HORIZON magazine vol 12

Page 1

N Vol. 3 o. 4

TECHNO ART

12 THAILAND SCIENCE PARK

Vol. 3 No. 4 Issue 12

"การแปรผกผันของสมองและการพัฒนา"

Digital Painting | 16.3 x 23.9 cm

2013 © Muscular&TheScientist


06_Special report รายงานพิเศษวาดวยกรอบคิดสากลของ อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร วิ วั ฒ นาการของ อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร ทั่ ว โลก ลํ า ดั บ ขั้ น พัฒนาการของอุทยานวิทยาศาสตร รวม ถึงระบบนิเวศอุทยานวิทยาศาสตร ขอมูล เหล า นี้ ช ว ยให เ ราเข า ใจการทํ า งานและ ความจําเปนของอุทยานวิทยาศาสตร

14_ Gen next

12 04 06 12 14 16 18 28 30 32 40 48 50

CONTENTS News review Special report Foresight society Gen next In & Out Features Smart life Social & technology Interview Vision Statistic features Global warming

18_ Features Features ฉบับนี้ พาผูอ า นยอน กลับไป ณ จุดเริม่ ตนของอุทยาน วิทยาศาสตรประเทศไทย รวม ถึงอุทยานวิทยาศาสตรภูมิภาค พัฒนาการและประโยชนที่เกิด จากการมีอุทยานวิทยาศาสตร และมองไปยังอนาคตถึงทิศทาง การพัฒนาประเทศผานกลไก อุทยานวิทยาศาสตร

Ạ§¤ §ÒÁÍÃسâªμÔ อดีตนักเรียนมัธยมปลาย ผูลุกขึ้นมาเปนกระบอกเสียงถกปญหาระบบ การศึ ก ษาไทยแทนนั ก เรี ย นมั ธ ยมปลายทั่ ว ทั้งประเทศเมื่อครั้งอดีต ในวันนี้เขากาวเขา สู ค วามเป น ผู ใ หญ แ ละอยู ใ นฐานะอาจารย แห ง มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า ธนบุรี Gen next ชวนคุยเรื่องนโยบายดาน วิทยาศาสตรของรัฐผานมุมมองเศรษฐศาสตร เจาของ สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ บรรณาธิการผูพิมพโฆษณา ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ ดร.ศรีฉัตรา ไชยวงควิลาน ที่ปรึกษา ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน ดร.ญาดา มุกดาพิทักษ รศ.ดร.ศักรินทร ภูมิรัตน รศ.ดร.ชาตรี ศรีไพพรรณ

บรรณาธิการบริหาร ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ ดร.ศรีฉัตรา ไชยวงควิลาน กองบรรณาธิการ อาศิร จิระวิทยาบุญ ณิศรา จันทรประทิน นนทวัฒน มะกรูดอินทร ดร.จักรพงศ พงศธไนศวรรย บรรณาธิการตนฉบับ วีรพงษ สุนทรฉัตราวัฒน ศิลปกรรม ณขวัญ ศรีอรุโณทัย กีรตรีพร ทับทวี

สํานักงาน ศูนยคาดการณเทคโนโลยีเอเปค สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ เลขที่ 319 อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 14 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 0 2160 5432 ตอ 308, 706, 305 อีเมล horizon@sti.or.th เว็บไซต http://www.sti.or.th/horizon

ดําเนินการผลิตโดย บริษัท เปนไท พับลิชชิ่ง จํากัด โทรศัพท 0 2736 9918 โทรสาร 0 2736 8891 อีเมล waymagazine@yahoo.com เว็บไซต waymagazine.org


The scientists of today think deeply instead of clearly. One must be sane to think clearly, but one can think deeply and be quite insane. Nikola Tesla

E DITOR’ S

VISION

ถึงทานผูต ดิ ตามนิตยสารและสมาชิกทุกทาน ทางบรรณาธิ ก ารต อ งขอแจ ง ว า เราจะป ด ระบบรับสมัครสมาชิกนับจากฉบับนีเ้ ปนตน ไป โดยทานสมาชิกที่ใหการสนับสนุนมา กอนหนานี้จะยังคงไดรับนิตยสารครบตาม ระบบและเมื่อหมดสถานภาพสมาชิกแลว ก็ จ ะยั ง ได รั บ นิ ต ยสารทุ ก ฉบั บ โดยไม ต อ ง เสียคาสมาชิกเพิ่มอีกตอไปนะคะ สวนทาน อื่นๆ ที่มีความสนใจจะรับนิตยสารแตไมมี โอกาสทันไดสมัครสมาชิก สามารถแจงความ ประสงคมาไดที่ horizon@sti.or.th อี ก ทั้ ง เรายั ง มี ก ารปรั บ ปรุ ง รู ป แบบของคอลั ม น ไ ปจากเดิ ม เริ่ ม จากฉบั บ นี้ โดยที่ทุกทานสามารถติดตอมาเพื่อพูด คุย ใหความเห็นในการเปลี่ยนแปลง และ ขอรั บ นิ ต ยสารรู ป แบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส กั บ บรรณาธิการของเราไดเชนกันคะ

Horizon ฉบั บ นี้ มี เ นื้ อ หาหลั ก คื อ อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร มี จุ ด เริ่ ม ต น จากความจํ า เป น ที่ ป ระเทศไทยจะต อ ง พัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อสงเสริมและ สนับสนุนภาคเอกชนในการพัฒนาขีดความ สามารถในการแขงขันดานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี การเชื่อมโยงระหวางภาคการ ศึ ก ษาและวิ จั ย กั บ ภาคการผลิ ต รวมทั้ ง เชื่อมโยงระหวางภาคการผลิตดวยกันเอง กอใหเกิดเปน scince park ที่เปนจุดเชื่อม ตอเพื่อการพัฒนาประเทศ ดังที่ทุกทานจะ ไดรับขอมูลเพิ่มเติมตอไป ÈÃÕ©ÑμÃÒ äªÂǧ¤ ÇÔÅÒ¹


