Chamaipon1

Page 1

เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 1


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 2

คานา คู่มือการใช้เอกสารประกอบการเรียนวิชาสังคมศึกษา รหัสวิชา ส31101 ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4 สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคมกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เล่มนี้จัดทาขึ้นเป็นคู่มือการใช้เอกสารประกอบการเรียนสาหรับ ครูผู้สอนเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถ นาไปประยุกต์ปฏิบัติในการดาเนินชีวิตมีคุณธรรมจริยธรรมมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะสามารถดาเนินชีวิตอย่างสันติสุข ในสังคมไทย ประชาคมอาเซียน และสังคมโลก ผู้สอนสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สามารถปรับปรุงดัดแปลง แก้ไข ขั้นตอนการเรียนให้เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน ความพร้อมของผู้สอน บริบทของโรงเรียนและชุมชน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือการใช้เอกสารประกอบการเรียนวิชาสังคมศึกษา รหัสวิชา ส31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคมกลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จะเป็นประโยชน์สูงสุดในการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ให้มีคุณภาพสามารถนาสิ่งที่เรียนมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับโอกาส เวลา สถานที่ ซึ่งจะเกิดเป็น การเรียนรู้อย่างยั่งยืน

ชมัยพร ธีรพงษ์


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 3

สารบัญ

คานา............................................................................................................................. .... สารบัญ............................................................................................................................ คาชี้แจง............................................................................................................................ คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน..................................................................... มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด............................................................................................ สาระการเรียนรู้............................................................................................................... จุดประสงค์การเรียนรู้....................................................................................................... แบบทดสอบก่อนเรียน เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม........................................................ เรื่อง โครงสร้างทางสังคมไทย........................................................................................... กิจกรรมที่ 1...................................................................................................................... เรื่อง สถาบันทางสังคม...................................................................................................... กิจกรรมที่ 2...................................................................................................................... กิจกรรมที่ 3.................................................................................................................. .... เรื่อง การจัดระเบียบสังคม................................................................................................ กิจกรรมที่ 4...................................................................................................................... แบบทดสอบหลังเรียน เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม........................................................ บรรณานุกรม.................................................................................................................... เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน.............................................................................................. เฉลยกิจกรรมที่ 1.............................................................................................................. เฉลยกิจกรรมที่ 2.............................................................................................................. เฉลยกิจกรรมที่ 3.............................................................................................................. เฉลยกิจกรรมที่ 4.............................................................................................................. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน..............................................................................................

หน้า ก ข 1 2 3 3 3 4 7 12 13 19 21 23 30 32 35 37 38 39 41 43 44


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 4

สารบัญภาพ

ภาพที่ 1.1 ลักษณะของสังคม…………………………………………………………………………. ภาพที่ 1.2 สังคมของคนชนบท…………………………………………….…………………………. ภาพที่ 1.3 สังคมเมือง………………………………………………………….………………………… ภาพที่ 1.4 ความอบอุ่นของครอบครัว………………………………….………………..………… ภาพที่ 1.5 การศึกษาของเยาวชน……………………………………….………………..………… ภาพที่ 1.6 คณะสงฆ์สวดมนต์ในวันสาคัญทางศาสนา……………………………..………… ภาพที่ 1.7 ตลาดเป็นสถานที่ในการแลกเปลี่ยนสินค้า……………………………..………… ภาพที่ 1.8 อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย………….………………………….………………..………… ภาพที่ 1.9 กิจกรรมการรณรงค์เมาไม่ขับ………….………………………….………………..…..…… ภาพที่ 1.10 การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตารวจ………………….…………………...…… ภาพที่ 1.11 การให้กาเนิดสมาชิกใหม่………………………………..….…………………...…… ภาพที่ 1.12 การให้ความเคารพผู้สูงอายุ………………………………..….………..……...…… ภาพที่ 1.13 สังคมไทย…………………………………………….…………..….………..……...…… ภาพที่ 1.14 การได้รับการยกย่อง………….………………….…………..….………..……...……

หน้า 7 8 9 13 14 16 17 18 23 25 26 27 28 29


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 5

คาชี้แจง เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาสังคมศึกษา รหัสวิชา ส31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีทั้งหมดจานวน 8 เล่ม ดังนี้ เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม เล่มที่ 2 สังคมไทย เล่มที่ 3 วัฒนธรรมไทย เล่มที่ 4 วัฒนธรรมสากล เล่มที่ 5 พลเมืองดี เล่มที่ 6 การมีส่วนร่วมในสังคม เล่มที่ 7 สิทธิมนุษยชน เล่มที่ 8 กฎหมายสิทธิมนุษยชน เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาสังคมศึกษา รหัสวิชา ส31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคมกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม ให้นักเรียนปฏิบัติตามคาแนะนาการใช้เอกสาร ประกอบการเรียนอย่างเคร่งครัด นักเรียนควรศึกษาเอกสารประกอบการเรียนด้วยความสนใจ ตั้งใจ มุ่งมั่น เพื่อจะได้รับความรู้และประสบการณ์ในการเรียน และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ใน ชีวิตประจาวัน


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 6

คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการเรียน การใช้เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา รหัสวิชา ส31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคมมกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ผู้เรียนควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. อ่านคาชี้แจง และจุดประสงค์การเรียนรู้ของเอกสารประกอบการเรียนให้เข้าใจ 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อวัดความรู้พื้นฐานของนักเรียน ในกระดาษคาตอบ ที่เตรียมไว้ 3. ศึกษาเนื้อหาไปทีละหน้า ขอให้ผู้เรียนตั้งใจศึกษา และทาความเข้าใจเนื้อหา อย่างละเอียดในขณะที่ผู้เรียนศึกษาเนื้อหา ถ้ามีปัญหาหรือมีข้อสงสัยให้ปรึกษา/ขอคาแนะนา จากครูผู้สอนทันที 4. ความรู้ในเอกสารประกอบการเรียนที่ผู้เรียนกาลังศึกษาอยู่นี้ จะเป็นประโยชน์ต่อตัว ผู้เรียนให้ผู้เรียนตั้งใจศึกษาให้ครบทุกหน้า 5. เมื่อศึกษาเนื้อหาจบแล้ว ให้ผู้เรียนทากิจกรรมท้ายเรื่องตามที่กาหนดลงใน กระดาษคาตอบ และตรวจคาตอบกับเฉลยกิจกรรมในภาคผนวก 6. ผู้เรียนต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง โดยไม่เปิดดูเฉลยคาตอบก่อน ถ้าคาตอบ ของผู้เรียนถูกต้อง ให้ผู้เรียนทากิจกรรมต่อไปได้ 7. ถ้าคาตอบของผู้เรียนไม่ถูกต้อง ให้ผู้เรียนย้อนกลับไปศึกษาเนื้อหาซ้าอีกครั้งหนึ่ง 8. เพื่อทาความเข้าใจ และตอบคาถามใหม่จนกว่าจะได้คาตอบที่ถูกต้อง ถ้ายังไม่เข้าใจ ให้สอบถามเพื่อนหรือสอบถามจากครูผู้สอน 9. เมื่อผู้เรียนศึกษาเนื้อหาและทากิจกรรมครบแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังเรียนและตรวจ คาตอบกับเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน 10. ส่งคืนเอกสารประกอบการเรียนตามกาหนดเวลา และต้องรักษาให้อยู่ในสภาพดี ไม่ขีดเขียนข้อความใดๆ ลงในเอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 7

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ส.2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยม ที่ดีงามและธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคม โลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส 2.1 ม.4/2 วิเคราะห์ความสาคัญของโครงสร้างทางสังคม การขัดเกลา ทางสังคม และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม

สาระการเรียนรู้

1. โครงสร้างทางสังคม 2. การจัดระเบียบทางสังคม 3. สถาบันทางสังคม

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. นักเรียนสามารถอธิบายความหมาย ความสาคัญ และองค์ประกอบของโครงสร้าง ทางสังคมได้ 2. นักเรียนสามารถวิเคราะห์และสามารถปฏิบัติตนตามหลักการจัดระเบียบทางสังคม ของสถาบันทางสังคมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 3. ตระหนักและเห็นความสาคัญความจาเป็นในการจัดระเบียบทางสังคม


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 8

แบบทดสอบก่อนเรียน เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาสังคมศึกษา รหัสวิชา ส31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างทางสังคม คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบ ก, ข, ค หรือ ง ที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว โดยทาเครื่องหมาย  ลงในช่อง บนกระดาษคาตอบ เวลาสอบ 15 นาที 1. ลักษณะสาคัญของสัตว์สังคม ตรงกับข้อใด ก. การต่อสู้แข่งขันกัน ข. การกระทาระหว่างกัน ค. การผสมกลมกลืนระหว่างกัน ง. การสังสรรค์ระหว่างวัฒนธรรม 2. การรวมกลุ่มในลักษณะใดเรียกว่าสังคม ก. เด็กวัยรุ่นขี่มอเตอร์ไซด์ ข. กลุ่มคนยืนอยู่ที่เดียวกัน ค. ชาย – หญิงนุ่งกางเกงเอวต่า ง. ชาวบ้านหนีโจรย้ายบ้านไปอยู่ใกล้วัด 3. ข้อใดเป็นวัฒนธรรมประเภท “สหธรรม” ก. สิ่งต่าง ๆ ที่สมาชิกในสังคมประดิษฐ์ขึ้น ข. ระเบียบข้อบังคับต่างๆ ของสังคมและกฎหมาย ค. ขนบธรรมเนียมประเพณี และมารยาททางสังคม ง. หลักในการดาเนินชีวิตที่ส่วนใหญ่ได้มาจากศาสนา 4. ความสัมพันธ์ที่สมาชิกของสังคมมีต่อกันจัดได้ว่าเป็นอะไร ก. วัฒนธรรม ข. โครงสร้างสังคม ค. สถาบันทางสังคม ง. สถานภาพและบทบาท


