E-logistic

Page 1

การพัฒนา logistic บน E-Business สุตโสม แสนหมื่น


Logistics Activities Order Processing

Location Selection

Customer service

Demand Forecasting

Procurement

Reverse Logistics

Part and Service Support

Logistics

Inventory Management

Traffic and Transportation

Material Handling Packaging

Warehousing And Storage


With Out IT for Logistics Management Retail Store สินคามี ลนเกินความ ตองการ ทุนจมหาย

Warehouse and Distribution Center (DC) นับสต็อกไมไหว แลวมันเยอะเกิน

เก็บมากเกินทําให หายาก คนยาก สินคาหายก็ไมรู


อาการปญหาดานโลจิสติ สติกส

Stock outs in spite of high inventories Inventory imbalance Frequent production disruption Always urgent Frictions among department


IT for Logistics & Supply Chain Improvement

Information Flow SCM Framework Supply Chain Management(SCM) Model Demand Management Integrated Suppliers

Warehouse Management

Continuous Replenishment

Automated Store Ordering

Supply Management Reliable Operations

Cross Docking

Enabling Technologies

Physical Product Flow

Best Practice is the most appropriate framework for decisions regarding IT for Logistic & Supply Chain Improvement


การพัฒนาบทบาทของฝายจัดซือ้ จัดหา EPI: Early Purchasing Involvement ฝายจัดซื้อจัดหาเขาไปมีสวนรวมในการกําหนดกลยุทธ และเตรียมตัวเพื่อรองรับความตองการของธุรกิจ

ESI: Early Supplier Involvement การวางแผนการผลิตรวมกับผูผ ลิตวัตถุดิบ เพื่อใหผผู ลิตวัตถุดิบทราบความตองการของธุรกิจ และใหธุรกิจทราบความเปนไปไดในการดําเนินการ


Customer Order Cycle Customer Order

Ship Customer Order

Customer Delivery

Order transmittal Back Order

Invoice

Check credit

Inventory File

Process Order

Production Schedule

Production

Inventory available Enter Customer Order

Shipping Documentation

Warehouse Withdrawal

Transportation Scheduling


Order Processing : Importance “The order processing and information system forms the foundation for logistics and corporate management information system”

“The Order Processing System is the center of the Logistics System.”


Accuracy

Speed

Four way to evaluate order transmittal

Consistency

Cost


EDI vs Traditional Method Purchasing Order Buyer’s Server

Purchasing

Purchasing Order

Post Office

Traditional Method

Order Entry

Seller’s Computer

EDI Flow Purchasing

Buyer’s Application

Seller’s Application

Seller


Developing Logistics Information System Customer order

Customer data Order Processing System Freight payment system Transportation history

Inventory

Customer master file

Company Record

Industry Data

Common Database

Management Data

Order Performance Inventory Management Shipment Performance Damage report and product return report

Transportation administration System configuration

Credit file Order status

Standard cost

Product tracking and forecasting report

Product movement

Performance and Cost reports for Physical distribution


ประโยชนจากการเทคโนโลยีสมัยใหม

สามารถลดความผิดพลาดจากการทํางานของมนุษย • สามารถลดขั้นตอนการทํางานเกีย่ วกับเอกสารระหวางหนวยงาน ทั้งภายใน องคกร และระหวางองคกร • สามารถลดอุบตั เิ หตุในการทํางานของกระบวนการผลิต จากความประมาท ของบุคลากร

การเก็บขอมูลอยางเปนระบบ สามารถใชในการวิเคราะหสถานการณ แบบ Real Time และสามารถแกไขปญหาไดอยางรวดเร็วทันตอ เหตุการณมากขึ้น


มุมมองใหมในการจัดการคลังสินคา : ++กิจกรรมที่กอใหเกิดความสามารถในการแขงขัน++ Warehouse Layout and Design

Location Analysis -Production-Position -Market-Position -Intermediately-

“กิจกรรมที่กอใหเกิด ความสามารถในการแขงขัน ทั้งการสรางความพึงพอใจ แกลูกคาและประสิทธิภาพ ของธุรกิจ”

Positioned

Warehouse Management System

Material Handling Manual VS Automated


WMS : Warehouse Management System Uses IT in Warehouse Operation

Increased data accuracy Reduced non-value added activities Generated report for managerial Increased service level


