swot

Page 1

มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยากร อุดมศักดิ์ สันทิฐก ิ วงศ Moody International

1


ตัวอยาง Vision บริษทั ABC จํากัด บริหารอาคารสํานักงาน (Office Building) วิสัยทัศน

ใหอาคาร ABC เปนอาคารสํานักงานที่ดีที่สุดในตอนเหนือของ กทม. ในแงการใหบริการ

ภารกิจ

ภารกิจที่มีความสําคัญสูงสุดของบริษัทคือคุณภาพของการบริการ โดยบริษัทจะเพิ่มพูนจิตสํานึก ความรู และหลักปฏิบัตทิ ี่ดีเกี่ยวกับ การบริการใหพนักงานทุกคน

กลยุทธ

ปรับแนวทางการบริหาร / การประเมินและการวัดผล / การตอบแทนโดย ยึดการบริการเปนหลัก / เนนการบริการที่รวดเร็ว

2


ตัวอยาง Vision บริษทั XYZ จํากัด โรงงานอุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวนไฟฟา (Industrial Factory) วิสัยทัศน

เราจะเปนหนึง่ ในผูนําผูผลิตชิน้ สวนไฟฟา ที่มียอดขายมากกวา 500 ลานบาทตอ ป

ภารกิจ

•เนนผลิตสินคาที่มีคุณภาพและคํานึงในดานความปลอดภัย •พัฒนาบุคลากรใหมีความรูความสามารถในเชิงการผลิตเทคโนโลยีเลกทรอนิค ขั้นสูง •สรางสรรคเทคโนโลยีที่ประหยัดและ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

กลยุทธ

เนนงานวิจัย / สรางแบนด / สินคาคุณภาพ / การจัดสง / ขวัญกําลังใจ

3


ตัวอยาง

Strategy Map for ABC Co., Ltd. มีกาํ ไร ขายพื้นที่ไมต่ํากวา 90%

รายไดสม่ําเสมอ

Financial Delighted Customer

บริการเปนเลิศ

รักษาลูกคาปจจุบัน

ลูกคาใหม

ผลิตภัณฑใหม

Customer รวดเร็ว/ตรงเวลา ไมมีที่ต/ิ มืออาชีพ การบริการลูกคา

การนําเสนอและการขาย การบริหารอาคาร

Internal Process

Back Office ฐานขอมูลลูกคาและ ระบบ IT ที่ดี

พนักงานมีความรูแ ละทักษะ Training

พนักงานมีขวัญและกําลัง ใจและมีความคิดริเริม่

- Communications - Employee satisfaction - Retention - Absenteeism

สภาพแวดลอมและวัฒนธรรม องคกรที่ดี

- Suggestion & adopted - Teamwork Learning&Grow - Activities

h

4


ตัวอยาง

Strategy Map for XYZ Co., Ltd. Profit

ยอดขาย 500 ลานบาท รายไดเพิ่มจากลูกคา ปจจุบัน

รายไดเพิ่มจากลูกคา ใหม

Improved brand, image กระบวนการขาย และนําเสนอ

รักษาลูกคาปจจุบัน

ผลิตภัณฑใหม

ลูกคาใหม

Financial

การบริการลูกคา

Improved quality

การพัฒนาและ ผลิตสินคาใหม

Customer Satisfaction

Improved service

การบริหาร Network

Customer

การจัดสง

การบริหารตนทุน และคาใชจาย

Internal Process Skilled, knowledgeable workforce

Motivated and creative workforce

Good, supporting culture and atmosphere

Learning&Growth 5


Strategy Map

เปนบริษัทหนึ่งผูนําในอุตสาหกรรมพลาสติก ในประเทศไทย สรางมูลคาเพิ่มใหธุรกิจ

รายไดเพิ่มจาก สินคาเดิม

การบริหารตนทุนแบบ ABC

รายไดเพิ่มจากสินคาใหม

Financial

สรางความพึงพอใจใหลูกคาโดยเนนลูกคาเปนศูนยกลาง

การสงมอบตรงเวลา

บริการลูกคาเชิงรุก

ความหลากหลายสินคา

ราคาที่แขงขันได

การสงมอบที่มีประสิทธิภาพ

การบริหารตนทุนที่มีประสิทธิภาพ ศูนยกระจายสินคา

การผลิตที่มีประสิทธิภาพ

บริการจัดสง Out-Source

การบริหารผูขายแบบหุนสวนธุรกิจ บริการผลิต Out-Source

การนําระบบ JIT มาใช

เทคโนโลยีการผลิตทีท่ นั สมัย

การพัฒนาความสามารถและคุณภาพชีวิต

การพัฒนาทักษะ

Customer

จัดตัง้ หนวยงาน QA

Internal Process

การพัฒนาผลิตภัณฑใหมทหี่ ลากหลายและตอเนื่อง

การใชระบบEmpowerment การสงเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตดวยตัวเอง

จัดตัง้ หนวยงานวิจัย

การนําระบบ Suggestion System มาใช

Learning&Growth 6


Strategy Map

เปนบริษัทหนึ่งผูนําในอุตสาหกรรมพลาสติก ในประเทศไทย % การเติบโตธุรกิจ, ROA, ROE

%รายไดเพิ่มจาก สินคาเดิม

%รายไดเพิ่มจากสินคาใหม

Financial

%ตนทุนเทียบราคาขาย

% เพิ่มยอดขาย, ยอดขาย, สวนแบงทางการตลาด, ทางการตลาด, ความพึงพอใจ, พอใจ, ขอรองเรียน

%สงมอบตรงเวลา, มอบตรงเวลา,

จํานวนลูกคาที่ตดิ ตอ ใหมเพิ่ม

จํานวนสินคาใหมที่เพิ่ม

%สงมอบสูญหาย, %ความถูกตอง, ตนทุนขนสงตอหนวย

Customer

%ตนทุนการผลิตลดลง, มูลคาของเสียตอราคาขายลดลง

เวลากระจายสินคา

%ของเสีย, Productivity rate

คะแนนการประเมินผูขายเพิ่ม %ประสิทธิภาพการผลิต Out-Source เพิ่ม

ขอรองเรียนจากจัดสง Out-Source %WIP ลดลง, เวลารอคอย

cycle time, ความเร็วในการผลิต

%ความผิดพลาดจากพนักงาน,ความพึงพอใจพนักงาน

จํานวนทักษะที่เพิ่ม

%ราคาตอหนวยลดลง

สัดสวนเวลาผูบริหารที่เพิ่ม จํานวนปญหาจากพนักงาน, การลาออกลดลง

%ของเสียในระบบ

Internal Process

จํานวนการพัฒนาผลิตภัณฑใหมทเี่ พิ่ม

จํานวนงานวิจยั ทีป่ ระยุกตไดจริง

จํานวนขอแนะนําทีน่ ําประยุกตใชจริง

Learning&Growth 7


Strategy Map

เปนบริษัทหนึ่งผูนําในอุตสาหกรรมพลาสติก ในประเทศไทย MD % การเติบโตธุรกิจ, ROA, ROE

