คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
- Input ดี (การคัดเลือก และผลการคัดเลือกนิสติ ) - Process ดี (แผนงาน, ระบบการบริหารงาน และการประเมินผล) - Output ดี (รางวัลของคณาจารย์ นิสติ บัณฑิต ระดับชาติและ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นานาชาติ) - องค์ความรูด้ ี (การวิจยั และงานสร้างสรรค์) - การบริการวิชาการและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม (โครงการ Art for All , ศูนย์ COE , ศูนย์นฤมิตศิลป์) จุดอ่อน - ขาดแคลนงบประมาณในการสนับสนุน คณะศิลปกรรมศาสตร์มกี ารประเมินจุดอ่อน จุดแข็ง เพือ่ พัฒนาองค์กร สู่ความเป็นเลิศและมีการกำหนดบุคลากรผู้รับผิดชอบดำเนินการแก้ไข ปรับปรุงจุดอ่อน และพัฒนาจุดแข็งเหล่านั้น
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
4.14 กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มีการสนับสนุน โดยการประชาสัมพันธ์/การเข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา วันสำคัญตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทยตามแต่โอกาส
คูม่ อื คุณภาพ (QM-QA-0035)
ฉบับที่
ส ก เอ
ปรับปรุงครัง้ ที่ วันที่
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
1
3
19 กันยายน 2546
ผู้เสนอ
ประธานกรรมการประกันคุณภาพ
ผูท้ บทวน
ประธานกรรมการประจำคณะศิลปกรรมศาสตร์
ผูอ้ นุมตั ิ
คณบดี
เอกสารฉบับนีเ้ ป็นลิขสิทธิข์ อง คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห้ามนำไปใช้ในการอ้างอิงก่อนได้รบั อนุญาตเป็นลายลักษณ์อกั ษร สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
24/24
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บันทึกการแก้ไข ปรับปรุงครัง้ ที่ ฉบับร่าง 1
2
3
วันที่
เอก
17 ธ.ค. 45
19 ก.ย. 46
ม ุ ค วบ
ตามความเห็นชอบของคณบดี ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการอำนวย การระบบประกันคุณภาพคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ครั้งที่ 1 / 2545 ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการอำนวย การระบบประกันคุณภาพคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ครั้งที่ 3 / 2545 ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการอำนวย การระบบประกันคุณภาพคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ครั้งที่ 2 / 2546
ค ่ ม ไ ร า ส
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
2/24
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
4.12.2 คณะจัดให้มคี ณะกรรมการพิจารณาเพือ่ การเลือ่ นตำแหน่ง รายการแก้ไข
17 ต.ค. 44 16 พ.ค. 45
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
และการลงโทษ 4.12.3 เพือ่ พัฒนาองค์ความรูข้ องอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มีการจัดการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของอาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุน 4.12.4 การวิจัยร่วมแบบบูรณาการสหสาขาวิชา โดยส่งเสริมสนับสนุนให้ทง้ั อาจารย์และบุคลากรได้มโี อกาสผลิตผลงานทางวิชาการ การเขียนตำรา และ งานวิจัยร่วมกัน 4.12.5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้จดั กิจกรรม หรือการเข้าร่วม กิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ เพือ่ การบริการทางวิชาการ 4.12.6 สนับสนุนให้มกี ารพัฒนาศักยภาพและคุณวุฒขิ องอาจารย์ และบุคลากร
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
4.13 การพัฒนาสูค่ วามเป็นเลิศ คณะศิลปกรรมศาสตร์มกี ารกำหนดแผน เป้าหมาย และกิจกรรม เพื่อพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ จุดแข็ง - หลักสูตรดี - บุคลากรมีประสิทธิภาพ สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
23/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
เป็นผู้จัดทำแผนการตรวจสอบคุณภาพภายในอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และรับผิดชอบใน การจัดทำรายงานการตรวจสอบคุณภาพภายในเพือ่ นำผลไปปรับปรุงแก้ไข 4.10.2 การตรวจสอบระบบคุณภาพภายนอก คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้สำนักงานประกันคุณภาพ ของคณะ ประสานงานกับส่วนประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย เพือ่ รับการตรวจสอบ ภายนอก
ค ่ ม ารไ
4.11 การแก้ไข/ปรับปรุง
ม ุ ค วบ
คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มีคณะกรรมการดำเนินงานประกัน คุณภาพ ทำหน้าทีจ่ ดั เก็บสถิตขิ อ้ มูลเกีย่ วกับการประกันคุณภาพ ข้อบกพร่องในการปฏิบตั ิ ในทุกภารกิจ และนำเสนอต่อคณะกรรมการอำนวยการระบบประกันคุณภาพของคณะ จัดทำแนวทางในการนำข้อมูลมาแก้ไข/ปรับปรุงการปฏิบัติงานให้มีคุณภาพดีขึ้น และ กำหนดให้ผจู้ ดั การสำนักงานประกันคุณภาพนำเสนอรายงานผลจากทีป่ ระชุมคณะกรรมการอำนวยการระบบประกันคุณภาพต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการประจำคณะทุก 6 เดือน
ส ก เอ
4.12 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 4.12.1 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีการกำหนดภารกิจของอาจารย์ และบุคลากรไว้อย่างชัดเจน และมีการประเมินผลการปฏิบตั ภิ ารกิจอย่างสม่ำเสมอโดย พิจารณาอย่างน้อยปีละ 2 ครัง้ ก่อนทีจ่ ะมีการเลือ่ นขัน้ เงินเดือน
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
22/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
สารบัญ หน้า
หัวข้อ
1. วัตถุประสงค์และขอบเขต................................................................................................. 5 2. มาตรฐานและเอกสารอ้างอิง............................................................................................. 6 3. นิยาม...................................................................................................................................... 6 4. ข้อกำหนดพืน้ ฐาน .............................................................................................................. 7 4.1 ปรัชญา/ปณิธาน วัตถุประสงค์และแผนงาน ......................................................... 7 4.2 ระบบคุณภาพขององค์กร........................................................................................... 9 4.3 การเรียนการสอน.........................................................................................................11 4.4 การวิจยั ...........................................................................................................................15 4.5 กิจการนิสติ ....................................................................................................................16 4.6 การบริการวิชาการ/วิชาชีพสูส่ งั คม .........................................................................16 4.7 การส่งเสริมและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ...........................................................17 4.8 การบริหารและการจัดการ .........................................................................................17 4.9 การเงินและงบประมาณ ..............................................................................................19 4.10 การตรวจติดตามระบบคุณภาพภายในและภายนอก ........................................21 4.11 การแก้ไข/ ปรับปรุง ...................................................................................................22
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
3/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
หัวข้อ
หน้า
4.12 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ....................................................................................22 4.13 การพัฒนาสูค่ วามเป็นเลิศ .......................................................................................23 4.14 กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ...............................24