ประโยชนจากการจัดการสินคาคงคลัง

สามารถแกปญหาระดับสินคาคงคลังโดยรวมสูง แตมีสินคาบางรายการ ขาดตลาด สามารถลดปริมาณสินคาคงคลังที่ลาสมัย (Obsolesce) การวางแผนระดับสินคาคงคลังที่เหมาะสม มีสินคาในเวลาที่มีความ ตองการและมีคําสั่งซื้อ ทําใหสามารถสงมอบสินคาใหกับลูกคาได รวดเร็วมากขึ้น


ไอทียุค E-Commerce ในรูปแบบ B to B Value Chain Management (VCM) Solution เพื่อทํา E-Trade Collaboration by Linking customers, suppliers, partners, and distribution channels on a common trading partners platform for all their interenterprise e-commerce processes. Complete buying cycle and improve information capture • Planning and analysis with automate purchasing activities. • Requisition to payment control and monitor. • Automate quote-based buying. Benefit 1. Decreasing sourcing cycle time 2. Reducing process efforts and costs 3. Resulting in fair market pricing


www.abc.co.th


CPFR (Collaborative Planning, Forecasting & Replenishment) เปนวิธีการบริหาร E- Logistics & Supply Chain เกิดขึน้ ใหมโดยการวิจยั รวมกันของกลุม อาสาสมัครจากบริษัทคาปลีก และกลุมผูคาคอมพิวเตอรในสหรัฐอเมริกา ในสมาคมคาปลีก ของภาคเอกชน เพื่อหาวิธีการบริหาร 3 เรื่องหลักรวมกัน 1. วางแผนรวมกันบริหาร Logistic (Collaborative Planning ) 2. สรางรูปแบบการพยากรณลวงหนา (Demand Forecast) 3. การจัดเติมสินคาอยางตอเนื่องอัตโนมัติดวย Computer Information System (CIS) โดยอาศัย Web Base B2B E-Commerce Platform


CPFR Goal (เปาหมาย) • เพื่อลดภาระตนทุน Stock สินคาของทุกๆ ฝายทั้ง โรงงานผลิต ผูจดั จําหนาย รานคาปลีก เพราะยิ่งขายสินคามากขึ้น Stock ก็มากขึ้นตามไปดวยหาทางแกไมได สาเหตุมาจากขาด การวางแผนรวมกัน • หา Plat form สักอยางหนึ่ง เปนสื่อกลางประสาน Business Process รวมกันเปนหนึ่ง เดียว ในการตกลงสรางระบบการพยากรณ Demand Forecast เพื่อตางฝายตางไม จําเปนตองลงทุนดาน I.T. สูงเกินไป


ITIT for for Logistic Logistic ตตนนแบบ แบบ Pilot Pilot project project ในประเทศไทย ในประเทศไทย • บริหารการกระจายสินคาระบบ Just In Time โดยคัดเลือกสินคา A-Item นํามาวางมาตรฐานการบริหารสินคาใหม เพื่อสามารถทําใหยอดขายเพิ่มขึ้น แตคาใชจาย การบริหารสตอกสินคาลดลง • บริหารสินคาใหมมี าตรฐานเดียวกันดวย Category Management Concept เพื่อเปาหมายในการ

เพิ่มยอดขาย + ลดตนทุนการเก็บ Inventory


Internet ภายนอก

ธุรการ E-Business

รานคา

ฝาย D.C.

Store Front (รานเดียว)

ฝาย Merchandise Buyer ฝายบัญชี ฝายการเงิน

Consumer . . . 1 - 10 ลานคน

ฝาย Marketing ฝาย Support ฝายซอมบํารุง Warrantee

E-Commerce Paperless Workflow Communication

E-Commerce แบบ B to C

Intranet ภายใน

แบบ B to B บน Internet

กลุม Supplier 200 ราย กลุมรวมคา กับ Power Buy ธนาคารที่รว มกับ โครงการ Electronic Fund Transfer

ฝายบริหาร

Total e-Logistics & Supply Chain conceptual design Base on Best Practice in e-procurement methodology


