IT-handbook%5Cms_word_xp_advance

Page 1

Microsoft Word XP (Advanced)

จัดโดย

ศูนยคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ โครงการอบรมคอมพิวเตอรเชิงปฏิบัติการ สําหรับคณาจารยและเจาหนาที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ


1

สารบัญ หนา 1. ความรูเบื้องตน (Introduction).................................................................................................1 2. การจัดการแฟม.......................................................................................................................4 3. การทํางานกับขอความ (Working with Text)...........................................................................6 4. การยกเลิกและทําซ้ํา ...............................................................................................................6 5. การเลือกขอความ การจัดรูปแบบอักษร และการปรับขนาด......................................................6 6. การจัดยอหนา.........................................................................................................................7 7. ชองวางระหวางบรรทัด (Line Spacing)...................................................................................7 8. การกําหนดระยะ TAB.............................................................................................................8 9. การตกแตงเอกสาร................................................................................................................10 9.1 การใสพื้นหลังใหเอกสาร .......................................................................................................10 10. การทํางานกับรูปภาพ ...........................................................................................................12 11. การใชกลองขอความ.............................................................................................................15 12. การทํางานกับตาราง .............................................................................................................15 13. การจัดรูปแบบชั้นสูง..............................................................................................................18 14. การใสเชิงอรรถ และอางอิงทายเรื่อง (Footnote) ....................................................................19 15. การจัดแบงเอกสารออกเปนสวนๆ (Sections)........................................................................20 16. การตั้งคาหนากระดาษ ..........................................................................................................21 17. การแทรกเลขหนา .................................................................................................................22 18. Headers และ Footers..........................................................................................................22 19. การพิมพเอกสารทางเครื่องพิมพ ...........................................................................................23 20. การบันทึกเอกสารเปนเวอรชั่น (Version) ..............................................................................24 21. การบันทึกเอกสารเปนเว็บเพจ (Web Page) มีขั้นตอนดังตอไปนี้ ...........................................25 22. การแทรกไฟลเอกสาร ...........................................................................................................25


Microsoft Word 2002 1. ความรูเบื้องตน (Introduction) 1.1 การเรียกใช Microsoft Word 2002 ทําตาม ขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกที่ปุม Start บน Taskbar 2. เลือกที่เมนู Programs จะปรากฏเมนูยอ ย ดานขวาขึ้น 3. ในเครื่องบางเครื่องเราจะเห็นคําสั่ง Microsoft Word ที่เมนูในสวนนี้เลย แตใน บางเครื่องอาจตองเลือกเพื่อเขาสูเมนูใน สวนของ Microsoft Office กอน 4. คลิกที่คําสัง่ Microsoft Word หลังจากนั้นจะเขาสูโปรแกรม Microsoft Word ดังรูป

1.2 สวนประกอบของโปรแกรม MS Word 2002 Toolbar

Title bar

Menu bar

ปุม Close ปุม Maximize ปม Minimize

พื้นที่เอกสาร / Working Area

Insertion

Status Bar

Scroll Bar

Task Pane


2 • Title Bar คือ แถบสําหรับแสดงชื่อโปรแกรมและชื่อเอกสารที่กําลังพิมพ • Menu Bar คือ แถบเมนูที่รวบรวมคําสั่งตาง ๆ ของโปรแกรม • Toolbar คือ แถบเครื่องมือที่รวบรวมปุมคําสั่งตางๆ ทีส่ ําคัญ เขาไวเปนหมวดหมู เพื่อใหสามารถเรียกใชงานไดสะดวกมาก ยิ่งขึ้น Toolbar มีหลายชนิดใหเลือกใชโดย คลิกที่เมนู View เลือกคําสั่ง Toolbars และคลิกเลือกชื่อ Toolbar ที่ตองการ • Status Bar คือ แถบแสดงสถานการณทํางานของโปรแกรม Microsoft Word รายละเอียดสวนตางๆ ของ Status Bar มีดังนี้ - Page 1 : แสดงหมายเลขหนา ณ ตําแหนงของ Cursor - Sec 1 : แสดงหมายเลขสวน ณ ตําแหนงของ Cursor สวน (Section) เปนการกั้นขอบเขตเพื่อกําหนดลักษณะของเอกสารใหเปนไปตามที่ตองการ ซึ่งปกติจะไมสามารถทําใหมีหลายรูปแบบในแผนเดียวได แตหากกัน้ ดวยสวน (Section) จะ ทําใหสามารถกําหนดใหมีหลายรูปแบบไดในเอกสารเพียงแผนเดียว - 1/1 : แสดงใหทราบวาเอกสารทีก่ ําลังพิมพมีทั้งหมด 1 แผนและ Cursor อยูในแผนที่ 1 - At 1” : แสดงระยะหางในแนวดิ่งวาขณะนี้ Cursor อยูหางจากขอบกระดาษบนระยะกี่นวิ้ - Ln 1 : แสดงวาขณะนี้ Cursor กําลังอยูที่บรรทัดที่ 1 - Col 1 : แสดงวาขณะนี้ Cursor กําลังอยูที่คอลัมนที่ 1 - OVR : เปนตัวแสดงวาขณะนี้ Keyboard อยูในสถานะพิมพทบั หรือพิมพแทรกโดย… OVR Disable (เปนสีเทา) หมายความวา การทํางานอยูในสถานะพิมพแทรก OVR Enable (เปนสีดํา) หมายความวา การทํางานอยูในสถานะพิมพทับ [กดปุม Insert บน Keyboard] แตถาแถบ OVR เปนสีจางหรือสีเทาจางแสดงวากําลังอยูในสถานะพิมพแทรก) - Thai / English : แสดงสถานะตัวอักษรที่พมิ พ • Maximize Button : ปุมสําหรับขยาย Window ใหเต็มจอภาพ • Minimize Button : ปุมสําหรับลดรูป Window ใหแสดงเปน Icon อยูบน Task Bar • Close Button : ปุมสําหรับออกจากโปรแกรม • ไมบรรทัด (Ruler) : เปนสวนที่แสดงมาตราสวนเชนเดียวกับไมบรรทัดทัว่ ๆไป เพื่อบอกระยะของ ขอความในเอกสาร และ สามารถกําหนดใหแสดงไมบรรทัดหรือไมก็ได โดยการเลือก Menu View และ เลือก Ruler ใหสังเกตวา จะมีเครื่องหมาย 9 อยูหนาคําสั่ง Ruler ซึ่งหมายความวา Window ยอย กําลังแสดงไมบรรทัด แตหากไมมีแสดงวาไมแสดง Ruler


