ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
1
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
2
คำนำ เอกสารประกอบการเรี ยน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชา พระพุทธศาสนา ส32204 เรื่ อง ธรรมสารศึกษา เล่ม 5 หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ผูเ้ ขียนจัดทาขึ้นเพื่อให้นกั เรี ยนใช้ประกอบการเรี ยนด้วยตนเอง เป็ นการ ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและข้อจากัดต่าง ๆ นักเรี ยนสามารถใช้ประกอบการเรี ยน ได้ทนั ที ไม่ตอ้ งอาศัยอุปกรณ์อื่นใด สะดวก รวดเร็ ว ไม่จากัดสถานที่ในการศึกษา ผูเ้ ขียนได้ศึกษา ค้นคว้า ผูส้ อนสามารถนาไปใช้เป็ นแนวทางในการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน สามารถปรับปรุ งดัดแปลง แก้ไข ขั้นตอนการเรี ยนให้เหมาะสมกับความสามารถของผูเ้ รี ยน ความพร้อมของผูส้ อน บริ บทของโรงเรี ยนและชุมชน หวังเป็ นอย่างยิง่ ว่าคู่มือการใช้เอกสารประกอบการเรี ยนพระพุทธศาสนา รหัสวิชา ส32204 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 จะเป็ นประโยชน์สูงสุ ดในการพัฒนาศักยภาพของผูเ้ รี ยน ให้มีคุณภาพ สามารถนา สิ่ งที่เรี ยนมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับโอกาส เวลา สถานที่ ซึ่ งจะเกิดเป็ นการเรี ยนรู ้อย่างยัง่ ยืน
บุษบา เสี ยงสุ ขสันติ
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
สำรบัญ คานา......................................................................................................................................... สารบัญ……………………………………………………………………………….……… สารบัญรู ปภาพ......................................................................................................................... คาชี้แจง.................................................................................................................................... สาระการเรี ยนรู ้ จุดประสงค์ ตัวชี้วดั ......…………………………………………………… แบบทดสอบก่อนเรี ยน............................................................................................................. หน้าที่ชาวพุทธ......................................................................................................................... หน้าที่และบทบาทของพระภิกษุสามเณร................................................................................. การปฏิบตั ิตนตามหลักทิศเบื้องล่างในทิศ 6............................................................................. หน้าที่และบทบาทของอุบาสก อุบาสิ กาที่มีต่อสังคมไทยในปั จจุบนั ..................................... มารยาทชาวพุทธ...................................................................................................................... การปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุ.................................................................................... การปฏิสันถารตามหลักปฏิสันถาร.......................................................................................... กิจกรรมท้ายบทเรี ยน................................................................................................................ ใบงานที่ 5.1 หน้าที่ชาวพุทธ.................................................................................................... ใบงานที่ 5.2 มารยาทชาวพุทธ.................................................................................................. ใบงานที่ 5.3 หน้าที่พระสงฆ์และมารยาทชาวพุทธ.................................................................. แบบทดสอบหลังเรี ยน.............................................................................................................. บรรณนานุกรม......................................................................................................................... ภาคผนวก................................................................................................................................. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรี ยน..................................................................................................... เฉลยใบงานที่ 5.1 หน้าที่ชาวพุทธ............................................................................................ เฉลยใบงานที่ 5.2 มารยาทชาวพุทธ.......................................................................................... เฉลยใบงานที่ 5.3 หน้าที่พระสงฆ์และมารยาทชาวพุทธ.......................................................... เฉลยแบบทดสอบหลังเรี ยน......................................................................................................
หน้ า ก ข ค 1 2 3 7 7 14 15 17 17 19 22 23 25 26 27 31 32 33 34 36 37 38
3
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
สำรบัญร ูปภำพ
ภาพที่ 5.1 การศึกษาหลักธรรมคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้าถือเป็ นหน้าที่สาคัญ...................... ภาพที่ 5.2 พระนักเทศน์……………………………………………………………………. ภาพที่ 5.3 พระธรรมทูต.......................................................................................................... ภาพที่ 5.4 พระธรรมจาริ ก…………………………………………………………………... ภาพที่ 5.5 พระธรรมวิทยากร……………………………………………………………….. ภาพที่ 5.6 พระวิปัสสนาจารย์.................................................................................................. ภาพที่ 5.7 พระนักพัฒนา......................................................................................................... ภาพที่ 5.8 ลูกจ้างที่ดี………………………………………………………………………… ภาพที่ 5.9 อุบาสกอุบาสิ กาที่ดี………………………………………………………………. ภาพที่ 5.10 หน้าที่ของชาวพุทธที่ดี.......................................................................................... ภาพที่ 5.11 การลุกขึ้นต้อนรับพระภิกษุสงฆ์………………………………………………… ภาพที่ 5.12 การถวายของรับรอง……………………………………………………………. ภาพที่ 5.13 ต้อนรับแขกผูม้ าเยือน..............................................................………………….
หน้ า 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 20
4
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
คาชี้แจงในการใช้ เอกสารประกอบการเรียน (สาหรับนักเรียน) เอกสารประกอบการเรี ยนเล่มนี้ สร้างขึ้นเพื่อให้นกั เรี ยนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยนักเรี ยนจะได้ประโยชน์จากบทเรี ยน ตามจุดประสงค์ที่ต้ งั ไว้ดว้ ยการปฏิบตั ิตามคาแนะนา อย่างเคร่ งครัด 1. นักเรี ยนอ่านหัวข้อเรื่ อง ความนา สาระสาคัญ และจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ก่อนศึกษา เนื้อหาบทเรี ยน 2. นักเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน แล้วตรวจคาตอบในภาคผนวกจากนั้นบันทึกคะแนน เก็บไว้ 3. นักเรี ยนศึกษาบทเรี ยนตามลาดับ โดยไม่ตอ้ งรี บร้อน หากมีปัญหาหรื อข้อสงสัยในขณะ ศึกษาบทเรี ยนให้ปรึ กษาและขอคาแนะนาจากครู ผสู ้ อนทันที 4. เมื่อนักเรี ยนเข้าใจบทเรี ยนแล้ว ทากิจกรรมเสริ มการเรี ยนรู ้ทุกข้อแล้วตรวจคาตอบใน ภาคผนวก คาแนะนาที่ได้วดั เกณฑ์การประเมินผล ถ้านักเรี ยนไม่พอใจระดับเกณฑ์ประเมินผล ให้กลับไปศึกษาบทเรี ยนแล้วตอบคาถามใหม่อีกครั้ง แล้วบันทึกคะแนนเก็บไว้ 5. เมื่อศึกษาบทเรี ยนจบแล้ว ทาแบบทดสอบหลังเรี ยน และตรวจคาตอบในภาคผนวก จากนั้นนาคะแนนที่ได้วดั เกณฑ์การประเมินผล แล้วนาคะแนนทดสอบก่อนเรี ยน-หลังเรี ยน เปรี ยบเทียบความก้าวหน้า 6. นักเรี ยนต้องมีความซื่ อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ดูเฉลยก่อนทาแบบทดสอบและกิจกรรม 7. ส่ งคืนเอกสารนี้ ตามกาหนดเวลาและต้องรักษาให้อยูใ่ นสภาพดี
5
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
พระรัตนตรัย เล่ม 5 เรื่ อง หน้ าทีช่ าวพุทธ มารยาทชาวพุทธ เวลา 3 ชั่วโมง ความนา การศึกษาหาความรู ้เรื่ องพระพุทธศาสนาทั้งทฤษฎีและปฏิบตั ิเป็ นสิ่ งที่ดีงาม เป็ นการ ส่ งเสริ มคุณค่าให้แก่ชีวติ รวมถึงการรักษาขนบธรรมเนียมประเพณี อนั ดีงามสื บต่อไป และยังเป็ นการ สื บทอดพระพุทธศาสนา ทั้งทางตรงและทางอ้อมอีกด้วย
สาระสาคัญ พระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาสาคัญของประเทศไทย วัฒนธรรมประเพณี ต่าง ๆ และวิถีชีวติ ล้วนมีเรื่ องราวของพระพุทธศาสนาเกี่ยวข้องหรื อสัมพันธ์กนั อยูเ่ สมอ การปฏิบตั ิตนของ พุทธศาสนิกชนย่อมส่ งผลกระทบต่อพระพุทธศาสนาไม่วา่ จะในทางตรงหรื อทางอ้อม ดังนั้น พุทธศาสนิกชนจึงควรทาหน้าที่ทานุบารุ ง เพื่อสื บทอดอายุพระพุทธศาสนาให้เจริ ญมัน่ คงสื บไป โดย การศึกษาและปฏิบตั ิตามหลักคาสอนของพระพุทธเจ้า และเข้าร่ วมพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาอย่าง สม่าเสมอและถูกต้องตามพุทธบัญญัติ เพื่อเป็ นการเผยแผ่และธารงรักษาพระพุทธศาสนาในฐานะชาว พุทธที่ดี
จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1. 2. 3. 4. 5.
