IT-Teleconference

Page 1

Teleconference ISDN/ADSL


teleconference การประชุมทางไกล คือ การประชุมที่ผูเขารวมประชุมอยูกันคนละสถานที่โดยอาจอยูตางเมือง หรือตางประเทศก็ได แตสามารถประชุมรวมกันและมีปฏิสัมพันธโตตอบกันได โดยใชอุปกรณโทรคมนาคม อุปกรณที่ใชอาทิเชน ลําโพง เครื่องขยาย เสียง จอภาพคอมพิวเตอร เครื่องอานพิกัดภาพ และโทรศัพท เปนตน การสง ขอความและภาพสามารถสงไดทั้งทางสายโทรศัพท คลืน่ ไมโครเวฟ และการ สงสัญญาณผานดาวเทียม โดยการบีบอัดภาพและขอความไปยังสถานที่ ประชุมตางๆ ไดในชั่วพริบตา ทําใหผูเขารวมประชุม สามารถเห็นภาพและขอความตางๆ เพื่ออภิปรายรวมกันได


Video Teleconference คือ ระบบการติดตอสื่อสารทางอินเตอรเนตที่จัดเปนนวัตกรรมใหม มี ประสิทธิภาพสําหรับการประยุกตใชงานตาง ๆ มากมาย ไมวาจะเปน ดานการศึกษาที่สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางหองเรียนซึ่งอยู คนละประเทศได ซึ่งสรางความสะดวกใหกับวิทยากร ไมตองเสียเวลา ในการเดินทางและชวยประหยัดคาใชจายในสวนของคาเดินทาง คาที่พัก คาเบี้ยเลี้ยง เปนตน


การสื่อสารผาน Teleconference


หองประชุมทางไกลผาน Teleconference


การประชุมผาน Teleconference


การศึกษาทางไกล การศึกษาทางไกลเปนระบบการเรียนการสอนที่ผูเรียนและผูส อนอยู ไกลกัน แตสามารถจะมีกิจกรรมการเรียนการสอนรวมกัน โดยจะใชสื่อ ประสมตางๆที่เปนพื้นฐาน เชน สื่อไปรษณีย วิทยุกระจายเสียง วิทยุ โทรทัศน การสอนเสริม สื่อบุคคล และนอกจากนั้น จะมีการใชเทคโนโลยี ใหมๆ รวมดวย เชน ระบบสื่อสารโทรคมนาคม (Telecommunication) ดาวเทียมไทยคม และเครือขายคอมพิวเตอร (Internet) เปนตน ผูเรียนจะ สามารถเรียนรูไดดวยตนเองที่บานจากสื่อตางๆ


การศึกษาทางไกลนั้นจะมุงเนนใหผูเรียนที่อยูตามตางจังหวัดหรือผูที่อยู หางไกลในชนบท ไดมีโอกาสทางการศึกษาเทาเทียมกับผูเรียนที่อยูในเมือง หลวง โดยพวกเขาเหลานั้นสามารถศึกษาเลาเรียนดวยตัวเองอยูกับบานหรือ ในทุกที่ที่มีความสะดวกในการจะเรียนรูดวยตนเอง โดยไมตองมาเขาชั้น เรียนตามปกติ ซึ่งเปนการมุงใหเกิดความเสมอภาคและเปนการกระจาย โอกาสไปสูทองถิ่น นอกจากนั้นการศึกษาทางไกลยังเปนการจัดการเรียนรู ตลอดชีวิต ซึ่งจะสามารถสงเสริมการจัดการศึกษาในระบบ การศึกษานอก ระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยไดอยางกวางขวางอีกดวย


