Accounting

Page 1

หน้า 1

เอกสารประกอบการเรียน วิชา การบัญชี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี

นางคงขวัญ เพชรวารี ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ โรงเรียนกาแพงเพชรพิทยาคม อาเภอเมืองกาแพงเพชร จังหวัดกาแพงเพชร สานักงานเขตพื ้นทีก่ ารศึยกน ษามั กษา้เบือ้ งต้เขต 41ญชี เอกสารประกอบการเรี วิชาการบัธญยมศึ ชี เล่ม 1 ความรู นเกี่ยวกับการบั


หน้า 2

คานา เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การบัญชี สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่ง เป็นสาระการเรียนรู้ เพิ่มเติม ของกลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ที่ทางโรงเรียนกาแพงเพชร พิทยาคม จัดขึน้ ให้นักเรียนได้เรียนตามความถนัด ความสนใจ และความต้องการของตนเองโดยได้จัดทาเนือ้ หาสาระสอดคล้องกับสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วยเอกสาร ประกอบการเรียนทั้งสิน้ 11 เล่ม ดังนี้ เล่ม 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี เล่ม 2 สมการบัญชีและงบแสดงฐานะการเงิน เล่ม 3 การวิเคราะห์รายการค้า เล่ม 4 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป เล่ม 5 การบันทึกรายการค้าในสมุดแยกประเภททั่วไป เล่ม 6 งบทดลอง เล่ม 7 สมุดเงินสด 2 ช่อง เล่ม 8 กระดาษทาการ เล่ม 9 งบการเงิน เล่ม 10 การปิดบัญชี เล่ม 11 บัญชีครัวเรือนตามรอยพ่อ สาหรับเอกสารประกอบการเรียนเล่ม 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี มีเนื้อหา เกี่ยวกับ ความหมายของการบัญชี จุดประสงค์ของการบัญชี ประโยชน์ของข้อมูลการบัญชี ประวัติความเป็นมาของการบัญชี แม่บทการบัญชีและข้อ แนะนาการเรียนวิชาบัญชี สรุปเนื้อหา ศัพท์บัญชี แบบฝึกปฏิบัติ ใบงาน แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน รวมทั้งเฉลยคาตอบ ทาให้นักเรียนสามารถเรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเองทั้งในเวลาเรียน นอกเวลาเรียน และทราบผลในทันที ผูจ้ ัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการเรียน รายวิชาการบัญชี สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จะช่วยพัฒนากระบวนการเรียนรู้อันเป็นทักษะสาคัญที่ช่วยให้นักเรียน ค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง มีกิจนิสัยความมีระเบียบ ละเอียด รอบคอบ มีเจตคติที่ ดีตอ่ วิชาชีพบัญชี นาความรูท้ ี่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน และเป็นประโยชน์สาหรับ ครู และผูท้ ี่สนใจศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนีไ้ ด้ตามสมควร คงขวัญ เพชรวารี เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 3

สารบัญ คานา....................................................................................................................... สารบัญ……………………………………………………………………………………………………………………..... สารบัญภาพ............................................................................................................ คาชีแ้ จงสาหรับนักเรียน........................................................................................... ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ผังสาระการเรียนรู้ สาระสาคัญ.………….…………. แบบทดสอบก่อนเรียน.............................................................................................. ความรูเ้ บือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี.............................…………………………………………..……. ความหมายของการบัญชี....................................…………………………………………..…… วัตถุประสงค์ของการจัดทาบัญชี..........................................……………………………… ประโยชน์ของการบัญชี........................................................……………………………… ประวัติของการบัญชี............................................................……………………………… แม่บทการบัญชี.................................…………………………………………………………………… ข้อแนะนาเกี่ยวกับการเรียนวิชาบัญชี ……………………………………………………………..……… สรุป……………………………………………………….....................................................………… ศัพท์บัญชี.......................................................................…………………………………… แบบฝึกปฏิบัติที่ 1 .........…………………………..........................................................……… กิจกรรมที่ 1.1................................................................……….....……………………………… กิจกรรมที่ 1.2..................................................................…………….....……………………… แบบทดสอบหลังเรียน.............................................................................................. บรรณนานุกรม.......................…………………………........................................................ ภาคผนวก.......................…………………………............................................................... เฉลยแบบฝึกปฏิบัติที่ 1….........…………………………………………………………………………………… เฉลยกิจกรรมที่ 1.1 ......................................................……….....……………………………… เฉลยกิจกรรมที่ 1.2 .......................................................………......…………………………… กระดาษคาตอบแบบทดสอบ ก่อนเรียน-หลังเรียน................................................... เฉลยแบบทดสอบ ก่อนเรียน.................................................................................... เฉลยแบบทดสอบ หลังเรียน..................................................................................... เกณฑ์การให้คะแนนแบบฝึกปฏิบัติ........................................................................... แบบบันทึกคะแนน................................................................................................... .

หน้า ก ข ง 1 2 3 5 5 7 8 9 9 15 17 18 19 22 23 24 26 27 28 29 31 33 34 35 36 37

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 4

สารบัญภาพ ภาพที่ 1

หน้า ภาพแม่บทการบัญชีสาหรับการจัดทาและนาเสนองบการเงิน ................ 10

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 5

คาชี้แจงสาหรับนักเรียน บทบาทของนักเรียน 1. อ่านคาชีแ้ จง และ ศึกษา จุดประสงค์การเรียนรูข้ องเอกสารประกอบการเรียน ให้เข้าใจ เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการเรียนรู้ 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ด้วยความซื่อสัตย์ ในกระดาษคาตอบที่เตรียมไว้ แล้วตรวจคาตอบจากเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนในภาคผนวก 3. ศึกษาเนือ้ หาของเอกสารประกอบการเรียนตามลาดับ โดยบนทึกสรุปความรูล้ ง ในกระดาษที่เตรียมไว้ พร้อมปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละใบงาน ทาแบบฝึกปฏิบัติ และตรวจคาตอบ กับเฉลยใบงานและเฉลยแบบฝึกปฏิบัติในภาคผนวกเพื่อเป็นการทบทวนความรูค้ วามเข้าใจ 4. เมื่อ นัก เรียนศึกษาเนือ้ หาและ ปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละใบงาน ทาแบบฝึกปฏิบัติ ครบแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังเรียนพร้อมทั้งตรวจคาตอบจากเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 5. สรุปผลคะแนนที่ได้จากการทาแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดความก้าวหน้าของนักเรียน 6. เมื่อนักเรียนเกิดข้อสงสัยในเนือ้ หา สามารถ ขอปรึกษาและคาแนะนาจากครูผู้สอน หรือรับเอกสารประกอบการเรียนไปศึกษาเพิ่มเติมนอกเวลาเรียนเพื่อให้เข้าใจมากขึน้ ได้ตาม ความเหมาะสม ขั้นตอนการเรียน 1. ทาแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการบัญชี จานวน 40 ข้อ เพื่อประเมินความรูพ้ ืน้ ฐานของตนเอง และทาแบบทดสอบก่อนเรียนในเอกสารประกอบการ เรียน แต่ละเล่มมีจานวน 10 ข้อด้วยความซื่อสัตย์ ในกระดาษคาตอบที่เตรียมไว้ แล้วตรวจ คาตอบจากเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนในภาคผนวก 2. นักเรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียนตามที่กาหนดในแผนการจัดการเรียนรู้ ด้วยความตัง้ ใจและเต็มกาลังความสามารถ ตามลาดับขั้นตอน 3. หลังจากเรียนด้วยเอกสารประกอบการเรียนในแต่ละเล่มจบแล้วให้ทาแบบทดสอบ หลังเรียน จานวน 10 ข้อ และเมื่อเรียนจบทุกเล่มให้ทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ เรื่องการบัญชี จานวน 40 ข้อ

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 6

ความรู้เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับการบัญชี ผลการเรียนรู้ มีความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย จุดประสงค์ของการบัญชี ประโยชน์ของข้อมูล การบัญชี ประวัตขิ องการบัญชี แม่บทการบัญชี และปฏิบัติตาม ข้อแนะนาเกี่ยวกับการ เรียน วิชาบัญชี

จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของการบัญชีได้ 2. บอกจุดประสงค์ของการบัญชีได้ 3. บอกประโยชน์ของข้อมูลการบัญชีได้ 4. บอกประวัติความเป็นมาของการบัญชีได้ 5. อธิบายแม่บทการบัญชีได้ 6. แนะนาการเรียนวิชาบัญชีได้

