิด อนึ่ง วิปัสสนาที่มีขนั ธ์ ๕ ทั้งเหตุท้งั ปัจจัยเป็ นอารมณ์ ได้ในลักษณะทั้ง ๓ มาแล้วใน บาลีดงั นี้วา่ รูป อนิจฺจ รู ปไม่เที่ยง ธรรมอันใดเป็ นเหตุเป็ นปัจจัยให้เกิดรู ปขึ้น ถึงธรรม นั้นก็ไม่เที่ยงเหมือนกัน รู ปที่เกิดขึ้นพร้อมกันด้วยเหตุอนั ไม่เที่ยงแล้วจะเป็ นของเที่ยง มาแต่ไหน
๙๗
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
เวทนา อนิจฺจา ความเสวยอารมณ์ไม่เที่ยง ธรรมอันใดเป็ นเหตุเป็ นปัจจัยให้ เกิดเวทนาขึ้น ถึงธรรมนั้นก็ไม่เที่ยงเหมือนกัน เวทนาซึ่งเกิดพร้อมด้วยเหตุอนั ไม่เที่ยง แล้ว จะเป็ นของเที่ยงมาแต่ไหน สญฺญา อนิจฺจา ความจาหมายไว้ไม่เที่ยง ธรรมอันใดเป็ นเหตุเป็ นปัจจัยให้ สัญญาเกิดขึ้น ถึงธรรมนั้นก็ไม่เที่ยงเหมือนกัน สัญญาที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยเหตุอนั ไม่ เที่ยงแล้วจะเป็ นของเที่ยงมาแต่ไหน สงฺขารา อนิจฺจา ธรรมทั้งหลายที่ตกแต่งจิต ปรุ งจิตไม่เที่ยง ธรรมอันใดเป็ น เหตุเป็ นปัจจัยให้สงั ขารเกิดขึ้น ถึงธรรมนั้นก็ไม่เที่ยงเหมือนกัน สังขารที่เกิดขึ้นพร้อม ด้วยเหตุอนั ไม่เที่ยงแล้ว จะเป็ นของเที่ยงมาแต่ไหน วิญฺญาณ อนิจฺจ จิตที่รู้อารมณ์วิเศษไม่เที่ยง ธรรมอันใดเป็ นเหตุเป็ นปัจจัยให้ วิญญาณเกิดขึ้น ถึงธรรมนั้นก็ไม่เที่ยงเหมือนกัน วิญญาณที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยเหตุอนั ไม่เที่ยงแล้ว จะเป็ นของเที่ยงมาแต่ไหน ๆ รูปเป็ นทุกข์ทนยาก ธรรมอันใดเป็ นเหตุเป็ นปัจจัยให้รูปเกิดขึ้น ถึงธรรมนั้น ก็เป็ นทุกข์ทนยากเหมือนกัน รู ปที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยเหตุอนั เป็ นทุกข์แล้ว จะเป็ นสุขมา แต่ไหน เวทนาเป็ นทุกข์ทนยาก ธรรมอันใดเป็ นเหตุ เป็ นปัจจัยให้เวทนาเกิดขึ้น ถึง ธรรมนั้นก็เป็ นทุกข์ทนยากเหมือนกัน เวทนาที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยเหตุอนั เป็ นทุกข์แล้ว จะเป็ นสุขมาแต่ไหน สัญญาเป็ นทุกข์ทนยาก ธรรมอันใดเป็ นเหตุเป็ นปัจจัยให้สญ ั ญาเกิดขึ้น ถึง ธรรมนั้นก็เป็ นทุกข์ทนยากเหมือนกัน สัญญาที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยเหตุอนั เป็ นทุกข์แล้ว จะเป็ นสุขมาแต่ไหน
๙๘
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
สังขารทั้งสิ้นเป็ นทุกข์ทนยาก ธรรมอันใดเป็ นเหตุเป็ นปัจจัยให้สงั ขาร เกิดขึ้น ถึงธรรมนั้นก็เป็ นทุกข์ทนยากเหมือนกัน สังขารที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยเหตุอนั เป็ นทุกข์แล้ว จะเป็ นสุขมาแต่ไหน วิญญาณเป็ นทุกข์ทนยาก ธรรมอันใดเป็ นเหตุเป็ นปัจจัยให้วิญญาณเกิดขึ้น ถึงธรรมนั้นก็เป็ นทุกข์ทนยากเหมือนกัน วิญญาณที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยเหตุอนั เป็ นทุกข์ แล้ว จะเป็ นสุขมาแต่ไหน รูปเป็ นอนัตตาใช่ตวั ใช่ตน ธรรมอันใดเป็ นเหตุเป็ นปัจจัยให้รูปเกิดขึ้น ถึง ธรรมนั้นก็เป็ นอนัตตาใช่ตวั ใช่ตนเหมือนกัน รู ปที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยเหตุเป็ นอนัตตา แล้ว จะเป็ นตัวเป็ นตนมาแต่ไหน เวทนาเป็ นอนัตตาใช่ตวั ใช่ตน ธรรมอันใดเป็ นเหตุเป็ นปัจจัยให้เวทนา เกิดขึ้น ถึงธรรมนั้นก็เป็ นอนัตตาใช่ตวั ใช่ตนเหมือนกัน เวทนาที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยเหตุ เป็ นอนัตตาแล้ว จะเป็ นตัวเป็ นตนมาแต่ไหน สัญญาเป็ นอนัตตาใช่ตวั ใช่ตน ธรรมอันใดเป็ นเหตุเป็ นปัจจัยให้สญ ั ญา เกิดขึ้น ถึงธรรมนั้นก็เป็ นอนัตตาใช่ตวั ใช่ตนเหมือนกัน สัญญาที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยเหตุ เป็ นอนัตตาแล้ว จะเป็ นตัวเป็ นตนมาแต่ไหน สังขารเป็ นอนัตตาใช่ตวั ใช่ตน ธรรมอันใดเป็ นเหตุเป็ นปัจจัยให้สงั ขาร เกิดขึ้น ถึงธรรมนั้นก็เป็ นอนัตตาใช่ตวั ใช่ตนเหมือนกัน สังขารเกิดขึ้นพร้อมด้วยเหตุ เป็ นอนัตตาแล้ว จะเป็ นตัวเป็ นตนมาแต่ไหน วิญญาณเป็ นอนัตตาใช่ตวั ใช่ตน ธรรมอันใดเป็ นเหตุเป็ นปัจจัยให้วญ ิ ญาณ เกิดขึ้น ถึงธรรมนั้นก็เป็ นอนัตตาใช่ตวั ใช่ตนเหมือนกัน วิญญาณเกิดขึ้นพร้อมด้วยเหตุ เป็ นอนัตตาแล้ว จะเป็ นตัวเป็ นตนมาแต่ไหน
๙๙
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
วิปัสสนาที่มีขนั ธ์ ๕ ทั้งเหตุปัจจัยเป็ นอารมณ์ ได้ในลักษณะทั้ง ๓ มาแล้วใน บาลีดงั นี้ สาธุชนผูบ้ าเพ็ญเพียรพึงเจริ ญวิปัสสนาที่มีขนั ธ์ ๕ ล้วนเป็ นอารมณ์กด็ ี ที่มี ขันธ์ ๕ ทั้งเหตุท้งั ปัจจัยเป็ นอารมณ์กด็ ี โดยนัยที่มาแล้วในบาลีดงั ว่ามานี้กไ็ ด้ทีเดียว ฯ ๏ ก็วิธีเจริ ญวิปัสสนา ซึ่งมาในอรรถกถานั้นดังนี้วา่ ผูบ้ าเพ็ญเพียร ถ้าได้ฌาน แล้ว เป็ นสมถยานิก ย่อมทาฌานที่ตนได้ให้เป็ นบาทแห่งวิปัสสนา คืออกจากฌานแล้ว กาหนดองค์ฌานทั้ง ๕ คือ วิตก, วิจาร, ปี ติ, สุข และ เอกัคคตา ทั้งสัมปยุตธรรมที่เกิด กับด้วยองค์ฌาน ซึ่งสันนิษฐานเข้าใจแน่วา่ องค์ฌานและสัมปยุตตธรรมเหล่านี้เป็ น นามธรรม เพราะเป็ นธรรมน้อมไปยังอารมณ์แล้วจึงแสวงหาที่อาศัยของนาธรรมนั้น จึงเห็นหทัยรู ปเป็ นที่อาศัยของนามธรรมนั้น มหาภูตรู ปและอุปาทายรู ป เป็ นที่อาศัย ของหทัยรู ปนั้น จึงสันนิษฐานเข้าใจรู้ชดั ว่า หทัยรู ป, มหาภูตรู ปและอุปาทายรู ปเหล่านี้ เป็ นรู ปธรรม เพราะเป็ นของทรุ ดโทรมฉิบหายไป ด้วยปัจจัยที่เป็ นข้าศึกแก่ตน มีเย็น ร้อนเป็ นต้น ผูบ้ าเพ็ญเพียรที่ได้ฌานแล้ว เป็ นสมถยานิก ย่อมกาหนดรู้จกั นามและรู ป ได้แจ้งชัดด้วยประการฉะนี้ ฯ ๏ ฝ่ ายวิปัสสนายานิก ผูม้ ีฌานคือวิปัสสนา ไม่ได้ฌานสมาบัติอนั ใด เมื่อ เจริ ญวิปัสสนา มากาหนดสังขารมีนามและรู ปเป็ นต้น อนึ่งมากาหนดกายทั้งจิตเจตสิ ก นี้ โดยประเภทแห่งกองทั้ง ๕ คือ กองรู ปเป็ นของทรุ ดโทรม ๑ กองเวทนาความเสวย อารมณ์ ๑ คือกองสัญญาความจาหมายอารมณ์ ๑ คือกองสังขารเป็ นผูต้ กแต่งจิต ๑ คือ กองวิญญาณใจเป็ นผูร้ ู้อารมณ์วิเศษ ๑ บรรจบเป็ น ๕ กอง เมื่อกาหนดกายทั้งจิตและ เจตสิ กนี้แตกออกเป็ น ๕ กองดังว่ามานี้ ผูบ้ าเพ็ญเพียรรู้จกั ขันธ์ท้งั ๕ แจ้งชัดตาม ลักษณะเฉพาะฉะนี้แล้ว พึงย่นขันธ์ท้งั ๕ นั้นเข้าเป็ น ๒ คือ นาม ๑ คือรู ป ๑ รู ปขันธ์ กองรู ปคงอยูเ่ ป็ นรู ป เพราะเป็ นของทรุ ดโทรมอยูโ่ ดยธรรมดา แต่เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อรู ปขันธ์ท้งั ๔ นั้นเป็ นนาม เพราะเป็ นธรรมน้อมไปยังอารมณ์ เมื่อ กาหนดสังขารที่เป็ นไป ๓ ภพ ย่นลงได้โดยเป็ นนาม ๑ เป็ นรู ป ๑ ฉะนี้แล้ว ก็ได้
๑๐๐
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
สันนิษฐานชัดว่า สัตว์หรื อบุคคลว่าตัวหรื อตนว่าเทวดาหรื อพรหม อื่นนอกจานาม และรู ปไปแล้วไม่มี มีแต่นามและรู ปอย่างเดียวเท่านั้น เป็ นไปใน ๓ ภพ ก็คาว่าสัตว์ ว่า บุคคล ว่าตัวว่าตน ว่าเทวดา ว่าพรหมนั้น ไม่มีโดยปรมัตถ์ มาบัญญัติสมมตินามรู ป นั้นเองว่าเป็ นสัตว์เป็ นบุคคล เป็ นตัวเป็ นตน เป็ นเทวดา เป็ นพรหม ประหนึ่งสมมติไม้ ว่า เป็ นกราบ เป็ นมาด หรื อ เป็ นเรื อฉะนั้น ก็นามและรู ปทั้ง ๒ นี้ อาศัยกันและกัน แล่นไปในสังสารสาคร ประหนึ่งมนุษย์กบั เรื อทั้ง ๒ อาศัยกันและกันแล่นไปใน สมุทรสาครฉะนั้น เมื่อกาหนดรู้เห็นนามและรู ปชัดตามเป็ นจริ งย่างไร ละสัตตูปลัทธิ สัตตสัญญาเสี ยได้ ตั้งอยูใ่ นความเป็ นผูไ้ ม่หลงในบัญญัติวา่ สัตว์วา่ บุคคล ว่าตัว ว่าตน ว่าเทวดา ว่าพรหม ฉะนี้แล้ว ทิฏฐิความเห็นของผูบ้ าเพ็ญเพียรนั้นก็บริ สุทธิ์ด้วยดี ชื่อ ว่า ทิฏฐิวิสุทธิ เป็ นตัววิปัสสนาที่ ๑ ฯ ๏ สาธุชนผูบ้ าเพ็ญเพียรให้ทิฏฐิวิสุทธิ บริ บูรณ์ข้ ึนแล้ว ควรเจริ ญวิปัสสนา ปัญญาต่อไป แสวงหาเหตุและปัจจัยของนามและรู ปนั้น ประหนึ่งแพทย์ผฉู้ ลาดใน การรักษาโรค เมื่อเห็นโรคแล้ว ย่อมแสวงหาโรคนิทานเหตุเกิดขึ้นของโรคนั้นฉันใด ผูบ้ าเพ็ญเพียรเมื่อรู้จกั นามและรู ปชัดแล้ว ควรแสวงหาเหตุและปัจจัยของนามและรู ป ฉันนั้น เมื่อกาหนดรู้เหตุและปัจจัยของนามและรู ปนั้นได้แจ้งชัดแล้ว ก็ยอ่ มข้ามล่วง กังขาในกาลทั้ง ๓ เสี ยได้ ฯ ๏ ก็อะไรเป็ นเหตุเป็ นปัจจัยของนามและรู ปนั้น นามและรู ปนั้นอาศัยเหตุ และปัจจัยอะไรจึงเกิดขึ้น กรรมเป็ นเหตุเป็ นปัจจัยของนามและรู ปนั้น นามและรู ปนั้น เป็ นตัววิบาก ผลสุกวิเศษของกรรม อาศัยกรรมเกิดขึ้น กรรมนั้นเป็ น ๒ อย่าง คือกุศล กรรมและอกุศลกรรม นามและรู ปใดที่เกิดขึ้นด้วยอกุศลกรรม นามและรู ปนั้นเป็ น ของหยาบทุรพลเลวทรามต่าช้า นามและรู ปใดที่เกิดขึ้นด้วยกุศลกรรม นามและรู ปนั้น เป็ นของสุขมุ ละเอียดประณี ตนัก ด้วยเหตุน้ ี จึงว่า กรรมเป็ นเหตุเป็ นปัจจัยของนาม และรู ปนั้น ก็แต่กรรมอย่างเดียว ไม่เป็ นเหตุให้เกิดนามและรู ปได้ ต้องอาศัยอุปาทาน
๑๐๑
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
เชื้อเครื่ องถือมัน่ คือฉันทราคะ ความพอใจและความยินดี อุปาทานเล่าก็ตอ้ งอาศัย ตัณหา ความอยากเป็ นเหตุให้สะดุง้ ดิ้นรนไป ตัณหาเล่าก็ตอ้ งอาศัยอวิชชา ความไม่รู้ แจ้ง ความไม่รู้จริ ง เพราะเหตุน้ ี อวิชชาจึงเป็ นปัจจัยของตัณหา ตัณหาจึงเป็ นปัจจัยของ อุปาทาน อุปาทานจึงเป็ นปัจจัยของกรรมคือภวะ กรรมจึงเป็ นปั จจัยของชาติ คือนาม และรู ป โดยนัยนี้ จึงได้ความสันนิษฐานเห็นชัดว่า ธรรม ๔ อย่างคืออวิชชา ตัณหา อุปาทาน กรรม เป็ นเหตุเป็ นปัจจัยของนามและรู ปนั้น นามและรู ปนั้น อาศัยธรรม ๔ อย่างนี้จึงเกิดขึ้น จึงเป็ นไป มหาภูตรู ป คือ ดิน น้ า ไฟ ลม และอาหาร เป็ นปัจจัยของ รู ปธรรม ด้วยอุปถัมภ์บารุ งรู ปนั้นไว้ ผัสสะเป็ นปัจจัยของนาม คือ เวทนา สัญญา สังขาร เวทนา สัญญา สังขาร ๓ อย่างนี้ อาศัยปัจจัยคือผัสสะเกิดขึ้นเป็ นไป นามและ รู ปเป็ นปัจจัยของนามธรรมคือ วิญญาณ เพราะเหตุวิญญาณนั้นอาศัยจักษุและรู ปทั้ง ๒ เกิดขึ้นจึงชื่อว่า จักขุวญ ิ ญาณ อาศัยโสตและเสี ยงทั้ง ๒ เกิดขึ้น จึงชื่อว่าโสตวิญญาณ อาศัยฆานะและกลิ่นทั้ง ๒ เกิดขึ้น จึงชื่อว่า ฆานวิญญาณ อาศัยชิวหาและรสทั้ง ๒ เกิดขึ้น จึงชื่อว่าชิวหาวิญญาณ อาศัยกายและสัมผัสทั้ง ๒ เกิดขึ้น จึงชื่อว่า กาย วิญญาณ อาศัยใจและธรรมารมณ์ท้งั ๒ เกิดขึ้น จึงชื่อว่ามโนวิญญาณ จักษุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ ทั้ง ๕ นี้ มีรูปอย่างเดียวเป็ น ปัจจัย อาศัยรู ปเกิดขึ้นเป็ นไป มโนวิญญาณมีนามและรู ปทั้ง ๒ เป็ นปัจจัย อาศัยนาม และรู ปทั้ง ๒ เกิดขึ้นเป็ นไป ด้วยเหตุน้ ี นามรู ปนี้จึงเป็ นปัจจัยของนามธรรม คือ วิญญาณ วิญญาณ อาศัยนามและรู ปทั้ง ๒ นั้นเกิดขึ้นเป็ นไป ได้ความสันนิษฐานรู้ เห็นชัดว่า อวิชชา ตัณหา อุปาทาน กรรม อาหาร เป็ นเหตุปัจจัยของรู ปธรรม รู ปธรรม อาศัยปัจจัย ๕ อย่างนี้เกิดขึ้นเป็ นไป อวิชชา ตัณหา อุปาทาน กรรม ผัสสะ เป็ นเหตุ เป็ นปัจจัยของนามธรรม คือ เวทนา สัญญา สังขาร เวทนา สัญญา สังขาร อาศัยปัจจัย ๕ อย่างนี้ เกิดขึ้นเป็ นไป อวิชชา ตัณหา อุปาทาน กรรม นามและรู ป เป็ นเหตุเป็ น ปัจจัยของนามธรรมคือวิญญาณ วิญาณอาศัยปัจจัย ๕ อย่างนี้เกิดขึ้นเป็ นไป เมื่อผู้
๑๐๒
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