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
งบประมาณจากแหล่งเงินทุนต้องได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการประจำคณะ 4.9.4 การใช้จา่ ยงบประมาณ คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้ใช้จา่ ยงบประมาณตามแผน ทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากมหาวิทยาลัย โดยมีรองคณบดีฝา่ ยบริหารเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการ ตรวจสอบการใช้จา่ ยให้เป็นไปตามแผน ทัง้ นีใ้ นส่วนของภาควิชาต้องได้รบั อนุมตั ใิ น เบือ้ งต้นจากหัวหน้าภาควิชาก่อนทีจ่ ะได้รบั อนุมตั จิ ากคณบดี สำหรับในส่วนของสำนัก งานเลขานุการคณะต้องได้รบั อนุมตั จิ ากคณบดี 4.9.5 การตรวจสอบ คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มกี ารตรวจสอบการใช้จา่ ย งบประมาณให้เป็นไปตามแผนทีก่ ำหนด โดยอยูใ่ นความควบคุมของคณะกรรมการ ประจำคณะ มีการเสนอรายงานการใช้งบประมาณต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการประจำคณะ เป็นประจำทุกเดือนเพือ่ ขอมติรบั รอง เอกสารการเงินทัง้ หมดจะถูกเก็บรักษาไว้เพือ่ การ ตรวจสอบของมหาวิทยาลัยต่อไป
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
4.10 การตรวจติดตามระบบคุณภาพภายในและภายนอก 4.10.1 การตรวจสอบระบบคุณภาพภายใน คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มกี ารแต่งตัง้ ผูต้ รวจสอบภาย ใน เป็นผูม้ หี น้าทีต่ รวจสอบคุณภาพภายใน และให้ผจู้ ดั การสำนักงานประกันคุณภาพ
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
4/24
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
21/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
4.9.1 แหล่งเงินทุน คณะศิลปกรรมศาสตร์ไดัรบั การจัดสรรงบประมาณในรูปของงบประมาณแผ่นดิน และเงินรายได้ นอกจากนีย้ งั ได้รบั เงินบริจาคจากแหล่งทุนภายนอก 4.9.2 การจัดทำแผนงบประมาณ คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มกี ารจัดทำแผนงบประมาณโดย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ งบประมาณแผ่นดิน และเงินรายได้ ในการจัดทำแผนได้ ดำเนินการตามนโยบายของแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยมีการรวบรวมข้อ มูลเบื้องต้นของคณะจากภาควิชาและจากทุกหน่วยงานย่อยในสำนักงานเลขานุการคณะ ในเรือ่ งความจำเป็นในการใช้วสั ดุ ครุภณ ั ฑ์ การขออัตราทรัพยากรบุคคลทีต่ อ้ งเพิม่ ขึน้ โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ของทางราชการอย่างเป็นธรรม ตามแผนงานหลักที่กำหนด ประมาณการรายรับ จัดสรรงบประมาณ และตัง้ งบประมาณรายจ่าย เพือ่ ขออนุมตั จิ าก มหาวิทยาลัย 4.9.3 การจัดสรรงบประมาณ คณะศิลปกรรมศาสตร์ดำเนินการจัดสรรงบประมาณแผ่นดินและ เงินรายได้ โดยจัดสรรงบประมาณจำนวนหนึง่ ให้กบั งานบริหารทัว่ ไป และอีกจำนวนหนึง่ จัดสรรให้กับงานจัดการศึกษา งบประมาณในส่วนที่จัดสรรให้กับงานบริหารทั่วไปจะ ประมาณการจากรายจ่ายที่เกิดขึ้นจริงในปีงบประมาณที่ผ่านมาเป็นหลัก งบประมาณใน ส่วนที่จัดสรรให้กับงานจัดการศึกษาจะจัดสรรให้ภาควิชาและสาขาวิชาตามเกณฑ์ของ จำนวนนิสติ ส่วนเงินบริจาคจะจัดสรรตามวัตถุประสงค์ของผูบ้ ริจาค ทัง้ นีก้ ารจัดสรร
า ส เอก
ว ค ่ ม ไ ร
ม ุ ค บ
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
20/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
ข้อที่ 1. วัตถุประสงค์และขอบเขต คณะศิลปกรรมศาสตร์ได้จัดทำระบบประกันคุณภาพเพื่อเป็นแนวทาง ในการตรวจติดตามการประกันคุณภาพในฐานะหน่วยงานที่มีผลสัมฤทธิ์ด้านการเรียน การสอน ผลิตบัณฑิตทีม่ คี วามคิดสร้างสรรค์เชิงวิชาการด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็น แหล่งสร้างสรรค์งานศิลปกรรมและการวิจัยขั้นสูง มีความเป็นสากลและรักษาไว้ซึ่ง ศิลปะประจำชาติ โดยกำหนดภารกิจตามโครงสร้างดังนี้
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
โครงสร้างระบบประกันคุณภาพหน่วยงานด้านการเรียนการสอน
ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิต - หลักสูตร - กระบวนการเรียน - บัณฑิต มหาบัณฑิต - ผูเ้ รียน การสอน วิชาบรรยาย และดุษฎีบณ ั ฑิต - ผูส้ อน - กระบวนการเรียนการ ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ - เครื่องมือและ สอน วิชาทักษะ เฉพาะทาง อุปกรณ์ - กิจกรรมสนับสนุน - ผลงานวิชาการ - สภาพแวดล้อม อืน่ ๆ เช่น งานวิจยั - ผลงานวิจยั - งบประมาณ งานบริหาร - ผลงานสร้างสรรค์ - เอกสาร งานบริการวิชาการ ทางศิลปะ - กฎระเบียบ
ผูร้ บั บริการ - ผูเ้ รียน - สถาบันการศึกษา ต่อขัน้ สูง - หน่วยงานภาครัฐ/ ภาคเอกชน
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
5/24
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
ข้อที่ 2. มาตรฐานและเอกสารอ้างอิง 2.1 CU-QA แนะนำการใช้มาตรฐานประกันคุณภาพของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2.2 องค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้านของทบวงมหาวิทยาลัย สำหรับใช้เป็นแนวทาง ในการตรวจสอบคุณภาพ
ข้อที่ 3. นิยาม คำศัพท์ คณะ (Faculty) ภาควิชา (Department)
ค ่ ม ไ าร
ม ุ ค วบ
ความหมาย คณะศิลปกรรมศาสตร์ หน่วยงานย่อย ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน่วยงานย่อยในคณะ ประกอบด้วย 4 ภาควิชา คือ ภาควิชาทัศนศิลป์ ภาควิชานฤมิตศิลป์ ภาควิชา ดุริยางคศิลป์ (แบ่งออกเป็น 2 สาขา วิชาคือ สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ไทย และสาขาวิชาดุริยางคศิลป์ตะวันตก) และภาควิชานาฏยศิลป์
ส ก เอ
หมายเหตุ
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
6/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
ประเมินผลการปฏิบตั งิ านเป็นระยะ ๆ ตามระเบียบของมหาวิทยาลัยโดยมีคณะกรรมการ ประเมินผลเป็นผูร้ บั ผิดชอบ 4.8.4 ระบบข้อมูล คณะศิลปกรรมศาสตร์มกี ารจัดวางระบบข้อมูลและสารสนเทศ งานประเมินผลการเรียนการสอน งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ
ม ุ ค วบ
4.8.5 ระบบสนับสนุนการบริหาร คณะศิลปกรรมศาสตร์มรี ะบบสนับสนุนด้านธุรการ ระบบ พัฒนาทางกายภาพ มีการซ่อมบำรุงอาคารให้มลี กั ษณะสนับสนุนการเรียนการสอน และการจัดการทรัพย์สนิ คือ การใช้งบประมาณอย่างคุม้ ค่าอันจะเอือ้ ให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อการดำเนินงานของคณะ
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
4.8.6 การมีสว่ นร่วมในการบริหาร คณะศิลปกรรมศาตร์มกี ารจัดระบบเพือ่ ให้บคุ ลากรมีสว่ นร่วมใน การวางแผน และการตัดสินใจในภารกิจทีส่ ำคัญของคณะ
4.9 การเงินและงบประมาณ คณะศิลปกรรมศาสตร์ได้รบั การจัดสรรงบประมาณเพือ่ สนับสนุนการ ดำเนินงานของคณะ การกำหนดใช้งบประมาณมีการตรวจสอบตามระเบียบจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยและระเบียบของกระทรวงการคลัง
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
19/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
4.8.1 โครงสร้างการบริหาร คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดโครงสร้างการบริหารงานตามผัง การบริหารงานของคณะ โดยมีคณบดีเป็นผูบ้ ริหารสูงสุด และมีรองคณบดีหรือผู้ ช่วยคณบดีฝา่ ยต่าง ๆ กำกับดูแลดังนี้ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายวิจยั ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายวางแผน ทัง้ นีก้ ำหนดให้สำนักงานเลขานุการคณะเป็นฝ่ายสนับสนุน ฝ่ายกิจการนิสติ ฯลฯ และภาควิชาต่าง ๆ ซึง่ มีหวั หน้าภาควิชาเป็นผูบ้ ริหารและกำกับดูแลการเรียนการสอน และหลักสูตรของภาควิชา
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
4.8.2 อำนาจหน้าทีแ่ ละการมอบหมายงานบุคลากรสายสนับสนุน คณะศิลปกรรมศาสตร์มกี ารกำหนดอำนาจหน้าทีแ่ ละขอบข่าย งาน (Job Description) บุคลากรแต่ละตำแหน่งอย่างชัดเจนตามทีก่ ำหนดไว้ในระบบ ประกันคุณภาพ โดยพิจารณาความสามารถและศักยภาพจากประวัตกิ ารศึกษา การฝึก อบรม ทักษะและประสบการณ์
ส ก เอ