อธิบายวิธีการบาเพ็ญประโยชน์และการบารุ งรักษาวัดและปฏิบตั ิได้ อธิบายภาระหน้าที่ของพระภิกษุในการสื บทอดพระพุทธศาสนาได้ ปฏิบตั ิตนต่อพระภิกษุได้อย่างเหมาะสม ระบุถึงลักษณะของการปฏิบตั ิตนตามหลักมารยาทชาวพุทธ ปฏิบตั ิตนตามแบบอย่างของมารยาทชาวพุทธได้อย่างถูกต้อง
6
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
7
แบบทดสอบก่อนเรียน เล่มที่ 5 เรื่ อง หน้ าทีช่ าวพุทธ มารยาทชาวพุทธ คาชี้แจง
1. แบบทดสอบฉบับนี้มี 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน 2. ให้นกั เรี ยนเขียนเครื่ องหมาย ทับอักษร ก ข ค และ ง ที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
1. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในฐานะพระนักเทศน์ จะมีลกั ษณะสาคัญในข้อใด ก. มีวธิ ี การบรรยายโต้ตอบกันระหว่างพระสงฆ์ 2 รู ป ข. เทศนาสั่งสอนประชาชนทัว่ ไปโดยไม่ตอ้ งดูพระคัมภีร์ หรื อพระไตรปิ ฎก ค. มีปฏิภาณในการประยุกต์พุทธธรรมกับการดารงชีวติ ของประชาชน มีโวหารเป็ นที่น่าเลื่อมใส ง. พระสงฆ์ที่มีความชานาญในการเทศนาสั่งสอนโดยประยุกต์คาสอนของพระพุทธศาสนา ตามความเหมาะสม 2. พระธรรมทูต มีบทบาทสาคัญอย่างไร ก. เผยแผ่พระพุทธศาสนายังประเทศต่างๆ ทัว่ โลก ข. เดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในดินแดนห่างไกล ค. เป็ นผูแ้ ทนของคณะสงฆ์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ง. มีหน้าที่อบรมสั่งสอนหลักธรรมความรู ้แก่ประชาชนทัว่ ไป 3. พระสงฆ์ที่เผยแผ่พระพุทธศาสนาในบริ เวณป่ าเขานั้น หมายถึงข้อใด ก. พระวิปัสสนาจารย์ ข. พระธรรมจาริ ก ค. พระนักเทศน์ ง. พระธรรมทูต
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
8
4. แก้ว เป็ นลูกจ้างทางานบ้านให้วรดา ดังนั้นแก้วไม่ควรปฏิบตั ิตนต่อวรดาอย่างไร ก. ตื่นนอนก่อนวรดา ข. ใช้เสื้ อผ้าเก่าที่วรดามอบให้แก้ว ค. เลือกทางานในส่ วนที่แก้วพอใจ ง. พูดชมเชยวรดาให้เพื่อนๆ ฟัง 5. เดี่ยว จะได้รับการยกย่องจากเพื่อนว่าเป็ นคน “ธัมมะธัมโม” แสดงว่า เดี่ยวปฏิบตั ิตนตามหลักธรรม ในข้อใด ก. ไตรสิ กขา ข. ปฏิสันถาร ค. อุบาสกธรรม ง. อปริ หานิยธรรม 6. ถ้านักเรี ยนนัง่ เก้าอี้ในพิธีการ เมื่อพระสงฆ์เดินมายังสถานที่ทาพิธีน้ นั นักเรี ยนควรปฏิบตั ิตน อย่างไร ก. ยกมือไหว้คอ้ มศีรษะ หัวแม่มือจรดระหว่างคิ้ว ข. นัง่ ด้วยท่าสารวม เมื่อท่านเดินผ่านให้ไหว้ดว้ ยความเคารพ ค. ลุกขึ้นต้อนรับ ยืนตรงเมื่อท่านผ่านไปให้คอ้ มตัวแสดงความเคารพ ง. ลุกขึ้นยืนต้อนรับ ยกมือไหว้คอ้ มศีรษะ หัวแม่มือจรดระหว่างคิว้ เมื่อท่านนัง่ เรี ยบร้อยแล้ว จึงนัง่ ตามปกติ 7. ในกรณี ที่จาเป็ นต้องนัง่ เก้าอี้แถวเดียวกับพระสงฆ์ในงานพิธี นักเรี ยนควรปฏิบตั ิตนอย่างไร ก. นัง่ เก้าอี้ดา้ นขวามือของพระสงฆ์ ข. นัง่ เก้าอี้ดา้ นซ้ายมือของพระสงฆ์เสมอ ค. เว้นเก้าอี้ให้วา่ ง 1 ตัว ไม่นงั่ ชิดพระสงฆ์ ง. ขยับเก้าอี้ของตนให้เยื้องไปทางด้านหลังของพระสงฆ์เล็กน้อย
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
8. ข้อใดจัดเป็ นธรรมปฏิสันถาร ก. เก๋ ปลอบโยนดาวที่สอบเข้ามหาวิทยาลัยไม่ได้ ข. กุง้ นาน้ าเย็นมาให้คุณลุงดื่มเมื่อคุณลุงมาเยีย่ ม ค. ก้อย เลี้ยงอาหารเพื่อนที่มาเที่ยวที่บา้ น ง. เก่ง แจกทุนการศึกษาแก่เด็ก 9. การปฏิสันถารมีอานิสงส์อย่างไร ก. การร่ วมมือกัน ข. สังคมสงบสุ ข ค. ผูกไมตรี ที่ดีต่อกัน ง. มีความสามัคคีระหว่างกัน 10. ชาติ เป็ นที่รักของลูกจ้างทุกคน แสดงว่า ชาติปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมใด ก. กุศลมูล ข. อิทธิบาท 4 ค. พรหมวิหาร 4 ง. ปฏิสันถาร 2
9
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่ อนเรียน เล่มที่ 5 เรื่ อง หน้ าทีช่ าวพุทธ มารยาทชาวพุทธ ชื่อ.................................................นามสกุล..........................................ชั้น............. เลขที่............
คาชี้แจง
ให้ นักเรี ยนทาเครื่ องหมาย ข้ อที่ถูกต้ องที่สุดเพียงข้ อเดียว ข้ อ ก ข 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. คะแนนที่ได้
ค
ง
10
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
11
1. หน้ าทีช่ าวพุทธ หน้ าที่ของชาวพุทธ ประการหนึ่งก็คือ ต้องมีความรู ้ความเข้าใจหน้าที่และบทบาทของ พระภิกษุ ทั้งนี้เพื่อจะได้ปฏิบตั ิตนต่อท่านได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 1.1 หน้ าที่และบทบาทของพระภิกษุสามเณร เมื่อกุลบุตรผูม้ ีศรัทธาในพระพุทธศาสนา ได้เข้ารับการบรรพชาอุปสมบทแล้ว บทบาทและ หน้าที่หลักเบื้องต้น ที่จะต้องปฏิบตั ิอย่างเคร่ งครัดเหมือนกันในฐานะพระภิกษุสามเณร คือ การศึกษา ตามหลักไตรสิ กขา กล่าวคือ 1. ศีล จะต้องศึกษาพระวินยั แต่ละสิ กขาบท ข้อวัตรปฏิบตั ิ ธรรมเนียมมารยาทต่าง ๆ ให้เข้าใจเพื่อจะได้สารวมระวังและปฏิบตั ิตนได้ถูกต้องตามพระพุทธบัญญัติ ไม่ให้เกิดโทษทางวินยั 2. สมาธิ จะต้องศึกษาวิธีการเพิ่มพูนสมาธิ และหมัน่ ฝึ กหัดขัดเกลาอบรมจิตให้เกิดความ สงบเยือกเย็นมากขึ้นโดยลาดับ มีความหนักแน่นมัน่ คง มีความละเอียดอ่อนเพื่อเป็ นฐานในการคิด พิจารณาคุณธรรมขั้นสู ง และเพื่อให้สามารถให้อานาจแห่งสมาธิ ขจัดอุปสรรคทางความคิดที่เรี ยกว่า นิวรณ์ อันได้แก่ ความพอใจรักใคร่ ในกามารมณ์ต่าง ๆ ความพยาบาทผูกใจเจ็บแค้น ความฟุ้งซ่าน ราคาญใจ ความง่วงเหงาหาวนอน และความโลเลสงสัยในสิ่ งที่ไม่ควรสงสัยซึ่ งมักจะเกิดในใจ คอยขัดขวางมิให้บรรลุความดี 3. ปัญญา จะต้องศึกษาเพื่อเพิ่มพูนศักยภาพทางความคิดในการพิจารณาให้เข้าถึงความ จริ งแท้ของสรรพสิ่ ง และเพื่อใช้ปัญญาเป็ นเครื่ องมือในการขจัดสาเหตุแห่งความทุกข์ท้ งั ปวงโดยลาดับ จนกว่าจะบรรลุถึงภาวะแห่งความบริ สุทธิ์ ข้ นั สู งสุ ด กล่าวคือ พระนิพพาน
ภาพที่ 5.1 การศึกษาหลักธรรมคาสั่ งสอนของพระพุทธเจ้ าถือเป็ นหน้ าทีส่ าคัญ ทีม่ า : http://www.dmc.tv
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
12