บาเพ็ญเพียรมากาหนดเหตุปัจจัยของนามและรู ปนั้นแจ้งชัด ด้วยประการฉะนี้แล้ว ก็ เข้าใจแน่วา่ นามและรู ปที่เป็ นปัจจุบนั อาศัยเหตุปัจจัยเกิดขึ้นเป็ นไปฉันใด ถึงนาม และรู ปที่เป็ นอดีตล่วงแล้วก็ดี ที่เป็ นอนาคตยังไม่มาถึงก็ดี ย่อมอาศัยเหตุปัจจัยเกิดขึ้น เป็ นไปฉันนั้นนัน่ แล เมื่อผูบ้ าเพ็ญเพียร มากาหนดเหตุปัจจัยของนามรู ปรู้เห็นแจ้งชัด ฉะนี้แล้ว ย่อมข้ามล่วงกังขา ความสงสัยในกาลทั้ง ๓ เสี ยได้ กังขาในกาลทั้ง ๓ นั้น คือกังขาอันปรารภส่วนอดีตล่วงแล้ว ๕ อย่าง คือ กังขาปรารภส่วนอนาคตข้างหน้าที่ ยังไม่มาถึง ๕ อย่าง คือ กังขาปรารภในส่วนปัจจุบนั ที่เกิดเฉพาะหน้าบัดนี้ ๖ อย่าง บรรจบเป็ นกังขา ๑๖ อย่างในกาลทั้ง ๓ ฯ ๏ ก็กงั ขาอันปรารภส่ วนอดีตที่ล่วงแล้ว ๕ อย่างนั้น ว่าเราได้มีแล้วหรื อหนอ ในชาติก่อน หรื อเราไม่ได้มีแล้ว เราได้มีแล้วในชาติก่อนเป็ นอะไรหนอ เราได้มีแล้ว ในชาติก่อน เราเป็ นผูม้ ีสุขมีทุกข์เป็ นอย่างไรหนอ เราได้เป็ นอะไรแล้วจึงเป็ นอะไรอีก เล่าในชาติก่อน ๆ ดังนี้ กังขาอันปรารภที่ล่วงแล้ว ๕ อย่างดังว่ามานี้ ฯ ๏ ก็กงั ขาอันปรารภส่ วนอนาคต ๕ อย่างนั้น ว่าเราจักมีหรื อหนอในชาติหน้า หรื อเราจักไม่มี เรามีในชาติหน้าเราจักเป็ นอะไรหนอ เราจักมีในชาติหน้า เราจักเป็ นผู้ มีสุขทุกข์เป็ นอย่างไรหนอ เราจักเป็ นอะไรแล้ว จึงจักเป็ นอะไรในชาติหน้าต่อไปอีก เล่าหนอดังนี้ กังขาอันปรารภส่วนอนาคต ๕ อย่างดังว่ามานี้ ฯ ๏ ก็กงั ขาอันปรารภส่ วนปัจจุบัน ๖ อย่างนั้น ว่าเดี๋ยวนี้เรามีหรื อหนอ หรื อเรา ไม่มี เรามีอยูเ่ ดี๋ยวนี้เราเป็ นอะไรหนอ เรามีอยูเ่ ดี๋ยวนี้เราเป็ นอย่างไรหนอ เราเป็ นสัตว์ มาแต่ไหนหนอ เราจะไปเกิดที่ไหนอีกเล่าหนอดังนี้ กังขาอันปรารภส่วนปัจจุบนั ๖ อย่างดังว่ามานี้ จึงบรรจบกังขาอดีต ๕ อย่าง ในอนาคต ๕ อย่าง ในปัจจุบนั ๖ อย่าง เป็ นกังขา ๑๖ อย่างด้วยกันดังนี้ ฯ
๑๐๓
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
๏ เมื่อกาหนดเหตุปัจจัยของนามและรู ป เห็นแจ้งชัดฉะนี้แล้ว ย่อมข้ามล่วง กังขา ๑๖ อย่างเสี ยได้ เป็ นผูไ้ ม่มีความสงสัยในส่วนอดีตอนาคตปัจจุบนั แล้ว ปัญญา ของผูบ้ าเพ็ญเพียรมีกาลังกล้า มากาหนดรู้เห็นเหตุปัจจัยของนามและรู ปแจ้งชัด ข้าม ล่วงกังขาความสงสัยในกาลทั้ง ๓ เสี ยได้ ด้วยประการดังนี้ ช่อว่า กังขาวิตรณวิสุทธิ เป็ นตัววิปัสสนาที่ ๒ ฯ ๏ ผูบ้ าเพ็ญเพียรมากาหนดรู้จกั เหตุผล และปัจจัยของนามและรู ปแจ้งชัด จน ข้ามล่วงกังขาความสงสัยในกาลทั้ง ๓ เสี ยได้ดว้ ยดีฉะนี้แล้ว ควรเจริ ญวิปัสสนา ปัญญาต่อไป มาพิจารณานามและรู ปทั้งปัจจัยที่เป็ นอดีตล่วงแล้ว และอนาคตยังไม่ มาถึง และปัจจุบนั เกิดอยูเ่ ฉพาะหน้า ที่เป็ นภายในหรื อภายนอก หยาบหรื อละเอียด ต่า ช้าหรื อประณี ต ไกลหรื อใกล้ เห็นว่านามและรู ปกับทั้งปัจจัยทั้งสิ้นนั้นเป็ นของไม่ เที่ยงจริ ง ด้วยความเป็ นสังขาร เกิดขึ้นแล้วดับสิ้นไป ในกาลนั้น ๆ ก็นามและรู ปใด เป็ นอดีตล่วงแล้ว นามและรู ปนั้นก็ดบั สิ้นไป ในกาลอดีตนั้น หาถึงซึ่งกาลปัจจุบนั นี้ ไม่ นามและรู ปใดที่เป็ นอนาคต ยังไม่มาถึงเล่า นามและรู ปนั้นก็จะดับสิ้นไป ในกาล อนาคตนั้น จักไม่ไปถึงกาลอนาคตเบื้องหน้านั้นได้ นามและรู ปใดที่เป็ นปัจจุบนั เกิด เฉพาะหน้าบัดนี้เล่า นามและรู ปนั้นก็ดบั สิ้นไป ในกาลปัจจุบนั นี้ หาไปถึงอนาคตไม่ นามและรู ปที่เป็ นภายในเล่า ก็ดบั สิ้นไปในภายใน หาถึงความเป็ นนามและรู ป ภายนอกไม่ นามและรู ปภายนอกเล่า ก็ดบั สิ้นไปภายนอก หาถึงความเป็ นนามและรู ป ภายในไม่ นามและรู ปที่หยาบเล่า ก็ดบั สิ้นไปในความเป็ นนามและรู ปที่หยาบนั้น หา ถึงความเป็ นนามและรู ปที่ละเอียดไม่ นามและรู ปที่ละเอียดเล่า ก็ดบั สิ้นไปในความ เป็ นนามและรู ปที่ละเอียดนั้น หาถึงความเป็ นนามและรู ปที่หยาบไม่ นามและรู ปที่ต่า ช้าเล่า ก็ดบั สิ้นไปในความเป็ นนามและรู ปที่ต่าช้านั้น หาถึงความเป็ นนามและรู ปที่ ประณี ตไม่ นามและรู ปที่ประณี ตเล่า ก็ดบั สิ้นไปในความเป็ นนามปละรู ปที่ประณี ต นั้น หาถึงความเป็ นนามปละรู ปที่ต่าช้าไม่ นามและรู ปที่ไกลเล่า ก็ดบั สิ้นไปในที่ไกล
๑๐๔
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
นั้น หาถึงความเป็ นนามและรู ปที่ใกล้ไม่ นามและรู ปที่ใกล้เล่า ก็ดบั สิ้นไปในที่ใกล้ นั้น หาถึงความเป็ นนามรู ปที่ไกลไม่ เพราะเหตุฉะนี้ นามปละรู ปทั้งสิ้นนั้น จึงเป็ นของ ไม่เที่ยงจริ ง เพราะเกิดขึ้นแล้วดับสิ้นไปในกาลนั้น ๆ ไม่ล่วงกาลนั้น ๆ ไปได้ฉะนี้ นามและรู ปใดเป็ นของไม่เที่ยง นามและรู ปนั้นเป็ นทุกข์ทนยากจริ ง เพราะเป็ นสังขาร อันความเกิดขึ้นแล้วดับสิ้นไป เบียดเบียนบีบคั้นอยูเ่ ป็ นนิตย์ไม่หยุดเลย นามและรู ปใด เป็ นทุกข์ทนยากเล่า นามและรู ปนั้นเป็ นอนัตตา ใช่ตวั ใช่ตน ตัวตนนั้นไม่มีจริ ง เป็ น แต่นามและรู ปนั้นเอง ก็นามและรู ปนั้นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ตวั ตนของเรา ฯ ๏ เมื่อผูม้ าบาเพ็ญเพียรมาปรารภวิปัสสนาอยูด่ ว้ ยดีดงั นี้ ธรรม ๑๐ อย่าง เกิดขึ้น คือ โอภาส แสงสว่างเกิดแต่วิปัสสนาจิตต์ สร้านออกจาสรี ราพยพ ๑ คือ ปี ติ แผ่สร้านไปทัว่ สรี รกาย ทากายและจิตต์ให้อิ่ม เกิดขึ้นด้วยวิปัสสนาจิตต์ ๑ คือ วิปัสสนาญาณ อันแก่กล้านัก เห็นนามและรู ปแจ้งชัดด้วยดีเกิดขึ้น ๑ คือปัสสัทธิ ความสงบกายและสงบจิตต์ รางับกระวนกระวายเสี ยได้ดว้ ยดี เกิดขึ้นด้วย วิปัสสนาจิตต์ ๑ คือ สุ ข เป็ นไปในกายและเป็ นไปในจิตต์อนั ประณี ตนัก เกิดขึ้นด้วย วิปัสสนาจิตต์ ๑ คือ อธิโมกข์ ความเชื่อมัน่ มีกาลังกล้า เป็ นที่ผอ่ งใสของจิตต์และ เจตสิ กยิง่ นัก เกิดขึ้นกับด้วยวิปัสสนาจิตต์ ๑ คือ ปัคคหะ ความเพียรไม่ยงิ่ หย่อน ประคองจิตต์ไว้ดว้ ยดีในอารมณ์ ทาจิตต์ให้เป็ นไปเสมออยูไ่ ด้ เกิดขึ้นกับด้วยวิปัสสนา จิตต์ ๑ คือ อุปฐาน สติต้งั ในรักษาอารมณ์ไว้ ทาให้ปรากฏชัดด้วยดี ดังปรโลกปรากฏ แก่ผมู้ ีทิพยจักษุฉะนั้น เกิดขึ้นกับด้วยวิปัสสนาจิตต์ ๑ คือ อุเบกขา ความเป็ นธรรม มัธยัสถ์ในสังขารทั้งสิ้น มีกาลังนัก เกิดขึ้นด้วยวิปัสสนาจิตต์ ๑ คือ นิกนั ติ ความรัก ใคร่ มีอาการสุขมุ ละเอียด ทาความอาลัยในวิปัสสนากล้านัก เกิดขึ้น ๑ บรรจบเป็ น ธรรม ๑๐ อย่าง ก็ธรรม ๑๐ อย่างนั้น ว่าเป็ นอุปกิเลสเครื่ องเศร้าหมองของวิปัสสนา เพราะเกิดขึ้นแล้ว ทาผูเ้ จริ ญวิปัสสนานั้นให้พิศวงหลงไปว่า มรรคผลเกิดขึ้นแก่เรา เรา ได้สาเร็จมรรคผลแล้ว ก็หยุดความเพียรเสี ย ไม่เจริ ญวิปัสสนาต่อไป ก็ให้เกิดตัณหา
๑๐๕
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
มานะทิฏฐิ ว่าของเรา ว่าเรา ว่าตัว ว่าตนขึ้นด้วย เพราะเหตุฉะนี้ ธรรม ๑๐ อย่างนั้น จึง เป็ นอุปกิเลส เครื่ องเศร้าหมองของวิปัสสนา ผูท้ ี่บาเพ็ญเพียรมาปรารภวิปัสสนาอยู่ ด้วยดี เมื่อธรรมที่เป็ นอุปกิเลส ๑๐ อย่าง อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ไม่ยนิ ดี ไม่หลงใน ธรรมที่เป็ นอุปกิเลสเกิดขึ้นนั้น ไม่หยุดความเพียรของตนเสี ย ด้วยเข้าใจชัดว่า ไม่ใช่ ทางมรรคผล ไม่ใช่ทางวิปัสสนา ทางวิปัสสนาอย่างอื่นต่างหากที่เราจะพึงดาเนินไป วิปัสสนาปัญญาของผูบ้ าเพ็ญเพียรมีกาลังแก่กล้านัก มารู้เห็นแจ้งชัดว่า นี้เป็ นทาง มรรคผล นี้ใช่ทางมรรคผลได้ดว้ ยดี นี้ชื่อว่า มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ เป็ นตัว วิปัสสนาที่ ๓ ฯ ๏ ผูบ้ าเพ็ญเพียรวิปัสสนาญาณแก่กล้า ทามัคคญาณทัสสนวิสุทธิให้บริ บูรณ์ ด้วยดีแล้ว วินิจฉัยได้ชดั ว่า นี้เป็ นตัวอริ ยมรรคนี้เป็ นอุปกิเลส ใช่อริ ยมรรคฉะนี้แล้ว ควรเจริ ญวิปัสสนาญาณทั้ง ๙ ประการ อันบริ สุทธิ์พ้นจากอุปกิเลสแล้ว เพื่อจะให้ได้ อริ ยมรรคเบื้องบนต่อไป ฯ ๏ วิปัสสนาญาณ ๙ นั้น คือ อุทยัพพยญาณ ที่ ๑ ภังคญาณ ที่ ๒ ภยตูปัฏฐาน ญาณ ที่ ๓ อาทีนวญาณ ที่ ๔ นิพพิทาญาณ ที่คารบ ๕ มุญจิตุกมั ยตาญาณ ที่ ๖ ปฏิสงั ขาญาณ ที่ ๗ สังขารุ เบกขาญาณ ที่ ๘ สัจจานุโลกมิกญาณ ที่ ๙ ฯ ๏ ในญาณทั้ง ๙ นั้น ปัญญาอันหยัง่ รู้ความเกิดขึ้นด้วย ความดับสิ้นไปด้วย ของนามและรู ปนั้น ชื่อว่า อุทยัพพยญาณ นี้วา่ โดยสังเขป ว่าโดยพิสดาร ให้ผบู้ าเพ็ญ เพียรพึงพิจารณานิพพัตติลกั ษณะ คือความเกิดขึ้น ๕ และปริณามลักษณะ คือความดับ สิ้นไป ๕ ของขันธ์ท้งั ๕ โดยนัยนี้ ขันธ์ ๑ ได้ลกั ษณะ ๑๐ ทั้งเกิดขึ้นทั้งดับ ๕ ขันธ์ ด้วยกัน บรรจบเป็ นลักษณะทั้งเกิดขึ้นทั้งดับ ๕๐ ถ้วน ในรู ปขันธ์น้ นั ให้ผบู้ าเพ็ญเพียร
๑๐๖
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
พึงพิจารณา นิพพัตติลกั ษณะ คือความเกิดขึ้น ๕ อย่าง คือรู ปเกิดขึ้นก็เพราะอวิชชา ความไม่รู้แจ้งเกิดขึ้น ๑ คือรู ปเกิดขึ้นก็เพราะตัณหา ความอยากเป็ นเหตุสะดุง้ ดิ้นรน เกิดขึ้น ๑ คือรู ปเกิดขึ้นก็เพราะกรรมคือกุศลและอกุศลเกิดขึ้น ๑ คือรู ปเกิดขึ้นก็เพราะ อาหารเป็ นผูอ้ ุปถัมภ์เกิดขึ้น ๑ คือความเกิดของรู ปอย่างเดียว ไม่อาศัยเหตุปัจจัย ๑ บรรจบเป็ นนิพพัตติลกั ษณะ คือความเกิดขึ้นของรู ปขันธ์ ๕ อย่างนี้ พึงเห็นปริ ณาม ลักษณะในรู ปขันธ์น้ นั ๕ อย่าง คือรู ปดับสิ้นไปก็เพราะอวิชชาดับสิ้นไป ๑ คือรู ปดับ สิ้นไปก็เพราะตัณหาดับสิ้นไป ๑ คือรู ปดับสิ้นไปก็เพราะกรรมดับสิ้นไป ๑ คือรู ปดับ สิ้นไปก็เพราะอาหารดับสิ้นไป ๑ คือความดับสิ้นไปของรู ปอย่างเดียวไม่มีเหตุปัจจัย ๑ บรรจบเป็ นปริ ณามลักษณะ ๕ อย่างดังนี้ ให้ผบู้ าเพ็ญเพียรพึงพิจารณานิพพัตติ ลักษณะ ๕ ปริ ณามลักษณะ ๕ เป็ น ๑๐ ด้วยกันของรู ปขันธ์ ด้วยประการดังนี้ พึง พิจารณานิพพัตติลกั ษณะ ๕ และปริ ณามลักษณะ ๕ ของเวทนาขันธ์และสัญญาขันธ์ และสังขารขันธ์และวิญญาณขันธ์ดว้ ย ให้เหมือนกับพิจารณาในรู ปขันธ์ฉะนั้น ต่างกัน แต่ในเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ในที่อาหาร ให้เปลี่ยนเอาผัสสะใส่เข้าแทนที่ ดังนี้วา่ เวทนาเกิดขึ้นก็เพราะเกิดขึ้นของผัสสะ เวทนาดับสิ้นไปก็เพราะดับสิ้นไปของ ผัสสะ สัญญาเกิดขึ้นก็เพราะเกิดขึ้นของผัสสะ สัญญาดับสิ้ นไปก็เพราะดับสิ้นไปของ ผัสสะ สังขารเกิดขึ้นก็เพราะเกิดขึ้นของผัสสะ สังขารดับสิ้นไปก็เพราะดับสิ้นไปของ ผัสสะ ฝ่ ายวิญญาณในที่อาหาร ให้เปลี่ยนเอานามรู ปใส่เข้าแทนดังนี้วา่ วิญญาณ เกิดขึ้นก็เพราะเกิดของนามและรู ป วิญญาณดับสิ้นไปก็เพราะดับสิ้นไปของนามและ รู ป นิพพัตติลกั ษณะและปริ ณามลักษณะของเวทนา และสัญญาและสังขารและ วิญญาณแปลกแตกต่างกัน ไม่เหมือนกับด้วยลักษณะของรู ปแต่เท่านี้ ปัญญาอันหยัง่ รู้ นิพพัตติลกั ษณะและปริ ณามลักษณะ คือเกิดขึ้นและดับสิ้นไปของขันธ์ท้งั ๕ ดังว่ามา นี้ชื่อว่า อุทยัพพยญาณ อุทยัพพยญาณนี้ให้ผบู้ าเพ็ญเพียรเจริ ญ เพื่อจะเห็นแจ้งชัดว่า สังขารและนามรู ปเป็ นของไม่เที่ยงจริ ง ฯ
๑๐๗
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
๏ ในภังคญาณที่ ๒ นั้น ปัญญาอันปล่อยวางความเกิดขึ้นเสี ยไม่พิจารณา มา พิจารณาแต่ความแตกดับไปของสังขารอย่างเดียว ไม่พิจารณาเหตุคือความเกิดขึ้น มา พิจารณาแต่ผล คือความแตกดับไปของสังขารอย่างเดียวเป็ นอารมณ์ดงั นี้วา่ สังขาร ทั้งสิ้นย่อมแตกดับไป ความที่ไม่แตกดับไปของสังขารเหล่านั้นไม่มีเลย ดังฟองน้ า ก้อนใหญ่มีอนั แตกดับไปเป็ นธรรมดาฉะนั้น ก็จิตต์ใดมีรูปเป็ นอารมณ์ เกิดขึ้นแล้ว แตกดับไป ผูบ้ าเพ็ญเพียรมาพิจารณาเห็นความแตกดับไปของจิตต์น้ นั เป็ นอารมณ์ อนึ่ง จิตต์ใด ๆ มีเวทนาเป็ นอารมณ์กด็ ี มีสญ ั ญาเป็ นอารมณ์กด็ ี มีสงั ขารเป็ นอารมณ์กด็ ี มีวิญญาณเป็ นอารมณ์กด็ ี เกิดขึ้นแล้วแตกดับไป ก็พิจารณาเห็นความแตกดับไปของ จิตต์น้ นั ๆ เป็ นอารมณ์อยูอ่ ย่างเดียว อันนี้เป็ นกิจของภังคญาณ ฯ ๏ ในภยตูปัฏฐานญาณที่ ๓ นั้น ปัญญาของผูบ้ าเพ็ญเพียรอันหยัง่ รู้ความ แตกดับไปของสังขารแก่กล้า จนสังขารเหล่านั้นปรากฏเป็ นภัยใหญ่น่ากลัว ดังเห็น สัตว์ร้ายและเห็นเรื อนอันไฟไหม้ อันนี้ชื่อว่า ภยตูปัฏฐานญาณ ๏ ในอาทีนวญาณที่ ๔ นั้น ผูบ้ าเพ็ญเพียรมาส้องเสพ ภยตูปัฏฐานญาณ เห็น สังขารเป็ นภัยใหญ่น่ากลัวปรากฏชัดอยู่ จึงเห็นโทษในสังขารเหล่านั้นยิง่ นัก ไม่มี ความอภิรมย์ยนิ ดีในสังขารเหล่านั้นเลย ราวกับบุรุษผูร้ ักชีวิต รู้วา่ โภชนะเจือด้วยยา พิษแล้วกลัว เห็นโทษ ไม่ยนิ ดีเพื่อจะบริ โภคเลย รู้วา่ แม่น้ าประกอบไปด้วยจระเข้ร้าย มีภยั ใหญ่กลัวเห็นโทษ ไม่ยนิ ดีเพื่อจะลงอาบเลยฉะนั้น ปัญญาที่เห็นโทษของสังขาร เหล่านั้นแก่กล้า จนไม่มีความอภิรมย์ยนิ ดีในสังขารเหล่านั้น ดังว่ามานี้ชื่อว่า อาทีนว ญาณ ฯ ๏ ในมุญจิตุกมั ยตาญาณที่คารบ ๖ ว่า จิตต์ของผูบ้ าเพ็ญเพียรนั้น ไม่พวั พัน ข้องอยูแ่ ม้ในสังขารอันใดอันหนึ่ง อยากจะใคร่ พน้ ปลดเปลื้องออกจากสังขารเหล่านั้น ด้วยความเหนื่อยหน่ายในสังขารเหล่านั้นแก่กล้ายิง่ นัก ประหนึ่งมัจฉาชาติอยูภ่ ายใน