ขอมูลทั่วไปของระบบ SAP และ GFMIS


ความรูทั่วไปของระบบ SAP

“ ERP (Enterprise Resource Planning System) คือแนวความคิดในการบริหารเพื่อวางแผนและ จัดการทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุดทั่วทั้งบริษัทโดยการเชื่อมโยงกระบวนการทาง ธุรกิจไมวาจะเปนเรื่องการจัดซื้อ การผลิต การขาย ลอจิสติกส บัญชี การเงินและงาน บุคคล เปนตน เขาดวยกันอยางเปนระบบเพื่อมุงไปสูผลกําไรสูงสุดของบริษัท ”1

ระบบ SAP เปนโปรแกรมสําเร็จรูปประเภท Enterprise Resource Planning System (ERP) ซึ่ง ประกอบดวยระบบงานที่สําคัญดังนี้ • ระบบบัญชีและรายงานทางการเงิน (FI module) • ระบบควบคุมตนทุนและคาใชจา ย (CO module) • ระบบการขายและการจัดสงสินคา (SD module) • ระบบการจัดการสินคาคงคลัง (MM module) • ระบบการผลิตและการวางแผนการผลิต (PP module) • ระบบงานบํารุงรักษาและปองกันการเสื่อมสภาพของทรัพยสิน (PM module) • ระบบงานจัดการโครงการ (PS module) • ระบบงาน Basis (Basis system)


Enterprise Resource Planning System Financial Controlling Cost Controlling Sales

Sales order

Initial Contact

Customer order

Inventory Sourcing

Production SOP

Procurement

Logistics Controlling

MPS

Purch. req.

MRP

Vendor selection

Delivery

Planned order

Purch. order

Invoicing

Customer payment

Prod. order

Prod. control

Goods issue

Vendor Invoice payment verificat.

Sales, Production, Purch., Warehouse Mgmt


SAP Solutions


SAP R/3


โครงสรางภายในระบบ SAP Organizational Units

Business Enterprise

Client

Financial Accounting/ Sales

Company Code

Controlling Area

Cost Accounting

Production/ Distribution

Sales Organization

Plant

Distribution Channel

Plant

... Inventory Management © SAP AG 1999

Storage Location

Storage Location

Storage Location


GFMIS (Government Fiscal Management Information System) GFMIS หมายถึง ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐดวยระบบ

อิเล็กทรอนิกส เกิดจากมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.2546 โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SAP R/3 ของประเทศเยอรมัน เพื่อ ใชในการวางแผนจัดการทรัพยากรของหนวยงานภาครัฐ โดยมี ขอบเขตระบบงานหลัก 2 ดาน คือ • 1. ดานปฏิบัติการ (Operation System) ประกอบดวย ระบบการบริหาร งบประมาณ การจัดซื้อ/จัดจาง ดานบัญชีการเงิน ขอมูลสวนบุคคล และขอมูลตนทุน • 2. ดานการบริหาร (Business Warehouse) ประกอบดวย ขอมูลที่ใชใน

การวางแผนและการตัดสินใจ


GFMIS ระบบงานหลักของ e-Government

ความพึงพอใจ การ, การใช ของ เงิบรินงบประมาณ ประชาชน

การใหบริการ ประชาชนสวนหนา แบบอิเล็กทรอนิกส และเบ็ดเสร็จ (Front Operation)

กระทรวง กรม จังหวัด พื้นที่

e-Citizen

Interface

•One Stop Service •Call Center •Multi Channel Face to Face Internet/Portal Mail/Phone/Fax

ระบบการบริหารงานการเงิน การคลัง ภาครัฐ เปน ระบบงานหลัก สวนหลังของประเทศ (Back Office Operation) •ระบบบริหารเงินงบประมาณ •ระบบบัญชีเกณฑคงคาง ตนทุน •ระบบจัดซื้อจัดจางอิเล็กทรอนิกส •ระบบรับจายแบบอิเล็กทรอนิกส •ระบบขอมูลบริหารแบบ Matrix และ Online Realtime

e-Service

e-Government

GFMIS


ภาพรวมของระบบ GFMIS MIS (ระบบสารสนเทศ) MIS - BW SEM Operating System SAP R/3 (GFMIS)

FM ระบบ งบประมาณ

BIS ของ สงป.