กล่าวได้วา่ บทบาทและหน้าที่พ้นื ฐานทั้ง 3 นี้ เป็ นบทบาทหน้าที่ส่วนบุคคลที่พระภิกษุ สามเณรแต่ละรู ปไม่อาจละเลยปฏิบตั ิได้ ผูท้ ี่ฝึกปฏิบตั ิยอ่ มจะได้รับผลเฉพาะตน ตามความเหมาะสม แก่การปฏิบตั ิ เนื่องจากวิถีชีวติ ของพระภิกษุสามเณร อยูไ่ ด้ดว้ ยการอาศัยการอุปถัมภ์บารุ งอาหาร เครื่ องนุ่งห่ม ที่อยูอ่ าศัย และยารักษาโรค อันเป็ นปั จจัยพื้นฐานในการดารงชีวติ จากประชาชน โดยทัว่ ไป และโดยที่ฐานแห่ งการถวายการอุปถัมภ์บารุ งนั้น อิงอยูก่ บั ความศรัทธาของประชาชน เป็ นสาคัญ ดังนั้น พระภิกษุสามเณรนอกจากจะมีบทบาทหน้าที่เฉพาะตนตามหลักไตรสิ กขาแล้ว พระภิกษุสามเณรจึงต้องมีบทบาทและหน้าที่หลายประการ อันเป็ นพันธกิจที่เอื้อต่อประชาชน ด้วยเช่นกัน การให้การอบรมสั่งสอนด้วยการเผยแผ่พุทธธรรมในรู ปแบบต่าง ๆ สู่ สังคมถือเป็ น บทบาทและหน้าที่หลักที่สาคัญอีกประการหนึ่งของพระภิกษุสามเณร ซึ่ งถือได้วา่ เป็ นการให้คืน แก่สงั คมอีกรู ปแบบหนึ่ง กล่าวคือ ในขณะที่ทางกายพระภิกษุสามเณรต้องพึ่งพาปัจจัย 4 จากสังคม สังคมก็ตอ้ งพึ่งพาการแนะนาพร่ าสอนจากพระภิกษุสามเณร ทั้งนี้พระภิกษุสามเณรให้ทาหน้าที่ ตามบทบาทต่าง ๆ ดังนี้ 1) พระนักเทศน์ พระภิกษุสามเณรที่ได้ศึกษาตามหลักไตรสิ กขา และการศึกษาในด้าน พระปริ ยตั ิธรรม อันได้แก่ การศึกษาหลักพระพุทธธรรมจากพระไตรปิ ฎก คัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา และอื่น ๆ การศึกษาอันสมควรแก่สมณวิสัยอื่น ๆ จนมีความแตกฉานชานาญในระดับหนึ่งแล้วก็ จะทามาแสดงหรื อเผยแผ่สู่สังคม ในอดีตนั้นมักจะเป็ นการเทศนา ปาฐกถา บรรยายปากเปล่า เสี ยเป็ นส่ วนใหญ่ ทั้งนี้เป็ นเพราะสื่ อเทคโนโลยีต่าง ๆ ยังเจริ ญไม่มากเช่นในปั จจุบนั
ภาพที่ 5.2 พระนักเทศน์ ทีม่ า : http://www.watprayoon.com
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
13
กล่าวเฉพาะ “การเทศนา” จะพบว่ามีหลากหลายรู ปแบบธรรมาสน์เดียว การเทศนาแบบ ปุจฉา – วิสัชนา การเทศนาทานองสรภัญญะหรื อการเทศน์แหล่ โดยเฉพาะในปั จจุบนั ที่สื่อเทคโนโลยี มีความเจริ ญมากาขึ้น จึงเริ่ มมีการประยุกต์เทคโนโลยีเข้ามาเป็ นเครื่ องมือประกอบการสื่ อธรรมมากขึ้น ทั้งนี้ เกิดมาจากการคิดพัฒนาวิธีสื่อธรรมให้มีประสิ ทธิภาพ เกิดประสิ ทธิ ผล คือ ประชาชนได้รับ ประโยชน์จริ งนัน่ เอง บางรู ปมีความชานาญในการเทศนามาก มีปฏิญาณในการประยุกต์พุทธธรรมกับ การดารงชี วติ ของประชาชน มีโวหารเป็ นที่น่าเลื่อมใสศรัทธา ก็จะได้รับความนิยมจากประชาชน โดยทัว่ ไปและเมื่อเกียรติคุณของท่านเป็ นที่ปรากฏในสังคมแล้ว ประชาชนก็มกั จะจดจาท่านได้ใน ฐานะ “พระนักเทศน์” ทั้งนี้เพราะถือเอาบทบาทด้านการเผยแผ่ธรรมด้วยการเทศนาของท่านเป็ นสาคัญ ตัวอย่างพระนักเทศน์ที่สาคัญ เช่น พระพรหมมังคลาจารย์ (ปั ญญานันทภิกขุ) เป็ นต้น 2) พระธรรมทูต เป็ นคาที่ใช้เรี ยกพระภิกษุที่เดินทางไปเผยแพร่ พระพุทธศาสนายัง ต่างประเทศ ซึ่ งโดยส่ วนใหญ่มกั ได้รับการอาราธนาจากพุทธศาสนิกชนชาวไทยและชาวต่างประเทศ ในประเทศนั้น ๆ และเนื่องจากการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศ มีความจาเป็ นที่พระภิกษุจะต้อง ศึกษาเพิ่มเติมในเรื่ องอื่น ๆ เช่น ภาษา ขนบธรรมเนียมปฏิบตั ิ วิถีการดารงชี วติ หรื อแม้กระทัง่ กฎหมายของประเทศนั้น ๆ เป็ นต้น เพื่อจะได้สามารถปรับตัวให้เข้ากับวิถีชีวิตในต่างประเทศได้ ในปัจจุบนั ทางคณะสงฆ์ไทยได้สนับสนุนให้มีการฝึ กอบรมพระธรรมทูต โดยมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยมหามงกุฎราชวิทยาลัย เป็ นหน่วยงานสาคัญในการจัดหลักสู ตรและ จัดการฝึ กอบรม มีพระธรรมทูตที่ผา่ นหลักสู ตรการฝึ กอบรมเดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา ยังประเทศต่าง ๆ ทัว่ โลกเป็ นจานวนมาก พุทธศาสนิกชนชาวไทยในต่างประเทศจึงได้มีโอกาสศึกษา และปฏิบตั ิธรรม รวมทั้งมีชาวต่างประเทศสนใจศึกษาและปฏิบตั ิตามหลักพุทธธรรมมากขึ้นด้วย
ภาพที่ 5.3 พระธรรมทูต ทีม่ า : http://www.nationgroup.com
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
14
3) พระธรรมจาริก ในบางภูมิภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะบริ เวณพื้นที่สูง ป่ าเขา ลาเนาไพรบางแห่งและบริ เวณพรมแดนใกล้รอยต่อระหว่างประเทศ จะมีประชาชนอีกหลายกลุ่ม หลายเผ่าพันธุ์ต้ งั หมู่บา้ นอยูต่ ้ งั แต่อดีตจานวนมาก แต่เนื่ องจากปั ญหาทางด้านกายภาพของพื้นที่ และปัญหาทางด้านการเมืองการปกครองอีกส่ วนหนึ่ง ที่ไม่สามารถก่อให้เกิดความเจริ ญได้ทวั่ ถึง ทาให้ประชาชนเหล่านี้ยงั ไม่ได้รับการพัฒนา หรื ออาจเรี ยกได้วา่ เป็ นผูด้ อ้ ยและขาดโอกาสในการ ได้รับการพัฒนา จึงพบว่าประชาชนเหล่านี้มกั มีคติความเชื่อที่แตกต่างกันออกไปและบางกลุ่มก็เป็ น พุทธศาสนิกชน แต่มีความเชื่อที่ผดิ ไปจากหลักธรรมที่แท้จริ ง ทั้งนี้ เพราะไม่มีพระภิกษุสามเณรที่มี ความรู ้แตกฉานคอยให้คาแนะนาพร่ าสอน พระภิกษุสามเณรบางรู ปได้จาริ ก (เดินธุดงค์) ไปพบ เหตุการณ์ดงั กล่าวนี้ จึงได้อนุเคราะห์ดว้ ยการพานักอยูร่ ่ วมกับประชาชนเหล่านี้ เพื่อให้การศึกษาอบรม หลักธรรมคาสอนในทางพระพุทธศาสนาที่ถูกต้องและเมื่อจาริ กออกจากดินแดนแถบนั้นแล้วก็ได้ นามาบอกเล่ากับพระภิกษุสามเณรรู ปอื่น ๆ มีการรวมกลุ่มเพื่อเดินทางไปปฏิบตั ิศาสนกิจในพื้นที่ ดังกล่าวเป็ นจานวนมาก ปั จจุบนั ศูนย์ประสานงานพระธรรมจาริ กอยูท่ ี่วดั เบญจมบพิตรฯ และบางวัด ในเขตจังหวัดภาคเหนื อ นอกจากนี้มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ยังมีนโยบายส่ งเสริ มให้ พระภิกษุสามเณรที่ศึกษาจบแล้ว ได้ออกฝึ กปฏิบตั ิศาสนกิจในฐานะพระธรรมจาริ กด้วย ทาให้มี พระธรรมจาริ กอยูร่ วมกับประชาชนในดินแดนดังกล่าวเป็ นจานวนมาก ประชาชนได้มีโอกาสศึกษา และปฏิบตั ิธรรมะมากขึ้น
ภาพที่ 5.4 พระธรรมจาริก ทีม่ า : http://www.bloggang.com
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
15