๑๐๘
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
แห อยากจะใคร่ พน้ จากแห อยูใ่ นปากอสรพิษ อยากจะใคร่ พน้ จากปากอสรพิษฉะนั้น ปัญญาของผูบ้ าเพ็ญเพียรเห็นโทษของสังขารเหล่านั้น จนเกิดนิพพิทาความเหนื่อย หน่ายยิง่ นัก อยากจะใคร่ พน้ จะใคร่ ปลดเปลื้องออกจากสังขารเหล่านั้น ดังว่ามานี้ ชื่อ ว่า มุญจิตุกมั ยตาญาณ ฯ ๏ ในปฏิสังขาญาณที่ ๗ นั้น ผูบ้ าเพ็ญเพียรทามุญจิตุกมั ยตาญาณให้บริ บูรณ์ แล้ว ปรารถนาจะใคร่ พน้ จากสังขารเหล่านั้น ยกสังขารเหล่านั้นขึ้นยังไตรลักษณ์ กาหนดพิจารณาอ้วยปฏิสงั ขานุปัสสนาญาณ เพื่อจะทาอุบายของความปลดเปลื้องพ้น จากสังขารให้บริ บูรณ์ข้ นึ จึงมาพิจารณาเห็นว่า สังขารทั้งสิ้นเหล่านั้น เป็ นของไม่เที่ยง จริ ง เพราะเกิดขึ้นแล้วดับไป มีข้ ึนแล้วแปรปรวนแตกทาลายหายไป อนึ่ง เพราะเป็ น สังขารตั้งอยูไ่ ม่นาน ประกอบกาลเพียงเท่านั้น ๆ แล้วดับไป ดังของยืมเขามาฉะนั้น อนึ่ง มาเห็นว่าสังขารเหล่านั้น เป็ นทุกข์อนั สัตว์ทนยากจริ ง เพราะเป็ นสังขาร อันความ เกิดขึ้นแล้วแปรปรวนดับไป เบียดเบียนบีบคั้นอยูเ่ ป็ นนิตย์ จึงเป็ นทุกข์ทนยากจริ ง เพราะเป็ นสังขารเร่ าร้อนอยูด่ ว้ ยเพลิงกิเลส คือราคะ, โทสะ, โมหะ และเพลิงทุกข์มี ชาติ ชรา มรณะเป็ นต้น อนึ่ง เป็ นทุกข์ทนยากจริ ง เพราะเป็ นที่อาศัยของโรคาพาธต่าง ๆ มีโรคในจักษุเป็ นต้น อนึ่ง มาเห็นว่าสังขารเหล่านั้น เป็ นอนัตตาไม่ใช่ตวั ตน เป็ น ธรรมศูนย์จากตัวจากตน จากสัตว์ จากบุคคล ไม่มีผใู้ ดผูห้ นึ่งเป็ นเจ้าของปกครอง ป้ องกันรักษา ไม่เป็ นไปในอานาจของผูใ้ ดผูห้ นึ่ง ย่อมเป็ นไปตามวิสยั ของตน คือ เกิดขึ้นแล้วแปรปรวนแตกทาลายดับไป ด้วยชรา พยาธิ มรณะโดยธรรมดา เมื่อผู้ บาเพ็ญเพียรมาพิจารณาเห็นสังขารเหล่านั้นทั้งสิ้น ด้วยลักษณะ ๓ อยูอ่ ย่างนี้ เพื่อจะให้ สาเร็จอุบายที่จะปลดเปลื้องออกเสี ยจากสังขารเหล่านั้น เปรี ยบเหมือนบุรุษผูห้ นึ่งคิด จะจับมัจฉาชาติ ถือเอาสุ่มไปสุ่มในน้ า หย่อนมือลงไปตามปากสุ่ม จับอสรพิษเข้าใน คอในภายในน้ าแล้วมีจิตต์ยนิ ดีวา่ จับมัจฉาชาติได้ ยกขึ้นแลดูเห็นแสกในศีรษะมีอยู่ รู้ ว่าอสรพิษแล้วสะดุง้ กลัว เห็นโทษเหนื่อยหน่ายนัก ในความจับความยึดไว้น้ นั
๑๐๙
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ปรารถนาจะใคร่ ปล่อยวางอสรพิษนั้นเสี ย จึงจับหางอสรพิษคลายขนดออกจาแขน แล้ว ยกขึ้นแกว่งบนศีรษะหลายรอบ ทาให้อสรพิษนั้นทุพพลภาพถอยกาลังไม่อาจกัด ได้ สลัดทิ้งปล่อยไปจากมือแล้วก็รีบเร็วขึ้นมาอยูบ่ นฝั่ง แลดูทางที่อสรพิษจะมา ไม่ เห็นแล้วดีใจว่าพ้นแล้วจากภัยใหญ่คืออสรพิษ คาอุปไมยว่าผูบ้ าเพ็ญเพียร ได้อตั ตภาพ คือเบญจขันธ์น้ ี ก็ยนิ ดีถือมัน่ ว่าเราว่าของเรา ดังบุรุษจับอสรพิษได้ในน้ าสาคัญว่า มัจฉาชาติ ดีใจ จับไว้มนั่ ฉะนั้น เมื่อผูบ้ าเพ็ญเพียรเห็นอัตตภาพคือเบญจขันธ์น้ ีวา่ ไม่ เที่ยง เป็ นทุกข์เป็ นอนัตตาแล้ว มีความสะดุง้ กลัวแต่เบญจขันธ์น้ นั ด้วยภยตูปัฏฐาน ญาณ ดังบุรุษยกมือขึ้นจากช่องสุ่ม เห็นแสกศีรษะของอสรพิษแล้วสะดุง้ กลัวฉะนั้น เมื่อผูบ้ าเพ็ญเพียรเห็นโทษของเบญจขันธ์น้ ีดว้ ย อาทีนวญาณแล้ว เหนื่อยหน่ายใน เบญจขันธ์น้ ีดว้ ยนิพพิทาญาณนั้น ดังบุรุษเห็นแสกศีรษะรู้วา่ อสรพิษ แล้วมีความสะดุง้ กลัวเห็นโทษ เหนื่อยหน่ายในความจับยึดไว้ฉะนั้น เมื่อผูบ้ าเพ็ญเพียรมาพิจารณา เบญจขันธ์น้ ีดว้ ยลักษณะทั้ง ๓ ซ้ าอีกเล่า เพื่อจะให้สาเร็จอุบายที่จะปล่อยให้พน้ จาก เบญจขันธ์น้ ี ด้วยปฏิสงั ขาญาณนั้น ดังบุรุษแสวงหาอุบายที่จะละปล่อยอสรพิษให้พน้ จากตนฉะนั้น แท้จริ งขณะเมื่อบุรุษคลายขนดออกจากแขนแล้วแกว่งอสรพิษบนศีรษะ ให้คลายรอบแล้ว ทาให้ทุพพลภาพไม่อาจกัดได้ แล้วก็สละปล่อยไปให้พน้ ด้วยดีฉนั ใด ผูบ้ าเพ็ญเพียรพิจารณาเบญจขันธ์น้ ี ด้วยลักษณะทั้ง ๓ ทาให้ทุพพลภาพไม่อาจเข้า ตั้งปรากฏอยู่ ด้วยเป็ นของเที่ยง เป็ นสุข เป็ นตัวเป็ นตน เป็ นของงามได้แล้ว ก็มีอุบาย ปล่อยวางเบญจขันธ์น้ ีเสี ยด้วยดีฉะนั้น ปัญญาของผูบ้ าเพ็ญเพียรอันแสวงหาอุบายพื่ อจะปลดเปลื้องออกเสี ยจากสังขารดังพรรณามานี้ ชื่อว่า ปฏิสงั ขาญาณ ฯ ๏ ในอุเบกขาญาณที่ ๘ นั้น ผูบ้ าเพ็ญเพียรกาหนดพิจารณาสังขารทั้งสิ้น ว่า เป็ นของศูนย์จากตัวจากตน ศูนย์จากสัตว์จากบุคคล ศูนย์จากสาระคือความเป็ นของ เที่ยง เป็ นสุขเป็ นตัวเป็ นตน เป็ นของงาม สาระเหล่านี้ไม่มีในสังขารทั้งสิ้น ดังฟองน้ า และพยับแดดและมายา หาแก่นสารมิได้ฉะนั้น เมื่อผูบ้ าเพ็ญเพียรมากาหนดสังขาร
๑๑๐
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ทั้งสิ้น เห็นว่าเป็ นของศูนย์เปล่าเสี ยหมด ด้วยปฏิสงั ขานุปัสสนาญาณฉะนี้แล้ว จึง กาหนดสังขารเป็ นของศูนย์มีเงื่อน ๒ อีกว่า สังขารเหล่านี้เป็ นของศูนย์จากตัวเป็ น เงื่อน ๑ เป็ นของศูนย์จากของ ๆ ตัวเป็ นเงื่อน ๑ กาหนดเห็นสังขารเป็ นของศูนย์มีเงื่อน ๒ ฉะนี้ แล้วมากาหนดสังขารเป็ นของศูนย์มีเงื่อน ๔ อีก ว่าตัวก็ไม่มี ของ ๆ ตัวก็ไม่มี ผูอ้ ื่นก็ไม่มี ของ ๆ ผูอ้ ื่นก็ไม่มี มีแต่สงั ขารอย่างเดียวเท่านั้นทัว่ ไปหมด มากาหนด สังขารเป็ นของศูนย์มีเงื่อน ๔ ฉะนี้แล้ว จึงมากาหนดสังขารทั้งสิ้น โดยลักษณะ ๓ ซ้ า อีก จิตต์ของผูบ้ าเพ็ญนั้นก็สิ้นกลัว สิ้นสะดุง้ สิ้นรัก สิ้นใคร่ เป็ นอุเบกขามัธยัสถ์อยูใ่ น สังขารเหล่านี้ ไม่ถือว่าเราว่าเขา ว่าตัว ว่าของตัว ประหนึ่งบุรุษมีภรรยาหย่าขาดกัน แล้ว ไปพบกันอีกก็มธั ยัสถ์เฉยอยู่ ด้วยสาคัญว่าไม่ใช่ของตัวฉะนั้น ปัญญาของผู้ บาเพ็ญเพียรมาพิจารณาเห็นสังขารว่าเป็ นของศูนย์ ทาจิตต์มธั ยัสถ์อยูใ่ นสังขารไม่ขอ้ ง พัวพันอยูใ่ นอารมณ์อนั ใดอันหนึ่ง ในที่ใดที่หนึ่ งดังพรรณนามาฉะนี้ ชื่อว่าสังขา รุ เบกขาญาณ สังขารุ เบกขาญาณนี้ กับมุญจิตุกมั ยตาญาณ และปฏิสงั ขาญาณทั้ง ๓ ว่า โดยอรรถเป็ นอันเดียวกัน แต่พยัญชนะต่างกัน ก็สงั ขารุ เบกขาญาณนี้ ถึงซึ่งความเป็ น ยอดแห่งวิปัสสนาญาณทั้งสิ้น ฯ ๏ ในอนุโลมญาณที่ ๙ นั้น ผูบ้ าเพ็ญเพียรมาส้องเสพเจริ ญสังขารุ เบกขาญาณ นั้นอยู่ จึงเกิดศรัทธา และวิริยะ และสติ และสมาธิ และสังขารุ เบกขาแก่กล้าด้วยดี ขณะที่จะพึงกล่าวว่าอริ ยมรรคเกิดขึ้นบัดนี้ ในขณะนั้น สังขารุ เบกขาวิปัสสนาเกิดขึ้น พิจารณาสังขารโดยลักษณะทั้ง ๓ อันใดอันหนึ่งเป็ นอารมณ์แล้วตกลงยังภวังค์ ใน ลาดับของภวังค์น้ นั มโนทวาราวัชชนะเกิดขึ้น ทาลักษณะทั้ง ๓ อันใดอันหนึ่ง เป็ น อารมณ์อย่างนั้นแล้วตกลงยังภวังค์ ในลาดับภวังค์น้ นั ชวนจิตต์ที่ ๑ ทาลักษณะทั้ง ๓ อันใดอันหนึ่งเป็ นอารมณ์อย่างนั้นเกิดขึ้น ชื่อ ปริ กรรม ในลาดับของปริ กรรมนั้น ชวน จิตต์ที่ ๒ ทาลักษณะทั้ง ๓ อันใดอันหนึ่งเป็ นอารมณ์อย่างนั้นเกิดขึ้น ชื่ออุปจาร ใน ลาดับของอุปจารนั้น ชวยจิตต์ที่ ๓ ทาลักษณะทั้ง ๓ อันใดอันหนึ่งเป็ นอารมณ์อย่าง
๑๑๑
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
นั้นเกิดขึ้น ชื่ออนุโลม ก็อนุโลมชวนะ นี้คืออนุโลมญาณนั้นเอง เพราะญาณนี้อนุโลม ตามวิปัสสนาญาณทั้ง ๘ เบื้องต้น ด้วยกิจจะต้องทาอย่างนั้นเหมือนกัน อนุโลมตาม โพธิปักขิยธรรม ๓๗ เบื้องขน ด้วยจะต้องถึงด้วยทางปฏิบตั ิอนั นั้น เพราะเหตุน้ นั อนุโลมญาณนี้ ท่านจึงกล่าวว่า สัจจานุโลมิกญาณ ก็วิปัสสนาญาณทั้ง ๙ มีอุททัพพย ญาณเป็ นต้น มีอนุโลมญาณเป็ นที่สุด ชื่อว่า ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ เป็ นตัว วิปัสสนาที่ ๔ ฯ ๏ ในลาดับของอนุโลมญาณนั้น โคตรภูจิตต์เหนี่ยวเอาพระนิพพานเป็ น อารมณ์ ก้าวล่วงโคตร์บุถุชน หยัง่ ลงยังโคตร์พระอริ ยเจ้าอยูเ่ กิดขึ้น โคตรภูญาณนั้นไม่ นับเข้าในปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ไม่นบั เข้าในญาณทัสสนวิสุทธิ เพราะตั้งอยูใ่ นที่ เป็ นอาวัชชนะของมรรคญาณ ตั้งอยูใ่ นระหว่างกลาง ควรนับว่าเป็ นวิปัสสนาได้ เพราะตกลงในกระแสของวิปัสสนา ก็วิปัสสนาญาณที่พิจารณาสังขารโดยลักษณะ ๓ จาเดิมแต่เบื้องต้นจนถึงโคตรภูญาณเท่านี้ เป็ นส่วนภาวนามัยกามาพจรกุศล ฝ่ ายโล กุตรกุศล คือมรรคจิตต์เกิดขึ้นในลาดับของโคตรภูจิตต์น้ นั ก็มรรคจิตต์น้ ี เมื่อเกิดขึ้น เหนี่ยวเอาพระนิพพานเป็ นอารมณ์ กาหนดทุกข์ละสมุทยั ทานิโรธให้แจ้ง เจริ ญมรรค ให้เกิดขึ้น ทากิจในสัจจะทั้ง ๔ อยูเ่ กิดขึ้น ทาลายกองกิเลส คือโลภะ, โทสะ, โมหะ และสังโยชน์ ๓ คือ สักกายทิฏฐิ, วิจิกิจจฉา, สี ลพั พตปรามาส ขาดเป็ นสมุจเฉทปหาน ตามกาลังของตน เกิดขึ้นขณะจิตต์เดียวก็ดบั ไป ผลจิตต์หน่วงเอาพระนิพพานเป็ น อารมณ์เกิดขึ้นในลาดับของมรรคจิตต์น้ นั ก็ผลจิตต์น้ นั เกิดขึ้น ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะ บ้าง แล้วตกลงยังภวังค์ ในมรรคชวนวิถี กาหนดชวนจิตต์แล่นได้ ๗ ขณะเท่านั้น พึงรู้ ดังนี้ ถ้ากุลบุตรผูม้ ีปรี ชาเป็ นทันธาภิญญาตรัสรู้ชา้ ไซร้ ชวนจิตต์ทีแรกชื่อปริ กรรม ชวนจิตต์ที่ ๒ ชื่อ อุปจาร ชวนจิตต์ที่ ๓ ชื่ออนุโลม ชวนจิตต์ที่ ๔ ชื่อโคตรภู ชวนจิตต์ ที่ ๕ เป็ นตัวมรรค ชวนจิตต์ที่ ๖ ที่ ๗ สองตัวนี้เป็ นตัวผล ถ้ากุลบุตรผูม้ ีปรี ชาเป็ นขิป ปาภิญญา ตรัสรู้เร็วพลันไซร้ ชวนจิตต์ทีแรกชื่ออุปจาร ชวนจิตต์ที่ ๒ ชื่ออนุโลม ชวน
๑๑๒
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
จิตต์ที่ ๓ ชื่อโคตรภู ชวนจิตต์ที่ ๔ เป็ นตัวมรรค ชวนจิตต์ที่ ๕ ที่ ๖ ที่ ๗ สามตัวนี้เป็ น ตัวผล อาศัยเหตุอนั นี้ ท่านจึงกล่าวไว้วา่ ผลจิตต์เกิดขึ้นในลาดับของมรรคจิตต์ ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง แล้วตกลงยังภวังค์ดงั นี้ เบื้องหน้าแต่ภวังคจิตต์น้ นั มีมโนทวาร วัชชนจิตต์ ตัดกระแสภวังค์เกิดขึ้น ก็ในลาดับของมโนทวาราวัชชนจิตต์ ปัจจเวกขณ ญาณเกิดขึ้น พิจารณามรรคผลและกิเลสที่ละแล้วและกิเลสที่เหลืออยูแ่ ละนิพพาน ปัจจเวกขณญาณทั้ง ๕ ประการนี้ยอ่ มมีแก่พระโสดาบันอริ ยสาวกด้วยประการดังนี้ ถึง พระสกทาคามีอริ ยสาวก และอนาคามีอริ ยสาวก ก็มีปัจจเวกขณญาณ ๕ เหมือนกันกับ พระโสดาบันนั้น แต่พระอรหันต์ปัจจเวกขณญาณพิจารณากิเลสที่เหลืออยูไ่ ม่มี เพราะ ท่านมีกิเลสละเสี ยสิ้นแล้ว พระโสดาบันอริ ยสาวกย่อมทาสังสารทุกข์ให้สิ้นไป ปิ ด ประตูอบายทั้ง ถ เสี ยได้ ทาซึ่งความเป็ นผูม้ ีหน้าเฉพาะต่ออริ ยทรัพย์ท้งั ๗ ประการ ละ เสี ยได้ซ่ ึงมิจฉามรรคทั้ง ๘ ทาภัยและเวรทั้งสิ้นให้สงบรางับเสี ยได้ดว้ ยดี เข้าถึงซึ่ง ความเป็ นโอรสของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ญาณสัมปยุตต์ดว้ ยอริ ยมรรคทั้ง ๔ มีโสดา ปัตติมรรคเป็ นต้นชื่อว่า ญาณทัสสนวิสุทธิ เป็ นตัววิปัสสนาที่คารบ ๕ เป็ นยอดของ วิปัสสนาทั้งสิ้น ฯ ๏ ก็วิปัสนญาณนี้มีผลอานิสงส์ใหญ่ยงิ่ กว่า ทาน ศีล พรหมวิหาร ภาวนา ย่อมทาผูท้ ี่เจริ ญนั้นให้มีสติมนั่ ไม่หลงทากาลกิริยา มีสุคติภพ คือมนุษย์และโลก สวรรค์เป็ นที่ไปในเบื้องหน้า อนึ่งก็เป็ นอุปนิสสัยมรรคผลนฤพานติดสันดานต่อไปใน ภพหน้าด้วย นี้วา่ โดยยังไม่บรรลุมรรคผลทาให้แจ้งซึ่งพระนฤพาน ถ้าอุปนิสยั มรรค ผลนฤพานมี ก็ยอ่ มทาให้ผนู้ ้ นั บรรลุผล ทาให้แจ้งซึ่งพระนฤพานได้ในชาติน้ ีนนั่ เทียว เหตุน้ นั เราทั้งหลายจงอย่าประมาทเลย อุตส่าห์เจริ ญวิปัสสนาภาวนามัยกุศลนี้เถิด จะ ได้ไม่เสี ยทีที่เกิดเป็ นมนุษย์พบพระพุทธศาสนานี้เทอญ ๏ จบวิธีเจริญวิปัสสนาภาวนาตามบาลีและอรรถกถาเท่ านี้ ๚
๑๑๓
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
“ ทากาย วาจา ใจ ให้บริ สุทธิ์ อยูด่ ว้ ยสติความระมัดระวังปิ ดกัน้ บาป และมาละอกุศล อย่างนี้แหละ เป็นการชอบสมควรแก่เราทัง้ หลาย
”
๑๑๔
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
