HR-compensation1

Page 1

การบริหารคาตอบแทน Compensation Management May 3, 2008

1

Agenda • • • • • •

หลักและแนวคิดการบริหารคาจางและผลตอบแทน เครื่องมือในการบริหารคาจาง การจัดทํา และการใชงาน compensation survey การออกแบบโครงสรางคาจาง การ Transition คนสูโครงสรางคาจาง New Trend of Pay

2

1


Agenda • • • • • •

หลักและแนวคิดการบริหารคาจางและผลตอบแทน เครื่องมือในการบริหารคาจาง การจัดทํา และการใชงาน compensation survey การออกแบบโครงสรางคาจาง การ Transition คนสูโครงสรางคาจาง New Trend of Pay

3

Components of Total Rewards Base Pay

Base Salary Fixed Bonus

Base Salary Fixed Bonus

+ Guaranteed Pay

Fixed Pay

Cash Allowances

+ Total Cash

Variable Pay

+ Total Compensation

Variable Pay

Total Remuneration

Benefit & Perquisites

Total Rewards

Rewards

+ +

Short term Incentives LTI, Stock Options Pension, Housing, Medical, Insurance, Vehicle, PF, etc. Quality of work, 4 Culture, Recognition

2


พื้นฐานการบริหารคาจาง 1. RIGHT FOR THE COMPANY • MARKET (ตลาดจายอยางไร) • POLICY (นโยบายของบริษัท) • ABILITY TO PAY (ความสามารถในการจาย) 2. RIGHT FOR STAFF • PAY FOR WHAT HE DOES (คางาน) • PAY FOR HOW HE DOES (ผลการปฏิบัติงาน Potential & Competency) 5

หลักการบริหารผลตอบแทน ความสมดุลภายใน Internal Alignment

ความสมดุลภายนอก External Alignment

ความสมดุลในระดับบุคคล Individual Alignment

6

3


หลักการบริหารผลตอบแทน หลักการ

จุดมุงหมาย

เครื่องมือ

วิธีการ

Internal Alignment

ใหสมดุลกับ คุณคาของงาน (Job Value)

Internal Structure

• • • •

Job Analysis Job Description Job Evaluation Job Classification

External Alignment

ใหสามารถ แขงขันกับ ตลาดแรงงาน ภายนอกได

Pay Structure

• • • •

Salary Survey Salary Structure Adjustment Economic Adjustment Merit Budget

Individual Alignment

ใหสมดุลกับ Motivation & แตละบุคคล Evaluation • ผลงาน Systems • ความรับผิดชอบ • ศักยภาพ

• • • • •

Performance Appraisal Merit Increase Overtime Adjustment Special Adjustment Potential Ranking

7

ระบบคาจางที่ดี

• Fair • Competitive • Attractive • Retentive

8

4


Agenda • • • • • •

หลักและแนวคิดการบริหารคาจางและผลตอบแทน เครื่องมือในการบริหารคาจาง การจัดทํา และการใชงาน compensation survey การออกแบบโครงสรางคาจาง การ Transition คนสูโครงสรางคาจาง New Trend of Pay

9

แนวคิดวิเคราะหงาน การวิเคราะหงานคือ... กระบวนการเก็บรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับเนื้อหาของงานและความสัมพันธ ระหวางงาน นํามาขอมูลนั้นมาวิเคราะหและรวบรวมขอมูลอยางเปนระบบ และ นําเสนอขอมูลที่เปนผลลัพธในรูปแบบ ที่เรียกวา “แบบกําหนดหนาที่งาน” การวิเคราะหงาน

แบบกําหนด หนาที่งาน

การประเมิน คางาน

(กระบวนการ)

(ผลลัพธ)

(วิธีการ) 10

5


เทคนิคพื้นฐานที่ใชในการวิเคราะหงาน

การใชแบบสอบถามการทํางาน (Questionaire) การสัมภาษณผูปฏิบัติงาน ผูบังคับบัญชา เพื่อน รวมงาน การสังเกตการทํางาน การวิเคราะห Work process

11

แบบกําหนดหนาที่งาน แบบกําหนดหนาที่งานคือ... แบบสรุปขอความที่แสดงถึงรายละเอียดเกี่ยวกับลักษณะงาน หนาที่ความรับผิดชอบ กระบวนการปฏิบัติงาน และ เงื่อนไขที่แสดงถึงลักษณะงาน. ขอตกลงอยางเปนทางการระหวางองคกรกับบุคลากร ในการกําหนดขอบเขตเนื้อหาของงาน รายละเอียดในการปฏิบัติงานที่ผูดํารงตําแหนงนั้นๆ จะตองรับผิดชอบ

การวิเคราะหงาน

แบบกําหนด หนาที่งาน

การประเมิน คางาน

(กระบวนการ)

(ผลลัพธ)

(วิธีการ) 12

6


แบบกําหนดหนาที่งาน (ตอ) ประโยชนของแบบกําหนดหนาที่งาน • องคกร การวิเคราะหโครงสรางองคกร การวางแผนอัตรากําลังพล การวิเคราะหกระบวนการปฏิบัติงาน ปรับปรุงการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพ ขจัดงานที่ซ้ําซอนกัน 13

แบบกําหนดหนาที่งาน (ตอ) ประโยชนของแบบกําหนดหนาที่งาน • ผูบังคับบัญชา ทราบลักษณะและขอบเขตงานของผูใตบังคับบัญชา การมอบหมายงาน การประเมินผลการปฏิบัติงาน การเลื่อนตําแหนง และ การโยกยายบุคลากร ทราบการเปลี่ยนแปลงของงาน การฝกอบรมและพัฒนาผูใตบังคับบัญชา 14

7


แบบกําหนดหนาที่งาน (ตอ) ประโยชนของแบบกําหนดหนาที่งาน • บุคลากรผูดํารงตําแหนง ทราบลักษณะและขอบเขตงานที่ตองปฏิบัติ ปรับปรุงการปฏิบัติงานของตนเอง

15

แบบกําหนดหนาที่งาน (ตอ) ประโยชนของแบบกําหนดหนาที่งาน • ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล การออกแบบงาน และ วางแผนกําลังพล การประเมินคางาน การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร การกําหนดคาจางที่เหมาะสม การประเมินผลการปฏิบัติงาน การวางแผนการฝกอบรมและพัฒนาบุคลากร 16

8


MINIMUM REQUIREMENT ของ J.D. 1. ระบุความคาดหวังของฝายจัดการตอตําแหนงนั้น ๆ 2. ใหขอ มูลในการเปรียบเทียบใหเห็นคาของงานเปนรูปธรรม 3. เห็นภาพรวมของตําแหนงงาน ซึ่งจะชวยใหเห็นวาควรจายคาตอบแทน อยางไร 4. ระบุถึงหนาที่ความรับผิดชอบของตําแหนงในชวงเวลาหนึ่ง

17

Job Description Title : Purchasing Manager Job Purpose : To purchase the products and services the company needs at the best price and quality and in sufficient quantity, so that the company can achieve its sales, quality, and profitability objectives.

Goals and Objectives : •

To ensure that all products and services purchased meet the quality standards of the company.

To ensure a sufficient flow of products and services so insufficient or inadequate materials or labor never slows production down.

To ensure that to the company pays as little as possible for material and labor without sacrificing quality or quantity.

Reporting Relationships : •

Reports to the general manager.

No direct reports.

Duties and Responsibilities : •

Establishes and validates market pricing for materials and labor.

Evaluates various types of materials.

Considers alternative design approaches that optimize efficiency.

Seeks methods of simplifying the construction process.

18

9


Duties and Responsibilities continued : •

Establishes performance requirements for vendors and endeavors to continually improve performance by informing vendors of these requirements and how well they are measured against them.

Continuously seeks opportunities to purchase materials and services in a competitive manner.

Key Technical Skills and Knowledge : •

Validating market pricing for material and labor.

Evaluating product designs to optimize efficiency and cost.

Managing vendor relationship, including competitive bidding and negotiated contracts.

Key Culture Competency Factor : •

Teamwork

Results Orientation

Developing Others

Initiative

Conflict Resolution

Managing Performance

Attention to Communicating

Motivating Others

Key Success Factors : •

Ability to work closely with other managers to ensure that product designs allow for cost-effective purchasing.

Ability to minimize the cost of materials and services while maintaining adequate supplies through effective vendor management.

19

Performance Measures : •

The overall cost of materials and labor increases no more than the rate of inflation.

There are no lost production days due to a shortage of either material of labor.

Material quality is maintained.

Labor quality is maintained the effective value of finished products in relations to cost and profitability.

Competency Model : •

Teamwork

Influence.

Initiative

Decisiveness.

Innovation

Analytical thinking.

Preferences : •

Little overnight travel (less than 10 nights per year).

Multitasking environment.

High independence.

Intense activity, high energy, fast pace.

Career : •

Potential growth to director of operations.

20

10


การประเมินคางาน การประเมินคางานคือ... ระบบการจัดลําดับตําแหนงอยางเปนมีเหตุมีผลและมีความยุติธรรม โดยอาจจะ เปรียบเทียบ ระหวางตําแหนงงานตอตําแหนงงาน หรือ ระหวางตําแหนงงานกับเกณฑที่กําหนดไว เพื่อกําหนดขนาดของตําแหนงงานทั้งหมดในองคกร

การวิเคราะหงาน

แบบบรรยาย ลักษณะงาน

การประเมิน คางาน

(กระบวนการ)

(ผลลัพธ)

(วิธีการ) 21

Job Evaluation วิธีหาคาสัมพันธของงานหนึ่งเปรียบเทียบกับคาของงานใน ตําแหนงอื่นภายในองคกรเดียวกัน โดยมีหลักเกณฑการประเมิน คาที่แนนอนเพื่อหาระดับความตางระหวางงานชนิดตาง ๆ เพื่อจายคาจางใหพนักงานอยางยุติธรรมเหมาะสมกับหนาที่ ความรับผิดชอบของงานที่ปฏิบัติ การประเมินคางานจะทําใหทราบ วาแตละงานมีความสําคัญมากนอยกวากันเพียงใดและควรจาย คาจางใหเทาใด

22

11


JE เพือ่ อะไร ? - จัดระดับตําแหนง - วางโครงสรางคาจาง

23

การประเมินคางาน (ตอ) The Process ขอมูลเกี่ยวกับงาน (JD) การตัดสิน (คณะกรรมการ)

วิธีการ (JE)