4.8.3 ระบบการคัดเลือกบุคลากรสายสนับสนุน คณะศิลปกรรมศาสตร์ดำเนินการคัดเลือกบุคลากรตามระเบียบปฏิบตั ขิ องมหาวิทยาลัย โดยมีคณะกรรมการสอบแข่งขันและคัดเลือก ดำเนินการ ประกาศรับสมัครทัว่ ไป ออกข้อสอบ รักษาความลับของข้อสอบ คุมสอบ ตรวจข้อสอบ ประกาศผลสอบข้อเขียน สอบสัมภาษณ์ และประกาศผลสอบด้วยความ ยุตธิ รรมและโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร นอกจากนัน้ ยัง สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
18/24
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำศัพท์
ความหมาย
นิสิต (Student) นิสติ บัณฑิตศึกษา (Graduate Student) ปัจจัยนำเข้า (Input)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
หมายเหตุ
นิสิตระดับปริญญาบัณฑิต (ปริญญาตรี) นิสติ ระดับบัณฑิตศึกษา (ปริญญาโท และปริญญาเอก) ทรัพยากรหรือสิง่ ต่าง ๆ รวมทัง้ บุคคล ที่เข้าสู่กระบวนการดำเนินการ กระบวนการทำงานเพื่อให้ได้ผลผลิต
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
ข้อที่ 4. ข้อกำหนดขัน้ พืน้ ฐาน (Basic Requirements) ข้อกำหนดขั้นพื้นฐาน เป็นข้อกำหนดหรือมาตรฐานที่คณะกำหนด เพื่อเป็น การประกันคุณภาพของการดำเนินงานให้เป็นไปตามระบบประกันคุณภาพอย่างครบถ้วน
4.1 ปณิธาน ปรัชญา วัตถุประสงค์และแผนงาน 4.1.1 ปณิธาน คณะศิลปกรรมศาสตร์มจี ดุ มุง่ หมายทีเ่ ป็นหลักตามปณิธาน ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คือ การบุกเบิก แสวงหา ทำนุบำรุง และถ่ายทอดความรูก้ บั การเสริมสร้างคุณธรรมให้บณ ั ฑิตของคณะเป็นผูเ้ พียบพร้อมด้วยสติปญ ั ญา ความรูท้ น่ี บั ว่า สำคัญยิง่ คือ ความรูเ้ พือ่ ความเจริญของบุคคลและสังคม อันได้แก่ ความรอบรู้ และความ สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
7/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
เชีย่ วชาญในสรรพวิทยาการทีอ่ ำนวยประโยชน์แก่การดำเนินชีวติ ส่วนคุณธรรมทีผ่ เู้ รียน ผูร้ พู้ งึ มี และถือเป็นหน้าทีจ่ ะต้องปลูกฝัง คือ ความรูจ้ กั ตนเอง ใฝ่รอู้ ยูเ่ สมอ คิดริเริม่ สร้างสรรค์ รอบคอบ ไตร่ตรอง มีเหตุผล รับผิดชอบ เห็นการณ์ไกล มีศลี ธรรม และเสียสละ เพือ่ ผลประโยชน์สว่ นรวม เป็นแหล่งสร้างสรรค์งานศิลปกรรม ชีน้ ำสังคมเพือ่ การทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรมของชาติและนานาชาติ 4.1.2 ปรัชญา ด้วยอุปสรรคด้านกายภาพ ครุภณ ั ฑ์ทม่ี อี ยูอ่ ย่างจำกัด คณะศิลปกรรมศาสตร์จงึ ได้กำหนดให้มปี รัชญาในการทำงานดังนี้
ม ุ ค บ ว ก้าวข้ามขีดจำกัด สู่สหัสวรรษแห่ งความคิดสร้างสรรค์ ค ่ ม ไ ร า ส ก เอ
4.1.3 พันธกิจ การใช้ความรูเ้ ฉพาะทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ในการ ดำเนิน ตามพันธกิจของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยให้บรรลุจดุ มุง่ หมาย 4.1.4 วัตถุประสงค์ เพือ่ แสดงจุดมุง่ หมายในการทำงาน คณะได้พจิ ารณา วัตถุประสงค์ ดังนี้ 4.1.4.1 วัตถุประสงค์หลัก คือ ด้านการเรียนการสอน เป็นสถาบัน อุดมศึกษาทีผ่ ลิตบัณฑิตด้านศิลปกรรมศาสตร์ทม่ี คี ณ ุ ภาพ 4.1.4.2 วัตถุประสงค์รอง คือ เป็นสถาบันสร้างสรรค์งานศิลปกรรม งานวิจยั และผลงานทางวิชาการทีม่ คี ณ ุ ภาพเป็นทีย่ อมรับ 1. เป็นสถาบันทีส่ ร้างสรรค์งานศิลปกรรม งานวิจยั และ สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
8/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
4.7 การส่งเสริมและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ สนองนโยบายของมหาวิทยาลัยในการส่งเสริม และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม โดยการจัดให้เกิดกระบวนการศึกษาค้นคว้าเพือ่ การอนุรกั ษ์ และในขณะเดียวกันก็จดั ให้เกิดกระบวนการสร้างสรรค์และนำเสนอผลงานศิลปะในรูปแบบ ต่าง ๆ เพื่อความก้าวหน้าในวงการศิลปะที่มีความเป็นสากลและยังคงรักษาไว้ซึ่งศิลปะ ประจำชาติ โดยสามารถรักษาดุลยภาพในเอกลักษณ์ของความเป็นไทยและความเป็น ประชาคมโลก
ค ่ ม ารไ
4.8 การบริหารและการจัดการ
ส ก เอ
ม ุ ค วบ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ได้จดั วางระบบการบริหารและการจัดการ โดยมี นโยบายการสร้างจิตสำนึกของบุคลากรจากระบบค่านิยมความเป็นอันหนึง่ อันเดียวกันของ องค์กร คณะศิลปกรรมศาสตร์จะเพิ่มความแข็งแกร่งจากการมีค่านิยมอันเป็นแก่น ของวัฒนธรรมองค์กรร่วมกันภายใต้การทำงานอย่างมีระบบ ระเบียบ และมีความเอือ้ อาทร ต่อกัน ระบบค่านิยมองค์กรจากรากฐานการทำงานร่วมกัน จะสามารถสร้างเกณฑ์ มาตรฐานการทำงานของบุคลากรที่ทุกคนมีคุณค่าต่อองค์กรเท่าเทียมกัน และสามารถ นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่มาใช้ในการบริหารและจัดการ มีโครงสร้างและระบบ ทีส่ นับสนุนภารกิจหลัก ซึง่ ได้แก่ การสอน การวิจยั การบริการทางวิชาการ และการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมอย่างมีคณ ุ ภาพและประสิทธิภาพ
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
17/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
ผลงานทางวิชาการทีม่ คี ณ ุ ภาพเป็นทีย่ อมรับ และสามารถพัฒนาได้อย่างต่อเนือ่ ง โดยฝ่ายวิจยั เป็นผูป้ ระสานงาน และให้การสนับสนุนในด้านแหล่งเงินทุนทีเ่ กีย่ วกับงาน วิจยั และการสร้างสรรค์ผลงาน 4.4.3 ผลงานวิจยั ของคณะศิลปกรรมศาสตร์ มีการเผยแพร่ทง้ั ในระดับ ชาติ และนานาชาติ
4.5 กิจการนิสติ
ม ุ ค วบ
คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้รองคณบดีฝ่ายกิจการนิสิตเป็นผู้ดูแล สนับสนุนงานด้านกิจการนิสิต ในการดูแลรับผิดชอบงานกิจการนิสิตของคณะกรรมการประสานงานกับหน่วยงานภายในและภายนอกคณะ โดยมุ่งเน้นที่กิจกรรมเสริม หลักสูตรต่าง ๆ งานประชาสัมพันธ์และสวัสดิการ ทุนการศึกษา และรางวัลการศึกษา งานวินยั นิสติ จัดทำทำเนียบศิษย์เก่าและอืน่ ๆ เพือ่ พัฒนานิสติ ให้มคี วามเจริญงอกงาม ในด้านสติปญ ั ญา ร่างกาย จิตใจ มีทศั นคติทด่ี ใี นการดำรงชีวติ และปลูกฝังให้นสิ ติ เป็น ผูม้ รี ะเบียบวินยั มีคณ ุ ธรรม จริยธรรม รูจ้ กั อนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อม เสริมสร้างให้มคี วาม รักในศิลปวัฒนธรรมไปพร้อม ๆ กับความเจริญก้าวหน้าของสังคมปัจจุบนั
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
4.6 การบริการวิชาการ / วิชาชีพสูส่ งั คม
ในระดับชาติและนานาชาติ 2. เป็นสถาบันทีใ่ ห้บริการวิชาการทีม่ คี ณ ุ ภาพเป็นทีย่ อมรับ 3. เป็นสถาบันทีส่ ง่ เสริมศิลปวัฒนธรรม 4.1.5 แผนงาน คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มแี ผนงานในด้านต่างๆ ให้ครอบคลุมพันธกิจ มีการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา แผนระยะกลาง (5 ปี) และแผนระยะสัน้ (1 ปี) ตามลำดับ 4.1.6 การประเมินแผนงาน คณะศิลปกรรมศาสตร์ได้กำหนดให้ฝา่ ยวาง แผน ประเมินแผนจากข้อมูลของรายงานผลการปฏิบตั งิ านเปรียบเทียบกับแผนทีจ่ ดั ทำ ตามงบประมาณจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (งบประมาณแผ่นดินและงบเงินรายได้) ปีละ 2 ครัง้
เอก
ค ่ ม ไ ร า ส
ม ุ ค วบ
4.2 ระบบคุณภาพขององค์กร คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้สร้างระบบคุณภาพทีแ่ สดงให้เห็นกระบวน การและกิจกรรม โดยมีโครงสร้างระบบคุณภาพ ดังนี้
คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้ทกุ ภาควิชาให้บริการวิชาการตามความ ถนัดของอาจารย์ เช่น การจัดอบรม การเปิดสอนบุคคลภายนอก การจัดแสดงผลงาน สูส่ าธารณชน การเผยแพร่ความรูใ้ นรูปแบบต่าง ๆ นอกจากนีย้ งั ส่งเสริมให้อาจารย์รว่ ม มือกับภาครัฐและภาคเอกชน ในการรับเป็นกรรมการในคณะทำงานที่เกี่ยวข้องกับ ศิลปกรรม รวมถึงการเป็นกรรมการตัดสินการประกวดงานแสดงและงานศิลปะด้วย สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
16/24
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
9/24
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
คณบดี คณะกรรมการประจำคณะ
ม ุ ค วบ
คณะกรรมการ ประกันคุณภาพ
ภาควิชาทัศนศิลป์*
สำนักงานคณบดี
ภาควิชานฤมิตศิลป์*
สำนักงานเลขานุการคณะ งานทรัพยากรมนุษย์ สำนักงานประกันคุณภาพ งานคลังและแผน ผูจ้ ดั การสำนักงาน งานพัสดุ โสตทัศนูปกรณ์ ประกันคุณภาพ และเทคโนโลยี เลขานุการสำนักงาน งานบริการการศึกษา ประกันคุณภาพ งานบริการวิชาการและ กรรมการประสานงานภาควิชา ศิลปวัฒนธรรม (เป้าหมาย) เจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน ศูนย์ความเป็นเลิศ (เป้าหมาย) ประกันคุณภาพ
