ภิกขุปาติโมกข์ปาฬิ ฉบับ จปร. อักษรสยาม ปาฬิภาสา-อักษรสยาม เทียบกับ เสียงอ่าน ตามอักขรวิธเี ขียนพระไตรปิฎกปาฬิ อักษรสยาม ๒๔๓๖
พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช อักษรสยาม ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล ๒๕๕๔
ภิกขุปาติโมกข์ปาฬิ ฉบับ จปร. อักษรสยาม จัดพิมพ์เฉลิมพระเกียรติ ๑๐๐ ปี วันสวรรคต
พระจุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช และ เผยแผ่เป็นธัมมทานเนื่องในโอกาสที่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้
สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ ในงานพระราชทานเพลิงถวายสรีระ
พระธรรมวิสุทธิมงคล (หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน) ณ วัดป่าบ้านตาด อุดรธานี วันที่ ๕ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๕๔
ภิกขุปาติโมกข์ปาฬิ ฉบับ จปร. อักษรสยาม ปาฬิภาสา-อักษรสยาม เทียบกับ เสียงอ่าน ตามอักขรวิธเี ขียนพระไตรปิฎกปาฬิ อักษรสยาม ๒๔๓๖
พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช อักษรสยาม ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล ๒๕๕๔
คำนำในการจัดพิมพ์ ภิกขุปาติโมกขปาฬิ ฉบับ จปร. อักษรสยาม (ภิกขุปาติโมกขปาฬิ อ่านว่า ภิกขุปาติโมกขะปาฬิ) ในปี พ.ศ. 2431 เมือ่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 พระเจ้ากรุงสยามทรง โปรดให้จดั พิมพ์พระไตรปิฎก “ปาฬิภาสา” หรือ “ภาษาพระธัมม์” เป็นชุดหนังสือพระไตรปิฎกปาฬิ 39 เล่มนั้น ปัญหาที่สำคัญยิ่งคือ การสร้างระบบอักขรวิธีการเขียน “ปาฬิภาสา” ขึ้นใหม่ที่จะ พิมพ์ด้วย “อักษรสยาม” ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพราะพระไตรปิฎกปาฬิฉบับเก่าแก่ของชาติ ไทยนั้น เป็นฉบับที่เขียนด้วยมือเป็นอักษรขอมโบราณบนใบลานที่ได้สังคายนาไว้ตั้งแต่ พ.ศ. 2331 ในสมัยรัชกาลที่ 1 เหตุผลสำคัญที่ทรงโปรดให้ใช้อักขรวิธีการเขียนปาฬิภาสาด้วยอักษรสยาม ก็เพื่อให้คนไทย ทั่วทั้งประเทศสามารถอ่านปาฬิภาสาด้วยอักษรสยามได้โดยสะดวก แทนอักษรขอมที่ใช้บันทึกปาฬิ อยู่เดิม โดยไม่จำกัดให้รู้อยู่เฉพาะในวงการสงฆ์ หรือผู้ซึ่งคุ้นเคยกับปาฬิภาสาอักษรขอมที่มีจำนวน จำกัด เนื่องจากขอมเป็นอักษรโบราณในพระไตรปิฎกใบลานที่ประชาชนชาวไทยทั่วไปไม่สามารถ อ่านได้แล้ว ในด้านบริบททางประวัติศาสตร์ยุคนั้น มหาอำนาจตะวันตกได้ยึดครองประเทศเพื่อนบ้าน ของสยามไปหมดสิ้นแล้ว การเปลี่ย นการบั น ทึ ก อารยธรรมภู มิปัญ ญาสู ง สุ ด ของสยามในพระ ไตรปิฎกที่สืบทอดมากว่าสองพันปี จากอักษรขอมเป็นอักษรสยาม ซึ่งเป็นการริเริ่มของพระมหา กษัตริยพ์ ุทธมามกะจึงเป็นความคิดที่ก้าวล้ำนำยุคของการอนุรักษ์คำสอนในพระพุทธศาสนาในยุค ใหม่ แม้อักษรขอมเคยเป็นวัฒนธรรมในการจารึกพระคัมภีร์ในดินแดนสุวรรณภูมิเป็นเวลานับพัน ปี และเคยนิยมว่าเป็นอักษรในคัมภีรใ์ บลานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ แต่อกั ษรขอมก็เป็นภาษาในวัฒนธรรมเขมร ซึ่งในขณะนั้นได้ตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศสแล้ว การเปลี่ยนแปลงเป็นอักษรสยามที่ก้าวล้ำนำสมัย เช่นนี้จึงมิใช่เป็นเรื่องง่าย อย่างไรก็ตามการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกอักษรสยามก็สำเร็จลุล่วงทันเวลา มีการประดิษฐ์อักขรวิธีการเขียนปาฬิภาสาพร้อมด้วยการใช้เครื่องหมายกำกับอักษรสยามที่เป็น เอกลักษณ์ของชาติไทย และตรงกับด้านคัมภีีร์สัททนีติที่เก่าแก่และวิชาการด้านสัททศาสตร์สมัย ใหม่ ในการอนุรักษ์เสียงพระธัมม์ในพระไตรปิฎกปาฬิ เป็นทีอ่ ศั จรรย์วา่ ต้องใช้เวลาถึง 6 ปี ในการดำเนินงานต่างๆ ได้แก่ การตรวจทาน การปริวรรต อักษรขอมเป็นอักษรสยาม การจัดทำต้นฉบับและการจัดพิมพ์เป็นชุดหนังสือที่ทันสมัยเป็นชุดแรก ของโลก 39 เล่ม ซึ่งสำเร็จลงในปี พ.ศ. 2436 หรือรัตนโกสินทรศก ร.ศ. 112 ซึ่งเป็นปีที่สยามกำลัง มีวิกฤตร้ายแรงกับฝรั่งเศสที่หวังยึดกรุงสยาม แต่ด้วยอำนาจแห่งปัญญาบารมีของผู้นำประเทศที่ จะรักษาพระธัมมวินัย กรุงสยามจึงสามารถรักษาเอกราชและความเป็นไทมาได้ ทั้งนี้ก็ด้วยความ สุขุมคัมภีรภาพของผู้นำสยาม ที่ใช้วิเทโศบายทางการเมืองและการต่างประเทศอย่างชาญฉลาด ทำให้พระพุทธศาสนาและพระไตรปิฎกยังคงสืบทอดอยู่ในแผ่นดินไทยอย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์มา จนถึงทุกวันนี้ 5
ปัจจุบันพระไตรปิฎกปาฬิชุดนี้ ได้รับการขนานนามว่า “พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้า บรมธัมมิกมหาราช อักษรสยาม พ.ศ. 2436” เป็นฉบับสำคัญที่ยอมรับกันทั่วโลกว่าเป็นการจัดพิมพ์ พระไตรปิฎกปาฬิเป็นชุดหนังสือชุดแรกในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา และปัจจุบันพบว่าได้ พระราชทานเป็นพระธัมมทานแก่ 260 สถาบัน ใน 30 ประเทศทั่วโลก ทีส่ ำคัญยิง่ อีกประการคือได้มรี ะบบการเทียบระหว่าง “อักษรสยาม” กับ “อักษรโรมัน” พร้อม ทัง้ มีการแสดงอักขรวิธกี ารเขียนปาฬิภาสา ด้วยอักษรสยามและอักษรโรมัน เป็นคูม่ อื ในพระไตรปิฎก จปร. เล่มนี้ด้วย ตัวอย่างเหล่านี้แสดงให้เห็นวิสัยทัศน์อันเลิศของไทยที่ได้สามารถจัดสร้างพระ ไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ชุดนี้ได้สำเร็จเป็นมาตรฐานในระดับนานาชาติของยุค การนำเสนอ “อักษรโรมัน” เพือ่ เทียบกับอักษรสยามเป็นครัง้ แรกของการจัดพิมพ์พระไตรปิฎก นับเป็นภูมปิ ญ ั ญา ไทยสากลที่ยิ่งใหญ่ และเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของบริบททางสังคมและประวัติศาสตร์โลก ยุคนั้น นอกจากนี้ยังเป็นแนวทางในการพัฒนา “อักษรสยาม” ควบคู่ กันต่อไปกับ “อักษรโรมัน” ที่เป็นสากลยิ่งขึ้นในอนาคตด้วย เพราะปัจจุบันก็เป็นที่ประจักษ์ดีแล้วว่าวัฒนธรรมอักษรโรมันมีทั้ง ศักยภาพทีเ่ ป็นสือ่ สากลด้านอิเล็คทรอนิกส์ และมีประสิทธิภาพในการเป็นอักษรนานาชาติทช่ี าวโลก รู้จักกันเป็นอย่างดี ในปี พ.ศ. 2552 อันเป็นวาระครบรอบ 10 ปี ของโครงการพระไตรปิฎกสากล กองทุน สนทนาธัมม์นำสุข ท่านผู้หญิง ม.ล. มณีรัตน์ บุนนาค ในพระสังฆราชูปถัมภ์สมเด็จพระญาณ สังวร สมเด็จพระสังฆราช ร่วมกับโครงการเผยแผ่พระไตรปิฎกสากลในสมเด็จกรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ ได้นอ้ มถวายพระไตรปฎิ กปาฬิ “จลุ จอมเกลา้ บรมธมั มิกมหาราช พ.ศ. 2436 อกั ษร สยาม : ฉบับอ นุรักษ์ดิจิทัล พ.ศ. 2 552” ชุด 4 0 เล่ม แด่สมเด็จพ ระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกเนื่องในวาระที่เจ้าประคุณสมเด็จพระสังฆราชฯทรงเจริญพระชนมายุ9 6ปี โดยสมเด็จพระวันรัต วัดบวรนิเวศน์วิหาร เป็นผู้แทนคณะสงฆ์รับพระราชทานพระไตรปิฎก จปร. ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล ชุดน ี้ จากสมเด็จพ ระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ณ วัดพระศรีรัตนศาสดารามใ นพระบรมมหาราชวัง การพิมพ์“ภิกขุปาติโมกขปาฬิฉบับจปร. อักษรสยามพ.ศ.2 554” เป็นการนำอักขรวิธี การเขียนอักษรสยามในพระไตรปิฎก จปร. พ.ศ. 2436 มาจัดพิมพ์ใหม่ ซึ่งเป็นระบบการเขียนปาฬิ ภาสาที่มปี ระสิทธิภาพสูงและเป็นระบบที่ประชาชนทั่วไปแม้ผู้ที่ไม่คุ้นกับปาฬิภาสาก็สามารถอ่าน ออกเสียงได้เป็นอย่างดี เพราะมีเครื่องหมายต่างๆ ที่ใช้ใ นภาษาไทยอยู่แล้ว การจัดพ ิมพ์ใหม่ค รั้งนี้ จึงเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยสากลที่เป็นเลิศ เพื่อเป็นพระราชศรัทธานุสรณ์ในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2553 ในวาระ 100 ปี แห่งการเสด็จสวรรคตของพระบรมธัมมิก มหาราช พระองค์นั้น ผู้ซึ่งทรงพิมพ์พระไตรปิฎกเป็นชุดแรกของมนุษยชาติ และได้พระราชทานเป็น พระธัมมทานไปในสากลโลก การจัดทำตน้ ฉบับ“ ป าฬิภ าสา-อ กั ษรสยาม”และ ระบบการเทียบกบั “เสียงอ่าน”ห รือสัททอักษร ดังที่มีคำอธิบายในตอนท้ายของหนังสือนี้แล้ว ซึ่งจัดทำเพื่อเผยแผ่วิธีเขียนและอ่านอักษรสยามตาม ที่สืบทอดมาในพระพุทธศาสนาเถรวาทให้ได้ตรงที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพื่อความสถิตย์สถาพรของ พระธัมม์คำสอนในพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า 6