คาของงาน • ยอมรับได Acceptable • มีความยุติธรรม “Felt-fair”

24

12


หลักการประเมินคางาน (Criteria Job Evaluation) • • • • • • • • •

เปนการประเมินคาของงาน ไมใชประเมินคาของคน คํานึงถึงผลงานที่เปนมาตรฐาน ซึ่งจะสะทอนคาของงาน หนาที่ ความรับผิดชอบในงานที่เปนปจจุบัน ไมคํานึงถึงระดับคาจางและเงินเดือนในปจจุบัน การดําเนินการจะตองไมมีอคติ ผลของการประเมินคางาน จะสะทอนใหเห็นถึงความเชื่อ values ขององคกร ผลของการประเมิน จะตองมีการตรวจสอบ Profile ของตําแหนงงาน จะตองไดรับความเห็นพรองตองกัน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาของงาน คางานจะเปลี่ยนแปลงไปดวย 25

วิธปี ระเมินคางาน Non Quantitative Method 1. การเรียงลําดับ (RANKING) 2. การกําหนดระดับงาน (GRADE DESCRIPTION)

Quantitative Method 3. การเปรียบเทียบปจจัย (FACTOR COMPARISON) 4. การใหคะแนน (POINT RATING)

26

13


ตัวอยางการ Ranking แบบ Pair Comparison

ตําแหนง

เสมียนบัญชี

นักการ

พนักงาน

พนักงาน

สารบรรณ เสมียนบัญชี

0

พิมพดีด

พนักงาน แปล

0

0

1

1

1

1

0

1

นักการ

1

พนักงานสารบรรณ

1

0

พนักงานพิมพดีด

1

0

1

พนักงานแปล

0

0

0

0

รวม

3

0

2

1

1 4 27

FACTOR COMPARISON METHOD

ปจจัย คะแนน 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1

(25%) MENTAL EFFORT

พ.แปล พ.พิมพดีด

(10%) PHYSICAL

(20%) SKILL พ.แปล

พ.พิมพดีด

( 35%) (10%) RESPOND- WORKING SIBILITY CONDITION

พ.แปล

พ.พิมพเขียว พ.พิมพดีด พ.พิมพดีด พ.พิมพเขียว พ.พิมพเขียว นักการ พ.พิมพเขียว นักการ นักการ พ.แปล นักการ

พ.พิมพเขียว นักการ พ.พิมพดีด พ.แปล 28

14


Point Rating by Guide Chart (Input)

(Process)

(Output)

การแกไขปญหา PROBLEM SOLVING

ความรับผิดชอบ ACCOUNTABILITY

ความรูที่ใชในงาน Technical Know-How

ความอิสระในการคิด Thinking Environment

ความอิสระในการกระทํา Freedom to Act

ความรูทางการบริหาร Management Breadth

ความยากงายในการคิด Thinking Challenge

ขนาดความรับผิดชอบ Area to Impact

ความรู KNOW-HOW

ทักษะทางมนุษยสัมพันธ Human Relations Skills

ผลกระทบที่มีตอผลงาน Nature of Impact 29

คําจํากัดความ: Know How Know How คือ ผลรวมของความรู, ทักษะ และ ประสบการณทั้งหมดที่จําเปนในการทํางานเพื่อใหไดผลงานระดับมาตรฐาน. กลาคือ เปนแหลงของความรู ที่ไมวา จะเรียนรูมาโดยวิธีใดก็ตาม ที่จําเปนตอตําแหนงงานในดานตางๆ ดังนี้ z ความรูที่จําเปนในดานกระบวนการปฏิบัติงาน ความรูเทคนิคเฉพาะทาง และ/หรือ ความรูในทฤษฎีตามหลักวิชาชีพ ความรูที่จําเปนในการผสมผสานหลักการที่หลากหลายแตกตางกัน เพื่อนําไปสูการแกไขปญหาทางการบริหารจัดการ. ความรูนี้โดยจะแสดงออกใน zz ดานความสามารถในการใหคําปรึกษาและการบริหารจัดการ ซึ่งจะนําไปสูการประสานหลักการบริหาร ในดานการวางแผน การจัดองคการ การ ผสมผสาน การควบคุม การสรางสรรคสิ่งใหมๆ การกําหนดขอบเขตความรับผิดชอบ ความหลากหลายของหนวยงาน และ องคการ และ ระยะเวลา ความรูท ี่จําเปนในการทํางาน และ การโนมนาวใหผูอื่น (ทั้งภายในและภายนอกองคการ) ทํางานใหประสบความสําเร็จ zzz

การวัด Know How: Know How มีมุมมองทั้งในเชิงกวางและเชิงลึก ดังนั้น ตําแหนงงาน หนึ่งๆ อาจตองการความรูเชิงกวางในหลายๆ ดาน หรือ ความรูเชิง ลึกเพียงบางดานเทานั้นก็ได ดวยเหตุนี้ ความรูทั้งมวล คือ ผลรวม ทั้งในเชิงกวางและเชิงลึก ซึ่งแนวคิดนี้ สามารถทําใหเปรียบเทียบ และ ใหน้ําหนักของความรูทั้งมวลในตําแหนงงานที่แตกตางกัน ใน ดานที่วา “ตองการความรูเทาไรในกี่ดาน”

GUIDE CHART FOR EVALUATING

KNOW-HOW zz

ความรูทางในการบริหาร (Breadth of Management) - การวางแผน, การจัดองคการ และ การควบคุม

O. หนวยยอยของงาน (Task) I. กิจกรรมงาน (Activity) การปฏิบัติในงานที่ไดรับมอบหมาย สวน ใหญจะมีวัตถุประสงคเฉพาะเจาะจง และ เนื้อหาของงานมีการประสานงานกับผูอื่น เล็กนอย โดยไมตองบังคับผูอื่น

zzz ทักษะทางมนุษยสัมพันธ

ทักษะทางมนุษยสัมพันธ (Human Relations Skills) Æ

การปฏิบัติงานหรือการควบคุมงานเปน รูปแบบเดียว ที่มีความสอดคลองกับ วัตถุประสงค และ เนื้อหาของงานที่ ตระหนักถึงความสัมพันธกับงานอื่นๆ ที่ เกี่ยวของในระดับทีเ่ หมาะสม

II.จัดการกลุมงานเดียวกัน (Homogeneous)

III.จัดการกลุมงานที่หลากหลาย

การผสมผสานภายในองคการในการ ควบคุมงานที่มีวัตถุประสงคและลักษณะ งานที่คลายคลึงกัน และ การ ประสานงานกับภายนอกในสายงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของกัน

การผสมผสานในการควบคุมงานและแนวความคิด การบริหารจัดการควบคุมหนวยงาน ในงานที่มีวัตถุประสงคและเนื้องานที่หลากหลาย ทั้งหมดและธุรกิจยอยๆ เพื่อบรรลุ หรือ เปนงานที่เปนศูนยกลางในการประสานงาน วัตถุประสงคทั้งหมดขององคการ ดานกลยุทธขององคการ

2

3

1

2

3

A. พื้นฐาน (Primary) งานในระดับนี้ ตองเขาใจคําแนะนํางายๆ ไมซับซอน โดยปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่มีอยู เพื่อบรรลุกิจกรรม ของงานกําหนดไวแลวอยางงายๆ โดยทั่วไปตองการผูที่จบการศึกษาในระดับมธัยมศึกษา

38 43 50

43 50 57

50 57 66

50 57 66

57 66 76

66 76 87

B. วิชาชีพขั้นตน (Elementary Vocational) งานในระดับนี้ ตองมีความคุนเคยโดยอาศัยประสบการณกับงานประจําที่มี มาตรฐาน และ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน และ /หรือ รูจักใชเครื่องมือ เครื่องจักรที่งายๆ ไมซับซอน

50 57 66

57 66 76

66 76 87

66 76 87

76 87 100

87 100 115

B

2. ขั้นสําคัญ (Important) เขาใจผูอื่น , โนมนาว และ สื่อขอความกับผูอื่น ในประเด็นที่สําคัญ โดยไมตองเปลี่ยนใจผูอื่น

C. วิชาชีพขั้นกลาง (Vocational) งานในระดับนี้ ตองอาศัยการปฏิบัติงานที่ตามคูมือ หรือ ทํางานอยางเปนระบบ โดยมี ความคลองแคลว ในการใชเครื่องมือ และ เครื่องจักรที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง

66 76 87

76 87 100

87 100 115

87 100 115

100 115 132

115 132 152

C

ก็ถือวาสําเร็จในงานแลว

D. วิชาชีพขั้นสูง (Advanced Vocational) งานในระดับนี้ ตองการทักษะเฉพาะดาน (โดยทั่วไป ไมใชทางทฤษฎี) ที่ไดรับ ความเชี่ยวชาญ จากการลงมือปฏิบัติงานจริง หรือ ผานจากการมีคุณสมบัติทางวิชาชีพโดยเฉพาะ

115 132 152

132 152 175

152 175 200

152 175 200

175 200 230

200 230 264

E. ผูรูในสายอาชีพ (Basic Professional) งานในระดับนี้ ตองการผูที่มีความรูอยางเพียงพอในลาขาวิชาชีพเฉพาะดาน โดยไดมาจากการมีความเขาใจอยางลึกซึ้ง ละเอียดถี่ถวน ในเรื่อง การนําไปปฎิบัติ และ แนวคิด ทฤษฎี หลักการของสาขาเฉพาะดาน ดังกลาว

152 175 200

175 200 230

200 230 264

200 230 264

230 264 304

264 304 350

F. ผูเชี่ยวชาญในสายอาชีพ (Seasoned Professional) งานในระดับนี้ ตองการผูที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพ เฉพาะดาน โดยไดมาจากการผสมผสานระหวางความเขาใจอยางกวางขวาง และ การปฏิบัติในงานทั้งเชิงลึกและเชิงกวาง โดยนําเอา แนวคิดและหลักการตางๆ มาปฏิบัติในงานที่มีความซับซอน

200 230 264

230 264 304

264 304 350

264 304 350

304 350 400

350 400 460

350 400 460

400 460 528

460 528 608

460 528 608

264 304 350

304 350 400

350 400 460

350 400 460

400 460 528

460 528 608

460 528 608

528 608 700

608 700 800

608 700 800

zzz

3. ขั้นสูง (Critical) ใชทักษะในการโนมนาว พัฒนา และ/หรือ จูง ใจผูอื่นยอมรับและปฏิบัติตามใหบรรลุ

วิชาชีพเฉพาะดาน

1. ขั้นพื้นฐาน (Basic) ทํางานรวมกับผูอื่นในงานประจําดวยความ เอื้อเฟอ สุภาพออนโยน.