อุบายแยบคายจากความตาย สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร พึงพิจารณาความตายให้ เกิดธรรมสังเวช โยคาพจรกุลบุตรผูเ้ จริ ญมรณานุสติน้ นั พึงไปยังที่สงัด แล้วกระทาบริ กรรม นึกไปว่า ความตายจะมีแก่เรา เราจักต้องตายดังนี้ หรื อนึกว่าชีวิตของเราขาดไปดังนี้ หรื อนึกว่ามีความตายเป็ นธรรมดาล่วงความตายไปไม่ได้ ดังนี้กไ็ ด้ เมื่อทาบริ กรรมนั้น พึงทาในใจนึกด้วยอุบาย อย่าได้ทาในใจนึกด้วยหาอุบาย มิได้ ซึ่งว่าทาในใจนึกด้วยอุบายนั้น คือให้เป็ นผูม้ ีสติแลปัญญา กาหนดพิจารณาให้ เกิดความสังเวชว่า ความตายนี้จกั มีเป็ นแน่ ชีวติ ที่เลี้ยงร่ างกายจิตใจให้สดใสเป็ นอยูน่ ้ ี จัดขาดไปเป็ นแท้ พึงเป็ นผูม้ ีสติแลปัญญา กาหนดพิจารณาให้เกิดความสังเวช ฉะนี้ อย่าให้บริ กรรมบ่นเพ้อพึมพาไปแต่ปาก ถ้าบริ กรรมแลบ่นเพ้อพึมพาไป ไม่ได้ต้งั สติ พิจารณาด้วยปัญญา ธรรมสังเวชในความตายนั้นก็ไม่เกิดขึ้น ดังนี้ชื่อว่าทาในใจนึก ด้วยหาอุบายมิได้ แท้จริ งเมื่อโยคาพจรบุตรมาทาในใจนึกด้วยหาอุบายมิได้ดงั นี้ ขณะเมื่อระลึก ถึงความตายของคนที่รักใคร่ มีบิดามารดาเป็ นต้น ก็มกั จะโศกเศร้าเสี ยใจ ขณะเมื่อ ระลึกถึงความตายของคนที่ไม่รักไม่ชงั ก็มกั จะเพิกเฉยเสี ย มิได้มีความสังเวชดัง สัปเหร่ อเห็นซากศพ ไม่มีความสังเวชฉะนั้น ขณะเมื่อระลึกถึงความตายของคนที่มีเวร อันเป็ นข้าศึกกัน ก็จะชื่นชมโสมนัส ขณะเมื่อระลึกถึงความตายของตน ก็มกั จะเกิด ความสะดุง้ หวาดเสี ยวตกใจกลัว ดังคนขลาดเห็นนายเพชฌฆาตถือดาบเงื้อดเงื้ออยู่
๑๑๕
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
และมีความสะดุง้ ตกใจกลัว ฉะนั้นความทาในจิตโดยไม่แยบคายด้วยอุบายหามิได้ ย่อมประกอบไปด้วยโทษต่าง ๆ ดังพรรณามาฉะนี้ องค์ ๓ แห่งการพิจารณาโดยแยบ คาย เพราะเหตุน้ นั เมื่อโยคาพจรกุลบุตร ผูเ้ จริ ญมรณานุสติกรรมฐานฉะนี้ พึง ระลึกถึงความตายโดยแยบคายด้วยอุบายที่ชอบทาให้ประกอบพร้อมด้วยองค์สาม คือ สติระลึกถึงความตาย ๑ ญาณรู้ว่าความตายจักมีเป็ นแน่ ตัวจะต้ องตายเป็ นแท้ ๑ เกิด สังเวชสลดใจ ๑ เมื่อระลึกถึงความตายประกอบพร้อมด้วยองค์สามนี้แล้ว ก็จะข่ม นิวรณ์ธรรมทั้งสิ้นเสี ยได้ จิตใจก็จะตั้งมัน่ เป็ นขณิ กสมาธิแลอุปจารสมาธิโดยลาดับ ๆ สาเร็จเป็ นกามาพจรกุศลบุณราศีฯ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ปรากฏชัด โยคาพจรกุลบุตรผูร้ ะลึกถึงความตายเนืองๆ อยูอ่ ย่างนั้น ก็จะเป็ นผูไ้ ม่ ประมาทไม่มวั เมาสิ้นกาลทั้งสิ้น จะไม่ยนิ ดียงิ่ ในภพ ตัดความยินดียงิ่ ในภพทั้งสิ้นเสี ย ได้ จะไม่รักใคร่ ในชีวิตละความรักใคร่ ในชีวิตเสี ยได้ จะเว้นเสี ยซึ่งกรรมที่เป็ นบาป จะ เป็ นผูม้ กั น้อยไม่สะสมเก็บข้าวของไว้มาก จะเป็ นผูไ้ ม่มีมลทินคือตระหนี่ ปราศจาก สันดานมิได้หวงเสี ยดายในเครื่ องบริ ขารทั้งสิ้น จะถึงความคุน้ เคยใน อนิจจสัญญา ความหมายรู้วา่ สังขารคือ รู ปธรรม นามธรรม ร่ างกายจิตใจไม่เที่ยง แลทุกขสัญญา ความหมายรู้วา่ สังขารเป็ นทุกข์ แลอนัตตาสัญญา ความหมายรู้วา่ ธรรมทั้งสิ้น เป็ น อนัตตา ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน ไม่ใช่สตั ว์ ไม่ใช่บุคคล อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นั้น ก็จะไป ตั้งปรากฏอยูแ่ จ้งชัดในสันดาน คุณานิสงส์ของมรณานุสติภาวนา อนึ่ง ความตายมาถึง ก็จะไม่กลัวตาย เป็ นผูม้ ีสติตายมิได้เป็ นคนหลงตาย คน ที่ไม่ได้เจริ ญมรณสติน้ นั เมื่อใกล้จะตายมักจะสะดุง้ ตกใจกลัวตายเป็ นกาลัง ดังคนอัน สัตว์ร้ายครอบงาไว้จะกินเป็ นภักษาหาร มิฉะนั้นดังคนอันอยูใ่ นเงื้อมมือของโจร หรื อ เงื้อมมือของเพชฌฆาต มีความสะดุง้ ตกใจกลัว ฉะนั้น คุณคือเจริ ญมรณสติน้ ีเป็ น
๑๑๖
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ปัจจัยที่จะให้ได้สาเร็จแก่พระนิพพาน ผูท้ ี่เจริ ญมรณสติกรรมฐานนี้ถา้ ยังมิสาเร็จแก่ พระนิพพานในชาติน้ ี เมื่อสิ้นชีพทาลายขันธ์ลง ก็จะมีสุคติภพไปเบื้องหน้า มรณานุ สติภาวนาย่อมประกอบไปด้วยคุณานิสงส์เป็ นอันมากฉะนี้ เพราะฉะนั้นควรที่ผปู้ รี ชา จะพึงมีอุตสาหะเจริ ญมรณานุสติกรรมฐานนี้สิ้นกาลนานเนืองๆ เทอญฯ วินิจฉัยใน มรณานุสติ ยุติแต่เท่านี้ฯ การเจริ ญกายคตาสติกรรมฐาน จะวินิจฉัยใน กายคตาสติ ต่อไปนี้ โยคาพจรกุลบุตรผูเ้ จริ ญกายคตาสติ กรรมฐานนั้น พึงตั้งสติกาหนดพิจารณาซึ่งกายเป็ นที่ประชุมแห่งส่วนน่าเกลียดข้างบน ตั้งแต่พ้ืนเท้าขึ้นมาข้างล่างตั้งแต่ปลายผมลงไป มีหนังหุม้ อยูโ่ ดยรอบ ให้เห็นว่าเต็มไป ด้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆ ถ้าจะนับเป็ นส่วนๆ สามสิ บเอ็ดส่วนคือ เกศา ผมทั้งหลาย ส่วน ๑ โลมา ขนทั้งหลาย ส่วน ๑ นขา เล็บทั้งหลาย ส่วน ๑ ทันตา ฟัน ทั้งหลาย ส่วน ๑ ตโจ หนัง ส่วน ๑ มังสัง เนื้อ ส่วนหนึ่ง นหารู เส้นเอ็น ทั้งหลาย ส่วน ๑ อัฏฐี กระดูกทั้งหลาย ส่วน ๑ อัฏฐิมิญชัง เยือ่ ในกระดูกหรื อขมอง ส่วน ๑ วักกัง ม้าม ส่วน ๑ หทยัง หัวใจ ส่วน ๑ ยกนัง ตับ ส่วน ๑ กิโลมกัง พังผืด ส่วน ๑ ปิ หกัง ไต ส่วน ๑ ปัปผาสัง ปอด ส่วน ๑ อันตัง ไส้ใหญ่ ส่วน ๑ อันตคุณงั ไส้นอ้ ยที่ รัดเหนี่ยวไส้ใหญ่ไว้ ส่วน ๑ อทริ ยงั อาหารใหม่ ส่วน ๑ กรี สงั อาหารเก่า ส่วน ๑ ปิ ต ตัง น้ าดี ส่วน ๑ เสมหัง น้ าเศลษม์ ส่วน ๑ ปุพฏพ น้ าเหลือง ส่วน ๑ โลหิ ตงั น้ าเลือด ส่วน ๑ เสโท น้ าเหงื่อ ส่วน ๑ เมโท น้ ามันข้น ส่วน ๑ อัสสุ น้ าตา ส่วน ๑ วสา น้ ามัน เหลว ส่วน ๑ เขโฬ น้ าลาย ส่วน ๑ สิ งฆานิกา น้ ามูก ส่วน ๑ สลสิ กา น้ าไขข้อ ส่วน ๑ มุตตัง น้ าเยีย่ ว ส่วน ๑ รวมเป็ น ๓๑ ส่วนด้วยกัน
๑๑๗
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ผมนั้นงอกขึ้นตามหนังศีรษะทั้งสิ้น ฯ ขนนั้นงอกขึ้นตามขุมขนเว้นแต่ฝ่ามือ ฝ่ าเท้า ฯ เล็บนั้นงอกขึ้นตามปลายมือปลายเท้า สี ขาวคล้ายเกล็ดปลา ฯ ฟันนั้นงอกขึ้น ตามกระดูกคางข้างบน คางข้างล่าง สาหรับบดเคี้ยวอาหาร ฯ หนังนั้นหุม้ อยูท่ วั่ กาย ฯ เนือ้ นั้นอยูถ่ ดั หนังเข้าไปเป็ นชั้น ๆ ฯ พอกกระดูกไว้ดงั ดินทาฝาสี แดง ๆ เส้ นเอ็นนั้นสี ขาวใหญ่บา้ งเล็กบ้างเกี่ยวประสานผูกพันกระดูกไว้ ดุจเถาวัลย์ผกู พันรัดฟื นไว้มิให้ กระจัดกระจายฉะนั้น ฯ กระดูกนั้น เป็ นร่ างโครงค้ าแข็งอยูใ่ นกายประมาณสามร้อยท่อน มีสีขาวฯ เยือ่ ในกระดูกมีสีขาวเหมือนกะยอดหวายที่บุคคลเผาก่อนแล้วใส่ไว้ในกระบอกไม้ ฉะนั้น เยือ่ ในขมองศีรษะนั้นเป็ นยวงขาวเหมือนนุ่นคลุกกระทิ ฯ ม้ ามนั้นเป็ นก้อนเนื้อ สองก้อนมีข้วั อันเดียวกัน ดังผลมะม่วงสองผลมีข้วั อันเดียวกัน ฉะนั้น มีสีแดงคล้ า ๆ ฯ หัวใจนั้นมีสีแดงสัณฐานเหมือนกระดอกบัวตูมตั้งอยูท่ ่ามกลางอกฯ ตับนั้นเป็ นแผ่น เนื้อสองแผ่นมีสีแดงคล้ า ตั้งอยูร่ ะหว่างอกข้างขวาเคียงเนื้อหัวใจ ถ้าคนมีปัญญามาก ปลายตับนั้นเป็ นแฉกๆ สองแฉกบ้าง สามแฉกบ้างฯ พังผืดนั้นมีสีขาวเหนี่ยวหนังกับ เนื้อติดกันไว้บา้ ง เหนี่ยวเนื้อกับเอ็นติดกันไว้บา้ ง เหนี่ยวกระดูกกับเนื้อติดกันไว้บา้ ง ฯ ไตนั้นเป็ นชิ้นเนื้อสี ดาเหมือนลิ้นโคดา อยูข่ า้ งซ้ายโครงข้างซ้าย ฯ ปอดนั้น เป็ นแผ่นเนื้อใหญ่สีแดงคล้ า ตั้งอยูท่ ่ามกลางอกปกคลุมม้ามแลหัวใจและตับอยูฯ่ ให้ พึงเข้าใจว่าหัวใจอยูท่ ่ามกลางอก ม้ ามอยูข่ า้ งซ้ายหัวใจ ตับอยูข่ า้ งขวาหัวใจ ปอดปก คลุมปิ ดม้ามหัวใจแลตับอยูท่ ้งั หมด ไส้ ใหญ่ อยูใ่ ต้มา้ ม ไส้ น้อยอยูใ่ ต้หวั ใจ ตับไตอยูบ่ น ไส้ฯ ก็ไส้ใหญ่น้ นั ปลายข้างหนึ่งอยูค่ อหอย ปลายข้างหนึ่งอยูท่ วาร ขดอยู่ ๒๑ ขด ทบ ไปทบมาแช่ชุ่มอยูด่ ว้ ยโลหิ ตในท้องดังปลาไหลเผือกอันบุคคลตัดศีรษะแล้ว แลแช่ไว้ ในรางเลือดฉะนั้นฯ ไส้ น้อยนั้นรัดไส้ใหญ่ที่ทบไปทบมาอยูส่ ี ขาวๆ อาหารใหม่น้ นั คือ สิ่ งของที่บริ โภคกลืนลงไปถึงท้องแล้วแลอาเจียนออกมาเสี ยเช่นนั้นฯ อาหารเก่านั้น
๑๑๘
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
คือ ของที่บริ โภคค้างอยูใ่ นท้อง กลายเป็ นคูถ เช่นอุจจาระที่ถ่ายออกมาฉะนั้นฯ น้ าดี นั้นสี เขียวคล้ าๆ ที่เป็ นฝักติดอยูใ่ ต้ตบั ที่ไม่เป็ นฝักซึมซาบอยูท่ วั่ ทั้งกายเว้นไว้แต่ผม ขน เล็บ ฟัน กระดูแลหนังที่เป็ นแผ่นแข็งกระด้างเสี ยฯ น้ าเสลดนั้นสี ขาวคล้ าๆ เป็ น เมือกๆ ขังอยูใ่ นไส้ใหญ่ ปกคลุมอยูข่ า้ งบน กาบังกลิ่นปฏิกลู ไว้มิให้ฟุ้งขึ้นมาได้ ขณะเมื่อบุคคลกินอาหารกลืนลงไป นา้ เสลดนั้นก็แหวกออกเป็ นช่อง ครั้น อาหารจมลงไปแล้วก็กลับปิ ดเข้าดังเก่าฯ นา้ เหลืองนั้นตั้งอยูใ่ นเสรี ระที่มีบาดแผลแล ชอกช้ าเป็ นต้นฯ นา้ เลือดนั้นสองอย่าง เลือดข้ นนั้นมีสีสุกดังน้ าครั่งที่ขน้ ๆ ตั้งอยูท่ อ้ ง ท่วมม้ามหัวใจตับปอดไหลซึมซาบไปทีละน้อยๆ ชุ่มไปในม้าม และเนื้อหัวใจ ตับ ปอดส่วนหนึ่ง เลือดเหลวใสมีสีแดงดังน้ าครั่งจางๆ ซึมซาบอยูท่ วั่ ทั้งกาย เว้นไว้แต่ หนังอันแห้งกระด้าง แลผมขนเล็บฟันกระดูกเสี ยฯ นา้ เหงือ่ นั้นสี ดงั น้ ามันงาอันใส ไหลออกจากขุมผมแลขน ในกาลเมื่อกายร้อนด้วยเพลิงแลแดด หรื อกินเผ็ดแลร้อน หรื อธาตุอนั ใดอันหนึ่งวิการฯ มันข้ นนั้นสี ดงั ขมิ้นติดอยูก่ บั หนังต่อเนื้อฯ นา้ ตานั้นสี ดงั น้ ามันงาอันใส ตั้งอยูใ่ นขุมตาทั้งสอง ย่อมไหลออกมาในกาลเมื่อร้องไห้หรื อหัวเราะหนักเป็ นต้นฯ นา้ มันเหลวนั้นสี ดงั น้ ามันมะพร้าวที่เป็ นไข ตั้งอยูต่ ามฝ่ ามือฝ่ าเท้าหลังมือ หลังเท้า แล ภายในช่องหูแลหน้าผาก แลจะงอยบ่าโดยมาก เมื่อต้องร้อนด้วยเพลิงหรื อแดดเป็ นต้น จึงไหลออกมาฯ นา้ ลายนั้นอยูใ่ นปาก สี ขาวสัณฐานดังฟองน้ าไหลซึมอยูใ่ นกระพุง้ แก้มทั้งสอง ช่องที่เกิดน้ าลายนั้นอยูใ่ ต้ลิ้นฯ นา้ มูกนั้นในขมองศีรษะเป็ นยวงไหลออก ทางนาสิ กเหลวบ้างข้นบ้างฯ น้ าไขข้อนั้นติดอยูต่ ามข้อกระดูกที่ต่อกันทั้งสิ้น นา้ มูตร นั้น เกรอะออกจากอาหารใหม่แลอาหารเก่า ขังอยูใ่ นกระเพาะที่อยูข่ องปัสสาวะ พิจารณากายของตนให้เห็นเป็ นปฏิกลู
๑๑๙
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
กายซึ่งแยกออกเป็ นอาการ ๓๑ ส่วนนี้ ตามพระบาลีพระพุทธเจ้าตรัสเทศนา แต่ในคัมภีร์อรรถกถา ท่านแยกเยือ่ ในขมองศีรษะออกส่วนหนึ่งต่างหากเรี ยกว่า มัตถ เก มัตถลุงคัง จึงเป็ นอาการ ๓๒ อาการ ๓๒ นี้ ย่อมปรากฏแก่ชาวโลกโดยมาก ชาวโลกย่อมร้องเรี ยกว่าอาการ ๓๒ ดังนี้ อาการ ๓๑ ตามในพระบาลี อาการ ๓๒ ตาม ในพระอรรถกถานี้ให้โยคาพจรบุตรผูเ้ จริ ญกายคตาสติ พึงพิจารณาให้เห็นเป็ นปฏิกลู โดยสี แลสัณฐานแลกลิ่นแลที่เกิดโดยอนุโลมปฏิโลม ถอยหน้าถอยหลังกลับไป กลับมา ให้เห็นเป็ นของปฏิกลู ลงจนได้ ถ้าไม่เห็นเป็ นของปฏิกลู ลงได้ ยังกาหนัดรัก ใคร่ ยนิ ดีอยูใ่ นกายไซร้ ก็พึงถามไล่ไปในใจว่า สิ่ งไหนที่เป็ นของดีของงามในกายนี้จึง มากาหนดรักใคร่ ยนิ ดีเอาเป็ นนักหนา กายนี้เป็ นของปฏิกลู พึงเกลียดทั้งสิ้นไม่ใช่หรื อ แล้วก็ให้พึงกาหนดไล่ไปในใจอีกว่า นัน่ ก็ผม นัน่ ก็ขน นัน่ ก็เล็บ นัน่ ก็ฟัน นัน่ ก็หนัง จนถึงมูตรเป็ นที่สุด แล้วจึงกลับถามไปในใจอีกว่าส่วนไหนเล่าที่เป็ นไป ของดี ของงาม ถ้าไล่ไปในใจดังพรรณนามาฉะนี้ ก็จะเห็นลงว่าเป็ นของปฏิกลู พึง เกลียดได้ ถ้าไม่เห็นเป็ นของปฏิกลู ไซร้ ส่วนไหนที่ปรากฏเป็ นของปฏิกลู ชัด คือ มูตร คูถหรื อปุพโลหิ ต เสมหะเหงื่อไคล ก็พึงนึกแต่ส่วนนั้นร่ าไปจนปฏิกลู ผุดขึ้น ครั้นเห็น ส่วนใดส่วนหนึ่งเป็ นปฏิกลู แล้ว ส่วนอื่นๆ ก็จะเห็นเป็ นปฏิกลู ไปเหมือนกัน ดังต้นผักต้นหญ้าที่งอกขึ้นขบคูถ คนทั้งหลายย่อมเกลียดฉันใด ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง ก็อาศัยมูตรคูถปุพโพโลหิ ตชุ่มอยู่ เป็ นของปฏิกลู พึงเกลียดฉันนั้น อนึ่ง ข้าวของผ้านุ่งผ้าห่มเป็ นต้นซึ่งเป็ นของบริ สุทธิ์สะอาดดี ถ้าเปื้ อนมูตร คูถน้ าเลือดน้ าหนองแล้ว คนผูท้ ี่สะอาดทั้งหลายก็เกลียดแลกล่าวติเตียนว่า ผูน้ ้ ีปฏิกลู นัก เปื้ อนมูตรคูถน้ าเลือด น้ าหนองไม่อยากจะจับต้องแลนุ่งห่มฉันใด ผม ขน เล็บ ฟัน หนังนี้ ถึงบุคคลจะสาคัญว่าดีวา่ งาม ก็ติดเปื้ อนอยูด่ ว้ ยมูตรคูถ น้ าเหลือง น้ าหนอง เครื่ องปฏิกลู ก็ชื่อว่าเป็ นของปฏิกลู ไม่ควรกาหนัดยินดีฉนั นั้น อนึ่ง หม้อข้างในใส่
๑๒๐