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 9

5. ข้อใดรวมโครงสร้างสังคมไว้ครบถ้วน ก. องค์กร สถาบัน ระเบียบ บทบาท ข. บรรทัดฐาน สถานภาพ บทบาท กลุ่มคน ค. มาตรฐานสังคม บรรทัดฐาน จารีต สัญลักษณ์ ง. วัฒนธรรมของสังคม กลุ่มคน ระเบียบ องค์กร 6. กลุ่มของบรรทัดฐานที่ใช้เป็นหลักในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ของสมาชิกในสังคมหมายถึงอะไร ก. บทบาทสังคม ข. สถาบันสังคม ค. กลุ่มทางสังคม ง. วัฒนธรรมของสังคม 7. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการจัดระเบียบในสังคม ก. เพื่อความอยู่รอด ข. เพื่อศักดิ์ศรีของสังคม ค. เพื่อแสดงความมีวัฒนธรรม ง. เพื่อสนองสัญชาติญาณมนุษย์ 8. ข้อใดเป็นองค์ประกอบของการจัดระเบียบทางสังคม ก. สถาบันครอบครัวจารีต ลัทธิความเชื่อ ข. โครงสร้างสังคม วิถีประชา ขนบประเพณี ค. สถานภาพ บทบาท บรรทัดฐาน และค่านิยม ง. การเรียนรู้ทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม และการควบคุมทางสังคม 9. ค่านิยมที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศด้านการเมืองของประเทศไทยตรงกับข้อใด ก. ความนิยมตะวันตก ข. รักพวกพ้องมากกว่าชาติ ค. เดินตามผู้ใหญ่ หมาไม่กัด ง. ต่างคนต่างอยู่ ทางใครทางมัน 10. ปัญหาข้อใดเกิดจากแนวคิดตรงข้ามกับเศรษฐกิจพอเพียง ก. สภาวะหนี้เสีย ข. ความเจ็บไข้ได้ป่วย ค. การอพยพย้ายหนีผู้ก่อการร้าย ง. การใช้แรงงานคนมากกว่าเครื่องจักร


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 10

กระดาษคาตอบทดสอบก่อนเรียน เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาสังคมศึกษา รหัสวิชา ส31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างทางสังคม ชื่อ...............................................................................................ชั้น ............. เลขที่ ............ ข้อ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 11

1. โครงสร้างทางสังคม สังคมไทยเป็นสังคมที่มีโครงสร้างทางสังคมเช่นเดียวกับโครงสร้างทางสังคมทั่วไปในเรื่อง ของกลุ่มสังคมและสถาบันสังคม การที่สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอดทั้งที่เป็นการ เปลี่ยนแปลงแบบไม่มีแบบแผนและมีแบบแผนก่อให้เกิดทั้งผลดีและผลเสียขึ้นในสังคมไทย ในแง่ของ ผลเสีย พบว่า กระบวนการของความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาในสังคมไทยมากมาย จาเป็นอย่างยิ่งที่สมาชิกทุกคนในสังคมไทยต้องให้ความร่วมมือ ในการร่วมแก้ไขปัญหาสังคมมนุษย์ แม้ว่าจะมีขนาดของสังคมหรือลักษณะเฉพาะของสังคมแตกต่างกัน แต่เมื่อกล่าวถึงโครงสร้างทาง สังคมโดยทั่วไปหรือโครงสร้างพื้นฐานทางสังคมเบื้องต้นแล้ว ทุกสังคมต่างมีองค์ประกอบสาคัญ อยู่บนพื้นฐานสองประการที่สาคัญคือกลุ่มสังคมและสถาบันทางสังคม

ภาพที่ 1.1 ลักษณะของสังคม ที่มา : www.group.wunjun.com


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 12

การศึกษาในเรื่องโครงสร้างทางสังคมจะช่วยให้เข้าใจเกี่ยวกับสังคมในแง่มุมต่าง ๆ ได้ดี ยิ่งขึ้น ซึ่งโครงสร้างทางสังคมมีรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1.1 ความหมายโครงสร้างทางสังคม โครงสร้างทางสังคม หมายถึง ส่วนต่าง ๆ ที่ประกอบกันเป็นระบบความสัมพันธ์ของ สังคมมนุษย์ ส่วนประกอบดังกล่าวจะต้องเป็นเค้าโครงที่ปรากฏในสังคมมนุษย์ทุก ๆ สังคม แม้ว่าจะมี รายละเอียดปลีกย่อยแตกต่างกันไปในแต่ละสังคมก็ตาม โครงสร้างของสังคมไทย แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ 1. สังคมชนบท (กลุ่มปฐมภูมิ) 2. สังคมเมือง (กลุ่มทุติยภูมิ) โดยที่ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศอาศัยอยู่ในชนบท ซึ่งเป็นสังคมแบบประเพณีนา และเป็นสังคมเกษตรกรรม ดังนั้นถ้าหากรู้จักสังคมและวัฒนธรรมไทยจะต้องพิจารณาจากโครงสร้าง สังคมชนบทเป็นหลัก และ จะต้องพิจารณาถึงอิทธิพลของสังคมและวัฒนธรรม เมืองที่มีต่อสังคมและ วัฒนธรรมชนบทประกอบไปพร้อม ๆ กัน สังคมชนบท จัดว่าเป็นโครงสร้างที่สาคัญที่สุดของสังคมไทย เพราะเท่ากับเป็นโครงสร้างของ สังคมไทยทั้งหมด สังคมชนบท ได้แก่ การร่วมกลุ่มแบบอรูปนัยของกลุ่มปฐมภูมิ มีการติดต่อกันแบบ ตัวถึงตัวสภาพแวดล้อมของท้องถิ่นและวัฒนธรรมที่มีอยู่เดิมซึ่งคล้ายคลึงกัน ทาให้สถานภาพและ บทบาทของคนในสังคมชนบทไม่แตกต่างกันมาก มีการรวมตัวกันอย่างเหนียวแน่น สมาชิกของสังคม ทาหน้าที่สอดคล้องต่อเนื่องกันอย่างราบรื่น และมีค่านิยมในเรื่องคุณความดีทางศาสนาเป็นตัวควบคุม ความประพฤติทางสังคมของชนบทหรือที่เราเรียกกันว่าจารีตนั่นเอง

ภาพที่ 1.2 สังคมของคนชนบท ที่มา : http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK12/chapter6/t12-6-l1.htm.


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 13

สังคมเมือง ข้อแตกต่างที่เด่นชัดระหว่างสังคมชนบทกับสังคมเมือง ได้แก่ จานวนกลุ่มขององค์การ ที่มีมากในสังคมเมืองหลวง หลักเกณฑ์การพิจารณาสถานภาพทางสังคมของบุคคลในเมืองหลวง ขึ้นกับฐานะทางเศรษฐกิจ อานาจและความเกี่ยวข้องทางการเมือง และระดับการศึกษาซึ่งผิดจาก เกณฑ์ของสังคมชนบท นอกจากนั้นแล้วโครงสร้างชนชั้นทางสังคมในเมืองหลวง คือประกอบด้วย กลุ่มคนที่เป็นผู้สืบเชื้อสายมาจากตระกูลเก่าและขุนนาง ค่านิยมของคนเมืองหลวงนั้นจะเน้นหนัก เรื่องอานาจและความมั่งคั่งมากกว่าชาวชนบท มีความต้องการยกระดับตัวเอง จากชั้นสังคมเดิมไปสู่ ชั้นที่สูงกว่า โดยอาศัยปัจจัยหลายประการ เช่น ฐานะทางการเงิน การศึกษา อานาจทางการเมือง และสิทธิต่าง ๆ

ภาพที่ 1.3 สังคมเมือง ที่มา : http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK12/chapter6/t12-6-l1.htm


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 14

ลักษณะมูลฐานของสังคมซึ่งทาให้สังคมดารงอยู่ได้ หมายถึง องค์ประกอบหลัก (เสาหลัก) ของสังคมที่เป็นตัวค้ายันสังคมไว้ให้พยายามสัมพันธ์ของคนในสังคมดาเนินไปได้ ประกอบไปด้วย 1. ค่านิยม (Social Value) - บรรทัดฐานทางสังคม (Social Norm) 2. สถานภาพ (Status) - บทบาท (Role) 3. สถาบันทางสังคม (Social Organization) - การควบคุมทางสังคม (Social Control) ลักษณะ ความสัมพันธ์ การติดต่อกัน