ส ก เอ
ภาควิชาดุรยิ างคศิลป์* ภาควิชานาฏยศิลป์*
ค ่ ม ารไ
*โครงสร้างภาควิชาประกอบด้วย - หัวหน้าภาควิชา - คณะกรรมการประจำภาควิชา - เลขานุการภาควิชา
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
10/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
- เป็นเครือข่ายเชือ่ มโยงความรูท้ างด้านศิลปกรรมระดับ ชาติและนานาชาติ - ให้บริการในการจัดทำสือ่ การเรียนการสอนทางด้าน ศิลปกรรม หน่วยคอมพิวเตอร์อยูใ่ นความดูแลของหัวหน้าหน่วยคอมพิวเตอร์ ซึง่ มีคณะกรรมการดำเนินงานและขึน้ ตรงต่อคณบดี 4.4 การวิจยั คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้รองคณบดีฝา่ ยวิจยั เป็นผู้ ประสานงาน และรับผิดชอบในด้านต่าง ๆ ดังนี้ - ให้บริการในการติดต่อประสานงานด้านทีเ่ กีย่ วกับการวิจยั แก่บคุ ลากร - เป็นแหล่งข้อมูลและกระตุน้ ให้บคุ ลากรมีความตืน่ ตัวในการทำวิจยั เพิ่มขึ้น - สนับสนุนให้เกิดศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการ ( Center of Excellence) - สร้างเครือข่ายองค์ความรูท้ างด้านศิลปกรรมระดับชาติและนานาชาติ - สนับสนุนให้มกี ารวิจยั แบบสหสาขาวิชา 4.4.1 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีนโยบาย แผนงาน และมีการสนับ สนุนงานวิจยั และการสร้างสรรค์ผลงานวิชาการ 4.4.2 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีกระบวนการจัดการวิจยั โดยอาจารย์ผู้ ทำวิจยั เป็นผูแ้ สวงหาแหล่งเงินทุนจากจุฬาฯ และแหล่งเงินทุนภายนอกเป็นราย ๆ ไป
เอก
ค ่ ม ไ ร า ส
ม ุ ค วบ
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
15/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
ทัว่ ถึงและมีประสิทธิภาพ โดยกำหนดให้มรี ายงานเสนอต่อรองคณบดีฝา่ ยบริหารทุก 6 เดือน 4.3.6.2 ห้องสมุด คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้จดั ห้อง สมุดสำหรับนิสติ คณาจารย์และเจ้าหน้าที่ เพือ่ ใช้ในการค้นคว้าอ้างอิง ห้องสมุดนอก จากจะมีหนังสือ ตำรา และวารสารในสาขาวิชาทีเ่ กีย่ วข้องกับศิลปกรรมศาสตร์แล้ว ยัง มีสอ่ื โสตทัศนูปกรณ์ เช่น แผ่นเสียง แถบบันทึกเสียง วีดที ศั น์ โน้ตเพลง รวมทัง้ เครือ่ ง คอมพิวเตอร์ซง่ึ เชือ่ มต่ออินเตอร์เน็ตเพือ่ การสืบค้น บรรณารักษ์ของคณะเป็นเจ้าหน้าที่ ประจำห้องสมุด รับผิดชอบการจัดการและการดำเนินงานในห้องสมุด โดยให้บริการ ตามวันเวลาราชการ แก่คณาจารย์ นิสติ ข้าราชการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และบุคคล ภายนอกทัว่ ไป ห้องสมุดอยูใ่ นความดูแลของบรรณารักษ์ ซึง่ มีคณะกรรมการดำเนิน งานห้องสมุดและขึน้ ตรงต่อคณบดี 4.3.6.3 หน่วยคอมพิวเตอร์ หน่วยคอมพิวเตอร์คณะศิลปกรรมศาสตร์มหี น้าทีใ่ ห้บริการดังต่อไปนี้ - ให้บริการการเรียนการสอนในและนอกเวลาราชการ - ให้บริการด้านงานประชาสัมพันธ์คณะทางสือ่ สิง่ พิมพ์ และสารสนเทศ - บริการให้การอบรมเพิม่ พูนศักยภาพการใช้คอมพิวเตอร์ และสารสนเทศของบุคลากร
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
14/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
มีคมู่ อื คุณภาพ (Quality Manual – QM) คูม่ อื การปฏิบตั งิ าน (Policy and Procedure Manual – PM) วิธปี ฏิบตั งิ าน (Work Instruction – WI) และเอกสาร สนับสนุน (Supporting Document – SD) คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มสี ำนักงานประกันคุณภาพ (QA Office) ของคณะ ประกอบด้วยคณะกรรมการอำนวยการประกันคุณภาพ ทำหน้าทีใ่ น การกำกับ สนับสนุน และตรวจสอบ ให้มกี ารดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพทีไ่ ด้ วางไว้ รวมทัง้ ทำหน้าทีเ่ ป็นตัวกลางในการเชือ่ มโยง สือ่ สาร และประสานงานกับภาค วิชา
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
4.3 การเรียนการสอน
4.3.1 หลักสูตร คณะศิลปกรรมศาสตร์จดั หลักสูตร 3 ระดับ ระดับ ปริญญาบัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบณ ั ฑิต 4.3.1.1 การประเมิน การพัฒนา และปรับปรุงหลักสูตร คณะ ศิลปกรรมศาสตร์จดั ให้มกี ารทบทวนโครงสร้างหลักสูตร รายวิชา เนือ้ หา และจำนวน หน่วยกิตอย่างต่อเนือ่ ง มีการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรในระดับปริญญาบัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบณ ั ฑิต 4.3.1.2 การบริหารหลักสูตร คณะจัดให้มคี ณะกรรมการบริหาร หลักสูตรแต่ละสาขาวิชาของระดับปริญญาบัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบณ ั ฑิต ทำ
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
11/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
หน้าทีต่ ามข้อ 4.3.1.1 4.3.2 การเรียนการสอน คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้อาจารย์ทกุ ท่าน จัดทำประมวลรายวิชาเพือ่ แสดงเนือ้ หารายวิชา ขอบเขต และวัตถุประสงค์ รวมทัง้ องค์ ประกอบที่เกี่ยวข้อง ตารางการเรียนการสอน โดยกำหนดให้มีการประเมินผลการเรียน การสอนโดยนิสติ ทุกรายวิชา 4.3.3 การคัดเลือกนิสติ 4.3.3.1 ระดับปริญญาบัณฑิต คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้ มีระบบการคัดเลือกนิสติ เข้าศึกษาในคณะ 3 ระบบ คือ ระบบการสอบคัดเลือกผ่านทาง ทบวงมหาวิทยาลัย ระบบการสอบคัดเลือกผ่านโครงการผูม้ คี วามสามารถพิเศษระดับ ชาติในทางศิลปะ และระบบการสอบคัดเลือกผ่านโครงการรับนักเรียนเข้าศึกษาในคณะ ศิลปกรรมศาสตร์โดยวิธรี บั ตรง ซึง่ ทัง้ 3 ระบบมีการสอบทางด้านวิชาการ วิชาทักษะ และการสอบสัมภาษณ์ 4.3.3.2 ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มี ระบบการคัดเลือกนิสติ บัณฑิตศึกษาเข้าศึกษาในคณะโดยวิธรี บั ตรง โดยมีคณะกรรม การบริหารหลักสูตรของแต่ละสาขาวิชาเป็นผูร้ บั ผิดชอบ 4.3.4 บัณฑิต คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้อาจารย์ทป่ี รึกษาตรวจ สอบผลการลงทะเบียนเรียนของนิสติ ทีข่ อแจ้งสำเร็จการศึกษาผ่านมาจากสำนักทะเบียน และประมวลผล ให้เป็นไปตามหลักสูตร และให้นายทะเบียนคณะเป็นผูต้ รวจสอบทวน อีกครัง้ (เพือ่ ดูความถูกต้องตามโครงสร้างหลักสูตร การถูกตัดคะแนนความประพฤติ
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
12/24
การค้างชำระเงินกู้ การค้างส่งหนังสือ อุปกรณ์อน่ื ๆ จากหน่วยงานในมหาวิทยาลัย และคุณสมบัตอิ น่ื ๆ) ก่อนนำเสนอคณะกรรมการประจำคณะเพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ และนาย ทะเบียนคณะเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการจัดทำประกาศผูส้ ำเร็จการศึกษาให้มหาวิทยาลัยต่อไป 4.3.5 อาจารย์ คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มรี ะบบการสรรหา อาจารย์ทม่ี คี ณ ุ วุฒิ (ตามระเบียบของมหาวิทยาลัย) โดยมีคณะกรรมการคัดเลือก การ ประกาศรับสมัครทัว่ ไป เพือ่ ให้ได้ตามสาขาทีต่ อ้ งการ มีความรูค้ วามสามารถ ทัง้ ด้านวิชา การและทักษะทางด้านศิลปกรรม รวมทัง้ ประสบการณ์ในวิชาชีพชัน้ สูง ในส่วนของภาระ งานของอาจารย์แต่ละคน คณะมอบหมายให้ภาควิชา โดยความเห็นชอบของทีป่ ระชุมภาค วิชาในการกำหนดภาระงาน ซึ่งรวมถึงงานสอน การผลิตผลงานทางวิชาการและงาน อืน่ ๆ ตามทีภ่ าควิชาเห็นควร ทัง้ นีก้ ารเสนอภาระงานของคณาจารย์ให้ผา่ นความเห็นชอบ จากทีป่ ระชุมภาควิชา และนำเสนอคณะกรรมการประจำคณะต่อไป 4.3.6 ปัจจัยสนับสนุนการเรียนการสอน คณะศิลปกรรมศาสตร์ดำเนิน การเรียนการสอนโดยจัดให้มปี จั จัยในการสนับสนุนการเรียนการสอน ดังนี้ 4.3.6.1 อาคารสถานที่ คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มี การบริหารอาคารสถานทีเ่ พือ่ สนับสนุนการเรียนการสอน เพือ่ ส่งเสริมการเรียนรูข้ อง นิสติ อย่างมีคณ ุ ภาพและประสิทธิภาพ รวมทัง้ กิจกรรมอืน่ ๆ ของคณะด้วย ให้อยูใ่ น ความดูแลของรองคณบดีฝา่ ยบริหาร และให้เลขานุการคณะเป็นผูป้ ระสานงานในการ ขอใช้อาคารสถานที่ รวมถึงการซ่อมแซมดูแลรักษาความสะอาด ความปลอดภัยอย่าง
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
13/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