ผังสาระการเรียนรู้

ความหมาย ของการบัญชี

ข้อแนะนา การเรียนวิชาบัญชี

ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการบัญชี แม่บทการบัญชี

จุดประสงค์ ของการบัญชี ประโยชน์ ของข้อมูลการบัญชี

ประวัติการบัญชี

สาระสาคัญ การบัญชี มีบทบาทและมีความสาคัญในกิจการทุกประเภท ไม่วา่ จะดาเนินการ โดยหวัง ผลกาไรหรือไม่ก็ตาม เพื่อให้เกิดความเข้าใจในการนาไปปฏิบัติงานด้านบัญชีหรือ การประยุกต์ ใช้บัญชีครัวเรือน ตามแนวคิดหลักเศรษฐกิจพอเพียง จึงควรเข้าใจความหมาย ของการบัญชี จุดประสงค์ของการบัญชี ประโยชน์ของข้อมูลการบัญชี ข้อแนะนาการเรียน วิชาการบัญชี รวมทั้งความรู้เกี่ยวกับแม่บทการบัญชี เพื่อประยุกต์ใช้งานดังกล่าวข้างต้น ให้มปี ระสิทธิภาพยิ่งขึน้ เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 7

แบบทดสอบก่อนเรียน คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย กากบาท () ในช่องกระดาษคาตอบ เวลา 10 นาที 1. ข้อใดคือ “การบัญชี” ก. Bookkeeping ข. Bookkeeper ค. Accounting ง. Account 2. หน่วยงานใดรับผิดชอบร่างมาตรฐานการบัญชีในปัจจุบัน ก. สมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย ข. สมาคมผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ค. กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ง. สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ 3. ข้อใดถือเป็นการรวบรวมข้อมูล ก. บันทึกรายการค้าในสมุดรายวัน ข. หลักฐานการรับและจ่าย ค. จัดหมวดหมู่บัญชี ง. การทางบการเงิน 4. การทาบัญชี คือข้อใด ก. Bookkeeping ข. Bookkeeper ค. Accounting ง. Report 5. ผูม้ ีหน้าที่ในการจัดทาบัญชีคอื ใคร ก. Bookkeeping ข. Bookkeeper ค. Accounting ง. Auditor เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 8

6. ข้อมูลทางการเงินมีประโยชน์ตอ่ บุคคลตามข้อใดบ้าง ก. เจ้าหนี้ ข. ผูล้ งทุน ค. รัฐบาล ง. ถูกทุกข้อ 7. ข้อใดแสดงถึงการให้ข้อมูลทางการเงิน ก. ใบกากับสินค้า ข. งบกาไรขาดทุน ค. งบประมาณเงินสด ง. การบันทึกรายการค้า 8. ข้อใดหมายถึง “Collecting” ก. การรวบรวม ข. การจาแนก ค. การบันทึก ง. การสรุป 9. ข้อใดหมายถึง “Recording” ก. การรวบรวม ข. การบันทึก ค. การจาแนก ง. การสรุป 10. ข้อใดเป็นลักษณะของการสรุปข้อมูล ก. ใบกากับสินค้า ข. งบกาไรขาดทุน ค. สมุดรายวันขั้นต้น ง. การวางระบบบัญชี

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 9

ความรู้เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับการบัญชี ความหมายของการบัญชี การบัญชี ( Accounting) เป็นเรื่องราวของการจดบันทึกรายการหรือข้อมูลที่เป็น จานวนเงินรายการประเภทเดียวกันจะถูกบันทึกไว้ดว้ ยกัน และเมื่อสิน้ ระยะเวลาหนึ่งจะต้อง สรุปยอดของรายการต่าง ๆ ที่ได้บันทึกไว้ว่า แต่ละรายการมียอดเป็นเท่าใด แล้วจัดทาเป็น รายงาน รวมทั้งการวิเคราะห์และตีความหมายของข้อมูลที่ปรากฏในรายงานที่ทาขึน้ ในปัจจุบันการบัญชียิ่งมีบทบาทมากยิ่งขึน้ คนส่วนใหญ่คิดว่าการบัญชีเป็นเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับนักบัญชีเท่านั้น ความจริงแล้ว การบัญชีเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทุกคน การรับเงิน การจ่ายเงินเพื่อซื้อสิ่งของ การกู้เงินจากธนาคารเพื่อซือ้ บ้านล้วนเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการบัญชี ทั้งสิน้ เพียงแต่ไม่ได้มกี ารบันทึกข้อมูลเหล่านี้ หรืออาจจะมีการบันทึกเพียงบางเรื่องเท่านั้น เมื่อพูดถึง “การบัญชี” บุคคลทั่วไปจะนึกถึงตัวเลข และคิดว่ายาก บางคนไม่อยากเรียน บัญชีเพราะคิดว่าตนเองไม่เก่งคณิตศาสตร์ ไม่ถนัดในเรื่องการคิดคานวณ ซึ่งในความเป็นจริง การเรียนวิชาบัญชีไม่ได้ยากอย่างที่หลายคนคิด ความหมายของการบัญชีมคี าจากัดความ มากมายตามหลักวิชาการ แต่เป็นที่ยอมรับกันในปัจจุบันและใช้กันโดยทั่วไปคือ ที่สมาคม นักบัญชีและผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย (ส.บช.) ( The Institute of Certified Accountants and Auditor of Thailand : ICAAT) ได้ให้ความหมายของการบัญชีไว้ดังนี้ การบัญชี (Accounting) หมายถึง ขัน้ ตอนการรวบรวม การวิเคราะห์และการรายงาน ข้อมูลทางการเงิน การบัญชี ( Accounting) หมายถึง ศิลปะของการเก็บ รวบรวม บันทึก จาแนก และทาสรุปข้อมูล เกี่ยวกับเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจที่เป็นในรูปของตัวเงินไว้ใน สมุดบัญชี อย่างสม่าเสมอเป็นระเบียบถูกต้องตามหลักการและผลงานขั้นสุดท้ายของการบัญชี คือ การให้ ข้อมูลทางการเงิน ซึ่งเป็นประโยชน์แก่บุคคล หลายฝ่ายและ ผูท้ ี่สนใจในกิจกรรมของกิจการ

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 10

สมาคมผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตของประเทศสหรัฐอเมริกา ( The American Institute of Certified Public Accountants : AICPA) ได้ให้ความหมายของการบัญชีไว้ดังนี้ การบัญชี หมายถึง ศิลปะของการจดบันทึก การจาแนกให้เป็นหมวดหมู่ และสรุปผล สิ่งสาคัญในรูปตัวเงิน รายการ และเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องทางด้านการเงิน รวมทั้ง การแปลความหมายของผลการปฏิบัติดังกล่าว ซึ่งเป็นคานิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วไป สามารถอธิบายเพิ่มเติมได้ดังนี้

1. การทาบัญชี (Book Keeping) เป็นหน้าที่ของผูท้ าบัญชี ( Book Keeper) ซึ่งมีขนั้ ตอน ของการปฏิบัติดังนี้ 1.1 การรวบรวม (Collecting) หมายถึง การรวบรวมข้อมูลหรือรายการค้าที่เกิดขึน้ ประจาวัน และหลักฐานที่เกี่ยวกับการดาเนิน ธุรกิจ เช่น หลักฐานการซือ้ เชื่อและขายเชื่อ หลักฐานการรับเงินและจ่ายเงิน เป็นต้น 1.2 การจดบันทึก (Recording) หมายถึง การนารายการค้าต่าง ๆ ที่เกิดขึน้ มาบันทึก ลงในสมุดรายวันขั้นต้นให้ถูกต้อง ตามหลัก การบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยเรียงรายการ ตามลาดับก่อนหลัง และมีเอกสารประกอบ เช่น ใบกากับสินค้า ใบเสร็จรับเงิน เป็นต้น 1.3 การจาแนก (Classifying) หมายถึง การนารายการค้าที่บันทึกลงในสมุดรายวัน ขั้นต้นมาจาแนกให้เป็นหมวดหมู่ของประเภท บัญชีต่าง ๆ เช่น หมวดสินทรัพย์ หนี้สนิ ส่วนของเจ้าของ รายได้ และค่าใช้จ่าย 1.4 การสรุปข้อมูล (Summarizing) หมายถึง การนาประเภทหมวดหมู่ ทางการบัญชี ที่เกิดขึน้ จากการบันทึกรายการค้านั้น ๆ เพื่อให้ทราบผล ของการดาเนินงานของกิจการจะ สรุปผลออกมาทางรูปแบบงบการเงินคือ “งบกาไรขาดทุน ” และถ้าต้องการทราบฐานะการเงิน ของกิจการ ก็จะสรุปผลออกมา ทางรูปแบบงบการเงินเช่นเดียวกันคือ “งบแสดงฐานะการเงิน ” หรือ “งบดุล” 2. การให้ข้อมูลทางการเงิน เพื่อประโยชน์แก่บุคคลที่เกี่ยวข้องหลายฝ่าย เช่น ผูบ้ ริหาร ผู้ให้กู้ เจ้าหนี้ นักลงทุน เป็นต้น นอกจากนี้ ข้อมูลทางการเงินยังสามารถนาไปใช้ใน การวิเคราะห์ทางด้านการเงินการจัดทางบประมาณ การปรับปรุงบัญชี เป็นต้น