กลุ่มปฐมภูมิ (สังคมชนบท) ใกล้ชิดสนิทสนม, เป็นส่วนตัว 1.โดยตรงและส่วนตัว จึงสามารถแสดง ความรู้สึกได้อย่างเต็มที่ 2. มีการติดต่อกันยาวนาน

กลุ่มทุติยภูมิ (สังคมเมือง) เป็นไปอย่างเป็นทางการ เป็นไปตามกฎเกณฑ์และ สถานภาพความสัมพันธ์ เฉพาะด้าน

1.2 ลักษณะโครงสร้างทางสังคม โดยทั่วไปโครงสร้างทางสังคมโดยทั่วไป มีลักษณะที่สาคัญ ดังนี้ 1) มีการรวมกลุ่มของคนในสังคม ซึ่งแต่ละกลุ่มที่รวมกันต่างมีหน้าที่รับผิดชอบและ ประสิทธิภาพในการทางานตามที่กลุ่มได้กาหนดเป้าหมายไว้ 2) มีแนวทางในการปฏิบัติอย่างเหมาะสมหรือมีกฎเกณฑ์ระเบียบแบบแผนเป็น แนวทางให้ยึดถือร่วมกัน โดยยึดหลักประโยชน์สูงสุดของสังคม 3) มีจุดหมายในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ที่ดีและมีความเหมาะสมที่จะนามาใช้กับ สังคมนั้น 4) มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงได้ กล่าวคือ โครงสร้างของสังคมจะมีการเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลงทั้งในแง่ของการเพิ่มขึ้นหรือลดลง ในหลายรูปแบบเช่นจานวนคนอาจเพิ่มขึ้นหรือลดลง จากการเคลื่อนย้ายประชากรในสังคม หรือ รูปแบบของความสัมพันธ์ของบุคคลภายในสังคมอาจมี การปรับเปลี่ยนไปตามสถานภาพที่ปรับเปลี่ยนไปหรือแม้แต่สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ภายในสังคม เป็นต้น


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 15

1.3 องค์ประกอบโครงสร้างทางสังคม มีองค์ประกอบ 2 ส่วนที่สาคัญ ได้แก่ กลุ่มสังคม (Social Groups) และสถาบันสังคม (Social Institutions) กลุ่มสังคม

กลุ่มสังคม หมายถึง กลุ่มคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมีความรู้สึกเป็น สมาชิกร่วมกัน มีการกระทาระหว่างกันทางสังคม เพื่อตอบสนอง ความต้องการของสมาชิกในกลุม่ สังคมนั้น ตามบทบาทและหน้าที่ ของตนเอง

ลักษณะที่สาคัญของกลุ่มสังคม 1. มีการกระทาระหว่างกันทางสังคมหรือมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน (Social interaction) (=มีการปฏิบัติต่อกัน) 2. สมาชิกในกลุ่มต่างมีตาแหน่งและบทบาทหน้าที่แตกต่างกันและประสานบทบาทระหว่าง กันมีแบบแผนพฤติกรรมตามบรรทัดฐานของกลุ่ม หรือที่เรียกว่า 3. มีความรู้สึกเป็นสมาชิกร่วมกัน ทาให้มีความผูกพันในฐานะทีเ่ ป็นสมาชิกของกลุ่มสังคม เดียวกัน (=สนิทสนมรักใคร่กันตามระดับกลุ่ม) 4. มีวัตถุประสงค์ร่วมกันที่สาคัญ คือ เพื่อสนองความต้องการของสมาชิกแต่ละคน และความ ต้องการของสมาชิกของกลุ่มเป็นส่วนรวม (=มีภารกิจถาวรหรือเฉพาะกิจ)

สถาบันสังคม

สถาบันสังคม หมายถึง รูปแบบพฤติกรรมของสมาชิกในสังคมเพื่อ สนองความต้องการร่วมกันในด้านต่าง ๆ และเพื่อการคงอยู่ของสังคม โดยรวม แบบแผนพฤติกรรมต่าง ๆ เป็นไปตามบรรทัดฐานทางสังคม ที่มีความชัดเจนแน่นอน และเป็นไปตามวัฒนธรรมของสังคม

1. สถาบันสังคมเป็นนามธรรม สถาบันสังคมไม่ใช่ตัวบุคคลหรือกลุ่มคน ไม่ใช่สิ่งของ แต่เป็น แบบแผนพฤติกรรมซึ่งกาหนดขึ้นเพื่อเป็นแบบแผนในการปฏิบตั ิร่วมกันของสมาชิกทุกคน 2. สถาบันสังคมเกิดจากการเชือ่ มโยงบรรทัดฐานต่าง ๆ ทางสังคม ซึ่งได้แก่ วิถีชาวบ้าน จารีต และกฎหมาย โดยเป็นส่วนของวัฒนธรรมในสังคม 3. สถาบันสังคมเกิดขึ้นเพื่อสนองความต้องการในด้านต่าง ๆ ร่วมกันของสมาชิกในสังคม และ เพื่อการคงอยู่ของสังคม 4. สถาบันสังคมเกิดจากการยอมรับร่วมกันของสมาชิกในสังคม สถาบันสังคมจึงเป็นระเบียบ แบบแผน พฤติกรรมที่ชัดเจนและเปลี่ยนแปลงได้ยากเนื่องจากเกิดขึ้นจากการยอมรับร่วมกันของสมาชิก ในสังคม


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 16

กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมาย ความสาคัญ และองค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคมได้ 2. วิเคราะห์และสามารถปฏิบัติตนตามหลักการจัดระเบียบทางสังคมของสถาบันทางสังคม ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม คาชี้แจง ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิดให้ใส่เครื่องหมาย () หรือ () หน้าข้อความ 1. ลักษณะโครงสร้างทางสังคมมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงได้ 2. โครงสร้างทางสังคม หมายถึง ส่วนต่างๆ ที่ประกอบกันเป็นระบบความสัมพันธ์ของ สังคมมนุษย์ 3. ประเภทของกลุ่มสังคมแบ่งเป็น 3 ประเภทตามลักษณะที่ตั้งของกลุ่มสังคม 4. กลุ่มสังคมในสถาบันครอบครัว ได้แก่ พระสงฆ์ พระมหากษัตริย์ พนักงานบริษัท ตารวจ 5. การถ่ายทอดความรู้ ความคิด วัฒนธรรม และทักษะอันจาเป็นในการดารงชีวิตคือ หน้าที่ของสถาบันการศึกษา 6. กลุ่มสังคมที่ดาเนินกิจกรรมทางศาสนา เช่น คณะสงฆ์คณะนักบวช คือกลุ่มสังคม ครอบครัว 7. สถาบันเศรษฐกิจ คือ สถาบันสังคมที่เกี่ยวข้องกับแบบแผนการสนองความต้องการ ปัจจัยพื้นฐานที่จาเป็นของมนุษย์ 8. ชาวนา นักธุรกิจ ผู้ใช้แรงงาน เป็นตาแหน่งหรือบทบาทหน้าที่ของกลุ่มคนในสถาบัน เศรษฐกิจ 9. การสร้างระเบียบกฎเกณฑ์ให้แก่สังคม โดยมีองค์กรทาหน้าที่สร้างกฎหมาย คือหน้าที่ ของสถาบันศาสนา 10. รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล กระทรวง คือ กลุ่มสังคมในสถาบันการเมืองการปกครอง


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 17

2. สถาบันสังคม องค์ประกอบของสถาบันของสังคม 1. กลุ่มสังคม สถาบันสังคมประกอบไปด้วยกลุ่มสังคมต่าง ๆ ที่ทาหน้าที่สนับสนุนให้การ กระทาระหว่างสมาชิกบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน โดยประกอบด้วยสถานภาพหรือตาแหน่งทางสังคม และบทบาทหน้าที่ เพื่อให้แบบแผนพฤติกรรมดาเนินไปสู่วัตถุประสงค์ของกลุ่มสังคมนั้น 2. หน้าที่ของสถาบันทางสังคม หมายถึง วัตถุประสงค์ในการสนองความต้องการของสังคม ในด้านต่าง ๆ ของสถาบันสังคมแต่ละสถาบัน 3. แบบแผนพฤติกรรมในการประพฤติปฏิบัติตนของสมาชิก เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของ สถาบันนั้น ได้แก่ บรรทัดฐานทางสังคม ซึ่งประกอบไปด้วยวิถีชีวิต ทาให้กิจกรรมในการดาเนินชีวิต ของสมาชิกในสังคมสามารถสนองวัตถุประสงค์ของสถาบันสังคมนั้น 4. สัญลักษณ์ และค่านิยม ทาให้สมาชิกเกิดอุดมการณ์และศรัทธาต่อสถาบันสังคม เช่น ธงจชาติ เป็นสัญลักษณ์ของสถาบันการเมืองการปกครอง เสรีภาพและความเสมอภาค เป็นค่านิยม ของสถาบันการเมืองการปกครองในสังคมประชาธิปไตย เป็นต้น สถาบันสังคมที่สาคัญ สถาบันสังคม แยกได้ 5 สถาบัน ดังนี้ สถาบันสังคม หมายถึง สถาบันสังคมซึ่งเกี่ยวข้องกับแบบแผนการสมรส การอบรมเลี้ยงดู บุตร และแบบแผนความสัมพันธ์ระหว่างเพศ ซึ่งเป็นที่ยอมรับว่าถูกต้องตามสังคม 1. สถาบันครอบครัว มีองค์ประกอบ ดังนี้ กลุ่มสังคมในสถาบันครอบครัว ได้แก่ ครอบครัวซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่อาศัยอยู่ใน ครัวเรือนเดียวกัน เช่น บิดา มารดา บุตร วงศาคณาญาติที่เกี่ยวข้องโดยสายโลหิต หรือการสมรส หรือ มีบุตรบุญธรรม