ทํางานขั้นตอน

z

03/05/51

เชี่ยวชาญในวิชาชีพ

เปาหมาย จึงถือวา สําเร็จในงานแลว

2

3

1

2

3

IV. การบริหารงานทั้งหมด ขององคการ (Total)

1

(คําจํากัดความ)

1

(Heterogeneous)

1

2

3

ความรูที่ใชในการปฏิบัติงาน (Technical Know How) È

G. ผูนําในสายอาชีพ (Professional Mastery) งานในระดับนี้ ตองการผูที่มีความเชี่ยวชาญอยางถองแท ในดานเทคนิค การนําไปปฏิบัติ แนวคิด หลักการ และ ทฤษฎี หรือ จากการไดมีประสบการณในการบริหารธุรกิจที่กวางขวาง

A

D

E 528 608 700 700 30 800 920

608 700 800

F

800 920 1056

G

15


คําจํากัดความ: Problem Solving Problem Solving คือ ความคิดริเริ่มดวยตนเอง สําหรับตําแหนงงานในการวิเคราะห, ประเมิน สรางสรรค อธิบายเหตุผล และ หาขอสรุป โดยความคิดถูกจํากัดโดยมาตรฐานการปฏิบัติงาน แบบอยางที่มีผูปฏิบัติมากอน หรือ ตองอางอิงความคิดของผูอื่นมากเทาใด การแกไขปญหาก็ยิ่งลดลง ไปตามลําดับ การแกไขปญหา มีอยู 2 มิติ ในการพิจารณาดังนี้ z สภาพแวดลอมในขณะที่ความคิดเกิดขึ้น zz ความทาทายที่จะทําใหความคิดนั้นประสบความสําเร็จ

การวัด Problem Solving: การแกไขปญหาวัดจากความซับซอนของกระบวนการในการคิดที่ นําความรูไปใชในการ (1) คนหาปญหา (2) ระบุปญหา (3) แกไขปญหา มีคํากลาววา “บุคคล จะคิดไดเทาที่ตนเองรูเทานั้น” ซึ่งเปนคํากลาวที่เปนจริง แมแตเปนงานสรางสรรคที่สุด วัตถุดิบ เพื่อการคิดไมวาเรื่องใดก็ตาม คือ ความรูในความเปนจริง ตลอดจนความรูในหลักการและ วิธีการ ความคิดที่เกิดจากประมวลสิ่งที่รูอยูแลวเขาดวยกัน ดังนั้นProblem Solving จึงคํานวณ เปนรอยละของ Know How (คะแนน Problem Solving ดูไดจากตารางถัดไป)

GUIDE CHART FOR EVALUATING

PROBLEM SOLVING zz ความทาทายในการคิด (Thinking Challenge) 1. ใชวิธีซ้ําๆ (Repetitive)

2. ใชวิธีที่มีรูปแบบชัดเจน (Patterned)

3. ใชวิธีที่ผันแปร (Variable)

สถานการณที่เหมือนกัน สามารถ เลือกวิธีการแกปญหาแบบงายๆ เดิมๆ ตามที่เคยเรียนรูมา

สถานการณที่คลายคลึงกัน โดยตอง แยกแยะวิธีการแกปญหาตามที่เรียนรูมาให เหมาะสมและเปนไปตามรูปแบบที่กําหนด ไว

สถานการณที่แตกตางกัน ซึ่งอาจ ตองการวิธีการแกปญหาใหม โดย อาศัยความรูที่มีอยู

A. งานประจําที่มีมาตรฐานปฏิบัติงานอยางเครงครัด(Strict Routine): งานสวนใหญประกอบดวยงานประจําที่ อยูภายใตกฎระเบียบที่เครงครัด การคิดแกไขปญหาภายในอยูขอจํากัดที่มีคําแนะนําและรายละเอียดอยางชัดเจน และ / หรือ ภายใตคําสั่งทีม่ ีการบังคับบัญชาอยางใกลชิด

10%

14%

B. งานประจําปกติ (Routine): การคิดอยูภายในกรอบของคําสั่งที่มีมาตรฐาน แบบอยาง และ/หรือ มีการบังคับ บัญชาที่ใกลชิดอยางตอเนื่อง

12%

z สภาพแวดลอมในการคิด - ความอิสระในการคิด (Thinking Environment – Freedom to think)

คิดในการหาทางออกที่ถูกกําหนดไวแลว (Solution Defined)

5. สรางสรรคอยางไมเคยมีมากอน

(Uncharted) สถานการณแปลกใหม ไมเคยมีมากอน ตองอาศัยการพัฒนาแนวคิดใหมๆ และ วิธีการที่สรางสรรค อันถือเปนแนวคิด ใหม A

12%

16% 16%

22%

B

19%

14%

C. งานกึ่งประจํา (Semi-Routine): การคิดอยูภายใตขั้นตอน คูมือการปฏิบัติงานที่ชัดเจน หรือ สิ่งที่เคยเกิดขึ้นมา กอน ซึ่งมีความหลากหลายมาก และ / หรือ มีการชวยเหลือบังคับบัญชาประกอบดวย

19%

D. งานมาตรฐาน (Standardised): การคิดอยูภายใตระบบขั้นตอนการทํางานและมาตรฐานของบริษัทซึ่งมีความ หลากหลายมาก ครอบคลุมหลายสถานการณ และ/หรือ มีการชวยเหลือโดยทั่วไป

22%

25% 25%

C

22%

29% 29%

38%

25%

D

33%

E. กําหนดชัดเจน (Clearly Defined): การคิดอยูภายใตกรอบนโยบายที่กําหนดไวอยางชัดเจนรวมถึงหลักการ

33%

43% 43%

แนวปฏิบัติ วัตถุประสงคที่เฉพาะเจาะจง ภายใตการกํากับชวยเหลือ เมื่อมีความตองการ คิดในการแกไขปญหา (Problem Defined)

4. ปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ (Adaptive) สถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป ตอง อาศัยการใชความคิดในการวิเคราะห ตีความ ประเมินสถานการณ และ / หรือ สรางสรรคอยางเปนระบบ โดยการ ตัดสินใจในระดับสูง

E

38%

50%

F. กําหนดอยางกวาง (Broadly Defined): การคิดอยูภายใตกรอบอยางกวางของนโยบายหลักการของสายงาน ที่ สงผลโดยตรงตอวัตถุประสงคขององคการ ภายใตการกํากับดูแลจากการแนะนําทั่วไป(General Direction)

50%

G. กําหนดทั่วไป (Generally Defined): การคิดอยูภายใตกรอบนโยบาย หลักการ และเปาหมายโดยรวม เพื่อให บรรลุกลยุทธขององคการ ภายใตการดูแลของคณะกรรมการบริษัท

57%

66%

F

57%

03/05/51

76% 76%

บทบาทของตําแหนงงาน (Impact) คือ ระดับผลกระทบที่ตําแหนงงานนั้นมีตอหรือกอใหเกิด ผลงานของหนวยงานที่กําลังพิจารณาอยู

คําจํากัดความ: Accountability Accountability คือ ความรับผิดชอบ ประจําตําแหนงตอการกระทําและผลลัพธที่ตามมาของการกระทํานั้นๆ กลาวคือ สามารถวัดไดจากผลงานในขั้นสุดทาย โดยมี 3 มิติตามลําดับความสําคัญ ดังนี้ z

G

31 87%

66%

ความอิสระในการปฏิบัติงาน (Freedom to Act): สามารถวัดไดโดยพิจารณา ตําแหนงนั้นๆ ถูกควบคุม โดยบุคคลหรือระบบ ตลอดจนไดรับการชี้แนะมากนอยเพียงใด

โดยทางออม (Indirect): งานสนับสนุน ไมเกี่ยวของโดยตรง (Remote): ตําแหนงงานนั้นใหบริการดานขอมูล การเก็บรักษา จดบันทึกขอมูล โดยเก็บขอมูลใหผูอื่นนําไปใชใหเกิดผลอันสําคัญ ชวยเหลือผูอื่น (Contributory): การใหบริการวิเคราะห ใหคําแนะนํา หารือ อํานวยความสะดวกใหกับ ผูอื่นในการดําเนินการ โดยทางตรง (Direct): งานหลัก บทบาทรวม (Shared): รวมทํางาน รวมรับผิดชอบตอผลลัพธสุดทายที่เกิดขึ้น อาจจะเปนไดทั้งภายใน และภายนอกขององคการ (ยกเวนผูบังคับบัญชาและผูใตบังคับบัญชา) บทบาทหลัก (Prime): ควบคุมดําเนินการ และรับผิดชอบตอผลลัพธสุดทาย ซึ่งอาจจะมีความรับผิด ชอบรวมไดจากผูใตบังคับบัญชา

GUIDE CHART FOR EVALUATING

zz

บทบาทของตําแหนงงานที่มีตอผลงานในขั้นสุดทาย (Job Impact on End Results)

zzz

ขอบเขตรับผิดชอบ - Magnitude: (Area of Impact) แสดงถึงขอบเขตโดยทั่วไปที่ตําแหนงงานนั้นๆ สงผล ถึง โดยวัดเปนจํานวนเงินตอป

ACCOUNTABILITY

JANUARY 2000

zzz ขอบเขตรับผิดชอบ (Magnitude) →

(0)

ขั้นต่ํา (MINIMAL)

) เล็กนอย (VERY SMALL)

(1

0 – 1.7 ลานบาท

z ความอิสระในการปฏิบัติงาน Freedom to act

(3)

กลาง (MEDIUM)

(4)

170 – 1,700 ลานบาท

ใหญ (LARGE)

1,700 – 17,000 ลานบาท

Adjusted figure for 2000 C

S

P

R

C

S

P

A. งานที่มีขั้นตอนในรายละเอียดกํากับ (Prescribed): งานในระดับนี้จะตองดําเนินการไปตามคําสั่งที่มี รายละเอียด รวมทั้งมีการควบคุมอยางใกลชิด

8 9 10

10 12 14

14 16 19

19 22 25

10 12 14

14 16 19

19 22 25

25 29 33

B. งานที่ถูกควบคุม (Controlled): งานในระดับนี้ จะตองดําเนินไปตามคําสั่ง หรือขั้นตอนที่เปนงานประจํา ซึ่ง ถูกกําหนดไวแลว รวมทั้งมีการควบคุมอยางใกลชิด