หน้าทีต่ ามข้อ 4.3.1.1 4.3.2 การเรียนการสอน คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้อาจารย์ทกุ ท่าน จัดทำประมวลรายวิชาเพือ่ แสดงเนือ้ หารายวิชา ขอบเขต และวัตถุประสงค์ รวมทัง้ องค์ ประกอบที่เกี่ยวข้อง ตารางการเรียนการสอน โดยกำหนดให้มีการประเมินผลการเรียน การสอนโดยนิสติ ทุกรายวิชา 4.3.3 การคัดเลือกนิสติ 4.3.3.1 ระดับปริญญาบัณฑิต คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้ มีระบบการคัดเลือกนิสติ เข้าศึกษาในคณะ 3 ระบบ คือ ระบบการสอบคัดเลือกผ่านทาง ทบวงมหาวิทยาลัย ระบบการสอบคัดเลือกผ่านโครงการผูม้ คี วามสามารถพิเศษระดับ ชาติในทางศิลปะ และระบบการสอบคัดเลือกผ่านโครงการรับนักเรียนเข้าศึกษาในคณะ ศิลปกรรมศาสตร์โดยวิธรี บั ตรง ซึง่ ทัง้ 3 ระบบมีการสอบทางด้านวิชาการ วิชาทักษะ และการสอบสัมภาษณ์ 4.3.3.2 ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มี ระบบการคัดเลือกนิสติ บัณฑิตศึกษาเข้าศึกษาในคณะโดยวิธรี บั ตรง โดยมีคณะกรรม การบริหารหลักสูตรของแต่ละสาขาวิชาเป็นผูร้ บั ผิดชอบ 4.3.4 บัณฑิต คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้อาจารย์ทป่ี รึกษาตรวจ สอบผลการลงทะเบียนเรียนของนิสติ ทีข่ อแจ้งสำเร็จการศึกษาผ่านมาจากสำนักทะเบียน และประมวลผล ให้เป็นไปตามหลักสูตร และให้นายทะเบียนคณะเป็นผูต้ รวจสอบทวน อีกครัง้ (เพือ่ ดูความถูกต้องตามโครงสร้างหลักสูตร การถูกตัดคะแนนความประพฤติ
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
12/24
การค้างชำระเงินกู้ การค้างส่งหนังสือ อุปกรณ์อน่ื ๆ จากหน่วยงานในมหาวิทยาลัย และคุณสมบัตอิ น่ื ๆ) ก่อนนำเสนอคณะกรรมการประจำคณะเพือ่ พิจารณาอนุมตั ิ และนาย ทะเบียนคณะเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการจัดทำประกาศผูส้ ำเร็จการศึกษาให้มหาวิทยาลัยต่อไป 4.3.5 อาจารย์ คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มรี ะบบการสรรหา อาจารย์ทม่ี คี ณ ุ วุฒิ (ตามระเบียบของมหาวิทยาลัย) โดยมีคณะกรรมการคัดเลือก การ ประกาศรับสมัครทัว่ ไป เพือ่ ให้ได้ตามสาขาทีต่ อ้ งการ มีความรูค้ วามสามารถ ทัง้ ด้านวิชา การและทักษะทางด้านศิลปกรรม รวมทัง้ ประสบการณ์ในวิชาชีพชัน้ สูง ในส่วนของภาระ งานของอาจารย์แต่ละคน คณะมอบหมายให้ภาควิชา โดยความเห็นชอบของทีป่ ระชุมภาค วิชาในการกำหนดภาระงาน ซึ่งรวมถึงงานสอน การผลิตผลงานทางวิชาการและงาน อืน่ ๆ ตามทีภ่ าควิชาเห็นควร ทัง้ นีก้ ารเสนอภาระงานของคณาจารย์ให้ผา่ นความเห็นชอบ จากทีป่ ระชุมภาควิชา และนำเสนอคณะกรรมการประจำคณะต่อไป 4.3.6 ปัจจัยสนับสนุนการเรียนการสอน คณะศิลปกรรมศาสตร์ดำเนิน การเรียนการสอนโดยจัดให้มปี จั จัยในการสนับสนุนการเรียนการสอน ดังนี้ 4.3.6.1 อาคารสถานที่ คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มี การบริหารอาคารสถานทีเ่ พือ่ สนับสนุนการเรียนการสอน เพือ่ ส่งเสริมการเรียนรูข้ อง นิสติ อย่างมีคณ ุ ภาพและประสิทธิภาพ รวมทัง้ กิจกรรมอืน่ ๆ ของคณะด้วย ให้อยูใ่ น ความดูแลของรองคณบดีฝา่ ยบริหาร และให้เลขานุการคณะเป็นผูป้ ระสานงานในการ ขอใช้อาคารสถานที่ รวมถึงการซ่อมแซมดูแลรักษาความสะอาด ความปลอดภัยอย่าง
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
13/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
ทัว่ ถึงและมีประสิทธิภาพ โดยกำหนดให้มรี ายงานเสนอต่อรองคณบดีฝา่ ยบริหารทุก 6 เดือน 4.3.6.2 ห้องสมุด คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้จดั ห้อง สมุดสำหรับนิสติ คณาจารย์และเจ้าหน้าที่ เพือ่ ใช้ในการค้นคว้าอ้างอิง ห้องสมุดนอก จากจะมีหนังสือ ตำรา และวารสารในสาขาวิชาทีเ่ กีย่ วข้องกับศิลปกรรมศาสตร์แล้ว ยัง มีสอ่ื โสตทัศนูปกรณ์ เช่น แผ่นเสียง แถบบันทึกเสียง วีดที ศั น์ โน้ตเพลง รวมทัง้ เครือ่ ง คอมพิวเตอร์ซง่ึ เชือ่ มต่ออินเตอร์เน็ตเพือ่ การสืบค้น บรรณารักษ์ของคณะเป็นเจ้าหน้าที่ ประจำห้องสมุด รับผิดชอบการจัดการและการดำเนินงานในห้องสมุด โดยให้บริการ ตามวันเวลาราชการ แก่คณาจารย์ นิสติ ข้าราชการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และบุคคล ภายนอกทัว่ ไป ห้องสมุดอยูใ่ นความดูแลของบรรณารักษ์ ซึง่ มีคณะกรรมการดำเนิน งานห้องสมุดและขึน้ ตรงต่อคณบดี 4.3.6.3 หน่วยคอมพิวเตอร์ หน่วยคอมพิวเตอร์คณะศิลปกรรมศาสตร์มหี น้าทีใ่ ห้บริการดังต่อไปนี้ - ให้บริการการเรียนการสอนในและนอกเวลาราชการ - ให้บริการด้านงานประชาสัมพันธ์คณะทางสือ่ สิง่ พิมพ์ และสารสนเทศ - บริการให้การอบรมเพิม่ พูนศักยภาพการใช้คอมพิวเตอร์ และสารสนเทศของบุคลากร
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
14/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
มีคมู่ อื คุณภาพ (Quality Manual – QM) คูม่ อื การปฏิบตั งิ าน (Policy and Procedure Manual – PM) วิธปี ฏิบตั งิ าน (Work Instruction – WI) และเอกสาร สนับสนุน (Supporting Document – SD) คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มสี ำนักงานประกันคุณภาพ (QA Office) ของคณะ ประกอบด้วยคณะกรรมการอำนวยการประกันคุณภาพ ทำหน้าทีใ่ น การกำกับ สนับสนุน และตรวจสอบ ให้มกี ารดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพทีไ่ ด้ วางไว้ รวมทัง้ ทำหน้าทีเ่ ป็นตัวกลางในการเชือ่ มโยง สือ่ สาร และประสานงานกับภาค วิชา
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
4.3 การเรียนการสอน
4.3.1 หลักสูตร คณะศิลปกรรมศาสตร์จดั หลักสูตร 3 ระดับ ระดับ ปริญญาบัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบณ ั ฑิต 4.3.1.1 การประเมิน การพัฒนา และปรับปรุงหลักสูตร คณะ ศิลปกรรมศาสตร์จดั ให้มกี ารทบทวนโครงสร้างหลักสูตร รายวิชา เนือ้ หา และจำนวน หน่วยกิตอย่างต่อเนือ่ ง มีการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรในระดับปริญญาบัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบณ ั ฑิต 4.3.1.2 การบริหารหลักสูตร คณะจัดให้มคี ณะกรรมการบริหาร หลักสูตรแต่ละสาขาวิชาของระดับปริญญาบัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบณ ั ฑิต ทำ
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
11/24
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
คณบดี คณะกรรมการประจำคณะ
ม ุ ค วบ
คณะกรรมการ ประกันคุณภาพ
ภาควิชาทัศนศิลป์*
สำนักงานคณบดี
ภาควิชานฤมิตศิลป์*
สำนักงานเลขานุการคณะ งานทรัพยากรมนุษย์ สำนักงานประกันคุณภาพ งานคลังและแผน ผูจ้ ดั การสำนักงาน งานพัสดุ โสตทัศนูปกรณ์ ประกันคุณภาพ และเทคโนโลยี เลขานุการสำนักงาน งานบริการการศึกษา ประกันคุณภาพ งานบริการวิชาการและ กรรมการประสานงานภาควิชา ศิลปวัฒนธรรม (เป้าหมาย) เจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน ศูนย์ความเป็นเลิศ (เป้าหมาย) ประกันคุณภาพ
ส ก เอ
ภาควิชาดุรยิ างคศิลป์* ภาควิชานาฏยศิลป์*
ค ่ ม ารไ
*โครงสร้างภาควิชาประกอบด้วย - หัวหน้าภาควิชา - คณะกรรมการประจำภาควิชา - เลขานุการภาควิชา
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
10/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
- เป็นเครือข่ายเชือ่ มโยงความรูท้ างด้านศิลปกรรมระดับ ชาติและนานาชาติ - ให้บริการในการจัดทำสือ่ การเรียนการสอนทางด้าน ศิลปกรรม หน่วยคอมพิวเตอร์อยูใ่ นความดูแลของหัวหน้าหน่วยคอมพิวเตอร์ ซึง่ มีคณะกรรมการดำเนินงานและขึน้ ตรงต่อคณบดี 4.4 การวิจยั คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้รองคณบดีฝา่ ยวิจยั เป็นผู้ ประสานงาน และรับผิดชอบในด้านต่าง ๆ ดังนี้ - ให้บริการในการติดต่อประสานงานด้านทีเ่ กีย่ วกับการวิจยั แก่บคุ ลากร - เป็นแหล่งข้อมูลและกระตุน้ ให้บคุ ลากรมีความตืน่ ตัวในการทำวิจยั เพิ่มขึ้น - สนับสนุนให้เกิดศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการ ( Center of Excellence) - สร้างเครือข่ายองค์ความรูท้ างด้านศิลปกรรมระดับชาติและนานาชาติ - สนับสนุนให้มกี ารวิจยั แบบสหสาขาวิชา 4.4.1 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีนโยบาย แผนงาน และมีการสนับ สนุนงานวิจยั และการสร้างสรรค์ผลงานวิชาการ 4.4.2 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีกระบวนการจัดการวิจยั โดยอาจารย์ผู้ ทำวิจยั เป็นผูแ้ สวงหาแหล่งเงินทุนจากจุฬาฯ และแหล่งเงินทุนภายนอกเป็นราย ๆ ไป