ªÅÔÊÒ äªÂ¾Ñ²¹Ð¾Ä¡É

N

E

W

S

H5N1 vs H7N9

º¹ÊѧàÇÕ¹μ‹ÍÊÙŒÃÐËÇ‹Ò§ÊÒ¾ѹ¸Ø

ไวรัสไขหวัดใหญ H5N1หรือในชือ่ ลําลอง ‘ไขหวัดนก’ จัด เปนสายพันธุย อ ยของไวรัสไขหวัดใหญ A เริม่ ตนระบาด ติดตอจากสัตวสูคนจนทําใหมีผูเสียชีวิตที่เกาะฮองกง จํานวน 6 รายเมื่อป พ.ศ. 2540 กอนจะพบการแพร ระบาดอยางตอเนื่องนับแตน้นั ในหลายประเทศทั่วทวีป เอเชีย ทัง้ จีน ไทย เวียดนาม อินโดนีเซีย และอียปิ ต ถึง แมในชวง 3 ปทผ่ี า นมา (ป พ.ศ. 2553 จนถึงปจจุบนั ) ประเทศไทยจะไมพบรายงานผูป ว ยหรือผูเ สียชีวติ จากการ แพรระบาดของไวรัสไขหวัดนก H5N1 แตในประเทศอืน่ ๆ อาทิ กัมพูชา จีน เวียดนาม และอียิปต ยังคงมีรายงาน ผูปวยและผูเสียชีวิตอยางตอเนื่อง ในป พ.ศ. 2556 โลกไดพบไวรัสไขหวัดใหญ สายพันธุใหม H7N9 ที่เริ่มแพรระบาดในประเทศจีน องคการอนามัยโลก (World Health Organisation, WHO) ประกาศเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2556 ถึงขอ สันนิษฐานจากการชันสูตรผูเ สียชีวติ ทีต่ ดิ เชือ้ ชาวเซีย่ งไฮ วา “โดยปกติสญ ั ญาณการแพรระบาดของไขหวัดนก H5 N1จะมีสัตวปกปวยตายกอนจึงจะมีการติดตอมายังคน แตสัญญาณแพรระบาดของไขหวัดใหญ H7N9 ไมพบ สัตวปกที่แสดงอาการปวย ดังนั้นเชื้อไวรัสไขหวัดใหญ สายพันธุ H7N9 อาจมีการติดตอจากคนสูคนได” อย า งไรก็ ต าม จากการเฝ า สั ง เกตผู ที่ ใ กล ชิ ด รวมทัง้ บุคลากรทางการแพทยทดี่ แู ลผูป ว ยก็ยงั ไมพบผูท ี่ ติดเชื้อไวรัส จึงกลาวไดวา ณ ขณะนี้ ยังไมพบสัญญาณ จากการติ ด เชื้ อ ไวรั ส จากคนสู ค นที่ ชั ด เจน เชื้ อ ไวรั ส : 4

H7N9 นี้จะตรวจพบในสัตวปก ไดแก ไก เปด นกพิราบ โดยเฉพาะอยางยิ่งในตลาดคานกเซี่ยงไฮ เจียงซู อันฮุย และเจอเจียง ตลอดจนพบในสัตวเลี้ยงลูกดวยนมอื่นๆ เชน หมู ที่อาจจะติดเชื้อนี้ไดโดยเชื้อไวรัส H7N9 นี้ จะ ไมกอใหเกิดอาการปวยรุนแรงในสัตวปก แตมีศักยภาพ ในการติดตอจากสัตวมาสูคนไดมากกวาเชื้อไวรัสสาย พันธุอื่น สวนของการรักษา เชื้อไวรัส H7N9 มีความ ไวตอยา Oseltamivir และ Zanamivir แตจะดื้อยา Amantidine และ Rimantanidine เรามาทําความรูจักกับเชื้อไวรัสไขหวัดใหญให มากขึ้นเสียหนอยวามี H5N1 ก็แลว H7N9 ก็แลว แลว ตอไปจะมีไวรัสอะไรตอไปอีก จะมีสายพันธุใ หมๆ ทุกป เหมือนรุนโทรศัพทมือถือที่ออกใหมๆ ทุกปหรือไม แลว H กับ N นั้นยอมาจากอะไร เชื้อไวรัสไขหวัดใหญสามารถพบไดทั่วโลกใน ประเทศแถบอบอุน ไขหวัดใหญเปนโรคที่เกิดขึ้นในฤดู หนาว ในประเทศแถบซีกโลกเหนือจะพบการระบาดได ในชวงระหวางเดือนพฤศจิกายนถึงเมษายน ในประเทศ แถบซีกโลกใตจะพบการระบาดในชวงระหวางเดือน พฤษภาคมถึงตุลาคม แตประเทศในเขตรอนการระบาด ของโรคไขหวัดใหญตามฤดูกาลจะไมชดั เจน โดยอาจพบ ไขหวัดใหญระบาดไดตลอดป เชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ (Influenza) มี 3 ชนิด Influenza A, B และ C โดยเชื้อไวรัส Influenza B และ


R

E

V

I

E

W

·ÕèÁÒÀÒ¾: Centers for Disease Control and Prevention, National Center for Immunization and Respiratory Disease, World Health Organization.

C นั้นเปนเชื้อที่กอใหเกิดโรคเฉพาะในคน ไมมีการแพร ระบาดไปทัว่ โลก จึงไมรนุ แรงเหมือนไวรัสชนิด A ซึง่ ไวรัส ชนิด A นีม้ ชี นิดประเภทแยกยอยไปตามโปรตีนของไวรัส ที่เรียกวา Hemagglutinin (H) ซึ่งมีความแตกตางกัน มากถึง 15 ชนิด และ Neuraminidase (N) ซึ่งมีความ แตกตางมากถึง 9 ชนิด จึงเปนทีม่ าของการเรียกชือ่ ไวรัส ไขหวัดใหญตามตัวเลข ดังเชน H5N1 หรือ H7N9 ในช ว งศตวรรษที่ ผ า นมามี ก ารระบาดของไข หวัดใหญทั่วโลกหลายครั้ง มีทั้งการระบาดในทองถิ่น

(Endemic) ที่มักจะเกิดทุก 1-3 ป และการระบาดใหญ ทัว่ โลก (Pandemics) ซึง่ จะพบทุก 10-40 ป จากสาเหตุ ที่เชื้อมี Antigenic Shift และมีการผสมกันของไวรัสใน คนและในสัตวหลายชนิด กอใหเกิดไวรัสไขหวัดใหญสาย พันธุใหมที่จะแพรระบาดไปอยางรวดเร็ว เนื่องจากยัง ไมมีมนุษยยังไมมีภูมิคุมกัน ตัวอยางของเชือ้ ไวรัสทีพ่ บในสุกร สัตวปก มนุษย มา แมวน้าํ และเชือ้ ทีแ่ พรระบาดระหวางสัตวสสู ตั ว และ สัตวสูคน แสดงไดดังภาพดานบน