การตลาด

การตลาด

%รายไดเพิ่มจาก สินคาเดิม การตลาด โลจิสติกส ผลิต %สงมอบตรงเวลา, มอบตรงเวลา, วางแผน

การตลาด จํานวนลูกคาที่ตดิ ตอ ใหมเพิ่ม

โลจิสติกส เวลากระจายสินคา

วิจัย&พัฒนา จํานวนสินคาใหมที่เพิ่ม การตลาด ผลิต

ผลิต

Customer

ผลิต %ตจัดนซืทุ้อนการผลิตลดลง, มูลคาของเสียตอราคาขายลดลง

cycle time, ความเร็วในการผลิต ผลิต ซอมบํารุง

%ของเสียในระบบ ผลิต QA ซอมบํารุง

บุคคล %ความผิดพลาดจากพนักงาน, ความพึงพอใจพนักงาน ทุกหนวย

ผลิต จัดซื้อ

Internal Process วิจัย&พัฒนา

จํานวนการพัฒนาผลิตภัณฑใหมทเี่ พิ่ม MD

สัดสวนเวลาผูบริหารที่เพิ่ม จํานวนปญหาจากพนักงาน, การลาออกลดลง บุคคล ทุกหนวย

จัดซื้อ

คะแนนการประเมินผูขายเพิ่ม %ประสิทธิภาพการผลิต Out-Source เพิ่ม

%WIP ลดลง, เวลารอคอย ผลิต คลังสินคา

จํานวนทักษะที่เพิ่ม

ผลิต %ราคาตอหนวยลดลง จัดซื้อ

%ของเสีย, Productivity rate

ขอรองเรียนจากจัดสง Out-Source

บุคคล ทุกหนวย

Financial

%ตนทุนเทียบราคาขาย

% เพิ่มยอดขาย, ยอดขาย, สวนแบงทางการตลาด, ทางการตลาด, ความพึงพอใจ, พอใจ, ขอรองเรียน

%สงมอบสูญหาย, %ความถูกตอง, ตนทุนขนสงตอหนวย โลจิสติกส

บัญชี การตลาด ผลิต

%รายไดเพิ่มจากสินคาใหม

จํานวนงานวิ จยั นาทีป่ ระยุกตไดจริง วิจัย&พัฒ การตลาด ผลิต

บุคคล ทุกหนวย จํานวนขอแนะนําทีน่ ําประยุกตใชจริง

Learning&Growth 8


แผนที่กลยุทธ วัตถุประสงค ตัวชี้วัด เปาหมาย และแผนงาน การเพิ่มขึ้นของรายได

วัตถุประสงค (Objections) รายไดจากลูกคา ใหมเพิ่มขึ้น

ตัวชี้วัด (KPI) รายไดจาก ลูกคาใหม/ รายไดทั้งหมด

รายไดจากลูกคาใหมเพิ่ม

การหาลูกคาใหม

จํานวนลูกคาที่ เพิ่มขึ้น ยอดขายตอ ลูกคา 1 ราย

Strategy Map

การแสวงหาลูกคาใหม

ขอมูลปจจุบัน เปาหมาย (Baseline Data) (Target) 10%

2,000 ราย 100,000 บาท บาท

การบริการที่ดี

แผนงาน โครงการ กิจกรรม (Indicator)

15%

2,500 ราย - ออก Promotion ใหม - เพิ่มบริการที่หลากหลาย 150,000 บาท

การบริการที่ดี

ราคาเหมาะสม

กระบวนการจัดสง ที่รวดเร็ว

กระบวนการ ผลิตที่ดี

อัตราการรองเรียน ไมเกิน 20% จากลูกคา ความรวดเร็วใน ไมเกิน การใหบริการ 1 ชั่วโมง รอยละของการสง การจัดสงที่รวดเร็ว ของที่ไมตรงเวลา ไมเกิน 20%

ไมเกิน 15% - นําระบบเทคโนโลยีสาร สนเทศมาใชในการใหบริการ ไมเกิน - จัดทําระบบฐานขอมูลลูกคา 50 นาที

ทักษะของ พนักงาน

เทคโนโลยี สารสนเทศ

การพัฒนาทักษะ จํานวนวันในการ ของพนักงาน อบรมตอป

7 วัน

10 วัน

อัตราการเขาออก

15%

10%

ไมเกิน 15% - นําระบบ Barcode มาใช

- จัดทําแผนงานอบรมอยาง ตอเนื่อง - จัดกิจกรรมพนักงานสัมพันธ

9


*** การวิเคราะห SWOT ทําให รูจักองคการดียิ่งขึ้น ชวยใหกําหนดทางเลือก แกปญหางายขึ้น ***

10


Page: 15

SWOT Analysis เครื่องมือสรางแผนทีน่ ําทาง ประเมินสภาพ ในปจจุบัน เราอยูที่ไหน

The

“GAP” อะไรที่จําเปนตองทํา เพื่อใหถึงเปาหมาย

สิ่งที่ตองการ ในอนาคต เราตองการ ไปทีไ่ หน 11


แผนภูมิ การบริ การบริหหารการเปลี ารการเปลี่ย่ยนแปลง นแปลง

ระบุ ระบุสสิ่งิ่งทีที่ต่ตอองการ งการ

การเริ การเริ่ม่มตตนน K o n k u rre n te n S ic h W e ttb e w e rb s v o r te ile v e rs c h a ffe n

SWOTAnalyse

E ffiz ie n t u m w a n d e ln

W e rte

Das U n te rn e h m e n in n e n

W e r ts c h ä tz u n g g e w in n e n

K un den

B e z ie h u n g e n v o rte ilh a ft e in s e tz e n

In t e r e s s e n t e n

V is io n

Strategie

... ...

G e m e in s a m e K o n z e p te

K r itis c h e E r fo lg s f a k to r e n / D o W e lls !

!

!

!

!