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
มูตรคูถแลน้ าเลือดน้ าหนองแลของเน่าต่างๆ ข้างนอกแม้จะวาดเขียนตกแต่งให้งดงาม สักเท่าใดๆ ก็ไม่พน้ ปฏิกลู เพราะมูตรคูถแลน้ าเลือดน้ าหนองแลของเน่าเหล่านั้น ซึม ออกมาพาให้เห็นเป็ นปฏิกลู ฉันใด กายนี้เล่าถึงจะขัดสี ตกแต่งประดับประดาให้วิจิตร งดงามอย่างไร ก็เหมือนกับหม้อที่วิจิตรงดงามข้างนอก ข้างในเต็มไปด้วยของไม่ สะอาดมีมูตรคูถเป็ นต้น อานิสงส์แห่งการเจริ ญกายคตาสติกรรมฐาน ฉะนั้น เมื่อพิจารณากายของตนเห็นเป็ นปฏิกลู แล้ว ก็พึงพิจารณากายของ ผูอ้ ื่นให้เห็นเป็ นปฏิกลู เหมือนกัน แล้วรวมกายตนกายผูอ้ ื่นเป็ นอันเดียวกัน เพ่ง พิจารณานึกไปโดยนัยดังกล่าวมานี้ เมื่อโยคาพจรกุลบุตรปฏิบตั ิอยูด่ งั นี้ จิตใจก็สงบ ระงับจากนิวรณ์ธรรม ตั้งมัน่ เป็ นขณิ กสมาธิ แลอุปจารสมาธิ แลอัปปนาสมาธิเพียง ปฐมฌาน โดยลาดับๆ สาเร็จเป็ นกามาพจรกุศลแลรู ปาพจรกุศล อนึ่ง ถ้าโยคาพจรกุลบุตร อาศัยซึ่งอารมณ์ประเภทคือสี ต่างๆ มีสีเขียว เป็ น ต้น ซึ่งปรากฏในอาการ ๓๑ แลอาการ ๓๒ นั้น พิจารณาเป็ นกสิ ณบริ กรรมไป ก็จะได้ สาเร็จอัปปนาสมาธิ ตลอดขึ้นถึง จตุตถฌาน ปัญจมฌาน แลจะเป็ นอุปนิสยั ให้ตรัสรู้ ตลอดถึงฉฬาญิญาสมาบัติแลมรรคผล เหตุน้ นั ควรที่กลุ บุตรผูม้ ีศรัทธา อย่าได้ ประมาท พึงอุตส่าห์เจริ ญกายคตาสติกรรมฐานนี้ อันประกอบด้วยอานิสงส์เป็ นอัน มาก ดังพรรณนามาฉะนี้ เทอญฯ
๑๒๑
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
“ เราทัง้ หลายมาบวชเป็นพระภิกษุ และสามเณร ประพฤติพรหมจรรย์ในศาสนานี้ หวังจะออกจาก ทุกข์ ทาให้แจ้งซึ่งพระนิ พพาน จึงลัน่ วาจาว่า สพฺพ ทุกฺขนิ สฺสรณนิ พฺพานสจฺฉิกรณตฺถาย ดังนี้ทุกคน
”
๑๒๒
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ชาติ ชรา มรณาธิกถา สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร เอวมฺเม สุ ต ฯลฯ ตโย ภิกฺขเว ธมฺมา โลเก น ส วิชฺเชยฺยุง น ตถาคโต โลเก อุปฺปชฺ เชยฺย อรหสมฺมาสมฺพุทฺโธ น ตถาคตปฺปเวทิโต ธมฺมวินโย โลเก ทีเปยฺย กตเม ตโย ชาติ จ ชรา จ มรณ จ อิเม ภิกฺขเว ตโย ฯลฯ ทีเปยฺย ยสฺ มา จ โข ภิกขฺ เว อิเม ฯลฯ สวิชฺชนฺติ ฯลฯ อุปฺปชฺชนฺติ ฯลฯ สมฺพุทฺโธ ตสฺ มา ตถาคตปฺปเวทิโต ฯลฯ ทีเปตีติ ฯ ดูกรภิกษุท้งั หลาย ธรรม ๓ อย่างนี้ไม่พึงมีในโลก พระตถาคตอรหันต สัมมาสัมพุทธเจ้าก็จะไม่พึงเกิดขึ้นในโลกเลย ธรรมแลวินยั ที่พระตถาคตตรัสรู้แจ้งทัว่ ก็จะไม่พึงรุ่ งเรื องในโลก ธรรม ๓ อย่างนั้นอย่างไร จะได้แก่สิ่งอะไร ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย ชาติความเกิดด้วย ชรา ความชารุ ดทรุ ดโทรมแปรผันด้วย มรณ ความม้วย มอดพินาศขาดหายตายไปด้วยธรรม ๓ อย่างเหล่านี้ ไม่พึงมีในโลก พระตถาคต
๑๒๓
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าก็จะไม่พึงเกิดขึ้นในโลก ธรรมแลวินยั ที่พระตถาคตตรัสรู้ แจ้งทัว่ ก็จะไม่พึงรุ่ งเรื องในโลก ยสฺ มา จ โข ภิกฺขเว ดูกรภิกษุท้งั หลาย เพราะเหตุใด ธรรม ๓ ประการเหล่านี้ มีอยูใ่ นโลก พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าอุบตั ิข้ ึนในโลกเพราะเหตุน้ นั ธรรม แลวินยั ที่พระตถาคตตรัสรู้แจ้งทัว่ จึงรุ่ งเรื องในโลก พระพุทธภาษิตตรัสเทศนาไว้ ฉะนี้ ให้นกั ปราชญ์ผมู้ ีปรี ชาพึงสันนิษฐานว่า ธรรม ๒ ประการ คือ ชรา แลมรณะ นั้น จะมีจะเป็ นขึ้นพร้อมก็เพราะชาติ ชาติความเกิดมีอยู่ ชราแลมรณะเป็ นผล ผลจะมีมาก็ เพราะเหตุ เหตุมีอยูจ่ ึงบังเกิดผล ประหนึ่งต้นพฤกษาชาติ ย่อมเผล็ดดอกก่อนจึงจะเป็ น ผล ผลจะมีจะเป็ นขึ้นก็เพราะดอกเป็ นเหตุ ฉันใด ชราแลมรณะ ๒ ประการนี้ จะมี จะ เป็ น จะปรากฏขึ้นก็เพราะชาติเป็ นเหตุเป็ นแดนเกิด ฉันนั้น มิฉะนั้น เปรี ยบเหมือนดวง ประทีป อันผูใ้ ดผูห้ นึ่งจุดไว้ในที่มืด ย่อมมีแสงสว่างบังเกิดขึ้น ให้บุคคลผูม้ ีจกั ษุได้ เห็นรู ปารมณ์ตา่ ง ๆ แลแสงสว่างนั้นจะมีปรากฏขึ้นก็เพราะดวงประทีปเป็ นเหตุเกิดขึ้น แห่งแสงสว่างฉันใด ชาติกเ็ ป็ นเหตุเกิด เป็ นที่เกิดของชราและมรณะฉันนั้น ชาติอะไร ชื่อว่าเกิดเป็ นตัวเกิด ชรานั้นอย่างไร อะไรชื่อว่าชรา เป็ นตัวชรา มรณะนั้นอย่างไร อะไรชื่อว่ามรณะ เป็ นตัวมรณะดังนี้ สาคัญนัก ผูน้ บั ถือ พระพุทธศาสนาจาเป็ นจะต้องศึกษาให้รู้จกั ชาติ ความเกิด และ ชรา ความแก่ แล มรณ ความตาย ถ้าไม่รู้จกั ชาติ, ชรา, มรณะ แล้ว ไม่พน้ จากชาติทุกข์ได้เลย จะต้อง เกิดแก่ตายร่ าไปไม่มีที่สิ้นสุด ผูท้ ี่จะพ้นจากอบายทุกข์และสังสารทุกข์ คือ เกิด, แก่, ตาย ได้น้ นั อาศัยมารู้จกั ความเกิด รู้เท่าต่อความเกิด รู้จกั ชรา รู้เท่าต่อชรา รู้จกั มรณะ รู้เท่าต่อมรณะ จึงพ้นจากอบายและสังสารทุกข์ได้ แม้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย จะทรงพระนามว่า อรห สมฺมา สมฺพุทฺโธ นั้น แปลว่า เป็ นผูไ้ กลจากกิเลส เป็ นผูก้ าจัด ข้าศึก คือกิเลส เป็ นผูค้ วรไหว้ควรบูชาเป็ นต้น ก็เพราะพระองค์ตรัสรู้เท่าต่อความเกิด, แก่, ตาย ธรรมที่พระองค์ตรัสเทศนาสัง่ สอนไว้ จะชื่อว่าเป็ นสวากขาตธรรมนั้น ก็
๑๒๔
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
เพราะเป็ นอุบายจะให้สตั ว์รู้เท่าต่อความเกิด, แก่, ตาย พระสงฆ์สาวกของพระองค์ ซึ่ง จัดไว้เป็ นคู่ ๆ ได้ ๔ เรี ยงตัวบุคคลเป็ น ๘ จะชื่อว่าเป็ นผูป้ ฏิบตั ิชอบปฏิบตั ิดีน้ นั ก็ เพราะปฏิบตั ิจนรู้เท่าต่อ เกิด, แก่, ตาย ปัญญาที่มารู้จกั เกิด, แก่, ตาย เป็ นเหตุให้สตั ว์ พ้นจากอบายทุกข์ แลสังสารทุกข์ เพราะฉะนั้น จาจะต้องศึกษาให้รู้จกั เกิด, แก่, ตาย เกิดนั้น คือความที่ขนั ธ์ท้งั ๕ คือ รู ป ๑ เวทนา ๑ สัญญา ๑ สังขาร ๑ วิญญาณ ๑ หรื อ ๔ ยกรู ปเสี ย หรื อ ๑ ยก เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณเสี ย ปรากฏเป็ น ชัด อานตนาน ปฏิลาโภ ความได้เฉพาะซึ่งอายตนะครบทั้ง ๖ คือ จักษุ ๑ โสต ๑ ฆาน ๑ ชิวหา ๑ กาย ๑ มน ๑ หรื อ ๓ แต่ จักษุ ๑ โสต ๑ มน ๑ แต่ มน อย่างเดียว ย่นลงเป็ น ๒ คือ นาม แล รู ป นามแลรู ปบังเกิดขึ้น ชื่อว่า ชาติ ความเกิด, นามปรากฏอย่างเดียว สมมติ เรี ยกว่า อรู ปพรหม, รู ปอย่างเดียวปรากฏขึ้น สมมติเรี ยกว่า อสัญญีสตั ว์, ปรากฏขึ้นทั้ง นามแลรู ป สมมติเรี ยกว่า อปายิกสัตว์บา้ ง มนุษย์บา้ ง เทวดาบ้าง พรหมบางพวกบ้าง นามรู ปที่ปรากฏขึ้นแล้ว เป็ นทุกข์อย่างเดียว สมมติเรี ยกว่า สัตว์นรก แล เปรตบางพวก นามรู ปที่ปรากฏขึ้นแล้วเป็ นทุกข์มากกว่าสุข หรื อสุขมากกว่าทุกข์ หรื อ เป็ นสุขเป็ นทุกข์เท่ากัน สมมติเรี ยกว่า เปรตบางพวก แลอสุรกาย แลสัตว์ดิรัจฉาน แล มนุษย์ แลเทวดาบางพวก นามรู ปที่ปรากฏขึ้นแล้วเป็ นสุขมากกว่าทุกข์ หรื อเป็ นสุขอย่างเดียว สมมติ เรี ยกว่า มนุษย์ แลกามาพจรเทพยดา แลรู ปาพจรเทพยดาบางพวก นามแลรู ปปรากฏขึ้นแล้วมีแต่อุเปกขาเวทนาอย่างเดียว สุข ทุกข์ โสมนัส โทมนัสไม่มี สมมติเรี ยกว่า อรู ปสัตว์ แล อสัญญีสตั ว์
๑๒๕
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
นามแลรู ปย่อมเป็ นไปในภพทั้ง ๓ ๆ ตกลงเป็ นนาม ๑ รู ป ๑ นามรู ปปรากฏ ขึ้นเป็ นเช่นนี้แลชื่อว่าเกิดปัญญา, ที่มากาหนดรู้อย่างนี้ เห็นจริ งอย่างนี้ ชื่อว่ารู้จกั เกิด, ถ้าไปเห็นว่า สัตว์เกิด มนุษย์เกิด อย่างนี้ชื่อว่า ไม่รู้จกั เกิด จัดเป็ นคนหลงในโลก เพราะเห็นไปโดยสติ คาที่วา่ สัตว์ ว่าบุคคล ว่าเทวดา ว่าพรหม นี้เป็ นคาสมมติบญั ญัติ เรี ยกกันตามโลกโวหาร เพื่อจะให้เข้าใจรู้กนั ง่าย ๆ เป็ นของไม่จริ งแท้, ที่จริ งแท้น้ นั นามรู ป ประหนึ่งอันบุคคลเอาดินมาปั้นเป็ นรู ปหม้อ รู ปกระถางเป็ นต้น แลสมมติ เรี ยกว่า หม้อ ว่ากระถางเป็ นต้น เพื่อจะให้รู้จกั เรี ยกกันใช้สอยกันง่าย ๆ แลคาว่าหม้อ ว่ากระถางเป็ นต้นนั้น เป็ นของสมมติ ไม่จริ ง ของจริ งคงอยูท่ ี่ดิน ฉันใด คาว่า สัตว์, ว่า บุคคล, ว่าเทวดา, ว่าพรหม นั้น ก็เป็ นแต่สมมติ ไม่จริ ง ของจริ งคงอยูท่ ี่นาม ที่รูป เหมือนกัน ฉันนั้น อนึ่ง รถแลเกวียน เมื่อยังควบคุมกันอยู่ บุคคลก็เรี ยกว่ารถ ว่าเกวียน ถ้าแลว่า รถแลเกวียนนั้น อันผูห้ นึ่งผูใ้ ดรื้ อกระจายออกเสี ย เป็ นส่วน ๆ เป็ นแผนก ๆ แล้ว บุคคลก็หาเรี ยกว่ารถ ว่าเกวียนไม่ ฉันใด รู ป คือร่ างกายนี้ เมื่อควบคุมกันครบทั้ง อาการ ๓๒ มี เกสา เป็ นต้น โลกสมมติเรี ยกว่าสัตว์ ว่าบุคคล ถ้าแยกกระจายกันอยูเ่ ป็ น ส่วน ๆ เป็ นผมส่วน ๑ ขนส่วน ๑ เล็บส่วน ๑ ฟันส่วน ๑ หนังส่วน ๑ เป็ นต้นแล้ว อัน ผูใ้ ดผูห้ นึ่งก็หาเรี ยกว่าสัตว์ ว่าบุคคลไม่ ฉะนั้น ผมตั้งอยูท่ ี่ศีรษะก็จริ ง ตาก็ได้เห็น จิตก็ รู้ ขนตั้งอยูท่ วั่ ทั้งกาย เว้นแต่ฝ่ามือฝ่ าเท้า มีจริ ง ตาก็ได้เห็น จิตก็รู้ เล็บตั้งอยูท่ ี่ปลายมือ ปลายเท้า มีจริ ง ตาก็ได้เห็น จิตก็รู้ ฟันตั้งอยูเ่ หนือกระดูกคาง เบื้องต่า เบื้องบน มีจริ ง ตาก็ได้เห็น จิตก็รู้ หนังหุม้ อยูท่ วั่ ทั้งกาย มีจริ ง ตาก็ได้เห็น จิตก็รู้แจ้ง ตาได้เห็นเหมือนไม่ได้เห็น จิตก็รู้เหมือนไม่รู้ เหตุไร เหตุวา่ เราท่านทั้งปวง มาเห็นเป็ นสัตว์เป็ นบุคคล มานึกว่าสัตว์ ว่าบุคคลไปเสี ย หานึกว่า ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง ไม่ เหตุฉะนี้ จึงว่า ตาเห็นเหมือนไม่เห็น นึกไปตามสมมติ จึงเกิดรัก เกิดชิงชังกัน แลกัน ถ้าตาเห็น จิตนึกไปตามตา จิตรู้ ๆ ไปตามจิต ปล่อยวางสมมติเสี ยแล้ว ความรัก
๑๒๖
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ความชิงชังกันแลกันก็จะมีมาแต่ไหน ปล่อยวางสมมติยงั ไม่ขาดตราบใด ก็จะต้องทน ทุกข์ เกิด แก่ ตาย อยูต่ ราบนั้น ที่มารู้เห็นตามของจริ ง คือ นามแลรู ป ปล่อยวางสมมติเสี ยนี้แหละ เป็ นเหตุ จะให้พน้ จากทุกข์ คือ เกิด แก่ ตาย ถึงจะละสมมติยงั ไม่ได้ขาด เป็ นแต่ละได้ครู่ หนึ่ง ขณะหนึ่งเท่านั้นก็เป็ นบุญกุศลอันยิง่ ใหญ่ แลเป็ นปัจจัยที่จะให้ละได้ขาดต่อไป เพราะเหตุน้ นั จาเป็ นจะต้องศึกษาให้รู้จกั ของจริ ง คือ นามแลรู ป ครั้นรู้จกั ของจริ งแล้ว พึงยึดไว้ ถือไว้ในของที่จริ ง ปล่อยวางของที่ไม่จริ ง คือ สมมติเสี ย ก็แล คาว่าเกิด ๆ นั้น ให้พึงสันนิษฐานทราบเถิดว่า ไม่ใช่ใคร คือขันธ์ ๕ คือ อายตนะ ๖ คือ ธาตุ ๖ ย่นลงเป็ นนามแลรู ป ๆ ที่ปรากฏขึ้นนั้นแล ชื่อว่าเกิด นามแลรู ปที่ปรากฏขึ้นนั้น ถึงซึ่งสภาวะเก่าคร่ าคร่ าไป ชารุ ดทรุ ดโทรมผันแปรไป หาคงที่อยูโ่ ดยปรกติเหมือน เมื่อแรกตั้งขึ้นไม่ ชื่อว่าชรา ความแก่ ปัญญาที่มากาหนดเห็นไปตามจริ งอย่างนี้ ชื่อว่ารู้จกั ชรา ถ้าเห็นไปนึกไปว่า เราแก่ สัตว์แก่ มนุษย์แก่ เทวดาแก่ เป็ นต้น ฉะนี้แล้ว ชื่อว่าไม่รู้จกั ชรา จัดเป็ นคนหลง ถ้าเห็นไปตามของจริ งว่า นามรู ปเก่าคร่ าคร่ าไป ไม่มีใครแก่ ดังนี้ ชื่อว่ารู้จกั ชรา คาที่วา่ ชรา ๆ นั้น ให้นกั ปราชญ์พึงสันนิษฐานเถิดว่า ไม่ใช่ใคร คือนาม รู ปที่ชารุ ดวิบตั ิแปรไป ๆ นี้แหละเรี ยกว่าชรา นามรู ปที่วิบตั ิแปรไป ๆ นั้น ถึงซึ่งสภาวะแตกดับชื่อว่าตาย ถ้ามาเห็นไปว่า สัตว์ตาย เราตาย มนุษย์ตาย เทวดาตาย มารตาย พรหมตาย อย่างนี้ชื่อว่าไม่รู้จกั ตาย จัดเป็ นคนหลง ถ้ามาเห็นมานึกไปว่า รู ปแตก นามดับ ไม่มีใครตายอย่างนี้ ชื่อว่ารู้จกั ตาย ปัญญาที่มากาหนดรู้จกั เกิด รู้เท่าต่อเกิด รู้จกั แก่ รู้เท่าต่อความแก่ รู้จกั ตาย รู้เท่าต่อ ความตายนี้ บังเกิดขึ้นในกาลใด กาลนั้นย่อมมาละราคะ โทสะ โมหะได้
๑๒๗