·ÕèÁÒ: ¡ÃÁ¤Çº¤ØÁâä ¡ÃзÃǧÊÒ¸ÒóÊØ¢ ³ Çѹ·Õè 17 àÁÉÒ¹ 2556 Centers for Disease Control and Prevention, National Center for Immunization and Respiratory Disease, World Health Organization. http://www.cdc.gov/flu/avianflu/h7n9-virus.htm ·‹Ò¹ÊÒÁÒöμÔ´μÒÁʶҹ¡Òó âä䢌ËÇÑ´¹¡áÅТŒÍ¤ÇÃÃÐÇѧáÅл¯ÔºÑμÔμ‹Ò§æ ä´Œ¨Ò¡ ¡ÃÁ¤Çº¤ØÁâä ¡ÃзÃǧÊÒ¸ÒóÊØ¢ http://www.ddc.moph.go.th 5 :


S PECIAL REPORT à͡͹§¤ á»Å¡Ê¡ØÅ

ÍØ·ÂÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒÊμà »ÃÐà·Èä·Â Êҹѡ§Ò¹¾Ñ²¹ÒÇÔ·ÂÒÈÒÊμà áÅÐà·¤â¹âÅÂÕáË‹§ªÒμÔ

The Evolution and Ecosystems of

SCIENCE PARKS ปจจุบันสังคมเศรษฐกิจโลกถูกขับเคลื่อนดวยองคความรูและนวัตกรรม กิจกรรม วิจัยพัฒนาและนวัตกรรมเปนปจจัยสําคัญที่ชวยเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน สรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคา และสรางรายไดเพิ่มใหกับภาคธุรกิจและบริการ ‘อุทยาน วิทยาศาสตร’ หรือ ‘นิคมวิจยั ’ เปนเครือ่ งมือทางนโยบายและกลไกสําคัญทีช่ ว ยสนับสนุน ภาคเอกชนในการลงทุนทําวิจัยและพัฒนาเพื่อนําพาประเทศไปสูระบบเศรษฐกิจที่วัดกัน ดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมๆ อุทยานวิทยาศาสตรจัดตั้งขึ้นมาก็เพื่ออํานวยความสะดวกผูประกอบการใน การวิจัยและพัฒนา โดยใหบริการสถานที่ สิ่งอํานวยความสะดวก และเครื่องมือ วิทยาศาสตรตางๆ ใหสามารถเริ่มตนทําวิจัยพัฒนาและกิจกรรมนวัตกรรมไดเร็วขึ้น เสี่ยงนอยลง ตนทุนรวมนอยลง และสรางมูลคาเพิ่มไดเร็วขึ้น นอกจากนั้น อุทยานวิทยาศาสตรยังชวยสนับสนุนและสงเสริมการเกิดธุรกิจ ใหมที่อาศัยเทคโนโลยีเปนปจจัยหลัก โดยผานกระบวนการบมเพาะธุรกิจเทคโนโลยี หรือการ Spin-off หนวยงานใหมแยกออกจากหนวยงานเดิม อีกทั้งยังเปนตัวกลาง สําคัญในการเชือ่ มโยงหนวยงานตางๆ ในการรวมมือกันทํางานวิจยั และพัฒนา กระตุน ใหเกิดความรวมมือดานการวิจยั และพัฒนาระหวางภาคเอกชน ภาครัฐ และภาคการ ศึกษา ในลักษณะ Public Private Partnership หรือที่เรียกกันวา PPP ดวยกลไก การสงเสริมตางๆ เชน การรวมวิจยั การรับจางวิจยั การถายทอดเทคโนโลยี การแลก เปลี่ยนความรู การรวมพัฒนาผลงานวิจัยไปสูเชิงพาณิชย เปนตน

: 6


วิวัฒนาการ ของอุทยานวิทยาศาสตร Stanford Research Park ถือไดวาเปนอุทยาน วิ ท ยาศาสตร แ ห ง แรกของโลกเกิ ด ขึ้ น ในช ว งป ค.ศ. 1950s ทีป่ ระเทศสหรัฐอเมริกา ตอมาพืน้ ทีบ่ ริเวณนีไ้ ด ถูกพัฒนาจนเปนทีร่ จู กั กันในนามของ Silicon Valley ซึง่ มีความรวมมือดานการวิจัยพัฒนาอยางเขมขนระหวาง ผูประกอบการกับมหาวิทยาลัยในการพัฒนางานวิจัยสู เชิงพาณิชย โดยเฉพาะอยางยิ่งบัณฑิตและนักวิจัยของ มหาวิทยาลัย อีกหนึ่งอุทยานวิทยาศาสตรที่เกาแกและมีชื่อ เสียงของประเทศสหรัฐอเมริกา คือ Research Triangle Park (RTP) ในมลรัฐ North Carolina ตั้งขึ้นในชวง ปลาย ค.ศ. 1950s อยูทามกลาง 3 มหาวิทยาลัย คือ Duke University, North Carolina State University, และ University of North Carolina (Chapel Hill) อุทยานวิทยาศาสตรในยุคนี้มีแรงผลักดันมาจากความ ต อ งการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และความเจริ ญ ของท อ ง

ถิ่น โดยใชมหาวิทยาลัยเปนฐานในการพัฒนาและใช ความรวมมือระหวางภาครัฐ ภาคการศึกษา และภาค ธุร กิจ เปนเครื่องมือสําคัญในการขับเคลื่อนอุทยาน วิทยาศาสตร อุทยานวิทยาศาสตรมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นเปน ลําดับและกระจายไปทัว่ โลก ในชวงป ค.ศ. 1960s และ 1970s เริ่มมีอุทยานวิทยาศาสตรในทวีปยุโรป เชน Sophia Antipolis (ประเทศฝรั่งเศส) และ Cambridge Science Park (ประเทศอังกฤษ) ตอมาในชวงป ค.ศ. 1980s เริม่ มีอทุ ยานวิทยาศาสตรในประเทศแถบเอเชีย เชน Tsukuba Science Park (ประเทศญีป่ นุ ) Hsinchu Science Park (ประเทศไตหวัน) และ Singapore Science Park (ประเทศสิงคโปร) ประเทศจีนเริ่มมี อุทยานวิทยาศาสตรในชวงป ค.ศ. 2000s และเพิ่ม จํานวนขึ้นเร็วมากประมาณ 50 แหงในปจจุบัน ทุก วันนี้มีอุทยานวิทยาศาสตรอยูในทุกทวีปและเกือบทุก ประเทศ จํานวนกวา 400 แหง วิ วั ฒ นาการของแนวคิ ด การพั ฒ นาอุ ท ยาน วิทยาศาสตรกวาครึ่งศตวรรตที่ผานมาแบงได 3 รูป แบบดังนี้