3 1.3 การแสดง Tool bar ทั้งหมด เนื่องจากเมื่อเปดโปรแกรม Windows XP ผูใชงานพบวาสวนของ Tool bar จะมีการแสดงผลเพียง บรรทัดเดียวเพื่อใหสะดวกตอการใชงานและมีสว นของลูกศรเมื่อคลิกแลวจะแสดงผล Tool bar ทั้งหมดดังรูป

ทําใหการเรียกใชงาน Tool bar สําหรับบางทานอาจไมคุนเคย วิธีที่จะใหโปรแกรมแสดง Tool bar ให เห็นอยางชัดเจน คลิกเมนู Tools เลือกคําสั่ง Customize จะปรากฏหนาจอดังรูป คลิกเครื่องหมาย 9 ที่ บรรทัด Show Standard and Formatting toolbars on two rows และคลิกปุม Close โปรแกรมจะแสดงผลของ Tool bar ใหเห็นทีละบรรทัดอยางชัดเจน

1.4 การเปลี่ยน Menu bar จากภาษาไทยเปนภาษาอังกฤษ มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. คลิกที่ปุม Start บน Taskbar 2. เลือกที่เมนู Programs จะปรากฏเมนูยอ ยดานขวาขึน้ เลื่อนเมาสไปที่ Microsoft Office Tools 3. คลิกเลือกคําสั่ง การตั้งภาษาของ Microsoft Office XP


4

4. คลิกที่ List Box เพื่อเปลีย่ นการแสดงผลของ Menu และ Help เปนภาษาอังกฤษ

2. การจัดการแฟม 2.1 การสรางแฟมใหมและการใชแมแบบ 1. เลือก New จากเมนู File 2. จะปรากฏ Task Pane ดังรูป เลือก Blank Document หรือ รูปแบบเอกสารใหมจาก Templates Template คือเอกสารตนแบบที่ทําขึ้นมาเพื่อใชเฉพาะดาน เชน ทําบันทึกภายใน จดหมายสมัครงาน เปนตน ซึ่งตางจากเอกสารเปลาตรงที่ Template จะมีขอความที่จาํ เปนบางอยางมาใหดวย

การ


5 2.2 การบันทึกแฟม เมื่อพิมพขอมูลเสร็จเรียบรอยแลว และตองการบันทึกลงสูดิสกสามารถทําไดตามขัน้ ตอนตอไปนี้ 1. คลิกที่ปุมรูปดิสกบริเวณ Standard Toolbars ดังรูป หรือเลือก Save จากเมนู File

2. ถาเปนการบันทึกขอมูลครัง้ แรกจะปรากฏหนาตางดังรูป

3. เลือกตําแหนงของโฟลเดอรที่ตองการบันทึกขอมูล 4. พิมพชื่อไฟลที่สวนของ File name และคลิกที่ปุม Save เพื่อบันทึกขอมูล 2.3 การสราง Folder เพื่อบันทึกแฟมขอมูลใหม กรณีที่ตองการสราง Folder ใหมขึ้นมาเพื่อบันทึกแฟมขอมูลสามารถทําไดโดยคลิกที่ จากนั้นจะปรากฏหนาตางดังภาพเพื่อใหเราตั้งชื่อ Folder ใหม จากนั้นก็ทําตามขั้นตอนการบันทึก เอกสารตามปกติ


6 3. การทํางานกับขอความ (Working with Text) 3.1 การเพิ่ม ลบ แทรกขอความ และการเปลี่ยนภาษา การเพิ่มขอความสามารถทําไดโดยการกดแปนตัวอักษรที่ตองการ หลังจากนั้นตัวอักษรนั้นก็จะ ปรากฏบนจอภาพ การลบขอความสามารถทําไดโดยกรณีขอความที่ตองการลบอยูหนาตัวบอกต่ําแหนงการพิมพ สามารถทําไดโดยกด Key Back Space ขอความหนาตัวบอกตําแหนงการพิมพจะถูกลบไป กรณีขอความที่ตองการลบอยูหลังตัวบอกตําแหนงการพิมพ สามารถทําไดโดยกด Key Delete ขอความหลังตัวบอกตําแหนงการพิมพจะถูกลบไป Delet ตัวอยาง Delet