O r g a n is a tio n s m o d e ll G e s c h ä fts p ro z e s s e

กําหนดแผนกิจกรรม

A n w e n d u n g s a r c h ite k tu r

D a te n a r c h ite k tu r O r g a n is a tio n s s tru k tu r

S tr a t e g is c h e P ro g ra m m e

R in g m a s te r

กระทําตามแผน

ประเมินผล 12


SWOT Analysis Framework Environmental Scan

Internal Analysis

External Analysis

Strengths Weaknesses

Opportunities Threats

SWOT Matrix 13


S- Strengths and W-Weaknesses เปนสภาพแวดลอมภายในของกิจการ

1. สวนประสมทางการตลาด (4 Ps) 2. การเงิน 3. การผลิต 4. บุคลากร อื่น ๆ

14


Strengths จุดแข็ง หมายถึงลักษณะเดนของกิจการในการ ดําเนินงานดานตางๆภายใน ไมวาจะเปนการผลิต การขาย การเงิน และบุคคล เชน - ธุรกิจผลิต สินคาที่มีคุณภาพ ดีกวาคูแขงขัน - ทําเลที่ตั้ง ของธุรกิจอยูติดถนนใหญ - เครื่องจักร มีประสิทธิภาพสูง - มี ผูบ ริหาร ที่มีประสบการณ ฯ 15


Weaknesses จุดออน หมายถึงลักษณะดอยตางๆของกิจการเมื่อ เปรียบเทียบกับคูแขงขันในธุรกิจเดียวกัน ซึ่งจะทํา ใหองคการเสียเปรียบคูแขงขัน เชน -

มี ทรัพยากร นอย ทีต่ งั้ อยูในซอยลึก/คับแคบ เครือ่ งจักร ลาสมัย/ขนาดเล็ก ฯ ผูบริหาร ขาด/(มีนอย)ประสบการณ

16


สภาพแวดลอมภายใน จุดแข็ง

จุดออน

1. ความสามารถดีเดน 2. ทรัพยากรที่เพียงพอ 3. เปนผูนําดานตลาด 4. มีตนทุนต่ํา 5. ขนาดการผลิตที่ ประหยัด 6.ไดรับลิขสิทธิ์ 7. เทคโนโลยี่การผลิตล้ํา หนา

1. สิ่งอํานวยความสะดวก ลาสมัย 2. สายผลิตภัณฑมีนอย 3. ขาดทักษะในการผลิต 4. การวิจัยพัฒนา ลาหลัง 5. ภาพพจนทาง การตลาดไมดี 6. ขาดแคลนเงินทุน 17


O-Opportunities and T-Threats

ระดับจุลภาค 1. ลูกคา-ตลาด 2. คูแขงขัน 3. Suppliers 4. คนกลางหรือตัวแทน จําหนาย

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ระดับมหภาค ประชากรศาสตร เศรษฐกิจ เทคโนโลยี สังคมและวัฒนธรรม การเมืองและกฎหมาย ทรัพยากรธรรมชาติ อื่น ๆ

18


Opportunities โอกาส หมายถึงสภาวะแวดลอมทีอ่ ยูภายนอก องคการ/ชองทางที่เปนประโยชนตอกิจการ เชน - สภาพ เศรษฐกิจที่รุงเรือง - จํานวนประชากร ( ผูบริโภค ) ที่เพิ่มขึ้น - ภูมิอากาศ ที่เอือ้ อํานวยตอการขาย/ผลิต 19


Threats อุปสรรค หมายถึง สภาวะแวดลอมภายนอกองคการที่ กอใหเกิดปญหาและอุปสรรคตอความสําเร็จของกิจการ

เชน -

สภาพเศรษฐกิจ ที่ตกต่ํา จํานวน ประชากร ที่ลดลง คูแขงขัน ที่เพิ่มขึ้น รสนิยม ของผูบริโภคเปลีย่ นแปลง ฯ 20


สภาพแวดลอมภายนอก โอกาส 1. การเขาสูตลาดใหม 2. การเติบโตของ อุตสาหกรรม 3. คูแขงทางการตลาด นอย 4. ประชากรมีอัตราเพิ่ม สูงขึน ้ 5. อํานาจการตอรองของ ลูกคานอยลง

อุปสรรค 1. การเขามาของ คูแขง รายใหม 2. การเจริญเติบโตของ ตลาดนอยลง 3. อํานาจการตอรองของ ลูกคาเพิ่มขึ้น 4. มีสินคาเขามาทดแทน 5. นโยบายของรัฐไม เอื้ออํานวย 21


การวิเคราะห SWOT โอกาส Opportunity

จุดแข็ง Strengths จุดออน Weaknesses

อุปสรรค Threats

22


SWOT Matrix ภายใน

ภายนอก

+

จุดแข็ง Strengths

โอกาส Opportunities

-

จุดออน Weaknessesอุปสรรค Threats

23


ตัวอยางจริง 24


การสัมมนาเชิงปฏิบัติการระดับชาติ เพื่อกําหนด

ยุทธศาสตร

การพัฒนา SMEs …………... 2544 ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์


SME อุตฯสนับสนุน : จุดแข็ง-จุดออน

S W O T

จุดแข็ง

• มีความสัมพันธตอเนื่องยาวนานกับผูซื้อตางประเทศ • แรงงานมีทักษะ ผูประกอบการมีประสบการณ สามารถผลิตตามตนแบบไดดี • มีความยืดหยุน เต็มใจรับงานพิเศษที่ปริมาณนอย • มีกําลังการผลิตคงเหลือ

จุดออน

• ขาดความรูเทาทันและอํานาจตอรอง จึงเปนฝาย เสียเปรียบในสัญญาการคา-ถายทอดเทคโนโลยี • บุคลากรรับการถายทอดเทคโนโลยีไดไมเต็มที่ • ตองพึ่งพาการนําเขาวัตถุดิบ เชน โลหะ, เคมีภัณฑ • การใช IT, e-commerce ยังคอนขางจํากัด • ขาดการพัฒนาเทคโนโลยี-รูปแบบ-ยี่หอของตนเอง

ราง 2001-05-06

สัมมนายุทธศาสตร SME 13-14 พฤษภาคม 2544

26.


SME อุตฯสนับสนุน : โอกาส-ภัยคุกคาม โอกาส

S W O T

• มีโอกาสขยายตลาดในกลุมประเทศอาเซียน เนื่องจากการเปดเสรีทางการคา • เปนผูผลิตชิ้นสวนใหแกผปู ระกอบรายใหญของโลก จึงมี โอกาสเขาตลาด Replacement Market ทัว่ โลก

• แนวโนม Global Sourcing ทําใหผผู ลิตไทยเสียเปรียบ ปญหา คูแขงในประเทศที่มคี าแรงต่ํากวา สิ่งทาทาย

• ภาษีนําเขาวัตถุดิบบางชนิดสูงกวาชิ้นสวน ไมเอื้อตอการ ผลิตชิ้นสวนในประเทศ • มีมาตรการกีดกันทางการคาที่ไมใชภาษีมากขึ้น มีภาระตองรับคืนชิ้นสวนใชแลวที่ recycle ไมได • ขาดแคลนแหลงบริการวิเคราะหทดสอบในประเทศ ที่ไดรับการรับรองมาตรฐานสากล

ราง 2001-05-06

สัมมนายุทธศาสตร SME 13-14 พฤษภาคม 2544

27.