• First Generation Science Parks ใชแนวคิด ‘Science Push’ เกิดขึ้นจากการจัดตั้งหนวยงานที่แยกออกมา จากมหาวิทยาลัยและ/หรือสถาบันวิจัย อยูบนพื้นที่เดียวกันหรือพื้นที่ใกลเคียงกัน มี วัตถุประสงคหลักเพื่อการถายทอดเทคโนโลยีไปสูภาคเอกชน และพัฒนาผลงานวิจัย พัฒนาออกสูเชิงพาณิชย จึงอาจเรียกวาเปนอุทยานวิจัย (University Research Park หรือ Research-based science Park) และมักอยูภายใตการกํากับดูแลของหนวย งานที่จัดตั้ง

• Second Generation Science Parks ใชแนวคิด ‘Market-pull’ เกิดขึ้นจากความตองการใหมีการเชื่อมโยงระหวาง วิทยาศาสตรและเศรษฐกิจ อุทยานวิทยาศาสตรรุนที่สองนี้ยังคงเปนสวนหนึ่งของ มหาวิทยาลัยหรือสถาบันวิจัยที่จัดตั้ง แตดําเนินงานแบบหนวยธุรกิจและมีรูปแบบ การบริหารจัดการที่เปนอิสระ สิ่งสําคัญในการขับเคลื่อนการดําเนินงานของอุทยาน วิทยาศาสตรรุนที่สองนี้มาจากภาคธุรกิจ (Market-driven) โดยเฉพาะการเติบโตของ บริษทั ธุรกิจวิทยาศาสตรและการสรางผูป ระกอบการนวัตกรรมใหม เนนการตอบสนอง ตอความตองการของภาคธุรกิจ โดยการใหบริการสิ่งอํานวยความสะดวกในการวิจัย พัฒนาทีม่ คี ณ ุ ภาพสูง และบริการทีม่ มี ลู คาเพิม่ (Value-added Services) เพือ่ การบมเพาะ 7 :


ธุรกิจเทคโนโลยี การแยกหนวยงานใหม หรือ Spin-off ไปจนถึงการสนับสนุนและ สงเสริมการเติบโตทางธุรกิจเทคโนโลยี และการพัฒนานวัตกรรมของบริษทั ทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ และดําเนินการอยูแลว Cambridge Science Park เปนตัวอยางหนึ่งของวิวัฒนาการของอุทยาน วิทยาศาสตรจากรุนที่หนึ่งไปสูรุนที่สอง โดยในยุคแรก Cambridge Science Park นั้น อยูติดกับมหาวิทยาลัย ตอมาเมื่อมีการเชื่อมโยง และทํางานรวมกันมากขึน้ ระหวางมหาวิทยาลัยกับภาค ธุรกิจในการพัฒนาเทคโนโลยีสูตลาด จึงคอยๆ เริ่มมี หนวยงานหรือบริษทั จัดตัง้ ใหม (Start-ups) และหนวย งานที่แยกตัวออกมา (Spin-off) จากมหาวิทยาลัยเพิ่ม มากขึ้น หนวยงานและบริษัทที่ใชเทคโนโลยีเปนฐาน ในการทํ า ธุ ร กิ จ เหล า นี้ ก ระจายอยู ร อบๆ บริ เ วณ มหาวิทยาลัยและเมือง Cambridge และขยายขอบเขต กวางขึน้ เรือ่ ยๆ จนในชวงปลายป ค.ศ. 1980s เกิดเปน ปรากฏการณที่เรียกวา ‘Cambridge Phenomenon’ ซึ่งหมายถึงการเกิดบริษัทเทคโนโลยีใหม จํานวนมาก ในพื้นที่ ซึ่งเดิมมีเพียงอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสที่ ใชเทคโนโลยีระดับต่ํา ใชเครื่องมือ เครื่องจักร แรงงาน และเงินทุนนอย บริษัทที่อยู ในบริเวณนี้มักจะมีขนาดเล็กและทําธุรกิจที่มีความเขมขนของการวิจัยพัฒนาสูงมาก ในป ค.ศ. 2006 มีรายงานวา มีบริษัทเทคโนโลยีใหมกวา 250 บริษัท ที่มี ความเชื่อมโยงโดยตรงกับมหาวิทยาลัย Cambridge ซึ่งสรางมูลคาทางเศรษฐกิจสูง ถึงประมาณ 6 ลานลานเหรียญสหรัฐ ในปจจุบนั มีบริษทั เทคโนโลยีใหมในบริเวณเมือง Cambridge นี้กวา 3,000 บริษัท

Cambridge Science Park

·ÕèÁÒÀÒ¾ cambridgesciencepark.co.uk

• Third Generation Science Parks ใชแนวคิด ‘Cluster-oriented Interactive Innovation’ โดยอุทยานวิทยาศาสตรได รับการยอมรับวาเปนสวนหนึ่งของโครงสรางพื้นฐานที่สนับสนุนการเจริญเติบโตของกลุม คลัสเตอรวิจัยเขมขน (Research Intensive Clusters) มักตั้งอยูหรือใกลกับเมือง เพื่อ พัฒนาเศรษฐกิจและความเจริญมั่งคั่งของชุมชน สงเสริมการเชื่อมโยงระหวางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี อุตสาหกรรม และรัฐบาล (Science-Industry-Government) ทั้งในระดับ ทองถิ่น ระดับภูมิภาค และระดับประเทศ รวมทั้งสงเสริมการสรางวัฒนธรรมผูประกอบการ (Entrepreneurial Culture) ขึ้นในพื้นที่นั้นๆ อุทยานวิทยาศาสตรรุนที่สามนี้ บริหารจัดการ แบบความรวมมือภาครัฐและภาคเอกชน (Public-private Partnerships) มีการตกลง ตัดสินใจเชิงกลยุทธรวมกันระหวางรัฐและเอกชน และมีการบริหารงานแบบเอกชนโดย นักบริหารมืออาชีพ สองตัวอยางของ 3rd Generation Science Park คือ (1) Hong Kong Science Park ซึ่งมุงเนนคลัสเตอรเทคโนโลยี 5 กลุมคือ เทคโนโลยีชีวภาพ อิเล็กทรอนิกส เทคโนโลยี สีเขียว เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และ วิศวกรรมเครื่องมือวัด (2) Cyberport Hong Kong คือกลุมคลัสเตอรของผูผลิต Digital Content เปนเจาของและบริหารงานโดย Hong Kong Cyberport Management Company Limited ซึ่งเปนบริษัทของ Hong : 8