การแทรกขอความสามารถทําไดโดยนําเคอเซอรไปวางตําแหนงที่ตอ งการแทรก แลวพิมพ ขอความทีต่ องการ ถาพิมพแลวขอความใหมทับขอความเกาแสดงวาสถานะการพิมพเปนการพิมพทับ เราสามารถเปลี่ยนสถานะการพิมพเปนพิมพแทรกไดโดยกด Key Insert Insert การเปลี่ยนภาษาสามารถทําไดโดยกด Key ′ 4. การยกเลิกและทําซ้ํา Repeat ในการใชคําสั่งใดคําสั่งหนึ่งไปแลว หากเกิดเปลี่ยนใจ ผูใชสามารถขอ Undo ยกเลิกคําสั่งไดเสมอ โดยการกดปุม Undo หรือเลือก Undo จากเมนู Edit หรือ กดปุม Ctrl+Z การขอใชคําสัง่ ที่เพิ่งถูก Undo ไปจะเรียกวาการ Redo สามารถทําทีละคําสั่งไดโดย สามารถกดปุม Ctrl+Y หรือ คลิกปุม Redo บน Toolbar หรือคลิกปุมลูกศรลงขางปุม Redo เพื่อยกเลิกคําสั่ง Undo ใดๆ 5. การเลือกขอความ การจัดรูปแบบอักษร และการปรับขนาด การเลือกขอความสั้นๆ 1. เลื่อนไปยังตําแหนงตนขอความที่จะเลือก 2. กดปุมซายของเมาสคางไว 3. ลากเมาสใหผา นขอความทีต่ องการ 4. ปลอยปุมเมาส การเลือกขอความยาวๆ (หลายบรรทัด) 1. คลิกทีต่ ําแหนงเริ่มตนขอความ 2. กดปุม Shift คางไวแลวคลิกที่ตําแหนงทายขอความ


7 เทคนิคการเลือกขอความดวยเมาส 1. นําเมาสคลิกที่หนาบรรทัด 1 ครั้ง เพื่อเลือกขอความทัง้ บรรทัด 2. ทริปเปล คลิกที่หนาบรรทัดจะเปนการเลือกขอความทัง้ เอกสาร 3. ดับเบิ้ลคลิกทีค่ ําเพื่อเลือกทัง้ คํา (Word) 6. การจัดยอหนา การเยื้อง (Indentation) ทุกๆยอหนาสามารถเยื้องได 3 แบบ คือ ดานซาย ดานขวา และบรรทัดแรก ใหยอหนาเยื้องไปทางขวา 1 แท็บในยอหนา (ปกติจะตั้งคาทุกๆ 0.5 นิ้ว) ใหเลือกยอหนาที่ตองการ ตั้งคาระยะเยือ้ ง แลวคลิกทีป่ ุม Increase Indent หรือกด Ctrl+M ใหยอหนาเยื้องไปทางซาย 1 แท็บ (ปกติจะตั้งคาทุกๆ 0.5 นิ้ว) ใหเลือกยอหนาที่ตองการตั้งคาระยะ เยื้อง แลวคลิกที่ปุม Decrease Indent หรือกด Ctrl+Shift+M สามารถใชคําสั่ง Format Paragraph เพือ่ ตั้งคาระยะเยื้องขวาสําหรับยอหนาตั้งคาบรรทัดแรกใหเยื้อง ไปทางซาย หรือตั้งคาระยะเยื้องแบบหอยใหเปนระยะอื่นๆ ดังขั้นตอนตอไปนี้ 1. เลือกยอหนาที่ตองการเยื้อง 2. เลือกเมนู Format คําสั่ง Paragraph 3. เลือกรูปแบบการเยื้องที่คําสั่ง Alignment เชน Left Centered Right 4. ตั้งคาระยะเยือ้ งไปทางขวาที่ Before text: และไปทางซายที่ After text: 5. เลือกระยะการเยื้องของ First Line (บรรทัดแรกของยอหนา) และ Hanging (บรรทัดถัดไปของยอหนา) ในสวนของ คําสั่ง Special: และกําหนดระยะที่ By: และดูผลลัพธของการทํางานไดที่ชอง Preview 7. ชองวางระหวางบรรทัด (Line Spacing) ปกติเอกสารสวนมากจะมีชอ งวางระหวางบรรทัดเทากับ 1 บรรทัด บางครั้งอาจตองการใหมีชองวาง ระหวางบรรทัดเปน 2 บรรทัดหรือ 1 บรรทัดครึ่ง โดยสามารถเลือกรูปแบบไดจากหนาจอที่ผานมาในสวนของ Line Spacing: ซึ่งประกอบดวยตัวเลือก 6 แบบ คือ Single บรรทัดตางๆ จะหางกันเทากับความสูงของฟอนต แตละบรรทัดจะขยายระยะหาง ระหวางบรรทัดใหเหมาะสมกับขนาดของฟอนตที่สูงสุดในบรรทัด 1.5 Lines บรรทั ด ต า งๆ จะห า งเท า กั บ 1.5 เท า ความสู ง ของฟอนต แต ล ะบรรทั ด จะขยาย ระยะหางระหวางบรรทัดใหเทากับ 1.5 เทาของฟอนตที่สูงสุดในบรรทัด


8 Double At Least Exactly Multiple

บรรทัดตางๆ จะหางเทากับ 2 เทาความสูงของฟอนต แตละบรรทัดจะขยายระยะหาง ระหวางบรรทัดใหเทากับ 2 เทาของฟอนตที่สูงสุดในบรรทัด บรรทัดตางๆ จะหางกันอยางนอยเทากับคาที่ตั้งคาไวในบอกซนี้ แตละบรรทัดจะขยาย ระยะหางระหวางบรรทัดใหเหมาะสมกับขนาดของฟอนตที่สูงสุดในบรรทัด แตละบรรทัดจะหางกันเทากับคาทีต่ ั้งคาไวในบอกซนี้ ฟอนตที่มีความสูงเกินบรรทัดจะ ถูกตัดสวนบนออก บรรทัดตางๆ จะหางกันเปนหลายเทาของความสูงของฟอนต แตละบรรทัดจะหางกัน เปนจํานวนเทาของคาที่ตั้งไวในบอกซ At ของขนาดฟอนตที่สูงที่สุดในบรรทัด