ภาพที่ 1.4 ความอบอุ่นของครอบครัว ที่มา : http//new.nerkoo.com/วันครอบครัว 14 เมษายน/


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 18

หน้าที่ของสถาบันครอบครัว 1. หน้าที่ผลิตสมาชิกใหม่ ให้แก่สังคม เพื่อทดแทน สมาชิกของสังคมที่สิ้นชีวิตลง 2. หน้าที่เลี้ยงดูสมาชิกใหม่ให้มี ชีวิตรอด เนื่องจากทารกแรก เกิดและเด็กไม่สามารถดูแล ตนเองได้ 3. หน้าที่ถ่ายทอดวัฒนธรรม ของสังคมไปสู่สมาชิกใหม่ ซึ่งเป็นกระบวนการขัดเกลา ทางสังคมเพื่อให้เด็กเติบโต เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม 4. หน้าที่อื่น ๆ ได้แก่ การสนอง ความต้องการทางจิตใจ ทาหน้าที่ให้ความรัก ความอบอุ่นสมาชิก

สัญลักษณ์และค่านิยม สัญลักษณ์ของสถาบันครอบครัว ที่สาคัญ คือ แหวนหมั้น แหวนแต่งงาน เป็นต้น สถาบันครอบครัวในแต่ละสังคม ย่อมมีค่านิยมต่างกันตาม วัฒนธรรมของสังคม เช่น สังคมสมัยใหม่ สามีและภรรยา มีค่านิยมในการหาเลี้ยง ครอบครัวเท่าเทียมกัน การร่วมรับผิดชอบกิจกรรม ต่าง ๆ ในครอบครัว อย่างเท่าเทียมกัน

แบบแผนพฤติกรรม แบบแผนพฤติกรรมในการ ประพฤติปฏิบัติตนของ สมาชิก สถาบันครอบครัว ประกอบไปด้วยแบบแผน พฤติกรรมซึ่งเป็นบรรทัดฐาน ทางสังคม เช่น ประเพณี การหมั้น สมรส เป็นต้น สถาบันครอบครัวในสังคม แต่ละแห่งย่อมมีแบบแผน พฤติกรรมแตกต่างกันไป ตามวัฒนธรรมของสังคม เช่นมีประเพณีการสมรส แตกต่างกันไป เป็นต้น

2. สถาบันการศึกษา หมายถึง สถาบันสังคมซึ่งเกี่ยวข้องกับแบบแผนการขัดเกลาและการถ่ายทอด วัฒนธรรม การให้ความรู้ และการฝึกทักษะอาชีพ เพื่อความเป็นสมาชิกที่เหมาะสมของสังคม กลุ่มสังคมในสถาบันการศึกษา ได้แก่ โรงเรียน มหาวิทยาลัย กระทรวง ทบวง กรม ที่ทาหน้าที่ เกี่ยวข้องกับการศึกษา กลุ่มสังคมเหล่านี้จะประกอบไปด้วยตาแหน่ง หรือสถานภาพทางสังคม เช่น ครู อาจารย์ เป็นต้น

ภาพที่ 1.5 การศึกษาของเยาวชน ที่มา : www.manager.co.th


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 19

หน้าที่ของสถาบันการศึกษา 1. ถ่ายทอดความรู้ วัฒนธรรม และทักษะ อันจาเป็นในการ ดารงชีพของสมาชิกในสังคม 2. สร้างบุคลิกภาพทางสังคม ให้แก่สมาชิก สามารถปรับตน ในการติดต่อสัมพันธ์กับ บุคคลอื่นและปฏิบัติตนให้มี คุณค่าแก่สังคม 3. การกาหนดสถานภาพทาง สังคม และชนชั้นทางสังคม สถานภาพจากสถาบันการศึกษา เป็นส่วนประกอบสาคัญ ประการหนึ่งในการจัดช่วงชั้น ทางสังคม 4. หน้าที่ในการผลิตกาลังแรงงาน ทางเศรษฐกิจ ตามความ ต้องการทางสังคม 5. หน้าที่ในการสร้างกลุ่มเพื่อน เป็นหน้าที่แฝงของ สถาบันการศึกษา ซึ่งก่อให้เกิด การรวมกลุ่มเพื่อนเพื่อสนอง ความต้องการทางจิตใจของ สมาชิกในสังคม

สัญลักษณ์และค่านิยม สัญลักษณ์ของสถาบันการศึกษา มักปรากฏในองค์การทาง การศึกษาต่าง ๆ เช่น เข็ม เครื่องหมายของโรงเรียน เป็นต้น แต่ละสังคมย่อมมีปรัชญาและ ค่านิยมทางการศึกษาต่างกัน

แบบแผนพฤติกรรม แบบแผนพฤติกรรมในการ ประพฤติปฏิบัติตนของ สมาชิก สถาบันการศึกษา ประกอบไปด้วยแบบแผน พฤติกรรมต่าง ๆ เพื่อสนอง ต่อหน้าที่ต่าง ๆ ของสถาบัน ดังที่กล่าวมาแล้ว เช่น การจัดระบบ การเรียนการ สอน เป็นต้น แบบแผน พฤติกรรมดังกล่าวมีการ เปลี่ยนแปลงปรับปรุง ให้เหมาะสมแก่ ความต้องการของสังคม ปัจจุบัน

3. สถาบันศาสนา หมายถึง สถาบันที่ทาหน้าที่ช่วยสนองความต้องการด้านเสริมกาลังใจให้แก่สมาชิก ในสังคมเพื่อให้ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมด้วยความปกติสุขโดยปฏิบัติตามคติความเชื่อกลุ่มสังคมในสถาบัน ศาสนา ที่สาคัญได้แก่ คณะสงฆ์ และกลุ่มผู้ปฏิบัติธรรม โดยมีตาแหน่งหรือสถานภาพทางสังคมต่าง ๆ กัน ต่างมีบทบาทหน้าที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันตามสถานภาพทางสังคมดังกล่าว


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 20

ภาพที่ 1.6 คณะสงฆ์สวดมนต์ในวันสาคัญทางศาสนา ที่มา : www.update66.com. หน้าที่ของสถาบันศาสนา 1. สร้างความเป็นปึกแผ่นให้แก่ สังคม 2. สร้างเสริมและถ่ายทอด วัฒนธรรมแก่สังคม 3. ควบคุมสมาชิกให้ปฏิบัติ ตามบรรทัดฐานของสังคม 4. สนองความต้องการทางจิตใจ แก่สมาชิกเมื่อสมาชิกเผชิญ กับปัญหาต่าง ๆ

สัญลักษณ์และค่านิยม สัญลักษณ์ของสถาบันศาสนา ย่อมแตกต่างกันไปตามศาสนา ที่สมาชิกยอมรับนับถือ สาหรับ ค่านิยมของสถาบันศาสนาย่อม แตกต่างกันไปตามหลักของ ศาสนานั้น ๆ

แบบแผนพฤติกรรม แบบแผนพฤติกรรมในการ ประพฤติปฏิบัติตนของสมาชิก โดยทั่วไปแบบแผนพฤติกรรมใน การปฏิบัติของสมาชิกในสังคม ย่อมเป็นไปตามหลักธรรมของ ศาสนาที่ตนนับถือ และเป็นไป ตามประเพณีทางศาสนานั้น ๆ กิจกรรมของประเพณีทาง ศาสนามีความสาคัญในการสร้าง ความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอัน เดียวกันของสมาชิกในสังคม

4. สถาบันเศรษฐกิจ หมายถึง สถาบันสังคมที่เกี่ยวข้องกับแบบแผนการสนองความต้องการเกี่ยวกับ ความจาเป็นทางวัตถุ เพื่อการดารงชีวิต เป็นแบบแผนพฤติกรรมทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับ การผลิต การกระจายสินค้าและบริการไปสู่ผู้บริโภค ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิต กลุ่มสังคมในสถาบันเศรษฐกิจ กลุ่มสังคมในสถาบันเศรษฐกิจมีจานวนมาก เช่น ร้านค้า โรงงานและองค์กรเศรษฐกิจต่าง ๆ แต่ละกลุ่มสังคมเหล่านี้ประกอบไปด้วยตาแหน่งและ บทบาทหน้าที่ต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน เช่น ผู้จัดการ พนักงาน กรรมกร เกษตรกร เป็นต้น เพื่อกระทาบทบาทและหน้าที่ดังกล่าว