12 14 16

16 19 22

22 25 29

29 33 38

16 19 22

22 25 29

29 33 38

C. งานมาตรฐาน (Standardized): งานในระดับนี้บางสวนหรือทั้งหมด จะตองทําตามขั้นตอนหรือขอปฏิบัติที่ เปนมาตรฐาน และ มีการควบคุมโดยดูที่ความคืบหนาและผลลัพธของงาน

19 22 25

25 29 33

33 38 43

43 50 57

25 29 33

33 38 43

D. งานตามระเบียบทั่วไป (Regulated): งานในระดับนี้บางสวนหรือทั้งหมดจะตองทําตามขั้นตอนหรือขอปฏิบัติที่มี

R

C

S

P

29 33 38

38 43 50

50 57 66

66 76 87

38 43 50

57 66 76

R

C

S

P

R

C

S

P

38 43 50

22 25 29

29 33 38

38 43 50

50 57 66

43 50 57

57 66 76

33 38 43

43 50 57

57 66 76

76 87 100

43 50 57

57 66 76

76 87 100

100 115 132

50 57 66

66 76 87

87 100 115

50 57 66

66 76 87

87 100 115

115 132 152

66 76 87

87 100 115

115 132 152

152 175 200

87 100 115

115 132 152

152 175 200

200 230 264

D

76 87 100

100 115 132

132 152 175

76 87 100

100 115 132

132 152 175

175 200 230

100 115 132

132 152 175

175 200 230

230 264 304

132 152 175

175 200 230

230 264 304

304 350 400

E

115 132 152

152 175 200

200 230 264

264 304 350

152 175 200

200 230 264

264 304 350

350 400 460

200 230 264

264 304 350

350 400 460

460 528 608

F

230 264 304

304 350 400

400 460 528

528 608 700

304 350 400

400 460 528

528 608 700

700 800 920

G

λ λ บทบาทของตําแหนง (Impact) →

กําหนดไวในรูปของนโยบายที่ชัดเจน หรือ โดยสิ่งที่เคยทํามากอน การควบคุมโดยผานการจัดการ ดูแลการ ปฏิบัติงานอยางเปนระยะๆ E. งานที่มีการกําหนดทิศทางชัดเจน (Directed): งานในระดับนี้ จะตองทําตามขั้นตอนและวิธีปฏิบัติที่วางไว อยางกวางๆ โดยดูจากนโยบายและสิ่งที่เคยทํามากอนในสายงาน พยายามบรรลุเปาหมายของกิจกรรมตาม แผนงานที่กําหนดขอบเขตไว การควบคุมโดย มีการกํากับดูแลโดยผูบริหารระดับสูง F. งานที่มีการกําหนดทิศทางโดยกวางๆ (Generally Directed): งานในระดับนี้ โดยธรรมชาติ หรือ ขนาดของตัว งาน จะตองทําตามนโยบายและเปาหมายของสายงาน หรือ ดานการทํางานที่ไดรับการกํากับโดยตรงจาก ผูบริหารระดับสูง

03/05/51

เล็ก (SMALL)

17 – 170 ลานบาท

R

(2)

1.7 – 17 ลานบาท

G. งานที่มีการกําหนดกลยุทธ (Guided): งานในระดับนี้ จะตองกําหนดแนวทางหรือทิศทางอยางกวางๆ ใน ดานนโยบายทางธุรกิจ โดยไดรับดูแลจากคณะกรรมการบริหารบริษัท

A

B

C

32

16


Sample Evaluation Accountability 1. Know – How: EI3 = 230 2. Problem Solving: E3 (33%) = 76 3. Accountability: E-2C = 100 Total = 406 Profile = A2 33

ระดับคางาน (Job Grading) แตละตําแหนง เมื่อทําการประเมินคางานแลว จะได คะแนนดิบ จากการประเมิน ทั้ง 3 ปจจัย (ความรู ทักษะการแกไข และ ขอบเขตความรับผิดชอบ) คะแนนดิบทีไ่ ด จะบอกไดวา ตําแหนงงานนัน้ อยูในระดับ Grade ใด Grade

Min

Max

17 16 15 14 13

608 528 460 400 350

699 607 527 459 399

304 264 230 200 175 152 132 115

349 303 263 229 199 174 151 131

12 11 10 9 8 7 6 5

ง  า ย ตัวอ

34

17


ผลลัพธจากการประเมินคางาน

Know - How Position

กรรมการผูจ  ัดการ

Division

Technical Breadth Human Know-How of Mgt Relations

Problem Solving Points

Freedom to Think

Thinking Challenge

%

Accountability Freedom Points Magnitude Impact to Act

Points

Total Points

Sho Pro

สนง.กรรมการผูจ  ัดการ

G

III

3

700

G

4

57%

400

F+

4

P

608

1708

A

1

ผจก.ฝายกอสราง (บานเดี่ยว)

ฝายกอสราง (บานเดี่ยว)

F

II

3

400

E+

4-

43%

175

E

3+

P

304

879

A

2

ผจก.ฝายกอสราง (ทาวนเฮาส)

ฝายกอสราง (ทาวนเฮาส)

F

II

3

400

E+

4-

43%

175

E

3+

P

304

879

A

3

ผจก.ฝายขายและการตลาด

ฝายขายและการตลาด

E+

II

3

350

E

4-

43%

152

E

3+

S

230

732

A

4

ผจก.อาวุโสฝายบัญชี/การเงิน

ฝายบัญชีและการเงิน

E+

II

3

350

E

4-

43%

152

E

3+

C

175

677

A

5

รองผจก.ฝายกอสราง (ทาวนเฮาส)

ฝายกอสราง (ทาวนเฮาส)

E+

II-

3

304

E

3+

38%

115

D+

3

P

200

619

A

6

ผจก.ฝายพัฒนาโครงการ

ฝายพัฒนาโครงการ

E+

II-

3

304

E

3+

38%

115

E-

3+

C

152

571

A

7

ผจก.ฝายการบุคคล

ฝายการบุคคล

E+

II-

3

304

E

3+

38%

115

E-

3

C

132

551

A

8

วิศวกรโครงการ (บานเดี่ยว)

ฝายกอสราง (บานเดี่ยว)

E

I+

3

264

E-

3

33%

87

D+

2

P

152

503

9

วิศวกรโครงการ (ทาวนเฮาส)

ฝายกอสราง (ทาวนเฮาส)

E

I+

3

264

E-

3

33%

87

D+

2

P

152

503

A

10 ผจก.ฝายสินเชื่อและโอนกรรมสิทธิ์

ฝายสินเชื่อและโอนกรรมสิทธิ์

E

I+

3

264

E-

3

33%

87

D

3

S

132

483

A

11 รองผจก.ฝายขาย

ฝายขายและการตลาด

E

I+

3

264

E-

3

33%

87

D

3

S

132

483

A

A

12 ผจก.ฝาย IT

ฝาย IT

E+

I+

3

264

E

3+

38%

100

E

2

C

115

479

A

13 ผจก.ฝายธุรกิจเฉพาะ

ฝายธุรกิจเฉพาะ

E

I+

3

264

E-

3

33%

87

D+

3

C

115

466

A

14 ผจก.ฝายจัดซื้อ

ฝายจัดซื้อ

E

I+

3

264

E-

3

33%

87

D+

3

C

115

466

A

35

Job Evaluation Job Evaluation

จัดโครงสรางตําแหนงงาน (Job Level)

วางโครงสรางคาจาง (Salary Structure) 36

18


การกําหนดโครงสราง ตําแหนงงาน (Job Grade) หมายถึง การจัดตําแหนงงานออกเปนระดับๆ โดยการวัดคา หรือความสําคัญของงานหนึ่งเทียบเคียงกับงานอื่น ๆ ตามหนาที่ ความรับผิดชอบของงานเปนหลัก ไมพิจารณาถึงตัวบุคคลที่ดํารง ตําแหนงงานนั้น งานที่มีความสําคัญเทากันหรือใกลเคียงกันจะ ถูกจัดไวในกลุมหรือระดับเดียวกัน เพื่อนําไปใชกําหนดระดับ คาจาง และวิธีการบริหารคาจางใหเกิดความเหมาะสมกับความ รับผิดชอบตอไป 37

ตัวอยาง การจัดกลุมงาน แบบ Classification Job Grade 5

307 - 371

Department Manager

Job Grade 4

253 - 306

Section Head Manager

Job Grade 3

208 - 252

Senior Officer

Job Grade 2

171 - 207

Officer

Job Grade 1

141 - 170

Officer - New Entry 38

19


ตัวอยาง การจัดกลุมงาน แบบกวาง Broadbanding

Points

800 - 1,000

Director

Points

500 - 700

Manager

Points

200 - 400

Officer 39

ขอควรพิจารณาในการ กําหนดจํานวนกลุมงาน 1. ระดับการบังคับบัญชาตามผังองคกร (ORGANIZATION CHART) 2. หนาที่งาน ตําแหนงงานทีม่ ีคุณคาตางกันอยางเห็นไดชัด ควรอยูคนละ ระดับแมวาจะอยูในผังองคการระดับเดียวกัน เชน พนักงานสารบรรณ และพนักงานเดินหนังสือ 3. ประเภทของแรงงานที่ตองการรับเขามา เชน UNSKILL, SEMISKILL, SKILLและ HIGHLY SKILL เชนนี้ อยางนอยก็ควรมี 4 ระดับ ซึ่งการ กําหนดประเภทของแรงงานนี้ จะสัมพันธกับลักษณะงานในองคการ หากเปนงานที่มีความยุงยากมาก ระดับแรงงานที่ตองการก็มีหลายระดับ หากเปนงานงาย ๆ และเปน ROUTINE ก็มีระดับนอย 4. การเลื่อนระดับตําแหนงงานของแตละกลุมอาชีพใน ตลาด / อุตสาหกรรม เชน อาชีพชางฟตในอุตสาหกรรม มีทางเดินสายอาชีพประมาณ 3-4 ระดับ ก็ควรกําหนดใหใกลเคียง เพื่อดึงดูดพนักงานไวกับองคกร