ในนามของผู้ จั ด ทำต้ น ฉบั บ ขออนุ โ มทนาทุ ก ท่ า นที่ ไ ด้ ร่ ว มกั น จั ด ทำต้ น ฉบั บ นี้ ใ ห้ สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ตลอดจนขอขอบพระคุณองค์กรต่างๆ ที่มีกุศลเจตนาอย่างแรงกล้าในการ นำต้นฉบับนี้มาจัดพิมพ์เผยแผ่ การศึกษาพระไตรปิฎกให้แพร่หลายต่อไปเป็นพระธัมมทานตาม พระประสงค์ในสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก องค์สังฆราชู ปถัมภ์โครงการพระไตรปิฎกสากล
นายสิริ เพ็ชรไชย ป.ธ. 9 ประธานกองทุนสนทนาธัมม์นำสุข ท่านผู้หญิงม.ล.มณีรัตน์บุนนาค ในพระสงั ฆราชูปถัมภ์ สมเด็จพระญาณสงั วรสมเด็จพระสงั ฆราชสกลมหาสังฆปริณายก ผู้ดำเนินการโครงการพระไตรปิฎกสากล พ.ศ. 2542-ปัจจุบัน 5
7
มีนาคม พ.ศ. 2554
พระอาทิตย์สว่างในกลางวัน, พระจันทร์ทอแสงในกลางคืน; กษัตริย์ทรงเกราะงามสง่า, พราหมณ์เจริญฌานสง่างาม; แต่ตลอดกาลทั้งกลางวันและกลางคืน, พระพุทธเจ้ารุ่งเรืองด้วยพระเดช
พระไตรปิฎก ธััมมบท คาถาที่ 387
9
ที่พิเศษ ๒/๒๕๕๔ วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ เรื่อง อนุโมทนาการสนับสนุนข้อมูลพระไตรปิฎกปาฬิ อักษรต่างๆ แก่มลู นิธเิ สียงธรรมเพือ่ ประชาชนฯ เรียน นายสิริ เพ็ชรไชย ป.ธ.๙ ประธานกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขท่านผูห้ ญิง ม.ล. มณีรตั น์ บุนนาค ในพระสังฆราชูปถัมภ์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ตามที่กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ มีหนังสือถึง (หลวงตาพระมหา บัว ญาณสัมปันโน) ประธานมูลนิธิเสียงธรรมเพื่อประชาชนฯ ลงวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๕๔ ด้วยมี จิตศรัทธาในการดำเนินงานของมูลนิธิเสียงธรรมเพื่อประชาชนฯ แจ้งกุศลเจตนาสนับสนุนวิธิีการ เรียงพิมพ์อักษรโรมันสำหรับปาฬิภาสา ในโครงการเผยแผ่พระไตรปิฎกสากลในสมเด็จกรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ พร้อมทั้งไ ด้นิมนต์คณะสงฆ์ก รรมการมูลนิธิเสียงธรรมเพื่อประชาชนฯ เข้า ร่วมประชุมเรือ่ งรายละเอียดของโครงการพระไตรปิฎกสากลอ กั ษรโรมันต ามรอยพระไตรปิฎกจ ปร. อักษรสยามส ำหรับม ลู นิธเิ สียงธรรมเพือ่ ป ระชาชนฯจ ะได้เผยแผ่ใ ห้แ พร่ห ลายตอ่ ไ ปด งั ร ายละเอียด แจ้งแล้วนั้น มูลนิธิเสียงธรรมเพื่อประชาชนฯขออนุโมทนาในกุศลเจตนาดังกล่าวในเบื้องต้นขอให้ทาง โครงการพระไตรปิฎกสากลได้พ จิ ารณาตรวจสอบขอ้ ม ลู ป าฬิภ าสาใ นบททำวัตรเช้า- เย็นเป็นอ กั ษร โรมัน เพื่อเผยแพร่ทางสถานีโทรทัศน์เสียงธรรมเพื่อประชาชนฯ เป็นต้นแบบก่อน ซึ่งต่อไปจะได้ พัฒนาเป็นข้อมูลสำหรับหนังสือสวดมนต์ประกอบการกระจายเสียงของสถานีวิทยุ ตลอดจนการจัด พิมพ์พระธัมมวินัยในพระไตรปิฎกสำหรับเผยแผ่ต่อไ ปด้วย นอกจากการเรียงพิมพ์ด้วยอักษรโรมันแล้ว เนื่องในโอกาสทจี่ ะมีการจัดพิมพ์ต่างๆ ในงาน พระราชทานเพลิงพ ระสรีระพระธรรมวิสุทธิมงคล(หลวงตาพระมหาบัวญาณสัมปันโน)ขอให้ทาง โครงการพระไตรปิฎกสากล ได้พิจารณารูปแบบการพิมพ์ปาฬิภาสา โดยเฉพาะการเรียงพิมพ์เป็น “อักษรสยาม” ด้วย ซึ่งเป็นระบบการเขียนปาฬิภาสา ที่มีความสมบูรณ์และทรงคุณค่าที่สุดระบบ หนึ่ง เนื่องจากเป็นฉบับที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดให้จัดพิมพ์อักษรสยาม ใว้ในพระไตรปิฎกฉบับจปร.พ.ศ.๒๔๓๖รูปแบบนี้ทำให้การออกเสียงปาฬิมีความถูกต้องแม่นยำ เหมือนครั้งพุทธกาล การพิมพ์เผยแพร่่เท่ากับเป็นการฟื้นฟูรูปแบบอันทรงคุณค่าเหล่านี้ให้ค ืนกลับ มา เป็นการอนุรักษ์และสืบทอดมรดกอันล้ำค่าของพระองค์ให้ดำรงมั่นคงถาวรคู่ชาติไทยสืบไป การนำปาฬิภาสา อักษรสยาม มาจัดพิมพ์ใหม่ให้แพร่หลายในโอกาสครั้งสำคัญนี้ นอกจากจะเป็น ประวัตศิ าสตร์ท ตี่ อ้ งจารึกไ ว้แ ล้วย งั เป็นพ ทุ ธบชู าและเป็นธ มั ม านสุ รณ์ใ นงานพระราชทานเพลิงพ ระ สรีระองค์หลวงตาฯที่ละขันธ์เข้าสู่พระนิพพานผู้ซึ่งไ ด้เคร่งครัดปฏิบัติตามคำสอนขององค์พ ระบรม ศาสดาสมั มาสมั พ ทุ ธเจ้าต ามพระไตรปิฎกอย่างงดงามพ ร้อมทงั้ ม คี ณ ุ ปู การแก่ช าติแ ละประชาชนอนั ประมาณมิได้ จึงเรียนมาเพื่อโ ปรดทราบ ขอเจริญพรมาพร้อมนี้ พระสุดใจทันตมโน ผู้แทนคณะสงฆ์ศิษยานุศิษย์ฯ กรรมการมูลนิธิเสียงธรรมเพื่อประชาชนในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าล ูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารี
พ ระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม พ.ศ. 2436 นี้ ใช้เนื้อหาพระไตรปิฎกที่สังคายนาไว้ในสมัยรัชกาล ที่ 1 เป็นต้นฉบับใบลานอักษรขอม ฉบับ จปร. อักษรสยามชุดนี้เป็นฉ บับทตี่ ีพิมพ์เป็นชุด ชุดแรก ในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ซึ่งนับเป็นพระราชปรีชาญาณอันเป็นเลิศของสถาบันพระมหา กษัตริย์พุทธมามกะที่ได้อนุรักษ์พ ระพุทธพจน์ที่ได้สืบทอดจากการสังคายนาตั้งแต่พ.ศ.1 ใว้อย่าง ประเสริฐ และยังสามารถเผยแผ่พระราชทานเป็นพระธัมมทานแก่สถาบันชั้นนำต่างๆ ในนานา ประเทศทวั่ โลกท สี่ ำคัญก ารบนั ทึกพ ระพุทธพจน์“ ป าฬิภ าสา”ด ว้ ยอกั ขรวิธกี ารเขียนเป็นอ กั ษรสยาม ในครั้งน ั้นเป็นกระบวนการทางภูมิปัญญาอันล้ำเลิศเพราะต้องแปลงพระไตรปิฎกปาฬิจากอักษร ขอมโบราณมาเป็นอ ักษรสยามที่ทันสมัยใ นรัชกาลที่ 5 และต้องจัดเรียงพิมพ์ด้วยอักขรวิธีการเขียน ที่ถ่ายทอดเสียงปาฬิให้แม่นตรงกับต้นฉบับ ซึ่งก็สามารถตีพิมพ์เป็นอักษรสยามได้อย่างยอดเยี่ยม พร้อมทั้งได้มีการเทียบ ปาฬิภาสา-อักษรสยาม กับ ปาฬิภาสา-อักษรโรมัน ด้วย 13
อารัมภกถา* ศุภมัสดุพระพุทธสาสนา2 431 ...แต่ก่อนมาประเทศที่นับถือพระพุทธสาสนา ยังมีอำนาจปกครองบ้านเมืองโดยลำพังต ัว พระเจ้าแ ผ่นด ินเป็นผู้นับถือพระพุทธสาสนา ได้ทำนุบำรุงอ ุดหนุนการสาสนาอยู่หลายประเทศด้วย กันคือกรุงสยามเมืองลังกาเมืองพม่าเมืองลาวเมืองเขมรเมื่อเกิดวิบัติอันตรายพระไตรปิฎกขาด สูญบกพร่องไปในเมืองใด ก็ได้อาศัยห ยิบยืมกันมาลอกคัดคงฉบับบริบูรณ์ ถ่ายกันไปถ่ายกันมาได้ แต่ใ นกาลปัจจุบัน ประเทศลังกาแลพม่า ตกอยู่ในอำนาจอังกฤษ ผู้ปกครองบ้านเมืองไม่ได้นับถือ พระพุทธสาสนาก็ทำนุบำรุงแ ต่อ าณาประชาราษฎรไพร่บ้านพลเมือง หาได้อุดหนุนการพระพุทธ สาสนาเหมือนอย่างพระเจ้าแ ผ่นดิน ซึ่งนับถือพระพุทธสาสนาแต่ก่อนไม่ พระสงฆ์ซ ึ่งป ฎิบัติตาม พระพุทธสาสนา ก็ต่างคนต่างประพฤติต ามลำพังตน คนที่ชั่วม ากกว่าดีอยู่เป็นธรรมดา ก็ชักพาให้ พระปริยัติธัมม์คำสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า วิปริตผิดเพี้ยนไปตามอัธย าศัย ส่วนเมืองเขมร นั้นเล่า ก็ตกอยูใ่ นอำนาจฝรั่งเศส ไม่มีกำลังท ี่จะอุดหนุนพระพุทธสาสนาให้เป็นการมั่นคงถาวร ไปได้ ส่วนเมืองลาวที่อยู่ในพระราชอาณาเขตสยาม เจ้านายแลไพร่บ้านพลเมืองก็นับถือพระพุทธ สาสนาวิปริตแปรปรวนไปด้วยเจือปนฝีสางเทวดาจะหาเอาเป็นหลักฐานมั่นคงก็ไม่ได้... ...ก ารพระพุทธสาสนายังเจริญม ั่นคงถาวรอยู่แต่ในประเทศสยามนี้ประเทศเดียว จึงเป็น เวลาสมควรที่จะสอบสวนพระไตรปิฎก ให้ถูกต้องบริบูรณ์แล้วส ร้างขึ้นไว้ให้มากฉบับแพร่หลาย จะ ได้เป็นห ลักฐานเชื้อส ายของสาสนธัมม์คำสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าสืบไปภายหน้าก็ธัมมะ อันใ ดที่พระผู้มพี ระภาคเจ้าไ ด้ตรัสสั่งส อน ย่อมเป็นธัมมะวิเศษเที่ยงแท้ ย่อมจะนำสัตว์พ้นจากทุกข์ ภัยได้โดยจริงเป็นธัมมะวิเศษอุดมยิ่ง ซึ่งจ ะเป็นที่ปรารถนาของผู้ซึ่งม ีปัญญา ได้เล่าเรียนตริตรอง แล้วปฏิบัติตามได้รับผลมากน้อยตามประสงค์... ...พระบาทสมเด็จพ ระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชดำริเห็นการเช่นกล่าวมาแล้วข ้างต้นน ี้ ประราชประสงค์ที่จะให้ตรวจสอบพระไตรปิฎกให้ถ ูกถ้วนแล้วแลตีพิมพ์ด้วยอักษรสยาม...