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 21

ภาพที่ 1.7 ตลาดเป็นสถานที่ในการแลกเปลี่ยนสินค้า ที่มา http://www.thaibizchina.com/ หน้าที่ของสถาบันเศรษฐกิจ 1. ผลิตสินค้า เพื่อสนอง ความต้องการของสมาชิก ในสังคม ซึ่งประกอบไปด้วย สินค้าพื้นฐานจนถึงสินค้า อานวยความสะดวก 2. การกระจายสินค้าที่ผลิตได้ ไปสู่สมาชิกในสังคมอย่างทั่วถึง 3. การกระจายบริการต่าง ๆ ไปสู่สมาชิกในสังคม 4. การกาหนดสถานภาพทาง สังคมและชนชั้นทางสังคม 5. สถาบันทางเศรษฐกิจก่อให้เกิด หน้าที่สาคัญ คือ เป็นพื้นฐาน อานาจทางการเมือง

สัญลักษณ์และค่านิยม ส่วนใหญ่เป็นสัญลักษณ์ของ องค์การของสถาบันเศรษฐกิจ นั้น ๆ เช่น เครื่องหมายทางการ ค้า สาหรับค่านิยมและความเชื่อ เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจย่อม แตกต่างกันไปตามวัฒนธรรมของ แต่ละสังคม

แบบแผนพฤติกรรม แบบแผนพฤติกรรมในการ ประพฤติปฏิบัติตนของ สมาชิก สถาบันเศรษฐกิจ ประกอบด้วยแบบแผน พฤติกรรมที่มีความสาคัญ ในการดารงชีวิตร่วมกัน ของสมาชิกในสังคม เช่น แบบแผนในการผลิตสินค้า แบบแผนของการประกอบ อาชีพต่าง ๆ เช่น อาชีพ เกษตรกรรมและอาชีพ อุตสาหกรรมมีแบบแผน การประกอบอาชีพต่างกัน


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 22

5. สถาบันทางการเมืองการปกครอง หมายถึง สถาบันสังคมที่เป็นแบบแผนที่เกี่ยวข้องกับการสนองความต้องการของ สมาชิกในการดารงชีวิตตามกฎระเบียบของสังคม ควบคุมให้กลุ่มคนอยู่ในสังคมอย่างสงบสุข

ภาพที่ 1.8 อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ที่มา : www.oknation.net กลุ่มสังคมในสถาบันการเมืองการปกครอง ประกอบด้วยกลุ่มสังคมต่าง ๆ ที่สาคัญ คือ กลุ่มสังคมที่มีการจัดระเบียบอย่างชัดแจ้ง ที่เรียกว่า องค์การ เช่น พรรคการเมือง กระทรวง ทบวง กรม เป็นต้น แต่ละองค์การประกอบด้วยตาแหน่งหรือสถานภาพทางสังคม เพื่อกระทาบทบาทและ หน้าที่ตามสถานภาพนั้น หน้าที่ของสถาบันการเมืองการปกครอง 1. สร้างระเบียบกฎเกณฑ์ให้แก่สังคม เช่น สถาบันเศรษฐกิจย่อมจะต้องมี กฎเกณฑ์เกี่ยวกับการเงิน 2. วินิจฉัยข้อขัดแย้งระหว่างสมาชิก ในสังคม มีองค์การทางตุลาการ คอยให้ความยุติธรรมแก่สมาชิก ที่มีความขัดแย้งต่อกัน 3. หน้าที่ในการบริหารองค์การ ของรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่น 4. การป้องกันและรักษาความปลอดภัย ทั้งภายในสังคมและจากภายนอก สังคม

องค์กรของสถาบันการเมืองที่สาคัญ 1. ฝ่ายนิติบัญญัติ คือ องค์กรที่ทาหน้าที่ออกกฎหมาย 2. ฝ่ายบริหาร คือ องค์กรที่ทาหน้าที่ในการบริหาร และการบริการให้แก่สมาชิกโดยส่วนรวม 3. ฝ่ายตุลาการ คือ องค์การที่ทาหน้าที่ตีความกฎหมาย ในกรณีที่สมาชิกในสังคมเกิดความขัดแย้งระหว่างกัน 4. ฝ่ายองค์กรอิสระ คือ องค์กรที่ประกอบด้วย คณะบุคคลที่ตั้งขึ้นด้วยวิธีปลอดจากอานาจอิทธิพล ของบุคคลที่มีส่วนอาจได้เสียกับกิจการอันเป็นหน้าที่ ขององค์กรอิสระนั้น โดยเฉพาะอานาจของ ข้าราชการเมืองและข้าราชการประจา


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 23

กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมาย ความสาคัญ และองค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคมได้ 2. วิเคราะห์และสามารถปฏิบัติตนตามหลักการจัดระเบียบทางสังคมของสถาบันทางสังคม ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้แล้วจัดทาเป็นแผ่นพับความรู้ (ข้อละ 5 คะแนน) 1. บุคคลย่อมมีสถานภาพมากกว่าหนึ่งสถานภาพเสมอ จงระบุสถานภาพของนักเรียนในขณะนี้ ให้ครบ พร้อมบอกหน้าที่และความรับผิดชอบตามสถานภาพต่างๆ ของตนเอง แนวคาตอบ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________

2. ลักษณะของโครงสร้างทางสังคมประกอบด้วยอะไรบ้าง แนวคาตอบ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 24

3. กลุ่มเพื่อนของนักเรียนจัดเป็นกลุ่มสังคมได้หรือไม่ อย่างไร แนวคาตอบ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________

4. มีผู้กล่าวว่า “ความสาเร็จเกือบทุกด้านของชีวิตคนเรา มาจากพื้นฐานของครอบครัว” นักเรียนมีความคิดเห็นอย่างไรต่อคาพูดดังกล่าว จงอธิบาย แนวคาตอบ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 25

กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 จุดประสงค์การเรียนรู้ วิเคราะห์และสามารถปฏิบัติตนตามหลักการจัดระเบียบทางสังคมของสถาบันทางสังคม ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ (ข้อละ 5 คะแนน) 1. นักเรียนคิดว่านอกจากกลุ่มทางสังคมหรือองค์การทางสังคมของสถาบันทางการเมืองการ ปกครอง จะต้องปฏิบัติตนตามหน้าที่กฎหมายกาหนดแล้ว ควรมีคุณธรรม จริยธรรมอย่างไร บ้างในการปฏิบัติตนและปฏิบัติงาน จงอธิบาย พร้อมยกตัวอย่างประกอบ แนวคาตอบ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________

2. สถาบันศาสนามีบทบาทสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของนักเรียนอย่างไร จงอธิบาย พร้อมแสดงเหตุผลประกอบ แนวคาตอบ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 26

3. ในฐานะที่เป็นนักเรียนเราควรมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถาบันการศึกษาโดยปฏิบัติตน อย่างไรจึงจะสามารถพัฒนาตนเป็นคนดีและคนเก่งได้ แนวคาตอบ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________

4. จงร่วมกันอภิปรายถึงความสัมพันธ์เชื่อมโยงของสถาบันทางสังคมต่าง ๆ ในสังคมไทย ว่าเป็นไปในลักษณะใด โดยยกตัวอย่างเมื่อเกิดปัญหาขึ้นในสถาบันสถาบันหนึ่ง จะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงและความเจริญก้าวหน้าของสถาบันอื่น ๆ อธิบายประกอบเหตุการณ์ตัวอย่างที่เกิดขึ้นในสังคมในปัจจุบันอย่างเป็นเหตุเป็นผล พร้อมอ้างอิงแหล่งข้อมูลให้ชัดเจน แนวคาตอบ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________ ______________________________________________________________________


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 27

3. การจัดระเบียบทางสังคม สังคมเป็นที่รวมของบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป เมื่อมีการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคลเพิ่มมากขึ้น สังคมก็ยิ่งมีความแตกต่างในหลายๆ ด้านเกิดขึ้น ความแตกต่างดังกล่าว หากมีการควบคุมและจัด ระเบียบของกลุ่มและในสังคมที่ไม่ถูกต้องเหมาะสมแล้ว สังคมก็อาจสับสนวุ่นวายขึ้นได้ 3.1 ความหมายของการจัดระเบียบสังคม การจัดระเบียบสังคม เป็นกระบวนการที่สมาชิกได้พัฒนาการกระทาระหว่างกัน ทางสังคมอย่างมีระเบียบ โดยมีสมาชิดส่วนรวมของสังคมไทยยอมรับเป็นแนวความประพฤติร่วมกัน และสืบทอดจนเป็นบรรทัดฐานในการดารงชีวิตร่วมกันของสมาชิกในสังคม

ภาพที่ 1.9 กิจกรรมการรณรงค์เมาไม่ขับ ที่มา : http://www.wetv.co.th/NEWS-INSIDE สาเหตุที่ต้องมี การจัดระเบียบสังคม 1. สมาชิกในสังคมมีความ แตกต่างกัน

ความจาเป็นที่ต้องมี การจัดระเบียบสังคม 1. เนื่องจากสมาชิกในสังคม มีความแตกต่าง ทั้งในทาง กายภาพและในทางสังคม

วิธีการจัดระเบียบสังคม 1. บรรทัดฐาน 2. สถานภาพ บทบาท และการจัดชั้นยศ 3. ค่านิยม 4. การขัดเกลาทางสังคม 5. การควบคุมทางสังคม