SME อุตฯสนับสนุน : มาตรการ เพื่อเพิ่ม สมรรถนะ

เพื่อสราง ภาวะแวดลอม ที่เอื้ออํานวย

ราง 2001-05-06

• ปรับปรุงผลิตภาพ โดย benchmark กับ Best Practice • เรงขยายการกําหนด-รับรองมาตรฐานฝมือแรงงาน โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับชิ้นสวนยานยนต อิเล็กทรอนิกส • สราง-พัฒนาบุคลากรดานออกแบบวิศวกรรม • ผลักดันผูผลิตเขาสูมาตรฐาน ISO และ QS • กําหนดเงื่อนไขสงเสริมการลงทุนใหบริษทั ขามชาติ ถายทอดเทคโนโลยีแกผูผลิตไทยอยางเปนรูปธรรม • เพิ่มจํานวน-ยกระดับหองปฏิบัติการ/ศูนยทดสอบ • ปรับโครงสรางภาษีวัตถุดิบ-ชิ้นสวน-สําเร็จรูป • พัฒนาระบบฐานขอมูลและระบบเชื่อมโยงผูผลิต-ผูใช ชิ้นสวน, ฐานขอมูลการออกแบบชิ้นสวน • ออกกฎหมายสงเสริมการรับชวงการผลิต สัมมนายุทธศาสตร SME 13-14 พฤษภาคม 2544

28.


มาตรการปรับสภาวะแวดลอมใหเอื้อตอ SME โดยรวม การเงิน

• ค้ําประกันสินเชื่อ Financial NPL ระยะชั่วคราว • เพิ่มทางเลือกบริการการเงินอื่น ๆ (Leasing, Factoring)

ตลาด

• กําหนดเปาหมายใหหนวยงานภาครัฐจัดซื้อจาก SME แกไขระเบียบ-เงื่อนไขที่เปนอุปสรรค

(แกปม สภาพคลอง) (เพิ่มการจัดซื้อ)

กฎระเบียบ ภาษี (ลดภาระ)

ขอมูล ขาวสาร

(เพื่อทันโลก) ราง 2001-05-06

• ปรับปรุงระบบจัดเก็บภาษีเงินได เรงคืนภาษี ปรับปรุงระบบภาษีทองถิ่น • ทบทวนการบังคับใชมาตรฐานบัญชี • พัฒนา-เชื่อมโยงระบบขอมูลหนวยงานรัฐ-เอกชน สวนกลาง-ทองถิ่น • เพิ่มประสิทธิภาพ-ปรับคาบริการเครือขายโทรคมนาคม สัมมนายุทธศาสตร SME 13-14 พฤษภาคม 2544

29.


สรุปการระดมความคิด

การปรับโครงสรางเศรษฐกิจและสังคม และทิศทางการพัฒนาภาคใต กลุมจังหวัดภาคใตชายแดน 1 (นราธิวาส ปตตานี ยะลา) ประธาน เลขานุการ นําเสนอ

นายวีระพงศ แกวสุวรรณ นายนิรันดิ์เกียรติ ลิ่วคุณูปการ นายนิรันดิ์เกียรติ ลิ่วคุณูปการ 30


ขอมูลพื้นฐาน

กลุม จังหวัด

ภาคใต

ประเทศ ไทย

GDP 2547 (พันลานบาท)

46.8

676.0

6,615.1

GDP Growth 44-47 (%)

4.1

4.8

6.1

54,290

77,973

103,044

45.2

35.1

9.4

6.6

14.0

38.5

36.9

36.6

32.8

สัดสวนคนจน 47 (%)

22.5

8.3

12.0

อัตราการตายของมารดา ตอการเกิดมีชีพ 1 แสนคน (46)

20.4

20.2

13.7

1.5

2.4

2.0

GDP Per capita (บาท) เกษตร

โครงสราง การผลิต อุตสาหกรรม (47)

บริการ

คดีอาชญากรรมตอ 1,000 คน

31


การวิเคราะหสภาวะแวดลอม แข็งง จุจุดดแข็ • มีการดํารงอยูของวัฒนธรรมและภูมิปญญาของทองถิน ่ ที่หลากหลาย • มีทน ุ ทางสังคมโดยเฉพาะทรัพยากรมนุษยสวนใหญที่นับถือศาสนา อิสลามที่สามารถเชื่อมโยงกับโลกมลายูและมุสลิมได • เปนพื้นที่ชายแดนที่เชื่อมโยงการคา การลงทุน การคมนาคม การทองเที่ยวเชิงอนุรก ั ษและวัฒนธรรม กับประเทศเพื่อนบาน • เปนศูนยกลางเชื่อมโยงทางการศึกษาศาสนาอิสลาม • ประชาชนในพื้นทีส ่ วนใหญสามารถใชภาษามลายูทองถิ่นที่สามารถ สื่อสารกับประเทศเพื่อนบานได • มีศักยภาพทางดานการเกษตร เชน ยางพารา และไมผล (เชน ้ํ ชายฝง ลองกอง มังคุด) ดานการประมง และการเพาะเลี้ยงสัตวนา • มีพระตําหนักทีป ่ ระทับในพื้นทีแ ่ ละโครงการพระราชดําริที่สามารถ เปนตัวอยางใหประชาชนเรียนรู • มีปาเขตรอนชื้นบาลา-ฮาลา ปาพรุสิรินธรทีอ ่ ุดมสมบูรณ และมีปา ชายเลนที่อด ุ มสมบูรณ 32


การวิเคราะหสภาวะแวดลอม แข็งง จุจุดดแข็ • มีแหลงน้ําธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ คือ แมนา ้ํ สายบุรี แมน้ําปตตานี แมน้ําบางนรา และแมนา ้ํ สุไหงโก-ลก รวมทั้งมีเขื่อนกักเก็บน้ําบางลาง และระบบชลประทานคลอบคลุมพื้นทีใ่ นสัดสวนของพื้นที่การเกษตรที่ สูง • มีสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาในพื้นที่ คือ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (วิทยาเขตปตตานี) มหาวิทยาลัยราชภัฎ ยะลา มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร วิทยาลัยอิสลามยะลา วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส วิทยาลัยชุมชนยะลา และวิทยาลัยชุมชน ปตตานี • มีความพรอมดานโครงสรางพื้นฐานที่พรอมทั้งทางรถยนต (4 ชอง จราจร) ทางรถไฟ สนามบิน เขตอุตสาหกรรม (ปตตานี) และทาเทียบ เรือประมงขนาดใหญที่จังหวัดปตตานี • มีปริมาณฝนตกโดยเฉลี่ยสูงมากกกวา 2,400 มิลลิลิตรตอป • มีทรัพยากรธรรมชาติประเภทหินแกรนิตทีใ่ ชในการกอสรางและดิน 33 ขาวทีม ่ ีคุณภาพ


การวิเคราะหสภาวะแวดลอม จุจุดดออออนน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