8. การกําหนดระยะ TAB การพิมพเอกสารที่มีขอความตรงกันเปนชวงๆ ตามแนวตั้ง ผูใ ชบางทานอาจใชการเคาะเวนวรรคในแต ละบรรทัด แลวเปรียบเทียบเอาดวยสายตาวาตรงกันหรือไม ซึ่งเปนวิธีที่ไมถูกตองเสียเวลาและแรงงานมาก ซ้ํา เอกสารที่ไดอาจไมตรงกันจริงก็ได ควรใชการตั้งระยะ Tab ไวในชวงที่ตองการใหเอกสารอยูตรงกัน เมื่อกดปุม Tab บนแปนพิมพ เคอรเซอรจะกระโดดไปรออยู ณ จุดที่ระบุ คราวนี้ไมวาจะพิมพบรรทัดใด ทุกบรรทัดจะมี ชวงเอกสารทีต่ รงกันเสมอ ลักษณะของ Tab มีดังนี้ สัญลักษณ Tab คําสั่ง ความหมาย Left-aligned เพื่อใหอักษรซายมือตรงกัน Center-aligned เพื่อใหอักษรอยูตรงกลาง Right-aligned เพื่อใหอักษรขวามือตรงกัน Decimal-aligned เพื่อใหตวั เลขมีทศนิยมตรงกัน


9 8.1 การกําหนดระยะ Tab 1. คลิกที่ปุมสัญลักษณ Tab ทางซายสุดของไมบรรทัด จนขึ้นสัญลักษณ Tab ตามที่ตองการ 2. เลื่อนเมาสไปชี้ที่ไมบรรทัดตรงระยะที่จะใส Tab 3. คลิกเมาสหนึง่ ครั้ง คลิกที่นี่

8.2 การใชระยะ Tab ที่ตั้งไว เมื่อตองการพิมพขอความใหตรงกับระยะ Tab ก็ใหกดปุม Tab ที่แปนพิมพ เคอรเซอรจะกระโดดมารอ ตําแหนงที่ไดกําหนดไวทันที การยายและลบ Tab 1. เลื่อนเมาสมาที่ระยะ Tab ที่ตองการเปลีย่ นแปลง บนไมบรรทัด 2. กดปุมเมาสคางไวจะปรากฏเสนประบอกแนวระยะ Tab 3. ถาเปนการยาย ใหเลื่อนเมาสไปทางซายหรือขวา จนตรงกับระยะที่ตอ งการ 4. ถาเปนการลบใหลาย Tab ออกมานอกไมบรรทัด 5. ปลอยปุมเมาส 8.3 การใช Tab Leader Tab Leader จะเปนตัวอักษร ที่จะใหใสแทนชองวางระหวางขอความกับระยะ Tab การตั้ง Tab Leader ทําไดโดย 1. เลือกเมนู Format หัวขอ Tabs 2. ใสระยะ Tab ที่ตองการในชอง Tab Stop position 3. ในสวนของ Alignment เลือกลักษณะของ Tab ที่ตองการ 4. ในสวนของ Leader คลิกเลือกแบบของ Tab Leader ที่ตองการ 5. คลิกปุม OK เมื่อพิมพขอความแลวกดปุม Tab ก็จะไดผลลัพธตามทีไ่ ดตั้งคาไว


10 9. การตกแตงเอกสาร 9.1 การใสพื้นหลังใหเอกสาร เปนการใสสีหรือลวดลายใหกับพื้นหลังของเอกสารใหดู สวยงาม ใชไดกับเอกสารธรรมดาและเว็บเพจ แตไมควรพิมพลง บนกระดาษเพราะจะทําใหเห็นขอความไมชัดเจน การใสพื้นหลัง ใหเอกสาร ทําไดโดย 1. เลือกเมนู Format หัวขอ Background 2. คลิกที่ชองสีพนื้ ที่ตองการ หรือ 3. คลิกที่ Fill effects เพื่อเลือกลวดลาย แลวเลือกแถบ ใดแถบหนึ่งตอไปนี้ Gradient = ไลเฉดสีจากเขมไปจางหรือจากสี หนึ่งไปอีกสีหนึ่ง Texture = ลวดลายสําเร็จรูป ตองการลวดลาย ใดใหคลิกในชองลวดลายนัน้ Pattern = ลวดลายที่สามารถเปลีย่ นแปลงได Picture = นําไฟลรูปภาพมาทําเปนพื้นหลัง เชน การทํา ลายน้ําบนกระดาษ 4. เลือกรายละเอียดในแถบที่ตอ งการ แลวคลิกปุม OK 9.2 การตีกรอบเอกสาร สามารถตีกรอบใหกับเอกสารบางสวน หรือตีกรอบเอกสารทั้งหนาได 1. เลือกขอความที่ตองการตีกรอบ ถาตองการตีกรอบทั้งหนาไมตองเลือกสิ่งใด 2. เลือกเมนู Format หัวขอ Border and Shading 3. ถาจะตีกรอบเอกสารบางสวน คลิกแถบ Border หรือถาจะตีกรอบทั้งหนาคลิกแถบ Page Border 4. ในสวนของ Setting คลิกทีแ่ บบของกรอบที่ตองการ 5. เลือกแบบ, สี และความหนา ของเสนกรอบจากชอง Style, Color และ Width 6. ถาไมชอบกรอบในขอ 5. ใหเลือกกรอบเปนรูปภาพแทนไดในชอง Art (มีเฉพาะในแถบ Page Border)


11 7. คลิก OK

9.3 การจัดรูปแบบตัวอักษร 1. เลือกสวนของขอความที่จะจัดรูปแบบ 2. จากเมนู Format เลือกคําสั่ง Font 3. กําหนดแบบอักษรจาก Font และทําการเลือก แบบตัวอักษร (แนะนําใหใช Font ที่ลงทายดวย New เชน Browallia New), Font Style, Size, Color, Underline, Effects โดยดูตัวอยางของ คาที่เลือกไวในสวนของ Preview