จึงมี
*เรียงพิมพ์ใหม่ตามรูปศัพท์ภ าษาปาฬิเช่นสาสนาปริยัติธัมม์ธัมมะเป็นต้นตามที่พิมพ์ในพระไตรปิฎกปาฬิอักษรสยามและโปรดดูอักขรวิธีใน ต้นฉบับท ี่ได้ทำการอนุรักษ์ไว้ท ี่h all.worldtipitaka.info
14
อารัม์ภกถา (ถ้อยคำที่กล่าวนำ) เป็นข้ัอความภาษาไทยที่เรียงพิมพ์ด้วยอักษรสยาม ประกาศพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่จะพิมพ์พ ระไตรปิฎกปาฬิ อักษรสยาม แก่ค ณะสงฆ์และข้าราชการ ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อ ร.ศ.1 12 (2436)
15
การปริ ว รรตอั ก ษรสยามกั บ อั ก ษรโรมั น (Transliteration of Siam-script to Roman-script) ซึ่ ง จั ด พิ ม พ์ ไ ว้ ต อนต้ น ก่อนเนื้อหาปาฬิของแต่ละคัมภีร์ ด้วยหลักการปริวรรตอักษรสยามดังกล่าวนักวิชาการชาวต่างประเทศจึงสามารถอ่านเนื้อหา ปาฬิในพระไตรปิฎกได้ โปรดสังเกตเครื่องหมายวัชฌะการ ( ์ ) บนพยัญชนะวรรคต่างๆ (ยกเว้น ง) เพื่อแสดงการห้ามเสียงสระ และเครื่องหมายยามักการ ( ๎ ) บนพยัญชนะอวรรคเพื่อแสดงเสียงควบกล้ำ
16
ตาราง การปริวรรต “อักษร” ไทย
16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43
[ɦ]
ก [ก]
kh
จ [จ]
ch
มุทธชะ 1 ṭ ที่ปลายลิ้นมวน
ฏ [ฏ]
ṭh
ทันตชะ 1 ที่ฟนบน
ต [ต]
th
ป [ป]
ph
Velar
ตาลุชะ 1 ที่เพดานแข็ง Palatal
Retroflex
Dental
โอฏฐชะ 1 ที่ริมฝปาก Bilabial
k [k] c [c]
[ʈ] t [t̪ ] p [p]
[kʰ] [cʰ] [ʈʰ] [ t̪ʰ] [pʰ]
ข [ข] ฉ [ฉ] ฐ [ฐ] ถ [ถ] ผ [ผ]
g [ɡ] j [ɟ] ḍ [ɖ] d [d̪ ] b [b]
ทันโตฏฐชะ 1 ทีร่ มิ ฝปากกับฟน สระปาิ
Pāḷi Vowels
สูง
high
กลาง
mid
หนา / fr ont
i อิ ī อี [i][อิ] [iː][อี]
1 2
[ɡʱ]
ช [ช]
jh
ฑ [ฑ]
ḍh
ท [ด]
dh
[ɟʱ ]
[ɖʱ]
[d̪ʱ ]
พ [บ]
bh [bʱ]
ฆ [ฆ] ฌ [ฌ] ฒ [ฒ] ธ [ธ] ภ [ภ]
ṅ [ŋ] ñ [ɲ] ṇ [ɳ] n [n̪] m [m]
.
ญ [ญ] ณ [ณ]
y [j] r [ɻ ]
ก อักษรไทยปาิ
Thai Alphabet Pāḷi
[ก]
ย [ย] ร [ร ]
ḷ [ɭ ]
น [น]
l [l̪ ]
ฬ [ฬ ] ล [ล]
s [s̪ ]
ส [ส]
ม [ม]
iṃ อิํ [ĩ][อิง]ํ
.
ห [ห ]
ง [ง]
[ʋ]
a อะ [a][อะ]
low
อักษรโรมันปาิ
gh
e เอ [eː][เอ]
ต่ำ
Roman Alphabet Pāḷi
ค [ค]
v
Labio-dental
k
Fricative
Lateral
h
Glottal
กัณฐชะ 1 ที่เพดานออน
เสียงเสียดแทรก
เสียงขางลิ้น
Non-lateral
กัณฐชะ 1 ที่ชองเสนเสียง
ว [ว]
.
uṃ อุํ [ũ][ อุง]ํ
พยัญชนะ นาสิกัฎฐานชัง 1 เสียงขึน้ จมูก Nasalised
aṃ อํ [ã][ อัง]ํ
สัททอักษรไทยปาิ
.
.
Thai Phonetic Alphabet Pāḷi
[k]
หลัง / ba ck
u อุ ū อู [u][อุ] [uː][อู] o โอ [oː][โอ] ā อา [aː][อา]
2554
15
วิจินตน ภาณุพงศ โครงการพระไตรปฎกสากล กองทุนสนทนาธัมมนำสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภฯ
14
ไมใชเสียงขางลิ้น
13
Nasal
12
Voiced
สกัฎฐานนาสิกฏั ฐานชัง1 เสียงนาสิก
11
Voiceless
Aspirated
10
โฆสะ 1 เสียงกอง ธนิต 1 มีลม
9
อโฆสะ 1 เสียงไมกอง Unaspirated
8
Approximant
สิถิล 1 ไมมีลม
7
Stops
Aspirated
6
อัฑฒสระพยัญชนะ 1 เสียงเปด
เสียงกัก
ธนิต 1 มีลม
5
Unaspirated
4
[ ก]
k
Manner of Articulation : Pāḷi Consonant
สิถิล 1 ไมมีลม
3
ก) และการถายถอด “เสียง” ปาิ
ลักษณะการเปลงเสียง : พยัญชนะ ปาิ
Place of Articulation : Pāḷi Consonant
2
อ2 a2 อา ā อิ i อี ī อุ u อู ū เอ e โอ o ก k ข kh ค g ฆ gh ง ṅ จ c ฉ ch ช j ฌ jh ñ ฏ ṭ ṭh ฑ ḍ ฒ ḍh ณ ṇ ต t ถ th ท d ธ dh น n ป p ผ ph พ b ภ bh ม m ย๎ y ร๎ r ล๎ l ว๎ v ส๎ s ห๎ h ฬ๎ ḷ อํ aṃ อิ ํ iṃ อุํ uṃ
ฐานที่เกิดเสียง : พยัญชนะปาิ
1
โรมัน (k
สัททอักษรสากลปาิ IPA Pāḷi
เปนคำที่ใชในคัมภีรสัททนีติ พ.ศ. 1456 ซึ่งไดพิมพเปรียบเทียบไวกับคำศัพททางสัททศาสตรในปจจุบัน อักษรสยามกับอักษรโรมัน จากการปริวรรตในพระไตรปฎก จปร. พ.ศ. 2436 พระไตรปฎกปาิฉบับพิมพชุดแรก
ระบบการเขียนเสียงอ่าน (Phonetic Writting) หรือ อักขรวิธีการเขียนด้วยอักษรไทย คือ ระบบการเขียนเสียงอ่านที่ไม่คำนึง ถึงเสียงสูงต่ำของอักษรที่กำหนดไว้ในภาษาไทย นอกจากนี้ยังได้กำหนดชุดสัททอักษรไทยปาฬิ (Thai Phonetic Alphabet Pāḷi) ขึ้นใหม่ แทนเสียงปาฬิภาสา ซึ่งถือกันว่าเป็นเสียงที่สืบทอดมาตั้งแต่การสังคายนาเมื่อ พ.ศ. ๑ และยังได้มีคำอธิบายระบบการ ออกเสียงปาฬิภาสาไว้ในคัมภีร์สัททนีติ พ.ศ. 1456 อีกด้วย 17
ตัวอย่างปาฬิภาสาหรือภาษาพระธัมม์ ที่ได้ปริวรรตเป็นอักษรสยามและอักษรโรมัน ทำให้คนทั่วโลกสามารถอ่านออก เสียงสังวัธยาย “ปาฬิ” ในพระไตรปิฎกปาฬิได้ถูกต้องตรงกัน เพราะอักษรโรมันเป็นอักษรสากล ดู ร ายละเอี ย ดเรื่ อ ง “ปาฬิ กั บ สั ท ทอั ก ษรสากล” จั ด พิ ม พ์ อ ยู่ ใ นพระไตรปิ ฎ กปาฬิ จุ ล จอมเกล้ า บรมธั ม มิ ก มหาราช ฉบับประมวลเนื้อหา เล่มที่ 40 ของชุดนี้
18
การเขียนเสียงอ่าน ปาฬิภาสา : [ สัททอักษรไทยปาฬิ ] เทียบกับปาฬิภาสา อักษรโรมันปาฬิ [ บุดโธ สุสุดโธ กะรุณามะหัณณะโว ] Buddho Susuddho karunāmahaṇṇavo [ โยจจันตะสุดธับบะระญาณะโลจะโน ] Yoccantasuddhabbarañāṇalocano [ โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก ] Lokassa pāpūpakilesaghātako [ วันดามิ บุดธัง อะหะมาดะเรนะ Vandāmi Buddhaṃ ahamādarena [ ธัมโม Dhammo
ปะทีโป
padīpo
วิยะ
viya
ตัสสะ
tassa
ตัง]
taṃ
สัตถุโน ]