ชนิดของ Teleconference • Teleconfernce แบงออกเปน ชนิด คือ Audio,Video,Computer และ Document หรือแบบใหมลาสุดคือ Personal video conference • Audio Conference คือการประชุมระหวางบุคคลทีอ่ ยูในสถานที่หางไกล โดยการ ใชโทรศัพท การประชุมแบบนีง้ ายตอการใชงาน เพียงใชระบบโทรศัพทติดตอกน คน หรือการใชโทรศัพทเปนกลุมก็ได • Video teleconference ปกติเราเรียกวา Video Conferencing อุปกรณที่ใชมี กลอง ถายภาพ จอภาพ ตามสถานที่ประชุมเพื่อตองการเห็นภาพและไดยินเสียงขณะ กําลังประชุม การใชงานจะตองมีหองทํางานของ Video conference เปนพิเศษ • Computer Teleconference จะใชคียบอรดในการสงขอมูล ระหวางผูใช หรือมีการเชื่อมตอเทอรมินอล ผานเครือขาย คอมพิวเตอร


• Document conference เปนการประชุมระยะไกลไมเพียงแคเห็นภาพและไดยิน เสียงยังเห็นเอกสารที่เปนตัวหนังสือหรือเปนเอกสารฟตในเวลาเดียวกัน ทําใหเรา เห็นวาระบบนี้สามารถสงเอกสารถึงกันได • Personal video conference เปนการพัฒนาระบบที่ใหมที่สุด หรือเรียกวา Deaktop Video conference ประกอบดวย Video conference กับคอมพิวเตอร แบะ เอกสารที่สําหรับใชในการประชุม โดยที่ผูใชนั่งอยูกับไมโครคอมพิวเตอรและ เชื่อมตอกับเครือขายคอมพิวเตอร หรือสายโทรศัพทที่เรียกวา ISDN ซึ่ง ISDN เปนระบบเครือขายดิจิตอลเรียกวา Intergrated Services Digital Network การ ทํางานแบบนี้เปนการทํางานหรือการประชุมแบบ ทิศทาง (Two way voice)


สรุป กลาวโดยสรุป งานสํานักงานในอนาคต จะตองบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศ ชนิดตาง ๆ เขาดวยกัน อาทิ เทคโนโลยีการประชุมทางไกลดวยภาพและเสียง (Video Teleconference) การประมวลคํา การประมวลผลขอมูล ฯลฯ เพื่อสนับสนุนงานดาน การบริหาร อีกทั้งมีการประยุกตใชคอมพิวเตอรอยางแพรหลายในองคกรธุรกิจ ทั้ง ขนาดเล็กและขนาดใหญ บุคลากรทุกระดับในองคกรจะสามารถใชคอมพิวเตอร และ เทคโนโลยีสารสนเทศอื่น ๆ ไดทุกคน


ISDN ISDN ยอมาจาก Integrated Service Digital Network คือ บริการ สื่อสารรวม ซึ่ง สามารถรับสงสัญญาณเสียง ขอมูล และภาพ โดยระบบดิจิตอล ซึ่งมีความเร็วสูง และ คุณภาพในการรับสงขอมูล ที่มีประสิทธิภาพมากกวา การสื่อสารใน ระบบธรรมดา บริการอินเทอรเน็ต ผานคูสาย ISDN เปน อีกหนึ่ง บริการจาก CS LoxInfo ซึ่งชวยให ผูใชบริการ เชื่อมตออินเทอรเน็ต ดวยการหมุนโทรศัพท ผานคูสาย ISDN ซึ่งมีความเร็ว สูงถึง 64 kbps ถึง 128 kbps การเชื่อมตออินเทอรเน็ต ผานคูสาย ISDN ดังกลาว จะชวย ใหความเร็วในการเชื่อมตอ สูงขึ้น เนื่องจากคูสาย ISDN มีวงจรที่ สามารถ รับสงสัญญาณ ภาพ เสียง และ ขอมูลภาพ ตัวอักษร ไดถึง 2 วงจร หรือ 2 Sessions ที่ความเร็ว 64 Kbps ตอวงจร ใหความเร็วในการรับ-สง ขอมูล นั้น รวดเร็วยิ่งขึ้น อีกทั้งความสม่ําเสมอในการ รับ-สง ขอมูล มีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น เนื่องจากโครงขาย ISDN เปนระบบดิจิตอล ทั้งหมด การรับสง ขอมูล ผานอินเทอรเน็ตจึงไมตองมีการเปลี่ยนแปลงสัญญาณ จากระบบอนาล็อก เปนระบบดิจิตอล ทําใหสัญญาณรบกวน ของคูสายลดลง