PO

FI

ระบบจัดซื้อจัดจาง

ระบบการเงินและบัญชี

CO

HR

RP ระบบรับและนําสงเงิน AP ระบบเบิกจาย CM ระบบบริหารเงินสด FA ระบบสินทรัพยถาวร GL ระบบบัญชีแยกประเภท

ระบบตนทุน

e-Payroll , e-Pension ของกรมบัญชีกลาง

AFMIS ของสวนราชการ

ระบบทรัพยากรบุคคล

DPIS ของ สกพ.

e-Procurement ของกรมบัญชีกลาง (e-catalog,e-shopping list e-Auction)

ประกอบดวย


รายชื่อโปรแกรมระบบงาน GFMIS

ระบบการจัดสรรงบประมาณ ระบบบริหาร/ติดตามการใช งบประมาณ ระบบบัญชีแยกประเภทแบบเกณฑคง คาง ระบบบัญชีบริหาร/บัญชีตนทุน ระบบบัญชีเจาหนี้ ระบบบัญชีสินทรัพยถาวร ระบบบริหารเงินสด ระบบจัดซื้อจัดจาง/บริหารพัสดุ ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล ระบบการจัดทํางบการเงินรวม ระบบฐานขอมูลบริหาร การเชื่อมโยงกับระบบภายนอก

Strategic Enterprise Management

Fund Management

General Ledger

Controlling/Cost Accounting

Account Payable

Asset Management

Cash Management

Purchasing/Inventory Mgt

Human Resource Management

Account Consolidation

Business Warehouse

External System Interfacing


การใชงานในระบบ GFMIS 1.

2.

3.

ระบบ SAP (Terminal GFMIS) เปนการบันทึกรายการโดยตรงเขาระบบ สําหรับหนวยงานที่มี GFMIS Terminal ใช Excel Form จากระบบ Excel Loader สําหรับหนวยงานที่ไมมี GFMISTerminal เพื่อบันทึกเขาระบบผาน Web Excel Loader Interface ขอมูลเขามาจากระบบอื่นของหนวยงานที่มีระบบ อิเล็กทรอนิกสของตนเอง


การ Implement ระบบ SAP และการ บริหารโครงการ


ASAP Methodology

ASAP Roadmap Continuous

Project Preparation

Final Preparation Business Blueprint

Realization

Methodology

Improvement Go Live & Support


SAP Implementation

Source: SAP ASAP


ASAP Roadmap •Initial Project Planning •Project Procedures •Training •Project Kickoff •Technical Requirements •Quality Check

•Project Management •Organizational Change Management •Training •Baseline Configuration and Confirmation •System Management •Final Configuration and Confirmation •Develop Programs, Interfaces etc. •Final Integration Test •Quality Check

•Production Support •Project End Continuous

Project Preparation Business Realization Blueprint •Project Management •Organizational Change Management •Training •Develop System Environment •Organizational Structure Definition •Business Process Analysis •Business Process Defintion •Quality Check

Improvement Final Preparation Go Live & Support •Project Management •Training •System Management •Detailed Project Planning •Cutover •Quality Check


ความเสี่ยงและการควบคุมงานโครงการ SAP

ความชัดเจนในขอบเขตของโครงการ รวมถึงระยะเวลาและคาใชจาย คุณภาพและประสบการณของทีมงานจัดทําและบริหารโครงการ การมีสวนรวมและการใหความสําคัญในการบริหารโครงการของ ผูบริหาร (Management involvement not just “commitment”) การอบรมและจัดการการเปลี่ยนแปลงในองคกร (Changes Management) ความเขาใจของพนักงานตอผลประทบและประโยชนที่จะเกิดกับองคกร (Project Ownership)

การวางแผนและจัดการกับปญหาที่เกิดขึ้น การบริหารโครงการและการแกปญหาหลังจากที่ระบบเริ่มมีการใชงาน จริง (Post implementation management)


การควบคุมภายในของระบบ SAP


ความเสี่ยงและระบบการควบคุมภายใน

การเปลี่ยนแปลงระบบการทํางานโดยการใชระบบ SAP นั้นจะทําให องคกรมีความเสี่ยงทั้งในดานการจัดการและการควบคุมภายใน การประเมิณความเสี่ยงและการควบคุมภายในของการ Implement ระบบ SAP • • • • • • • •

Business Process Controls Application Security (Segregation Of Duties) Program Interface Conversion Control Technology Infrastructure End User Training Master Data Maintenance Project Management