สถานการณความไมสงบเรียบรอยในพื้นทีส ่ งผลใหเกิดความไม ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชน คุณภาพการศึกษาอยูในเกณฑต่ํา ประชาชนบางสวนยังไมรูและ ไมนิยมใชภาษาไทยทําการสือ ่ สารในชุมชน ภาคเกษตรและอุตสาหกรรมยังขาดการพัฒนาในมิติดาน การตลาด การผลิต การใชเทคโนโลยีสมัยใหม การเพิ่มมูลคาและ การเขาถึงขอมูลขาวสารการตลาดของเกษตรกร การเขาถึงสารสนเทศของประชาชนอยูในระดับต่ํา การใชประโยชนจากการลงทุนของภาครัฐไมเต็มที่ ประชาชนยัง ไมใชเวลาในการประกอบอาชีพอยางเต็มศักยภาพ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมถูกทําลายและยังขาดการ บริหารการจัดการอยางเปนระบบ การปกครองสวนทองถิน ่ ยังไมเขมแข็ง และการนําหลักธรรมาภิ บาลมาใชยังไมสมบูรณ 34


การวิเคราะหสภาวะแวดลอม (ตออ)) จุจุดดออออนน (ต 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16.

ประชาชนยังมีปญหาสุขภาพอนามัย โดยเฉพาะภาวะมารดาและ ทารกตายจากการคลอด ขาดเสนทางมาตรฐานที่เชื่อมโยงกับแนวแกนพัฒนาภาคใต ชายฝงตะวันตกและระหวางประเทศ ประชาชนสวนหนึง ่ ยังไมเขาใจวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่ถก ู ตอง ทรัพยากรทีด ่ ินเสื่อมโทรมไมเหมาะสมตอการเพาะปลูก มีดิน เปรี้ยวจัด และดินเค็มดินทรายจัดถึงประมาณ 9 แสนไร มีพื้นทีน ่ ารางมาก ขาดทรัพยากรบุคคลดานการศึกษาและสาธารณสุข ขาดแคลนแรงงานในสถานประกอบการ ้ํ ไมถูกตอง เชน การ มีการบริหารจัดการในเรื่องทรัพยากรสัตวนา ใชเครื่องมือการทําประมงที่ผิดกฎหมาย เปนพื้นทีท ่ ี่ไกลจากศูนยกลางของประเทศมากทีส ่ ุด ทําใหโอกาส การเขาถึงบริการสาธารณะของภาครัฐยากขึ้น รวมทั้งภาระดาน 35 การคมนาคมขนสงสูงทีส ่ ุด


การวิเคราะหสภาวะแวดลอม (ขออเสนอที เสนอทีป ่ ระชุ ระชุมม)) จุจุดดออออนน (ข ่ป

• ความไมมีเอกภาพในพื้นที่ • คุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่อยูในเกณฑต่ํา • การบริการของภาครัฐบางสวนยังไมเปนที่พอใจของ ประชาชน • ประชาชนในพื้นที่มีทัศนคติที่ไมคอยดีตอบุคลากรและ หนวยงานของภาครัฐ • การใชทรัพยากรในพื้นที่ไมเชื่อมโยงและเอื้อประโยชนตอ  คนในพื้นที่ • ชุมชนขาดทักษะในการบริหารจัดการและพัฒนาระบบ เศรษฐกิจชุมชน

36


การวิเคราะหสภาวะแวดลอม โอกาส โอกาส 1. มีที่ตั้งไดเปรียบเชิงภูมิศาสตรและเปนเมืองชายแดนที่มีความ หลากหลายทางวัฒนธรรม สามารถเชือ ่ มโยงไปสูนานาชาติ (เอเชียตะวันออก อาเชียน เอเชียใต ตะวันออกกลาง) ทั้งระดับ การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม การคาและการลงทุน 2. เปนพื้นที่ความรวมมือของกลุม  พัฒนาเศรษฐกิจอินโดนีเชีย-มาเล เชีย-ไทย (IMT-GT) 3. ความสมบูรณของทรัพยากรปาไม ความสวยงามทางธรรมชาติ และกระแสอนุรักษธรรมชาติกอใหเกิดโอกาส และการใช ประโยชนเชิงอนุรักษ 4. รัฐบาลมีนโยบายที่เอือ ้ อํานวยตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต อีกทั้งการปฏิรูประบบราชการ และ การจัดการภาครัฐแนวใหม ทําใหทองถิน ่ สามารถบริหารจัดการ ไดดวยตนเอง 37


การวิเคราะหสภาวะแวดลอม โอกาส (ต (ตออ)) โอกาส • วิถีชว ี ต ิ เชือ ่ มกับโลกมุสลิม • มีโอกาสเปนครัวอาหารมุสลิมโลก และอุตสาหกรรมครัวเรือนดาน เครือ ่ งแตงกายมุสลิม • มีโอกาสเปนศูนยกลางอิสลามศึกษาทีร ่ ับนักศึกษาจากนานาชาติ • โอกาสในการใชประโยชนจากขอตกลงเขตการคาเสรี (FTA) โดยเฉพาะกับประเทศจีน อินเดีย ในการสงออกผลไม • พื้นที่อา ํ เภอเบตง มีภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เหมาะสมกับการ พัฒนาปลูกไมเมืองหนาวและพืชผัก

38


การวิเคราะหสภาวะแวดลอม คาม ภัภัยยคุคุกกคาม •• •• •• ••

การนํ การนําาเสนอข เสนอขออมู มูล ลข ขาาวสารส วสารสงงผลกระทบต ผลกระทบตออการลงทุ การลงทุน นและการ และการ ท ทอองเที งเที่ย ่ยวว การทํ ่อ ่อ การทําาประมงกั ประมงกับ บประเทศเพื ประเทศเพือ ่ นบ นบาาน น มี มีเเงืงือ ่ นไขในการร นไขในการรววมลงทุ มลงทุน น มากขึ ้น มากขึน ้ ทํ ทําาให ใหเเป ปน นอุอุป ปสรรคตั สรรคตัววแทนนํ แทนนําาสั สัต ตววน น้ํา้ํามาขึ มาขึ้น ้นฝ ฝงงในพื ในพื้น ้นที ที่ ่ การกี ่อ การกีด ดกั กัน นทางการค ทางการคาาด ดาานมาตรการในเรื นมาตรการในเรือ ่ งสิ งสิ่ง่งแวดล แวดลออม ม สุ สุข ขอนามั อนามัย ย สิ สิท ทธิธิม มนุ นุษ ษยชนจะมี ยชนจะมีผ ผลกระทบต ลกระทบตอออุอุต ตสาหกรรม สาหกรรม การเกษตร การเกษตร บุ ้น ่อ บุค คคลภายนอกพื คลภายนอกพืน ้ ที ที่ข ่ขาดความเข าดความเขาาใจในเรื ใจในเรือ ่ งศาสนาและ งศาสนาและ วัวัฒ ่น ฒนธรรม นธรรม ขนบธรรมเนี ขนบธรรมเนีย ยมประเพณี มประเพณีท ทอองถิ งถิน ่ อย อยาางถ งถอองแท งแท

