MINITAB Basic-02

Page 1

MINITAB Basic and Descriptive Statistics By Assoc. Prof. SANAN SUPASAI ………………… Department of Statistics, Chiangmai University

เพื่อการศึกษารุน นี้ใช MINITAB Release 14 for Windows® Demo โดย ผูใชสามารถ download มาใชงานไดฟรี 30 วัน ที่ http://www.minitab.com เมื่อติดตั้ง เสร็จแลวก็จะไดไอคอนโปรแกรม Minitab อยูบน Desk Top MNITAB

1. การเรียกใชโปรแกรม MINITAB ใหดับเบิลคลิกที่ Minitab ไอคอน MINITAB บน Desk Top เพื่อเรียกโปรแกรมมาทํางาน ดัง รูปที่ 1 ซึ่งจะเห็นหนาตางเปดอยูเพียง 2 หนาตาง คือ หนาตาง Session และหนาตาง Worksheet1 ซึ่งจริง ๆ แลวยังมีอีกหนาตางหนึ่งที่เกี่ยวของคือหนาตาง Project Manager ซึ่งซอนอยู ผูใชสามารถเรียกใหแสดงหนาตางนี้ไดโดย เปดเมนู Window แลวคลิกเลือก Project Manager ก็จะเห็นวาขณะปจจุบันมี 3 หนาตางเปดอยู ดังรูปที่ 2 ขางลาง รูปที่ 1 หนาจอหลักของโปรแกรม Minitab Session window

Worksheet1 window

Project Manager Window

รูปที่ 2 หนาจอProject Managerที่ซอนอยู MINITAB ……………………… Lecture note @ 1 Assoc. Prof SANAN SUPASAI


ดังนั้นหนาจอหลักสําหรับการวิเคราะหขอมูลประกอบดวย 3 หนาตาง คือ 1. 2. 3.

หนาตาง Worksheet สําหรับนําเขา บันทึกและแสดงขอมูลที่จะวิเคราะห หนาตาง Session สําหรับแสดงผลลัพธ (output) ตารางสถิติจากการวิเคราะหขอมูล หนาตาง Project Manager สําหรับเก็บขอมูลและจัดการขอมูลตาง ๆ ในระหวางการ วิเคราะหขอมูล ซึ่งกระบวนการจัดเก็บคําสั่งโปรแกรม Minitab ในระหวางการ ประมวลผลจะเปนฟงกชนั หนึ่งในสวนของ Project Manager

2. การนําขอมูลเขาโปรแกรม MINITAB เพื่อการประมวลผล มีหลายวิธีที่จะนําขอมูลเขาสูโปรแกรม ไดแก การพิมพ การคัดลอก(Copy) การวาง (Paste) ลง บน Worksheet หรือการเปด (Open) แฟมขอมูลกรณีมีแฟมขอมูลที่บันทึกโดยโปรแกรม Minitabไวแลว นอกจากนี้ยังสามารถเปดแฟมขอมูลจากโปรแกรมอื่นๆจะไดกลาวในภายหลัง

รูปที่ 3 Worksheet ประกอบดวย columns and Rows

ขอมูลใน Worksheet มีได 3 แบบ คือ Numeric, text, and date/time

Numeric data are numbers.

Text data are characters that consist of mix of letters, numbers, spaces and special characters.

Date/Time can be dates (such as Jul-1-2004 or 7/18/2004), time or both

MINITAB ……………………… Lecture note @ 2 Assoc. Prof SANAN SUPASAI


ในแตละ Column คือขอมูลแตละชุดหรือตัวแปรแตละตัวแปรนั่นเอง Column number

T-text column

Column name

D-date/time column

Row number

รูปที่ 4 Worksheet ประกอบดวย columnขอมูลมี 3 แบบ C1-number, T-text, Ddate/time

3. การพิมพขอมูล(Typing data into the Data Window) Each column represents a variable

Data direction arrow

Each row represents an individual case

รูปที่ 5

Active cell

MINITAB ……………………… Lecture note @ 3 Assoc. Prof SANAN SUPASAI


 เปดหนาตางใหม 1. 2. 3. 4. 5. 6.