4) พระวิทยากร หมายถึง พระภิกษุที่มีบทบาทหน้าที่ในการให้ความรู ้และทาหน้าที่ ในการอบรมสั่งสอนหลักธรรม ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา และการประยุกต์ธรรมเข้ากับ การดารงชี วติ แก่ประชาชนทุกหมู่เหล่า ปั จจุบนั นิยมใช้คานี้เรี ยกพระภิกษุสามเณรที่สอนอยูใ่ น โรงเรี ยนและสถานศึกษาต่าง ๆ ซึ่ งพระวิทยากรที่ทาหน้าที่อยูใ่ นสถานศึกษาต่าง ๆ นี้ ครู อาจารย์ และนักเรี ยน นักศึกษา มักจะใช้สรรพนามเรี ยกท่านว่า “พระอาจารย์ ” นอกจากนี้ยงั มีพระภิกษุ สามเณรบางรู ป ที่ได้รับการอาราธนาเพื่อบรรยายในการอบรมสัมมนาต่าง ๆ หรื อในบางครั้งพระภิกษุ สามเณรจะเป็ นผูจ้ ดั การอบรมสัมมนาให้แก่ประชาชนกลุ่มต่าง ๆ เอง ซึ่ งในลักษณะหลังนี้พระวิทยากร จะมีบทบาทในการให้ความรู ้ตามประเด็นหรื อหัวข้อที่ได้รับการอาราธนาให้บรรยาย ในบางแห่ง จะเรี ยกว่า “พระธรรมวิทยากร”
ภาพที่ 5.5 พระธรรมวิทยากร ทีม่ า : http://www.phraecity.go.th/SNV/Van.html 5) พระวิปัสสนาจารย์ หมายถึง พระภิกษุที่มีความชานาญพิเศษทั้งทางด้านการปฏิบตั ิ และในด้านการให้คาแนะนาวิธีปฏิบตั ิสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐาน ทาหน้าที่แนะนาและให้ การฝึ กอบรมสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐานแก่พระภิกษุสามเณร และประชาชนทัว่ ไป โดยมาก จาพรรษาอยูใ่ นเสนาสนะที่สงบสงัด เป็ นผูน้ าทางด้านจิตใจให้แก่ประชาชนผูต้ อ้ งการปฏิบตั ิธรรม ชั้นสู ง
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
16
ภาพที่ 5.6 พระวิปัสนาจารย์ ทีม่ า : http://www.phraecity.go.th/SNV/Van.html การปฏิบตั ิสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐานนั้น แต่ก่อนจากัดอยูใ่ นแวดวงพระ สายวัดป่ าซึ่งมีจานวนน้อย ไม่ได้เปิ ดโอกาสให้ฆราวาสปฏิบตั ิดว้ ย ต่อมาเมื่อสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภเถระ) สมัยยังดารงสมณศักดิ์ที่พระพิมลธรรม สังฆมนตรี วา่ การองค์การปกครองคณะสงฆ์ ได้นาเอาการปฏิบตั ิวปิ ั สสนาจากพม่ามาเผยแพร่ ตั้งศูนย์ปฏิบตั ิกรรมฐานทัว่ ประเทศ ความนิยมในการ ปฏิบตั ิกรรมฐาน ทั้งสมถกรรมฐาน และวิปัสสนากรรมฐานจึงเกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง ฆราวาสทัว่ ไป ก็นิยมมาปฏิบตั ิฝึกสมาธิ วปิ ั สสนาด้วย ทางมหาวิทยาลัยสงฆ์ เน้นความสาคัญของการพัฒนาจิตและเจริ ญปั ญญาจึงได้บรรจุ วิชาการปฏิบตั ิสมถะและวิปัสสนาในหลักสู ตรของมหาวิทยาลัยสงฆ์ พระนิสิตทุ กรู ปจะต้องผ่านทั้ง ภาควิชาการและการฝึ กอบรมกรรมฐานอย่างเข้มงวดก่อนจะมีสิทธิ์ รับปริ ญญาบัตร พระนิสิตและ พระบัณฑิตเหล่านี้มีส่วนสาคัญในการไปฝึ กอบรมชาวบ้านในโอกาสต่าง ๆ นับว่าพระภิกษุได้ทา หน้าที่ในฐานะพระวิปัสสนาจารย์อีกด้านหนึ่งอย่างกว้างขวาง 6) พระนักพัฒนา ในบางพื้นที่ของประเทศไทย ประชาชนยังมีความเป็ นอยูอ่ ตั คัดขัด สนจากปั ญหาความยากจน การพัฒนาพื้นที่และปั ญหาการกระจายรายได้ที่ไม่สมดุล พระภิกษุบางรู ป ที่วเิ คราะห์เห็นปั ญหาของประชาชนในพื้นที่ จึงเริ่ มช่วยเหลือด้วยการให้คาแนะนาและส่ งเสริ มการ ประกอบอาชีพที่ไม่ขดั ต่อหลักพระธรรมวินยั บางรู ปเป็ นผูน้ าในการอนุรักษ์ทรัพยากรสิ่ งแวดล้อม ดิน น้ า ป่ า บางรู ปเป็ นผูน้ าในการรวมกลุ่มชาวบ้านเพื่อพัฒนาชุมชน บางรู ปเป็ นผูน้ าในการชักชวน
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
17
ชาวบ้านเพื่อรวมกลุ่มตั้งสหกรณ์ออมทรัพย์เพื่อการผลิต บางรู ปเป็ นผูน้ าชาวบ้านในด้านการดูแลรักษา สุ ขภาพด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน บางรู ปเป็ นผูน้ าในการรณรงค์ให้ประชาชนรักษาศีล 5 ไม่ยงุ่ เกี่ยวกับ อบายมุข กล่าวโดยรวมได้วา่ พระภิกษุที่ทาหน้าที่ช่วยเหลือชาวบ้านในลักษณะเช่นนี้ ท่านได้มีบทบาท ในฐานะ “พระนักพัฒนา” โดยวิเคราะห์ประเด็นปั ญหาของชุมชน ชักชวนชาวบ้านให้ร่วมกันคิดหา สาเหตุของปั ญหา กาหนดเป้ าหมายในการพัฒนาและเป็ นผูน้ าในการพัฒนาไปตามประเด็นปั ญหา ของแต่ละพื้นที่ ซึ่ งโดยมากประชาชนจะให้ความเชื่ อถือเพราะเห็นว่าพระภิกษุให้ความช่วยเหลือ ด้วยความบริ สุทธิ์ ใจ ไม่หวังสิ่ งใดตอบแทนจึงพบว่าในหลาย ๆ พื้นที่ ประชาชนได้รับการพัฒนา ขึ้นมาจากการนาของพระภิกษุนกั พัฒนา
ภาพที่ 5.7 พระนักพัฒนา ทีม่ า : http://www.phraecity.go.th/SNV/Van.html กล่าวโดยสรุ ป บทบาทและหน้าที่ของพระภิกษุสามเณรดังกล่าวมาข้างต้นนั้น ล้วนดาเนิ นไปเพื่อประโยชน์ของคนในสังคมโดยส่ วนรวม ผูท้ ี่เห็นการบาเพ็ญประโยชน์ของพระภิกษุ สามเณรในบทบาทต่าง ๆ ดังกล่าวจึงควรถวายการสนับสนุนอุปถัมภ์บารุ งท่านด้วยปั จจัย 4 และสิ่ งของ ที่จาเป็ นอื่น ๆ เพื่อให้ท่านได้ดารงชีวิตในวิถีแห่งสมถะ และได้บาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมได้สะดวก มากขึ้นและหากถือคติที่วา่ คนเป็ นผูส้ ร้างงานและงานเป็ นผูส้ ร้างคนการบาเพ็ญประโยชน์ของพระภิกษุ สามเณรดังกล่าว จึงเป็ นการฝึ กหัดขัดเกลาจิตใจตนเองไปพร้อม ๆ กัน การที่ประชาชนทัว่ ไปถวาย การอุปถัมภ์บารุ งท่าน นอกจากจะเป็ นการบาเพ็ญบุญกิริยาวัตถุในฐานะพุทธศาสนิกชนโดยตรงแล้ว ยังเป็ นการช่วยส่ งเสริ มให้ท่านได้ฝึกปฏิบตั ิตนเองผ่านการทางานกับสังคมโดยอ้อมด้วย
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
1.2 การปฏิบัติตนตามหลักทิศเบื้องล่างในทิศ 6 พระพุทธศาสนามีคาสอนเรื่ องทิศ 6 คือ หลักในการปฏิบตั ิตนกับบุคคลประเภทต่าง ๆ ในสังคม 6 ประเภท ณ ที่น้ ีกล่าวถึงทิศเบื้องล่าง อันได้แก่ คนงาน ลูกจ้าง และคนรับใช้ 1) การปฏิบัติตนต่ อคนงาน ลูกจ้ าง และคนรับใช้ นายพึงปฏิบตั ิต่อคนงาน ลูกจ้าง คนรับใช้ ดังนี้ 1. จัดการงานให้ตามความเหมาะสมกับกาลังความสามารถ 2. ให้ค่าจ้างรางวัล พอสมควรแก่งานและกาลังความสามารถ 3. จัดสวัสดิการดี เช่น ช่วยรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บไข้ เป็ นต้น 4. ได้ของพิเศษแปลก ๆ มา ก็แบ่งปั นให้ตามสมควร 2) การปฏิบัติตนต่ อนายจ้ าง คนรับใช้ คนงาน และลูกจ้าง ควรปฏิบตั ิต่อนายจ้าง ดังนี้ 1. เริ่ มทาการงานก่อนนาย 2. เลิกงานทีหลังนาย 3. ถือเอาแต่ของที่นายให้ 4. ทาการงานให้เรี ยบร้อยและดียงิ่ ขึ้น 5. นาเกียรติคุณของนายไปเผยแพร่
ภาพที่ 5.8 ลูกจ้ างทีด่ ี ทีม่ า : http://www.cmprice.com
18
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
19