39


ยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด ประเด็น n เสริมความ มั่นคง

แนวทาง

โครงการ

• เสริมสรางความรูความเขาใจ ใหเกิดขึ้นกับประชาชนทุก ชุมชน ทุกกลุม ดวยมาตรการ ทุกวิธีการ • การบูรณาการงานปองกันและ ปราบปราม (พตท.) ใหเปน แนวทางเดียวกัน และมีเอกภาพ • การบูรณาการดานงานการขาว รวมกัน • สงเสริมความเขมแข็งของ ชุมชนใหมีสวนรวมและชวย ตนเองในการรักษาความสงบ เรียบรอยในชุมชนและใน หมูบาน

-

40


ยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด (เพิ่มเติม) ประเด็น n เสริมความ มั่นคง

แนวทาง

โครงการ

• การพยายามใชกลไกในทองถิ่น เชื่อมเครือขายกับประเทศเพื่อน บาน • การจัดการศึกษาบนความ หลากหลายของวัฒนธรรมทั้ง ใน นอกระบบ และตามอัธยาศัย

-

41


ยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด (ตอ) ประเด็น o พัฒนา อุตสาหกรรม อาหารฮาลาล

แนวทาง

โครงการ

• สนับสนุนใหมีการลงทุนเชิง อุตสาหกรรม เนนพัฒนา อุตสาหกรรม และอุตสาหกรรม ตอเนื่อง ที่มีวัตถุดิบมากใน ทองถิ่นเตรียมความพรอมของ พื้นที่เพื่อรองรับประตูเชื่อมโยง เศรษฐกิจสูนานาชาติ • สงเสริมการวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมและเทคโนโลยีควบคู กับภูมิปญญาทองถิ่นและ กระบวนการบมเพาะวิสาหกิจ ชุมชนในการเพิ่มมูลคาสินคา ฮาลาล

• โครงการพัฒนา เครือขายการ บริหารจัดการ เพื่อสนับสนุน อาหารฮาลาล • โครงการสงเสริม การผลิตวัตถุดิบ อาหารฮาลาล • จัดตั้งศูนยบมเพาะ วิสาหกิจชุมชนใน สถานศึกษาใน 3 จังหวัดภาคใต • การวิจัยแปรรูป ผลิตภัณฑอาหาร 42 ฮาลาล


ยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด (ตอ) ประเด็น o พัฒนา อุตสาหกรรม อาหารฮาลาล

แนวทาง

โครงการ

• สงเสริมและพัฒนาการเพิ่ม มูลคาและมาตรฐานสินคา • เพิ่มขีดความสามารถในการ แขงขัน • การถายทอดเทคโนโลยีขยาย ตลาดใหสิทธิประโยชนในการ ลงทุนเพื่อสรางมูลคาเพิ่ม

• สงเสริมภูมิปญ  ญา ทองถิ่นดําเนินการ พัฒนาอาหาร ทองถิ่นใหเปน อาหารฮาลาล เพื่อ การสงออก

43


ยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด (ตอ) ประเด็น p การคา ชายแดนและ การทองเที่ยว

แนวทาง

โครงการ

• สงเสริมการคา การบริการ และ • โครงการสงเสริม การคาระหวาง 3 การลงทุนกับประเทศเพื่อนบาน จังหวัดชายแดนใต และโลกมุสลิม กับตางประเทศ • พัฒนาระบบฐานขอมูล • การรักษาและ เชื่อมโยงกับหนวยงานทั้ง พัฒนาสถานที่ ภาครัฐและเอกชน รวมถึง ทองเที่ยว/พัฒนา ผูใชบริการ บุคลากร 3 จังหวัด • พัฒนาโครงขายคมนาคมและ • สนับสนุนและ ดานชายแดน สงเสริมกิจกรรม • การพัฒนาบุคลากรภาครัฐและ การทองเที่ยว ภาคเอกชนใหมีความรูและ การตลาด 3 ทักษะดานการคาระหวาง จังหวัด ประเทศ • การเสริมสรางความรวมมือกับ 44 ประเทศเพื่อนบาน


ยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด (ตอ) ประเด็น p การคา ชายแดนและ การทองเที่ยว

แนวทาง • การรักษาและพัฒนาคงไว แหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษ • การพัฒนาศักยภาพของชุมชน ดานทักษะการบริหารจัดการ แหลงทองเที่ยว • สงเสริมสนับสนุนการสราง เครือขายของชุมชนในการ พัฒนาการทองเที่ยว • เสริมสรางศักยภาพและขีด ความสามารถของธุรกิจ เกี่ยวเนื่องดานการทองเที่ยว • การดําเนินการสงเสริมดาน การตลาดทองเที่ยวทั้งในและ ตางประเทศ

โครงการ

45


ยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัด (ตอ) ประเด็น q ศูนยกลาง อิสลามศึกษา นานาชาติ

แนวทาง

โครงการ

• สนับสนุนสงเสริมใหมีการเรียน การสอนอิสลามศึกษา ในทุก ระดับการศึกษา • สงเสริมใหมีการเปดหลักสูตร นานาชาติ

-

46


ขอเสนอทิศทางการพัฒนาภาคใต

ั ทั ทัศ ศน น วิวิสสย ัย

เปน นสะพานเศรษฐกิ สะพานเศรษฐกิจจเพื เพื่อ่อ :: เป ความมัน ่ คงของประเทศ คงของประเทศ ความมั ่น

47


ประเด็นการพัฒนาเชิงพื้นที่

รูปแบบการพัฒนาพื้นที่ภาคใต

z บางสะพาน

R

z พื้นที่พัฒนาเมือง พื้นที่รักษาสิ่งแวดลอมชายฝงทะเล

z

่อนุรักษปาสไมนอแนะ / ตนน้ํา ­­­ พืเส้นนทีทางรถไฟเ แนวสะพานเศรษฐกิจ แนวทอกซไทย - มาเลเซีย พื้นที่พัฒนาเมืองชายแดน

สํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

­­ ­ ­ ­­ ­ ­ ­

­ ­ ­

­ ­ ­

M

สํานักพัฒนาพื้นที่

z

z

Mz

z z z

z

M z

z z

z

รูปแบบ • ประตูเศรษฐกิจเชื่อมโยงเอเชียใต ตะวันออกกลาง ยุโรป อินโดจีน เอเชียตะวันออก • ภาคใตตอนบน - แปรรูปผลิตภัณฑเกษตร - ทองเที่ยวทางทะเล • ภาคใตตอนลาง - อาหารฮาลาล - พื้นที่เศรษฐกิจชายแดน ระบบชุมชน - สะพานเศรษฐกิจ ระนอง- ชุมพร- บางสะพาน - สะพานเศรษฐกิจ พังงา- นครศรีธรรมราช - พื้นที่นครศรีธรรมราช – ตรัง - พื้นที่กระบี่ – พังงา-ภูเก็ต - พื้นที่ปตตานี – ยะลา-นราธิวาส - สะพานเศรษฐกิจ สตูล-สงขลา - พื้นที่สงขลา-หาดใหญ ระบบโครงขาย - ปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานตามแนวสะพานเศรษฐกิจ - พัฒนาเมืองที่เปน gateway - พัฒนาทาเรือ ดานชายแดน การจัดการ Logistic 48