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 28

สาเหตุที่ต้องมี การจัดระเบียบสังคม 2. แต่ละคนมุ่งแต่ผลประโยชน์ ของตนเอง จนเกิด ความขัดแย้งได้

ความจาเป็นที่ต้องมี การจัดระเบียบสังคม 2. เนื่องจากสมาชิกในสังคม มีวัตถุประสงค์และมีความ ต้องการเร่วมกันใน สังคมมนุษย์ทุกๆ สังคม สมาชิกแต่ละคนย่อมมีความ ต้องการพื้นฐานร่วมกัน ดังนั้น จึงจาเป็นต้องกาหนด ระเบียบความสัมพันธ์ระหว่าง สมาชิกเพื่อให้บรรลุถึง วัตถุประสงค์และ ความต้องการนั้น 3. เพื่อป้องกันการขัดแย้ง ระหว่างสมาชิกในสังคม ธรรมชาติของมนุษย์ คือ การต่อสู้ การใช้อานาจ ดังนั้น จึงต้องมีกฎเกณฑ์ เพื่อให้ความสัมพันธ์ของ สมาชิกในสังคมราบรื่น

วิธีการจัดระเบียบสังคม

3.2 องค์ประกอบของการจัดระเบียบ 3.2.1 บรรทัดฐานทางสังคม บรรทัดฐานทางสังคม หมายถึง ระเบียบกฎเกณฑ์ หรือแบบแผนของ พฤติกรรมที่สังคมยอมรับเป็นแนวทางให้สมาชิกประพฤติปฎิบัติในแต่ละสถานการณ์ สรุปได้ว่า 1. บรรทัดฐานทางสังคมเป็นระเบียบ กฎเกณฑ์ หรือแบบแผนของพฤติกรรม ที่สมาชิกในสังคมยอมรับร่วมกัน และได้ประพฤติสืบต่อกันมา 2. บรรทัดฐานทางสังคมเป็นระเบียบ กล่าวคือ แบบแผนความประพฤติ ที่เห็นว่าถูกต้องในสถานการณ์หนึ่งอาจนาไปใช้ในอีกสถานการณ์หนึ่งไม่ได้


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 29

3.2.1.1 ประเภทของบรรทัดฐานทางสังคม (1) วิถปี ระชา / วิถีชาวบ้าน (Folkways) หมายถึง แบบแผน ความประพฤติที่สมาชิกปฎิบัติด้วยความเคยชินเนื่องจากได้รับการปลูกฝังถ่ายทอดมาตั้งแต่วัยเด็ก จนเติบใหญ่แม้ว่าจะไม่มีการกาหนดโทษผู้ที่ละเมิดฝ่าฝืนอย่างเข้มงวด แต่อาจถูกผู้อื่นเยาะเย้ย ถากถาง หรือได้รับการนินทาทาให้สมาชิกต้องปฎิบัติตามวิถีชาวบ้าน จนเกิดความเป็นระเบียบ ทางสังคมในที่สุด (2) จารีต (Mores) หมายถึง แบบแผนความประพฤติที่สมาชิกปฎิบัติ ในสถานการณ์ต่างๆ โดยผู้ที่ละเมิดฝ่าฝืนจะได้รับการต่อต้านจากสมาชิกในสังคมอย่างจริงจัง เนื่องจากมีผลกระทบต่อระบบสัมพันธ์ของสมาชิกส่วนรวม (3) กฎหมาย (Laws) หมายถึง กฎเกณฑ์ของความประพฤติซึ่งสร้างขึ้น โดยองค์การทางการเมืองการปกครองและโดยได้รับการรับรองจากองค์กรของรัฐ กฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ความประพฤติที่มีลักษณะสาคัญดังนี้ 1. เป็นกฎเกณฑ์การประพฤติปฎิบัติของสมาชิกในสังคมที่บัญญัติเป็นทางการ โดยองค์การของรัฐที่มีอานาจหน้าที่ในการบัญญัติกฎหมาย 2. การมีประกาศรายละเอียดของกฎหมายเป็นลายลักษณ์อักษร 3. มีองค์การที่ทาหน้าที่ควบคุมให้สมาชิกปฎิบัติตามกฎหมาย 4. มีบทลงโทษผู้ที่ละเมิดฝ่าฝืนกฎหมาย

ภาพที่ 1.10 การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตารวจ ที่มา : http://hilight.kapook.com/view/52766


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 30

ข้อสังเกตเกี่ยวกับบรรทัดฐาน 1. บรรทัดฐานแต่ละท้องถิ่นอาจสอดคล้องหรือแตกต่างกันก็ได้ 2. บรรทัดฐานแต่ละท้องถิ่นสามารถเปลี่ยนแปลงได้ 3. สังคมชนบทมักใช้จารีตมากกว่า ส่วนสังคมเมืองมักใช้กฎหมายเป็นบรรทัดฐาน 3.3 สถานภาพทางสังคม สถานภาพ (Status) : ตาแหน่งที่ได้รับจากการเป็นสมาชิกของสังคมหรือฐานะทาง สังคม (Social Position) ของคนในสังคมที่ถูกกาหนดไว้และดารงอยู่ สถานภาพทางสังคม หมายถึง ตาแหน่งของบุคคลซึ่งได้มาจากการเป็นสมาชิกของ กลุ่มและของสังคมซึ่งเป็นองค์ประกอบที่สาคัญในการจัดระเบียบสังคม นื่องจากการกระทาระหว่าง สมาชิกในสังคมย่อมเป็นไปตามสถานภาพที่ตนดารงอยู่ ประเภทของสถาภาพทางสังคม มี 2 ประเภท คือ 1. สถานภาพทางสังคมโดยกาเนิด (Ascribed Status) เป็นสถานภาพทางสังคม ที่สมาชิกได้รับโดยกาเนิด เช่น เชื้อชาติ สัญชาติ เพศ (ชายหรือหญิง) อายุและสถานภาพอันเกิดจาก การเป็นสมาชิกในครอบครัวเหล่านี้นับเป็นสถานภาพโดยกาเนิดทั้งสิ้น

ภาพที่ 1.11 การให้กาเนิดสมาชิกใหม่ ที่มา : www.ouyyaoharet.blogspot.com


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 31

2. สถานภาพทางสังคมโดยความสามารถของบุคคล (Achieved Status) เป็นสถานภาพทางสังคมที่เกิดจากการกาหนดคุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับสถานภาพโดยถือ ความสามารถตามเกณฑ์ที่สังคมกาหนด

ภาพที่ 1.12 การให้ความเคารพผู้สูงอายุ ที่มา : www.gotoknow.org ผลอันเกิดจากสถานภาพทางสังคม สถานภาพทางสังคมก่อให้เกิดผล 3 ด้าน ดังนี้ 1. ทาให้เกิดสิทธิและหน้าที่ 2. ทาให้เกิดเกียรติยศจากสถานภาพทางสังคมที่สมาชอกดารงอยู่ 3. ทาให้เกิดการจัดช่วงชั้นทางสังคม 3.4 บทบาททางสังคม บทบาท (Role): หน้าที่ / พฤติกรรมที่ปฎิบัติตามสถานภาพที่ได้รับการปฎิบัติบทบาท ตามสถานภาพที่เหมาะสมและถูกต้องทาให้ความสัมพันธ์ทางสังคมดาเนินไปได้ด้วยดี บทบาททางสังคมเป็นการกระทาตามสิทธิและหน้าที่ตามที่กาหนดในสถานภาพทาง สังคม บทบาทและสถานภาพทางสังคมจะทาให้การกระทาระหว่างกันทางสังคมของสมาชิกดาเนินไป อย่างสอดคล้องกลมกลืน และช่วยให้การดารงชีวิตร่วมกันในสังคมด้วยความราบรื่น


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 32

ความสาคัญของบทบาททางสังคม บทบาททางสังคมก่อให้เกิดการกระทาตามสิทธิและหน้าที่ของสมาชิกในสังคม ตามสถานภาพที่ตนดารงอยู่ ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนการรับและการให้ประโยชน์ระหว่างกัน หากปราศจากการกาหนดบทบาททางสังคม รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในสังคมคงจะขาด ระเบียบและปราศจากทิศทางแน่นอน

ภาพที่ 1.13 ภาพสังคมไทย ที่มา : www.hilitht.kapook.com บทบาทขัดกัน สมาชิกในสังคมแต่ละคนมีบทบาทหลายอย่างในเวลาเดียวกัน และการในกระทาอีก บทบาทหนึ่งอาจจะขัดกับอีกบทบาทหนึ่งก็ได้ การขัดกันในบทบาทย่อมเกิดขึ้นได้เสมอ สมาชิก ในสังคมต้องตัดสินใจตามวาระและโอกาสที่เกิดขึ้น ข้อสังเกต 1. สถานภาพ – บทบาทเป็นเรื่องความสัมพันธ์ที่เกี่ยวกับสังคม 2. ทุกคนย่อมมีสถานภาพของตนเองและมีหลายสถานภาพ 3. สถานภาพบางอย่างเป็นสถานภาพที่ต่อเนื่อง 4. ยิ่งสังคมซับซ้อนเพียงใด บทบาทยิ่งแตกต่างไปมากขึ้นเท่านั้น 5. โดยปกติสถานภาพจะบ่งบอกถึงบทบาทเสมอ แต่ในบางสถานการณ์มีสถานภาพ อาจไม่มีบทบาทก็ได้ 6. การมีหลายสถานภาพก่อให้เกิดหลายบทบาท บางครั้งก็อาจทาให้เกิดบทบาทที่ขัดแย้ง