satthuno
[ โย มัคคะปากามะตะเภดะภินนะโก ] Yo maggapākāmatabhedabhinnako [ โลกุตตะโร โย จะ ตะดัตถะดีปะโน ] Lokuttaro yo ca tadatthadīpano [ วันดามิ ธัมมัง อะหะมาดะเรนะ Vandāmi Dhammaṃ ahamādarena
ตัง ]
taṃ
[ สังโฆ สุเขตตาภ ย๎ ะติเขตตะสัญญิโต ] Saṅgho sukhettābhy ‿atikhettasaññito [ โย ดิฏฐะสันโต สุคะตานุโบธะโก ] Yo diṭṭhasanto sugatānubodhako Phonetic writing of Pāḷi sounds : [ Thai Phonetic Alphabet Pāḷi ] and Roman Script Pāḷi
ในที่นี้ คำว่า สังโฆ (Saṅgho) เขียนตามรูปศัพท์ ง สะกด ตามความนิยมของคนไทยทั่วไป แต่ในพระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช พ.ศ. 2436 อักษรสยาม เขียนศัพท์ปาฬิทเี่ กีย่ วกับพระสงฆ์ ด้วยเสียงนิคหิต ด้วยเครือ่ งหมายพินทุโปร่ง ( ํ ) ทุกครั้ง เช่น สํโฆ สํทิเสสัส์ส และ สํวัต์ถา เป็นต้น ซึ่งต่อมาในการประชุมสังคายนาสากลนานาชาติ พ.ศ. 2500 ที่ประชุม ก็ได้มีมติให้เขียนรูปศัพท์เสียงนิคหิตที่เกี่ยวกับพระสงฆ์ เช่นเดัยวกับฉบับอักษรสยาม ดังนั้นในหนังสือนี้จึงเขียนคำที่เกี่ยวกับ พระสงฆ์ในรูปเสียงนิคหิต ว่า สํฆ.. ทั้งหมด เช่น สํโฆ ซึ่งเขียนเป็นอักษรโรมันว่า Saṃgho
19
วิธีอ่านเครื่องหมายกำกับอักษรสยาม 4 ประเภท จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช อักษรสยาม พ.ศ. 2436 ไม้หันอากาศ ( ั ) ไม้หันอากาศ ( ั ) แสดง “เสียง สระ-อะ ( ะ ) ลดรูปเป็น ( ั )” ซึ่งในปาฬิภาสาใช้เขียน อยู่เหนือพยัญชนะที่ตามด้วยตัวสะกด ซึ่งจะกำกับด้วย ไม้วัชฌการ ( ์ ) เสมอ เช่น อัส์โสสิ พยัญชนะเสียง อะ ที่ไม่มีตัวสะกดตามในปาฬิภาสา เช่น น (นะ) คือให้อ่านเสมือนประวิสรรชนีย์ (ใส่เครื่องหมาย ะ ) เช่น เตน สมเยน... อ่านว่า (เต-นะ สะ-มะ-เย-นะ...) แต่ในทางกลับกัน พยัญชนะเสียง อะ ทีม่ ตี วั สะกดตาม ก็จะต้องประวิสรรชนีย์ ( ะ ) ทีเ่ ป็นแบบลดรูปด้วย คือใส่ไม้หันอากาศ ( ั ) เช่น อ (อะ) ตามด้วย ส เป็นตัวสะกด จะเขียนไม้วัชฌการ ( ์ ) บนพยัญชนะตัวสะกด คือ ส์ แสดงเสียงสะกดที่ตามมาด้วย เป็น อัส์โสสิ (ดูข้อ 2)
1.
ไม้วัชฌการ ( ์ ) ไม้วัชฌการ ( ์ ) ใช้แสดง “เสียงสะกด” ในปาฬิภาสา โดยเขียน อยู่เหนือพยัญชนะ ตัวสะกด เช่น เวรั์โช หมายถึงเสียง (ระ) + ตัวสะกด เมื่อเขียนเครื่องหมายวัชฌการ ( ์ ) บนตัวสะกด เป็น เวรั์โช เป็นต้น วัชฌการ มาจากศัพท์ว่า วัชฌ (อ่านว่า วัขฌะ แปลว่า ฆ่า) + การ (อ่านว่า การะ แปลว่า การกระทำ) จึงหมายถึงการฆ่าเสียง อะ ทีป่ ระกอบกับพยัญชนะ ส ในปาฬิภาสา (ดูขอ้ 1) ไม้วัชฌการที่ใช้ในปาฬิภาสานี้มีหน้าที่ต่างจากเครื่องหมายที่ใช้ ในภาษาไทย ซึ่งเรียกว่า ทัณฑฆาต ซึง่ ใช้กำกับพยัญชนะ หรือ สระ เพือ่ ไม่ให้ออกเสียง เช่น จันทร์ (ไม่ออกเสียงพยัญชนะ ทร ทัง้ สองตัว), องค์ (ไม่ออกเสียงพยัญชนะ ค), และ สิทธิ์ (ไม่ออกเสียงทั้งพยัญชนะ ธ และ สระ )ิ เป็นต้น
2.
ไม้ยามักการ ( ๎ ) ไม้ยามักการ ( ๎ ) เป็นเครื่องหมายกำกับ “เสียงควบกล้ำ” ในอักขรวิธีการเขียนปาฬิภาสา อักษรสยาม มาจากรากศัพท์ว่า ยมก (อ่านว่า ยะมะกะ แปลว่า สอง) + การ (อ่านว่า การะ แปลว่ า การกระทำ ) ในภาษาไทย ไม้ยามั ก การจึ ง หมายถึ ง การกระทำให้ เ ป็ น สอง คื อ แสดง เสียงควบกล้ำสองเสียงเป็นคู่กัน เช่น สพ๎ยั์ชนํ ไม้ยามักการแสดงเสียงควบกล้ำ สัก๎ยปุต์โต ไม้ยามักการแสดงเสียงสะกดควบกล้ำต่อเนื่องกันไป สพ๎รห๎มกํ ไม้ยามักการแสดงเสียงควบกล้ำทั้งสองคู่ ในกรณีที่แสดงการออกเสียงสะกดควบกล้ำ เช่น ในคำว่า สัก๎ยปุต์โต จะออกเสียง ก เป็นตัวสะกดของพยางค์แรก และออกเสียงต่อเนื่องไปเป็น พยัญชนะควบกล้ำ ก๎ย ในพยางค์ตอ่ ไป ไม่ออกเสียงว่า (สัก-กะ-ยะ..) แต่ตอ้ งออกเสียงว่า (สัก-ก๎ยะ..) 4. พินทุโปร่ง ( ํ ) เครื่องหมาย “พินทุโปร่ง” ( ํ ) แสดงเสียงนิคหิต คือเสียงขึ้นจมูก ปรากฏหลังสระสั้น 3 เสียง ซึ่งออกเสียงต่างจาก ง ที่เกิดจากเพดานอ่อน แล้วเสียงขึ้นจมูกด้วย เช่น ภัง ใน มหาวิภัง ไม่เขียนว่า วิภํ ซึ่งเป็นเสียง นิคหิตขึ้นจมูกอย่างเดียว เป็นต้น เสียงนิคหิตนี้ เมื่อเขียนเป็นเสียงอ่าน หรือ สัททอักษร ในหนังสือนี้ จะเขียนพินทุโปร่งไว้บนพยัญขนะ ง เป็น งํ เพือ่ ให้แตกต่างจากเสียง ง เช่น เสียง อํ เขียนในปาฬิภาสาว่า สํโฆ เขียนเสียงอ่านว่า [สังํโฆ] อิํ เขียนในปาฬิภาสาว่า ตัส์มํิ เขียนเสียงอ่านว่า [ตัสมิิงํ] อํ เขียนในปาฬิภาสาว่า อภิภุํ เขียนเสียงอ่านว่า [อภิภุงํ]
3.
20
ตัวอย่างจากพระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช อักษรสยาม พ.ศ. 2436
พยัญชนะเสียง อะ ที่ไม่มีตัวสะกดตามในปาฬิภาสา เช่น น (นะ) คือให้อ่านเสมือนประวิสรรชนีย์ (ใส่เครื่องหมาย ะ ) เช่น เตน สมเยน... อ่านว่า (เต-นะ สะ-มะ-เย-นะ...) เหนือพยัญชนะที่ตามด้วยตัวสะกด ซึ่งจะกำกับด้วย ไม้วัชฌการ ( ์ ) เสมอ เช่น อัส์โสสิ
สพ๎ยั์ชนํ ไม้ยามักการแสดงเสียงควบกล้ำ สัก๎ยปุต์โต ไม้ยามักการแสดงเสียงสะกดควบกล้ำต่อเนื่องกันไป สพ๎รห๎มกํ ไม้ยามักการแสดงเสียงควบกล้ำทั้งสองคู่ เช่น ในคำว่า สัก๎ยปุต์โต จะออกเสียง ก เป็นตัวสะกดของพยางค์แรก และออกเสียงต่อเนื่องไปเป็น พยัญชนะควบกล้ำ ก๎ย ในพยางค์ต่อไป ไม่ออกเสียงว่า (สัก-กะ-ยะ..) แต่ต้องออกเสียงว่า (สัก-ก๎ยะ..)