ขอเสนอทิศทางการพัฒนาภาคใต (ตอ)

ทิทิศศทางและบทบาทการพั ทางและบทบาทการพัฒฒนาเชิ นาเชิงงพืพื้น้นทีที่ ่ ชุ ชุมมพร พร ระนอง ระนอง สุสุรราษฎร าษฎรธธานี านี เป เปนนศูศูนนยยกกลางพั ลางพัฒ ฒนาระบบ นาระบบ

การขนส การขนสงงตตออเนื เนื่อ่องหลายรู งหลายรูปปแบบ แบบ ศูศูนนยยกกลางการท ลางการทอองเที งเที่ย่ยวว ทางทะเลระดั ทางทะเลระดับบโลกฝ โลกฝงงออาาวไทย วไทย และเป และเปนนแหล แหลงงผลิ ผลิตต/แปรรู /แปรรูปป สิสินนคคาาเกษตร เกษตร (ผลไม (ผลไม ยางพารา ยางพารา ปาล ปาลมมน้น้ําํามัมันน))

ตรั ตรังง นครศรี นครศรีธธรรมราช รรมราช พั พัททลุลุงง เป เปนนแหล แหลงงผลิ ผลิตตอาหาร อาหาร แปร แปร

รูรูปปสิสินนคคาาเกษตร เกษตร (ข (ขาาวว ปศุ ปศุสสัตัตวว)) ศูศูนนยยกกลางตลาดผลผลิ ลางตลาดผลผลิตต การเกษตร การเกษตร และแหล และแหลงงททอองเที งเที่ย่ยวทางทะเลและเชิ วทางทะเลและเชิงงอนุ อนุรรักักษษ 49


ขอเสนอทิศทางการพัฒนาภาคใต (ตอ) กระบี กระบี่ ่ พั พังงงา งา ภูภูเเก็ก็ตต เป เปนนศูศูนนยยกกลางการท ลางการทอองเที งเที่ย่ยวทางทะเล วทางทะเล

ระดั ระดับบโลกในภู โลกในภูมมิภิภาค าค ศูศูนนยยกกลางการพั ลางการพัฒ ฒนาบริ นาบริกการระดั ารระดับบ นานาชาติ นานาชาติ และเป และเปนน Palm Palm Oil Oil City City

นราธิ นราธิววาส าส ปปตตตานี ตานี ยะลา ยะลา เป เปนนแหล แหลงงผลิ ผลิตตปศุ ปศุสสัตัตววแและ ละ

อุอุตตสาหกรรมอาหารฮาลาลและเครื สาหกรรมอาหารฮาลาลและเครื่อ่องแต งแตงงกายมุ กายมุสสลิลิมม พื พื้น้นทีที่ ่ พั พัฒ ฒนาความร นาความรววมมื มมืออทางเศรษฐกิ ทางเศรษฐกิจจกักับบประเทศเพื ประเทศเพื่อ่อนบ นบาานน และเป และเปนนศูศูนนยยกกลางอิ ลางอิสสลามศึ ลามศึกกษา ษา

สงขลา สงขลา สตู สตูลล สะพานเศรษฐกิ สะพานเศรษฐกิจจเชื เชื่อ่อมโยงฝ มโยงฝงงออาาวไทย-อั วไทย-อันนดา ดา

มัมันน ศูศูนนยยกกลางการค ลางการคาา การท การทอองเที งเที่ย่ยว/บริ ว/บริกการและการค ารและการคาา ชายแดนเชื ับ ชายแดนเชื่อ่อมโยงภาคใต มโยงภาคใตกกบ ั ประเทศเพื ประเทศเพื่อ่อนบ นบาานน ศูศูนนยยกกลาง ลาง ยางพารา ยางพารา และศู และศูนนยยกกลางการศึ ลางการศึกกษา ษา วิวิจจัยัยและพั และพัฒ ฒนาของ นาของ ภาคใต ภาคใต 50


ขอเสนอทิศทางการพัฒนาภาคใต (ตอ) 1. เปดประตู เศรษฐกิจเชื่อมโยง กับภูมิภาคเอเชีย

ยุทธศาสตรการพัฒนาภาคใต ในระยะแผนฯ 10

• ขยายการทองเที่ยวสูแหลงใหมๆ • ฟนฟูแหลงทองเที่ยวทีไ ่ ดรับ ผลกระทบจากสึนามิ • สรางระบบเตือนภัยธรรมชาติ • พัฒนาธุรกิจการใหบริการระดับ นานาชาติ

• พัฒนาเครือขายคมนาคมขนสง หลายรูปแบบ • พัฒนาเปนศูนยกลางพลังงาน น้ํามันในภูมิภาค (SELB) • สรางฐานการผลิตสินคาเพื่อการ สงออก

3. เพิ่มมูลคา การเกษตร อุตสาหกรรม

และการจัดการ ทรัพยากร สวล. อยางยั่งยืน

• พัฒนาการเกษตรและ อุตสาหกรรม • ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม

2. เสริมสรางฐาน การทองเที่ยว& บริการใหมีความ เขมแข็งยั่งยืน

4. พัฒนา ศักยภาพคน แกปญหา ยากจน&ยกระดับ คุณภาพชีวิต ประชาชน • พัฒนาคนใหมีประสิทธิภาพ • เรงขจัดปญหาความยากจน

5. เสริมสราง ความสมานฉันท &ความมั่นคงในพื้นที่

• สนับสนุนคกก.อิสระเพื่อความสมานฉันท แหงชาติ • เสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน • บุรณาการการปองกัน ปราบปราม&การ พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม 51 • พัฒนาความรวมมือกับประเทศเพื่อนบาน • จัดกลไกการบริหารใหมีเอกภาพ


52


3. การกําหนดวัตถุประสงค (Setting the Objectives)

คือการกําหนดสิ่งทีต่ องการที่เปนเปาหมายใน อนาคตภายหลังจากที่ไดตัดสินใจใชกลยุทธแกไข สาเหตุและปญหาใหหมดไปแลว เชน - เพื่อเพิม่ ยอดขายและกําไร - เพื่อลดตนทุนการผลิต ฯ 53


ในการกําหนดวัตถุประสงค จะตองให สอดคลองกับปญหาแตละดาน และมีจํานวน เทากับปญหาพอดี เชน ถามีปญหา 5 ดาน วัตถุประสงคก็ตอง 5 ขอ ถามีปญหา 4 ดาน วัตถุประสงคก็ตอง 4 ขอ 54


ปญหาดาน 1. ………………………. 2. ………………………. 3. ……………………… 4. ……………………… 5. ……………………… วัตถุประสงค 1. ................................. 2. ................................. 3. ................................. 4. ................................. 5. .................................