เลือก File New. เลือก Minitab Worksheet คลิก OK คลิก Data direction arrow ทิศทางที่ตองการพิมพตามแนวนอน(Row) หรือพิมพ ตามแนวตั้ง(Column) พิมพขอมูลที่ตองการลงใน Active cell แลวกด Enter Column แตละชองแทนตัวแปรแตละตัว Row แตละแถวแทนหนวยตัวอยางแตละหนวยหรือคาสังเกตแตละคาของตัวแปร

การพิมพขอมูลลงบน Column ที่วางอยูขอ มูลจะFormat column โดยอัตโนมัติเปน numeric, text, date/time และกรณีที่ขอมูลขาดหายใน cell นั้นจะปรากฏเครื่องหมาย * ยกเวน text column จะเวนวางเอาไว

กิจกรรมที่ 1 ใหพิมพขอมูลจากแบบฝกหัด ขอ 1 ลงใน Minitab Worksheet และทําการจัดเก็บขอมูลใน รูปแบบไฟลของ Minitab (มีนามสกุล .mtw) โดยเลือกคําสั่ง File > Save Current Worksheet

4. การเปดแฟมขอมูล (Opening data files) 1.

เลือกคําสั่งจากเมนู File Open Worksheet คลิกแลวจะไดจอภาพดังรูปที่ 6

รูปที่ 6 หนาจอภาพ Open Worksheet

MINITAB ……………………… Lecture note @ 4 Assoc. Prof SANAN SUPASAI


2.

ในหนาตางรูปที่ 6 เลือกแฟมขอมูล Market คลิก Open จะไดหนาตางดังรูปที่ 7

รูปที่ 7 หนาตางที่ไดจากการใชคําสั่ง Open Worksheet

5. การใช MINITAB ในการวิเคราะหขอมูล Descriptive Statistics คําสั่งของ Minitab ที่ใชสาํ หรับการวิเคราะหขอมูลเชิงพรรณนา จะคํานวณและแสดงคาสถิติ ตางๆของแตละ column หรือแตละตัวแปร มี 2 คําสั่งคือ Display Descriptive Statistics และ Store Descriptive Statistics Display Descriptive Statistics. Use Display Descriptive Statistics to produce statistics for each column or for subsets within a column. You can display these statistics in the Session window and optionally in a graph. Store Descriptive Statistics. Stores Descriptive Statistics for each column or subset within a column

MINITAB ……………………… Lecture note @ 5 Assoc. Prof SANAN SUPASAI


Ă‚ คŕš?าสูŕšˆŕ¸‡๠สŕ¸”ŕ¸‡ŕ¸„ďœŠาสถิติŕš€ŕ¸Šิงพรรณนา บนญŕ¸™ďœ‹าŕ¸•ďœŠาง Session 1.

ŕš€ŕ¸›ďœ ŕ¸”ŕš ŕ¸&#x;ďœ†ลŕ¸‚ďœ‹อลบ฼ PULSE.MTW

2.

ŕš€฼มอภStat Basic Statistics Display Descriptive Statistics.

3. Variables ŕš€฼มอภHeight 4. Check By variable ๠ละ

ŕš€฼มอภSex 5.

ค฼ิภGraphs

6. Check Graphs ท฾ŕšˆŕ¸•ďœ‹องภาร

(ทูŕš‰ŕ¸‡ญลด) 7.

ค฼ิภOK

รบปท฾ŕšˆ 8 ญŕ¸™ďœ‹าŕ¸•ďœŠาง Display Descriptive Statistics ๠ละค฼ิภGraphs MINITAB

ŕ¸ˆะ๠สŕ¸”ŕ¸‡ŕ¸œ฼฼ูŕ¸žŕ¸˜ďœŽŕšƒŕ¸™ Session window ภราŕ¸&#x;ŕ¸•ďœŠาŕ¸‡ŕš†ŕ¸ˆะ๠สดงท฾ŕšˆ Graph window

ŕ¸œ฼฼ูŕ¸žŕ¸˜ďœŽŕšƒŕ¸™ Session window Descriptive Statistics: Height by Sex Variable Height

Sex 1 2

N 57 35

Mean 70.754 65.400

Median 71.000 65.500

TrMean 70.784 65.395

StDev 2.583 2.563

Variable Height

Sex 1 2

SE Mean 0.342 0.433

Minimum 66.000 61.000

Maximum 75.000 70.000

Q1 69.000 63.000

Q3 73.000 68.000

MINITAB ‌‌‌‌‌‌‌‌‌ Lecture note @ 6 Assoc. Prof SANAN SUPASAI


ŕ¸œ฼฼ูŕ¸žŕ¸˜ďœŽŕšƒŕ¸™ Graph window Descriptive Statistics Variable: Height Sex: 2 Anderson-Darling Normality Test A-Squared: P-Value:

62

65

68

71

74

95% Confidence Interval for Mu

0.694 0.064

Mean StDev Variance Skewness Kurtosis N

65.4000 2.5626 6.56691 -2.7E-02 -1.23122 35

Minimum 1st Quartile Median 3rd Quartile Maximum

61.0000 63.0000 65.5000 68.0000 70.0000

95% Confidence Interval for Mu 64.5197 64

65

66

67

66.2803

95% Confidence Interval for Sigma 2.0728

3.3575

95% Confidence Interval for Median 95% Confidence Interval for Median

64.0000

67.0000

รบปท฾ŕšˆ 9 ŕ¸œ฼฼ูŕ¸žŕ¸˜ďœŽŕ¸—฾ŕšˆŕš„ŕ¸”ďœ‹ŕ¸ˆาภGraph window Histogram of Height (Sex = 1) 9 8