1.3 หน้ าที่และบทบาทของอุบาสก อุบาสิ กาทีม่ ีต่อสั งคมไทยในปัจจุบัน อุบาสก แปลว่า ชายผูน้ งั่ ใกล้พระรัตนตรัย อุบาสิ กา แปลว่า หญิงผูน้ งั่ ใกล้พระรัตนตรัย เดิมทีเดียวผูท้ ี่ได้รับพระรัตนตรัยเป็ นสรณะก็เป็ นอุบาสกอุบาสิ กาทั้งนั้น แต่ต่อมาคานี้ มิได้ใช้ หมายถึงชาวพุทธโดยทัว่ ไป แต่หมายถึงชาวพุทธที่อยูใ่ กล้พระพุทธศาสนากว่าคนอื่น อุทิศตน ให้พระพุทธศาสนาและประกอบกิจทางศาสนามากกว่าชาวพุทธทัว่ ไป เช่น สมาทานรักษาอุโบสถศีล คือ ศีล 8 ในวันพระ เป็ นต้น ตามนัยนี้อุบาสกอุบาสิ กา ก็เหมือนกับผูท้ ี่อยูก่ ลางระหว่างทางโลกกับทางธรรม พระภิกษุ นั้นอยูใ่ นทางธรรม อุบาสกอุบาสิ กามิได้บวชแต่ก็ใกล้พระศาสนามากกว่า คนทัว่ ไปยังทามาหากิน อยูใ่ นโลกที่ร้อนและมีปัญหา ในขณะเดียวกันก็พยายามพัฒนาตนให้เป็ นพุทธมามกะที่ดี พยายามลด กิเลสและอุทิศตนให้พระศาสนามากกว่าชาวพุทธทัว่ ไป อุบาสกอุบาสิ กานั้น อุทิศทานุบารุ งพระศาสนามากกว่าชาวพุทธอื่น ๆ เมื่อพระศาสนาเจริ ญ มัน่ คง สังคมก็พลอยเจริ ญมัน่ คงไปด้วย นี่ถือว่าอุบาสกอุบาสิ กาทาประโยชน์ให้แก่สังคมทางอ้อม อุบาสกอุบาสิ กาที่ดีจะเป็ นตัวอย่างอย่างว่า “คนธัมมะธัมโม” ก็ประกอบอาชี พการงานเจริ ญก้าวหน้าได้ เป็ นการสร้างและเพิ่มความเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา ทาให้คนเห็นว่าพระธรรมคาสอนซึ่ ง เป็ นนามธรรมนั้น ปรากฏกับรู ปธรรมเป็ นของจริ งได้ และยังทาให้ชาวพุทธที่ยงั มีศรัทธาน้อยเห็นว่า พระศาสนานั้นอาจสร้างสรรค์ชีวติ และสังคมที่ดีได้ ชาวพุทธบางคนเมื่อเห็นพระภิกษุอาจคิดว่านี่สูงส่ ง และบริ สุทธิ์ เกินไปสาหรับตน คงเอาอย่างไม่ได้ แต่เมื่อเห็นอุบาสกอุบาสิ กาที่มีคุณภาพ เขาอาจคิดว่า แค่น้ ีพอทาตามได้
ภาพที่ 5.9 อุบาสกอุบาสิ กาทีด่ ี ทีม่ า : http://www.cmprice.com
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
20
โลกในปั จจุบนั เป็ นโลกของการแข่งขันในระบบทุนนิยมเสรี คนเป็ นจานวนไม่นอ้ ยยึดหลัก ว่า “ธุรกิจก็คือธุรกิจ” หมายความว่าในการทาธุ รกิจเราต้องชนะการแข่งขันไม่วา่ ด้วยวิธีใดก็ตาม ไม่ตอ้ งคานึงถึงความถูกผิดเพราะผูช้ นะเป็ นผูถ้ ูก ผูแ้ พ้เป็ นผูผ้ ดิ เราทาได้ทุกอย่าง ยกเว้นสิ่ งที่ผดิ กฎหมาย เมื่อเป็ นเช่นนี้ก็มีขอ้ สงสัยว่าตนที่ถือคุณธรรมเป็ นใหญ่ จะแข่งขันสู ้เขาได้หรื อ คาตอบก็คือคนที่ ประพฤติดีและประสบความสาเร็ จในการทาธุ รกิจก็มีจานวนไม่นอ้ ย อุบาสกอุบาสิ กาที่ปฏิบตั ิธรรม และประสบความสาเร็ จทางธุ รกิจการงาน อาจเป็ นตัวอย่างและเป็ นแรงบันดาลใจให้คนในสังคมเชื่อว่า “ธรรมะ” กับ “ชนะ” ไปด้วยกันได้ อุบาสกอุบาสิ กาที่ดีควรยึด “อุบาสกกรรม 7” เป็ นหลักในการประพฤติปฏิบตั ิตน ดังนี้ 1. ไม่ขาดการเยีย่ มเยียนพระภิกษุ 2. ไม่ละเลยการฟังธรรม 3. ศึกษาในอธิศีล 4. เลื่อมใสในพระภิกษุท้ งั หลาย 5. ไม่ฟังธรรมด้วยตั้งใจจะคอยเพ่งโทษติเตียน 6. ไม่แสวงหาทักขิไณยภายนอกหลักคาสอน 7. ขวนขวายในการบารุ งพุทธศาสนา
ภาพที่ 5.10 หน้ าทีข่ องชาวพุทธทีด่ ี ทีม่ า : www.oknation.net
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
21
2. มารยาทชาวพุทธ 2.1 การปฏิสันถารทีเ่ หมาะสมต่ อพระภิกษุ ปฏิสันถาร หมายถึง การทักทายปราศรัยหรื อต้อนรับในโอกาสต่าง ๆ ในงานพิธีที่ตอ้ งมี พระภิกษุประกอบในงานด้วย พุทธศาสนิกชนควรปฏิบตั ิตนในการปฏิสันถารต่อภิกษุสงฆ์ อย่างเหมาะสม ดังนี้ 1) การลุกขึน้ ต้ อนรับ การลุกขึ้นต้อนรับ มาจากคาว่า “อุฏฐานะ” เป็ นการแสดงความ เคารพอย่างหนึ่ง เมื่อพระสงฆ์เดินมายังสถานที่พิธีน้ นั ๆ คฤหัสถ์ชายหญิงที่นงั่ อยูใ่ นงานนั้นพึงปฏิบตั ิ ดังนี้ 1.1) ถ้ านั่งเก้ าอีพ้ งิ ลุกขึน้ ยืนรั บ เมื่อท่านเดินผ่านพึงยกมือไหว้แบบไหว้พระ รัตนตรัย เมื่อท่านนัง่ เรี ยบร้อยแล้วจึงนัง่ ลงตามปกติ 1.2) ถ้ านั่งกับพืน้ ไม่ ต้องยืนรับ เมื่อท่านเดินผ่านมาถึงเฉพาะหน้าพึงยกมือไหว้หรื อ กราบสุ ดแท้แต่ความเหมาะสมในสถานที่น้ นั
ภาพที่ 5.11 การลุกขึน้ ต้ อนรั บพระภิกษุสงฆ์ ทีม่ า : http://pantip.com/topic/31668933
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
22
2) การให้ ทนี่ ั่งพระสงฆ์ การให้ที่นงั่ พระสงฆ์ มาจากคาว่า “อาสนทาน” ใช้ในเวลา พระสงฆ์มาในมณฑลพิธีซ่ ึ งไม่มีที่วา่ ง การแสดงความเคารพแก่พระสงฆ์พึงปฏิบตั ิ ดังนี้ 2.1) ถ้ าสถานทีช่ ุ มนุมนั้นนั่งเก้ าอี้ เมื่อพระสงฆ์มาในงานนั้น ฆราวาสชายหญิง พึงลุกขึ้นหลีกให้พระสงฆ์มานัง่ เก้าอี้แถวหน้า หรื อขณะขึ้นรถประจาทางและนัง่ อยูเ่ บาะหลังถ้ามี พระสงฆ์เดินทางไปด้วย พึงให้พระสงฆ์นงั่ แสดงถึงความมีสัมมาคารวะ มีวฒั นธรรมในการนัง่ 2.2) ถ้ าจาเป็ นต้ องนั่งแถวเดียวกับพระสงฆ์ พึงนัง่ เก้าอี้ดา้ นซ้ายมือท่านเสมอ 2.3) สาหรับสตรีเพศจะนั่งอาสนะยาว เช่น ม้ายาวเดียวกันกับพระสงฆ์ ต้องมีบุรุษ เพศนัง่ คัน่ ในระหว่างกลาง จึงไม่เกิดโทษแก่พระสงฆ์ 2.4) ถ้ าสถานทีช่ ุ มนุมนั้นนั่งกับพืน้ พึงจัดอาสนสงฆ์ให้เป็ นส่ วนหนึ่งต่างหาก จากฆาราวาส เช่น ปูพรมผืนใหญ่เต็มห้องควรจัดอาสนะเล็กบนพรมนั้นอีกชั้นหนึ่ง 3) การรับรอง วัตถุทุกสิ่ งที่ใช้ตอ้ งมีฐานรองรับ เช่น ตึกต้องมีเสาเข็มเป็ นฐานรองรับ แต่สาหรับคนมีคุณธรรมเป็ นฐานรองรับ อันได้แก่ 3.1) เมื่อท่านมาถึงบ้ านหรื อสถานทีแ่ ล้ว ควรรับรองท่านด้วยอัธยาศัยไมตรี อนั ดี ด้วยใบหน้าอันยิม้ แย้มแจ่มใสพอในการรับรอง เช่น นิมนต์ให้นงั่ ในที่อนั สมควรซึ่ งได้จดั ไว้ 3.2) ถวายของรับรอง เช่น น้ าดื่ม น้ าชา น้ าเย็น เป็ นต้น 3.3) ควรนั่งสนทนากับท่านด้ วยความพอใจ ไม่ควรปล่อยให้ท่านนัง่ อยูร่ ู ปเดียว อนึ่ง การนัง่ นั้นพึงนัง่ เว้นโทษ 6 อย่าง ดังนี้ 1. ไม่นงั่ ตรงหน้า 2. ไม่นงั่ ไกลนัก 3. ไม่นงั่ สู งกว่า 4. ไม่นงั่ ข้างหลัง 5. ไม่นงั่ ใกล้นกั 6. ไม่นงั่ เหนื อลม
ภาพที่ 5.12 การถวายของรับรอง ทีม่ า : http://pantip.com/topic/31668933
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
23