โครงสรางการจัดการระบบพื้นฐานของ SAP

Development ระบบสําหรับ การกําหนดคา และพัฒนาโปรแกรม

Quality Assurance ระบบทดสอบ

Sandbox ระบบทดลอง/อบรม

Production ระบบที่ใชงานจริง


ประเภทของการควบคุมภายในสําหรับระบบ SAP

การควบคุมโดยวิธีปฏิบัติงาน (Manual / procedural controls) • กําหนดนโยบายการปฏิบัติงานและระเบียบปฏิบัติ

การควบคุมโดยระบบปฏิบัติงาน (Inherent controls) การควบคุมโดยการกําหนดคาการทํางานของระบบ (Configuration controls) การควบคุมการเขาถึงขอมูล (Logical access controls) • การกําหนดสิทธิการเขาถึงขอมูล • การกําหนดการแบงแยกหนาที่ในระบบงาน (Segregation of duties)

การควบคุมโดยการใชรายงาน (Reporting Controls) • รายงานรายการผิดปกติ


Inherent & Configurable Controls Configuration Controls

Inherent Controls

Duplicate checks through message control

Sequential documents thorugh number ranges Automatic integration and postings All transactions through unique documents History of transactions executed by users retained including date, time and user Logging and history of program changes

Edit Check Data Entry Validations Document Blocking Tolerance Levels Authorization Groups Payment Blocking Document Types User defined Error / Warning Messages Automatic Posting with predefined posting keys Reason Codes Predefined Master Data SAP Workflow Mandatory and/or System populated fields


แนวทางการตรวจสอบระบบ SAP


ภาพรวมของวงจรการตรวจสอบ กับระบบงาน SAP

Audit Business Cycles

SAP Module Functional Category

Financial Accounting Treasury

Financial Applications FI, CO, TR

Fixed Assets Expenditure

Logistic Applications MM, SD, PP

Revenue Inventory Management Payroll and Personnel

Human Resources HR


แนวทางการตรวจสอบระบบ SAP

แนวทางการตรวจสอบระบบ SAP ตามหลักการประเมินความเสีย่ ง (Risk-based Audit Approach) ประกอบดวย

• การทําความเขาใจกับระบบการทํางานของระบบ SAP (Gaining an understanding) • การประเมินความเสีย่ งของระบบงาน (Identifying the significant risks)

Business Process Controls Application Security Program Interface Master Data Maintenance

• การประเมินระบบการควบคุมของระบบงาน (Determining key controls)

Manual / Procedure Controls Inherent Controls Configuration Controls Logical Access Controls Reporting Controls

• การทดสอบระบบการควบคุมและการประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุม (Testing those controls to confirm their adequacy)


ระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการตรวจสอบบน SAP (AIS) เปนระบบ ขอมูลสารสนเทศเพื่อการตรวจสอบบนระบบ SAP และเปนเครื่องมือสําหรับผูตรวจสอบที่จะใชในการ ติดตามและตรวจสอบการควบคุมภายในของระบบ

Audit Information System (AIS)

(Inherent Control & Configuration Control)

AIS ประกอบดวย

1. เครื่องมือการตรวจสอบระบบ (System Audit) - System configuration - System logs and status displays - Development / customizing

2. เครื่องมือการตรวจสอบรายการทางธุรกิจ (Business Audit) - Organization overview - Financial statement –oriented audit - Process-originated audit


ตัวอยางการตรวจสอบระบบ SAP

ขอบเขตของขอมูลสารสนเทศเพื่อการตรวจสอบ (AIS) Audit ICQs SAP R/3 – แบบสอบถามการควบคุมภายใน Audit Program SAP R/3 – รายละเอียดการตรวจสอบการควบคุมภายใน ระบบ SAP เครื่องมือการตรวจสอบการแบงแยกหนาที่ในระบบงาน (Segregation Of Duties) – Virsa System


Recommended Web Links

http://www.sapsecurity.net/securitydocs.htm http://www.sapgenie.com/ http://www.thaisap.com/sapfact.asp http://help.sap.com/ http://sap.ittoolbox.com/ http://www.sap.info/ http://www.auditnet.org/sapaudit.htm http://big4guy.com/ Security, Audit and Control Features SAP R/3 2nd Edition (Book)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.