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 33

3.5 การควบคุมทางสังคม การควบคุมทางสังคม (Social Control) หมายถึง กระบวนการต่าง ๆ ทางสังคม ที่มุ่งหมายให้สมาชิกของสังคมยอมรับและปฎิบัติตามบรรทัดฐานของสังคม การควบคุมทางสังคมเป็นกลไกที่สาคัญที่จะให้สังคมดารงอยู่ได้โดยสงยด้วยวิธีการ ที่เรียกว่า “การบังคับ” (Sanction) การบังคับจึงเป็นสิ่งหนึ่งของบรรทัดฐานทางสังคม ลักษณะการควบคุมทางสังคม แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. การควบคุมทางสังคมโดยการจูงใจให้สมาชิกปฎิบัติตามบรรทัดฐานทางสังคม ได้แก่ การยกย่องชมเชย การให้รางวัลแกผู้ที่ปฎิบัติตามบรรทัดฐานทางสังคมตามสถานภาพและ บทบาททางสังคมที่ตนดารงอยู่ 2. การควบคุมทางสังคมโดยการลงโทษสมาชิกที่ละเมิดฝ่าฝืนบรรทัดฐานทางสังคม ได้แก่ 1.1 ผู้ที่ละเมิดหรือฝ่าฝืนวิถีชาวบ้านจะได้รับปฏิกิริยาต่างๆ จากสมาชิกผู้อื่น เช่น การถูกติฉินนินทา การเยาะเย้ย 1.2 ผู้ที่ละเมิดฝ่าฝืนจารีตจะถูกต่อต้านจากสมาชิกรุนแรงกว่าผู้ที่ละเมิด วิถีชาวบ้าน เช่น การถูกประชาทัณฑ์ หรือการขับไล่ออกไปจากท้องถิ่น 1.3 ผู้ที่ฝ่าฝืนกฎหมายจะถูกลงโทษตามที่กฎหมายกาหนด โดยหน่วยงานของรัฐ และเจ้าหน้าที่เป็นผู้ควบคุมบทลงโทษอย่างชัดแจ้ง

ภาพที่ 1.14 การได้รับการยกย่อง ที่มา : www.thawil.net


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 34

กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 จุดประสงค์การเรียนรู้ ตระหนักและเห็นความสาคัญความจาเป็นในการจัดระเบียบทางสังคม คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปองค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคม โดยเขียนในรูปแผนผัง องค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคม


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 35

สรุป โครงสร้างทางสังคม โครงสร้างทางสังคม มีลักษณะสาคัญที่มรี ะบบของความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลที่เชื่อมโยงให้เกิดกลุ่มสังคมที่มีรูปแบบต่าง กันตามระบบความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลที่จะทาให้สังคมเป็นระเบียบ โครงสร้างทางสังคม คือ กลุ่มสังคม ซึ่งเป็นกลุ่มที่สมาชิกนั้นมีความรู้สึกร่วมกัน และมีการกระทาระหว่างกัน และสถาบันทางสังคมที่สาคัญ คือ สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันเศรษฐกิจ สถาบันการเมืองการปกครอง บทบาท ทางสังคม และกระบวนการควบคุมทางสังคม กระบวนการดังกล่าวเป็นส่วนสาคัญ ในการสจัดระเบียบทางสังคมให้เป็นระเบียบเรียบร้อย


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 36

แบบทดสอบหลังเรียน เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาสังคมศึกษา รหัสวิชา ส31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างทางสังคม คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบ ก, ข, ค หรือ ง ที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว โดยทาเครื่องหมาย  ลงในช่อง บนกระดาษคาตอบ เวลาสอบ 15 นาที 1. ปัญหาข้อใดเกิดจากแนวคิดตรงข้ามกับเศรษฐกิจพอเพียง ก. สภาวะหนี้เสีย ข. ความเจ็บไข้ได้ป่วย ค. การอพยพย้ายหนีผู้ก่อการร้าย ง. การใช้แรงงานคนมากกว่าเครื่องจักร 2. ลักษณะสาคัญของสัตว์สังคม ตรงกับข้อใด ก. การต่อสู้แข่งขันกัน ข. การกระทาระหว่างกัน ค. การผสมกลมกลืนระหว่างกัน ง. การสังสรรค์ระหว่างวัฒนธรรม 3. การรวมกลุ่มในลักษณะใดเรียกว่าสังคม ก. เด็กวัยรุ่นขี่มอเตอร์ไซด์ ข. กลุ่มคนยืนอยู่ที่เดียวกัน ค. ชาย – หญิงนุ่งกางเกงเอวต่า ง. ชาวบ้านหนีโจรย้ายบ้านไปอยู่ใกล้วัด 4. ข้อใดเป็นวัฒนธรรมประเภท “สหธรรม” ก. สิ่งต่าง ๆ ที่สมาชิกในสังคมประดิษฐ์ขึ้น ข. ระเบียบข้อบังคับต่างๆ ของสังคมและกฎหมาย ค. ขนบธรรมเนียมประเพณี และมารยาททางสังคม ง. หลักในการดาเนินชีวิตที่ส่วนใหญ่ได้มาจากศาสนา


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 37

5. ความสัมพันธ์ที่สมาชิกของสังคมมีต่อกันจัดได้ว่าเป็นอะไร ก. วัฒนธรรม ข. โครงสร้างสังคม ค. สถาบันทางสังคม ง. สถานภาพและบทบาท 6. กลุ่มของบรรทัดฐานที่ใช้เป็นหลักในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ของสมาชิกในสังคมหมายถึงอะไร ก. บทบาทสังคม ข. สถาบันสังคม ค. กลุ่มทางสังคม ง. วัฒนธรรมของสังคม 7. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการจัดระเบียบในสังคม ก. เพื่อความอยู่รอด ข. เพื่อศักดิ์ศรีของสังคม ค. เพื่อแสดงความมีวัฒนธรรม ง. เพื่อสนองสัญชาติญาณมนุษย์ 8. ข้อใดเป็นองค์ประกอบของการจัดระเบียบทางสังคม ก. สถาบันครอบครัวจารีต ลัทธิความเชื่อ ข. โครงสร้างสังคม วิถีประชา ขนบประเพณี ค. สถานภาพ บทบาท บรรทัดฐาน และค่านิยม ง. การเรียนรู้ทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม และการควบคุมทางสังคม 9. ค่านิยมที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศด้านการเมืองของประเทศไทยตรงกับข้อใด ก. ความนิยมตะวันตก ข. รักพวกพ้องมากกว่าชาติ ค. เดินตามผู้ใหญ่ หมาไม่กัด ง. ต่างคนต่างอยู่ ทางใครทางมัน 10. ข้อใดรวมโครงสร้างสังคมไว้ครบถ้วน ก. องค์กร สถาบัน ระเบียบ บทบาท ข. บรรทัดฐาน สถานภาพ บทบาท กลุ่มคน ค. มาตรฐานสังคม บรรทัดฐาน จารีต สัญลักษณ์ ง. วัฒนธรรมของสังคม กลุ่มคน ระเบียบ องค์กร


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 38

กระดาษคาตอบทดสอบหลังเรียน เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาสังคมศึกษา รหัสวิชา ส31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างทางสังคม ชื่อ...............................................................................................ชั้น ............. เลขที่ ............ ข้อ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 39

บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และ การดาเนินชีวิตในสังคม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. เคน จันทร์วงษ์. (2554). คู่มือ-เตรียมสอบ สังคมศึกษา ม.4-6 สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม. กรุงเทพมหานคร : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง. ปรัชญาพฤทธ์. (2550). การบริหารการพัฒนา : ความหมาย เนื้อหา แนวทางและปัญหา. หน้า 316. พงษ์ศักดิ์ แคล้วเครือ.(2554). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดารงชีวิตในสังคม. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช. ณัทธนัท เลี่ยวไพโรจน์.(2552). หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม ชั้น ม.4-6. กรุงเทพมหานคร : พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.). ยุรารัตน์ พันธุ์ยุรา.(2550). หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม 2. กรุงเทพมหานคร : เอมพันธ์. รศ. ธวัช ทันโตภาส และคณะ. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และ การดาเนินชีวิตในสังคม ม. 4-6. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพานิช. วิทยา ปานะบุตร. (2553). คู่มือเตรียมสอบ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดารงชีวิตในสังคม. กรุงเทพมหานคร : พ.ศ. พัฒนา. เสรี พงศ์พิศ. (2548). วิธีคิด วิธีทา แผนชีวิต เศรษฐกิจชุมชน. กรุงเทพมหานคร : เจริญวิทย์การพิมพ์.