“สํโฆ” เรียงพิมพ์อักขรวิธีการเขียนตามต้นฉบับ จปร. อักษรสยาม 21
พ.ศ. 2436 เล่มที่ 1 หน้า 15
“ภิกขุปาติโมกขปาฬิ” เรียงพิมพ์อกั ขรวิธกี ารเขียนตามต้นฉบับ จปร. อักษรสยาม พ.ศ. 2436 ตัวอย่าง เล่มที่ 25 หน้า 33 ตามคำว่า “ปาติโมก์เข”
“ปาฬิ” เรียงพิมพ์อักขรวิธีการเขียนตามต้นฉบับ จปร. อักษรสยาม พ.ศ. 2436 ตัวอย่าง เล่มที่ 19 หน้า 290 มีคำ ปาฬิ 2 คำ
22
ภิกขุปาติโมกข์ปาฬิ ฉบับ จปร. อักษรสยาม ปาฬิภาสา-อักษรสยาม เทียบกับ เสียงอ่าน ตามอักขรวิธเี ขียนพระไตรปิฎกปาฬิ อักษรสยาม ๒๔๓๖
พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช อักษรสยาม ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล ๒๕๕๔
ปาฬิภาสา อักษรสยาม ตามที่พิมพ์ในพระไตรปิฎกปาฬิ จปร. อักษรสยาม 2436
ภิก์ขุปาติโมก์ขปาฬิ
a ā i ī
ปุพ์พกิจ์จํ
u ū e o
ภิก์ขุคณนา นาม อิมัส๎มิํ อุโปสถัค์เค อุโปสถัต์ถาย สัน์นิปติตา ภิก์ขู เอตัต์กาติ ภิก์ขูนํ คณนา. อิมัส๎มิม์ปน อุโปสถัค์เค จัต์ตาโร ภิก์ขู สัน์นิปติตา โหน์ติ. อิติ สัพ์เพหิ อายัส๎มัน์เตหิ ภิก์ขุคณนาปิ ธาเรตัพ์พา. (เอวํ ภัน์เต) 24
ṅ
ก์ ข์ ค์ ฆ์ ง
c
จ์
j
ñ
ช์ ฌ์ ์
ṭ
ฏ์
k kh g gh
ch ฉ์ jh
ṭh ์
ḍ ฑ์ ṇ
ฒ์ ณ์
t
ต์
ḍh
th ถ์
d ท์ dh n
ธ์ น์
p ป์
ผ์ b พ์ bh ภ์ m ม์ ph
ย๎ ร๎ l ล ๎ v ว ๎ s ส ๎ h ห ๎ ḷ ฬ ๎ aṃ อํ iṃ อิ ํ uṃ อุํ y r
อั ก ษ ร โ ร มั น อั ก ษ ร ส ย า ม
อุ โ ปสถกรณโต ปุ พ์ เ พ นววิ ธํ ปุ พ์ พ กิ จ จํ กาตั พ์ พํ โหติ . ตั ณ์ านสั ม์ มั ช์ ช นั ์ จ ตั ต์ ถ ปที ปุ ช์ ช ลนั ์ จ อาสนปั ์ ปนั ์ จ ปานี ย ปริ โ ภชนี ยู ปั ฏ์ ปนั ์ จ ฉั น์ ท ารหานํ ภิ ก์ ขู นํ ฉั น์ ท าหรณั ์ จ เตสั์เว อกตุโปสถานํ ปาริสุท์ธิยาปิ อาหรณั์จ อุตุก์ขานั์จ ภิก์ขุคณนา จ ภิก์ขุนีนโมวาโท จาติ. ตัต์ถ ปุริมานิ จัต์ตาริ ภิก์ขูนํ วัต์ตํ ชานัน์เตหิ อารามิเกหิปิ ภิก์ขูหิปิ กตานิ ปรินิฎ์ิตานิ โหน์ติ. ฉัน์ทาหรณ ปาริสุท์ธิ อาหรณานิ ปน อิมิส์สํ สีมายํ หัต์ถปาสํ วิชหิต๎วา นิสิน์นานํ ภิก์ขูนํ อภาวโต นัต์ถิ. อุตุก์ขานํ นาม เอต์ตกํ อติก์กัน์ตํ, เอต์ตกํ อวสิฎ์ัน์ติ เอวํ อุตุอาจิก์ขนํ; อุตูนีธ ปนสาสเน เหมัน์ตคิม๎หวัส์สานานํ วเสน ตีณิ โหน์ติ. อยํ เหมัน์โตตุ อัส๎มิ์ จ อุตุม๎หิ อัฎ์ อุโปสถา, อิมินา ปัก์เขน เอโก อุโปสโถ สัม์ปัต์ โต สัต์ต อุโปสถา อวสิฎ์า อิติ เอวํ สัพ์เพหิ อายัส๎มัน์เตหิ อุตุก์ขานํ ธาเรตัพ์พํ (เอวํ ภัน์เต)
อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
เสียงอ่าน “สัททอักษรไทยปาฬิ” a ā i ī u ū e o k kh g gh ṅ c ch j jh ñ ṭ ṭh ḍ ḍh ṇ t th d dh n p ph b bh m y r l v s h ḷ aṃ iṃ
[ ก] [ ข] [ค ] [ ฆ] [ง] [ จ] [ ฉ] [ ช] [ฌ] [ ญ] [ฏ] [ฐ ] [ฑ] [ฒ] [ณ] [ต] [ถ ] [ด] [ธ ] [น ] [ป ] [ผ ] [บ ] [ภ] [ม ] [ย] [ร ] [ล] [ว ] [ส] [ห] [ฬ] [อังํ] [อิงํ] [อุงํ]
อั ก ษ ร โ ร มั น เ สี ย ง อ่ า น
uṃ
[ะ] [า] [ ิ] [ ีิ ] [ ุ] [ ู] [เ] [โ]
[ภิกขุปาติโมกขะปาฬิ] [ปุบบะกิจจังํ] [อุโปสะถะกะระณะโต ปุบเบ นะวะวิธังํ ปุบบะกิจจังํ กาตับบังํ โหติ ตัณฐานะสัมมัชชะนัญจะ ตัตถะ ปะดีปุชชะละนัญจะ อาสะนะปัญญะปะนัญจะ ปานียะปะริโภชะนียูปัฏฐะปะนัญจะ ฉันดาระหานังํ ภิกขูนังํ ฉันดาหะระณัญจะ เตสัญเญวะ อะกะตุโปสะถานังํ ปาริสุดธิยาปิ อาหะระณัญจะ อุตุกขานัญจะ ภิกขุคะณะนา จะ ภิกขุนีนะโมวาโด จาติ ตัตถะ ปุริมานิ จัตตาริ ภิกขูนังํ วัตตังํ ชานันเตหิ อารามิเกหิปิ ภิกขูหิปิ กะตานิ ปะรินิฎฐิตานิ โหนติ ฉันดาหะระณะ ปาริสุดธิ อาหะระณานิ ปะนะ อิมิสสังํ สีมายังํ หัตถะปาสังํ วิชะหิต๎วา นิสินนานังํ ภิกขูนังํ อะภาวะโต นัตถิ อุตุกขานังํ นามะ เอตตะกังํ อะติกกันตังํ เอตตะกังํ อะวะสิฎฐันติ เอวังํ อุตุอาจิกขะนังํ อุตูนีธะ ปะนะสาสะเน เหมันตะคิม๎หะวัสสานานังํ วะเสนะ ตีณิ โหนติ อะยังํ เหมันโตตุ อัส๎มิญ จะ อุตุม๎หิ อัฎฐะ อุโปสะถา อิมินา ปักเขนะ เอโก อุโปสะโถ สัมปัตโต สัตตะ อุโปสะถา อะวะสิฎฐา อิติ เอวังํ สับเบหิ อายัส๎มันเตหิ อุตุกขานังํ ธาเรตับบังํ] (เอวังํ ภันเต) [ภิกขุคะณะนา นามะ อิมัส๎มิงํ อุโปสะถัคเค อุโปสะถัตถายะ สันนิปะติตา ภิกขู เอตัตกาติ ภิกขูนังํ คะณะนา อิมัส๎มิมปะนะ อุโปสะถัคเค จัตตาโร ภิกขู สันนิปะติตา โหนติ อิติ สับเบหิ อายัส๎มันเตหิ ภิกขุคะณะนาปิ ธาเรตับบา] (เอวังํ ภันเต) 25
ปาฬิภาสา อักษรสยาม ตามที่พิมพ์ในพระไตรปิฎกปาฬิ จปร. อักษรสยาม 2436 a ā i ī u ū e o
ṅ
ก์ ข์ ค์ ฆ์ ง
c
จ์
j
ñ
ช์ ฌ์ ์
ṭ
ฏ์
k
26
kh g gh
ch ฉ์ jh
ṭh ์
ḍ ฑ์ ṇ
ฒ์ ณ์
t
ต์
ḍh
th ถ์
d ท์ dh n
ธ์ น์
p ป์
ผ์ b พ์ bh ภ์ m ม์ ph
ย๎ ร๎ l ล ๎ v ว ๎ s ส ๎ h ห ๎ ḷ ฬ ๎ aṃ อํ iṃ อิ ํ uṃ อุํ y r
อั ก ษ ร โ ร มั น อั ก ษ ร ส ย า ม
ภิก์ขุนีนโมวาโท ปน อิทานิ ตาสํ นัต์ถิตาย นัต์ถิ. อิติ สกรโณกาสานํ ปุพ์พกิจ์จานํ กตัต์ตา นิก์กรโณกาสานํ ปุพ์พกิจ์จานํ ปกติยา ปรินิฏ์ิตัต์ตา เอวันตํ นววิธํ ปุพ์พกิจ์จํ ปรินิฏ์ิตํ โหติ. นิฏ์ิเต จ ปุพ์พกิจ์เจ สเจ โส ทิวโส จาตุท์ทสี ปัณ์ณรสี สามัค์คีนมั์ตโร ยถาช์ช อุโปสโถ ปัณ์ณรโส, ยาวติกา จ ภิก์ขุ กัม์มัป์ปัต์ตา สํฆุโปสถารหา จัต์ตาโร วา ตโต วา อติเรกา ปกตัต์ตา ปาราชิกํ อนาปัน์นา สํเฆน วา อนุก์ขิต์ตา, เต จ โข หัต์ถปาสํ อวิชหิต๎วา เอกสีมายํ ิตา, เตสั์จ วิกาลโภชนาทิวเสน วัต์ถุสภาคาปัต์ติโย เจ น วิช์ชัน์ติ; เตสั์จ หัต์ถปาเส หัต์ถปาสโต พหิกรณวเสน วัช์เชตัพ์ โพ โกจิ วัช์ชนียปุค์คโล เจ นัต์ถิ. เอวัน์ตํ อุโปสถกัม์มํ อิเมหิ จตูหิ ลัก์ขเณหิ สังคหิตํ ปัต์ตกัล์ลํ นาม โหติ กาตุํ ยุต์ตรูปํ อุโปสถกัม์มัส์ส ปัต์ตกัล์ลัต์ตํ วิทิต๎วา อิทานิ กริยมาโน อุโปสโถ สํเฆน อนุมาเนตัพ์ โพ (สาธุ)
อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
เสียงอ่าน “สัททอักษรไทยปาฬิ” a ā i ī u ū e o k kh g gh ṅ c ch j jh ñ ṭ ṭh ḍ ḍh ṇ t th d dh n p ph b bh m y r l v s h ḷ aṃ iṃ
[ ก] [ ข] [ค ] [ ฆ] [ง] [ จ] [ ฉ] [ ช] [ฌ] [ ญ] [ฏ] [ฐ ] [ฑ] [ฒ] [ณ] [ต] [ถ ] [ด] [ธ ] [น ] [ป ] [ผ ] [บ ] [ภ] [ม ] [ย] [ร ] [ล] [ว ] [ส] [ห] [ฬ] [อังํ] [อิงํ] [อุงํ]