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 11

สรุปได้วา่ การบัญชี หมายถึง “กระบวนการ ตั้งแต่เริ่มของการเก็บเอกสาร หลักฐาน ของเหตุการณ์ท่เี กิดขึ้น และการบันทึกรายการในรูปแบบของเงินตราและ เหตุการณ์และมีการจัดระบบรายการ จนนาไปสู่การสรุปเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่บันทึกไว้ และแปลผลเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ” เป้าหมายหลักของการประกอบธุรกิจทุกประเภท คือ ต้องการมีผลการดาเนินงาน ให้ได้กาไรสุทธิสูงที่สุด และมีฐานะการเงิน ที่มั่นคงซึ่งถือว่าเป็นเครื่องมือที่บ่งบอก ผลการดาเนินงานและฐานะการเงินของกิจการที่ได้มาจากขบวนการบัญชีที่เริ่มต้น จากการรวบรวมข้อมูล จาแนก และสรุปผลตามระยะเวลาที่กาหนด นอกจากนี้ สภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันมีการแข่งขันค่อนข้างสูงมาก การที่จะประสบความสาเร็จ ในการดาเนินธุรกิจจาเป็นต้องอาศัยขบวนการวางแผนเพื่อกาหนดทิศทาง แนวนโยบายให้กับธุรกิจในอนาคต งบการเงินจึงถือเป็นเครื่องมือที่สาคัญอย่างหนึ่ง อีกด้วย

วัตถุประสงค์ของการจัดทาบัญชี 1. เพื่อช่วยให้เจ้าของกิจการสามารถควบคุมรักษาสินทรัพย์ของกิจการได้ โดยต้อง รับผิดชอบสินทรัพย์ให้อยู่ครบตามยอดคงเหลือในบัญชี 2. เพื่อช่วยให้ทราบผลการดาเนินงานของกิจการ ในรอบระยะเวลาใดเวลาหนึ่งว่า ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมากิจการมีกาไรหรือขาดทุนเป็นจานวนเท่าใด 3. เพื่อทราบฐานะการเงินของกิจการอยู่ตลอดเวลา เพราะมีการบันทึกบัญชีสินทรัพย์ หนี้สนิ และส่วนของเจ้าของ 4. เป็นการรวบรวมสถิตอิ ันเป็นประโยชน์แก่ฝา่ ยบริหาร ที่จะให้ข้อมูลในการวางแผน การดาเนินงาน และควบคุมกิจการให้มปี ระสิทธิภาพและประสบผลสาเร็จตามความมุ่งหมาย 5. เพื่อจดบันทึกรายการค้าที่เกิดขึน้ ตามลาดับก่อนหลังไว้เป็นหลักฐานอ้างอิง และ จาแนกประเภทของรายการค้างไว้ 6. เพื่อถูกต้องตามพระราชบัญญัติวา่ ด้วยการทาบัญชีของกิจการต่าง ๆ 7. เพื่อรายงานต่อหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมสรรพกร กรมพัฒนาธุรกิจ การค้า และผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เป็นต้น

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 12

ประโยชน์ของการบัญชี 1. เพื่อเป็นเครื่องมือวัดความสาเร็จในการดาเนินธุรกิจ การทาบัญชีจะทาให้กิจการ ทราบผลการดาเนินงาน ฐานะทางการเงิน และความมั่นคงของธุรกิจ โดยในการจัดทาบัญชีนั้น จะบันทึกรายการต่าง ๆ ที่เกิดขึน้ ในการดาเนินธุรกิจ 2. เพื่อช่วยในการวางแผนและตัดสินใจของธุรกิจ ข้อมูลบัญชีจะเป็นประโยชน์ตอ่ การวางแผนและการตัดสินใจ โดยประเมินจากข้อมูลเหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของรายงานวิเคราะห์ต่าง ๆ อันเป็นเครื่องมือช่วยให้ผบู้ ริหารงานสามารถ ดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ 3. เพื่อช่วยในการวางแผนกาไร และควบคุมค่าใช้จ่ายของกิจการ เมื่อข้อมูลทางบัญชี ถูกต้อง จะทาให้กิจการทราบจานวนต้นทุนและค่าใช้จ่ายที่เกิดขึน้ และคานวณต้นทุนของสินค้า และบริการได้ถูกต้อง ซึ่งจะช่วยในการตัดสินใจกาหนดราคาสินค้าหรือบริการของธุรกิจ ช่วยควบคุมต้นทุนการผลิตและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ให้เป็นไปตามประมาณการที่ได้กาหนดไว้ และ สามารถนาไปวิเคราะห์ ปรับปรุงรายจ่ายที่ไม่จาเป็นออก รวมถึงช่วยในการวางแผนดาเนินงาน ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับทรัพยากรที่กิจการมีอยู่ 4. เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการหาแหล่งเงินทุน ในการจัดทาบัญชีจะทาให้ได้รายงาน ทางการเงินที่ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อทางธุรกิจต่าง ๆ อันเป็นหลักฐานในการสร้าง ความเชื่อมั่นให้กับเจ้าหนี้และสถาบันการเงิน เช่น จะใช้รายงานทางการเงินองกิจการ พิจารณา อนุมัตสิ ินเชื่อจากความน่าเชื่อถือ และความสามารถในการชาระหนี้ของผูข้ อกู้ยืม 5. เพื่อให้มรี ะบบการควบคุมภายในที่ดี และเป็นสัญญาณเตือนภัยของกิจการ การมีระบบบัญชีที่ดจี ะทาให้มรี ะบบการควบคุมภายในที่ดีที่ชว่ ยให้กิจการป้องกันการทุจริต ที่อาจเกิดขึ้น เนื่องจากข้อมูลทางการเงิน ตลอดจนรายการต่าง ๆ ที่เกิดขึน้ จะต้องมีหลักฐาน ที่สามารถยืนยันถึงที่มาที่ไปได้ สามารถป้องกันการทุจริตได้ 6. เพื่อประโยชน์ในการวางแผน เพื่อเสียภาษีได้อย่างถูกต้องและประหยัด ข้อมูลบัญชี ที่ถูกต้องจะทาให้ทราบกาไรขาดทุนที่แน่นอน สามารถวางแผนภาษีอากรได้อย่าง เหมาะสม ประหยัด และเสียภาษีได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 13

ประวัติของการบัญชี ในปี ค.ศ. 1494 ลูกกา ปาซิโอลิ (Luca Pacioli) ชาวอิตาเลี่ยน ได้เขียนหนังสือ เชิงคณิตศาสตร์เรื่อง Summa de Arithmetica Geometrica Proprtionalita ซึ่งส่วนหนึ่ง ได้กล่าวถึงหลักการบัญชีคู่โดยกาหนดศัพท์ที่มาของคาว่า “ Debito หมายถึง เป็นหนึ่ง” และ “Credito หมายถึง เชื่อถือ” อันเป็นพืน้ ฐานที่มาของคาว่า Debit (เดบิต) และ Credit (เครดิต) ตามหลักการบัญชีคู่ ซึ่งเป็นที่ยอมรับและถือปฏิบัติมาจนถึงทุกวันนี้ ลูกกา ปาซิโอลิ ได้รับ การยกย่องว่า เป็นบิดาแห่งการบัญชี สาหรับประเทศไทย การบัญชีเริ่มต้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475) ซึ่งส่งผลกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจโดยส่วนรวม โดยมีการออกกฎหมายให้มี การจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและนิตบิ ุคคล ตาม พ.ร.บ. การบัญชี พ.ศ. 2482 โดยผู้ที่ เผยแพร่ความรูท้ างด้านการบัญชีในระยะแรกคือ พระยาไชยยศสมบัติ (เสริม กฤษณามระ) และหลวงดาริอศิ รานุวรรต (ม.ล. ดาริ อิศรางกูร ณ อยุธยา) ได้ทาหลักสูตรการเรียนการสอน วิชาบัญชีเพื่อเผยแพร่ ทาให้คนไทยมีความรู้ทางด้านการบัญชี