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ก็ราคะ โทสะ โมหะ จักบังเกิดขึ้นแล้วแลถาวรเจริ ญอยู่ ก็อาศัย สกฺกายทิฏฺฐิ ความเห็นว่ากายของเรา เราเกิดมา เราแก่ เราตาย ถ้ามาเห็นโดยความเป็ นจริ งว่า ไม่มี ใครเกิด ไม่มีใครแก่ ไม่มีใครตาย นามรู ปปรากฏขึ้นต่างหาก นามรู ปเก่าคร่ าคร่ าไป ต่างหาก นามรู ปดับทาลายไปต่างหาก ดังนี้แล้ว ราคะ โทสะ โมหะ ก็เกิดขึ้นไม่ได้ ที่ เกิดแล้วก็จะระงับดับไปในขณะนั้น อนึ่งเมื่อกาหนดนามรู ปว่าเป็ นตัว เกิด แก่ ตาย แจ้งใจชัดดังนี้แล้ว พึง มนสิ การกระทาไว้ในจิตให้เนือง ๆ ทุกอิริยาบถ เมื่อไม่ได้อย่างนั้น โดยที่สุด จะ กระทาไว้ในใจ ให้เห็นจริ งแจ้งชัด แต่เพียงวันละครั้ง ๆ เท่านั้นก็เป็ นการดี จัดเป็ นกุศล อันยิง่ ใหญ่ ชีวิตที่เป็ นอยูใ่ นวันนั้น มีกาไร ไม่ขาดทุน เพราะความที่มารู้จกั รู ป รู้จกั นามเกิดนั้น ชื่อว่ารู้จกั อนตฺ ตา เห็น อนตฺ ตา อนตฺ ตานี้กเ็ ป็ นธรรมมีอยูใ่ นโลกโดย ธรรมดา แต่จะหาผูท้ ี่รู้แจ้งชัด แล้วแลหยิบยกบัญญัติข้ ึนแสดงสัง่ สอนผูอ้ ื่นให้เข้าใจ นั้นยากนัก แม้พระปัจจเจกพุทธเจ้าท่านก็ประกอบด้วย อนตฺ ตา แจ้งชัด จนได้ตรัสรู้ ปัจเจกโพธิญาณโดยลาพังพระองค์ ก็ยงั ไม่อาจบัญญัติยกขึ้นแสดงสัง่ สอนผูอ้ ื่นได้ นักปราชญ์นอกจากพระปัจเจกพุทธเจ้าแล้ว ที่จะได้เห็น อนตฺ ตา แจ้งชัดโดยลาพัง ปัญญาตนได้น้ นั ไม่มี ในข้อที่จะสัง่ สอนผูอ้ ื่นนั้นไม่ตอ้ งว่า อนตฺ ตานี้ ต่อพระอรหันต์สมั มาสัมพุทธเจ้าอุบตั ิเกิดขึ้นในโลก แสดงเปิ ดเผย ให้ต้ืน สัตว์อื่นที่มีอุปนิสยั จึงได้ตรัสรู้ตาม แลสัง่ สอนต่อ ๆ มา ถ้าไม่มีอุปนิสยั เสี ยแล้ว ถึงจะได้ยนิ ได้ฟังสักเท่าใด ๆ ก็ไม่เข้าใจ ไม่รู้จกั อนตฺตา ที่เราท่านมาได้ยนิ ได้ฟังแล รู้จกั อนตฺ ตา แจ้งชัดโดยครู่ ๑ ขณะ ๑ นี้เพราะมีอุปนิสยั ควรที่จะมีความยินดีวา่ เป็ น ลาภของเรา อนึ่งผูเ้ ห็น อนตฺ ตา นั้น ได้ชื่อว่าเห็นธรรมอันอุดมสูงสุด เพราะ อนตฺ ตา นี้ เป็ นธรรมอันสูง เป็ นยอดของธรรมทั้งปวง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสเทศนาสัง่ สอน สัตว์ดว้ ยอุบายวิธีต่าง ๆ ก็เพื่อจะให้รู้จกั อนตฺ ตา ผูท้ ี่เห็นธรรมอันสูงสุด คือ อนตฺ ตา นี้ แม้จะมีชีวิตเป็ นอยูส่ กั วัน ๑ ย่อมประเสริ ฐกว่าผูท้ ี่มีชีวิตอยูร่ ้อยปี ที่มิได้เห็น อนตฺ ตา
๑๒๘
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
สมด้วยพระพุทธภาษิตทรงตรัสไว้วา่ โยจ วสฺ สสต ชีเว อปสฺ ส ธมฺมมุตฺตม บุคคลผูใ้ ด เมื่อมิเห็นซึ่งธรรมอันสูงสุด แลพึงมีชีวิตเป็ นอยูต่ ลอดร้อยปี เอกาห ชีวติ เสยฺโย ปสฺ สโต ธมฺมมุตฺตม ชีวติ ของบุคคลผูเ้ ห็นอยูซ่ ่ ึงธรรมอันสูงสุด จะเป็ นอยูต่ ลอดวัน ๑ ย่อมประเสริ ฐกว่าชีวิตของผูท้ ี่ไม่เห็นธรรมเป็ นอยูต่ ลอดร้อยปี นั้น เหตุไร พระผูม้ ีพระภาคจึงตรัสดังนี้ เพราะว่าผูท้ ี่ไม่เห็นธรรม แลมีชีวติ เป็ นอยูต่ ลอดร้อยปี นั้น เป็ นอยูด่ ว้ ยความประมาท ปราศจากสติ ไม่มีสติระลึกรู้กศุ ล ธรรม บุคคลที่ประมาทนั้น ถึงจะมีชีวติ เป็ นอยู่ พระองค์กต็ รัสว่า เหมือนกับคนที่ตาย แล้ว เพราะเป็ นอยูไ่ ม่มีประโยชน์อะไรแก่ตน บุคคลที่ได้เห็นธรรมแลมีชีวิตเป็ นอยูว่ นั ๑ นั้น เป็ นอยูด่ ว้ ยปัญญาประกอบไปด้วยผลประโยชน์แก่ตน แลชื่อว่าเป็ นคนไม่ ประมาท ผู้ที่ไม่ ประมาทนั้น ถึงจะตายไป ชื่อว่าเป็ นผู้ไม่ ตาย เพราะเป็ นผู้มีที่กาหนด ถึงคราวนั้นสมัยนั้นจักพ้นทุกข์ คือผู้ทไี่ ม่ ประมาทนั้น มาเจริญลักษณะแห่ งความไม่ ประมาทแล้ว จักกระทาให้ แจ้ งซึ่งมรรคแลผล จักเกิดในสุ คติภพอีกชาติหนึ่ง หรือ ๒ ชาติ อย่ างช้ าเพียง ๗ ชาติเท่ านั้น ก็จกั พ้นจากสังสารทุกข์ เหตุฉะนี้ ผู้ที่ไม่ ประมาท ถึง จะตายไป จึงชื่อว่าเป็ นผู้ไม่ ตาย เมื่อนักปราชญ์ได้ทราบบรมพุทธาธิบายฉะนี้ ควรจะเป็ นผูไ้ ม่ประมาท หมัน่ มีสติระลึกถึงธรรมอันสูงสุด คือ อนตฺ ตา กาหนดรู้ ชาติ ความเกิด อนึ่งเมื่อรู้จกั ความ เกิดว่า นามรู ปเป็ นตัวเกิดดังนั้นแล้ว เมื่อยามทุกข์ภยั อย่างใดอย่างหนึ่งบังเกิดขึ้น อย่า โทษเอาใคร ให้โทษเอาความเกิด เพราะเกิดมาจึงต้องทุกข์ภยั ต่าง ๆ ต้องเขาด่า เขาว่า ต้องติดเครื่ องจองจา ต้อง ประหารฆ่าฟันต่าง ๆ ก็เพราะเกิดมา
๑๒๙
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
จาต้องแสวงหาอาหาร แลผ้านุ่งห่ม เครื่ องประดับกาย ทนลม ทนแดด ทน ฝน อดหลับ อดนอน ยุงริ้ นกัด เพราะแสวงหาอาหารเป็ นต้นนั้น ก็เพราะเกิดมา จะต้องเป็ นหนี้ เป็ นข้าให้เขาใช้สอย เป็ นไปในอานาจแห่งท่านผูอ้ ื่น ได้ความ เจ็บอกเจ็บใจต่าง ๆ ก็เพราะเกิดมา จะต้องไปรบทัพจับศึก พลัดพรากจากที่อยูท่ ี่อาศัย แลคนเป็ นที่รักไป ก็ เพราะเกิดมา จะต้องเป็ นคนอนาถา ยากจนเที่ยวขอทานเขาตามถนนหนทาง กราแดด กรา ฝนทนทุกข์ลาบากยากเหนื่อย ไม่ใคร่ จะมีใครให้ อด ๆ อยาก ๆ อิ่มบ้าง ไม่อิ่มบ้าง ก็ เพราะเกิดมา จะต้องเศร้าโศกร่ าไร ทุกข์กายทุกข์ใจ คับแค้นจิต เพราะความวิปริ ตแลทุกข ธรรมอันหนึ่งอันใดถูกต้อง คือต้องราชภัย พระเจ้าแผ่นดินริ บราชฐาน ข้าวของเงิน ทองเหย้าเรื อนที่นาที่สวน จาจองเฆี่ยนตีฆ่าฟัน หรื อต้องโจรภัย อัคคีภยั อุทกภัย ทุพภิกขภัย ต่าง ๆ ก็เพราะเกิดมา จะต้องชราคร่ าคร่ า รู ปกายวิบตั ิแปรผัน เกสาก็หงอก ฟันก็โยกคลอนหักหลุด ผิวหนังเหี่ ยวแห้งหดหู่ มสเหลวหย่อนยาน แถวเอ็นขึ้นสะพรั่ง จักษุมืด โสตตึง จมูก คัด ไม่รู้กลิ่น ชิวหาปร่ าเชือน กายเป็ นเหน็บชาไม่ใคร่ รู้สมั ผัส จิตเฟื อนหลง สติไม่ มัน่ คง ก็เพราะเกิดมา จะมีอาพาธเจ็บไข้เกิดขึ้น เบียดเบียนกายต่าง ๆ คือ เจ็บตา เจ็บหู เจ็บจมูก เจ็บ ลิ้น เจ็บฟัน เจ็บศีรษะ เจ็บปาก เป็ นโรคหอบ โรคหวัด โรคซูบผอม โรคในท้องต่าง ๆ โรคสลบแน่นิ่ง โรคลงราก โรคจุกเสี ยด โรคในข้อ โรคเรื้ อน โรคต่อมพิษ โรคเกลื้อน กลาก หิดด้าน หิดเปื่ อย โรคหื ดมองคร่ อ บ้าหมู โรควัณณะพิการ เป็ นเม็ด เป็ นผืน่ โรค
๑๓๐
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
เกิดแต่โลหิ ต เกิดแต่ดี เกิดแต่เสมหะ เกิดแต่ลม เกิดแต่ฤดู โรคอุจจาระปัสสาวะพิการ โรคเกิดแต่บริ หารกายไม่เสมอ โรคเกิดแต่ความเพียรแห่งตนแลผูอ้ ื่น โรคเกิดแต่ กรรมวิบากต่าง ๆ อย่างต่า ความไม่สบายอันมีข้ ึนด้วยเย็นนัก แลร้อนนัก อยากข้าว อยากน้ า ถ่ายอุจจาระปัสสาวะ อาพาธเหล่านี้แต่ละอย่าง ๆ บังเกิดขึ้น ล้วนเบียดเบียนกายให้ได้ทุกข์ จะมีมา ก็เพราะ ชาติความเกิดเป็ นนามรู ป มรณะความตายชีวิตินทรี ยข์ าดแตกไป อันตรธาน ไป ทิ้งรู ปกายไว้ในที่น้ นั ๆ จะมีมาก็เพราะเกิดเป็ นนามรู ป ถ้าไม่เกิดมาแล้ว ไหนเลย จะต้องทุกข์ตอ้ งภัยเหล่าที่พรรณนามานี้ ความเกิดเป็ นของชั่ว ไม่ ดี เพราะเป็ นที่ต้งั แห่ งทุกข์ แห่ งเวทนาต่ าง ๆ ควรจะ คิดบาดหมางเบื่อหน่ าย พิจารณาให้ เห็นโทษในความเกิดแลเกลียดชัง ปล่อยวางความ เกิดเสีย แต่โทษในความเกิดนั้น ไม่ค่อยจะมีใครเห็น เห็นแต่โทษในพยาธิแลมรณะ ถึงโทษชราเล่าก็ยากที่ผจู้ ะเห็น ต่อเมื่อชรา ความย่อยยับแห่งรู ปกาย เสื่อมถอยกาลัง จนถึงลุกนัง่ ไม่ใคร่ จะไหวมาถึงเข้าแก่ตน จึงจะเห็นว่า ชราเป็ นของชัว่ ว่าเมื่อแต่ก่อน รู ปกายก็สดใสงดงาม จะลุกนัง่ เดินไปก็รวดเร็ว ทางไกล ๆ ก็ไปได้ จะทาสิ่ งใดก็ทาได้ ตามใจปรารถนา เดี๋ยวนี้ขดั ไปทุกอย่างเพราะชรามาถึง ผูท้ ี่จะเห็นโทษชราเมื่อคราว มาถึงเข้าแก่ตนโดยนัยนี้ ก็นอ้ ยตัว ต่อผูท้ ี่มีสติระลึกตรึ กตรองพิจารณาไป จึงจะเห็น โทษชรา บุคคลบางพวก รู ปกายชราย่อยยับ ผมหงอก ฟันหัก อายุถึงหกสิ บ เจ็ดสิ บ แปดสิ บ แล้วก็มิได้เห็นโทษชรา แลมิได้คิดถึงตัวว่าเราแก่แล้ว ปรกติเป็ นคนมักโลภ มักโกรธ มักหลง อิจฉาริ ษยา เบียดเบียนผูอ้ ื่นให้ได้รับทุกข์อย่างใด ก็คงที่อยูอ่ ย่างนั้น จิตโลภ จิตโกรธ จิตหลง จิตอิจฉาริ ษยาหาย่อยยับเสื่ อมไปตามรู ปกายไม่ แลผูน้ ้ นั ก็
๑๓๑
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
มิได้บรรเทาถอยความโลภ ความโกรธ ความหลง ความอิจฉาริ ษยา ให้เสื่ อมถอยน้อย เบาบางลงจากสันดาน ถึงจะได้ยนิ ได้ฟังธรรมอยูเ่ นือง ๆ ก็เป็ นแต่สกั ว่าฟัง หาคิดจดจา ข้อธรรมที่สาคัญเป็ นแก่นสารไว้ปฏิบตั ิดบั กิเลสในสันดานไม่ บางทีฟังจาได้แต่ไม่ ปฏิบตั ิ ไม่ได้นึกน้อมนาธรรมที่ตนจาได้ไว้ในใจ หรื อปฏิบตั ิอยูบ่ า้ ง นึกน้อมกระทา ธรรมไว้ในใจอยูบ่ า้ ง แต่เมื่อยามเป็ นปกติยงั ไม่มีเหตุการณ์ คือ โลภะ โทสะ โมหะ อิจฉาริ ษยา ยังไม่เกิดขึ้น ครั้น โลภะ โทสะ โมหะ อิจฉาริ ษยา บังเกิดขึ้นแล้ว ก็ปล่อย เต็มตามกาลังของความโลภ ความโกรธ ความหลง แลความอิจฉาริ ษยา ที่บงั เกิดขึ้น นั้น บางทีตน โลภ โกรธ หลง อิจฉาริ ษยา ก็พออยูแ่ ล้ว ยังมิหนาซ้ าชักชวนผูอ้ ื่น ให้โลภ ให้โกรธ ให้หลง ให้อิจฉาริ ษยา ไปตามตนอีกเล่า เมื่อเป็ นเช่นนี้ ก็เพราะไม่ เห็นโทษชรา ไม่คิดถึงตัวว่าตนชรา จะป่ วยกล่าวไปไยถึงผูท้ ี่ยงั ตั้งอยูใ่ นปฐมวัย ชรายัง ไม่มาถึง รู ปกายก็ยงั บริ บูรณ์อยู่ จะมาเห็นโทษชรา จะคิดถึงตัวว่าชราเล่า แต่ผทู้ ี่ชรา มาถึงแล้ว ยังไม่เห็นโทษชรา ยังไม่คิดถึงตัวว่าชรา เหตุฉะนี้จึงว่า โทษชรานี้เห็นยาก ยากที่จะมีผแู้ ลเห็น แต่โทษของพยาธิ ความเจ็บไข้ แลโทษของมรณะ ความตายนั้น เห็นง่ายกว่า โทษชรา โทษชรานั้นไม่ใคร่ จะมีใครกลัว ไม่เหมือนดังความเจ็บไข้แลความตาย ความ เจ็บไข้แลความตายนั้นมีผกู้ ลัวมากนัก เพราะพยาธิความเจ็บไข้บงั เกิดขึ้นย่อมไม่มี ความสุข เสวยแต่ทุกขเวทนาอย่างเดียว เมื่อความตายมาถึง ชีวิตเลี้ยงรู ปนามก็ขาด รู ป ก็แตก นามก็ดบั นอนกลิ้งอยูเ่ หมือนท่อนไม้ ท่อนฟื น ไม่มีอานาจอะไร มดจะกัด สุนขั จะแย่ง แร้งจะทึ้ง กาจะจิก ก็นิ่ง ใครจะเหยียบยา่ ข้ามไปข้ามมาก็นิ่ง ใครจะยกจะหาม เอาไปทิ้งในที่โสโครกไม่สะอาดก็เฉย หรื อใครจะด่า จะว่า จะทุบ จะตี จะประหาร สับฟันให้เป็ นท่อนน้อยท่อนใหญ่กน็ ิ่ง
๑๓๒
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ไม่เหมือนเมื่อยามมีชีวติ เป็ นอยู่ จนชั้นมดจะกัด ยุงจะกิน ริ้ นจะไต่ หรื อใคร ว่าให้ไม่ชอบใจก็โกรธเคืองหมายมัน่ พยาบาทจองเวร หาอุบายประทุษร้ายได้ความ ฉิบหายต่าง ๆ รู ปแตกนามดับแล้วก็ตกลงเป็ นราคาเดียวกัน ทั้งไพร่ ท้งั ผูด้ ี มิได้มี อานาจอะไร อนึ่งเมื่อพยาธิเจ็บไข้บงั เกิดขึ้น ได้ทุกขเวทนา ก็ยงั ได้เห็นหน้าญาติเผ่าพันธุ์ มิตรสหายอันเป็ นที่รักเจริ ญจิตอยูบ่ า้ ง แลยังจะคิดขยับขยายทาบุญกุศลได้บา้ ง พยาธิน้ นั ถึงสัตว์จะกลัวมากก็ยงั ไม่เท่ามรณะ ความตายนี้สตั ว์กลัวยิง่ นัก เพราะสัตว์มีชีวิตเป็ นที่รักยิง่ กว่าสิ่ งอื่น แลความตายนั้นมีมาถึงเข้าแล้ว สารพัดจะต้อง สละต้องวิโยค พลัดพรากจากสัตว์แลสังขาร อันเป็ นที่รักเจริ ญใจทั้งสิ้นทุกสิ่ งทุก ประการ เหตุดงั นั้น ความตายนี้ สตั ว์จึงกลัวมาก เป็ นทุกข์ภยั อย่างใหญ่ของสัตว์ ทั้งหลายทั้งปวง ก็ผทู้ ี่จะเห็นโทษเห็นทุกข์ในพยาธิแลมรณะ จะสะดุง้ กลัวต่อพยาธิ และมรณะนั้น ก็เมื่อยามมาถึงเข้าแก่ตน หรื อเห็นคนอื่นเขาเจ็บเขาตายกันกลุม้ ๆ ถึง เห็นโทษ ทุกข์ภยั ในพยาธิแลมรณะ ร้อนใจกลัวจะต้องเจ็บต้องตายเหมือนเขาบ้าง หรื อเมื่อครั้งปี ระกา มีอหิ วาตกโรคบังเกิดขึ้น คนต้องโรคตายมากนัก ผูท้ ี่ เห็นเขาเจ็บตายไปอย่างนั้น ก็หวาดหวัน่ พรั่นตัวกลัวจะต้องเจ็บต้องตายไปบ้าง พากัน ทาบุญให้ทาน ทาการกุศลต่าง ๆ เพื่อจะห้ามกันความตาย หรื อเพื่อจะตายไป บุญกุศล นั้นจะได้เป็ นของตัวติดตามไปให้ได้ความสุขในเบื้องหน้า บางพวกก็ภาวนาบ่นพึมพา ๆ เพื่อจะกันตาย ครั้นท้องลัน่ จ๊อกขึ้นมาก็ตกใจหน้าสลด คิดว่าเราเห็นจะตายคราวนี้ เป็ นแน่ บางพวกมีคนเป็ นที่รักจากไปเสี ยในที่อื่นก็ร้องไห้ร่ าไรคิดถึงกัน บางพวก เที่ยวนิมนต์พระสงฆ์ไปสวดมนต์ฉนั เช้า บางพวกก็นิมนต์พระมารับสังฆภัตต์แลอุเทส ภัตต์เป็ นต้น คราวนั้นพระภิกษุสงฆ์ตามบึงบาง แลภิกษุสงฆ์ในบ้านในเมืองร่ ารวยนัก จนไม่มีทอ้ งจะใส่ เพราะมีผเู้ ขาทาบุญให้ทานมาก ครั้นอหิ วาตกโรคสงบเงียบลง
๑๓๓
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