40

20


Scoring Concept Evaluation Point

Grade

14

1,760

1,882

2,164

1082

13

1,306

1,423

1,637

1759

12

965

1,031

1,186

1305

11

716

780

897

964

10

529

565

650

715

20%

9

393

427

491

528

15%

8

290

310

356

392

7

220

234

269

289

6

170

177

204

219

5

132

140

161

169

4

102

106

122

131

3

79

84

96

101

2

61

63

73

78

58

60

1

50

15% 10%

41

15%

GM 11 M 6 Band 12 Grade

MANAGER

10 9

SS

SR.PROFESSIOANAL

8 7 S

6 5

SO

SUPERVISOR/ PROFESSIONAL

4

LEADER/ SR.TECHNITIAL

3 O

2 1

OPERATION

Definition of Roles

Job Specification

ผูบริหารทีเ่ ปนผูช วยของ GM มีหนาที่กํากับดูแลการ ปฏิบัตงิ านในฝาย แกปญหางานที่มีความซับซอนใน ระดับสูง ประสานงานภายใน - ภายนอกอยางมี ประสิทธิภาพ รวมทั้งบริหารงานและควบคุม งบประมาณทัง้ หมดภายในฝาย

เปนระดับของผูซึ่งสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มี ประสบการณในการทํางานประมาณ 10 ปขึ้นไป หรือผู ที่จบการศึกษาระดับปริญญาโทในสาขาที่เกี่ยวของ

เปนผูเชีย่ วชาญเฉพาะดานที่มีความรูเกี่ยวกับแนวคิด ,ทฤษฎีและหลักการเฉพาะดานเปนอยางดี แกปญหางาน ที่มีความซับซอนในระดับกลาง ประสานงานภายใน ภายนอกอยางมีประสิทธิภาพ

เปนระดับของผูซึ่งสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ มีประสบการณในการทํางานประมาณ 7 ปขึ้นไป หรือผูท ี่จบการศึกษาระดับปริญญาโทในสาขาที่ เกี่ยวของ

มีหนาที่คดิ พัฒนาระบบงานแกปญ  หาที่มีความซับซอน ในระดับหนึ่ง เปนผูสนับสนุนหรือมีบทบาทชี้นําผูอื่น ประสานงานภายใน - ภายนอกใหบรรลุตาม วัตถุประสงค และงานอื่นๆที่ไดรับมอบหมาย

เปนระดับของผูซึ่งสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจบ ใหมหรือมีประสบการณในการทํางานประมาณ 1-5 ป หรือผูท ี่จบการศึกษาระดับปริญญาโทในสาขาที่ เกี่ยวของ

ปฎิบัตงิ านในหนาที่รบั ผิดชอบจากประสบการณทผ่ี าน มา แกปญหาในการทํางานเบื้องตนได และปฏิบัตงิ าน อื่นๆที่ไดรบั มอบหมาย

เปนระดับของผูซึ่งสําเร็จการศึกษต่ํากวาปริญญาตรี ซึ่งมีประสบการณทํางานมาแลวประมาณ 5 ปขึ้นไป

ปฏิบัตงิ านลักษณะแรงงาน หรือ ตองใชทกั ษะ เล็กนอย และปฏิบัตงิ านอื่นๆที่ไดรับมอบหมาย

เปนระดับของกลุมที่จบ ปวช. หรือ ปวส. หรือจบ การศึกษาต่ํากวา ปวช.ซึ่งมีประสบการณทํางาน ประมาณ 0 - 5 ป 42

21


โครงสรางระดับตําแหนงงาน (Job Classification) • การแบงระดับของตําแหนงงานในองคกร ตามบทบาท หนาที่ ความสําคัญ คุณคาของงานที่มีตอองคกร • ทําใหเกิด Career Path ของคนในองคกร • บอกถึง line การบังคับบัญชา • นําไปใชในการจัดผลตอบแทนใหเหมาะสมแกระดับของงาน

43

Management2 Management2 Management1 M14

Supervisor2

M13 M12

Supervisor 1

ผูจัดการฝาย

M11 M10

Operational 2

ผูจัดการแผนก/ผูชวยผูจ ัดการฝาย

Operational 1

S8 S6

S7

S9

ปริญญาตรี วิศวกร/สถาปนิก ปริญญาตรี สังคม

O5 O4 O3

ปวส.สังคม O2

44

O1

22


ความสัมพันธระหวางงาน และคาตอบแทน Job Analysis Job Evaluation Job Classification

Salary Structure

Career Growth

Performance Appraisal

Salary Increase

Salary Survey

45

Agenda • • • • • •

หลักและแนวคิดการบริหารคาจางและผลตอบแทน เครื่องมือในการบริหารคาจาง การจัดทํา และการใชงาน compensation survey การออกแบบโครงสรางคาจาง การ Transition คนสูโครงสรางคาจาง New Trend of Pay

46

23


การสํารวจคาจาง คือ วิธีการหาอัตราคาจาง และประโยชนตอบแทนอื่นที่บริษัทตาง ๆ ในตลาดแรงงาน จายใหกับพนักงานในปจจุบันสําหรับตําแหนงงานที่เปรียบเทียบไดเพื่อ 1. ตรวจสอบสภาพการจายของเราวาจะอยูในระดับสูงกวาหรือต่ํากวา ตลาดอยางไร 2. เปนขอมูลประกอบการกําหนดโครงสรางคาจาง 3. เปนขอมูลประกอบการวางนโยบายการบริหารคาจางผลตอบแทนอื่น

47

ประเภทของการสํารวจคาจาง 1. การสํารวจอัตราคาจางเริ่มตน (STARTING SALARY SURVEY) เพื่อหาอัตราคาจางเริ่มตนของตําแหนงงานตาง ๆ ซึ่งอาจกําหนดตามวุฒิ การศึกษา และ/หรือหนาที่ความรับผิดชอบของงาน 2. การสํารวจคาจางตามตําแหนงงาน (BENCH MARK JOB SURVEY) เพื่อหาระดับอัตราคาจางในตลาดแรงงานของตําแหนงงานที่ เปรียบเทียบกันได

48

24


3. การสํารวจแนวโนมการเติบโตของคาจาง (SALARY GROWTH) TREND SURVEY) เพื่อตรวจสอบอัตราการเปลี่ยนแปลงของคาจางในแตละระดับตําแหนง งานในชวงระยะเวลาหนึ่ง 4. การสํารวจผลประโยชนตอบแทนอื่น ๆ (BENEFIT SURVEY) เพื่อตรวจสอบการจายผลประโยชนตอบแทนอื่น นอกจากคาจางปกติทั้ง ที่เปนตัวเงิน และไมใชตัวเงินในตลาดแรงงาน 49

ขอควรระวังในการวิเคราะห Compensation Survey

1. บริษัทที่เปรียบเทียบเปนคูแ ขงขันในการจางพนักงานในตลาดแรงงาน เดียวกัน 2. เปนกิจการประเภทเดียวกัน มีขนาดใกลเคียงกัน ตัง้ อยูในทองถิ่นที่มี สภาพความเปนอยูใกลเคียงกัน 3. บริษัทที่มีงานเปรียบเทียบกับเราได 4. มีสหภาพแรงงานหรือไม 5. การเทียบตําแหนงงานไมดูเฉพาะชื่อ แตดูหนาที่และ คุณสมบัติของตําแหนงนั้น 50

25


เราใช Compensation Survey ทําอะไรบาง

1. 2. 3. 4. 5.

กําหนดอัตราคาจางเริ่มตน หรือคาจางสําหรับ Mid Career ที่เขางานใหม กําหนดโครงสรางคาจาง หรือการปรับปรุงโครงสรางที่มีอยู กําหนดอัตราการขึ้นคาจางประจําป กําหนด Package สวัสดิการ Benchmark ดานการบริหารงานบุคคล

51

Job Correlation บริษัทขนาดใหญ 5,000 MB

Job Level

Level ที่สอง

บริษัทขนาดกลาง 1,000 MB

Level ที่หนึ่ง

• Vice President

(VP)

• Senior Manager

(SM)

• Middle Manager

(MM)

Function Manager

• Junior Manager

(JM)

ผูชวยผูจัดการ / หัวหนาแผนก

• Supervisor

(Sup)

ปริญญาตรีอายุงาน 4 - 5 ป

• Officer

(Off)

ปริญญาตรีเขาใหม – อายุงาน 3 ป

• Senior Staff

(SST)

ปวส. มีประสบการณ 4 - 5 ป

• Staff

(ST)

ปวส.เขาใหม – อายุงาน 3 ป

Level ที่สอง

52

26


Job Correlation • Vice President

(VP)

• Senior Manager

(SM)

• Middle Manager

(MM)

Survey Job Grade

Your Company Job Grade

1. VP 2. SM 3. MM

• Junior Manager

(JM)

• Supervisor

(SUP)

• Officer

(OFF)

• Senior Staff

(SST)

• Staff

(ST)