แม่บทการบัญชี คณะกรรมการกาหนดมาตรฐานการบัญชี สภาวิชาชีพบัญชี ได้กาหนดแม่บทการบัญชี ฉบับนีข้ ึน้ จากมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศเรื่อง แม่บทการบัญชี (Framework for the Preparation and Presentation of Financial Statements (April 2001)) โดยไม่มีความแตกต่าง โดยมีความประสงค์ที่จะใช้แม่บทการบัญชีเป็นเกณฑ์ในการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีที่มอี ยู่ ในปัจจุบัน และพัฒนามาตรฐานการบัญชีที่จะใช้ในอนาคตให้สอดคล้องกันและสอดคล้องกับ มาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (International Accounting Standard : IAS) อีกทั้งยังมีความประสงค์ให้ผู้จัดทาและผูใ้ ช้งบการเงินเข้าใจถึงที่มาและเนือ้ หาของ มาตรฐานการบัญชีได้ลึกซึง้ ยิ่งขึน้ เพื่อสามารถนาไปใช้อา้ งอิงในการนามาตรฐานการบัญชี ที่มอี ยู่มาถือปฏิบัติทางบัญชีในเรื่องที่ยังไม่มมี าตรฐานการบัญชีกาหนดไว้

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 14

ลักษณะของงบการเงิน วัตถุประสงค์

ให้ขอ้ มูลที่มีประโยชน์ตอ่ การตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ

ข้อสมมติ

ข้อจากัด

เกณฑ์คงค้าง

ทันเวลา

การดาเนินงานต่อเนื่อง

ความสมดุลของลักษณะ เชิงคุณภาพ

ความสมดุลระหว่างประโยชน์ ที่ได้รับกับต้นทุนที่เสียไป ถูกต้องและยุติธรรมหรือถูกต้องตามควร

ลักษณะเชิงคุณภาพ

ลักษณะแรก เข้าใจได้

เกี่ยวกับการตัดสินใจ

เชื่อถือได้

เปรียบเทียบได้

นัยสาคัญ ลักษณะรอง ตัวแทน

เนื้อหาสาคัญกว่ารูปแบบ

ความเป็นกลาง

ความระมัดระวัง

ความครบถ้วน

ภาพที่ 1 แม่บทการบัญชีสาหรับการจัดทาและนาเสนองบการเงิน แม่บทการบัญชีไม่ถือเป็นมาตรฐานการบัญชี แต่เป็นกรอบหรือแนวคิดขั้ นพืน้ ฐาน ในการจัดทาและนาเสนองบการเงินตลอดจนการกาหนดและนามาตรฐานการบัญชีมาปฏิบัติ นอกจากนีย้ ังเป็นแนวทางในการปฏิบัติสาหรับเรื่องที่ยังไม่มมี าตรฐานการบัญชีรองรับ เพื่อให้ ผูใ้ ช้งบการเงินทุกฝ่ายมีความเข้าใจและนาไปปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน แม่บทการบัญชี เกี่ยวข้องกับเรื่องต่อไปนี้

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 15

1. วัตถุประสงค์ของงบการเงิน เพื่อให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดาเนินงาน การเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน ของกิจการ ซึ่งแสดงไว้ในงบดุล งบกาไรขาดทุน และ งบกระแสเงินสด ตามลาดับ รวมถึง หมายเหตุประกอบงบการเงิน รายละเอียดประกอบและข้อมูลอื่น ๆ ซึ่งระบุไว้วา่ เป็นส่วนหนึ่ง ของงบการเงินโดยฝ่ายบริหารของกิจการมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทา และนาเสนอ งบการเงินของกิจการ ข้อมูลในงบการเงินต้องมีประโยชน์ตอ่ การตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจของผู้ใช้งบการเงิน ทุกประเภทกล่าวคือข้อมูลที่นาเสนอจะต้องมีลักษณะร่วมซึ่งสามารถตอบสนองความต้องการ ทั่วไปของผู้ใช้งบการเงินได้ ทุกกลุ่มแม่บทการบัญชีมไิ ด้เน้นถึงความสาคัญของผู้ใช้งบการเงิน กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งโดยเฉพาะแต่โดยนัยแล้วให้ถือความต้องการของผูล้ งทุนเป็นเกณฑ์ อย่างไร ก็ตามงบการเงินไม่อาจให้ขอ้ มูลทุกประเภทที่ผู้ใช้งบการเงินต้องการได้ เนื่องจากข้อมูลส่วนใหญ่ แสดงถึงผลกระทบทางการเงินจากเหตุการณ์ในอดีตโดยที่งบการเงินไม่จาเป็นต้องแสดงข้อมูล ที่มใิ ช่ขอ้ มูลทางการเงิน แม่บทการบัญชีเน้นว่าแม้ข้อมูลในงบการเงินจะเป็นข้อมูลในอดีตแต่สามารถช่วยผู้ใช้ งบการเงินในการประมาณการและการคาดการณ์ในอนาคตเพื่อใช้ตัดสินใจทางเศรษฐกิจได้ การตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจของผู้ใช้งบการเงินนั้นรวมถึงการประเมินผล การบริหารงาน ความสามารถในการทากาไร และการก่อกระแสเงินสดของกิจการ เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ ในกรณีใดกรณีหนึ่ง เช่น การตัดสินใจโยกย้ายหรือเปลี่ยนผูบ้ ริหารการขายหรือถือเงินลงทุน ในกิจการต่อไปการอนุมัตวิ งสินเชื่อ การดาเนินงานต่อเนื่องของกิจการ และการกากับดูแล ของหน่วยงานราชการ เป็นต้น ข้อสมมติตามแม่บทการบัญชี มีดังนี้ (1) เกณฑ์คงค้าง (Accrual basis) เป็นเกณฑ์วัดผลการดาเนินงาน โดยการบันทึก บัญชีรายได้และค่าใช้จ่ายด้วยการยึดหลักว่ารายได้ และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึน้ ในงวดบัญชีใด ให้ถือเป็นรายได้และค่าใช้จ่ายของงวดบัญชีนั้น ๆ ไม่วา่ จะรับหรือจ่ายเป็นเงินสดหรือไม่ก็ตาม งบการเงินที่จัดทาขึน้ ตามเกณฑ์คงค้างจะแสดงฐานะการเงินและผลการดาเนินงานได้ถูกต้อง ครบถ้วนตรงตามงวดบัญชีที่เกิดขึ้นและแสดงข้อมูล เกี่ยวกับ ภาระผูกพันที่กิจการต้องรับหรือ จ่ายเงินสดที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับลูกหนี้ เจ้าหนี้ รายได้ค้างรับ ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เป็นต้น

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 16

(2) การดาเนินงานต่อเนื่อง (Going Concern) เป็นข้อสมมุติที่กล่าวถึงกิจการที่ จัดตัง้ ตามวัตถุประสงค์ที่จะดาเนินงานอย่างต่อเนื่องและดารงอยู่ตอ่ ไป ในอนาคต หากกิจการ มีเจตนาหรือความจาเป็นที่จะเลิกกิจการของการดาเนินงานอย่างมีนัยสาคัญ งบการเงินต้อง จัดทาขึ้นโดยใช้เกณฑ์อ่นื และต้อง เปิดเผยหลักเกณฑ์ที่ใช้ในงบการเงินนั้น ๆ 2. ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน งบการเงินจะมีประโยชน์ตอ่ ผูใ้ ช้งบการเงินตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ก็ต่อเมื่องบ การเงินนั้นมีลักษณะเชิงคุณภาพตามที่แม่บทการบัญชีกาหนดไว้ดังนี้ 2.1 ความเข้าใจได้ ข้อมูลในงบการเงินต้องสามารถเข้าใจได้ในทันทีที่ผู้ใช้งบการเงิน ใช้ขอ้ มูลดังกล่าวภายใต้ ข้อสมมติที่ว่าผูใ้ ช้งบการเงินมีความรูต้ ามควรเกี่ยวกับธุรกิจกิจกรรม เชิงเศรษฐกิจและการบัญชี รวมทั้งมีความตัง้ ใจตามควรที่จะศึกษาข้อมูลดังกล่าว 2.2 ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ข้อมูลจะมีประโยชน์ตอ่ การตัดสินใจ เชิงเศรษฐกิจของผู้ใช้งบการเงินได้นนั้ ต้องเป็นข้อมูลที่ช่วยให้ผใู้ ช้งบการเงินสามารถประเมิน เหตุการณ์ในอดีตปัจจุบันและอนาคตรวมทั้งช่วยยืนยัน หรือชีข้ ้อผิดพลาดของผลการประเมิน ที่ผ่านมาของผู้ใช้งบการเงินได้ อย่างไรก็ตามผู้ใช้งบการเงินควรคานึงถึงความมีนัยสาคัญ ในการพัฒนาความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของข้อมูลนัน้ ข้อมูลจะถือว่ามีนัยสาคัญ เมื่อการละเว้นที่จะแสดงข้อมูลนั้นหรือการแสดงข้อมูลนัน้ อย่างผิดพลาด ทาให้ผู้ใช้งบการเงิน ตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจผิดพลาด หรือตัดสินใจแตกต่างไปจากที่ควรจะเป็นหากผู้ใช้งบการเงิน ได้ทราบข้อมูลนัน้ 2.3 ความเชื่อถือได ้ ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ตอ้ งเชื่อถือได้โดยเป็นข้อมูลที่ปราศจาก ความผิดพลาดที่มนี ัยสาคัญ และความลาเอียงซึ่งประกอบด้วยลักษณะดังต่อไปนี้ (1) การเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม หมายถึง ข้อมูลควรแสดงตามเหตุการณ์ ที่ได้เกิดขึ้นแล้ว นั่นคือเป็นข้อมูลที่เข้าเกณฑ์การรับรู้รายการ ณ วันที่เสนอรายงาน (2) เนื้อหาสาคัญกว่ารูปแบบ หมายถึง ข้อมูลต้องบันทึกและแสดงตาม เนือ้ หาและความเป็นจริงเชิงเศรษฐกิจไม่ใช่ตามรูปแบบทางกฎหมายเพียงอย่างเดียว (3) ความเป็นกลาง หมายถึง ข้อมูลที่แสดงต้องมีความเป็นกลางหรือ ปราศจากความลาเอียงโดยไม่มีวัตถุประสงค์ที่จะชีน้ าผูใ้ ช้งบการเงิน (4) ความระมัดระวัง หมายถึง การใช้ดุลยพินจิ ที่จาเป็นในการประมาณการ ภายใต้ความไม่แน่นอนเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ เพื่อให้งบการเงินมีความน่าเชื่อถือ