การจัดรูปแบบตัวอักษรโดยใช Formatting toolbar 1. เลือกขอความที่ตองการเปลีย่ นรูปแบบ โดยปายแถบสีขอความทีต่ องการ 2. ทําการเลือกแบบตัวอักษรทีต่ องการ การกําหนดตัวอักษรตัวเขม ตัวเอียง และตัวขีดเสนใต สามารถทําไดโดยคลิกที่ปุมตางๆ ดังรูปตอไปนี้ โดย B หมายถึงตัวเขม I หมายถึงตัวเอียง และ U หมายถึงตัวขีดเสนใต การจัด Alignment การจัด Alignment คือการจัดรูปแบบของขอความวาเราตองการใหขอความนั้นมีลักษณะอยางไร เชนชิด ซาย อยูกึ่งกลางหนากระดาษ ชิดขวา หรือเปนแบบที่ชดิ ทั้งซายและขวา


12 การจัด Alignment จะมีผลทั้ง Paragraph ของขอความ โดยไมจําเปนตองปายแถบสี สามารถทําไดโดย ชิดซาย ชิดขวา กําหนดระยะหางระหวางตัวอักษร คลิกที่ปุมดังรูปตอไปนี้ ระยะหางระหวางบรรทัด กึ่งกลาง

ซายและขวาเทากัน

9.4 การใช Bullets และ Numbering การสรางเอกสารที่มีลักษณะเปนหัวขอ หัวขอ ยอย และลําดับเลขนั้น สามารถเลือกรูปแบบในการ จัดการไดโดยอัตโนมัติ โดยคลิกที่เมนู Format เลือก คําสั่ง Bullets and Numbering

9.5 การใชอักขระพิเศษ 1. เลื่อนเคอรเซอรไปยังตําแหนงที่จะใส อักขระพิเศษ 2. จากเมนู Insert เลือกคําสั่ง Symbol 3. เลือกชุดอักขระพิเศษ จากสวนของ Font ใน Tab Sheet Symbol 4. เลือกอักขระทีต่ องการ และกดปุม Insert

10. การทํางานกับรูปภาพ 10.1 การแทรกรูปภาพ การนํารูปภาพจากแฟมขอมูลอื่นมาใสลงในเอกสาร 1. จากเมนู View เลือกคําสั่ง Page Layout เพื่อเปลี่ยนมุมมอง เอกสาร 2. จากเมนู Insert เลือกคําสั่ง Picture และเลือก From File 3. เลือก Drive, Folder และเลือกชื่อไฟลรปู ภาพที่ตองการ และกด ปุม Insert การใชรูปภาพจาก ClipArt Gallery 1. จากเมนู Insert เลือกคําสั่ง Picture และเลือก Clip Art


13 2. สวนของ Task Pane ก็จะเปนสวนของ Insert Clip Art คลิกที่คําสั่ง Clip Organizer จะปรากฏวินโดว Microsoft Clip Organizer 3. วินโดว Microsoft Clip Organizer ดานซายมือจะมี Collection List ใหเลือก เมื่อเปดวินโดวนี้ขึ้นมาครั้ง แรกจะอยูในสวนของ My Collections List ใหปดสวนนีโ้ ดยคลิกที่สัญลักษณ 4. คลิกสัญลักษณ + ที่สวนของ Office Collections จะปรากฏโฟลเดอรที่เก็บ Clip Art เปน หมวดหมู 5. ผูใชคลิกที่ชื่อโฟลเดอรที่ตองการ ดานขวามือจะมีภาพ Clip Art ใหเลือกตามตองการ โดยการนําเมาสชี้ ที่ภาพจะปรากฏลูกศรเล็กขึ้นมา ใหคลิกเลือกคําสั่ง Copy หรือจะใชวิธีคลิกที่ภาพ ลากเมาสเพือ่ นํา ภาพนั้นไปวางที่สไลดที่เปดอยูไดเชนกัน 6. กลับไปที่สไลดที่เปดใชงานอยู ไปที่ Menu Edit คลิกทีค่ ําสั่ง Past ภาพที่เลือกไวกจ็ ะแสดงขึ้นมา 7. ถาผูใชตองการเลือกรูปภาพอื่นอีก ใหกลับไปทีว่ ินโดว Microsoft Clip Organizer และทําขั้นตอนเดิม _


14 10.2 การจัดขอความรอบรูปภาพ 1. คลิกเลือกรูปภาพที่เราตองการ 2. คลิกเมาสขวาที่รูปภาพ หรือ เลือก Picture จาก เมนู Format 3. เลือก Tab Sheet Layout 4. กําหนด Wrapping Style โดยคลิกเลือก รูปแบบที่ตองการ เชน ถาเปนแบบ Square ขอความก็จะอยูลอมรอบรูปภาพเปนกรอบ สี่เหลี่ยม กดปุม OK 5. นําภาพไปวาง ณ ตําแหนงที่ตองการ

หรือจะเลือกใชจาก Tool bar ก็ทําไดเชนเดียวกัน โดยคลิกรูปภาพที่เราตองการ จะมี Tool bar Picture ปรากฏที่หนาจอ (ในกรณีที่ไมพบ Tool bar ดังกลาว ให คลิกที่เมนู View คลิกคําสั่ง Toolbars เลือก Picture) คลิก ปุม Text Wrapping และเลือกรูปแบบของการ Wrapping จากกนั้นนําภาพไปวาง ณ ตําแหนงของขอความทีต่ องการ

10.3 การใสคําอธิบายเฉพาะภาพ (Caption) ผูใชสามารถกําหนดคําอธิบายแตละภาพไดดังนี้ 1. คลิกเลือกภาพที่ตองการใสคําอธิบาย 2. คลิกขวาจะปรากฏเมนูยอย คลิกเลือกคําสัง่ Caption 3. กําหนดขอความที่ตองการโดยคลิกที่ปุม New Label 4. กําหนดรูปแบบของตัวเลขเพื่อแสดงลําดับของ ภาพ คลิกปุม Numbering 5. กําหนดตําแหนงของคําอธิบายอยูในสวนของ Position:


15 11. การใชกลองขอความ 1. ที่ Toolbar drawing คลิกทีป่ ุม 2. วางเคอรเซอรลงตําแหนงทีต่ องการวางกลองขอความ และทําการพิมพขอความลงในกลองขอความ 3. ทําการตกแตงเอกสารจาก Toolbar drawing 12. การทํางานกับตาราง ขั้นตอนการสรางตาราง • จากเมนู Table เลือกคําสั่ง Insert เลือก Table • กําหนดจํานวน column และ row ตามตองการ (เลือก 3 column 2 row) กดปุม OK หรือ ใช Standard Toolbar การแทรกแถว • วางตัวบอกตําแหนงการพิมพไวระหวางแถวที่ ตองการแทรก • จากเมนู Table เลือกคําสั่ง Insert เลือก Rows Above หรือ Rows Below การแทรกคอลัมน • วางตัวบอกตําแหนงการพิมพไวระหวางคอลัมนที่ตองการแทรก • จากเมนู Table เลือกคําสั่ง Insert เลือก Columns to the Left หรือ Columns to the Right การเลื่อนไปยังแตละเซลล • Tab เลื่อนไปทางขวาทีละเซลล • Shift+Tab เลื่อนไปทางซายทีละเซลล • ปุมลูกศรทั้งสี่ เลื่อนไปตามทิศทางของลูกศรนั้น หากขอความในเซลลมคี วามยาวมาก ตารางจะปรับขึ้นบรรทัดใหเองหรือกด Enter เพื่อขึ้นบรรทัดใหม ภายในเซลลเมื่อตองการ การลบเซลล • เลือกเซลลทตี่ อ งการลบ • จากเมนู Table เลือกคําสั่ง Delete Cells เลือกรูปแบบที่ตองการลบ ลบ Cell ณ ตําแหนงนั้น และ Cells ดานซายจะเลื่อนเขามาแทนที่ ลบ Cell ณ ตําแหนงนั้น และ Cells ดานลางจะเลื่อนเขามาแทนที่ ลบทั้งแถวที่เลือกไว ลบทั้งคอลัมนที่เลือก


16 การใสเสนตาราง เสนขอบและแรเงา • อยูที่เซลลใดเซลลหนึ่งในตาราง • จากเมนู Format เลือกคําสั่ง Borders and Shading

การเรียงลําดับขอมูลในตาราง • เลือกขอมูลในตารางทีต่ องการจะเรียง หรือคลิกที่เซลลใดเซลลหนึ่งในตาราง • จากเมนู Table เลือกคําสั่ง Sort

การคํานวณในตาราง เวิรดจะมองตําแหนงในตารางเปนเซลล เชนเดียวกับ Excel โดยใชวธิ ีการเรียกชื่อเซลลเชนเดียวกันเชน A1, A2, B1, B2 การใชงานสามารถทําไดตามขั้นตอนดังนี้ • วางตัวบอกตําแหนงการพิมพในเซลลที่จะแสดงผลการคํานวณ • จากเมนู Table เลือกคําสั่ง Formula


17 • กดปุม OK สูตรสําหรับการหาผลรวม

การเปลี่ยนตารางไปเปนขอความทั่วไป • เลือกแถวของตารางทีต่ องการจะเปลี่ยน • จากเมนู Table เลือกคําสั่ง Convert Table to Text • เลือกเครื่องหมายแบงขอความ • กดปุม OK การเปลี่ยนขอความทั่วไปเปนตาราง • เลือกขอความที่ตองการทําเปนตาราง • จากเมนู Table เลือกคําสั่ง Convert Table to Text • กําหนดจํานวนคอลัมนของตารางทีต่ องการ • อาจเลือกรูปแบบตารางจากปุม AutoFormat • กดปุม OK


18 การวาดตารางขึ้นเอง • จากเมนู Table เลือกคําสั่ง Draw Table หรือ คลิกที่ไอคอน • เลือกลักษณะ, ขนาด, และสีของเสนจากไอคอนบน Tables and Borders Toolbar คลิกที่ ไอคอน บน Tables and Borders Toolbar หากคลิกที่ปุมแลวเมาสจะเปลีย่ นเปนรูปปากกา ไปยังตําแหนงที่จะ วาดตาราง แลวลากเมาสทแยงลงเพื่อสรางกรอบของตาราง แบงแถว และคอลัมนในตาราง โดยการ ลากเมาสไปตามแนวและตําแหนงที่ตองการ แบงแถวหรือคอลัมนตอไปจนเสร็จ แลวคลิกที่นอกตาราง การปรับแตงตาราง • เลือกสวนของตารางที่จะปรับ • เลือกจากไอคอนตางๆ บน Tables and Borders Toolbar ลักษณะของเสน

ความหนาของเสน

จัดตําแหนง รวมเซลล ขอความ

เสนขอบ

ใสสี

แยกเซลล

ปรับทิศทาง ขอความ เรียงขอมูล

แบงแถว หรือคอลัมน เทาๆกัน

รูปแบบตาราง อัตโนมัติ หาผลรวม

13. การจัดรูปแบบชั้นสูง การแบงเอกสารใหเปนคอลัมน เอกสารแบบคอลัมน ไดแก หนังสือพิมพ หรือโบรชัวรตา ง ๆ ซึ่งเอกสารจะถูกแบงออกเปนหลายๆ ชวงตอ หนึ่งหนา ทําใหอานงาย โปรแกรมไดสรางคุณสมบัตินมี้ าเพื่อใหผูใชกรอกขอความตอเนื่องกันไปเรื่อย ๆ ทีละ ชวงในหนึ่งหนา ไมตองเสียเวลาในการกะเวนชวงระยะระหวางคอลัมน การแบงคอลัมนเอกสาร • เปดเอกสารทีต่ องการแบงคอลัมน • คลิกปุม Columns บนทูลบาร • กดปุมเมาสคางไวแลวลากใหเทากับจํานวนคอลัมนทเี่ ลือก • ปลอยปุมเมาส หรือ • จากเมนู Format เลือกคําสั่ง Column • ในหัวขอ Number of Column ใหใสจํานวน Column ที่ตองการ • เลือก OK