4) การตามส่ งพระสงฆ์ เมื่อพระสงฆ์ที่ท่านมาเยีย่ ม หรื อที่นิมนต์ท่านมาในงานพิธีต่าง ๆ จะกลับ เจ้าภาพหรื อผูอ้ ยูใ่ นงานพิธีน้ นั ๆ ควรปฏิบตั ิ ดังนั้น 4.1) ถ้ านั่งเก้ าอีพ้ งึ ลุกขึน้ ยืน เมื่อท่านเดินผ่านมาเฉพาะหน้า ให้ยกมือไหว้ 4.2) ถ้ านั่งกับพืน้ ไม่ ต้องยืน เมื่อท่านเดินผ่านมาเฉพาะหน้า พึงไหว้หรื อกราบ แสดงความเคารพตามความเหมาะสมแก่สถานที่ 4.3) สาหรับเจ้ าภาพในงาน พึงเดินตามไปส่ งท่านจนพ้นบริ เวณงานหรื อจนกว่า จะขึ้นรถออกจากบริ เวณงาน อนึ่ง ก่อนที่ท่านจะจากไปพึงยกมือไหว้เพื่อแสดงความเคารพเป็ นการ ส่ งท่าน 2.2 การปฏิสันถารตามหลักปฏิสันถาร 2 การปฏิสันถาร คือ การต้อนรับแขกผูม้ าเยือน อาจทาได้หลายวิธี คือ ปฏิสันถารด้วยวาจา ปฏิสันถารด้วยการให้ที่พกั อาศัย และปฏิสันถารด้วยการให้ที่พกั อาศัย และปฏิสันถารด้วยการแสดง น้ าใจต่อกันในพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าตรัสว่า การปฏิสันถารเป็ นพื้นฐานสาคัญของชีวติ พรหมจรรย์เลยทีเดียวทรงกาชับให้พระสงฆ์เอาใจใส่ ตอ้ นรับอาคันตุกะด้วยอัธยาศัยอันดีงาม พระพุทธเจ้าเองก็มิได้ทรงละเลยในเรื่ องนี้ มีผกู ้ ล่าวสรรเสริ ญพระองค์วา่ ทรงมีพระพักตร์ เบิกบาน อยูเ่ สมอ ทรงทักชายแขกก่อนและตรัสปฏิสันถารด้วยพระวาจาที่ไพเราะรื่ นหู คนไทยเราได้รับอิทธิพล ส่ วนดีน้ ีมาจากพระพุทธศาสนา จนมีคาพังเพยว่า “เป็ นธรรมเนียมไทยแท้แต่ โบราณ ใครมาถึงเรือน ชานต้ องต้ อนรับ” เมื่อมีแขกมาบ้าน เราต้องรู ้จกั ปฏิบตั ิตนว่า จะพูดอย่างไรกับบุคคลวัยใด ฐานะใด สรรพนาม แทนตัวเองและแทนแขกใช้อย่างไรต้องรู ้จกั เลือกใช้ให้ถูก แต่อะไรไม่เท่ากับการยิม้ แย้มแจ่มใส แสดงให้เขาเห็นว่าเรายินดีเต็มใจให้ การต้อนรับ ไม่ควรแสดงสี หน้าบึ้งตึง อย่างที่เรี ยกว่า “หน้ าไม่ รับแขก” การปฏิสันถารย่อมได้รับอานิ สงส์ต่าง ๆ เช่น ย่อมไม่ผกู ไมตรี อนั ดีงามต่อกันไว้ได้ยอ่ มเป็ น เหตุให้ราลึกถึงกันด้วยความรู ้สึกดีอยูเ่ สมอ
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
ภาพที่ 5.13 ต้ อนรับแขกผู้มาเยือน ทีม่ า : www.manager.co.th
เรื่ องน่ ารู้ “คารวธรรม” คารวะ คือ การแสดงความเคารพ ความเอื้อเฟื้ อ ความใส่ ใจมองเห็นความสาคัญ ที่จะต้องปฏิบตั ิต่อสิ่ งนั้น ๆ ให้ถูกต้องเหมาะสม มี 6 อย่าง 1. ความเคารพในพระพุทธเจ้า 2. ความเคารพในพระธรรม 3. ความเคารพในพระสงฆ์ 4. ความเคารพในการศึกษา 5. ความเคารพในความไม่ประมาท 6. ความเคารพในปฏิสันถาร
24
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
25
การปฏิสันถารให้ที่อยูอ่ าศัยเป็ นเรื่ องของผูใ้ หญ่ที่จะกระทา ด้วยเป็ นประเพณี แต่โบราณ ดังได้กล่าวมาแล้ว ผูม้ าจากต่างบ้านต่างถิ่น จะได้รับการต้อนรับให้อาศัยพักพิงเมื่อมาถึงเวลาค่าคืน ในปั จจุบนั นี้ธรรมเนียมอย่างนี้ได้ละเลยกันเป็ นส่ วนมาก โดยเฉพาะในภูมิภาคส่ วนกลาง เพราะความ เจริ ญของความเจริ ญมีมากขึ้น ที่พกั คนเดินทางหรื อโรงแรมก็สะดวกสบาย จึงมักไม่ใคร่ มีใครอยาก รบกวนผูอ้ ื่นให้ลาบาก จะเหลืออยูก่ ็แต่การปฏิสันถารการต้อนรับญาติหรื อมิตรสหายเท่านั้น เมื่อมีงานเลี้ยงหรื องานรับรองเนื่องด้วยพิธีใด ๆ ก็ตาม ผูเ้ ป็ นเจ้าของบ้านหรื อเจ้าหน้าที่ รับแขกควรกล่าวปฏิสันถารต่อแขกให้ทวั่ ถึง นักเรี ยนเป็ นเด็กอาจจะได้รับการแนะนาให้รู้จกั ญาติหรื อ มิตรสหายของบิดามารดาหรื อผูป้ กครอง เราจะต้องแสดงตนเป็ นผูม้ ีคารวะต่อผูใ้ หญ่และร่ วมอยูใ่ นที่ สนทนาตามเวลาอันสมควร แต่ไม่ควรพูดสอดแทรกขึ้นเมื่อผูใ้ หญ่กาลังสนทนากัน ควรตอบก็ต่อเมื่อ ผูใ้ หญ่ถามเราเท่านั้น หลักการปฏิสันถารสามารถปฏิบตั ิได้ 2 อย่าง ดังนี้ 1. อามิสปฏิสันถาร คือ การต้อนรับด้วยสิ่ งของ เช่น อาหาร น้ าดื่ม เป็ นต้น 2. ธรรมปฏิสันถาร คือ การต้อนรับด้วยธรรม เช่น แนะนาทางธรรม ให้กาลังใจ ปลอบโยนให้คลายทุกข์ เป็ นต้น พระพุทธศาสนามีความสาคัญ และแทรกอยูใ่ นวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจนแนวทางการดาเนินชีวติ ของคนไทยอย่างแนบแน่น เป็ นสัญลักษณ์ของประเทศไทยว่าเป็ น เมืองพุทธ จัดเป็ นศูนย์กลางของพุทธศาสนาที่ใหญ่ที่สุดในหมู่ประเทศที่นบั ถือพระพุทธศาสนา พุทธศาสนิกชนไทยจึงควรปฏิบตั ิหน้าที่ชาวพุทธที่ดี เพื่อธารงไว้ซ่ ึงเอกลักษณ์ของชาติและทานุบารุ ง พระพุทธศาสนา ซึ่งนับเป็ นการปกป้องและสื บทอดอายุพระพุทธศาสนาทางหนึ่ง
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
กิจกรรมท้ ายบทเรียน
26
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
ใบงานที่ 5.1 หน้ าทีช่ าวพุทธ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. หน้าที่สาคัญของพระภิกษุ คืออะไร
2. พระนักเทศน์ พระธรรมทูต พระธรรมจาริ ก พระวิทยากร พระวิปัสสนาจารย์ และพระนักพัฒนา มีบทบาทสาคัญอย่างไร
27
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
3. ถ้านักเรี ยนมีลูกจ้างในบ้าน หรื อมีผทู ้ าหน้าที่บริ การช่วยเหลือนักเรี ยนอยูเ่ สมอ นักเรี ยนควร ปฏิบตั ิตนต่อเขาอย่างไร จึงจะสอดคล้องกับการปฏิบตั ิตนตามหลักทิศเบื้องล่างในทิศ 6
4. อุบาสกธรรม 7 ได้แก่อะไรบ้าง
5. ปั จจุบนั นี้ นกั เรี ยนได้ปฏิบตั ิหน้าที่และบทบาทของอุบาสก อุบาสิ กา อย่างเหมาะสมอย่างไรบ้าง
28
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
29
ใบงานที่ 5.2 มารยาทชาวพุทธ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนกาเครื่ องหมาย หน้าข้อความที่ถูก และกาเครื่ องหมาย หน้าข้อความที่ผดิ ให้ถูกต้อง 1. มารยาทชาวพุทธ เป็ นการแสดงออกที่มีแบบแผน ในการประพฤติปฏิบตั ิ ซึ่ งเป็ น แนวปฏิบตั ิที่ทาให้สมาชิกในสังคม สามารถดารงอยูร่ ่ วมกันได้อย่างดี โดยเฉพาะมารยาท ชาวพุทธที่หล่อหลอมมาจาก หลักธรรมคาสอนทางพุทธศาสนา 2. อามิสปฏิสันถาร คือ การต้อนรับด้วยปั จจัยสี่ อย่างใดอย่างหนึ่งพอเหมาะพอควรแก่แขก ผูม้ าหาโดยความสุ ภาพเรี ยบร้อย 3. อุฏฐานะ คือ การให้ที่นงั่ พระสงฆ์ ใช้ในเวลาพระสงฆ์มามณฑลพิธีซ่ ึ งไม่วา่ ง 4. ถ้าจาเป็ นต้องนัง่ แถวเดียวกับพระสงฆ์ พึงนัง่ เก้าอี้ดา้ นขวามือท่านเสมอ 5. สตรี เพศจะนัง่ ม้ายาวเดียวกันกับพระสงฆ์ตอ้ งมีบุรุษเพศนัง่ คัน่ ในระหว่างกลาง จึงจะไม่เกิดโทษแก่พระสงฆ์ 6. ธรรมปฏิสันถาร คือ การต้อนรับด้วยการหาอาหารและน้ าดื่มมารับรองแขก 7. การต้อนรับพระสงฆ์ถา้ นัง่ เก้าอี้พึงลุกขึ้นยืนรับ เมื่อท่านเดินผ่านไปพึงยกมือไหว้แบบไหว้ พระรัตนตรัย 8. เมื่อพระสงฆ์ที่นิมนต์ท่านมางานพิธีจะกลับ เจ้าภาพพึงเดินนาหน้าเพื่อพาท่านมาพ้น บริ เวณวานหรื อจนกว่าจะขึ้นรถ 9. การแสดงความเคารพ ความเอื้อเฟื้ อ ความใส่ ใจมองเห็นความสาคัญจะต้องปฏิบตั ิ ต่อสิ่ งนั้น ๆ ให้ถูกต้องเหมาะสมมีท้ งั หมด 6 อย่าง 10. อามิสปฏิสันถาร คือ การต้อนรับด้วยสิ่ งของ อาหาร เครื่ องดื่ม