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 17

(5) ความครบถ้วน หมายถึง ข้อมูลในงบการเงินต้องมีความครบถ้วน โดย พิจารณาความมีนัยสาคัญและต้นทุนในการจัดทา หมายถึง เพื่อมิให้มีความผิดพลาด หรือ ทาให้ผู้ใช้งบการเงินเข้าใจผิด 2.4 การเปรียบเทียบกันได้ ผูใ้ ช้งบการเงินต้องสามารถเปรียบเทียบงบการเงิน ในรอบระยะเวลาต่างกันของกิจการเดียวกันและงบการเงินในรอบระยะเวลาเดียวกันของ กิจการแต่ละกิจการได้ แต่มิได้หมายความว่าข้อมูลต้องอยู่ในรูปแบบเดียวกันตลอดไป และไม่ สามารถยกเป็นข้ออ้ างที่จะไม่นามาตรฐานการบัญชีที่เหมาะสมกว่ามาถือปฏิบัติ เพื่อให้ขอ้ มูล สามารถเปรียบเทียบกันได้ การเปรียบเทียบกันได้ของข้อมูลช่วยให้ผใู้ ช้งบการเงินสามารถ คาดคะเนถึงแนวโน้มของฐานะการเงิน และผลการดาเนินงานของกิจการนัน้ รวมทั้ง เปรียบเทียบแนวโน้ม กับกิจการอื่นก่อนที่จะตัดสินใจลงทุน 3. คานิยามการรับรู้และการวัดมูลค่าขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นเป็น งบการเงิน องค์ประกอบของงบการเงินและคานิยาม 3.1 องค์ประกอบของงบการเงิน คือ ประเภทของรายการและเหตุการณ์ทางบัญชี ตามลักษณะเชิงเศรษฐกิจของรายการและเหตุการณ์นั่นที่แสดงไว้ในงบการเงิน ซึ่งแม่บท การบัญชีได้ให้คานิยามองค์ประกอบต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการใช้คานิยามดังกล่าว ในการตีความเพื่อจาแนกรายการต่าง ๆ ในงบการเงินโดยมีรายละเอียดดังนี้ - องค์ประกอบซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับการวัดฐานะการเงินในงบดุล ได้แก่ ก. สินทรัพย์ หมายถึง ทรัพยากรที่อยู่ในความควบคุมของกิจการ ทรัพยากรดังกล่าวเป็นผลของเหตุการณ์ในอดีตซึ่งกิจการคาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ จากทรัพยากรนั้นในอนาคต ข. หนี้สิน หมายถึง ภาระผูกพันในปัจจุบันของกิจการ ภาระผูกพันดังกล่าว เป็นผลของเหตุการณ์ในอดีตซึ่งการชาระภาระผูกพันนั้นคาดว่าจะส่งผลให้กิจการสูญเสีย ทรัพยากรที่มปี ระโยชน์เชิงเศรษฐกิจ ค. ส่วนของเจ้าของ หมายถึง ส่วนได้เสียคงเหลือในสินทรัพย์ของ กิจการหลังจากหักหนี้สนิ ทั้งสิน้ ออกแล้ว - องค์ประกอบซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับการวัดผลการดาเนินงานในงบกาไร ขาดทุน ได้แก่

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 18

ก. รายได้ หมายถึง การเพิ่มขึ้นของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบ ระยะเวลาบัญชีในรูปกระแสเข้าหรือการเพิ่มค่าของสินทรัพย์ หรือการลดลงของหนีส้ ินอันส่งผล ให้ส่วนของเจ้าของเพิ่มขึ้นทั้งนีไ้ ม่รวมถึงเงินทุนที่ได้รับจากผู้มสี ่วนร่วมในส่วนของเจ้าของ ข. ค่าใช้จ่าย หมายถึง การลดลงของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบ ระยะเวลาบัญชีในรูปกระแสออกหรือการลดค่าของสินทรัพย์หรือการเพิ่มขึ้นของหนี้สนิ อันส่งผลให้ส่วนของเจ้าของลดลงทั้งนี้ไม่รวมถึงการแบ่งปันส่วนทุนให้กับผูม้ ีสว่ นร่วมในส่วน ของเจ้าของ 3.2 การรับรู้องค์ประกอบของงบการเงิน การรับรู้รายการ หมายถึง การรวมรายการเข้าเป็นส่วนหนึ่งของงบดุล และ งบกาไรขาดทุน หากรายการนัน้ เป็นไปตามคานิยามขององค์ประกอบและเข้าเกณฑ์การรับรู้ รายการทุกข้อดังต่อไปนี้ 1. มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตของรายการ ดังกล่า วจะเข้าหรือออกจากกิจการ ซึ่งหลักเกณฑ์น้ียึดหลัก ความน่าจะเป็น ในการพิจารณา การบันทึกรายการในงบการเงิน 2. รายการดังกล่าวมีราคาทุนหรือมูลค่าที่สามารถวัดได้อย่างน่าเชื่อถือ ซึ่งหลักเกณฑ์น้ียึดหลักการประมาณ ที่สมเหตุสมผลในการพิจารณาการบันทึกรายการ ในงบการเงิน สาหรับรายการที่ไม่เข้าเกณฑ์ดังกล่าว กิจการไม่ควรรับรู้รายการนัน้ แต่ควรเปิดเผย ในหมายเหตุประกอบงบการเงินหรือคาอธิบายเพิ่มเติม หากรายการนัน้ มีความเกี่ยวข้องกับ การตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจของผู้ใช้งบการเงินของกิจการ 3.3 การวัดมูลค่าองค์ประกอบของงบการเงิน การวัดมูลค่า หมายถึง การกาหนดจานวนเงินเพื่อรับรู้องค์ประกอบของ งบการเงินในงบดุล และงบกาไรขาดทุน การวัดมูลค่าจะเกี่ยวข้องกับการเลือกใช้เกณฑ์ ในการวัดค่าต่าง ๆ ดังนี้ 1. ราคาทุนเดิม หมายถึง การบันทึกราคาสินทรัพย์ด้วยจานวนเงินที่จา่ ยไป หรือบันทึกด้วยมูลค่ายุตธิ รรมของสิ่งของที่นาไปแลกสินทรัพย์มา ณ วันที่เกิดรายการและ การบันทึกหนี้สนิ ด้วยจานวนเงินที่คาดว่าจะต้องจ่ายเพื่อชาระหนี้ที่เกิดจากการดาเนินงาน ตามปกติของกิจการ

