14000

Page 1

มาตรฐาน ISO 14000 คืออะไร ในยุคที่สังคมโลกกําลังใหความสําคัญในเรื่องสิ่งแวดลอม อันเปนผลสืบเนื่องจากมลพิษตางๆ ไมวา ทางอากาศ ทางน้ํา การกําจัดของเสีย ฯลฯ ไดสงผลกระทบตอพลเมืองโลกอยางมาก ผลกระทบนี้ เกิดขึ้นกับทุกประเทศในโลก และเปนเหตุใหเกิดแรงผลักดันใหองคการระหวางประเทศวาดวยการ มาตรฐาน หรือ ISO (International Organization for Standardization) จัดทําอนุกรมมาตรฐานการ จัดการสิ่งแวดลอม “ISO 14000 Series” ขึ้น ISO 14000 เปนชุดของมาตรฐานที่ประกอบไปดวยมาตรฐานหลายเลม เริ่มตนตัง้ แตหมายเลข 14001 จนถึง 14100 (ปจจุบัน ISO กําหนดเลขสําหรับมาตรฐานในอนุกรมนี้ไว 100 หมายเลข) โดยแตละเลมเปนเรื่องของมาตรฐานที่เกีย่ วของกับการจัดการสิ่งแวดลอมทั้งสิ้น โครงสรางของอนุกรมมาตรฐานนี้แบงเปน : • • • • • •

Environmental Management Systems (EMS) Environmental Auditing and Related Environmental Investigations (EA) Environmental Labeling (EL) Environmental Performance Evaluation (EPE) Life Cycle Assessment (LCA) Terms and Definitions (T&D)

สําหรับมาตรฐานที่สามารถยื่นขอรับการรับรองไดก็คอื ISO 14001 Environmental Management Systems - Specification with Guidance for Use หรือที่เรียกและเขาใจกันวา เปนมาตรฐานระบบ การจัดการสิ่งแวดลอม นั่นเอง สาระสําคัญในมาตรฐาน EMS มีดงั นี้ 1. นโยบายสิง่ แวดลอม (environmental policy) การจัดการสิ่งแวดลอมเริ่มดวยผูบริหารสูงสุดขององคกร ตองมีความมุง มั่นที่จะดําเนินการอยาง จริงจัง และกําหนดนโยบายสิ่งแวดลอมขององคกรขึ้น เพือ่ เปนแนวทางสําหรับการดําเนินงานของ พนักงานในองคกร


2. การวางแผน (planning) เพื่อใหบรรลุนโยบายสิ่งแวดลอม องคกรจึงตองมีการวางแผนในการดําเนินงาน โดยอยางนอยตอง ครอบคลุมถึงองคประกอบตาง ๆ ดังนี้ •

• • •

แจกแจงรายละเอียดของกิจกรรมตางๆ ในองคกรที่มีผลกระทบตอสิง่ แวดลอม รวมถึง กิจกรรมที่มีผลกระทบตอสิง่ แวดลอมอยางมาก แจกแจงขอกําหนดทางกฎหมาย และขอกําหนดอื่นๆ ทีอ่ งคกรเกี่ยวของ และตองปฏิบัติ จัดทําวัตถุประสงคและเปาหมายในการจัดการกิจกรรมตางๆ ที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม จัดทําโครงการการจัดการสิง่ แวดลอมเพือ่ ใหบรรลุวัตถุประสงคขางตน

3. การดําเนินการ (implementation) เพื่อใหการดําเนินการดานการจัดการสิ่งแวดลอมเปนไปตามแผนที่วางไว อยางนอยองคกร ตอง ดําเนินการใหครอบคลุมถึงองคประกอบตาง ๆ ดังนี้ • •

• • •

กําหนดโครงสราง และอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบในการจัดการสิ่งแวดลอม เผยแพรใหพนักงานในองคกร ทราบถึงความสําคัญในการจัดการสิ่งแวดลอม รวมทั้งจัดการ ฝกอบรมตามความเหมาะสม เพื่อใหพนักงานที่เกี่ยวของกับการจัดการสิ่งแวดลอม มี ความรู และความชํานาญในการดําเนินงาน จัดทําและควบคุมเอกสารที่เกี่ยวของกับการจัดการสิง่ แวดลอม ควบคุมการดําเนินงานตางๆ ใหบรรลุตามวัตถุประสงคและเปาหมายที่กําหนดไว จัดทําแผนดําเนินการหากมีอุบัติเหตุตางๆ เกิดขึ้น รวมทั้งมีการซักซอมการดําเนินการ อยางเหมาะสม

4. การตรวจสอบและการแกไข (checking & corrective action) เพื่อใหการจัดการสิ่งแวดลอมไดรับการตรวจสอบและแกไข อยางนอยการดําเนินการขององคกร ตองครอบคลุมถึงองคประกอบตางๆ ดังนี้ • • • •

ติดตามและวัดผลการดําเนินการโดยเปรียบเทียบกับแผนที่วางไว แจกแจงสิ่งตางๆ ที่ไมเปนไปตามแผนการจัดการสิ่งแวดลอม รวมทั้งดําเนินการแกไข จัดทําบันทึกตางๆ ที่เกีย่ วของกับการจัดการสิ่งแวดลอม ตรวจประเมินระบบการจัดการสิ่งแวดลอมเปนระยะ


5. การทบทวนและการพัฒนา (management review) ผูบริหารองคกรตองทบทวนระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ในระยะเวลาที่เหมาะสม เพือ่ ใหการจัดการ สิ่งแวดลอม มีการพัฒนาอยางสม่ําเสมอ

ประโยชนของ EMS • • • •

บริหารงานดานสิ่งแวดลอมไดอยางเปนระบบ เกิดสภาพแวดลอมการทํางานที่ดี รวมทั้งมีการปองกันในกรณีที่มีอุบตั ิเหตุเกิดขึ้น เกิดภาพลักษณที่ดีตอองคกร ลดภาระคาใชจาย เนือ่ งจากมีการจัดการสิ่งแวดลอมที่เหมาะสม เชน การจัดการทรัพยากร การจัดการของเสีย (waste management) เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันดานการตลาด

หลักการของระบบการจัดการสิ่งแวดลอม


ที่มา : http://www.tisi.go.th/14000/14000-1t.html


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.