อั ก ษ ร โ ร มั น เ สี ย ง อ่ า น
uṃ
[ะ] [า] [ ิ] [ ีิ ] [ ุ] [ ู] [เ] [โ]
[ภิกขุนีนะโมวาโด ปะนะ อิดานิ ตาสังํ นัตถิตายะ นัตถิ อิติ สะกะระโณกาสานังํ ปุบบะกิจจานังํ กะตัตตา นิกกะระโณกาสานังํ ปุบบะกิจจานังํ ปะกะติยา ปะรินิฏฐิตัตตา เอวันตังํ นะวะวิธังํ ปุบบะกิจจังํ ปะรินิฏฐิตังํ โหติ นิฏฐิเต จะ ปุบบะกิจเจ สะเจ โส ดิวะโส จาตุดดะสี ปัณณะระสี สามัคคีนะมัญญะตะโร ยะถาชชะ อุโปสะโถ ปัณณะระโส ยาวะติกา จะ ภิกขุ กัมมัปปัตตา สังํฆุโปสะถาระหา จัตตาโร วา ตะโต วา อะติเรกา ปะกะตัตตา ปาราชิกังํ อะนาปันนา สังํเฆนะ วา อะนุกขิตตา เต จะ โข หัตถะปาสังํ อะวิชะหิต๎วา เอกะสีมายังํ ฐิตา เตสัญจะ วิกาละโภชะนาดิวะเสนะ วัตถุสะภาคาปัตติโย เจ นะ วิชชันติ เตสัญจะ หัตถะปาเส หัตถะปาสะโต บะหิกะระณะวะเสนะ วัชเชตับโบ โกจิ วัชชะนียะปุคคะโล เจ นัตถิ เอวันตังํ อุโปสะถะกัมมังํ อิเมหิ จะตูหิ ลักขะเณหิ สังคะหิตังํ ปัตตะกัลลังํ นามะ โหติ กาตุงํ ยุตตะรูปังํ อุโปสะถะกัมมัสสะ ปัตตะกัลลัตตังํ วิดิต๎วา อิดานิ กะริยะมาโน อุโปสะโถ สังํเฆนะ อะนุมาเนตับโบ] (สาธุ)
27
ปาฬิภาสา อักษรสยาม ตามที่พิมพ์ในพระไตรปิฎกปาฬิ จปร. อักษรสยาม 2436 a ā i ī
นโม ตัส์ส ภควโต อรหโต สัม์มาสัม์พุท์ธัส์ส
สุณาตุ เม ภัน์เต สํโฆ. อัช์ชุโปสโถ ปัณ์ณรโส. ยทิ สํฆัส์ส ปัต์ตกัล์ลํ, สํโฆ อุโปสถํ กเรย์ย ปาฏิโมก์ขํ อุท์ทิเสย์ย. กํิ สํฆัส์ส ปุพ์พกิจ์จํ, ปาริสุท์ธํ อายั ิ ส๎มัน์ โต อาโรเจถ, ปาฏิโมก์ขํ อุท์ทิสิส์สามิ. ตํ สัพ์เพว สัน์ตา สาธุกํ สุโณม มนสิกโรม. ยัส์ส สิยา อาปัต์ติ, โส อาวิกเรย์ย, อสัน์ติยา อาปัต์ติยา ตุณ๎หี ภวิตัพ์พํ ตุณ๎หีภาเวน โข ปนายัส๎มัน์เต ปริสุท์ธาติ เวทิส์สามิ. ยถา โข ปน ปัจ์เจกปุฏ์ัส์ส เวย์ยากรณํ โหติ, เอวเมวํ เอวรูปาย ปริสาย ยาวตติยํ อนุส์สาวิตํ โหติ. โย ปน ภิก์ขุ ยาวตติยํ อนุส์สาวิยมาเน สรมาโน สัน์ตํิ อาปัต์ตํิ นาวิกเรย์ย, สัม์ปชานมุสาวาทัส์ส โหติ, สัม์ปชานมุสาวาโท โข ปนายัส๎มัน์ โต อัน์ตรายิโก ธัม์ โม วุต์ โต ภควตา; ตัส๎มา สรมาเนน ภิก์ขุนา อาปัน์เนน วิสุท์ธาเปก์เขน สัน์ตี อาปัต์ติ อาวิกาตัพ์พา. อาวิกตา หิส์ส. ผาสุ โหติ. นิทานุทเทโส นิฏ์ิโต. ตัต๎ริเม จัต์ตาโร ปาราชิกา ธัม์มา อุท์เทสํ อาคัจ์ฉัน์ติ.
ū e o
ṅ
ก์ ข์ ค์ ฆ์ ง
c
จ์
j
ñ
ช์ ฌ์ ์
ṭ
ฏ์
k kh g gh
ch ฉ์ jh
ṭh ์
ḍ ฑ์ ṇ
ฒ์ ณ์
t
ต์
ḍh
th ถ์
d ท์ dh n
ธ์ น์
p ป์
ผ์ b พ์ bh ภ์ m ม์ ph
(1) โย ปน ภิก์ขุ ภิก์ขูนํ สิก์ขาสาชีวสมาปัน์ โน สิก์ขํ อั ป์ ปั จ์ จั ก์ ข าย ทุ พ์ พั ล๎ ยํ อนาวิ กั ต๎ ว า เมถุ นํ ธั ม์ มํ ปฏิ เ สเวย์ ย อัน์ตมโส ติรัจ์ฉานคตายปิ, ปาราชิโก โหติ อสํวาโส. (1/1:1)
ย๎ ร๎ l ล ๎ v ว ๎ s ส ๎ h ห ๎ ḷ ฬ ๎ aṃ อํ iṃ อิ ํ uṃ อุํ
28
อั ก ษ ร โ ร มั น อั ก ษ ร ส ย า ม
u
อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
y r
เสียงอ่าน “สัททอักษรไทยปาฬิ” a ā i ī u ū e o k kh g gh ṅ c ch j jh ñ ṭ ṭh ḍ ḍh ṇ t th d dh n p ph b bh m y r l v s h ḷ aṃ iṃ
[ ก] [ ข] [ค ] [ ฆ] [ง] [ จ] [ ฉ] [ ช] [ฌ] [ ญ] [ฏ] [ฐ ] [ฑ] [ฒ] [ณ] [ต] [ถ ] [ด] [ธ ] [น ] [ป ] [ผ ] [บ ] [ภ] [ม ] [ย] [ร ] [ล] [ว ] [ส] [ห] [ฬ] [อังํ] [อิงํ] [อุงํ]
อั ก ษ ร โ ร มั น เ สี ย ง อ่ า น
uṃ
[ะ] [า] [ ิ] [ ีิ ] [ ุ] [ ู] [เ] [โ]
[นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมบุดธัสสะ] [สุณาตุ เม ภันเต สังํโฆ อัชชุโปสะโถ ปัณณะระโส ยะดิ สังํฆัสสะ ปัตตะกัลลังํ สังํโฆ อุโปสะถังํ กะเรยยะ ปาฏิโมกขังํ อุดดิเสยยะ กิงํ สังํฆัสสะ ปุบบะกิจจังํ ปาริสุดธิงํ อายัส๎มันโต อาโรเจถะ ปาฏิโมกขังํ อุดดิสิสสามิ ตังํ สับเบวะ สันตา สาธุกังํ สุโณมะ มะนะสิกะโรมะ ยัสสะ สิยา อาปัตติ โส อาวิกะเรยยะ อะสันติยา อาปัตติยา ตุณ๎หี ภะวิตับบังํ ตุณ๎หีภาเวนะ โข ปะนายัส๎มันเต ปะริสุดธาติ เวดิสสามิ ยะถา โข ปะนะ ปัจเจกะปุฏฐัสสะ เวยยากะระณังํ โหติ เอวะเมวังํ เอวะรูปายะ ปะริสายะ ยาวะตะติยังํ อะนุสสาวิตังํ โหติ โย ปะนะ ภิกขุ ยาวะตะติยังํ อะนุสสาวิยะมาเน สะระมาโน สันติงํ อาปัตติงํ นาวิกะเรยยะ สัมปะชานะมุสาวาดัสสะ โหติ สัมปะชานะมุสาวาโด โข ปะนายัส๎มันโต อันตะรายิโก ธัมโม วุตโต ภะคะวะตา ตัส๎มา สะระมาเนนะ ภิกขุนา อาปันเนนะ วิสุดธาเปกเขนะ สันตี อาปัตติ อาวิกาตับบา อาวิกะตา หิสสะ ผาสุ โหติ] [นิดานุดะเดโส นิฏฐิโต] [ตัต๎ริเม จัตตาโร ปาราชิกา ธัมมา อุดเดสังํ อาคัจฉันติ] (1) [โย ปะนะ ภิกขุ ภิกขูนังํ สิกขาสาชีวะสะมาปันโน สิกขังํ อัปปัจจักขายะ ดุบบัล๎ยังํ อะนาวิกัต๎วา เมถุนังํ ธัมมังํ ปะฏิเสเวยยะ อันตะมะโส ติรัจฉานะคะตายะปิ ปาราชิโก โหติ อะสังํวาโส] 29
ปาฬิภาสา อักษรสยาม ตามที่พิมพ์ในพระไตรปิฎกปาฬิ จปร. อักษรสยาม 2436
(2) โย ปน ภิก์ขุ คามา วา อรั์า วา อทิน์นํ เถย์ยสังขาตํ อาทิเยย์ย, ยถารูเป อทิน์นาทาเน ราชาโน โจรํ คเหต๎วา หเนย์ยุํ วา พัน์เธย์ยุํ วา ปัพ์พาเชย์ยุํ วา “โจโรสิ พาโลสิ มูโฬ๎หสิ เถโนสีติ,” ตถารูปํ ภิก์ขุ อทิน์นํ อาทิยมาโน, อยัม์ปิ ปาราชิโก โหติ อสํวาโส. (2/2:2)
a ā i ī u ū e o
ṅ
ก์ ข์ ค์ ฆ์ ง
c
จ์
j
ñ
ช์ ฌ์ ์
ṭ
ฏ์
k kh g
(3) โย ปน ภิก์ขุ สั์จิจ์จ มนุส์สวิค์คหํ ชีวิตา โวโรเปย์ย, สั ต์ ถ หารกํ วาส์ ส ปริ เ ยเสย์ ย , มรณวั ณ์ ณํ วา สํ วั ณ์ เ ณย์ ย , มรณาย วา สมาทเปย์ย “อัม์ โภ ปุริส กิํ ตุย๎หิมินา ปาปเกน ทุช์ชีวิเตน, มตัน์เต ชีวิตา เสย์ โยติ,” อิติ จิต์ตมโน จิต์ตสังกัป์ โป อเนกปริ ย าเยน มรณวั ณ์ ณํ วา สํ วั ณ์ เ ณย์ ย , มรณาย วา สมาทเปย์ ย , อยั ม์ ปิ ปาราชิ โ ก โหติ อสํ ว าโส. (3/3:3)
gh
ch ฉ์ jh
ṭh ์
ḍ ฑ์ ṇ
ฒ์ ณ์
t
ต์
ḍh
th ถ์
d ท์ dh n
ธ์ น์
p ป์
ผ์ b พ์ bh ภ์ m ม์ ph
อุท์ทิฏ์า โข อายัส๎มัน์ โต จัต์ตาโร ปาราชิกา ธัม์มา, เยสํ ภิก์ขุ อั์ตรํ วา อั์ตรํํ วา อาปัช์ชิต๎วา น ลภติ ภิก์ขูหิ สัท์ธํ สํ ิ วาสํ, ยถา ปุเร; ตถา ปัจ์ฉา; ปาราชิโก โหติ อสํวาโส