19

การจัดคอลัมนหลายแบบในเอกสารเดียวกัน • เลือกยอหนา หรือสวนของเอกสารที่ตองการจะจัดคอลัมน • จากเมนู Format เลือกคําสั่ง Column • ในสวนของ Apply to ใหเลือก Selected text หรือ Selected sections • เลือก OK การปรับปลายขอความทุกคอลัมนใหยาวเทากัน ในกรณีที่จัดคอลัมนแลว ปรากฏวา คอลัมนทายสุดมีจํานวนบรรทัดนอยกวาคอลัมนอื่นๆมาก อาจจะปรับ ใหจํานวนบรรทัดของแตละคอลัมนเทากัน หรือใกลเคียงกันที่สุดได โดยทําตามขัน้ ตอนดังนี้ • วางตัวบอกตําแหนงการพิมพตอนทายของขอความที่จะปรับ • จากเมนู Insert เลือกคําสั่ง Break • ในสวนของ Section breaks ใหเลือก Continuous • เลือก OK • หากยังไมเทากันใหทําซ้ําอีกครั้ง การยกเลิก หรือปรับเปลีย่ นคอลัมน • เลือกขอความทั้งหมดในคอลัมน • คลิกปุม Columns บนทูลบาร • กดปุมเมาสคางไว แลวลากเลือกเพียงหนึง่ คอลัมน 14. การใสเชิงอรรถ และอางอิงทายเรื่อง (Footnote) เชิงอรรถ เปนสวนทีใ่ ชในการขยายความของคําหรือสวนใด ๆ ของเนื้อความในเอกสาร การใสเชิงอรรถ วางตัวบอกตําแหนงการพิมพ ในตําแหนงที่จะใสเครื่องหมาย อางอิงเชิงอรรถ • จากเมนู Insert เลือกคําสั่ง Reference เลือก Footnote


20 • เลือกวาจะใส Footnote ซึ่งใสไวดานลางของหนา หรือ Endnote ซึ่งใสไวทายเอกสาร แลวเลือก ตําแหนงการจัดวาง • เลือกลักษณะการอางอิงเชิงอรรถวา จะใสเปนเลขลําดับเรียงกัน หรือกําหนดเปนเครื่องหมายเอง ซึ่ง อาจเลือกจากปุม Symbol • เลือก Insert การลบเชิงอรรถ • เลือกเครื่องหมายอางอิงเชิงอรรถที่ตองการจะลบ ในสวนของเนื้อความ • กดปุม Delete การคัดลอกเชิงอรรถ • เลือกเครื่องหมายอางอิงเชิงอรรถที่ตองการจะคัดลอก • เมนู Edit เลือกคําสั่ง Copy • วางตัวบอกตําแหนงการพิมพ ในตําแหนงที่จะใสเชิงอรรถ • เมนู Edit เลือก Paste 15. การจัดแบงเอกสารออกเปนสวนๆ (Sections) เมื่อเริ่มสรางเอกสารใหม จะยังไมมีการแบงสวนใดๆ เพราะเวิรดถือวาเอกสารทั้งหมดเปนหนึ่งสวน แต อาจจะแบงเอกสารออกเปนสวนๆเมื่อมีการจัดบางสวนของเอกสารใหแตกตางไป เชน เปลี่ยนระยะขอบ ขนาด กระดาษ จัดจํานวนคอลัมนใหม การพิมพเลขบรรทัด เปลี่ยนรูปแบบ ตําแหนง และลําดับของเลขหนา แตละสวน ของเอกสารที่กําหนดนี้ อาจสั้นเทากับยอหนาเดียว หรือยาวเทากับเอกสารทั้งหมดเลยก็ได เมื่อ มีการแบงเอกสารออกเปนสวนๆ เวิรดจะแยกแตละสวนดวย Section Break ซึ่งจะปรากฏเปนเสนประคู (Double dotted line) ขวางหนาจอในมุมมองปกติ ดังรูปดานลาง

การแบงสวนเอกสาร (Section break) • วางตัวบอกตําแหนงการพิมพในบรรทัดทีจ่ ะแบงสวน • จากเมนู Insert เลือกคําสั่ง Break • ในสวนของ Section Breaks เลือก Next page เมื่อจะใหนําสวนถัดไปนี้ ไปพิมพในหนาถัดไป


21 Continuous เมื่อจะใหนําสวนถัดไปนี้ ไปพิมพตอในหนาเดียวกับสวนกอน Even Page เมื่อจะใหนําสวนถัดไปนี้ ไปพิมพในหนาคูถัดไป Odd Page เมื่อจะใหนําสวนถัดไปนี้ ไปพิมพในหนาคี่ถัดไป • เลือก OK 16. การตั้งคาหนากระดาษ • เลือก Page Setup จากเมนู File • เลือก Margins เพื่อกําหนดระยะขอบกระดาษ (Margins) และกําหนดลักษณะการพิมพ (Orientation)

• เลือก Paper เพื่อกําหนดขนาดกระดาษ (Paper size)


22 17. การแทรกเลขหนา • เมนู Insert เลือก Page Numbers. • เลือก Position และ Alignment • เลือกรูปแบบของเลขหนา โดยเลือกปุม Format