Kong SAR Government สําหรับอุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย หรือ Thailand Science Park ซึง่ เปนอุทยานวิทยาศาสตรแหงแรกและแหงเดียวของประเทศทีเ่ ปดดําเนินการ เต็มรูปแบบเมื่อป พ.ศ. 2545 มีลักษณะเปน Research-based Science Park ที่มีหนวยงานวิจัยของรัฐและบริษัทวิจัยพัฒนาของเอกชนอยูในพื้นที่ มี บริการโครงสรางพืน้ ฐานสําหรับการวิจยั พัฒนา รวมทัง้ โรงงานตนแบบ มีบริการ สนับสนุนเพือ่ กระตุน การพัฒนาธุรกิจเทคโนโลยี และอยูภ ายใตการบริหารงาน ของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) ในป พ.ศ. 2557 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทยจะเริ่มพัฒนากลุม นวัตกรรมมุงเนน หรือ ‘Focused Innovation Clusters’ สองกลุมคือ อาหาร และอาหารสัตว และ อิเล็กทรอนิกสและชิ้นสวนในยานยนต เพื่อใหเปน ศูนยกลางนวัตกรรม (Innovation Hub) สําหรับสองกลุมอุตสาหกรรมนี้ สําหรับอุทยานวิทยาศาสตรภูมิภาคในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ และภาคใต เริม่ ดําเนินการมาแลวตัง้ แตป พ.ศ. 2550 มีมหาวิทยาลัย เชียงใหม มหาวิทยาลัยขอนแกน และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เปนแกน หลักในการดําเนินงานรวมกับเครือขายมหาวิทยาลัยในพื้นที่ โดยยังไมมีการ ลงทุนโครงสรางพื้นฐาน แตไดทํางานเชื่อมโยงระหวางมหาวิทยาลัยกับภาค อุตสาหกรรมในพื้นที่ ถายทอดเทคโนโลยีของมหาวิทยาลัยไปสูภาคเอกชน และนําผลงานวิจัยออกสูเชิงพาณิชย รวมทั้งสรางผูประกอบการธุร กิจเทคโนโลยีใหม ซึ่งคาดวาจะเริ่ม กอสรางโครงสรางพื้นฐานและสิ่งอํานวยตวามสะดวกสําหรับการวิจัยพัฒนา ของภาคเอกชน ในป พ.ศ. 2557 เปนตนไป โดยแตละแหงไดระบุกลุม อุตสาหกรรมมุงเนนไวดังนี้ คือ อุทยานวิทยาศาสตรภาคเหนือ เนนอุตสาหกรรมในหวงโซคุณคาของ พืช ผัก ผลไม สมุนไพรเมืองเหนือ และขาว (ตั้งแตพันธุไปจนถึงแปรรูป) และ อุตสาหกรรม IT Software และ Digital Content (เชื่อมโยงอุตสาหกรรม การผลิต หัตถอุตสาหกรรม การทองเที่ยว และอุตสาหกรรมออกแบบและ สรางสรรค) อุทยานวิทยาศาสตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนนอุตสาหกรรมใน หวงโซคุณคาของ ขาว มันสําปะหลัง ออย สุกร และไก และอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกสและสารสนเทศ (Hard disk, Enterprise Software และ Embedded Software) อุทยานวิทยาศาสตรภาคใต เนนอุตสาหกรรมยางพาราครบวงจร อุตสาหกรรมปาลมน้ํามัน และอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่มีศักยภาพ เชน สมุนไพร และเครื่องสําอาง อุตสาหกรรมชีวการแพทย พลังงานทดแทน การพัฒนาอุทยานวิทยาศาสตรในประเทศไทยนั้น นอกจากอุทยาน วิ ท ยาศาสตร ที่ ริ เ ริ่ ม โดยภาครั ฐ และสถาบั น การศึ ก ษาแล ว ขณะนี้ นิ ค ม อุตสาหกรรมอมตะไดเริ่มพัฒนา ‘เมืองวิทยาศาสตรอมตะ’ หรือ Amata Science City อีกดวย ซึ่งจะเปนอีกรูปแบบหนึ่งของอุทยานวิทยาศาสตรที่ ใชเอกชนนําและดึงภาครัฐ สถาบันวิจัย และสถาบันการศึกษาเขามีสวนรวม ในการพัฒนา อาจกลาวไดวานี่เปนตัวอยางหนึ่งของความรวมมือแบบรัฐและ เอกชน (Public-private Partnership) ที่กําลังเกิดขึ้นในประเทศไทย

Hong Kong Science Park

Cyberport Hong Kong

·ÕèÁÒÀÒ¾ wikipedia.org

9 :