ย๎ ร๎ l ล ๎ v ว ๎ s ส ๎ h ห ๎ ḷ ฬ ๎ aṃ อํ iṃ อิ ํ uṃ อุํ
30
อั ก ษ ร โ ร มั น อั ก ษ ร ส ย า ม
( 4 ) โ ย ป น ภิ ก์ ขุ อ น ภิ ช า นํ อุ ต์ ต ริ ม นุ ส์ ส ธั ม์ มํ อั ต์ ตู ป นายิ กํ อลมริ ย าณทั ส์ ส นํ สมุ ท าจเรย์ ย “อิ ติ ชานามิ , อิ ติ ปั ส์ ส ามี ติ ; ตโต อปเรน สมเยน สมนุ ค์ ค าหิ ย มาโน วา อสมนุ ค์ ค าหิ ย มาโน วา อาปั น์ โ น วิ สุ ท์ ธ าเปก์ โ ข เอวํ วเทย์ ย อชานเมวํ อาวุ โ ส อวจํ ชานามิ อปั ส์ สํ ปั ส์ ส ามิ ตุ จ์ ฉํ มุ ส า วิลปิน์ติ, อั์ัต๎ร อธิมานา; อยัม์ปิ ปาราชิโก โหติ อสํวาโส. (4/4:4)
อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
y r
สนทนาธัมม์นำสุข กองทุนสนทนาธัมม์นำสุข ท่านผู้หญิง ม.ล. มณีรัตน์ บุนนาค ในพระสังฆราชูปถัมภ์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
รายละเอียดการจัดทำต้นฉบับ ภิกขุปาติโมกขปาฬิฉบับ จปร.อักษรสยาม
1. เนื้อหาต้นฉบับ ภิกขุปาติโมกขปาฬิเล่มนี้ได้รว บรว มจา กต้นฉบับต่างๆ คือ 1.“พระไตรปิฎก ปาฬิจุลจอมเกล้าบรมธัมม ิกมหาราชอักษรสยาม พ.ศ. 2436” โปรด ให้พิมพ์โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 2. “Mahāsaṅgīti Tipiṭaka Buddhavasse 2500” พระไตรปิฎกฉบับสากล ปาฬิภาสา อักษรโรมัน พ.ศ.2548 (กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขท่านผู้หญิง ม.ล.มณีรัตน์ บุนนาค ในพระสงั ฆราชปู ถัมภส์ มเด็จพระญาณสงั วร สมเด็จพระสงั ฆราชส กลมหาสังฆปรณ ิ า ยก) 3.“ปาติโม กข และ กังขาวิตรณีอรรถกถา” พ.ศ. 2 525 ( มูลน ิธิภูมิพโลภิกขุ) 4. “ภิกฺขุปาฏิโมกฺขปาลิ” ที่ 13/2533( มหามกุฏราชวิทยาลัย ) 2. การจัดพิมพ์ใหม่ พ.ศ.2554 กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ ได้นำเนื้อหาในข้อ 1 มาสรุปเรียงพิมพ์ใ หม่ เป็น “ภิกขปุ าติโมกขปาฬิ ฉบบั จปร. อักษรสยาม” ตามอกั ขรวธิ กี ารเขียน ปาฬภิ าสา-อักษรสยาม ตามแบบฉบบั ทีใ่ ช้พมิ พ์พระไตรปิฎกปาฬิ “จลุ จอมเกล้าบรมธัมม กิ มหาราช พ.ศ. 24 3 6 อักษรสยาม ชุด 39 เล่ม” ซึ่งในปี พ.ศ. 255 2 กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ ได้ทำการ อนรุ กั ษแ์ ละจัดพ มิ พใ์ ห มเ่ ปน็ ฉบับอนุรกั ษ์ดจิ ทิ ลั ชดุ 40 เลม่ (รวม เล่มประมวลเนือ้ หา เล่มที่ 40) เพอ่ื เป็นพระราชศรัทธานุสรณ์ใ นปี พ.ศ. 2553 เนื่องใน 10 0 ปีแห่งวันสวรรคต ปัจจุบันในประเทศไทย ได้ถวายเพื่อเก็บรักษาไว้ ณ หอสมุดมหามกุฏราชวิทยาลัย และมูลนิธิเสียงธรรมเพื่อประชาชน ใน พระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี 111
ปาฬิภาสา-อักษรสยาม เทียบกับ เสียงอ่าน เพื่อช่วยในการอ่านสังวัธยายและเผยแผ่ให้กว้างขวางในการจัดพิมพ์ฉบับ จปร. อักษรสยาม ฉบับใหม่น้จี ึงได้เท ียบเนื้อหาฉบับอักษรสยาม กับ “เสียงอ่าน” ที่เขียนด้วย “สัททอักษรไทยปาฬิ” และที่เขียนด้วย “อักษร โรมัน” จากพระไตรปิฎกสากล อักษรโรมันด้วย(ดูข้อ 4 และ 5) 3.
a ā i ī u ū
4. เสียงอ ่าน
“สัททอักษรไทยปาฬิ” (Thai Phonetic alphabet Pāḷi) เป็นอักขรวิธีการเขียนด้วยอักษร ไทย คือ ระบบการเขียนเสียงอ่าน ที่ไม่คำนึงถึงเสียงสูงต่ำของอักษรที่กำหนดไว้ในภาษาไทย ซึง่ เปน็ ชุด สัทท อักษรปาฬทิ ไี่ ด้กำ หนดขนึ้ ใหม่แ ทนเสียงปาฬิภาสา ซ งึ่ คณะสงฆเ์ ถรวาทนานาชาติถอื กนั ว่าเปน็ เสยี งทีส่ บื ทอดมา ตัง้ แ ต ป่ ฐมมหาสัง คายนา เมอ่ื พ.ศ. 1 และยงั ได้ม คี ำอธิบา ยระบบการออกเสียง ปาฬิภาสานี้อยู่ในคัมภีร์สัททนีติ พ.ศ.1456 อีกด้วย ระบบการเขียนเสียงอ่าน หรือสัททอักษรไทย ปาฬิชดุ นี้ ได้นำ เสนอในเชงิ สัททศาสตร์แล้วแก่สำนกั ศิลปกรรม ราชบณ ั ฑติ ยสถาน ตง้ั แต่พ.ศ. 2551 เป็นต้นมา และโครงการพระไตรปิฎกได้ยึดถือเป็นแนวทางในการนำเสนอการเขียนเสียงอ่าน 5. พระไตรปิฎกสากล
ฉบับอักษรโรมัน เนื้อหาที่พิมพ์ด้วยอักษรโรมันที่ได้นำ มาเทียบกับอักษรสยามนั้น เป็นผลงานของ กองทุนสนทนา ธัมม์นำสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ ร่วมกับโครงการเผยแผ่พระไตรปิฎกสากล ในสมเด็จ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทั้งนี้สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรม หลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้น้อมเกล้าฯ ถวายพระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน ที่ได้ตรวจทาน และจัดพิมพ์ใหม่นี้แล้วแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตั้งแต่ พ.ศ. 2549 และในปี พ.ศ. 2551 โครงการเผยแผ่พระไตรปิฎกสากลได้นำความกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เรื่อง การดำเนินงานตามพระนโยบายในกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ซึ่งความทราบฝ่าละอองธุลี พระบาทแล้วตามรายละเอียดหนัง สือจากราชเลขาธิกา ร ที่รล0001.4/26269ลงวันที่13ธันวาคม 2549และ ที่รล0 003.3/11063 ลงว ันที่1 0 มิถุนายน2551 พระไตรปิฎกจปร. ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ ได้ร่วมกับโครงการพระไตรปิฎกสากล ในสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ประกอบด้วยราชบัณฑิต ภาคีสมาชิก ผู้เชี่ยวชาญด้าน ภาษาศาสตร์ และพระพุทธศาสนาจากราชบัณฑิตยสถานและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมด้วย กระทรวงกลาโหม ได้จัดพิธีสมโภชและน้อมถวายพระไตรปิฎก “สากลอักษรโรมัน” และ “จุล จอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช พ.ศ. 24 3 6 : ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล พ.ศ. 2552 อักษรสยาม” แด่สมเด็จ พระสังฆราช โดยสมเด็จพระวันรัต วัด บวรนิเวศน์วิหาร เป็นผู้รับพระราชทานจากสมเด็จพระเจ้า ลูก เธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารีซึ่งเสด็จทรงเป็นประธานในพิธีปัจจุบันพระไตรปิฎก ทัง้ 2 ฉบบั สมเดจ็ พระวันรัตได้มอบให้หอ้ งสมุดมหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั เป็นผูเ้กบ็ รกั ษา 6.