ISDN เหมาะสําหรับใคร ? • ผูใชบริการ CS LOXINFO ISDN สามารถเลือกใชบริการอินเทอรเน็ตโดยใชสาย ISDN และ สามารถเลือกระบบเชื่อมตอได 2 รูปแบบ คือ - Individual ISDN: เหมาะสําหรับผูที่ตองการเชื่อมตออินเทอรเน็ตดวยความเร็ว สูง เพื่อการใชงานภายในบาน หรือองคกร ที่ไมมีระบบ LAN - LAN ISDN: เหมาะสําหรับ องคกรที่ตองการให ผูใชหลายคนที่อยูในวง LAN เดียวกัน สามารถเชื่อมตอ อินเทอรเน็ตพรอมกัน โดยเชื่อมผานคูสาย ISDN เพียง สายเดียว นอกจากนี้ ผูใชงานอินเทอรเน็ตในองคกร สามารถมี E-mail Address ซึ่งมี Domain Name เปนชื่อองคกรของทาน เชน yourname@yourcompany.com หรือ yourname@yourcompany.co.th


ประโยชนของ ISDN • ความเร็วในการเชื่อมตออินเทอรเน็ตสูงถึง 128 kbps. • สามารถใชบริการอินเทอรเน็ตเต็มรูปแบบ เชน E-mail, WWW, IRC, FTP, Gopher, Usenet News, ฯลฯ • สามารถใชบริการเสริม International Roaming • สามารถใชบริการผาน Node ISDN ของ CS LOXINFO ไดถึง 11 จังหวัด (ไมรวม กรุงเทพฯ และปริมณฑล) และ 1248 ในจังหวัดอื่น ๆ • บริการหลังการขาย จากทีมงานของ ซีเอส ล็อกซอินโฟ ที่มีความเชี่ยวชาญ ให คําปรึกษา พรอมใหความชวยเหลือ ทุกวันตลอด 24 ชั่วโมง


อุปกรณทจี่ ําเปนสําหรับ ISDN • • • •

คอมพิวเตอร (PC หรือ Macintosh) ISDN MODEM (Terminal Adapter) หรือ ISDN Router สําหรับ LAN ISDN คูสาย ISDN พรอม NT (Network Terminal) ระบบ LAN และ Hub (สําหรับ LAN ISDN)


ADSL ADSL คือ เทคโนโลยีการสื่อสารขอมูลความเร็วสูง บนขายสาย ทองแดง หรือคูสายโทรศัพท ADSL เปนเทคโนโลยีในตระกูล xDSL โดยมี ลักษณะสําคัญคืออัตราการเร็วในการรับขอมูล (Downstream) และอัตราการ เร็วในการสงขอมูล(Upstream) ไมเทากัน โดยมีอัตรารับขอมูลสูงสุดที่8 Mbps. และอัตราการสงขอมูลสูงสุดที่ 1Mbps โดยระดับความเร็วในการ รับ-สง ขอมูลจะขึ้นอยูกับ ระยะทาง และคุณภาพของคูสายนั้นๆ


เทคโนโลยี ADSL มีเทคนิคการเขารหัสสัญญาณ ซึ่งจะแบงยานความที่บนคูสาย ทองแดง ออกเปน 3 ชวงคือ ชวงความถี่โทรศัพท (POTS) ชวงความถีข่ องการสงขอมูล (Upstream) ชวงความถีใ่ นการรับขอมูล(Downstream) จึงทําใหสามารถสงขอมูล และ ใชโทรศัพทไดในเวลาเดียวกัน