Frequency

7 6 5 4 3 2 1 0 60

65

70

75

Height

MINITAB ‌‌‌‌‌‌‌‌‌ Lecture note @ 7 Assoc. Prof SANAN SUPASAI


Histogram of Height, w ith Normal Curve (Sex = 1) 9 8 7

Frequency

6 5 4 3 2 1 0 60

65

70

75

Height

Boxplots of Height by Sex

75

Height

70

65

1

2

60

Sex

รูปที่ 10 ผลลัพธGraph รูปแบบตางๆที่ไดจาก Graph windows

 คําสั่ง Calculator เพื่อการคํานวณตัวแปรใหมและแสดงคาตัวแปรตามที่กําหนดใหบน หนาตาง Worksheet 1. 2. 3. 4.

เปดแฟมขอมูล PULSE.MTW เลือก Calc Calculator จะไดหนาจอ รูปที่ 10 กําหนดตัวแปรใหม Store result in variable พิมพ “H2W” ใน Expression พิมพ C1**2*C4 เพื่อใหโปรแกรมคํานวณ ยกกําลัง 2 ตัว แปร C1 แลวคูณดวยตัวแปร C4 ผลที่ไดใสไวในตัวแปรใหม H2W ดูรูปที่ 11

MINITAB ……………………… Lecture note @ 8 Assoc. Prof SANAN SUPASAI


รูปที่ 11

รูปที่ 12

 คําสั่ง การสราง Scatter plot เพื่อการวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปร แสดง บนหนาตาง Graph output 1. 2. 3.

เปดแฟมขอมูล PULSE.MTW เลือก Graph Plot Graph variables ของแกน Y เลือกตัวแปร Weight และของแกน X เลือกตัว แปร Height แลวคลิก OK MINITAB ……………………… Lecture note @ 9 Assoc. Prof SANAN SUPASAI


รูปที่ 13 หนาจอ การสราง Scatter plot

Weight

200

150

100 60

65

70

75

Height

รูปที่ 14 หนาจอ Graph window output

กิจกรรมที่ 2 เปดแฟมขอมูลที่ไดจาก กิจกรรมที่ 1 (a) จงหาคาเฉลี่ยของเงินเดือน ระดับความเครียด ขนาดของ ครอบครัว (b) คนโสดมีกี่เปอรเซ็นต (c) จงคํานวณจํานวนปที่ทํางานของแตละคน (d) จงนําเสนอ ขอมูล สถานภาพสมรส วุฒิการศึกษา ดวยกราฟแทงจําแนกตามเพศ

MINITAB ……………………… Lecture note @ 10 Assoc. Prof SANAN SUPASAI


6. Graphing Data through Minitab การวิเคราะหขอ มูลโดยใชแผนภูมิกราฟ (Graphs) ในโปรแกรม Minitab สามารถทําไดดังนี้ การสรางแผนภูมิกราฟตางๆ โดยใชคําสั่งเมนู Graph หรือคําสั่งที่เปน options ของ คําสั่งการวิเคราะห สามารถสรางกราฟแบบใดๆใน 4 แบบ(four types of graphs) แกไข ปรับแตงแผนภูมก ิ ราฟ คัดลอก วาง Graphs ในโปรแกรมประยุกตอื่นได

Brush the data points in graphs to see the corresponding values from the worksheet.

 คําสั่ง การสราง Histogram แสดงผลลัพธบนหนาตาง Graph output 1. 2.

เปดแฟมขอมูล STRESS.MTW เลือก Graph Histogram จะไดหนาจอ รูปที่ 14

รูปที่ 14 หนาจอ เมื่อใชคําสั่งเลือก Histogram 3.

ใน Graph variables เลือกตัวแปร SIZE แลวคลิก OK จะไดแผนภูมิ Histogram ดังรูปที่ 15

MINITAB ……………………… Lecture note @ 11 Assoc. Prof SANAN SUPASAI


6

Frequency

5 4 3 2 1 0 1

2

3

4

5

6

SIZE

รูปที่ 15 ผลลัพธ Histogram ของตัวแปร SIZE

กิจกรรมที่ 3 จงใชคําสั่ง Graph เพื่อสรางแผนภูมิ Pie Chart ของตัวแปร EDUC จากแฟมขอมูล STRESS.MTW และแกไขใหไดแผนภูมิตามขางลางนี้ EDUCATION 1 (6, 35.3%)

(35.3%)

%=?