4. JM 5. SUP 6. OFF 7. SST 8. ST

** โปรดนําสง Organization Chart เพื่อประกอบการทํา Job Correlation

53

Conclusion All Industry

Basic Salary

BASIC SALARY

Thousand

350 325 300 275 250 225 200 175 150 125 100 75 50 25 0

BASIC SALARY

OFF

SUP

JM

MM

SM

P25

P50

P75

OFF

11,000

14,180

18,350

SUP

21,445

26,500

31,645 55,590

JM

38,532

47,000

MM

73,269

82,000

95,000

SM

110,000

127,000

145,000

VP

190,000

210,000

247,691

VP

54

27


Conclusion All Industry Gross Pay

GROSS PAY Thousand

400 375 350 325 300 275 250 225 200 175 150 125 100 75 50 25 0

GROSS PAY

OFF

SUP

JM

MM

SM

P25

P50

P75

OFF

14,035

18,347

24,500

SUP

27,260

33,866

41,744

JM

48,824

59,938

73,414

MM

97,576

111,725

133,333

SM

162,250

188,984

224,250

VP

267,954

299,384

357,667

VP

55

BASIC SALARY Thousand 300.00 280.00 260.00 AU 240.00

BA CH

220.00

CO

200.00

CP 180.00

EL

160.00

FB LT

140.00

PH

120.00

RE

100.00

TE

80.00 60.00 40.00 20.00 0.00 OFF

SUP

JM

MM

SM

VP

AU

BA

CH

CO

CP

EL

FB

LT

PH

RE

TE

OFF

15,685

17,076

17,929

13,994

14,963

15,752

12,985

14,027

14,137

14,085

16,164

SUP

27,349

30,325

28,839

26,518

23,554

24,869

25,404

27,491

26,332

25,366

28,162

JM

46,841

46,612

47,356

49,560

48,226

50,280

46,988

46,626

45,933

45,885

49,945

MM

66,260

84,156

81,652

80,734

94,085

86,451

79,292

87,400

82,124

85,953

92,523

SM

118,501

132,592

124,626

131,278

147,758

135,928

133,254

171,333

112,191

135,566

56 128,882

VP

172,193

237,757

234,101

216,304

273,733

201,758

192,413

247,517

221,667

236,075

178,987

28


GROSS PAY Thousand 420.00 400.00 380.00 360.00

AU

340.00

BA

320.00

CH

300.00

CO

280.00

CP

260.00

EL

240.00

FB

220.00

LT

200.00 180.00

PH

160.00

RE

140.00

TE

120.00 100.00 80.00 60.00 40.00 20.00 0.00 OFF

SUP

JM

MM

SM

VP

AU

BA

CH

CO

CP

EL

FB

LT

PH

RE

TE

OFF

24,191

23,271

26,424

16,993

24,140

18,627

18,389

17,552

18,424

16,037

19,586

SUP

42,802

41,496

42,553

31,181

34,087

28,793

33,703

34,435

34,023

28,703

35,406

JM

82,017

58,630

65,883

68,105

65,425

57,848

63,294

59,211

59,151

53,382

63,010

MM

125,404

109,987

123,132

109,492

126,195

104,881

116,125

114,529

112,389

100,716

126,465

SM

217,977

190,588

198,076

193,291

201,296

215,914

195,337

216,643

165,015

166,055

192,127 57

VP

302,962

337,952

323,864

328,171

381,498

299,384

287,856

357,793

348,889

348,825

266,162

Agenda • • • • • •

หลักและแนวคิดการบริหารคาจางและผลตอบแทน เครื่องมือในการบริหารคาจาง การจัดทํา และการใชงาน compensation survey การออกแบบโครงสรางคาจาง การ Transition คนสูโครงสรางคาจาง New Trend of Pay

58

29


โครงสรางคาจาง โครงสรางคาจาง หมายถึง การกําหนดอัตราคาจางขั้นต่ําและสูงสุด ใหเหมาะสมกับขอบเขตหนาที่ และความรับผิดชอบของแตละระดับ ตําแหนงงาน แบบโครงสรางคาจาง 1. กําหนดคาจางตามชิ้นงาน (Piece rate structure) 2. กําหนดคาจางตายตัว (Fixed rate structure) 3. กําหนดคาจางเปนขั้น (Step rate structure) 4. กําหนดเปนชวงคาจาง (Range structure) 59

โครงสรางคาจาง (Salary Structure)

หมายถึง อัตราคาจางที่บริษัทกําหนดขึ้นโดยใหมอี ัตรา คาจางต่ําสุดถึงอัตราคาจางสูงสุดในแตละระดับตําแหนงงาน เชน 50,000 บาท คางานเลขานุการ

13,000 บาท 60

30


การจัดทําโครงสรางคาจาง (Salary Structure) • ผลการสํารวจคาจาง (Salary Survey) • นโยบายการกําหนดชวงคาจาง (Salary Range) • Job Classification

61

ขั้นตอนในการจัดทําโครงสรางคาจาง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

กําหนดโครงสรางระดับตําแหนงของบริษัท จากการประเมินคางาน จัดหาขอมูลคาจางของตลาด (Compensation Survey) ทํา Job Grade Correlation ระหวาง Survey และโครงสรางของบริษัท หาผลตอบแทนรวมในแตละระดับตามขอมูลจาก Survey กําหนดนโยบายระดับคาจาง และสัดสวนผลตอบแทนของบริษัท กําหนดอัตรา Mid Point ของแตละระดับตามอัตราจาก Survey ออกแบบ Range Spread และ Mid point Progression Rate ใสขอมูลคาจางพนักงานในปจจุบันเขาสู โครงสรางคาจาง กําหนดแนวทางการดําเนินการกรณีพนักงานต่ํา / สูงกวาโครงสราง ออกแบบระบบบริหารคาจาง

62

31


TMA Survey 2005 : All Industry 400 375 350 325 300 275 250 225 200 175 150 125 100 75 50 25 0

P25 P50 P75

OFF Job Level

SUP

JM Age

Basic Salary P25

P50

P75

MM

Average

SM

Job Level

Average

VP Age

Gross Salary P25

P50

P75

Average

Average

OFF

11,000

14,180

18,350

15,131

31

OFF

14,035

18,347

24,500

20,631

31

SUP

21,445

26,500

31,645

27,117

35

SUP

27,260

33,866

41,744

36,320

35

JM

38,532

47,000

55,590

47,695

39

JM

48,824

59,938

73,414

63,059

39

MM

73,269

82,000

95,000

84,777

43

MM

97,576

111,725

133,333

117,382

43

SM

110,000

127,000

145,000

131,127

48

SM

162,250

188,984

224,250

195,190

48

VP

190,000

210,000

247,691

223,953

48

VP

267,954

299,384

357,667

330,509

48

Salary Survey

Level 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

P25 6,820 7,460 9,930 10,465 11,000 18,000 29,210 35,000 50,960 66,240 88,360 101,100 134,100 191,100

P50 7,280 8,210 10,950 12,570 14,190 21,480 31,660 38,540 55,590 73,290 95,000 110,000 145,000 210,000

63

P75 7,760 8,400 12,040 15,195 18,350 24,200 36,000 42,500 61,880 77,820 105,500 120,000 164,580 247,61064

32


Basic Salary All Industries Level P25 P50 P75 6,820 7,280 7,760 1 2 7,460 8,210 8,400 3 9,930 10,950 12,040 4 10,465 12,570 15,195 11,000 14,190 18,350 5 18,000 21,480 24,200 6 7 29,210 31,660 36,000 8 35,000 38,540 42,500 9 50,960 55,590 61,880 66,240 73,290 77,820 10 88,360 95,000 105,500 11 12 101,100 110,000 120,000 13 134,100 145,000 164,580 14 191,100 210,000 247,610

Market Information Real Eastate P25 P50 6,820 7,280 7,460 8,210 9,930 10,950 9,965 12,125 10,000 13,300 17,660 20,920 29,010 30,780 34,680 38,000 50,000 54,510 66,980 70,000 89,260 94,650 103,380 118,850 140,000 150,000 225,180 228,450

P75 7,760 8,400 12,040 14,485 16,930 23,620 33,850 42,700 60,030 75,000 109,870 120,000 160,000 247,000

% Different RE - All P25 P50 0 0 0 -5 -10 -2 -1 -1 -2 1 1 2 4 15

P75 0 0 0 -4 -7 -3 -3 -1 -2 -5 0 7 3 8

0 0 0 -5 -8 -2 -6 0 -3 -4 4 0 -3 65 0

Technique การจัดทําโครงสรางคาจาง

• เอาเปาหมายจาก Survey มาเปน Mid Point • จับที่ระดับลางสุด หรือระดับปริญญาตรี กอน แลวจึงขยายไปสูระดับ อื่นๆ ตอไป • ออกแบบ RS และ MPR ตามนโยบาย แตจํานวนระดับตําแหนงจะเปน ตัวควบคุมอีกชั้นนึง • Survey และโครงสรางไมมีทางเขากันไดสนิท เปนเพียงการประมาณ การเพื่อใหเขาใกลเคียงเทานัน้ • คํานึงถึงขอเท็จจริงในการจัดทํา หากโครงสรางสูงกวาการจายจริงใน ปจจุบันมากการนํามาใชจะไมมีประสิทธิภาพ 66

33


Benchmark at P.75 of Market New Salary Structure

Level

MIN

1

6,000

MP

MAX

7,500

9,000

MIN

Existing

RS

%MPPR

MP

50

15

4,900

6,800

MAX

Dif

MP

Compa

8,800

10

0.82

2

6,900

8,600

10,400

51

30

5,300

7,400

9,500

17

0.91

3

9,000

11,200

13,500

50

30

6,900

9,700

12,400

16

0.94

4

10,400

14,600

18,700

80

29

9,000

12,600

16,200

16

0.87

5

13,500

18,900

24,400

81

30

11,000

16,500

22,000

15

0.92

6

17,600

24,600

31,700

80

30

14,400

21,600

28,800

14

0.94

7

22,900

32,000

41,200

80

30

18,800

28,200

37,600

14

1.04

8

29,700

41,600

53,500

80

30

24,600

36,900

49,200

13

1.16

9

36,100

54,100

72,200 100

35

32,200

48,300

64,400

12

1.08

10

48,700

73,100

97,400 100

35

42,100

63,200

84,200

16

0.97

11

65,800

98,600

131,500 100

35

55,100

82,700

110,200

19

1.02

12

88,800

133,200

177,500 100

35

67,600

108,100

148,700

23

0.75

13

119,800

179,800

239,700 100

40

88,400

141,500

194,500

27

0.89

14

167,800

251,700

335,600 100

115,700

185,100

254,500

36

67

17.6

Starting Rate Practice Education Level

Local

Overseas

After Probation

Min.

Max.

Ave.

Min.

Max.

Ave.

Min.

Max.

Ave.

17,355

50,000

33,678

17,355

60,000

38,677

25,000

-

-

- Technical

11,500

24,600

18,173

12,000

30,000

19,842

11,500

41,000

19,542

- Accounting

10,000

22,260

16,159

12,000

24,260

17,947

10,000

32,000

17,225

- Professional

10,000

22,000

16,376

12,000

40,000

18,438

10,000

45,000

18,625

- Technical

7,500

20,260

13,376

8,500

30,000

15,095

7,500

23,000

14,005

- Accounting

7,500

18,260

14,005

7,500

18,260

10,840

7,500

19,250

11,290

- Professional Higher Vocational

7,500

20,000

10,810

8,500

19,250

12,564

7,500

22,000

11,283

- Technical

6,000

14,400

7,481

6,000

14,400

8,058

6,000

14,400

7,733

- Accounting

6,000

14,400

7,345

6,000

14,400

7,948

6,000

14,400

7,556

- Commerce Vocational

5,500

14,400

7,193

6,000

14,400

7,773

5,800

14,400

7,082

- Technical

5,000

12,600

5,652

5,652

12,600

6,924

5,000

12,600

6,583

- Accounting

5,420

12,600

6,354

6,354

12,600

6,261

5,000

12,600

6,513

- Commerce

5,000

12,600

6,259

6,259

12,600

6,709

5,000

12,600

6,446

PH.D. Master's Degree

Bachelor's Degree

68

34


Compensation Policy • • • •

Market Benchmarking (Thai vs MNC) Competitive or Leading Market Fixed vs Variable Grading Structure

69

ปจจัยที่ใชประกอบการกําหนดโครงสรางคาจาง 1. ลักษณะงาน / ความซ้ําซอนของงาน 2. ABILITY TO PAY 3. POSITIONING ของเรา 4. CAREER ของพนักงานแตละระดับ 5. ขอมูลการวาจางในตลาด 70

35


โครงสรางคาจาง Max 28,000 บ. Max 20,000 บ. บ. Range

Range MP 21,000 บ. Mid-Point

MP 15,000 บ.