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
ใบงานที่ 5.3 หน้ าทีพ่ ระสงฆ์ และมารยาทชาวพุทธ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนจับคู่คาและความหมายของคาที่กาหนดให้ที่มีความสัมพันธ์กนั ให้ถูกต้อง
1. พระภิกษุสงฆ์ที่มีการศึกษาหลักธรรมคาสั่งสอน ของพระพุทธเจ้าจนแตกฉานสามารถเผยแพร่ คาสอน แก่ประชาชนได้เป็ นอย่างดี 2. พระภิกษุที่เดินทางไปเผยแพร่ พระพุทธศาสนาต่างประเทศ 3. พระภิกษุที่เดินทางไปเผยแพร่ หลักธรรมทัว่ ภูมิภาค ของประเทศไทยและพรมแดนรอยต่อระหว่างประเทศ 4. พระภิกษุสงฆ์ผมู ้ ีความรู ้ความสามารถในการอบรม สั่งสอนนักเรี ยน 5. พระภิกษุสงฆ์ผมู ้ ีความชานาญพิเศษทางด้านพัฒนาจิตเจริ ญปัญญา 6. พระภิกษุสงฆ์ที่อนุ รักษ์ทรัพยากรสิ่ งแวดล้อม ดิน น้ า ป่ า 7. ลุกขึ้นยืนเมื่อท่านเดินผ่าน ยกมือไหว้แบบไหว้พระรัตนตรัย 8. เมื่อพระสงฆ์มาในงานนั้น ฆราวาสชายหญิงพึงลุกขึ้นหลีกให้ พระสงฆ์นงั่ เก้าอี้แถวหน้า 9. การหาข้าว หาน้ า ขนม ผลไม้ ต้อนรับผูม้ าเยือน 10. การกล่าวธรรมหรื อแนะนาในทางธรรม
ก. พระธรรมทูต ข. อามิสปฏิสันถาร ฃ. พระวิทยากร ค. พระวิปัสนาจารย์ ฅ. พระนักเทศน์ ฆ. พระธรรมจาริก ง. พระนักพัฒนา จ. อาสนทาน ฉ. ธรรมปฏิสันถาร ช. อุฏฐานะ
30
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
31
แบบทดสอบหลังเรียน เล่มที่ 5 เรื่ อง หน้ าทีช่ าวพุทธ มารยาทชาวพุทธ คาชี้แจง
1. แบบทดสอบฉบับนี้มี 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน 2. ให้นกั เรี ยนเขียนเครื่ องหมาย ทับอักษร ก ข ค และ ง ที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
1. พระธรรมทูต มีบทบาทสาคัญอย่างไร ก. เผยแผ่พระพุทธศาสนายังประเทศต่างๆ ทัว่ โลก ข. เดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในดินแดนห่างไกล ค. เป็ นผูแ้ ทนของคณะสงฆ์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ง. มีหน้าที่อบรมสั่งสอนหลักธรรมความรู ้แก่ประชาชนทัว่ ไป 2. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในฐานะพระนักเทศน์ จะมีลกั ษณะสาคัญในข้อใด ก. มีวธิ ี การบรรยายโต้ตอบกันระหว่างพระสงฆ์ 2 รู ป ข. เทศนาสั่งสอนประชาชนทัว่ ไปโดยไม่ตอ้ งดูพระคัมภีร์ หรื อพระไตรปิ ฎก ค. มีปฏิภาณในการประยุกต์พุทธธรรมกับการดารงชีวติ ของประชาชน มีโวหารเป็ นที่น่าเลื่อมใส ง. พระสงฆ์ที่มีความชานาญในการเทศนาสั่งสอนโดยประยุกต์คาสอนของพระพุทธศาสนา ตามความเหมาะสม 3. แก้ว เป็ นลูกจ้างทางานบ้านให้วรดา ดังนั้นแก้วไม่ควรปฏิบตั ิตนต่อวรดาอย่างไร ก. ตื่นนอนก่อนวรดา ข. ใช้เสื้ อผ้าเก่าที่วรดามอบให้แก้ว ค. เลือกทางานในส่ วนที่แก้วพอใจ ง. พูดชมเชยวรดาให้เพื่อนๆ ฟัง
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
4. ชาติ เป็ นที่รักของลูกจ้างทุกคน แสดงว่า ชาติปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมใด ก. กุศลมูล ข. อิทธิบาท 4 ค. พรหมวิหาร 4 ง. ปฏิสันถาร 2 5. พระสงฆ์ที่เผยแผ่พระพุทธศาสนาในบริ เวณป่ าเขานั้น หมายถึงข้อใด ก. พระวิปัสสนาจารย์ ข. พระธรรมจาริ ก ค. พระนักเทศน์ ง. พระธรรมทูต 6. ถ้านักเรี ยนนัง่ เก้าอี้ในพิธีการ เมื่อพระสงฆ์เดินมายังสถานที่ทาพิธีน้ นั นักเรี ยนควรปฏิบตั ิตน อย่างไร ก. ยกมือไหว้คอ้ มศีรษะ หัวแม่มือจรดระหว่างคิ้ว ข. นัง่ ด้วยท่าสารวม เมื่อท่านเดินผ่านให้ไหว้ดว้ ยความเคารพ ค. ลุกขึ้นต้อนรับ ยืนตรงเมื่อท่านผ่านไปให้คอ้ มตัวแสดงความเคารพ ง. ลุกขึ้นยืนต้อนรับ ยกมือไหว้คอ้ มศีรษะ หัวแม่มือจรดระหว่างคิ้ว เมื่อท่านนัง่ เรี ยบร้อยแล้ว จึงนัง่ ตามปกติ 7. ข้อใดจัดเป็ นธรรมปฏิสันถาร ก. เก๋ ปลอบโยนดาวที่สอบเข้ามหาวิทยาลัยไม่ได้ ข. กุง้ นาน้ าเย็นมาให้คุณลุงดื่มเมื่อคุณลุงมาเยีย่ ม ค. ก้อย เลี้ยงอาหารเพื่อนที่มาเที่ยวที่บา้ น ง. เก่ง แจกทุนการศึกษาแก่เด็ก
32
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
33
8. การปฏิสันถารมีอานิสงส์อย่างไร ก. การร่ วมมือกัน ข. สังคมสงบสุ ข ค. ผูกไมตรี ที่ดีต่อกัน ง. มีความสามัคคีระหว่างกัน 9. เดี่ยว จะได้รับการยกย่องจากเพื่อนว่าเป็ นคน “ธัมมะธัมโม” แสดงว่า เดี่ยวปฏิบตั ิตนตามหลักธรรม ในข้อใด ก. ไตรสิ กขา ข. ปฏิสันถาร ค. อุบาสกธรรม ง. อปริ หานิยธรรม 10. ในกรณี ที่จาเป็ นต้องนัง่ เก้าอี้แถวเดียวกับพระสงฆ์ในงานพิธี นักเรี ยนควรปฏิบตั ิตนอย่างไร ก. นัง่ เก้าอี้ดา้ นขวามือของพระสงฆ์ ข. นัง่ เก้าอี้ดา้ นซ้ายมือของพระสงฆ์เสมอ ค. เว้นเก้าอี้ให้วา่ ง 1 ตัว ไม่นงั่ ชิดพระสงฆ์ ง. ขยับเก้าอี้ของตนให้เยื้องไปทางด้านหลังของพระสงฆ์เล็กน้อย
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน เล่มที่ 5 เรื่ อง หน้ าทีช่ าวพุทธ มารยาทชาวพุทธ ชื่อ.................................................นามสกุล..........................................ชั้น............. เลขที่............
คาชี้แจง
ให้ นักเรี ยนทาเครื่ องหมาย ข้ อที่ถูกต้ องที่สุดเพียงข้ อเดียว ข้ อ ก ข 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. คะแนนที่ได้
ค
ง
34
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
บรรณานุกรม กฤตย์ สกุณะพัฒน์ และ อุดม เชยกีวงศ์. (2548). หน้ าทีช่ าวพุทธ. กรุ งเทพมหานคร : แสงดาว. กฤชกร เพชรนอก. (2554). มารยาทไทย. กรุ งเทพมหานคร : สกายบุก๊ ส์. การศาสนา, กรม. (2550). พระไตรปิ ฎก ฉบับสาหรับประชาชน ตอนว่ าด้ วยสู ตร. กรุ งเทพมหานคร : โรงพิมพ์องค์การรับส่ งสิ นค้าและพัสดุภณั ฑ์ (ร.ส.พ.). วิทย์ วิศทเวทย์ และเสถียรพงษ์ วรรณปก. (2554). หนังสื อเรียนพระพุทธศาสนา ม.5. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุ งเทพมหานคร : อักษรเจริ ญทัศน์ อจท.จากัด. สมจินตนา ภักดิ์ศรี วงศ์. (2542). มารยาทในสั งคมไทย. กรุ งเทพมหานคร : ต้นอ้อ. สมทรง ปุญญฤทธิ์ . (2539). มารยาทชาวพุทธ. กรุ งเทพมหานคร : ธรรมสภา.