55


4. การวิเคราะหปญหาและสาเหตุของปญหา ( Problem Analysis ) แบงออกเปนขั้นตอน 3 ขั้นคือ 4.1 การกําหนดปญหา ( Identifying Problem ) เปนการนําเอาเหตุการณตางๆที่เกิดขึ้นในองคการ แตละมาดานมาวิเคราะหวา เหตุการณนั้นกอใหเกิด ผลลัพธเปนอยางไร 56


การกําหนดปญหา {ดานการผลิต {ดานการตลาด {ดานการจัดการ /การบริหาร {ดานการเงิน {ดานทรัพยากรมนุษย 57


ตัวอยาง ปญหาดานการตลาด ปญหา: กิจการเสียสวนครองตลาดและ ยอดขายลดลง ปญหาทางดานการเงิน ปญหา: กิจการขาดสภาพคลอง 58


ปญหาทางดานการผลิต ปญหา : บริษัทผลิตไมทันกับความตองการของ ลูกคา ปญหาทางดานการบริหาร ปญหา : บริษัทขาดการวางแผนและการ ควบคุมที่ดี

59


ปญหาทางดานทรัพยากรมนุษย ปญหา : บริษัทมีอัตราการเขาออกของ คนงานสูง

60


4.2 การระบุสาเหตุของปญหา ( Cause Identification ) สาเหตุของปญหาคืออาการที่กอใหเกิดปญหา เชน - พนักงานขาดขวัญและกําลังใจในการทํางาน - ตนทุนของวัตถุดิบและแรงงานสูงขึ้น - คูแขงขันรายใหมเขามาแยงตลาด 61


- ผูบริหารขาดความรูและประสบการณ - การเก็บหนี้ลา ชาและเกิดหนี้สูญเปน จํานวนมาก

62


ตัวอยางปญหาดานการตลาด ปญหา: ธุรกิจเสียสวนครองตลาดและยอดขาย ลดลง สาเหตุของปญหา : 1. เนื่องจากสินคาเกาลาสมัยสูค ูแขงขันไมได 2. ราคาแพงกวาของคูแขงขัน 3. ขาดการสงเสริมการขายในชวงที่ผานมา 4. พนักงานขายไมสนใจที่จะเขาพบลูกคา 63


ปญหาทางดานการเงิน ปญหา: กิจการขาดสภาพคลอง สาเหตุของปญหา : 1. เก็บหนี้ลาชาเนื่องจากมีพนักงานเพียงคนเดียว 2. ใหเครดิตกับลูกหนี้นานเกินไป 3. มีสินคาคงเหลืออยูเปนจํานวนมาก 4. ใชเงินทุนผิดประเภทโดยเอาเงินทุนระยะ สั้นไปซื้อเครื่องจักรและกอสรางโรงงาน 64


ปญหาทางดานการผลิต ปญหา : ผลิตไมทันกับความตองการของลูกคา สาเหตุของปญหา : 1. วัตถุดิบตองนําเขาจากตางประเทศ 2. วัตถุดิบมีตามฤดูกาล 3. เกิดอุทกภัยวัตถุดิบไดรับความเสียหาย 4. เก็บวัตถุดิบไวนอยจนเกินไป 5. เครื่องจักรเกากําลังการผลิตนอย 65


4.3 การกําหนดทางเลือกและแนวทางแกไข (Alternatives Decision and Implementation ) หลังจากทราบปญหาและสาเหตุที่ทําใหเกิดปญหา แลวขั้นตอนตอมาคือกําหนดทางเลือกทีจ่ ะแกไข ปญหา เชน - เปลีย่ นเครื่องจักรใหมใหใหญและทันสมัยมากขึ้น - เพิ่มอัตราคาจาง/คาแรงงานใหสูงขึ้น - เก็บสต็อควัตถุดิบมากขึ้น 66


- กระจายอํานาจและการควบคุมใหผูบริหาร ระดับลางมากขึ้น - ใชนโยบายใหสวนลดเงินสดแกลูกหนี้ที่มาชําระ เงิน - ลดราคาสินคาลงมาในชวงนอกฤดูกาล ฯ - ทําการลด แลก แจก แถม

67


5. ขอคิดเห็นเพิ่มเติม ( Comments / Supplement ) เปนสวนสุดทายของการเขียนรายงานใหขอคิดเห็น ที่จะเปนประโยชนตอธุรกิจ ในการดําเนินการปรับปรุง แกไขในดานตางๆ อันจะทําใหการดําเนินงานดีขึ้น

68


69


1. ความเปนมาและสถานการณปจจุบัน .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. 70


2. การวิเคราะหโดย SWOT จุดแข็ง 1. ..................................... 2. ..................................... 3. .................................... จุดออน 1. .................................... 2. .................................... 3. ...................................... 71


โอกาส 1. ................................................ 2. ................................................ 3. ................................................ อุปสรรค 1. ................................................ 2. ................................................ 3. ................................................ 72


3. การกําหนดวัตถุประสงค 1. ............................................................. 2. ............................................................. 3. ............................................................. 4. .............................................................. 5. ..............................................................

73


4. การวิเคราะหปญหาและสาเหตุ 4.1 ปญหาดานการตลาด ปญหา ........................................................ สาเหตุ 1......................................................... 2........................................................ 3......................................................... แนวทางแกไข ....................................................................... ....................................................................... 74


4.2 ปญหาดานการผลิต ปญหา ........................................................ สาเหตุ 1......................................................... 2........................................................ 3........................................................ 4........................................................ แนวทางแกไข ...................................................................... ...................................................................... 75


4.3 ปญหาดานการเงิน ปญหา .......................................................... สาเหตุ 1......................................................... 2........................................................ 3........................................................ 4........................................................ แนวทางแกไข ...................................................................... ..................................................................... 76


4.4 ปญหาดานการบริหาร ปญหา .......................................................... สาเหตุ 1......................................................... 2........................................................ 3........................................................ 4........................................................ แนวทางแกไข ...................................................................... ...................................................................... 77


4.5 ปญหาดานการบริหารทรัพยากรมนุษย ปญหา.......................................................... สาเหตุ 1......................................................... 2........................................................ 3........................................................ 4........................................................ แนวทางแกไข ......................................................................... ........................................................................

78


5. ขอเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพิ่มเติม 1. .............................................................. 2. .............................................................. 3. ...............................................................

79


80


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.