Progression

Spread Min 14,000 บ. Min 10,000 บ.

Rate

Overlap 71

สูตรคํานวน • • • • • •

Range Spread (%) = (Max – Min)/Min *100 Min = (2 * MP) / (2+ RS) Max = (1 + RS) * Min Mid Point = (Max + Min) / 2 MPR = (MPบน – MPลาง) / MPลาง*100 Overlap = (Maxลาง–Minบน) / (Maxลาง-Minลาง) * 100 72

36


RANGE SPREAD บริษัทน้ํามัน บริษัทคนไทยทั่วไป ราชการ / รัฐวิสาหกิจ

50 - 60 % 100 % 200 - 300 %

MID - POINT PROGRESSION 20 - 25 % นอย 30 - 35 % ปานกลาง 40 - 45 % มาก 73

การกําหนดชวงคาจางสั้น 1. มี INTERNAL EQUITY 2. STARTING SALARY สูง 3. สามารถดึงดูดคนเกง เขาทํางาน 4. ประหยัด Cost ดานคาจาง ขอเสีย พนักงานติดขั้นเร็ว การกําหนดชวงคาจางยาว ขอดี 1. เริ่มจางพนักงานใหมในราคาต่ํา และจาย พนักงานเกาในราคาสูง ขอเสีย 1. ขาด INTERNAL EQUITY 2. เสียคาใชดานแรงงานสูง ขอดี

74

37


Salary Structure Development Methodology 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21

2000 1990 1950 1900 1820 1770 1700 1600 1580 1550 1540 1530 1400 1400 1300 1220 1200 1110 1100 1000 600

Max

P75

Percentile = (N-1)* X%

Compa Ratio = Avg.Salary Mid Point

P50

MP Progression Rate

P25

Rage Spread Min

75

Salary Structure Level

MIN

MP

MAX

RS

MPPR (%)

Compa

76

38


New Salary Structure 350,000 300,000 250,000 200,000 150,000 100,000 50,000 0 1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

New Salary Structure

13

14

77

Top Executive

350,000 300,000 250,000 Vice President

200,000 150,000 Director

100,000 Manager

50,000

Worker, Semi Skill

Officer

Skill

0

78

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

39


New Salary Structure Grade 1 - 4

Skill

20,000

MAX = 18,700

15,000

MP = 14,600 MAX = 13,500

Worker, Semi Skill

MP = 11,200 MAX = 10,400

10,000

MAX = 9,000

MIN = 10,400 MIN = 9,000

MP = 8,600

MP = 7,500

MIN = 6,900

MIN = 6,000

5,000

1

2

3

4

79

New Salary Structure

25,000

20,000 MAX = 18,700

15,000

MP = 14,600 MAX = 13,500

MP = 11,200 MIN = 10,400

MAX = 10,400

10,000 MAX = 9,000

MIN = 9,000

MP = 8,600

MP = 7,500 MIN = 6,900 MIN = 6,000

5,000

1

2

Worker, Semi Skill

3

4

80

Skill

40


สรุปสถานะคาจางพนักงานแตละระดับเทียบ กับโครงสรางคาจางใหม

25,000

20,000

3(1.85%) MAX = 18,700

29(17.9%)

15,000

2(0.73%)

MP = 14,600

MAX = 13,500

100(61.72%)

5(1.83%)

10,000

1(0.84%) MAX = 10,400

2 (7.14%)

33(27.73%)

7 (25.00%) MP = 7,500

73(61.34%)

MAX = 9,000

30(18.51%)

200(73.26%)

MIN = 6,900

12(10.08%)

MIN = 6,000

5,000

MIN = 10,400

66(24.17%) MIN = 9,000

MP = 8,600

2 (7.14%)

MP = 11,200

17 (60.71%)

28 คน

119 คน

162 คน

273 คน

1

2

3

4

81

Skill

Worker, Semi Skill

New Salary Structure Grade 5 - 10 Director

100,000

MAX = 97,400

80,000 MAX = 72,200

MP = 73,100

Manager

60,000

MAX = 53,500

MP = 54,100 MIN = 48,700

MAX = 41,200

Officer

40,000

MIN = 36,100

MAX = 31,700 MAX = 24,400

20,000

MP = 18,900

MP = 41,600

MP = 24,600

MP = 32,000

MIN = 29,700

MIN = 22,900

MIN = 17,600

MIN = 13,500

5

6

7

8

9

10 82

41


New Salary Structure

100,000

MAX = 97,400

80,000 MP = 73,100

MAX = 72,200

60,000 MAX = 53,500

MP = 54,100 MIN = 48,700

40,000

MIN = 36,100 MAX = 31,700

MP = 32,000 MIN = 29,700

MP = 24,600

MAX = 24,400

20,000

MP = 41,600

MAX = 41,200

MIN = 22,900

MP = 18,900

MIN = 17,600

MIN = 13,500

5

6

7

Officer

8

9

Manager

10

83

Director

สรุปสถานะคาจางพนักงานแตละระดับเทียบ กับโครงสรางคาจางใหม

100,000

MAX = 97,400

80,000 MP = 73,100

MAX = 72,200

60,000

1(4.34%) MAX = 53,500

11(50.00%)

8(100%)

MP = 54,100 MIN = 48,700

40,000

6(26.08%)

10(22.22%)

16(69.56%)

MP = 41,600

MAX = 41,200

8(10.25%)

MAX = 31,700

12(15.38%)

8(4.84%)

MAX = 24,400

20,000

1(2.22%)

MP = 24,600

39(23.63%) MP = 18,900 28(35.89%) MIN = 17,600 63(38.18%) 30(38.46%)

MP = 32,000

MIN = 29,700

6(27.27%) MIN = 36,100

5(22.72%)

27(60%) MIN = 22,900

7(15.55%)

MIN = 13,500

55(33.33%)

-

165 คน

5

78 คน

6 Officer

23 คน

45 คน

7

8 Manager

8 คน

22 คน

9

10

84

Director

42


New Salary Structure Grade 11 - 14 400,000

Top Executive

350,000

MAX = 335,600

300,000 250,000 200,000

MAX = 177,500

150,000

MAX = 131,500

100,000

MP = 98,600

MP = 251,700

MAX = 239,700

Vice President

MP = 179,800 MIN = 167,800

MP = 133,200 MIN = 119,800 MIN = 88,800

MIN = 65,800

50,000 11

12

13

14

85

New Salary Structure

400,000 350,000

MAX = 335,600

300,000 250,000

MP = 251,700 MAX = 239,700

200,000 150,000 100,000

MAX = 177,500

MAX = 131,500 MP = 98,600

MP = 179,800 MIN = 167,800

MP = 133,200 MIN = 119,800 MIN = 88,800

MIN = 65,800

50,000 11

12 Vice President

13

14

86

Top Executive

43


สรุปสถานะคาจางพนักงานแตละระดับเทียบกับ โครงสรางคาจางใหม

400,000 350,000

MAX = 335,600

300,000 250,000

MP = 251,700 MAX = 239,700

1(100%)

200,000 150,000 100,000

MAX = 177,500

MAX = 131,500 MP = 98,600

1(100%)

MP = 133,200

3(100%)

MP = 179,800 MIN = 167,800

1(100%) MIN = 119,800

MIN = 88,800

MIN = 65,800

50,000 -

1 คน

3 คน

1 คน

12

13

11 Vice President

1 คน

14

87

Top Executive

Agenda • • • • • •

หลักและแนวคิดการบริหารคาจางและผลตอบแทน เครื่องมือในการบริหารคาจาง การจัดทํา และการใชงาน compensation survey การออกแบบโครงสรางคาจาง การ Transition คนสูโครงสรางคาจาง New Trend of Pay

88

44


Individual Pay & Salary Structure Job Grade 8

คาจาง

3

4

P75 2

Midpoint

คําถาม • ถา 1 มีผลงานดีกวา 4 จะขึ้น คาจางอยางไร • เราควรเรงคาจาง 2 หรือ 3 อีก หรือไม • หาก 1 เปน High Flyer เรา ควรดูแลเคาอยางไร

1

อายุงาน 89

Salary Structure Utilization Max P75 Mid Point P25 Min

เพื่อจัดสรรทรัพยากรคาจาง คาตอบแทนใหเหมาะสมกับ หนาที่ความรับผิดชอบ ความสามารถของตําแหนงงาน • ควบคุมการจายคาจาง ไมใหสูงเกิดกวาคางาน และราคา ตลาดดวย Maximum ของกระบอก • จายคาตอบแทนที่เหมาะสมที่สุดดวย Midpoint • คํานึงถึงคาจางที่เหมาะสมวาไมควรต่ํากวา Minimum • ใชคาจางใน P75 เปน Target Salary สําหรับ High Flyer • ใช P25 และ Mid Point สําหรับตั้งคาจางผูมี ประสบการณ 90

45


การบริหารพนักงานที่มีคาจางสูง • พนักงานที่มีคาจางถึง Max ของ Job Grade แลวจะไมไดรับ การพิจารณาปรับคาจางประจําปอีก โดยใหจายเปน Lumsum แทน • เงิน Lumsum นี้ใหเรียกวา "เงินรางวัลผลงาน" • การคํานวณอัตราการจายใหนําอัตราเงินขึ้นตามผลการ ปฏิบัติงานมา คูณ 12 เดือน แตใหทยอยจายลวงหนาทุกๆ 3 เดือน • ณ สิ้นปใหคํานวณจายเพิ่มใหอีกตามอัตราโบนัสของปนั้นๆ โดยจายในชวงสิ้นเดือนธันวาคม 91

การจาย Lum Sum Pay สําหรับผูมี คาจางสูง

ต.ย. ป 2546 จากการประเมินผลการปฏิบัติงาน พนักงานจะไดรับการขึ้นคาจาง 5% คิดเปนเงินขึ้นคาจาง 1,000 บาท และ ณ ปลายปบริษัทกําหนด อัตราโบนัส 2 เดือน จายเปน Lumsum Pay โดยจายลวงหนาทุกๆ 3 เดือน ม.ค.