ระบบนิเวศอุทยานวิทยาศาสตร (Science Park Ecosystems) อุทยานวิทยาศาสตรถอื ไดวา เปนกลไกสนับสนุนและสงเสริมการทํางาน รวมกันระหวางบริษัท/หนวยงานเอกชนที่ดําเนินกิจกรรมวิจัยพัฒนา กับหนวย งานรัฐ สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย ตลอดจนผูกําหนดนโยบาย ผูสนับสนุน และสงเสริมสิทธิประโยชนและสรางแรงจูงใจ (เชน สิทธิประโยชนทางการเงิน ภาษี เปนตน) เพื่อนําไปสูการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของภาคการ ผลิตและการบริการ ความสัมพันธของอุทยานวิทยาศาสตรกับหนวยงานที่เกี่ยวของเหลานี้ เรียกวา ระบบนิเวศอุทยานวิทยาศาสตร (Science Park Ecosystem) ซึ่งมี องคประกอบสําคัญดังนี้ คือ (1) การพัฒนาเทคโนโลยีเชิงพาณิชย (Technology Commercialization) (2) โครงสรางพื้นฐานสําหรับการวิจัยและพัฒนา (R&D infrastructure) (3) ผูประกอบการใหม (Entrepreneur/entrepreneurships) (4) เครือขายมืออาชีพ (Professional Network) (5) ความรวมมือรัฐและ เอกชน (Public-private Partnership) (6) การสะสมทุนและการลงทุน (Capital Formation and Investment) (7) แรงงาน (Workforce) และ (8) บรรยากาศ ธุรกิจ (Business Climate) นอกจากองคประกอบเหลานี้แลว ระบบนิเวศอุทยานวิทยาศาสตรจะมี ความสมบูรณจาํ เปนตองไดรบั การสงเสริมจาก (1) นโยบายนวัตกรรมและกลไก สนับสนุนตางๆ ที่เอื้อตอการทํานวัตกรรม (Innovation Policy and Support Systems) (2) การบริหารจัดการอุทยานวิทยาศาสตร (Management) (3) การ ประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของอุทยานวิทยาศาสตร (Economic and Social Impact analyses) และ (4) การวางแผนเชิงกลยุทธของอุทยาน วิทยาศาสตร (Strategic Planning)

Workforce

Business Climate

Technology Commercialization

Capital Formation & Investment

Science Park

R&D Infrastructure

Public-privare Partnership

Professional Network

Enterpreneurs / Enterpreneurships

Management

Strategic Planning

Innovation Policy and Support Programs

Economic and Social Impact Analyses

: 10

Ãкº¹Ô ÂÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒÊμà KnowleàÇÈÍØ dge·Ecosystems, RTI)(´Ñ´á»Å§¨Ò¡ Building


บทสรุป ในระบบนิเวศอุทยานวิทยาศาสตร อุทยานวิทยาศาสตรทํา หนาทีเ่ ปนตัวกลางเชือ่ มโยงองคความรูท างดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวั ต กรรมจากสถาบั นวิ จั ย และ/หรื อ สถาบั น การศึ ก ษาไปสู ผูป ระกอบการภาคเอกชน โดยผานกลไกในการใหบริการดานโครงสราง พื้นฐานและสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับการดําเนินงานวิจัยและ พัฒนา เชน หองปฏิบตั กิ าร เครือ่ งมือวิจยั เพือ่ สนับสนุนผูป ระกอบการ ในอุทยานวิทยาศาสตรใหดาํ เนินกิจกรรม วิจยั และพัฒนา การออกแบบ และวิศวกรรม ตลอดกระบวนการพัฒนานวัตกรรม ตั้งแตการทดสอบ แนวคิด (Proof of Concept) การสรางผลิตภัณฑตน แบบเพือ่ ใชทดสอบ ตลาด (Rapid Prototyping) การทดลองผลิตระดับอุตสาหกรรม (Pilot Production) ไปจนถึงการเตรียมความพรอมผลิตเพื่อการคา (Mass Production) แมวา อุทยานวิทยาศาสตรในประเทศไทยจะมีววิ ฒ ั นาการมาแลว มากกวา 10 ป มีอุทยานวิทยาศาสตรที่ดําเนินงานโดยหนวยงานวิจัย ของรัฐ กําลังจะมีอุทยานวิทยาศาสตรของมหาวิทยาลัย และอุทยาน วิทยาศาสตรโดยภาคเอกชนในอนาคตอันใกล แตการพัฒนาอุทยาน วิทยาศาสตรของเราก็ยังถือวาอยูในยุคเริ่มตน การดํ า เนิ น กิ จ การอุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร ข องไทยให บ รรลุ ผ ล และใช อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร เ ป น เครื่ อ งมื อ สํ า คั ญ ในการพั ฒ นาขี ด ความสามารถในการแขงขันของประเทศ จําเปนตองมีนโยบายดาน วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) มาตรการและกลไก สนับสนุนและสงเสริมในดานตางๆ ทีเ่ อือ้ ตอการทําธุรกิจฐานเทคโนโลยี ไดแก นโยบายดานการแลกเปลี่ยนบุคลากรดาน วทน. ระหวางภาค รัฐและภาคเอกชนที่คลองตัว การคุมครองทรัพยสินทางปญญาและ กฎหมายที่เกี่ยวของ การสนับสนุนดานการเงินเพื่อลดความเสี่ยงทาง ธุรกิจเทคโนโลยีในรูปแบบเงินใหเปลาและรูปแบบของธุรกิจเงินรวม ลงทุน (Venture Capital) แหลงทุนเริ่มตนธุรกิจ (Seed Fund) สําหรับบริษทั ธุรกิจเทคโนโลยีใหมเพือ่ ใหกา วขามไปสูน วัตกรรม เชิงพาณิชย สิทธิประโยชนทางภาษีสําหรับผูประกอบการที่ดําเนินการ วิจัยและพัฒนาในอุทยานวิทยาศาสตร รวมทั้งการพัฒนากําลังคน ดาน วทน. เพื่อใหสามารถตอบสนองตอความตองการของภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรม นโยบาย มาตรการ และกลไกตางๆ ที่กลาวมาขางตนเหลา นี้ สวนมากมีหนวยงานรับผิดชอบโดยตรงอยูแ ลว สิง่ ทีจ่ าํ เปนตองทําให เกิดขึ้นคือการประสานงานและเชื่อมโยงการทํางานระหวางหนวยงาน ตางๆ เพือ่ ใหเกิดระบบทีเ่ อือ้ ตอการดําเนินงานของอุทยานวิทยาศาสตร สําหรับสิ่งที่ยังไมมีผูรับผิดชอบโดยตรงนั้น สํานักงานเลขานุการคณะ กรรมการสงเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร (สอว.) จะทําหนาที่ ประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของตอไป เพื่อการสนับสนุนและสง เสริมการพัฒนาอุทยานวิทยาศาสตรของประเทศอยางเปนระบบ ซึ่ง นั่นก็คือการสรางระบบนิเวศนอุทยานวิทยาศาสตรที่เหมาะสมขึ้นใน ประเทศไทยนั่นเอง

ที่มา • ยุทธศาสตรการพัฒนาอุทยาน วิทยาศาสตรของประเทศ (พ.ศ. 2556 – 2560) โดย สํานักงานเลขานุการคณะ กรรมการสงเสริมกิจการอุทยาน วิทยาศาสตร • Regional Research Intensive Clusters and Science Parks, EUROPEAN COMMISSION http://ec.europa.eu/research/ regions/documents/ publications/sc_park.pdf • Building Knowledge Ecosystem, RTI International www.rti.org/brochures/rti_ knowledgeecosystems.pdf 11 :