เทคโนโลยี ADSL พัฒนาใหใช TCP/IP Protocol เปนหลัก ซึ่งเปน Protocol ที่ใช บนเครือขาย Internet และพัฒนาบนพื้นฐานของเทคโนโลยี ATM ทําให ADSL สามารถ รองรับ Application ในดาน Multimedia ไดเปนอยางดี ADSL เปนเทคโนโลยีโมเด็มแบบใหมที่สามารถเปลี่ยนแปลงคูสายโทรศัพทที่ เปนแบบสายคูตีเกลียวที่มีอยูเดิม ใหกลายเปนเสนทางเขาถึงมัลติมีเดียและการสื่อสาร ขอมูลดวยความเร็วสูงได โดย ADSL สามารถสื่อสารดวยความเร็วกวา 6 Mbps ไปยัง ผูใชบริการ และไดเร็วถึงกวา 640 Kbps ในสองทิศทาง ซึ่งอัตราความเร็วดังกลาวชวยเพิ่ม ประสิทธิภาพความจุของสายโทรศัพทแบบเดิมไดกวา 50 เทา โดยไมตองลงทุนวางสาย เคเบิลใหม ADSL สามารถแปลงโครงขายขอมูลขาวสารพื้นฐานที่มีอยูจากที่เคยจํากัดเพียง การใหบริการดานเสียง ขอความ และกราฟกที่มีรายละเอียดไมมากใหกลายเปน ระบบที่มีประสิทธิภาพสูง ใชไดกับมัลติมีเดีย รวมทั้งการสงภาพเคลื่อน ไหวที่สมบูรณแบบไปยังบานเรือนตางๆ ในทศวรรษนี้ไดอยางแพรหลาย


วงจร ADSL เกิดขึ้นดวยการตอ ADSL modem เขาที่ปลายแตละดานของคู สายโทรศัพทที่เปนสายคูตีเกลียว ทําใหเกิดเปนชองสื่อสารขอมูล (Information channel) ขึ้น 3 ชอง คือชองสําหรับดาวนสตรีม (Downstream) ความเร็วสูง ชองสงดูเพล็กซ (Duplex) ความเร็วปานกลาง และชองสําหรับใหบริการโทรศัพทแบบเดิม (POTS) ทั้งนี้ ชองบริการโทรศัพทแบบเดิมจะถูกแยกออกจากดิจิตอลโมเด็มดวยฟลเตอร จึงมั่นใจได วาการสนทนาทางโทรศัพทตามปกติจะไมมีการถูกตัดหรือกระทบกระเทือนแตอยางใด แมอุปกรณ ADSL จะมีปญหาหรือขัดของ


การทํางานของ ADSL หลักการทํางานของ ADSL ไมมีอะไรมาก เนื่องจากวา สายโทรศัพทที่ทําจาก ลวดทองแดง มี Bandwidth สูงคิดเปน หลายๆ MHz ดังนั้น จึงมีการแบงยานความถีน่ ี้ ออกเปนสวน เพื่อใชงานโดยวิธีการแบบที่เรียกวา FDM (Frequency Division Multiplexing) ซึ่งเปนเทคนิคการแบงชองสัญญาณออกเปนหลายๆชอง โดยที่แตละ ชองสัญญาณจะมีความถี่ที่แตกตางกัน ดังนั้น จะได Bandwidth ตางๆ ดังนี้ • ยานความถี่ขนาดไมเกิน 4 KHz ปกติจะถูกนํามาใชเปน Voice กับ FAX • ยานความถี่ที่สูงกวานี้ จะถูกสํารองจองไวใหการรับสงขอมูล โดยเฉพาะ ซึ่งจะถูก แบงออกเปน หลายยานความถี่ เชน ชองสัญญาณสําหรับ การรับขอมูลแบบ Downstream ตัวอยาง เชนการ Download ขอมูล สวนชองสัญญาณอื่นมีไวสําหรับ การสงขอมูลที่มคี วามเร็วต่ํากวา Downstream ซึ่งเรียกวา Upstream หรือสําหรับการ Upload ขอมูล เปนตน