112
e o k kh g gh ṅ
อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ก์ ข์ ค์ ฆ์ ง
จ์ ch ฉ์ j ช์ jh ฌ์ ñ ์ c
ฏ์ ṭh ์ ḍ ฑ์ ḍh ฒ์ ṇ ณ์ ṭ
ต์ th ถ์ d ท์ dh ธ์ n น์ t
p ป์ ph
ผ์
bh
ภ์ ม์
b พ์ m
ย๎ r ร ๎ l ล ๎ v ว ๎ s ส ๎ h ห ๎ ḷ ฬ ๎ aṃ อํ iṃ อิ ํ uṃ อุํ y
a ā i ī u ū e o k kh g gh ṅ c ch j jh ñ ṭ ṭh ḍ ḍh ṇ t th d dh n p ph b bh m y r l v s h ḷ aṃ iṃ uṃ
writing
Writing
& Reading System of Pāḷi
[ะ] [า] [ ิ ] Writing System of Pāḷi Language in Siam Script and Roman Script 1893 [ ีิ ] (ระบบการเขียน ปาฬิภาสา ด้วยอักษรสยาม และอักษรโรมัน 2436) [ ุ] [ ู] 1. Siam Alphabet Pāḷi (อักษรสยามปาฬิ) Roman Alphabet Pāḷi (อักษรโรมันปาฬิ) [เ] Chulachomklao of Siam Tipiṭaka 1893 (พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช 2436) [โ] [ก ] [ข ] [ค ] [ฆ ] [ง] [ จ] [ฉ] [ช] [ฌ] [ ญ]
ฉบับ จปร. 2436 อนุรักษ์ดิจิทัลโดยโครงการพระไตรปิฎกสากล กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ 2553
[ฏ ] 2. Roman Alphabet Pāḷi, (อักษรโรมันปาฬิ) [ฐ ] The World Tipiṭaka Edition in Roman Script (พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน 2553) [ฑ] [ฒ] Vandāmi Dhammaṃ ahamādarena taṃ [ณ] Saṅgho sukhettābhy ‿atikhettasaññito Yo diṭṭhasanto sugatānubodhako [ต ] [ถ ] [ด ] [ธ ] [น ] Reading Stanzas in Phonetic Alphabets
reading
[ป ] [ผ ] [บ ] [ภ ] [ม ] [ย ] [ร ] [ล ] [ว ] [ส ] [ห] [ฬ] [อังํ] [อิงํ] [อุงํ]
(ระบบการเขียนเสียงอ่าน
ปาฬิภาสา ด้วยสัททอักษรปาฬิ ประเภทต่างๆ) 3. Siam Phonetic Alphabet Pāḷi [ สัททอักษรสยามปาฬิ ] [ วัน์ทามิ ธัม์มัง อะหะมาทะเรนะ ตัง ] [ สังโฆ สุเขต์ตาภ ย๎ ะติเขต์ตะสัิโต ] [ โย ทิฎ์ะสัน์โต สุคะตานุโพธะโก ]
4. Thai Phonetic Alphabet Pāḷi [ สัททอักษรไทยปาฬิ ] [ วันดามิ ธัมมัง อะหะมาดะเรนะ ตัง ] [ สังโฆ สุเขตตาภ ย๎ ะติเขตตะสัญญิโต ] [ โย ดิฎฐะสันโต สุคะตานุโบธะโก ] 5. International Phonetic Alphabet Pāḷi [ สัททอักษรสากลปาฬิ ] [ ʋan̪d̪aːmi d̪ʱammã aɦamaːd̪areːn̪a t̪ã ] [ s̪aŋɡʱoː s̪ukʰeːt̪t̪aːbʱj‿at̪ikʰeːt̪t̪as̪aɲɲit̪oː ] [ joː d̪iʈʈʰas̪an̪toː s̪uɡat̪aːn̪uboːd̪ʱakoː ] 113
มูลเหตุของการเผยแผ่เป็นธัม มทานใน พ.ศ. 2554 ในเดือ นกุมภาพนั ธ์ 2554 คณะสงฆก์ รรมการมูลน ธิ เิสยี งธรรมเพอ่ื ประชาชน ในพระอุปถมั ภ์สมเด็จ พระเจา้ ลกู เธอ เจ า้ ฟา้ จฬุ าภรณวลัย ลักษณ์ อ คั รราชกมุ ารี ไดป้ ร ารภให ก้ องทนุ สนทนาธมั ม์นำสขุ ฯ ใน พระสังฆ ราชูป ถัมภฯ์ พจิ ารณ าเรยี งพิมพ์ภ กิ ข ปุ าติโม กขปาฬิ จากเนอื้ ห าต้นฉบบั เดิมต่างๆ ด งั นน้ั ก อง ทุนสนทนาธมั ม์นำสขุ ฯในพระสงั ฆ ราชปู ถัมภ์ฯจงึ ได้มอ บให้ผ เู้ชย่ี วชาญในสถาบ นั ต่าง ๆ ร่วมกันพจิ ารณา ด้ว ยได้แก่ อาจารย์สิริเพ็ชรไชยป.ธ.9 โครงการพระไตรปิฎกสากล,อาจารย์สังคม พวงราช ป.ธ. 9 มูลนิธิภูมิพ โลภิกขุ, และ ศาสตราจารย์กิตติคุณดร.วิจินตน์ ภาณุพงศ์ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาศาสตร์์ จาก จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาว ิท ยาลั ย แ ล ะรา ชบัณ ฑิ ต ยสถาน เป็ น ต้น และไ ด้ ก ราบ นมัส การเรี ย น สมเด็จพระวันรัต อ ุปนายกมหามกุฏราชวิทยาลัยเพื่อรับทราบอีกด้วย 8. ปาฬิและ ปาติโมกขปาฬิ ในการพิจารณาเรียงพิมพ์อักขรวิธีการเขียนใหม่ โครงการพระไตรปิฎกสากลฯ ได้เขียนทับศัพท์ ว่า “ปาฬิ” และ “ปาฬิภาสา” ตามรูปศัพท์เดิม ที่ได้เขียนไว้ในพระไตรปิฎกปาฬิจปร.อักษรสยาม พ.ศ. 2436 และปัจจุบันราชบัณฑิตยสถานได้้เขียนว่า “ปาฬิ” เป็นรูปศ ัพท์ได้อีก รูปหนึ่งด้วย ดังน ั้นจึง เรียกต้นฉบับนี้ตามอักขรวิธีการเขียนปาฬิภาสาเป็นอักษรสยามว่า “ภิก์ขุปาติโมก์ขปาฬิ” ซึ่งเขียน เสียงอ่านเป็นสัททอักษรว่า [ภิกขุปาติโมกขะปาฬิ] โดยใช้พยัญชนะ ต แทน ฏ ตามที่เขียนไว้ ในคัมภีร์ปาติโมก ข์และกังขาวิตรณีอรรถกถาและตามพจนานุกรมราชบัณฑิตยถาน 7.
9.เครื่องหมายกำกับ อักษรสยาม
ในการเขยี นปาฬิภาสา ไ ด้ใชห้ ลกั การอักขรวธิ กี ารเขีย น ของเครอ่ื งหมาย 4 ประเภท ทีใ่ ช ใ้ นกา ร จัด พิมพ์พร ะไตร ปิฎกจ ปร.อ ักษรสยาม พ.ศ.2436คือ 1. ไม้หันอากาศ ( ั ) แสดงเสียง “สระ-อะ” เช่น ธัม์มา (dhammā อ่านว่า ธัม-มา เขียนเสียงอ่านเป็นสัททอักษรว่า [ธัมมา] ) ซึง่ จะต้องเขียนเครือ่ งหมายวัชฌการ บนพยัญชนะตัวสะกด (ม์ ) ด้วย 2. ไม้วัชฌการ ( ์ ) แสดง “เสียงสะกด” เช่น พุท์โธ (Buddho อ่านว่า บุท-โธ เขียน เสียงอ่านเป็นสัททอักษรว่า [บุดโธ] ) 3. ไม้ยามักก าร ( ๎ ) แสดง “เสียงควบกล้ำ” เช่น พ๎ย- ในคำ พ๎ยั์ชนํ (b‿yañjanaṃ) โปรดสังเกต ( ‿ ) แสดงเสียงควบกล้ำในอักษรโรมัน หรือ “เสียงสะกดควบกล้ำ” เช่น เสียง kyaputto) เมื่อ ก๎- ทำหน้าที่ตัวสะกดจะต่อ เนื่องไปเป็นเสียงควบ - ักย๎ - ในคำ สัก๎ยปุตตโต ( sa‿ กล้ำก๎ย- ด้วย 4. พินทุโปร่ง( ํ ) แสดง“เสียงนิค หิต” เช่น เช่น dhammaṃอ่านว่า ธัม-มังแต่เขียนเสียง อ่านตามหลักวิชาสัทศาสตร์ด้วยสัททอักษรว่า [ธัมมังํ] โดยใช้เครื่องหมายพินทุโปร่งแสดงเสียงนิค หิตเหนือง เพื่อให้ต่า งจากเสียง[อัง] ใน[สังกัปปัง] ที่สะกดด้วย ง 114
10.คำที่เขียนต่างกัน
ต้นฉบับ “ภิกขุปาติโมกข” ฉบับเดิม เมื่อเทียบกับเนื้อหาสิกขาบทต่างๆ ในพระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน พบว่ามีคำท ี่เขียนต่างกัน (variantreadings) ซึ่งส ่วนใหญ่คำที่เขียนต่างกันนั้น ในพระ ไตรปฎิ กอัก ษรสยามมกั เปน็ การใช้เสยี งสระยาว เช่น ฉบับสากลเขียนวา่ attupanāyikaṃ (อัตต์ ปุ นายิก)ํ ฉบับอักษรสยามเดิมเป็น อัตตูปนายิกํ attūpanāyikaṃ ในกรณีนี้อธิบายได้ว่าไทยได้สืบทอดเสียง ปาฬ ิภาสาตามหลักสนธิกัน คือ เมื่อสนธิแล้วก็คงจะนิยมเปลยี่ นเป็นเสียงสระยาว เพื่อให้อ้ อกเสียง สังวัธยายได้ง่าย ขึ้น ความต่างนี้ส่วนใหญ่จึงมิใช่เป็นคำต่างที่เขียนผิดความหมายแต่เรียกว่าเป็นการ เขียนตามหลักที่สังวัธยายสืบทอดมาในกรุงสยามเท่านั้น ดังนั้นจากการตรวจทานในฉบับใหม่นี้จึง ยังคงพิมพ์ตามรูปศ ัพท์เดิม สำหรับคำต่างดังกล่าวได้ระบุข้อเชิงอัถถ์ไวเ้ฉพาะในฉบับอักษรโรมัน เสียง“นิคหิต” หรือ“เสียงขึ้นจมูก” ในการตรวจทานใน พ.ศ. 2554 พบว่า ฉบับ จปร. อักษรสยาม พ.ศ. 2436 ใช้เครื่องหมายพินทุ โปรง่ ( ํ ) เขยี นเสียงนิคหิต เช่น สํโฆ (หมายถงึ สงฆ์ และรูปศัพท์อ่นื ๆ ท่ีมคี วามหมายเกีย่ วกับ สงฆ์) แต่หลัง พ.ศ. 2470 ในการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกในประเทศไทย ได้เปล่ียนอักขรวิธีการ เขียนเป็นเสียง ง คือ เสียงพยัญชนะที่เกิดที่เพดานอ่อนแล้วขึ้นจมูกด้วย เขียนเป็นรูปศัพท์ว่า สงฺโฆ (saṅgho อ่านว่า สังโฆ และเขียนสัททอักษรไทยปาฬิว่า [สังโฆ]) เป็นต้น ดังนั้นในการ จัดพิมพ์ครั้งนี้จึงได้ใช้รูปศัพท์เสียงนิคหิต สํโฆ ตามต้นฉบับ จปร. อักษรสยาม ซ่งึ เป็นรูปศัพท์ที่ ตรงกับฉบับสากล อักษรโรมัน ตามมติของการประชุุมสังคายนานาชาติ พ.ศ. 2500 ที่ได้รับ รองแล้วคือ คำว่า saṃghoและเขียนเป็นสัททอักษรไทยปาฬิว่า [สังํโฆ] 11.
รูปแบบในการเผยแผ่ ในการจัดพิมพ์ใหม่นี้ ได้จัดทำเป็นฐานข้อมูลอิเล็คทรอนิกส์ด้วย ซึ่งสามารถที่จะเผยแผ่ต่อไป อย่างสะดวก และมีประสิทธิภาพในการเรียงพิมพ์ในรูปแบบต่างๆ เพื่อเผยแผ่เป็นธัมมทานด้วย
12.
นายสิริ เพ็ชรไชย ป.ธ. 9 ประธานกองทุนสนทนาธัมม์นำสุข ท่านผู้หญิงม .ล.มณีรัตน์บุนนาค ในพระสงั ฆราชูปถัมภ์ สมเด็จพระญาณสงั วรสมเด็จพระสงั ฆราชสกลมหาสังฆปริณายก ผู้ดำเนินการโครงการพระไตรปิฎกสากล พ.ศ. 2542-ปัจจุบัน 5
มีนาคม พ.ศ. 2554
ภิกขุปาติโมกขปาฬิ รวบรวมเนือ้ หาจากพระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม เล่ม 1 และ 2 จากฉบับอนุรกั ษ์ดจิ ทิ ลั ชุด 40 เล่ม พ.ศ. 2554
ถวายพระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม แด่สมเด็จพระสังฆราช พ.ศ. 2552
ประดิษฐานพระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ณ วัดป่าบ้านตาด พ.ศ. 2554
สนทนาธัมม์นำสุข จัดทำต้นฉบับโดย กองทุนส นทนาธัมม์น ำสุขท่านผู้หญิงม.ล.มณีรัตน์บ ุนนาค ในพระสังฆราชูปถัมภ์ สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก http://society.worldtipitaka.info worldtipitaka@dhammasociety.org
กองทุนสยามสามไตร จัดพิมพ์ครั้งที่ 1 เพื่อเผยแผ่เป็นธัมมทาน www.siamsaamtri.ac.th siamsaamtri_fund@hotmail.com ISBN 978-974-496-723-7