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 19

2. ราคาทุนปัจจุบัน หมายถึง การแสดงสินทรัพย์ดว้ ยราคาในปัจจุบันโดย เทียบกับจานวนเงินที่ตอ้ งกจ่ายในขณะนั้นสาหรับสินทรัพย์ชนิดเดียวกัน หรือสินทรัพย์ ที่ เท่าเทียมกันและการแสดงหนีส้ ินด้วยราคาที่ควรเป็นในปัจจุบันโดยเทียบกับจานวนเงิน ที่ตอ้ ง ใช้ชาระภาระผูกพันในขณะนั้น 3. มูลค่าที่จะได้รับ หมายถึง การแสดงสินทรัพย์ดว้ ยจานวนเงินที่อาจได้มา ในขณะนัน้ หากกิจการขายสินทรัพย์โดยมิใช่การบังคับขาย การแสดงหนี้สนิ ด้วยมูลค่าที่คาดว่า จะต้องจ่ายเพื่อชาระหนี้สนิ ที่เกิดจากการดาเนินงานตามปกติ 4. มูลค่าปัจจุบัน หมายถึง การแสดงสินทรัพย์และหนีส้ ินด้วยมูลค่าปัจจุบัน ของกระแสเงินสดในอนาคตภายใต้การดาเนินงานตามปกติของกิจการ ข้อแนะนาเกี่ยวกับการเรียนวิชาบัญชี 1. ควรอ่านหนังสือในแต่ละบทอย่างน้อย 2 ครั้ง ต้องมีความกล้าที่จะถาม หากไม่เข้าใจ ในเนื้อหาที่เรียนให้ถามครูผู้สอนทันที 2. ควรทาแบบฝึกปฏิบัติทุกข้อด้วยตนเองอย่างสม่าเสมอ 3. ไม่จาเป็นต้องเรียนเก่ง แต่ตอ้ งอาศัยความขยัน มุง่ มั่น และความพยายาม 4. การเขียนตัวหนังสือและตัวเลขให้อ่านง่าย สะอาด ชัดเจน ละเอียดและเรียบร้อย 5. การเขียนตัวเลขทางบัญชี ควรปฏิบัติดังนี้ 5.1 ตัวเลขทุกจานวนตัง้ แต่ 3 หลักขึ้นไปให้ใส่เครื่องหมายจุลภาค (,) โดยนับจาก จุดทศนิยมไปทางซ้ายมือทุก 3 ตัว และการเขียนเลขให้เขียนตรงหลักกันเสมอ เช่น

1,234.25 55,500.50 921,870.75

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 20

5.2 การเขียนตัวเลขในช่องจานวนเงิน ให้เขียนหลักหน่วยของจานวนบาท ใกล้เส้นแบ่งช่องบาทและช่องสตางค์เสมอ จานวนเงิน บาท สต. 9,500 25 ถูกต้อง 5,900 50 ผิด 5.3 การเขียนจานวนสตางค์ที่จะเขียนในช่องสตางค์ ถ้าไม่มีให้ใช้ - หรือ 00 แต่มักนิยมใช้ - มากกว่า จานวนเงิน บาท สต. 1,500 50 25,900 25 198,000 234 65 75 5.4 การเขียนตัวเลข ถ้ามีการเขียนผิด การทาบัญชีไม่ควรลบ เพราะอาจแสดง ถึงการทุจริตได้ ให้แก้ไข โดยใช้ไม้บรรทัดวางทับเขียนเส้นขนานลงบนตัวเลขที่ผิด และแก้ไข ตัวเลขที่ถูกต้องไว้เหนือตัวเลขที่ผิด และให้ลงลายมือชื่อของผู้ทาบัญชีนนั้ กากับไว้ดว้ ย เช่น 1,050 1,500 25,900 198,000

50 50 คงขวัญ 25 -

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 21

5.5 การเขียน วัน เดือน ปี ในรูปแบบของบัญชีให้เขียน ปี เดือน วัน แต่เวลาอ่าน ให้อ่าน วัน เดือน ปี การเขียน พ.ศ. ถ้าอยู่ในหน้าเดียวกันให้เขียน พ.ศ. เพียงครั้งเดียว ในช่อง พ.ศ. ของทุกหน้า การเขียนเดือน นิยมเขียนอักษรย่อของแต่ละเดือน ถ้าอยู่เดือนเดียวกันให้เขียน เดือนเพียงครั้งเดียวในแต่ละหน้าบัญชี และการเขียนวันที่ ให้เรียงตามลาดับเหตุการณ์ ที่เกิด รายการค้าขึน้ ก่อนหลัง เช่น พ.ศ. 25XX เดือน วันที่ ม.ค. 1 2 3

สรุป การบัญชี หมายถึง ศิลปะของการจดบันทึกการจาแนกให้เป็นหมวดหมู่และการสรุปผล สิ่งสาคัญในรูปตัวเงิน รายการ และเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องด้านการเงิน รวมทั้งการแปล ความหมายของผลการปฏิบัติดังกล่าว ในการจัดทาบัญชีควรคานึงถึงวัตถุประสงค์ และ ประโยชน์ของข้อมูลการบัญชีเป็นหลัก เนื่องจากเป็นส่วนที่ช่วยให้กิจการดาเนินงานไปในทิศทาง ที่ถูกต้องตามพระราชบัญญัติการบัญชีและยังเป็นประโยชน์ตอ่ ผูใ้ ช้ขอ้ มูลทางบัญชี และสิ่งที่ สาคัญต่อผู้ศึกษาวิชาการบัญชีก็คือการปฏิบัติตนให้สม่าเสมอต่อการเรียน จึงจะบรรลุตาม เป้าหมายในชีวติ ที่ตั้งไว้ แม่บทการบัญชี ( Accounting Framework) ไม่ถือเป็นมาตรฐานการบัญชี แต่เป็นกรอบ หรือแนวคิดขัน้ พืน้ ฐานในการจัดทาและนาเสนองบการเงิน ตลอดจนกาหดและนามาตรฐาน การบัญชีมาปฏิบัติ และเป็นแนวทางในการปฏิบัติสาหรับเรื่องที่ยังไม่มมี าตรฐานการบัญชีรอรับ เพื่อให้ผู้ใช้งบการเงินทุกฝ่ายมีความเข้าใจและปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 22

ศัพท์ บัญชี ศัพท์บัญชี

ศัพท์ภาษาอังกฤษ

การบัญชี สมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตแห่ง ประเทศไทย (ส.บช.) สมาคมผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตของประเทศ สหรัฐอเมริกา มาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ การทาบัญชี ผูท้ าบัญชี การรวบรวม การบันทึก การจาแนก การสรุปข้อมูล รายงานทางการเงิน แม่บทการบัญชี เกณฑ์คงค้าง การดาเนินงานต่อเนื่อง

Accounting The Institute of Certified Accountants and Auditor of Thailand : ICAAT The American Institute of Certified Public Accountants : AICPA International Accounting Standard : IAS Book Keeping Book Keeper Collecting Recording Classifying Summarizing Accounting Report Accounting Framework Accrual basis Going Concern

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 23

แบบฝึกปฏิบัติที่ 1 คาชี้แจง : จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. การบัญชี (Accounting) เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร (1 คะแนน) …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จงสรุปสาระสาคัญของแม่บทการบัญชี (Accounting Framework) มาพอเข้าใจ (1 คะแนน) …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ข้อสมมติตามแม่บทการบัญชีมกี ี่ข้อ ได้แก่อะไรบ้าง (1 คะแนน) …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงินต่อผู้ใช้ ควรมีลักษณะตามที่แม่บทการบัญชีกาหนดไว้ อย่างไรบ้าง (1 คะแนน) …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. “เนือ้ หาสาคัญกว่ารูปแบบ” หมายถึงอะไร (1 คะแนน) …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. จงเขียนเครื่องหมายจุลภาค(,) ในจานวนเงินต่อไปนี้ลงในตารางให้ถูกต้องตามหลักการบัญชี ที่รับรองทั่วไป (5 คะแนน) จานวนเงิน จานวนเลข บาท สต. 9000 90000 900000 9000000 90000000 เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 24

7. จงนาตัวเลขในช่อง “จานวนเลข” ไปบันทึกในช่องจานวนเงินพร้อมแสดงยอดรวม ให้ถูกต้อง ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป (5 คะแนน) จานวนเงิน จานวนเลข บาท สต. 29.30 950 1900.10 49,400.59 รวม 8. จงแก้ไขตัวเลขต่อไปนี้ (5 คะแนน) ข้อที่ ตัวเลขที่ผิด ตัวอย่าง 1,500.50

ตัวเลขที่ถูกต้อง 1,050.50

1

353.25

533.25

2

2,100.-

1,200.-

3

19,199.-

19,919.-

4

124,086.-

142,860.-

5

9,607,432.50

9,760,432.50

วิธีแก้ไขตัวเลขทางบัญชี 1,050.50 1,500.50 ณเดช

ทาได้ไหม เอ่ย ?