เม.ย.

ก.ค.

1,000 x 3 = 3,000

1,000 x 3 = 3,000

1,000 x 3 = 3,000

ต.ค. 1,000 x 3 = 3,000

ธ.ค. 1,000 x 2 = 2,000

92

46


ตารางการปรับคาจางเขาสูโครงสราง ระดับผลงาน A เฉลี่ย 3 ป ต่ํากวา P.0 15% P.0 - P.25 P.25 - P.50

B

C

D

E

10%

5%

-

-

10%

5%

-

-

-

5%

5%

-

-

-

93

Broadbanding คือ อะไร ??????

ความหมาย เปนแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารคาจาง/คาตอบแทน โดยจัดเอาระดับ งาน หลาย ๆ ระดับ รวมกันเขาเปนกลุมงาน หรือระดับงานเดียวกัน ซึ่งมี ความกวางของงานมากขึน้ ซึ่งเรียกวา Band ทําใหระดับขั้นงานในองคกร นอยลง เชน จาก 12 ระดับ ลดลง เหลือ 5 ระดับ หรือ 5 Band เปนแนวคิดในการบริหารคาตอบแทน เพือ่ ตอบสนองตอการปรับเปลีย่ น รูปแบบ โครงสรางองคกรที่มีลักษณะแบนราบมากขึน้ สนับสนุนตอการสราง Value ในงานอยางไมจํากัดมากนัก ขึ้นอยูกบั ความสามารถเฉพาะบุคคล

94

47


องคกรเลือกใช Broadbanding เพราะอะไร ?

มี Hierarchy เยอะ ทํางานสั่งกันเปนทอดๆ Communication ชา หัวหนามีความสามารถต่ํากวาลูกนอง หรือผูที่ระดับตําแหนงสูงมี ความสามารถต่ํากวาผูทมี่ ีระดับตําแหนงต่าํ กวา อยากเนนที่ pay มากกวา ระดับตําแหนง ตองการให Talent โตไดโดยเร็ว

95

ลักษณะสําคัญของ Broadbanding

โครงสรางตําแหนงงานประกอบดวยกลุมงาน (Band) และกลุม เงินเดือน (Salary Band) ประมาณ 3-6 Band เทานัน้ ใหความสําคัญกับการประเมินคางาน เพียงเพื่อเปนเครื่องชี้แนะวา ตําแหนงงานนัน้ ควรอยูในกลุมงานใด การเติบโตของคนในองคกรเนนความสามารถของตัวบุคคล มากกวาคางาน ชวงเงินเดือน (Range Spread) มากกวา 200% ขึ้นไป การปรับตําแหนงอาจเปนไปในแนวราบ มิใชแนวตั้งตามระบบเดิม 96

48


ลักษณะสําคัญของ Broadbanding (ตอ) การเปลี่ยนแปลงในแนวตั้งจะตองเปนการเปลี่ยนแปลงความรับผิดชอบ ที่เห็นไดอยางชัดเจนเทานั้น ทัศนคติ คานิยม และปรัชญาในการทํางานของพนักงานจะให ความสําคัญที่การใหบริการแกลูกคา (ภายในและภายนอก) และ เปาหมายขององคกร ตอบสนองกับองคกรทีม่ ุงการทํางานแบบยืดหยุน การมีสวนรวมของ พนักงาน การวางแผนอาชีพ และแผนสืบทอดตําแหนง

97

Three Approaches to Banding Performance Approach Skill-based Approach Competency Approach

$28,000

$60,000 Time / Performance / Development Trainer

Skill Set 1

Skill Set 2

Skill Set 3

Skill Set 4

Skill Set 5

Skill Set 6

Market Anchor

Job Knowledge & Performance

Competency Growth 98

49


Pay Zones $ Zone C Zone B Zone A

Contribution / Competency

หมายเหตุ

ใน Band หนึ่ง ๆ อาจมี Pay Zone ทับซอนกันจํานวนมากได 99

Pay Zones Graded Pay Structure

}

}

Broadbanded Structure

30%

200%

100

50


Target Rates คือ อัตราเปาหมายของตําแหนงงานสําหรับผูดํารงตําแหนงที่ Fully Competent ในตําแหนงนั้น ๆ โดยอัตรานี้จะสอดคลอง กับตลาดอัตราเปาหมายนี้จะเปนตัวชวยในการบริหารคาจาง ของผูดํารงตําแหนงเปนราย ๆไป A B

Target Rate A = High Potential B = Normal

z

(MP) 101

Band 1 Sub grade 1 – 2

New Mid Point

102

51


ระบบบริหารคาจาง (Salary Administration) • การขึ้นคาจางประจําป (Merit) • การปรับคาจางเนื่องจากการเลื่อนตําแหนง (Promotion Adjustment - PA) • การปรับคาจางเพื่อความเหมาะสม (Special Adjustment - SA) • ความเชื่อมตอกับระบบการประเมินผลงาน

103

Growth Index 175 ยอดขาย

150 EBITDA

125 คาจางรวม

100

CPI

75 50 2542

2543

2544

2545

2546 (E) 104

52


Growth Index

End of Period GDP (%) CPI (%) Baht : US $ Unemployment Rate (% of labor force)

2001

2002

2003

2004

2005

1.9

5.3

6.2

6.0

4.4

1.3

0.6

1.8

3.5

6.0

44.48

43.74

42.11

40.5

40.93

3.2

2.2

2.0

2.0

1.3

• การขยายตัวของ GDP ลดลง • CPI เพิ่มขึ้นมากเนื่องจาก ราคาน้ํามัน • อัตราการวางงานยังอยูในระดับต่ํา

Source from Bank of Thailand

105

วิธีกําหนดจํานวนเงินขึ้น • 1. เปนชวง (RANGE) • 2. เปน FLAT RATE อัตราเดียว

RANGE

FLAT

ดีเยี่ยม

12 - 15 %

1500 1250 1000

ดีมาก

9 - 11 %

ดี

6-8%

800 700 600 500 400 300

106

53


การกําหนดอัตราการขึ้นคาจางตามระดับ งบประมาณขึ้นคาจาง 6% Option 1

Option 2

Option 3

ระดับผลงาน

ขึ้นคาจาง

ขึ้นคาจาง

ขึ้นคาจาง

ดีเลิศ

8% - 7.1%

10% - 9%

9% - 7.6%

ดีมาก

7% - 6.1%

8% - 7%

7.5% - 6.1%

ดี

6% - 5.1%

6% - 5%

6% - 4.5%

พอใช

5% - 2%

4% - 2%

4.4% - 2%

ควรปรับปรุง

0

0

0

107

แนวทางการกําหนด Target Salary • • • • •

กําหนดระดับความสามารถของพนักงาน ผูมีความสามารถสูงและปกติ ผูมีความสามารถสูง Target ที่ P75 ของกระบอก ภายใน 4 ป ผูมีความสามารถปกติ Target ที่ Mid Point ภายใน 4 ป สราง Salary Planning ตั้งแตระดับ 5 ขึ้นไป พิจารณาให Competence Adjustment เพื่อใหเปนไปตามแผน

108

54


Target Salary & Salary planning Position

TG (ป)

เงินเดือน

PL

ผูอํานวยการฝายวิศวกรรม ผูอํานวยการฝายบัญชี ผูอํานวยการฝายการตลาด ผูอํานวยการฝายพัฒนาโครงการ ผูอํานวยการฝายบริหารสินทรัพย

3 1 0 0 0

71,190 71,500 71,000 71,000 70,000

10 10 10 10 10

P75

Target Year Y to Target %Dif P75

85,250 85,250 85,250 85,250 85,250

3 3 3 3 3

0 2 3 3 3

16% 16% 17% 17% 18%

Y1

16% 8% 6% 6% 6%

Y2

Y3

8% 6% 6% 6%

6% 6% 6%

109

Manage Compensation by Target Salary Practice

Manager Band MAX

P.75

HP AVR.

Market Rate

SA SA

Normal

Year

110

55


Agenda • • • • • •

หลักและแนวคิดการบริหารคาจางและผลตอบแทน เครื่องมือในการบริหารคาจาง การจัดทํา และการใชงาน compensation survey การออกแบบโครงสรางคาจาง การ Transition คนสูโครงสรางคาจาง New Trend of Pay

111

Shifts in Pay Components OBJECTIVES STRATEGY

New Pay

Traditional Pay

Market Focused Contribution Focused Seniority Driven Business Results Driven Job Based Individual and Team Based

Attract Retain Motivate

Interest & Values Alignment Communication Performance Improvement

112

56


Pay Components

Indirect Pay Variable Pay Base Pay 113

Pay Mixed Structure Corporate Team

Variable 120%

100%

Fixed

80% Job Value

Individual Individual Competency Shown Individual Competency Brought

Based Pay

}

Variable Pay

Short Term Incentive • 1 year Performance • Cash or Equivalent • Target Achievement Long Term Incentive • 3 - 5 year Performance • Cash / Stock / Option / Warrant • Vesting Period • Align shareholder value to employee and Retention 114

57


โครงสรางผลตอบแทน Concept

50% 50%

บริษัทชั้นนํา

Employees

22%

20%

78%

80%

Basic Salary

Manager

30% 70% Variable Incentive

115

Variable Pay )

คาตอบแทนทางตรงทุกรูปแบบที่ไมรวมในฐานคาจาง และ จายตามผลงาน

)

ไมผูกพันคาใชจายในระยะยาว

)

จายตามความสามารถของบริษัท ไมใชจายตามภาวะการ แขงขัน หรือเหตุผลอื่นทีไ่ มผูกพันกับ Productivity, Performance หรือ ดุลยภาพ 116

58


Types of Variable Pay 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

Special Recognition Award Individual Variable Pay Group Variable Pay Lump - Sum Award Profit Sharing Long - Term Variable Pay Stock Options 117

Measurement of Variable Pay 1. Profit Results 2. Financial Ratios 3. Quality Improvements 4. Productivity Gains

118

59


Variable Bonus Range Budget

• • • • •

4M

Excellent Above Average Average Improvement Required Unsatisfactory

7–8M 5–6M 4–3M 2–1M 0M 119

Rewarding System Policy Result

Inflation

Competence

Market Competency Assessment

Yearly Plan - KPI Merit Increase Variable Pay

Development Basic Salary

HP 120

60


Q &

A 121

61


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.