เอก
ค ่ ม ไ ร า ส
ม ุ ค วบ
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
15/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
ผลงานทางวิชาการทีม่ คี ณ ุ ภาพเป็นทีย่ อมรับ และสามารถพัฒนาได้อย่างต่อเนือ่ ง โดยฝ่ายวิจยั เป็นผูป้ ระสานงาน และให้การสนับสนุนในด้านแหล่งเงินทุนทีเ่ กีย่ วกับงาน วิจยั และการสร้างสรรค์ผลงาน 4.4.3 ผลงานวิจยั ของคณะศิลปกรรมศาสตร์ มีการเผยแพร่ทง้ั ในระดับ ชาติ และนานาชาติ
4.5 กิจการนิสติ
ม ุ ค วบ
คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้รองคณบดีฝ่ายกิจการนิสิตเป็นผู้ดูแล สนับสนุนงานด้านกิจการนิสิต ในการดูแลรับผิดชอบงานกิจการนิสิตของคณะกรรมการประสานงานกับหน่วยงานภายในและภายนอกคณะ โดยมุ่งเน้นที่กิจกรรมเสริม หลักสูตรต่าง ๆ งานประชาสัมพันธ์และสวัสดิการ ทุนการศึกษา และรางวัลการศึกษา งานวินยั นิสติ จัดทำทำเนียบศิษย์เก่าและอืน่ ๆ เพือ่ พัฒนานิสติ ให้มคี วามเจริญงอกงาม ในด้านสติปญ ั ญา ร่างกาย จิตใจ มีทศั นคติทด่ี ใี นการดำรงชีวติ และปลูกฝังให้นสิ ติ เป็น ผูม้ รี ะเบียบวินยั มีคณ ุ ธรรม จริยธรรม รูจ้ กั อนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อม เสริมสร้างให้มคี วาม รักในศิลปวัฒนธรรมไปพร้อม ๆ กับความเจริญก้าวหน้าของสังคมปัจจุบนั
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
4.6 การบริการวิชาการ / วิชาชีพสูส่ งั คม
ในระดับชาติและนานาชาติ 2. เป็นสถาบันทีใ่ ห้บริการวิชาการทีม่ คี ณ ุ ภาพเป็นทีย่ อมรับ 3. เป็นสถาบันทีส่ ง่ เสริมศิลปวัฒนธรรม 4.1.5 แผนงาน คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มแี ผนงานในด้านต่างๆ ให้ครอบคลุมพันธกิจ มีการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา แผนระยะกลาง (5 ปี) และแผนระยะสัน้ (1 ปี) ตามลำดับ 4.1.6 การประเมินแผนงาน คณะศิลปกรรมศาสตร์ได้กำหนดให้ฝา่ ยวาง แผน ประเมินแผนจากข้อมูลของรายงานผลการปฏิบตั งิ านเปรียบเทียบกับแผนทีจ่ ดั ทำ ตามงบประมาณจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (งบประมาณแผ่นดินและงบเงินรายได้) ปีละ 2 ครัง้
เอก
ค ่ ม ไ ร า ส
ม ุ ค วบ
4.2 ระบบคุณภาพขององค์กร คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้สร้างระบบคุณภาพทีแ่ สดงให้เห็นกระบวน การและกิจกรรม โดยมีโครงสร้างระบบคุณภาพ ดังนี้
คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้ทกุ ภาควิชาให้บริการวิชาการตามความ ถนัดของอาจารย์ เช่น การจัดอบรม การเปิดสอนบุคคลภายนอก การจัดแสดงผลงาน สูส่ าธารณชน การเผยแพร่ความรูใ้ นรูปแบบต่าง ๆ นอกจากนีย้ งั ส่งเสริมให้อาจารย์รว่ ม มือกับภาครัฐและภาคเอกชน ในการรับเป็นกรรมการในคณะทำงานที่เกี่ยวข้องกับ ศิลปกรรม รวมถึงการเป็นกรรมการตัดสินการประกวดงานแสดงและงานศิลปะด้วย สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
16/24
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
9/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
เชีย่ วชาญในสรรพวิทยาการทีอ่ ำนวยประโยชน์แก่การดำเนินชีวติ ส่วนคุณธรรมทีผ่ เู้ รียน ผูร้ พู้ งึ มี และถือเป็นหน้าทีจ่ ะต้องปลูกฝัง คือ ความรูจ้ กั ตนเอง ใฝ่รอู้ ยูเ่ สมอ คิดริเริม่ สร้างสรรค์ รอบคอบ ไตร่ตรอง มีเหตุผล รับผิดชอบ เห็นการณ์ไกล มีศลี ธรรม และเสียสละ เพือ่ ผลประโยชน์สว่ นรวม เป็นแหล่งสร้างสรรค์งานศิลปกรรม ชีน้ ำสังคมเพือ่ การทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรมของชาติและนานาชาติ 4.1.2 ปรัชญา ด้วยอุปสรรคด้านกายภาพ ครุภณ ั ฑ์ทม่ี อี ยูอ่ ย่างจำกัด คณะศิลปกรรมศาสตร์จงึ ได้กำหนดให้มปี รัชญาในการทำงานดังนี้
ม ุ ค บ ว ก้าวข้ามขีดจำกัด สู่สหัสวรรษแห่ งความคิดสร้างสรรค์ ค ่ ม ไ ร า ส ก เอ
4.1.3 พันธกิจ การใช้ความรูเ้ ฉพาะทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ในการ ดำเนิน ตามพันธกิจของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยให้บรรลุจดุ มุง่ หมาย 4.1.4 วัตถุประสงค์ เพือ่ แสดงจุดมุง่ หมายในการทำงาน คณะได้พจิ ารณา วัตถุประสงค์ ดังนี้ 4.1.4.1 วัตถุประสงค์หลัก คือ ด้านการเรียนการสอน เป็นสถาบัน อุดมศึกษาทีผ่ ลิตบัณฑิตด้านศิลปกรรมศาสตร์ทม่ี คี ณ ุ ภาพ 4.1.4.2 วัตถุประสงค์รอง คือ เป็นสถาบันสร้างสรรค์งานศิลปกรรม งานวิจยั และผลงานทางวิชาการทีม่ คี ณ ุ ภาพเป็นทีย่ อมรับ 1. เป็นสถาบันทีส่ ร้างสรรค์งานศิลปกรรม งานวิจยั และ สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
8/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
4.7 การส่งเสริมและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ สนองนโยบายของมหาวิทยาลัยในการส่งเสริม และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม โดยการจัดให้เกิดกระบวนการศึกษาค้นคว้าเพือ่ การอนุรกั ษ์ และในขณะเดียวกันก็จดั ให้เกิดกระบวนการสร้างสรรค์และนำเสนอผลงานศิลปะในรูปแบบ ต่าง ๆ เพื่อความก้าวหน้าในวงการศิลปะที่มีความเป็นสากลและยังคงรักษาไว้ซึ่งศิลปะ ประจำชาติ โดยสามารถรักษาดุลยภาพในเอกลักษณ์ของความเป็นไทยและความเป็น ประชาคมโลก
ค ่ ม ารไ
4.8 การบริหารและการจัดการ
ส ก เอ
ม ุ ค วบ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ได้จดั วางระบบการบริหารและการจัดการ โดยมี นโยบายการสร้างจิตสำนึกของบุคลากรจากระบบค่านิยมความเป็นอันหนึง่ อันเดียวกันของ องค์กร คณะศิลปกรรมศาสตร์จะเพิ่มความแข็งแกร่งจากการมีค่านิยมอันเป็นแก่น ของวัฒนธรรมองค์กรร่วมกันภายใต้การทำงานอย่างมีระบบ ระเบียบ และมีความเอือ้ อาทร ต่อกัน ระบบค่านิยมองค์กรจากรากฐานการทำงานร่วมกัน จะสามารถสร้างเกณฑ์ มาตรฐานการทำงานของบุคลากรที่ทุกคนมีคุณค่าต่อองค์กรเท่าเทียมกัน และสามารถ นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่มาใช้ในการบริหารและจัดการ มีโครงสร้างและระบบ ทีส่ นับสนุนภารกิจหลัก ซึง่ ได้แก่ การสอน การวิจยั การบริการทางวิชาการ และการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมอย่างมีคณ ุ ภาพและประสิทธิภาพ
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
17/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
4.8.1 โครงสร้างการบริหาร คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดโครงสร้างการบริหารงานตามผัง การบริหารงานของคณะ โดยมีคณบดีเป็นผูบ้ ริหารสูงสุด และมีรองคณบดีหรือผู้ ช่วยคณบดีฝา่ ยต่าง ๆ กำกับดูแลดังนี้ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายวิจยั ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายวางแผน ทัง้ นีก้ ำหนดให้สำนักงานเลขานุการคณะเป็นฝ่ายสนับสนุน ฝ่ายกิจการนิสติ ฯลฯ และภาควิชาต่าง ๆ ซึง่ มีหวั หน้าภาควิชาเป็นผูบ้ ริหารและกำกับดูแลการเรียนการสอน และหลักสูตรของภาควิชา
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
4.8.2 อำนาจหน้าทีแ่ ละการมอบหมายงานบุคลากรสายสนับสนุน คณะศิลปกรรมศาสตร์มกี ารกำหนดอำนาจหน้าทีแ่ ละขอบข่าย งาน (Job Description) บุคลากรแต่ละตำแหน่งอย่างชัดเจนตามทีก่ ำหนดไว้ในระบบ ประกันคุณภาพ โดยพิจารณาความสามารถและศักยภาพจากประวัตกิ ารศึกษา การฝึก อบรม ทักษะและประสบการณ์
ส ก เอ
4.8.3 ระบบการคัดเลือกบุคลากรสายสนับสนุน คณะศิลปกรรมศาสตร์ดำเนินการคัดเลือกบุคลากรตามระเบียบปฏิบตั ขิ องมหาวิทยาลัย โดยมีคณะกรรมการสอบแข่งขันและคัดเลือก ดำเนินการ ประกาศรับสมัครทัว่ ไป ออกข้อสอบ รักษาความลับของข้อสอบ คุมสอบ ตรวจข้อสอบ ประกาศผลสอบข้อเขียน สอบสัมภาษณ์ และประกาศผลสอบด้วยความ ยุตธิ รรมและโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร นอกจากนัน้ ยัง สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
18/24
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำศัพท์
ความหมาย
นิสิต (Student) นิสติ บัณฑิตศึกษา (Graduate Student) ปัจจัยนำเข้า (Input)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
หมายเหตุ