MINITAB ……………………… Lecture note @ 12 Assoc. Prof SANAN SUPASAI


Brushing Graphs การเลือกหรือชี้จุดพิกดั ตางๆบน Graph เพื่อใหเห็นขอมูลที่อยูใน Worksheet ซึ่งสัมพันธกบั จุดพิกดั ของขอมูลนั้นๆ ดังรูปที่ 18

รูปที่ 18 หนาจอเมื่อทํา Brushing Graph

 คําสั่ง การทํา Brushing Graph แสดงผลลัพธบน Data window 1. 2. 3. 4. 5.

คลิกเลือก Graph window ที่ตองการ เลือก Editor Brush ลากตัวชี้ ( ทําพื้นที่ บนจุดพิกัดตางๆใน Graph เลือก Editor Set ID Variables คลิก Use columns และพิมพชื่อ หรือ หมายเลข Column ที่ตองการแสดง แลวคลิก OK

ปดโปรแกรม Minitab โดยเลือก File Exit MINITAB ……………………… Lecture note @ 13 Assoc. Prof SANAN SUPASAI


ปฏิบัติการ ใหบันทึกขอมูลตอไปนี้ลงบน Worksheet โปรแกรม MINITAB (1) การสํารวจสภาพความเครียดของพนักงานบริษัททางธุรกิจ ในภาวะเศรษฐกิจปจจุบันจํานวน 17 คน ไดขอมูลดังนี้ คนที่ CASE 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

เพศ SEX 1 2 1 2 2 1 2 1 1 2 2 1 1 2 2 1 1

สถานภาพ STATUS 3 2 1 1 2 3 2 2 1 1 2 3 3 2 1 1 2

รหัสที่ใช

วุฒิการศึกษา EDUC 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2

ชาย = 1 โสด = 1 ต่ํากวา ป.ตรี = 1

ความเครียด STRESS 101 6 10 127 89 60 16 184 34 82 71 90 100 34 48 65 92

ขนาดครอบครัว SIZE 5 3 2 4 3 2 1 6 2 3 4 3 4 2 2 3 3

หญิง = 2 แตงงาน = 2 ป.ตรี = 2

เงินเดือน SALARY 7500 12000 8000 6800 9200 15000 12500 10000 8500 13000 16000 17500 9250 6750 8600 6100 5800

ปที่เริ่มทํางาน YEAR 2526 2530 2531 2528 2532 2535 2536 2520 2522 2529 2531 2532 2534 2538 2527 2528 2525

หมาย = 3 สูงกวา ป.ตรี = 3

MINITAB ……………………… Lecture note @ 14 Assoc. Prof SANAN SUPASAI


(2) A Sample of n = 25 Job CPU Time (in seconds) a sample selected from the 1,000 CPU Times of Computer Jobs. 1.17 1.23 .15 .19 .92

1.61 3.76 2.41 .82 .75

1.16 1.91 .71 .47 2.59

1.38 .96 .02 2.16 3.07

3.53 4.75 1.59 2.01 1.40

Construct a dot plot for the data (3) The table contains voltage reading for 30 production runs at each location. A ‘good process’ was considered to be one with voltage reading of at least 9.2 volts (with larger reading being better than small reading). Old Location 9.98 10.12 10.26 10.05 10.05 9.80 10.29 10.15 10.03 10.00 8.05 9.87 10.55 9.55 10.26 9.95 9.97 9.70 9.87 8.72

New Location 9.19 10.01 9.63 8.82 10.10 9.43 9.70 10.03 10.09 9.85 9.60 9.27 10.05 8.83 10.12 9.39 9.49 9.48 9.37 9.64

9.84 10.15 10.02 9.80 9.73 10.01 9.98 8.72 8.80 9.84

8.82 8.65 8.51 9.14 9.75 8.78 9.35 9.54 9.36 8.68

a. Construct a stem-and-leaf display for the voltage reading of the old process. b. Construct box plot for the voltage reading to compare two graphs of the old process and new process (4) Industrial engineers periodically conduct “Work measurement” analysis to determine the time required to produce a single unit of output. At a large processing plant, the number of total worker-hours required per day to perform a certain task was recorded for 50 days 128 113 146 124 100

119 109 128 131 112

95 124 103 133 111

97 132 135 131 150

124 97 114 88 117

128 138 109 118 122

142 133 100 116 97

98 136 111 98 116

108 120 131 112 92

120 112 113 138 122

a. Compute basic statistics of the data set. b. Construct a box plot for the data. Do you detect any outliers?

MINITAB ……………………… Lecture note @ 15 Assoc. Prof SANAN SUPASAI


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.