18. Headers และ Footers Headers (หัวกระดาษ) และ Footers (ทายกระดาษ) เปนขอความซึง่ กําหนดไวสําหรับใหพิมพในทุก ๆ หนา นอกเหนือจากเนื้อความในเอกสาร สามารถกําหนดใหเปนขอความ ชื่อหนังสือ ชื่อบท เลขหนา หรือ ขอมูลอื่น ๆ ไดตามตองการ การใส Headers และ Footers • เลือกเมนู View หัวขอ Headers และ Footers • กรอบเสนประ เปนกรอบแสดงและจัดตําแหนง Header และ Footer ซึ่งการจัดจะทําเชนเดียวกับการ จัดวางขอความในเอกสารตามปกติ • ที่วินโดว Header and Footer มีปุมควบคุม ดังนี้ Insert AutoText เลือกขอความสําเร็จรูป แทนการพิมพ Insert Page Number ใสเลขหนา Insert Number of Pages ใสจํานวนหนาทั้งหมดของเอกสาร Format Page Number กําหนดรูปแบบเลขหนา Insert Date แทรกวันที่ Insert Time แทรกเวลา Page Setup กําหนดรูปแบบของหนากระดาษ Show/Hide Document Text แสดง หรือ ซอนขอความของเอกสาร Same as Previous ลอกมาจาก Section กอนหนานี้ Switch กระโดดไปมาระหวาง Headers หัวขอ Footers Show Pervious กลับไป Section กอนหนานี้ Show Next ไปยัง Section ถัดไป Close ปดวินโดว Header และ Footers


23 • ปอนขอความที่จะทําเปน Header หรือ Footer ลงในเสนประ • ถาตองการแทรกเลขหนา วันที่ และเวลา ใหคลิกทีป่ ุมบนวินโดว Header และ Footer ไดเลย • เมื่อปอนจบใหคลิกที่ปุม Close เพื่อกลับมาที่เอกสารการพิมพขอมูลทางเครื่องพิมพ

การดูเอกสารกอนพิมพ • เมนู File เลือกคําสั่ง Print Preview หรือเลือกไอคอน • แถบเครื่องมือที่เพิ่มขึ้นมา จะมีไอคอนตางๆ ดังนี้ เริ่มพิมพ

เริ่มพิมพ

ปรับขนาดของหนา ปรับใหพอดีหนา

บน Standard toolbar ออกจากการดู เอกสารกอนพิมพ

ดูแบบยอ ขยาย ดูทีละหลายหนา แสดงไมบรรทัด ดูแบบเต็มจอ

19. การพิมพเอกสารทางเครือ่ งพิมพ • เมนู File เลือกคําสั่ง Print • กําหนด Page range (ชวงหนาที่ตองการพิมพ) และกําหนด Number of Copies (จํานวนชุดทีต่ องการ สําเนา) • คลิกที่ ปุม OK


24 20. การบันทึกเอกสารเปนเวอรชั่น (Version) ผูใชงานสามารถบันทึกไฟลเดิมที่ถูกแกไขทีละชวงไวในแตละเวอรชนั ได เมื่อสิ่งที่แกไขใหมไมดี ไม ถูกใจ ก็สามารถเปดไฟลในชวงของการแกไขกอนหนานี้ชวงใดก็ไดขนึ้ มาทํางานตอไดเลย โดยไมตองไปจดจํา วาไดเพิ่มหรือลบสิ่งใดไปบาง การบันทึกไฟลหลายเวอรชนั ทําไดโดย 1. คลิกเมนู File เลือกคําสั่ง Versions 2. คลิกที่ปุม Save Now... และใสรายละเอียด หมายเหตุ หรือลําดับเวอรชั่นของไฟลที่จะสื่อใหทราบ แลวคลิก OK

เลือก เวอรชันไฟล หลังจากบันทึกไวในหลายเวอรชั่นแลวถาตองการเปดไฟลในเวอรชนั่ ที่ตองการใหทําดังนี้ 1. เปดไฟลที่มีหลายเวอรชันขึน้ มาบนหนาจอ 2. คลิกเมนู File เลือกคําสั่ง Versions จะปรากฏหนาจอใหม ใหคลิกเลือกเวอรชั่นทีต่ องการเปด และ คลิกปุม Open


25 21. การบันทึกเอกสารเปนเว็บเพจ (Web Page) มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. เปดไฟลทตี่ องการบันทึกเปนเว็บเพจ คลิกที่เมนู File เลือกคําสั่ง Save as Web Page 2. กําหนด Title ของเว็บ โดยคลิกที่ปุม Change Title และพิมพขอความที่ตองการ 3. กําหนดชื่อไฟลและคลิกปุม Save

22. การแทรกไฟลเอกสาร ผูใชสามารถแทรกไฟลเขามาในเอกสารที่กาํ ลังทํางานอยูในขณะนั้นไดโดย 1. คลิกที่เมนู Insert เลือกคําสั่ง File 2. หลังจากนั้นจะปรากฏหนาจอใหเลือกไฟลทตี่ องการแทรก และคลิกปุม OK


26 23. การสรางจดหมายเวียน (Mail Merge) จดหมายเวียน คือ จดหมายที่มีขอความเดิมซ้ําๆ กันทุกฉบับ โดยจะมีเฉพาะบางสวนของจดหมาย เทานั้นที่มีความแตกตาง เชน จดหมายเชิญผูเขารวมสัมมนาซึ่งเนื้อหาของจดหมายจะมีขอความเชิญ ประชุมเหมือนกันทุกฉบับ แตการจาหนาซองแตละฉบับจะแตกตางกัน 1. สรางเอกสารใหมเพื่อพิมพจดหมายหลัก โดยเวนชื่อผูรบั จดหมาย หลังจากนั้นคลิกเมนู Tools> Letters and Mailings> Mail Merge Wizard จะปรากฏหนาตาง Mail Merge ดานขวามือ 2. พิมพรายชื่อผูรับจดหมาย ซึ่งหากยังไมไดสรางรายชื่อไว ใหคลิกสวนของ Select recipients ที่ปุม Type a new list 3. สวนของ Type a new list คลิกคําวา Create เพื่อพิมพ รายชื่อผูรับจดหมาย


27


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.