FORESIGHT S OCIETY ÈÃÕ©ÑμÃÒ äªÂǧ¤ ÇÔÅÒ¹

Integrated Foresight for Sustainable Economic Development and Eco-Resilience in ASEAN Countries

ศูนยคาดการณเทคโนโลยีเอเปค (ศูนยเอเปคฯ) อยู ภาพอนาคตในระดับอาเซียน ระหวางดําเนินโครงการคาดการณภาพอนาคตของการ ภายใตโครงการนี้ ศูนยเอเปคฯ ไดจัดประชุมเชิง พั ฒนาเศรษฐกิ จ ที่ ยั่ ง ยื น ในบริ บ ทประเทศประชาคม ปฏิบัติการเพื่อจัดทําภาพอนาคตมาแลว 3 ครั้ง ไดแก อาเซี ย นภายใต หั ว ข อ ‘Integrated Foresight for Sustainable Economic Development and EcoResilience in ASEAN Countries’ โดยไดรับการ สนับสนุนจาก Rockefeller Foundation ในการดําเนิน กิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารเพือ่ ระดมความคิดเห็น ผูเ กีย่ วของเพือ่ สรางภาพอนาคต ศูนยเอเปคฯ ไดจดั การ ประชุมเชิงปฏิบัติเพื่อเนนการพิจารณาในประเด็นหลัก ประเทศไทยเป น ประเทศที่ มี ท รั พ ยากรด า น ทีท่ า ทายสําหรับอนาคต 3 หัวขอ ไดแก พลังงาน อาหาร พลังงานจํากัด จึงตองพึ่งพาการนําเขาพลังงานอยาง และน้ํา กิจกรรมในการดําเนินงานเริม่ ตนจากการคัดเลือก มาก ความกังวลถึงความมั่นคงดานพลังงานจึงเปน เชิญผูม สี ว นไดสว นเสียทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และ NGO แรงผลักดันสําคัญในการพิจารณาแนวโนมและความ มาระดมความเห็นเพื่อระบุแนวโนมที่เปนแรงผลักดัน ไมแนนอนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จากการระดมสมอง ในประเด็นทีก่ าํ ลังพิจารณาอยู ระบุความไมแนนอนของ พบวาอุปสรรคที่เกิดขึ้นสวนใหญมาจากนโยบายและ ปจจัยหรือเหตุการณที่จะเกิดขึ้นไดในอนาคต ชวงเวลา การสนับสนุนของรัฐทีเ่ หมาะสมเพือ่ พิจารณาการจัดหา 10 ปขางหนา เพื่อกําหนดประเด็นหลักของโครงเรื่อง และใชพลังงานที่จะสรางผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

1

ประเทศไทย

: 12


เศรษฐกิจ และการยอมรับจากสังคม โดยความไมแนนอนหลัก คือความตอเนื่องของนโยบายรัฐบาล ในขณะที่ทางแกไข ปญหาคือการทําความเขาใจกับสังคมและเนนการสนับสนุน ผูผลิตพลังงานรายยอย ดังนั้น ความไมแนนอนของโครง เรื่องภาพอนาคตดานพลังงานของประเทศไทยจะอยูที่ การพัฒนาดานเทคโนโลยีควบคูไปกับการขับเคลื่อนดาน นโยบายไปสูการปฏิบัติอยางแทจริง

2

3

ประเทศเวียดนาม

ประเทศเวี ย ดนามให ค วามสํ า คั ญ กั บ การ ใช พ ลั ง งานอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและความไม มี เสถียรภาพในการจัดการอุปสงคและอุปทานดาน พลังงาน อีกทั้งยังคํานึงถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศเปนปจจัยในการกําหนดภาพอนาคตดาน พลังงานเหมือนกับประเทศอินโดนีเซียดวย

ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศอิ น โดนี เ ซี ย เป น ประเทศที่ มี ท รั พ ยากร พลังงานเพียงพอจนสามารถสงออกได อยางไรก็ตาม เพื่อ รองรับกับความตองการพลังงานที่มีมากขึ้นในการพัฒนา ประเทศ ทําใหรัฐบาลเนนการใชนโยบายสนับสนุนดาน ราคาที่ทําใหราคาพลังงานบิดเบือนจากความเปนจริง กอ ใหเกิดความไมตระหนักในการใชพลังงาน จนสงผลกระทบ ถึงสิ่งแวดลอม รวมทั้งขาดการพัฒนาพลังงานทางเลือกที่ ชัดเจน ดังนัน้ ความไมแนอนของโครงเรือ่ งภาพอนาคตดาน พลังงานของอินโดนีเซียจึงอยูที่ความชัดเจนในการพัฒนา นโยบายพลังงานทางเลือกจากรัฐบาลและผลกระทบทาง ดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

จากการระดมความเห็นจากทั้ง 3 ประเทศ นี้ ทําใหเขาถึงขอมูลและความคิดเห็นทีม่ ตี อ ประเด็น นั้นๆ ในเชิงลึก สามารถระบุถึงอุปสรรคและปญหา จากภาคสวนตางๆ โดยตรงไดระดับหนึ่ง การได พิจารณาถึงปจจัยทุกอยางไดครบถวนจะสามารถใช วางแผนเชิงกลยุทธเพือ่ ขยายผลสิง่ ทีพ่ งึ ประสงคและ ปองกันสิ่งที่ไมพึงประสงคมิใหเกิดขึ้นได ศูนยเอเปคฯ จะจัดประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารครัง้ ที่ 4 (เปนครั้งสุดทายของโครงการฯนี้) ในชวงเดือน สิงหาคม 2556 เพือ่ สรุปผลการดําเนินงานทีผ่ า นมา ใหแกผเู ชีย่ วชาญดานนโยบายจากประเทศในสมาชิก อาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ตอไป 13 :