นิสิตระดับปริญญาบัณฑิต (ปริญญาตรี) นิสติ ระดับบัณฑิตศึกษา (ปริญญาโท และปริญญาเอก) ทรัพยากรหรือสิง่ ต่าง ๆ รวมทัง้ บุคคล ที่เข้าสู่กระบวนการดำเนินการ กระบวนการทำงานเพื่อให้ได้ผลผลิต
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
ข้อที่ 4. ข้อกำหนดขัน้ พืน้ ฐาน (Basic Requirements) ข้อกำหนดขั้นพื้นฐาน เป็นข้อกำหนดหรือมาตรฐานที่คณะกำหนด เพื่อเป็น การประกันคุณภาพของการดำเนินงานให้เป็นไปตามระบบประกันคุณภาพอย่างครบถ้วน
4.1 ปณิธาน ปรัชญา วัตถุประสงค์และแผนงาน 4.1.1 ปณิธาน คณะศิลปกรรมศาสตร์มจี ดุ มุง่ หมายทีเ่ ป็นหลักตามปณิธาน ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คือ การบุกเบิก แสวงหา ทำนุบำรุง และถ่ายทอดความรูก้ บั การเสริมสร้างคุณธรรมให้บณ ั ฑิตของคณะเป็นผูเ้ พียบพร้อมด้วยสติปญ ั ญา ความรูท้ น่ี บั ว่า สำคัญยิง่ คือ ความรูเ้ พือ่ ความเจริญของบุคคลและสังคม อันได้แก่ ความรอบรู้ และความ สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
7/24
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
ข้อที่ 2. มาตรฐานและเอกสารอ้างอิง 2.1 CU-QA แนะนำการใช้มาตรฐานประกันคุณภาพของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2.2 องค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้านของทบวงมหาวิทยาลัย สำหรับใช้เป็นแนวทาง ในการตรวจสอบคุณภาพ
ข้อที่ 3. นิยาม คำศัพท์ คณะ (Faculty) ภาควิชา (Department)
ค ่ ม ไ าร
ม ุ ค วบ
ความหมาย คณะศิลปกรรมศาสตร์ หน่วยงานย่อย ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน่วยงานย่อยในคณะ ประกอบด้วย 4 ภาควิชา คือ ภาควิชาทัศนศิลป์ ภาควิชานฤมิตศิลป์ ภาควิชา ดุริยางคศิลป์ (แบ่งออกเป็น 2 สาขา วิชาคือ สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ไทย และสาขาวิชาดุริยางคศิลป์ตะวันตก) และภาควิชานาฏยศิลป์
ส ก เอ
หมายเหตุ
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
6/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
ประเมินผลการปฏิบตั งิ านเป็นระยะ ๆ ตามระเบียบของมหาวิทยาลัยโดยมีคณะกรรมการ ประเมินผลเป็นผูร้ บั ผิดชอบ 4.8.4 ระบบข้อมูล คณะศิลปกรรมศาสตร์มกี ารจัดวางระบบข้อมูลและสารสนเทศ งานประเมินผลการเรียนการสอน งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ
ม ุ ค วบ
4.8.5 ระบบสนับสนุนการบริหาร คณะศิลปกรรมศาสตร์มรี ะบบสนับสนุนด้านธุรการ ระบบ พัฒนาทางกายภาพ มีการซ่อมบำรุงอาคารให้มลี กั ษณะสนับสนุนการเรียนการสอน และการจัดการทรัพย์สนิ คือ การใช้งบประมาณอย่างคุม้ ค่าอันจะเอือ้ ให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อการดำเนินงานของคณะ
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
4.8.6 การมีสว่ นร่วมในการบริหาร คณะศิลปกรรมศาตร์มกี ารจัดระบบเพือ่ ให้บคุ ลากรมีสว่ นร่วมใน การวางแผน และการตัดสินใจในภารกิจทีส่ ำคัญของคณะ
4.9 การเงินและงบประมาณ คณะศิลปกรรมศาสตร์ได้รบั การจัดสรรงบประมาณเพือ่ สนับสนุนการ ดำเนินงานของคณะ การกำหนดใช้งบประมาณมีการตรวจสอบตามระเบียบจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยและระเบียบของกระทรวงการคลัง
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
19/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
4.9.1 แหล่งเงินทุน คณะศิลปกรรมศาสตร์ไดัรบั การจัดสรรงบประมาณในรูปของงบประมาณแผ่นดิน และเงินรายได้ นอกจากนีย้ งั ได้รบั เงินบริจาคจากแหล่งทุนภายนอก 4.9.2 การจัดทำแผนงบประมาณ คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มกี ารจัดทำแผนงบประมาณโดย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ งบประมาณแผ่นดิน และเงินรายได้ ในการจัดทำแผนได้ ดำเนินการตามนโยบายของแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยมีการรวบรวมข้อ มูลเบื้องต้นของคณะจากภาควิชาและจากทุกหน่วยงานย่อยในสำนักงานเลขานุการคณะ ในเรือ่ งความจำเป็นในการใช้วสั ดุ ครุภณ ั ฑ์ การขออัตราทรัพยากรบุคคลทีต่ อ้ งเพิม่ ขึน้ โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ของทางราชการอย่างเป็นธรรม ตามแผนงานหลักที่กำหนด ประมาณการรายรับ จัดสรรงบประมาณ และตัง้ งบประมาณรายจ่าย เพือ่ ขออนุมตั จิ าก มหาวิทยาลัย 4.9.3 การจัดสรรงบประมาณ คณะศิลปกรรมศาสตร์ดำเนินการจัดสรรงบประมาณแผ่นดินและ เงินรายได้ โดยจัดสรรงบประมาณจำนวนหนึง่ ให้กบั งานบริหารทัว่ ไป และอีกจำนวนหนึง่ จัดสรรให้กับงานจัดการศึกษา งบประมาณในส่วนที่จัดสรรให้กับงานบริหารทั่วไปจะ ประมาณการจากรายจ่ายที่เกิดขึ้นจริงในปีงบประมาณที่ผ่านมาเป็นหลัก งบประมาณใน ส่วนที่จัดสรรให้กับงานจัดการศึกษาจะจัดสรรให้ภาควิชาและสาขาวิชาตามเกณฑ์ของ จำนวนนิสติ ส่วนเงินบริจาคจะจัดสรรตามวัตถุประสงค์ของผูบ้ ริจาค ทัง้ นีก้ ารจัดสรร
า ส เอก
ว ค ่ ม ไ ร
ม ุ ค บ
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
20/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
ข้อที่ 1. วัตถุประสงค์และขอบเขต คณะศิลปกรรมศาสตร์ได้จัดทำระบบประกันคุณภาพเพื่อเป็นแนวทาง ในการตรวจติดตามการประกันคุณภาพในฐานะหน่วยงานที่มีผลสัมฤทธิ์ด้านการเรียน การสอน ผลิตบัณฑิตทีม่ คี วามคิดสร้างสรรค์เชิงวิชาการด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็น แหล่งสร้างสรรค์งานศิลปกรรมและการวิจัยขั้นสูง มีความเป็นสากลและรักษาไว้ซึ่ง ศิลปะประจำชาติ โดยกำหนดภารกิจตามโครงสร้างดังนี้
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
โครงสร้างระบบประกันคุณภาพหน่วยงานด้านการเรียนการสอน
ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิต - หลักสูตร - กระบวนการเรียน - บัณฑิต มหาบัณฑิต - ผูเ้ รียน การสอน วิชาบรรยาย และดุษฎีบณ ั ฑิต - ผูส้ อน - กระบวนการเรียนการ ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ - เครื่องมือและ สอน วิชาทักษะ เฉพาะทาง อุปกรณ์ - กิจกรรมสนับสนุน - ผลงานวิชาการ - สภาพแวดล้อม อืน่ ๆ เช่น งานวิจยั - ผลงานวิจยั - งบประมาณ งานบริหาร - ผลงานสร้างสรรค์ - เอกสาร งานบริการวิชาการ ทางศิลปะ - กฎระเบียบ
ผูร้ บั บริการ - ผูเ้ รียน - สถาบันการศึกษา ต่อขัน้ สูง - หน่วยงานภาครัฐ/ ภาคเอกชน
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
5/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
หัวข้อ
หน้า
4.12 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ....................................................................................22 4.13 การพัฒนาสูค่ วามเป็นเลิศ .......................................................................................23 4.14 กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ...............................24
เอก
ค ่ ม ไ ร า ส
ม ุ ค วบ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
งบประมาณจากแหล่งเงินทุนต้องได้รบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการประจำคณะ 4.9.4 การใช้จา่ ยงบประมาณ คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้ใช้จา่ ยงบประมาณตามแผน ทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากมหาวิทยาลัย โดยมีรองคณบดีฝา่ ยบริหารเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการ ตรวจสอบการใช้จา่ ยให้เป็นไปตามแผน ทัง้ นีใ้ นส่วนของภาควิชาต้องได้รบั อนุมตั ใิ น เบือ้ งต้นจากหัวหน้าภาควิชาก่อนทีจ่ ะได้รบั อนุมตั จิ ากคณบดี สำหรับในส่วนของสำนัก งานเลขานุการคณะต้องได้รบั อนุมตั จิ ากคณบดี 4.9.5 การตรวจสอบ คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มกี ารตรวจสอบการใช้จา่ ย งบประมาณให้เป็นไปตามแผนทีก่ ำหนด โดยอยูใ่ นความควบคุมของคณะกรรมการ ประจำคณะ มีการเสนอรายงานการใช้งบประมาณต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการประจำคณะ เป็นประจำทุกเดือนเพือ่ ขอมติรบั รอง เอกสารการเงินทัง้ หมดจะถูกเก็บรักษาไว้เพือ่ การ ตรวจสอบของมหาวิทยาลัยต่อไป
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