ภาพแสดงการแบงยานความถี่ของ ADSL


มีขอดีอกี ขอหนึ่ง ซึ่งแตกตางจากการใชงานผานโมเด็ม อยูที่เปน เทคโนโลยีที่เปนลักษณะติดตลอดเวลา (Always on) การใชงานผานโมเด็ม ปกติจะตองมีการหมุนโทรศัพทเขาอุปกรณโมเด็มปลายทางทุกครั้งที่จะใช งาน แตเอดีเอสแอล จะมีการเชื่อมตอกับอุปกรณปลายทางโดยอัตโนมัติทุก ครั้งที่เปดใชเครื่องพีซี


ประโยชนจากการใชบริการ ADSL • ทานสามารถคุยโทรศัพทพรอมกันกับการ Access ใชงานอินเทอรเน็ตไดพรอมกัน ดวยสายโทรศัพทเสนเดียวกัน โดยไมหยุดชะงัก • ทานสามารถเชื่อมตอกับอินเทอรเน็ตดวยความเร็วเปน 140 เทาเมื่อเทียบกับการใช Modem แบบ Analog ธรรมดา • การเชื่อมตออินเทอรเน็ตของทานจะถูกเปดอยูเสมอ (Always-On Access) ที่เปน เชนนี้ เนื่องจากการสงถายขอมูลถูกแยกออกจากการ เรียกเขามาของ Voice หรือ FAX ดังนั้นการเชื่อมตออินเทอรเน็ตของทานจะไมถูกกระทบกระเทือนแตอยางใด •ไมมีปญหาเนื่องสายไมวาง ไมตอง Log On หรือ Log off ให ยุงยากอีกตอไป


• ADSL ไมเหมือนกับการใหบริการของ Cable Modem ตรงที่ ADSL จะทําใหทานมี สายสัญญาณพิเศษเฉพาะเพื่อเชื่อมตอกับ อินเทอรเน็ต ขณะที่ Cable Modem เปนการ Share ใชสายสัญญาณกับผูใชคนอื่นๆ ที่อาจเปนเพื่อนบานของทาน • ที่สําคัญ Bandwidth การใชงานของทานจะมีขนาดคงที่ (ตามอัตราที่ทานเลือกใช บริการอยูเสมอ) ขณะที่ขนาดของ Bandwidth ของการเขารับบริการ Cable Modem หรือการใชบริการ อินเทอรเน็ตปกติของทาน จะถูกบั่นทอนลงตามปริมาณการใช งาน อินเทอรเน็ตโดยรวม หรือการใชสาย Cable Modem ของเพื่อนบานทาน • สายสัญญาณที่ผูใหบริการ ADSL สําหรับทานนั้น เปนสายสัญญาณอิสระไมตองไป Share ใชงานกับใคร จึงใหมีความนาเชื่อถือ และมีความปลอดภัยสูง


บรรณานุกรม กิดานันท มลิทอง. เทคโนโลยีการศึกษารวมสมัย. บริษัทเอดิสัน เพรส โพรดักส จํากัด. กรุงเทพ, 2536. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. การศึกษาทางไกลกับการพัฒนาประเทศ . บริษัท โปรเฟสชั่นแนลพับลิชชิ่ง จํากัด. กรุงเทพ. มปป. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เอกสารการสอนชุดวิชาการศึกษาทางไกล หนวยที่ 1-7. โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช , นนทบุรี, 2534. สํานักนายกรัฐมนตรี. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. พระราชบัญญัติ การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542. ศูนยการศึกษาทางไกลไทยคม. การศึกษาผานดาวเทียม. มปพ.มปป. http://www.csloxinfo.com/broadband/isdn.asp http://www.adslthailand.com/Tutorial/adsl_technology.html http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/network/adsl.htm


ผูจัดทํา 1. นางสาวนวลจันทร 2. นางสาวศิวฉัตร 3. นางสาวศิริพร

ทองคํา รหัส 50541671 เภตรา รหัส 50541909 เฟองฟู รหัส 5054893


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.