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 40

ภาคผนวก


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 41

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาสังคมศึกษา รหัสวิชา ส31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างทางสังคม

ข้อ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ข 

ง 

       


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 42

เฉลยกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมาย ความสาคัญ และองค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคมได้ 2. วิเคราะห์และสามารถปฏิบัติตนตามหลักการจัดระเบียบทางสังคมของสถาบันทางสังคม ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม คาชี้แจง ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิดให้ใส่เครื่องหมาย () หรือ () หน้าข้อความ

 1. ลักษณะโครงสร้างทางสังคมมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงได้

 2. โครงสร้างทางสังคม หมายถึง ส่วนต่างๆ ที่ประกอบกันเป็นระบบความสัมพันธ์ของ  

 

สังคมมนุษย์ 3. ประเภทของกลุ่มสังคมแบ่งเป็น 3 ประเภทตามลักษณะที่ตั้งของกลุ่มสังคม

4. กลุ่มสังคมในสถาบันครอบครัว ได้แก่ พระสงฆ์ พระมหากษัตริย์ พนักงานบริษัท ตารวจ 5. การถ่ายทอดความรู้ ความคิด วัฒนธรรม และทักษะอันจาเป็นในการดารงชีวิตคือ หน้าที่ของสถาบันการศึกษา 6. กลุ่มสังคมที่ดาเนินกิจกรรมทางศาสนา เช่น คณะสงฆ์คณะนักบวช คือกลุ่มสังคม ครอบครัว 7. สถาบันเศรษฐกิจ คือ สถาบันสังคมที่เกี่ยวข้องกับแบบแผนการสนองความต้องการ ปัจจัยพื้นฐานที่จาเป็นของมนุษย์ 8. ชาวนา นักธุรกิจ ผู้ใช้แรงงาน เป็นตาแหน่งหรือบทบาทหน้าที่ของกลุ่มคนในสถาบัน เศรษฐกิจ 9. การสร้างระเบียบกฎเกณฑ์ให้แก่สังคม โดยมีองค์กรทาหน้าที่สร้างกฎหมาย คือหน้าที่ ของสถาบันศาสนา 10. รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล กระทรวง คือ กลุ่มสังคมในสถาบันการเมืองการปกครอง


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 43

เฉลยกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมาย ความสาคัญ และองค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคมได้ 2. วิเคราะห์และสามารถปฏิบัติตนตามหลักการจัดระเบียบทางสังคมของสถาบันทางสังคม ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้แล้วจัดทาเป็นแผ่นพับความรู้ (ข้อละ 5 คะแนน) 1. บุคคลย่อมมีสถานภาพมากกว่าหนึ่งสถานภาพเสมอ จงระบุสถานภาพของนักเรียนในขณะนี้ ให้ครบ พร้อมบอกหน้าที่และความรับผิดชอบตามสถานภาพต่างๆ ของตนเอง แนวคาตอบ เพศชาย คนกรุงเทพมหานคร เป็นลูกชาย เป็นนักเรียน

2. ลักษณะของโครงสร้างทางสังคมประกอบด้วยอะไรบ้าง แนวคาตอบ 1) มีการรวมกลุ่มของคนในสังคม 2) มีแนวทางในการปฏิบัติอย่างเหมาะสม หรือมีกฎเกณฑ์ระเบียบแบบแผนเป็น แนวทาง ในการยึดถือร่วมกันโดยยึดหลักประโยชน์สูงสุดของสังคม 3) มีจุดมุ่งหมายในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ที่ดี และมีความเหมาะสมที่จะนามาใช้กับ สังคมนั้น


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 44

3. กลุ่มเพื่อนของนักเรียนจัดเป็นกลุ่มสังคมได้หรือไม่ อย่างไร แนวคาตอบ ได้ เพราะเป็นกลุ่มคนที่มาอยู่รวมกัน สมาชิกในกลุ่มเพื่อนนี้มีความรู้สึกว่าตนเป็นสมาชิก ของกลุ่ม มีวัตถุประสงค์เพื่อพูดคุย ช่วยเหลือ และดูแลซึ่งกันและกัน และมีการกระทา ระหว่างกัน เช่น ช่วยเหลือดูแลเพื่อนยามที่เพื่อนป่วยไข้ ช่วยเหลือกันเรื่องการเรียน

4. มีผู้กล่าวว่า “ความสาเร็จเกือบทุกด้านของชีวิตคนเรา มาจากพื้นฐานของครอบครัว” นักเรียนมีความคิดเห็นอย่างไรต่อคาพูดดังกล่าว จงอธิบาย แนวคาตอบ เห็นด้วย เพราะครอบครัวเป็นผู้อยู่เบื้องหลังแรงผลักดันของความสาเร็จไม่ว่าจะเป็น การสั่งสอนเลี้ยงดู การให้การศึกษาในโรงเรียน การให้กาลังใจ และความรักความอบอุ่น


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 45

เฉลยกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 จุดประสงค์การเรียนรู้ วิเคราะห์และสามารถปฏิบัติตนตามหลักการจัดระเบียบทางสังคมของสถาบันทางสังคมได้ อย่างถูกต้องและเหมาะสม คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ (ข้อละ 5 คะแนน) 1. นักเรียนคิดว่านอกจากกลุ่มทางสังคมหรือองค์การทางสังคมของสถาบันทางการเมือง การปกครอง จะต้องปฏิบัติตนตามหน้าที่กฎหมายกาหนดแล้ว ควรมีคุณธรรม จริยธรรม อย่างไรบ้างในการปฏิบัติตนและปฏิบัติงาน จงอธิบาย พร้อมยกตัวอย่างประกอบ แนวคาตอบ หิริโอตตัปปะ ความละอายและเกรงกลัวต่อบาป เช่น ไม่คอร์รัปชั่น ไม่ล้มล้างการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย ทศพิธราชธรรม ธรรมของผู้ปกครองบ้านเมืองซึ่งสามารถใช้กับ ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองได้ ไม่ใช่เพียงแต่พระเจ้าแผ่นดิน ได้แก่ ให้ทาน รักษาศีล บริจาค ซื่อตรง อ่อนโยน มีความเพียร ไม่โกรธ ไม่เบียดเบียน มีความอดทน มีความเที่ยงธรรม

2. สถาบันศาสนามีบทบาทสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของนักเรียนอย่างไร จงอธิบาย พร้อมแสดงเหตุผลประกอบ แนวคาตอบ สอนหลักธรรมให้ทาความดี ละเว้นการทาชั่ว สร้างบรรทัดฐานในการปฏิบัติตนเป็นคนดี ตามหลักของศาสนาต่างๆตามที่นักเรียนแต่ละคนนับถือ เช่น ศาสนาพุทธสอนให้ทาความดี ละเว้นความชั่ว ทาจิตใจให้บริสุทธิ์


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 46

3. ในฐานะที่เป็นนักเรียนเราควรมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถาบันการศึกษาโดยปฏิบัติตน อย่างไรจึงจะสามารถพัฒนาตนเป็นคนดีและคนเก่งได้ แนวคาตอบ ตั้งใจเรียนหนังสือในห้องเรียน ศึกษาและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองผ่านทางห้องสมุด หรืออินเทอร์เน็ต ฝึกประสบการณ์การเรียนรู้รูปแบบต่างๆ ประพฤติตามคุณธรรมและจริยธรรม

4. จงร่วมกันอภิปรายถึงความสัมพันธ์เชื่อมโยงของสถาบันทางสังคมต่าง ๆ ในสังคมไทย ว่าเป็นไปในลักษณะใด โดยยกตัวอย่างเมื่อเกิดปัญหาขึ้นในสถาบันสถาบันหนึ่ง จะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงและความเจริญก้าวหน้าของสถาบันอื่น ๆ อธิบายประกอบเหตุการณ์ตัวอย่างที่เกิดขึ้นในสังคมในปัจจุบันอย่างเป็นเหตุเป็นผล พร้อมอ้างอิงแหล่งข้อมูลให้ชัดเจน แนวคาตอบ การฆ่าตัวตายของเด็กนักเรียนในช่วงใกล้สอบเข้ามหาวิทยาลัยซึ่งเป็นปัญหาระดับ ปัจเจกบุคคลนั้นส่งผลให้ครอบครัวเกิดความเศร้าโศกเสียใจที่ต้องเสียสมาชิกในครอบครัว สถาบันการศึกษาขาดบุคลากรทางการเรียน สถาบันทางเศรษฐกิจขาดแรงงานในอนาคต ที่จะขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจ อ้างอิงไทยโพสต์. (2555). สถิติพุ่งวัยรุ่นฆ่าตัวจับตาช่วงใกล้สอบ(ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://www.thaipost.net/x-cite/070912/62039 [7 กันยายน 2555]


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 47

เฉลยกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 จุดประสงค์การเรียนรู้ ตระหนักและเห็นความสาคัญความจาเป็นในการจัดระเบียบทางสังคม คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปองค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคม โดยเขียนในรูปแผนผัง

องค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคม แนวคาตอบ

โครงสร้างทางสังคม กลุ่มสังคม

สถาบันสังคม

สังคมชนบท

สถาบันครอบครัว

สังคมเมือง

สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันเศรษฐกิจ สถาบันการเมือง การปกครอง


เล่มที่ 1 โครงสร้างทางสังคม หน้า 48

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาสังคมศึกษา รหัสวิชา ส31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เล่มที่ 1 เรื่อง โครงสร้างทางสังคม

ข้อ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ก 

        


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.