4.10 การตรวจติดตามระบบคุณภาพภายในและภายนอก 4.10.1 การตรวจสอบระบบคุณภาพภายใน คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มกี ารแต่งตัง้ ผูต้ รวจสอบภาย ใน เป็นผูม้ หี น้าทีต่ รวจสอบคุณภาพภายใน และให้ผจู้ ดั การสำนักงานประกันคุณภาพ
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
4/24
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
21/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
เป็นผู้จัดทำแผนการตรวจสอบคุณภาพภายในอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และรับผิดชอบใน การจัดทำรายงานการตรวจสอบคุณภาพภายในเพือ่ นำผลไปปรับปรุงแก้ไข 4.10.2 การตรวจสอบระบบคุณภาพภายนอก คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้สำนักงานประกันคุณภาพ ของคณะ ประสานงานกับส่วนประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย เพือ่ รับการตรวจสอบ ภายนอก
ค ่ ม ารไ
4.11 การแก้ไข/ปรับปรุง
ม ุ ค วบ
คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มีคณะกรรมการดำเนินงานประกัน คุณภาพ ทำหน้าทีจ่ ดั เก็บสถิตขิ อ้ มูลเกีย่ วกับการประกันคุณภาพ ข้อบกพร่องในการปฏิบตั ิ ในทุกภารกิจ และนำเสนอต่อคณะกรรมการอำนวยการระบบประกันคุณภาพของคณะ จัดทำแนวทางในการนำข้อมูลมาแก้ไข/ปรับปรุงการปฏิบัติงานให้มีคุณภาพดีขึ้น และ กำหนดให้ผจู้ ดั การสำนักงานประกันคุณภาพนำเสนอรายงานผลจากทีป่ ระชุมคณะกรรมการอำนวยการระบบประกันคุณภาพต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการประจำคณะทุก 6 เดือน
ส ก เอ
4.12 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 4.12.1 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีการกำหนดภารกิจของอาจารย์ และบุคลากรไว้อย่างชัดเจน และมีการประเมินผลการปฏิบตั ภิ ารกิจอย่างสม่ำเสมอโดย พิจารณาอย่างน้อยปีละ 2 ครัง้ ก่อนทีจ่ ะมีการเลือ่ นขัน้ เงินเดือน
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
22/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
สารบัญ หน้า
หัวข้อ
1. วัตถุประสงค์และขอบเขต................................................................................................. 5 2. มาตรฐานและเอกสารอ้างอิง............................................................................................. 6 3. นิยาม...................................................................................................................................... 6 4. ข้อกำหนดพืน้ ฐาน .............................................................................................................. 7 4.1 ปรัชญา/ปณิธาน วัตถุประสงค์และแผนงาน ......................................................... 7 4.2 ระบบคุณภาพขององค์กร........................................................................................... 9 4.3 การเรียนการสอน.........................................................................................................11 4.4 การวิจยั ...........................................................................................................................15 4.5 กิจการนิสติ ....................................................................................................................16 4.6 การบริการวิชาการ/วิชาชีพสูส่ งั คม .........................................................................16 4.7 การส่งเสริมและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ...........................................................17 4.8 การบริหารและการจัดการ .........................................................................................17 4.9 การเงินและงบประมาณ ..............................................................................................19 4.10 การตรวจติดตามระบบคุณภาพภายในและภายนอก ........................................21 4.11 การแก้ไข/ ปรับปรุง ...................................................................................................22
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
3/24
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บันทึกการแก้ไข ปรับปรุงครัง้ ที่ ฉบับร่าง 1
2
3
วันที่
เอก
17 ธ.ค. 45
19 ก.ย. 46
ม ุ ค วบ
ตามความเห็นชอบของคณบดี ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการอำนวย การระบบประกันคุณภาพคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ครั้งที่ 1 / 2545 ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการอำนวย การระบบประกันคุณภาพคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ครั้งที่ 3 / 2545 ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการอำนวย การระบบประกันคุณภาพคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ครั้งที่ 2 / 2546
ค ่ ม ไ ร า ส
สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
2/24
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
4.12.2 คณะจัดให้มคี ณะกรรมการพิจารณาเพือ่ การเลือ่ นตำแหน่ง รายการแก้ไข
17 ต.ค. 44 16 พ.ค. 45
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
และการลงโทษ 4.12.3 เพือ่ พัฒนาองค์ความรูข้ องอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มีการจัดการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของอาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุน 4.12.4 การวิจัยร่วมแบบบูรณาการสหสาขาวิชา โดยส่งเสริมสนับสนุนให้ทง้ั อาจารย์และบุคลากรได้มโี อกาสผลิตผลงานทางวิชาการ การเขียนตำรา และ งานวิจัยร่วมกัน 4.12.5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้จดั กิจกรรม หรือการเข้าร่วม กิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ เพือ่ การบริการทางวิชาการ 4.12.6 สนับสนุนให้มกี ารพัฒนาศักยภาพและคุณวุฒขิ องอาจารย์ และบุคลากร
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
4.13 การพัฒนาสูค่ วามเป็นเลิศ คณะศิลปกรรมศาสตร์มกี ารกำหนดแผน เป้าหมาย และกิจกรรม เพื่อพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ จุดแข็ง - หลักสูตรดี - บุคลากรมีประสิทธิภาพ สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
23/24
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คูม่ อื คุณภาพ (Quality Manual)
QM-QA-0035 ฉบับที่ 1 ปรับปรุงครัง้ ที่ 3
- Input ดี (การคัดเลือก และผลการคัดเลือกนิสติ ) - Process ดี (แผนงาน, ระบบการบริหารงาน และการประเมินผล) - Output ดี (รางวัลของคณาจารย์ นิสติ บัณฑิต ระดับชาติและ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นานาชาติ) - องค์ความรูด้ ี (การวิจยั และงานสร้างสรรค์) - การบริการวิชาการและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม (โครงการ Art for All , ศูนย์ COE , ศูนย์นฤมิตศิลป์) จุดอ่อน - ขาดแคลนงบประมาณในการสนับสนุน คณะศิลปกรรมศาสตร์มกี ารประเมินจุดอ่อน จุดแข็ง เพือ่ พัฒนาองค์กร สู่ความเป็นเลิศและมีการกำหนดบุคลากรผู้รับผิดชอบดำเนินการแก้ไข ปรับปรุงจุดอ่อน และพัฒนาจุดแข็งเหล่านั้น
ส ก เอ
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
4.14 กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์กำหนดให้มีการสนับสนุน โดยการประชาสัมพันธ์/การเข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา วันสำคัญตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทยตามแต่โอกาส
คูม่ อื คุณภาพ (QM-QA-0035)
ฉบับที่
ส ก เอ
ปรับปรุงครัง้ ที่ วันที่
ค ่ ม ารไ
ม ุ ค วบ
1
3
19 กันยายน 2546
ผู้เสนอ
ประธานกรรมการประกันคุณภาพ
ผูท้ บทวน
ประธานกรรมการประจำคณะศิลปกรรมศาสตร์
ผูอ้ นุมตั ิ
คณบดี
เอกสารฉบับนีเ้ ป็นลิขสิทธิข์ อง คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห้ามนำไปใช้ในการอ้างอิงก่อนได้รบั อนุญาตเป็นลายลักษณ์อกั ษร สงวนลิขสิทธิโ์ ดยคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2545
24/24