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 25

9. จงเขียนตัวเลขต่อไปนีเ้ ป็นตัวอักษร (5 คะแนน) จานวนเงิน ลาดับ (ตัวเลข) 1 353.25 2 1,999.75 3 50,021.4 450,000.5 9,090,500.-

จานวนเงิน(ตัวอักษร)

10. จงเขียนจานวนเงินต่อไปนีเ้ ป็นตัวเลขและหายอดรวม (7 คะแนน) ลาดับ 1 2 3 4 5 รวม

จานวนเงิน(ตัวอักษร)

จานวนเงิน (ตัวเลข)

สองร้อยห้าสิบบาทถ้วน สีพันเก้าร้อยยี่สิบบาทถ้วน ห้าหมื่นแปดพันหกร้อยสามสิบเจ็ดบาทยี่สิบห้าสตางค์ สามแสนหนึ่งพันห้าสิบสามบาทเจ็ดสิบห้าสตางค์ แปดล้านสี่แสนเก้าพันบาทถ้วน

รวมคะแนน.......................คะแนน  ผ่าน (19 คะแนนขึน้ ไป)  ไม่ผ่าน (ต่ากว่า 19 คะแนน) ลงชื่อ........................................... ผูต้ รวจ

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 26

กิจกรรมที่ 1.1 ชื่อ........................................................................ชั้น.........................เลขที.่ ............................ วิชาการบัญชี เรื่อง................................................................................................................ กาหนดส่งงาน..............................ส่งงานวันที.่ ........................................... คะแนนที่ได้............ จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายความหมายของการบัญชีได้ กิจกรรมปฏิบัติ ให้นักเรียนบอกความหมายของการบัญชีตามคานิยามของสมาคมผูส้ อบ บัญชีรบั อนุญาตของประเทศสหรัฐอเมริกา (AICPA) ที่ยอมรับกันโดยทั่วไป ดังนี้ (7 คะแนน) การบัญชี หมายถึง .................................................................................................. ................................................................................................................................ ................................................................................................................................

1. ...........................................................

2. .........................................................

1.1 ......................................................................... 1.2 ......................................................................... 1.3 ......................................................................... 1.4 ......................................................................... เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 27

กิจกรรมที่ 1.2

ชื่อ........................................................................ชั้น.........................เลขที.่ ........................... วิชาการบัญชี เรื่อง................................................................................................................ กาหนดส่งงาน..............................ส่งงานวันที.่ ........................................... คะแนนที่ได้............ จุดประสงค์การเรียนรู้ บอกประโยชน์ของข้อมูลการบัญชีได้ กิจกรรมปฏิบัติ ให้นักเรียนระบุประโยชน์ของข้อมูลการบัญชีในช่องว่างที่กาหนดให้ (3 คะแนน) ประโยชน์ของข้อมูลการบัญชี

................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 28

แบบทดสอบหลังเรียน คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย กากบาท () ในช่องกระดาษคาตอบ เวลา 10 นาที 1. ข้อใดเป็นวัตถุประสงค์ของการจัดทาบัญชี ก. ควบคุมรักษาสินทรัพย์กิจการ ข. ทราบผลการดาเนินงานกิจการ ค. ทราบฐานะการเงินของกิจการ ง. ถูกทุกข้อ 2. ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ของข้อมูลการบัญชี ก. ช่วยให้มีระบบควบคุมภายในที่ดี ข. ช่วยลดขาดทุนที่อาจจะเกิดขึ้น ค. ช่วยวางแผนและตัดสินใจ ง. ช่วยหาแหล่งเงินทุน 3. ข้อใดเป็นการเขียนตัวเลขที่ใส่เครื่องหมายถูกต้อง ก. 189 ข. “9,251” ค. 98,922.ง. 107,500.35.4. ข้อใดหมายถึงแม่บทการบัญชี ก. Accounting Framework ข. Financial Statements ค. Accounting ง. Framework 5. การเก็บใบเสร็จรับเงินหรือหลักฐานการซือ้ และขายเกี่ยวกับการดาเนินธุรกิจคือลักษณะข้อใด ก. การรวบรวมข้อมูล ข. การสรุปข้อมูล ค. การจดบันทึก ง. การจาแนก เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 29

6. การจดบันทึกรายการค้าที่เกิดขึน้ แต่ละครัง้ ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปคือลักษณะข้อใด ก. Collecting ข. Recording ค. Classifying ง. Summarizing 7. รายงานทางการเงิน เป็นลักษณะของการบัญชีตามข้อใด ก. การจาแนกข้อมูล ข. การบันทึกข้อมูล ค. การสรุปข้อมูล ง. ถูกทุกข้อ 8. การแบ่งหมวดหมู่ของบัญชีประเภทต่าง ๆ คือข้อใด ก. การสรุปข้อมูล ข. การให้ขอ้ มูล ค. การจาแนก ง. การบันทึก 9. การรับรู้รายการ ณ วันที่เสนอรายงาน หมายถึงข้อใด ก. เนือ้ หาสาคัญกว่ารูปแบบ ข. ตัวแทนอันเที่ยงธรรม ค. ความเป็นกลาง ง. ความครบถ้วน 10. ข้อใดเป็นข้อมูลปราศจากการชีน้ าผูใ้ ช้งบการเงิน ก. ตัวแทนอันเที่ยงธรรม ข. ความระมัดระวัง ค. ความเป็นกลาง ง. ความครบถ้วน

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 30

บรรณานุกรม กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. ผู้ทาบัญชีตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543. นนทบุรี : กรมพัฒนาธุรกิจกาค้า กระทรวงพาณิชย์, 2553. ______. การจัดทาบัญชีและงบการเงิน. นนทบุรี : กรมพัฒนาธุรกิจกาค้า กระทรวงพาณิชย์, 2554. ______. การอนุญาต ตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543. นนทบุรี : กรมพัฒนา ธุรกิจกาค้า กระทรวงพาณิชย์, 2554. กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. กานต์นภัส บุญลึก. บัญชีเบือ้ งต้น 1. กรุงเทพมหานคร : ชีเอ็ดยูเคชั่น, 2554. จีรพันธ์ จันทน์โรจน์. บัญชีเบื้องต้น 1. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ, 2549. เชาวลีย์ พงศ์ผาติโรจน์. หลักการบัญชีเบื้องต้น 1. กรุงเทพมหานคร สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2548 ผกาพรรณ พรหมสาขา ณ สกลนคร. การบัญชี 1. กรุงเทพมหานคร สานักพิมพ์เสมาสาส์น, 2550. มนัสชัย กีรติผจญ และคณะ. บัญชีเบื้องต้น 1. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์เอมพันธ์, 2551. ศิริรัฐ โชติเวชการ. บัญชี...ทาเป็นเห็นทางรวย. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ปัณณ์บุ๊ก, 2555. สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. มาตรฐานการบัญชี (ปรับปรุง 2552). กรุงเทพมหานคร, 2554. สมสกุล ศรีเมฆ. (2555). วิชาบัญชีเบื้องต้น 1. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://somsakul.com/ สืบค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2555. อชิระ ประดับกุล. บัญชีต้องรู้. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ปัณณ์บุ๊ก, 2556. อดิศร เลาหวณิช และชนงกรณ์ กุณฑลบุตร. การบัญชีขั้นต้น 1. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2550. อานาจ รัตนสุวรรณ และอรรถพล ตริตานนท์. การบัญชีขั้นต้น. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2554. เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 31