35
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
ภาคผนวก
36
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เล่มที่ 5 เรื่ อง หน้ าทีช่ าวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
ข้ อ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ก
ข
ค
ง
37
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
เฉลยใบงานที่ 5.1 หน้ าทีช่ าวพุทธ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. หน้าที่สาคัญของพระภิกษุ คืออะไร การศึกษาตามหลักไตรสิ กขา คือ 1) ศีล ศึกษาพระวินัยแต่ ละสิ กขาบท ข้ อวัตรปฏิ บัติ ธรรมเนียมมารยาทต่ างๆ เพื่อจะได้ ปฏิ บัติตนได้ ถกู ต้ องตามพุทธบัญญัติ 2) สมาธิ ศึกษาวิธีการเพิ่มพูนสมาธิ และหมัน่ ฝึ กหัดขัดเกลาอบรมจิต เพื่อเป็ นฐานในการคิด พิจารณาธรรมขัน้ สูง 3) ปั ญญา ต้ องศึกษาเพื่อเพิ่มพูนศักยภาพทางความคิด ในการพิจารณาให้ เข้ าถึงความ จริ งแท้ ของสรรพ-สิ่ ง เพื่อใช้ ปัญญาเป็ นเครื่ องมือในการขจัดสาเหตุแห่ งความทุกข์ ทั้งปวง จนกว่ าจะบรรลุถึงภาวะแห่ งความบริ สุทธิ์ ขนั้ สู งสุ ด คื อ พระนิพพาน 2. พระนักเทศน์ พระธรรมทูต พระธรรมจาริ ก พระวิทยากร พระวิปัสสนาจารย์ และพระนักพัฒนา มีบทบาทสาคัญอย่างไร 1) พระนักเทศน์ มีบทบาทสาคัญในการนาหลักพุทธธรรมไปเทศนาสั่งสอนประชาชน ซึ่ งมีวิธีการหลายรู ปแบบ เช่ น เทศน์ แบบธรรมาสน์ เดียว เทศน์ แบบปุจฉา-วิสัชนา เทศน์ ทานองสรภัญญะหรื อเทศน์ แหล่ เป็ นต้ น 2) พระธรรมทูต มีบทบาทในการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในต่ างประเทศ ซึ่ งหน่ วยงาน สาคัญในการจัดหลักสูตรฝึ กอบรมให้ พระธรรมทูตไปเผยแผ่ พระพุทธศาสนา คือ มหาจุฬาลงกรณ์ ราชวิทยาลัย และมหามกุฏราชวิทยาลัย 3) พระธรรมจาริ ก จะทาหน้ าที่แสดงธรรมแก่ ประชาชนในภูมิภาคที่ห่างไกลความเจริ ญ อยู่ตามป่ าเขา 4) พระวิทยากร มีบทบาทในการแสดงธรรมแก่ ครู -อาจารย์ นักเรี ยน นักศึกษา ประชาชน 5) พระวิปัสสนาจารย์ ทาหน้ าที่ในด้ านการให้ คาแนะนา วิธีปฏิ บัติสมถกรรมฐานและ วิปัสสนากรรมฐานแก่ พระภิกษุ สามเณร และประชาชนทั่วไป โดยมากจาพรรษาอยู่ใน เสนาสนะที่สงบสงัด 6) พระนักพัฒนา มีบทบาทสาคัญในการชักชวนชาวบ้ านให้ ร่วมกันพัฒนาในด้ านต่ าง ๆ โดยให้ ชาวบ้ านรู้ จักวิเคราะห์ ปัญหาของชุมชน หาสาเหตุ และแนวทางในการพัฒนา ไปตามประเด็นปั ญหาของแต่ ละพืน้ ที่
38
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
3. ถ้านักเรี ยนมีลูกจ้างในบ้าน หรื อมีผทู ้ าหน้าที่บริ การช่วยเหลือนักเรี ยนอยูเ่ สมอ นักเรี ยนควร ปฏิบตั ิตนต่อเขาอย่างไร จึงจะสอดคล้องกับการปฏิบตั ิตนตามหลักทิศเบื้องล่างในทิศ 6 ตอบตามความคิดเห็นของนักเรี ยน เช่ น ให้ ทางานตามความสามารถ ให้ รางวัล แบ่ งปั นสิ่ งของและอาหาร ฯลฯ
4. อุบาสกธรรม 7 ได้แก่อะไรบ้าง 1) ไม่ ขาดการเยีย่ มเยียนพระภิกษุ 2) ไม่ ละเลยการฟั งธรรม 3) ศึกษาในอธิ ศีล 4) เลื่อมใสในพระภิกษุทั้งหลาย 5) ไม่ ฟังธรรมด้ วยตั้งใจจะคอยเพ่ งโทษติเตียน 6) ไม่ แสวงหาทักขิไณยภายนอกหลักคาสอน 7) ขวนขวายในการบารุ งพระพุทธศาสนา 5. ปั จจุบนั นี้ นกั เรี ยนได้ปฏิบตั ิหน้าที่และบทบาทของอุบาสก อุบาสิ กา อย่างเหมาะสมอย่างไรบ้าง อยู่ในดุลพินิจของครู ผ้ สู อน
39
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
40
เฉลยใบงานที่ 5.2 มารยาทชาวพุทธ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนกาเครื่ องหมาย หน้าข้อความที่ถูก และกาเครื่ องหมาย หน้าข้อความที่ผดิ ให้ถูกต้อง
1. มารยาทชาวพุทธ เป็ นการแสดงออกที่มีแบบแผน ในการประพฤติปฏิบตั ิ ซึ่ งเป็ น แนวปฏิบตั ิที่ทาให้สมาชิกในสังคม สามารถดารงอยูร่ ่ วมกันได้อย่างดี โดยเฉพาะมารยาท ชาวพุทธที่หล่อหลอมมาจาก หลักธรรมคาสอนทางพุทธศาสนา
2. อามิสปฏิสันถาร คือ การต้อนรับด้วยปั จจัยสี่ อย่างใดอย่างหนึ่งพอเหมาะพอควรแก่แขก ผูม้ าหาโดยความสุ ภาพเรี ยบร้อย
3. อุฏฐานะ คือ การให้ที่นงั่ พระสงฆ์ ใช้ในเวลาพระสงฆ์มามณฑลพิธีซ่ ึ งไม่วา่ ง
4. ถ้าจาเป็ นต้องนัง่ แถวเดียวกับพระสงฆ์ พึงนัง่ เก้าอี้ดา้ นขวามือท่านเสมอ
5. สตรี เพศจะนัง่ ม้ายาวเดียวกันกับพระสงฆ์ตอ้ งมีบุรุษเพศนัง่ คัน่ ในระหว่างกลาง จึงจะไม่เกิดโทษแก่พระสงฆ์
6. ธรรมปฏิสันถาร คือ การต้อนรับด้วยการหาอาหารและน้ าดื่มมารับรองแขก
7. การต้อนรับพระสงฆ์ถา้ นัง่ เก้าอี้พึงลุกขึ้นยืนรับ เมื่อท่านเดินผ่านไปพึงยกมือไหว้แบบไหว้ พระรัตนตรัย
8. เมื่อพระสงฆ์ที่นิมนต์ท่านมางานพิธีจะกลับ เจ้าภาพพึงเดินนาหน้าเพื่อพาท่านมาพ้น บริ เวณวานหรื อจนกว่าจะขึ้นรถ
9. การแสดงความเคารพ ความเอื้อเฟื้ อ ความใส่ ใจมองเห็นความสาคัญจะต้องปฏิบตั ิ ต่อสิ่ งนั้น ๆ ให้ถูกต้องเหมาะสมมีท้ งั หมด 6 อย่าง 10. อามิสปฏิสันถาร คือ การต้อนรับด้วยสิ่ งของ อาหาร เครื่ องดื่ม
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
เฉลยใบงานที่ 5.3 หน้ าทีพ่ ระสงฆ์ และมารยาทชาวพุทธ คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนจับคู่คาและความหมายของคาที่กาหนดให้ที่มีความสัมพันธ์กนั ให้ถูกต้อง
ฅ
ก ฆ ฃ ค ง ช จ ข ฉ
1. พระภิกษุสงฆ์ที่มีการศึกษาหลักธรรมคาสัง่ สอน ของพระพุทธเจ้าจนแตกฉานสามารถเผยแพร่ คาสอน แก่ประชาชนได้เป็ นอย่างดี 2. พระภิกษุที่เดินทางไปเผยแพร่ พระพุทธศาสนาต่างประเทศ 3. พระภิกษุที่เดินทางไปเผยแพร่ หลักธรรมทัว่ ภูมิภาค ของประเทศไทยและพรมแดนรอยต่อระหว่างประเทศ 4. พระภิกษุสงฆ์ผมู ้ ีความรู ้ความสามารถในการอบรม สั่งสอนนักเรี ยน 5. พระภิกษุสงฆ์ผมู ้ ีความชานาญพิเศษทางด้านพัฒนาจิตเจริ ญปัญญา 6. พระภิกษุสงฆ์ที่อนุ รักษ์ทรัพยากรสิ่ งแวดล้อม ดิน น้ า ป่ า 7. ลุกขึ้นยืนเมื่อท่านเดินผ่าน ยกมือไหว้แบบไหว้พระรัตนตรัย 8. เมื่อพระสงฆ์มาในงานนั้น ฆราวาสชายหญิงพึงลุกขึ้นหลีกให้ พระสงฆ์นงั่ เก้าอี้แถวหน้า 9. การหาข้าว หาน้ า ขนม ผลไม้ ต้อนรับผูม้ าเยือน 10. การกล่าวธรรมหรื อแนะนาในทางธรรม
ก. พระธรรมทูต ข. อามิสปฏิสันถาร ฃ. พระวิทยากร ค. พระวิปัสนาจารย์ ฅ. พระนักเทศน์ ฆ. พระธรรมจาริก ง. พระนักพัฒนา จ. อาสนทาน ฉ. ธรรมปฏิสันถาร ช. อุฏฐานะ
41
ธรรมสารศึกษา : เล่ ม 5 หน้ าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เล่มที่ 5 เรื่ อง หน้ าทีช่ าวพุทธ มารยาทชาวพุทธ
ข้ อ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
ก
ข
ค
ง
42