พระภิกษุกอ็ ดโซไป เพลาเช้า ๆ ออกเที่ยวบิณฑบาตก็ไม่ใคร่ จะพอฉัน ท่านที่มี อุปัฏฐากญาติโยมอยูใ่ กล้ ๆ ก็พอยังชัว่ ท่านที่ไม่มีอุปัฏฐากญาติโยม หรื อมีอยูเ่ สี ยไกล ก็ลาบาก เพราะไม่ใคร่ จะมีผทู้ าบุญ ผูท้ ี่จะทาบุญกุศลแลจะเหลียวแลดูพระ จะนับถือพระเป็ นที่พ่ งึ เป็ นที่ระลึก นั้น ก็เมื่อยามทุกข์ภยั บังเกิดขึ้น หรื อเมื่อแก่ทุพพลจวนจะใกล้ตาย หรื อเมื่อยามเจ็บ หนักจวนจะแตกดับ หรื อเมื่อยามความตายใกล้จะถึงเข้า ยามปกติเป็ นสุขสบายอยูแ่ ล้ว ผูท้ ี่จะเหลียวหน้ามาดูพระ แลจะนับถือพระเป็ นที่พ่ ึง แลคิดจะทาบุญทากุศลนั้นน้อย นัก ร้อยส่วนจะได้สกั ส่วน ๑ ก็ท้งั ยาก เว้นเสี ยแต่ผทู้ ี่ไม่ประมาทมีสติคิดอยูเ่ สมอว่า เราจะต้องทุกข์ตอ้ งภัย จะต้องแก่ จะต้องเจ็บ จะต้องตาย สิ่งอื่นไม่เป็ นของเรา บุญบาป นี้แหละเป็ นของเรา อันนี้กเ็ ป็ นธรรมดาของสัตว์ผเู้ ป็ นปุถุชน มีสนั ดานหนาไปด้วย กิเลส ใช่แต่จะมีแต่ในกาลเดี๋ยวนี้กห็ าไม่ ถึงในกาลที่ล่วงไปแล้วก็เป็ นอย่างนี้ กาล ต่อไปข้างหน้าก็จกั เป็ นอย่างนี้เหมือนกัน แต่ถึงกระนั้นเล่า เมื่อยามทุกข์ภยั มาถึงบังเกิดขึ้น หรื อเมื่อความชรา พยาธิ มรณะ ครอบงา แลเหลียวดูพระ เห็นคุณพระนับถือพระ กระทาบุญกุศลก็เป็ นการดี ชื่อว่าเป็ นผูไ้ ม่ประมาท แลชื่อว่าเป็ นผูร้ ักษาไว้ซ่ ึงตน ชื่อว่าเป็ นผูไ้ ม่ประมาท แลรักษา ไว้ซ่ ึงตนนั้น ก็แต่บุคคลที่รักษาตน ผูท้ ี่ไม่รักษาตนแล้ว ย่อมเป็ นผูป้ ระมาทหารักษาซึ่ง ตนไม่ ผูท้ ี่รักษาตนนั้น ย่อมรักษาไว้ซ่ ึงตนในวัยทั้ง ๓ เมื่อรักษาตนในวัยทั้ง ๓ ไม่ได้ ก็ยอ่ มจะรักษาซึ่งตนในวัยอันใดอันหนึ่ง เมื่อเราท่านทั้งปวงมีความรักตน อยากให้ตน ได้ความสุข ไม่อยากให้ทุกข์มาถึงแก่ตนแล้ว จาจะต้องเป็ นผูไ้ ม่ประมาทรักษาไว้ซ่ ึง ตน เมื่อจะรักษาไว้ซ่ ึงตนนั้น พึงปฏิบตั ิตามนัยพุทธภาษิตตรัสเทศนาที่วา่ :อตฺตานญฺเจ ย ชญฺญา รกฺเขยฺย น สุ รกฺขติ ติณฺณมญฺญญตร ยาม ปฏิชคฺเคยฺย ปณฺฑโิ ต
๑๓๔
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
อธิบายความในพระคาถาว่า ถ้าว่าบุคคลพึงรู้ซ่ ึงตนว่าเป็ นที่รักไซร้ บุคคลผูน้ ้ นั พึงรักษาซึ่งตนนั้นให้เป็ น ตน อันตนรักษาไว้ดี คือว่าผูน้ ้ นั จะเป็ นผุร้ ักษาตนดีดว้ ยอุบายอันใด ก็พึงรักษาตนนั้น ด้วยอุบายนั้น พระอรรถกถาจารย์สงั วรรณนาว่า ถ้าบุคคลผูเ้ ป็ นคฤหัสถ์คิดว่า เราจะ รักษาตน เข้าไปยังห้องปิ ดประตูลนั่ กลอนแลถึงพร้อมด้วยอารักขา แม้จะอยูพ่ ้ืนเบื้อง บนปราสาทไซร้ ก็ไม่ชื่อว่ารักษาซึ่งตน ฝ่ ายบรรพชิตแม้จะอยูใ่ นถ้ าที่มีบานประตูปิดเปิ ด ปิ ดเสี ยอยูใ่ นที่น้ นั ด้วยคิด ว่าเราจะรักษาซึ่งตนดังนี้ ก็ไม่ชื่อว่ารักษาตนซึ่งตน ผูท้ ี่เป็ นคฤหัสถ์ เมื่อทาบุญกุศล มีบาเพ็ญทานรักษาศีลเป็ นต้น ตามกาลัง ก็ หรื อบรรพชิต เมื่อถึงซึ่งอันขวนขวายในวัตรปฏิบตั ิแลปริ ยตั ิการเล่าเรี ยน แลกระทาไว้ ในใจซึ่งกรรมฐานภาวนา ย่อมชื่อว่ารักษาซึ่งตน เมื่อไม่อาจปฏิบตั ิอย่างนี้ได้ในวัยทั้ง ๓ ผูเ้ ป็ นบัณฑิตพึงปฏิบตั ิชาระซึ่งตนใน วันอันใดอันหนึ่ง ถ้าหากว่า บุคคลที่เป็ นคฤหัสถ์ครอบครองเรื อนในปฐมวัย ไม่อาจ กระทากุศล เหตุตนยังขวนขวายในกิจการเพื่อจะยังทรัพย์สินให้เกิดขึ้นอยู่ ในมัชฌิม วัยพึงเป็ นผูไ้ ม่ประมาท กระทาบุญกุศล ถ้าในมัชฌิมวัยยังเลี้ยงบุตรภรรยา ไม่อาจ กระทาบุญกุศลได้ไซร้ ในปัจฉิมวัยพึงรี บกระทากุศลเสี ยทีเดียว แม้ปฏิบตั ิได้อย่างนี้ ก็ ชื่อว่าเป็ นผูร้ ักษาซึ่งตน เมื่อไม่กระทาอย่างนี้ ไม่ชื่อว่ารักตน ชื่อว่ากระทาตนให้มี อบายเป็ นที่ไปในเบื้องหน้า ฝ่ ายบรรพชิต ถ้าในปฐมวัยมัวเล่าเรี ยนกระทาการท่องบ่นจาทรงบอกกล่าว แลกระทาวัตรปฏิบตั ิแกพระอุปัชฌาย์อาจารย์เป็ นต้น ถึงซึ่ งความประมาทอยูไ่ ซร้ ใน มัชฌิมวัยพึงเป็ นผูไ้ ม่ประมาท เจริ ญสมณธรรม ถ้าในมัชฌิมวัยยังใคร่ ถามเนื้อความแล ข้อวินิจฉัยเหตุอนั ใช่เหตุแห่งปริ ยตั ิที่ตนเล่าเรี ยนในปฐมวัย ถึงซึ่งความประมาทอยู่ ใน
๑๓๕
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ปัจฉิมวัย พึงเป็ นผูไ้ ม่ประมาทเจริ ญสมณธรรม เมื่อปฏิบตั ิอย่างนี้ ชื่อว่าเป็ นผูร้ ักซึ่งตน เมื่อไม่ปฏิบตั ิอย่างนี้ ไม่ชื่อว่ารักตน ย่อมจะทาตนให้เดือดร้อนเนือง ๆ ในภายหลัง โดยนัยพุทธภาษิตและอรรถกถาจารย์แสดงไว้ฉะนี้ เหตุดงั นั้น สาธุชนสัปบุรุษพึงปฏิบตั ิให้ชื่อว่าเป็ นอันรักตน ประกอบการ กุศล แลศึกษาให้รู้จกั ชาติ ชรา มรณะ โดยนัยที่วสิ ัชนามาฉะนี้ ๚
๑๓๖
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
“ ผูม้ าได้เกิดเป็ นมนุษย์พบ พระพุทธศาสนานี้ แล้ว ไม่ปฏิบตั ิ ตามคาสัง่ สอนของพระพุทธเจ้า ผู ้ นัน้ เป็ นคนนอกศาสนานี้ แท้ เสียทีที่ เกิดเป็ นมนุษย์พบพระพุทธศาสนา นี้ ทีเดียว
”
๑๓๗
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
มรโณบาย สมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร สาธุชนทั้งปวง แต่บรรดาที่นบั ถือพระพุทธศาสนาพึงทราบทัว่ กันว่า อาการตาย ของมหาชนทั้งสิ้นมีอยู่ ๒ อย่าง คือ ตายปราศจากองค์ ๔ เรี ยกว่า ตายอนาถาหาที่พ่ ึงมิได้ อย่างหนึ่ง ตายพร้อมด้วยองค์ ๔ เรี ยกว่า ตายไม่อนาถาประกอบด้วยที่พ่ ึงอย่างหนึ่ง รวมกันเป็ น ๒ อย่ างด้ วยกัน องค์ ๔ นั้นคือ ละห่วงใยภายนอก คือ วิญญาณกับทรัพย์ อวิญญาณกับทรัพย์เสี ยได้ อย่างหนึ่ง ละห่วงใยภายในคือ เห็นจริ งว่านามรู ปเกิดขึ้นแล้วนามดับรู ปแตกไป เพิกเฉย เสี ยได้อย่างหนึ่ง ปรารภถึงทางศีลภาวนาของตนแล้ว เกิดความปี ติอิ่มใจ ชื่อว่าละนิวรณ์ ได้อย่างหนึ่ง พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ที่เป็ นที่พ่ ึงของตน ก็เห็นว่าเป็ นที่พ่ งึ ได้จริ งๆ ไม่มีความสงสัยอย่างหนึ่ง รวมเป็ นองค์ ๔ ด้ วยกันดังนี้ เมื่อจะตายให้นึกว่า กายมันจะแตก วิญญาณนี้มนั จะดับ เป็ นของไม่เที่ยง ไม่ใช่ของ เรา ไม่มีใครตาย นามดับรู ปแตกต่างหาก เมื่อจะตายนึกให้เห็นจนใจเป็ นกลาง ไม่ยนิ ดีต่อความเป็ น ไม่กลัวต่อความตาย เมื่อ ทาใจได้ดงั นี้ เป็ นเอกทีเดียว
๑๓๘
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ปัญจขันธ์ แปลว่า ขันธ์ ๕ คือ รู ปขันธ์ ๑ เวทนาขันธ์ ๑ สัญญาขันธ์ ๑ สังขารขันธ์ ๑ วิญญาณขันธ์ ๑ รวมเป็ นขันธ์ ๕ ด้วยกัน นี่แหละจัดเป็ นตัวทุกข์ ขันธ์ท้งั ๕ นี้เป็ นปริ ญญาตัพพธรรม คือ เป็ นธรรมควรที่ สัตว์จะต้องกาหนดรู้เสียให้จงได้ ทุกข์อริ ยสัจ จบ อวิชชา ความที่ไม่รู้วา่ เบญจขันธ์เป็ นทุกข์ ตัณหาจึงได้หลงรักหลงใคร่ หลงอยาก ได้ซ่ ึงภวะ คือ ความอยากมีอยากเป็ นในภพ อันจะบังเกิดต่อๆ ไป ท่านเรี ยกว่า อุปัตติภพ คือ เบญจขันธ์น้ นั เอง นี่แลจัดเป็ นตัวสมุทยั คือ เป็ นเหตุที่จะก่อทุกข์ให้เกิดขึ้น อวิชชาภวตัณหา ทั้งสามนี้เป็ นปหาตัพพธรรม คือ เป็ นธรรมควรที่สตั ว์จะต้องสละ ละวางเสี ยให้จงได้ฯ ทุกข์ สมุทยั อริยสัจ จบ วิชชา ความรู้ที่วา่ ขันธ์ท้งั ๕ เป็ นทุกข์และรู้วา่ อวิชชาภวตัณหา เป็ นสมุทยั รู้แจ้งชัด ดังนี้แล้วก็วิมุตติ สละละเสี ย ปล่อยเสี ย วางเสี ย ไม่ยนิ ดี รักใคร่ ไม่ดิ้นรนอยากได้ ด้วย ตัณหาไม่ถือว่าตัวตน ด้วยทิฏฐิวา่ นัน่ ตัวเรา นี่แลจัดเป็ นนิโรธความดับทุกข์ วิชชากับ วิมุตติน้ ีเป็ นสัจฉิกาตัพพธรรม ว่าเป็ นธรรมควรที่สตั ว์จะต้องให้เกิดมีข้ ึนให้จงได้ ทุกข์ นิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ จบ ถ้าไข้หนักพักใหญ่มีความเวทนากล้านัก ให้เอาเวทนาเป็ นอารมณ์ให้ทาในใจว่า เวทนาอาศัยสัมผัสเกิดขึ้นมันจะดับ เวทนาต่างหาก ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ตวั ตน ของเรา แล้วพูดยกย่องสรรเสริ ญว่า ในศาสนาก็เป็ นยอดอยูเ่ ท่านี้เป็ นของสาคัญนัก ใคร อุตส่าห์ศึกษาในวิชานี้เป็ นวิชชาประเสริ ฐ สมาธิ มี ๒
๑๓๙
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
อุปจารสมาธิ ๑ อัปปนาสมาธิ ๑ เป็ น ๒ ดังนี้ อธิบายว่า สาธุชนเมื่อจะเจริ ญกัมมัฏฐานอันใดมีอารมณ์หยาบ กัมมัฏฐานนั้นท่าน จัดว่าเป็ นอัปปนาสมาธิ กัมมัฏฐานใดมีอารมณ์ละเอียด กัมมัฏฐานนั้นท่านจัดว่าเป็ นอุปจารสมาธิ ท่านจึง จัดเอากสิ ญ ๑๐ อสุภะ ๑๐ อนุสติ เอาแต่ ๒ คือ กายคตาสติ อานาปานสติ อัปปมัญญา ๔ รวมเป็ น ๒๖ ดังนี้ ท่านจัดเป็ นฝ่ ายข้างอัปปนาสมาธิ ยังอนุสติอีก ๘ กับจตุธาตุววัตถาน ๑ อาหาเรปฏิกลู สัญญา ๑ อรู ป ๔ รวมเป็ น ๑๔ ก็กมั มัฏฐาน ๑๔ นี้ท่านจัดเป็ นฝ่ ายข้างอุปจาร สมาธิ จะว่าด้ วยอุปจารสมาธิก่อน อุปจารสมาธิน้ นั ตั้งอยูไ่ ม่นาน มีอาการเหมือนทารกท่าสอนยืน ยืนไม่สูม้ นั่ ยืนอยู่ ได้ไม่นาน อีกอย่างหนึ่งอุปจารสมาธิน้ ี ท่านเปรี ยบเหมือนบุคคลที่เลี้ยงไม้ ไม่ต้งั อยูไ่ ด้ นานๆ ก็ฝ่ายข้างอัปปนาสมาธิน้ นั แนบเนื่องอยูก่ บั อารมณ์ปรากฏตั้งอยูน่ านๆ มีอาการ เหมือนทารกที่ยนื มัน่ ๆ นั้น ย่อมอยูไ่ ด้นานๆ ตามประสงค์ สมาธิ ๒ ประการนี้ เรี ยกว่า จิตตวิสุทธิ ความบริ สุทธิ์ของจิต เป็ นบาทของวิปัสสนา วันหนึ่ ง ท่านว่า ศาสนาของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็ยงั มีความอัศจรรย์อยู่ แต่ไม่มีผู้ ปฏิบตั ิหรื อปฏิบตั ิไม่ถึง ถ้าปฏิบตั ิจริ งๆ ก็ยงั ปรากฏเป็ นตทังคปหานได้ คือ ละกิเลสได้ครู่ หนึ่งพักหนึ่งขณะหนึ่ง ต่อได้ฌานจึงจะเป็ นวิขมั ภนปหาน คือ ละกิเลสได้นานๆ
๑๔๐
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ต่ออริ ยมรรคบังเกิดจึงจะเป็ นสมุจเฉทปหาน วันหนึ่ง ปรารภถึงความตายว่า ความตายนี้ไม่รู้ตวั ด้วยกันหมดไม่วา่ ใคร เร่ งเตรี ยม ตัวตายเถิด แล้วท่านว่าอย่างไร จึงจะเรี ยกว่าเตรี ยมตัวตาย จะทาอย่างไร ทาให้เห็นว่า ตัวตนไม่มี นัน่ แหละเรี ยกว่าเตรี ยมตัวตายล่ะ เรี ยกว่า อนัตตา แล้วท่านถามต่อไปว่า รู้อวิชชาแล้วหรื อ พระเรี ยนว่า ทราบแล้ว ท่านว่าถ้าไม่รู้จกั อวิชชาแล้วหรื อ พระเรี ยนว่า ทราบแล้ว ท่านว่าถ้าไม่รู้จกั อวิชชาเต็มที่แล้ว อวิชชานี้ครอบ หมดทั้งสามภพ อวิชชานี้ละเอียดกว่าโมหะ โมหะนั้นหยาบ เพราะโมหะนั้นทาแต่บาป ห้ามบุญ วิชชานั้นทาแต่บุญห้ามบาป อวิชชานั้นโง่ไม่รู้วิเศษก็เมื่อว่า ทาบุญแล้วมันก็ให้ก่อเกิด เพราะว่าอวิชชาเป็ นปัจจัยแก่สงั ขาร ครั้นเกิดขึ้นแล้วก็เป็ นทุกข์ ต่อไม่เกิดจึงจะเป็ นสุข หมดบุญหมดบาปจึงจะเป็ นสุข ทาอย่ างไรจึงจะหมด บุญ บาป ก็อย่าให้มนั มีตวั ซี ก็ใครเล่ามันจะเสวย บุญ บาป สมด้วยเทศนาว่า สิ่ งใดเป็ นไป ด้วยความก่อเกิดแล้ว ไม่เป็ นธรรมเป็ นวินยั เป็ นศาสนาของพระตถาคต วันหนึ่ง ท่านแสดงว่า จะรู้จกั ของ ๘ สิ่ งคือ พระพุทธ ธรรม สงฆ์ นี้ รู้จกั ยากนัก รู้ แต่ชื่อ จาได้แต่ชื่อ เปรี ยบเหมือนคนตามืด ธรรมดาคนตามืดนั้น เมื่อมีผจู้ บั มือไปลูบเข้าที่ ตัวช้างม้าก็จาไว้ได้ ครั้นตนไปพบปะถูกต้องลูบคลา เข้าทีหลังก็จาได้วา่ นี่ ช้าง ม้า รู้แต่ เท่านั้น ที่จะรู้วา่ ช้าง ม้า นั้น รู ปพรรณสัณฐานอวัยวะน้อยใหญ่อย่างนั้นๆ ไม่รู้ เหมือนกัน คนที่ไม่มีปัญญาๆ นั้นเขาเรี ยกว่า อันธะ แปลว่า คนมืด ถ้ามีปัญญาเขาเรี ยกว่า จักขุมา แปลว่า มีตา คือ ปัญญา
๑๔๑
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
แล้วท่ านว่าบุญอยู่ทไี่ หน พระเรียนว่า อยู่ทใี่ จ ท่านว่า ไม่ถูก ไปหาใหม่ เรี ยกว่าหาไม่ได้ ท่านว่าบุญก็ที่สติ ถ้าระลึกตรึ กอยูใ่ น อารมณ์ที่ควรระลึก ที่ควรตรึ กแล้วก็เป็ นบุญอยูเ่ สมอ ถ้าปล่อยสติเสี ยวางสติเสี ย บาปก็เข้า ได้ ก็การที่ระลึกตรึ กนั้น จาเพาะให้ระลึกให้ตรึ กอยู่ ๔ อย่าง คือ กาย เวทนา จิต ธรรม เมื่อระลึกถึงกายก็เป็ นกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน เมื่อระลึกถึงเวทนาจิตธรรม ก็เป็ น เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ว่าด้วย ธรรมในที่น้ ี ธรรมข้างดีประสงค์เอาโพชฌงค์ ธรรมข้างชัว่ ประสงค์เอานิวรณ์ นี่แหละจะ ระลึกจะตรึ ก ก็ระลึกก็ตรึ กใน ๔ อย่างดังว่ามานี้ จึงเป็ นสติปัฏฐาน ๔ เมื่อระลึกอยูใ่ น ๔ อย่างนี้แล้ว บาปจะมีมาแต่ไหน คราวหนึ่งท่านปรารภว่า ถ้าเห็นจริ งเสี ยแล้วก็จะดีๆ นี่มีอาการเหมือนวานรอุม้ ผล มะพร้าว พวกเราทั้งหมดสวดไปร้องไป ไม่เห็นจริ งๆ เพราะอะไรไม่เห็นจริ ง เพราะโง่ ถ้า เห็นจริ งเสี ยว่าไม่ใช่ใครแล้ว ก็หายโง่ เรี ยกว่าวิชชา ตามแต่จะเห็นเถิดเห็นเป็ นขันธ์กต็ าม ธาตุกต็ าม อายตนะก็ตาม นามรู ปก็ตาม อาการ ๓๒ ก็ตาม เหมือนกันหมดทั้ง ๓ ภพ ไม่มี อะไร เมื่อเห็นแล้วก็มีความเย็นเป็ นสุขกันเท่านั้น สามัญญสัตว์ท้งั สิ้น เห็นว่าอบายเป็ น ทุกข์ มนุษย์ ฉกามาวจร รู ป อรู ป เป็ นสุข แต่พระพุทธเจ้าองค์เดียวเท่านั้น และเห็นว่าเป็ น ทุกข์ สัตว์ท้งั สิ้นไม่เห็นเลยว่าเป็ นทุกข์ พระองค์ตรัสว่า ชาติปิ ทุกฺขา เกิดเป็ นทุกข์ เกิด ไหนๆ เป็ นทุกข์หมด เห็นแล้วหรื อพระองค์ตรัสเป็ นอัศจรรย์นกั เช่นนี้นี่ไม่มีใครพูด