ภาคผนวก

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 32

เฉลยแบบฝึกปฏิบัติที่ 1 คาชี้แจง : จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. การบัญชี (Accounting) เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร (1 คะแนน) การเก็บรวบรวม บันทึก จาแนก และทาสรุปข้อมูล เกี่ยวกับเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจที่ เป็นในรูปของตัวเงินไว้ใน สมุดบัญชีอย่างสม่าเสมอเป็นระเบียบถูกต้องตามหลักการและผลงาน ขั้นสุดท้ายของการบัญชี คือ การให้ขอ้ มูลทางการเงิน ซึ่งเป็นประโยชน์แก่บุคคล หลายฝ่ายและ ผูท้ ี่สนใจในกิจกรรมของกิจการ 2. จงสรุปสาระสาคัญของแม่บทการบัญชี (Accounting Framework) มาพอเข้าใจ (1 คะแนน) แม่บทการบัญชี (Accounting Framework) ไม่ถือเป็นมาตรฐานการบัญชี แต่เป็นกรอบ หรือแนวคิดขัน้ พืน้ ฐานในการจัดทาและนาเสนองบการเงิน ตลอดจนกาหนดและนามาตรฐาน การบัญชีมาปฏิบัติ และเป็นแนวทางในการปฏิบัติสาหรับเรื่องที่ยังไม่มมี าตรฐานการบัญชี รองรับ เพื่อให้ผู้ใช้งบการเงินทุกฝ่ายมีความเข้าใจและปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน 3. ข้อสมมติตามแม่บทการบัญชีมกี ี่ข้อ ได้แก่อะไรบ้าง (1 คะแนน) ข้อสมมติตามแม่บทการบัญชี มี 2 ข้อ ได้แก่ 1) เกณฑ์คงค้าง (Accrual basis) 2) การดาเนินงานต่อเนื่อง (Going concern) 4. ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงินต่อผู้ใช้ ควรมีลักษณะตามที่แม่บทการบัญชีกาหนดไว้ อย่างไรบ้าง (1 คะแนน) 1) ความเข้าใจได้ 2) ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ 3) ความเชื่อถือได้ 5. “เนือ้ หาสาคัญกว่ารูปแบบ” หมายถึงอะไร (1 คะแนน) เนือ้ หาสาคัญกว่ารูปแบบ หมายถึงข้อมูลต้องบันทึกและแสดงตามเนือ้ หาและ ความเป็นจริงเชิงเศรษฐกิจ ไม่ใช่ตามรูปแบบทางกฎหมายเพียงอย่างเดียว 6. จงเขียนเครื่องหมายจุลภาค (,) ในจานวนเงินต่อไปนี้ลงในตารางให้ถูกต้องตามหลักการบัญชี ที่รับรองทั่วไป (5 คะแนน) จานวนเงิน จานวนเลข บาท สต. 9000 9,000 90000 90,000 900000 900,000 9000000 9,000,000 90000000 90,000,000 เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 33

7. จงนาตัวเลขในช่อง “จานวนเลข” ไปบันทึกในช่องจานวนเงินพร้อมแสดงยอดรวม ให้ถูกต้อง ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป (5 คะแนน) จานวนเงิน จานวนเลข บาท สต. 29.30 29 30 950 950 1900.10 1,900 10 49,400.59 49,400 59 รวม 52,279 99 8. จงแก้ไขตัวเลขต่อไปนี้ (5 คะแนน) ข้อที่ ตัวเลขที่ผิด ตัวอย่าง 1,500.50 1

353.25

2

2,100.-

3

19,199.-

4

124,086.-

5

9,607,432.50

ตัวเลขที่ถูกต้อง วิธีแก้ไขตัวเลขทางบัญชี 1,050.50 1,050.50 1,500.50 ณเดช 533.25 533.25 353.25 แอนฟิลด์ 1,200.- 1,200.2,100.- แอนฟิล์ด 19,919.- 19,919.19,199.- แอนฟิลด์ 142,860.- 142,860.124,086.- แอนฟิลด์ 9,760,432.50 9,760,432.50 9,607,432.50 แอนฟิลด์

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 34

9. จงเขียนตัวเลขต่อไปนีเ้ ป็นตัวอักษร (5 คะแนน) จานวนเงิน ลาดับ จานวนเงิน(ตัวอักษร) (ตัวเลข) 1 353.25 สามร้อยห้าสามบาทยี่สิบห้าสตางค์ 2 1,999.75 หนึ่งพันเก้าร้อยเก้าสิบเก้าบาทเจ็ดสิบห้าสตางค์ 3 50,021.- ห้าหมื่นยี่สิบเอ็ดบาทถ้วน 4 450,000.- สี่แสนห้าหมื่นบาทถ้วน 5 9,090,500.- เก้าล้านเก้าหมื่นห้าร้อยบาทถ้วน 10. จงเขียนจานวนเงินต่อไปนีเ้ ป็นตัวเลขและหายอดรวม (7 คะแนน) ลาดับ

จานวนเงิน(ตัวอักษร)

1 2 3 4 5 รวม

สองร้อยห้าสิบบาทถ้วน สีพันเก้าร้อยยี่สิบบาทถ้วน ห้าหมื่นแปดพันหกร้อยสามสิบเจ็ดบาทยี่สิบห้าสตางค์ สามแสนหนึ่งพันห้าสิบสามบาทเจ็ดสิบห้าสตางค์ แปดล้านสี่แสนเก้าพันบาทถ้วน แปดล้านเจ็ดแสนเจ็ดหมื่นสามพันแปร้อยหกสิบเอ็ดบาทถ้วน

จานวนเงิน (ตัวเลข) 250.4,920.58,637.25 301,053.75 8,409,000.8,773,861.-

รวมคะแนน.......................คะแนน  ผ่าน (19 คะแนนขึน้ ไป)  ไม่ผ่าน (ต่ากว่า 19 คะแนน) ลงชื่อ........................................... ผูต้ รวจ

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 35

เฉลยกิจกรรมที่ 1.1 ชื่อ..................................................................................ชั้น.........................เลขที่................... วิชา การบัญชี เรื่อง................................................................................................................. กาหนดส่งงาน..............................ส่งงานวันที.่ ........................................... คะแนนที่ได้............ จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายความหมายของการบัญชีได้ กิจกรรมปฏิบัติ ให้นักเรียนบอกความหมายของการบัญชีตามคานิยามของสมาคมผูส้ อบ บัญชีรบั อนุญาตของประเทศสหรัฐอเมริกา (AICPA) ที่ยอมรับกันโดยทั่วไป ดังนี้ (7 คะแนน) การบัญชี หมายถึง ศิลปะของการจดบันทึก การจาแนกให้เป็นหมวดหมู่ และการสรุปผล สิ่งสาคัญในรูปตัวเงิน รายการ และเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับทางด้านการเงิน รวมทั้งการแปลความหมายของผลการปฏิบัติดังกล่าว

1. การทาบัญชี (Book Keeping)

2. การให้ขอ้ มูลทางการเงิน

1.1 การรวบรวม (Collecting) 1.2 การบันทึก (Collecting) 1.3 การจาแนก (Classifying) 1.4 การสรุปข้อมูล (Summarizing)

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 36

เฉลยกิจกรรมที่ 1.2

ชื่อ..................................................................................ชั้น.........................เลขที่................... วิชา การบัญชี เรื่อง................................................................................................................ กาหนดส่งงาน..............................ส่งงานวันที.่ ........................................... คะแนนที่ได้............ จุดประสงค์การเรียนรู้ บอกประโยชน์ของข้อมูลการบัญชีได้ กิจกรรมปฏิบัติ ให้นักเรียนระบุประโยชน์ของข้อมูลการบัญชีในช่องว่าที่กาหนดให้ (3 คะแนน) ประโยชน์ของข้อมูลการบัญชี

1.

เพื่อเป็นเครื่องมือวัดความสาเร็จในการ ดาเนินธุรกิจ

2.

เพื่อช่วยในการวางแผนและตัดสินใจของ ธุรกิจ

3.

เพื่อช่วยในการวางแผนกาไร และควบคุม ค่าใช้จ่ายของกิจการ

4. 5.

เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการหาแหล่งเงินทุน เพื่อให้มรี ะบบการควบคุมภายในที่ดี และ เป็นสัญญาณเตือนภัยของกิจการ 6. เพื่อประโยชน์ในการวางแผน เพื่อเสียภาษีได้อย่างถูกต้องและประหยัด

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 37

กระดาษคาตอบ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี ชื่อ………………………………..…….…………………………. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/…......... เลขที่…………………. แบบทดสอบก่อนเรียน ข้อ

คาตอบ ข ค

แบบทดสอบหลังเรียน ข้อ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 บันทึกคะแนนสอบ ก่อนเรียน

คาตอบ ข ค

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 หลังเรียน

ลงชื่อ...........................................ผูบ้ ันทึก (.............................................................) ................/.........................../.................

พัฒนาการ

ลงชื่อ...........................................ครูผสู้ อน (...............................................................) ................/.........................../.................

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 38

เฉลยแบบทดสอบ ก่อนเรี ยน

1. ค 6. ง

2. ข 7. ค

3. ง 8. ก

4. ก 9. ข

5. ข 10. ข

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 39

เฉลยแบบทดสอบ หลังเรี ยน

1. ง

6. ข

2. ข 7. ง

3. ค 8. ค

4. ก 9. ข

5. ก 10. ค

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


หน้า 40

เกณฑ์การให้คะแนนแบบฝึกปฏิบัติ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี ที่ 1 2

รายการ ตอบถูกต้อง ข้อละ ตอบผิด หรือ ไม่ตอบ ข้อละ

คะแนน 1 0

การประเมินผล ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม

เอกสารประกอบการเรียน วิชาการบัญชี เล่ม 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับการบัญชี


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.