๑๔๒
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
นัน่ แหละเป็ นของสาคัญนัก เป็ นหลักใหญ่ เป็ นกระทูใ้ หญ่ ตรึ กตรองให้เห็นให้ได้ เป็ นศาสนา คาสอนของพระแท้ๆ อันจะเห็นว่าชาติเป็ นทุกข์น้ นั ต่อเห็นว่า ไฟ ๑๑ กอง มัน ไหม้มนั เผาอยูเ่ ป็ นนิตย์ อาทิตตปริ ยายสูตร ไฟ ๑๑ กอง ๑. ไฟราคะ ๒. ไฟโทสะ ๓. ไฟโมหะ ๔. ไฟชาติ ๕. ไฟชรา ๖. ไฟมรณะ ๗. ไฟโสกะ ๘. ไฟปริเทวะ ๙. ไฟทุกข์ ๑๐. ไฟโทมนัส ๑๑. ไฟอุปายาส จึงจะเห็นว่าชาติเป็ นทุกข์ ถ้าไม่อย่างนั้น ก็ไม่เห็น นัง่ อยูด่ ว้ ยกันทั้งหมด ไฟมันไหม้ มันเผาอยูก่ ไ็ ม่รู้ตวั ไฟอะไร ไฟโง่นนั่ ซิ เรี ยกว่า โมหัคคิ จะดับได้ดว้ ยปัญญา เรี ยกว่า ปัญญาอัคคิ พระสอนไว้ในวินยั ว่าไฟป่ าไหม้มาให้จุดไฟบ้านรับ ไฟป่ าไหม้มาถึงเชื้อไม่มี แล้วไฟป่ าก็ดบั ไฟกิเลสไหม้มาให้จุดไฟปัญญารับ ไฟกิเลสก็ดบั พระพุทธเจ้าท่านเป็ นสีตภูโตแล้ว ท่านเป็ นผูเ้ ย็นแล้ว ไฟ ๑๑ กองท่านดับได้แล้ว ท่านว่าเห็นแล้ว หรื อนิพพาน พระกราบเรี ยนว่าเห็นแล้ว ท่านว่าเออดีล่ะ คราวหนึ่งท่าน แสดงว่า ธัมโม สันทิฏฐิโก พระธรรมนี้ใครปฏิบตั ิแล้ว คนนั้นเห็นด้วยตนเองเห็นจริ งๆ
๑๔๓
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ทีเดียวอย่าสงสัยเลย แต่ผปู้ ฏิบตั ิใคร่ จริ ง อยากจะรู้อยากจะเห็นธรรมของพระ ปรารถนา ธรรมของพระด้วยกันทั้งนั้น สิ่ งนั้นก็เอา สิ่ งนี้กเ็ อา แต่ไม่ได้จริ งสักสิ่ ง ถ้าอย่างนั้นแล้วเป็ นที่พ่ งึ ไม่ได้ เพราะว่าถึงที่จะต้องการสิ ไม่รู้วา่ จะหยิบจะฉวยเอาสิ่ งไหน ถึงน้อยถึงสิ่ งเดียวก็เอา เถิด แต่ตอ้ งให้ได้จริ งๆ ถ้าว่าได้จริ งแล้วก็เป็ นที่พ่ ึงได้ ถ้าปรารถนาข้างมากแล้วก็ตอ้ งให้ได้จริ งทุกสิ่งๆ ไป สิ่ งนั้นได้จริ งแล้ว ทาสิ่ งโน้น ให้ได้จริ งอีก ไม่วา่ สิ่งไหนได้จริ งทุกสิ่ ง ถ้าเช่นนั้นใช้ได้ จะหยิบเอาสิ่ งไหนก็ได้ ทันใจ เอาเป็ นที่พ่ ึงได้ ถ้าเป็ นแต่มากเปล่าๆ เช่นนั้นจะทาอย่างไร เมื่อจะตายจะเอาอะไรเป็ นที่พ่ ึง จะเอา อะไรเป็ นที่ต้งั แห่งจิตที่เร่ าร้อนยิง่ เหมือนอย่างหลวงรัตน์เขาว่า เขาใช้อานาปา ปลัดรอด สามเสน เขาว่าเขาใช้อานา ปา แต่หาเป็ นอานาปาไม่ กลายเป็ นมรณสติไป เอาเถอะถึงอย่างนั้นก็ใช้ได้ เป็ นอนัตตาอยู่ ล่ะ แล้วจึงถามว่า ถ้าเราเล่าจะเอาอะไร พระกราบเรี ยนว่า เกล้าผมใช้อยูท่ ุกวันนี้ ตามที่ ฝ่ าเท้าสอน ถามว่าอย่างไรเล่า กราบเรี ยนได้กระทาในใจดังนี้วา่ นามรู ปอาศัยแก่กนั ชีวิตเลี้ยง นามรู ปไว้ ชีวติ ขาด นามดับ รู ปแตก ได้ทาตามคาสอนของฝ่ าเท้าดังนี้ ท่านว่าแน่หรื อ กราบเรี ยนว่าแน่ ท่านว่า เออ ดีล่ะ แต่ให้จริ งๆ นี่แหละ ถามว่าอย่างไรเล่า กราบเรี ยนได้กระทาในใจดังนี้วา่ นามรู ปอาศัยแก่กนั ชีวิตเลี้ยง นามรู ปไว้ ชีวิตขาด นามดับ รู ปแตก ได้ทาตามคาสอนของฝ่ าเท้าดังนี้ ท่านว่าแน่หรื อ กราบเรี ยนว่าแน่ ท่านว่า เออ ดีล่ะ แต่ให้จริ งๆ นี่แหละศาสนาคา สอนของพระล่ะ แล้วถามที่ต้งั แห่งจิตนั้นอะไร พระกราบเรี ยนว่ายังไม่ทราบ
๑๔๔
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ท่านจึงบอกว่าปัญญา สัจจะ จาคะ อุปสมะ นี่แหละที่ต้งั แห่งจิต พระเจ้าศรี ธรรมาโศกราชสวรรคตไปบังเกิดในกาเนิดงูเหลือม เพราะโทสะ พยาบาทนิวรณ์ ภิกษุที่ตายไปเป็ นเอรกปัตตนาคราช เพราะโทสะ อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ อุบาสกเจริ ญกายคตาสติ ไม่ได้ธรรมวิเศษเกิดสงสัยตายไปเป็ นจระเข้ เพราะโทสะ วิจิกิจฉานิวรณ์ ภิกขุห่วงในจีวรตายไปเกิดเป็ นเล็น โตเทยยพราหมณ์ห่วงในของที่ฝังไว้ ตายไปเกิดเป็ นสุนขั ชนทั้ง ๒ นี้เกิดในกาเนิดเดรัจฉาน เพราะโทสะ กามฉันทนิวรณ์ ท่าน ทั้งหลายถึงมีความสังเวชเถิด แต่ภิกษุมีศีลบริ สุทธิ์แล้ว ยังหาได้ไปสวรรค์ไม่ กามฉันท นิวรณ์ก้ นั กางไว้ ฝ่ ายโตเทยยพราหมณ์เล่า กามฉันทนิวรณ์กห็ น่วงไว้ ให้เป็ นเดรัจฉาน ก่อนตายไปจากเดรัจฉานไปอบาย คราวหนึ่ง สมเด็จท่านไปสอนพระยาตาก เมื่อป่ วยหนักใกล้จะตายสอนว่า เมื่อ เวทนาครอบงากล้านัก ให้ภาวนาว่า ไม่มีใครเจ็บ นามต่างหาก รู ปต่างหาก ไม่ใช่ของเรา ช่างมัน เมื่อใกล้จะตายให้ภาวนาว่า ไม่มีใครตาย นามดับรู ปแตกต่างหาก ไม่ใช่ของเรา ช่างมัน ถ้าภาวนาแต่ปาก ใจไม่เพิกเฉยได้ ไม่เห็นจริ งดังว่า ก็ยงั เป็ นอัญญานุเบกขาอยู่ ต่อ เพิกเฉยได้จริ ง เห็นจริ งเหมือนดังว่า จึงจะเรี ยกว่า อุเบกขาได้ เรี ยกว่า สังขารุ เบกขาญาน เป็ นตัววิปัสสนา พราหมณ์ผหู้ นึ่งนามไม่ปรากฏ เข้าไปสู่ที่เฝ้ าพระผูท้ รงพระภาค กราบทูลถามว่าจะ ถวายบูชาพระธรรมจะทาอย่างไร ถวายแก่ใคร จึงจะได้ชื่อว่าถวายแก่พระธรรม บูชาแก่ พระธรรม พระธรรมไม่มีรูปไม่มีร่างไม่มีตวั ขอพระผูท้ รงพระภาคโปรดแสดงให้ฉนั ทราบเทอญ ทรงตรัสว่า ดูกร พราหมณ์ท่านจะบูชาพระธรรมไซร้ ถ้าผูใ้ ดทรงธรรม ท่าน จงบูชาผูน้ ้ นั เถิด ท่านจงให้แก่ผนู้ ้ นั เถิด บูชาของท่านก็ได้ชื่อว่าบูชาพระธรรม ทานของ ท่านก็ได้ชื่อว่าให้แก่พระธรรม
๑๔๕
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
คฤหบดีผหู้ นึ่งไม่ปรากฏโดยนาม ถ้าจะถวายเทยยธรรมเป็ นทานครั้งใด ย่อมเลือก ย่อมคัดจัดสรรเอาแต่ภิกษุที่ถือธุดงควัตร วันหนึ่งจึงไปสู่ที่เฝ้ ากราบทูลอัชฌาศัยของตนให้ พระผูท้ รงพระภาคทรงทราบเหตุทุกประการ พระองค์จึงตรัสว่า ดูกร คฤหบดีจงถวายแก่ พระสงฆ์เถิด อันจาเพาะต่อสงฆ์น้ ี จิตใจบริ สุทธิ์ ปราศจากความรังเกียจไม่สอดแคล้วกิน แหนง พ้นจากอคติท้งั ๔ เอาจิตที่ตรงต่อพระสงฆ์เป็ นประมาณนั้นและประเสริ ฐ พระมหาปชาบดี พระแม่นา้ จะถวายผ้าแก่พระผูท้ รงพระภาค พระองค์เจ้าไม่ทรง รับ ทรงพระกรุ ณาจะให้พระเจ้าแม่นา้ มีผลานิสงส์มาก โปรดให้ถวายแก่สงฆ์ ทรงตรัสว่า ถวายสงฆ์กไ็ ด้ชื่อว่าถวายตถาคต ตถาคตก็นบั ในสงฆ์อนั ถวายเป็ นสงฆ์ได้ชื่อว่าถวาย พร้อมทั้ง ๓ รัตนะ คราวหนึ่ง ท่านว่าเราทุกวันนี้นบั ถือพระพุทธ ธรรม สงฆ์ เราปรารถนาจะบริ จาค จะถวายแก่พระพุทธ ธรรม สงฆ์ เราก็บริ จาคถวายแก่ผทู้ ี่นบั ถือพระพุทธ ธรรม สงฆ์ พึงรู้ เถิดว่า พระนามพระพุทธเจ้านั้น ก็เพราะพระองค์รู้ธรรม จึงได้เป็ นพระพุทธเจ้า ศีลเป็ น คู่ปรับกับราคะ สมาธิเป็ นคู่ปรับกับโทสะ ปัญญาเป็ นคู่ปรับกับโมหะ ปฐวีธาตุเป็ นมรรค วิถีของทุกขสัจ อาโปธาตุเป็ นมรรควิถีของสมุทยั เตโชธาตุเป็ นมรรควิถีของนิโรธ เป็ นกิจ ของกิเลสนิพพาน วาโยธาตุเป็ นเหตุของความจะดาเนินไปยังขันธนิพพาน อากาสวิญญาน ดูเหมือนมีแต่โลกอุดร คราวหนึ่งสมเด็จพระวันรัต พระอุปัชฌาย์สอนพระครู ธมั มคุต เมื่อไข้หนักดังนี้ ให้ นึกถึงตัวให้เห็นว่าไม่มีใคร เกิดแก่เจ็บตาย เป็ นแต่รูปนาม ชีวิตเลี้ยงไว้เป็ นอยูไ่ ม่ใช่ของเรา ช่างมัน อย่าเอาจิตอาดูรไปที่ทุกขเวทนา นี้เป็ นคาสอนของพระศาสดา จงทาไว้ในใจอย่าง นั้นร่ าไปเถิด อย่าประมาทเลย ชีวติ เป็ นอนิจจัง เพราะอาพาธป่ วยไข้มากอยูแ่ ล้ว แต่คนดีๆ
๑๔๖
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ไม่เจ็บไข้ยงั ตายง่ายๆ อย่าไว้ใจของตนเลย ครั้งที่ ๑ ที่ ๒ เดี๋ยวนี้ร่างกายก็เต็มที ประกอบ ไปด้วยความทุกขเวทนามากนัก ดับเสี ยหมดเป็ นสุขจริ ง นึกเอาพระนิพพานเป็ นอารมณ์วา่ เอต สนฺ ต เอต ปณี ต นี่ละเอียดนัก นี่ประณี ตนัก อะไรคือร่ างกาย จิตในนามรู ปนี้มนั ดับเสี ย สิ้น เป็ นธรรมอันประณี ตละเอียดนักดังนี้ นี่เป็ นโอวาทของพระอุปัชฌาย์สอนพระครู ธมั ม คุต อุตส่าห์มีสตินึกไว้ให้ดีเถิด เป็ นปัจฉิมที่สุดอยูแ่ ล้ว เกิดกับตายเป็ นของคู่กนั เกิดแล้วก็ ต้องตายเป็ นธรรมดา โลกวิทู เป็ นเหตุ สุคโต เป็ นผล สุคโต เป็ นเหตุ วิชฺชาจรณสมฺ ปนฺ โน เป็ นผล วิชฺชาจรณสมฺ ปนฺ โน เป็ นเหตุ สมฺ มาสมฺพุทฺโธ เป็ นผล สมฺ มาสมฺ พุทฺโธ เป็ นเหตุ อรห เป็ นผล ตณฺ หานิโรโธ นิพฺพาน ดับตัณหาหมด เรี ยกว่า กิเลสนิพพาน รู้จกั ตัณหาแล้วก็รู้จกั นิพพาน ทุกฺขนิโรโธนิพฺพาน ดับทุกข์หมดเรี ยกว่า ขันธนิพพาน รู้จกั ทุกข์แล้วก็รู้จกั นิพพาน คราวหนึ่งเจ้าคุณถามว่า ชาติ รู้จกั ง่ายหรื อยาก ฉันเรี ยนว่ารู้จกั ยาก ท่านจึงเล่าให้ฟัง ว่า ท่านถามพระองค์เจ้า พระองค์เจ้าก็วา่ เตร็ดเตร่ ไปไม่ตรง แล้วท่านว่า ของๆ ท่าน ท่าน แก้ไขไว้ตรงๆ ว่า ขนฺ ธาน ปาตุภโว ปรากฏขึ้นแห่งขันธ์ท้งั หลาย เรี ยกว่า ชาติ ก็ใครเกิดเล่า ขันธ์เกิดต่างหาก ขนฺ ธาน เภโท ความแตกแห่งขันธ์ท้งั หลายเรี ยกว่า มรณ ก็ใครตายเล่า ขันธ์ตายต่างหาก ท่านว่าถ้าใครรู้ชาติ แล้วไม่กลัวเกิดตาย ถอนสักกายทิฏฐิได้เป็ นองค์โสดาบัน ได้ พบพระล่ะ เห็นตามกระแสพระล่ะ ออกตัวได้ล่ะ เกิดแก่เจ็บตายจะทาไม ใครเล่าออกตัว
๑๔๗
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ได้ทุกแห่ง ออกขันธ์กไ็ ด้ ออกอายตนธาตุ ออกรู ปนาม ออก ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง ก็ได้ ออกได้ทุกแห่ง ใครเกิดก็ไม่มี ใครตายก็ไม่มี วันพฤหัสบดี เดือนเก้าขึ้นเก้าค่า สมเด็จพระวันรัตได้สงั่ ไว้วา่ จาไว้ให้ได้ เอาไว้ใช้ เมื่อจะตาย แล้วให้บอกกล่าวกันทัว่ ๆ ไป ให้ภาวนาว่า ร่ างกายจิตใจนี้ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ เรา ไม่ใช่ตวั ของเรา ท่านสัง่ กาชับนัก พึงรู้ทวั่ ๆ กันเถิด เป็ นศาสนาของพระสัมมาสัมพุทธ เจ้า เป็ นหนทางพระนิพพาน แล้วพูดยกย่องสรรเสริ ญว่า ในศาสนาก็เป็ นยอดอยูเ่ ท่านี้ เป็ น เอกอยูเ่ ท่านี้ เป็ นของสาคัญนัก ใคร่ อุตส่าห์ศึกษาในวิชชานี้ เป็ นวิชชาประเสริ ฐ ท่าน ทั้งหลายได้ทราบแล้ว พึงสาเหนียกโดยเคารพเถิด อนึ่ง คาว่าให้ภาวนาว่า ร่ างกายไม่ใช่ของเรา เป็ นต้นนั้น ให้พึงจาทรงไว้ให้แม่นยา ชานาญด้วยดี เพราะเป็ นมรรคาปรมัตถ์ประโยชน์อย่างยิง่ แลเป็ นพาหุลเทศนา พระพุทธเจ้าทรงตรัสสอนเรื่ องนี้มากกว่าอย่างอื่นๆ ขอพึงให้อุตส่าห์มนสิ การไว้ทุกวันๆ เถิด อย่าให้ขาดได้ จะได้เป็ นความชอบความดีอย่างยิง่ ของเรา และเป็ นอันไม่เสี ยที่เกิดเป็ น มนุษย์ พบพระพุทธศาสนานี้ จบแต่ เท่ านี้ ๚
๑๔๘
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
ภาพเผาซากศพที่วดั สระเกศ ถ่ายโดย ลูเซียง ฟูร์เนโร นักสารวจชาวฝรั่งเศสเมื่อปี ๒๔๓๔ แต่เดิมนั้นป่ าช้าวัดสระเกศ เป็ นที่ภาวนาอสุ ภกรรมฐานของพระสงฆ์ในกรุ งเทพฯ แม้แต่สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ก็ยงั มาภาวนาที่น่ ี
๑๔๙
ประมวลนิ พนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธสิริ) วัดโสมนัสวิหาร
กิตติกรรมประกาศ ข้าพเจ้า “ยุคนธร” เป็ นแต่เพียงผูเ้ รี ยบเรี ยงนิพนธ์ของสมเด็จพระวันรัต (ทับ พุทธ สิ ริ) มาประมวลกันเข้าเป็ นรู ปเล่ม มิได้อุสาหะอันใดมากมายนัก ผิดกับผูอ้ ุทิศตนเผยแผ่ พระธรรมเทศนานี้ ได้มีจิตเมตตากรุ ณา ถ่ายทอดเผยแผ่พระธรรมเทศนาของสมเด็จพระ วันรัตให้สาธุชนได้ประจักษ์ และได้ลิ้มในอมตรส คือพระธรรม บุคคล หน่วยงาน และแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่ขา้ พเจ้านาข้อมูลมาเรี ยบเรี ยงไว้ใน หนังสื อ “สิ ริแห่งพุทธะ” มีดงั ต่อไปนี้ เว็บไซต์ Dharma-Gateway เว็บไซต์ผเู้ ผยแพร่ ขอ้ มูลและหลักธรรมทางพุทธศาสนา อันมีประโยชน์ยงิ่ ข้อเขียนของคุณ ภัทระ คาพิทกั ษ์ บรรณาธิการหนังสื อพิมพ์โพสต์ทูเดย์ เว็บไซต์ของวัดโสมนัสวิหาร รวมข้อมูลต่างๆ ทางอินเทอร์เน็ต และหนังสื อบาง เล่ม เช่น ธรรมประวัติ ของหลวงปู่ จามฯ เป็ นต้น ต้องขอขอบพระคุณทุกท่านมา ณ ทีน้ ีดว้ ย และขออุทิศคุณความความดีท้งั ปวง แก่ ท่านทั้งหลาย ในการช่วยส่งเสริ มพระบวรพุทธศาสนาให้สถาพร มัน่ คง เป็ นหลักชัย และ หลักใจของมหาชนสื บไป
๑๕๐