GEN NEXT

àÃ×èͧ: ÈØ·¸ÇÕà μѹμÔÇ§È ªÑ ÀÒ¾: ͹ت ¹μÁØμÔ

Ạ§¤ §ÒÁÍÃسâªμÔ

Í´Õμ¹Ñ¡àÃÕ¹ÁѸÂÁ»ÅÒ ¼ÙŒÅØ¡ ¢Öé¹ÁÒ¶¡»˜ÞËÒÃкº¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ ä·Âá·¹¹Ñ¡àÃÕ¹ÁѸÂÁ»ÅÒ·ÑèÇ »ÃÐà·È ã¹Çѹ¹Õàé ¢Ò¡ŒÒÇࢌÒÊÙ¤‹ ÇÒÁ ໚¹¼ÙŒãËÞ‹áÅÐÍÂÙ‹ã¹°Ò¹ÐÍÒ¨ÒàáË‹ § ÁËÒÇÔ · ÂÒÅÑ Â à·¤â¹âÅÂÕ ¾ÃШÍÁà¡ÅŒÒ¸¹ºØÃÕ กระแสสั ง คมในช ว งป ที่ ผ า นมาได พู ด ถึ ง นโยบายประชา นิ ย มอย า งกว า งขวางและหลาก หลายประเด็น แตมีประเด็นสําคัญ ประเด็ น หนึ่ ง ที่ มี ก ารถกเถี ย งกั น อยางมาก เหตุใดรัฐถึงไมทุมเทให กับโครงการทางวิทยาศาสตรเทากับ โครงการดานอื่น

ขาสองข ้ า งของการพั ฒ นา : 14


“ผมไมคิดวาเราไดสิทธินอยนะครับ มันมีงาน วิจัยและพัฒนาที่สงเสริมในรูปของโครงสรางภาษี หรือ เรียกวาแรงจูงใจทางภาษี ซึ่งในกรณีนี้เราก็ติดกลุมสูง ทีส่ ดุ เปนรองเพียงแคสงิ คโปรทกี่ าํ หนดเพดานภาษีไวสงู ถึง 400 เปอรเซ็นต ประเทศไทยสูงถึง 200 เปอรเซ็นต ซึ่ ง ประเทศญี่ ปุ น กํ า หนดเพี ย งแค 40 เปอร เ ซ็ น ต เกาหลีใต 20 ถึง 30 เปอรเซ็นต หากดูมาตรการทาง ภาษีแลวเราไมไดนอยเลยครับ ความเห็ น ส ว นตั ว แบ ง ค ม องว า การให สิ ท ธิ ประโยชน เ พื่ อจู ง ใจเป น ปลายทาง แต ต น ทางต อ งมี องคประกอบอื่นเกิดขึ้นกอน นั่นคือมาตรการดาน ‘คน’ “หากยกตัวอยางประเทศที่สงออกเทคโนโลยี สูงๆ ตามความเปนจริงแลวประเทศเหลานี้ตองมีการ ใชทุนดานเทคโนโลยีเปนจํานวนมากแตมันกลับกัน เขา กลับใชแรงงานเยอะ แตเปนแรงงานทีม่ ที นุ มนุษย มีองค ความรูท พี่ รอมจะยกระดับไปสูก ารสรางนวัตกรรมใหมๆ ทําใหสินคาของเขาแมจะใชคนจํานวนมากเมื่อเทียบ กับปจจัยทุนหรือเครื่องจักร แตคนก็นําไปสูนวัตกรรม ใหมๆ ได และในตอนนี้ไทยเริ่มขยับเขาสูเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมมีการใชเครื่องจักรและทุน แตสุดทายเรา มีทุนมนุษยเพียงพอที่จะนําไปสูนวัตกรรมใหมๆ ได แคไหน อันนี้ก็เปนคานงัดสําคัญที่ตองเสริมเขาไปนอก ปจจัยภายนอกเชนแรงจูงใจทางภาษี” ดวยเหตุผลดังกลาวแสดงใหเห็นถึงปญหาสําคัญ ที่ไมสามารถละสายตาไดเลยคือปญหาทางดานการ พัฒนาคน ซึ่งหากจะแกปญหาตรงสวนนี้นั้นแกไดโดย งายเพียงแคแกปญหาดานการศึกษาเทานั้น แตสุดทาย มันกลับไมงายอยางที่คิด เพราะปญหาการศึกษานั้นไม ไดผูกรัดเพียงแค ‘การศึกษา’ เทานั้น แตมันกลับเปน หนึ่งในปมปญหาทั้งหมดของประเทศที่ตองอาศัยการ แกไปพรอมๆ กัน “เราจะทําอยางไรใหคนทีจ่ บออกมาแลวสามารถ ทําวิจัยได สรางนวัตกรรมได แลวจะทําอยางไรใหคนที่ จบมาแลวสามารถทําวิจัยไดจริงๆ มีตลาดรองรับ นั่น คือสิ่งที่ตองชวยกันคิด แนวทางที่พอเปนไปไดในขณะ นีค้ อื โครงการฝกงาน เปนไปไดไหมทีจ่ ะมีการเรียนรูจ าก ปญหาและพัฒนานวัตกรรมในภาคเอกชนที่นักศึกษา เขาไปฝกงาน นอกเหนือจากการฝกงานก็มสี หกิจศึกษา คือเรียนไปดวยและก็มีสวนรวมในภาคธุร กิจไปดวย เปนการเรียนรูและเก็บประสบการณจากภาคเอกชน ซึ่งตรงจุดนี้เปนการแกปญหาเฉพาะหนาที่นําไปสูการ แกปญหาในอนาคตได”

ชายคนนีม้ องสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ เปน ‘ขา’ ขาทีใ่ ชงดั และ กาวเดินไปสูก ารพัฒนา ขาหนึง่ มีชอื่ วา ‘เอกชน’ สวนอีก ขาคือ ‘การศึกษา’ “นอกจากเงิ น ทุ น สนับ สนุ น การวิ จั ย ภายนอก ตางๆ ที่เหลือลวนแตเปนเงินอุดหนุนทางตรงเขาไปใน มหาวิทยาลัยครับ ซึ่งเปนอีกขาหนึ่ง เพราะการใหสิทธิ ประโยชนทางเอกชนอยางเดียวมันไมพอ หากรัฐให โครงการมาในลักษณะงานวิจัย สวนใหญแลวงบเหลา นี้จะตกไปอยูในมือของมหาวิทยาลัย คําถามก็คือ มันมี สะพานเชื่อมความรูใหมๆ ที่ผลิตในมหาวิทยาลัยเขาสู เอกชนไดมากแคไหน สะพานที่ 2 เปนตัวชี้ขาดสําคัญที่ จะนําไปสูผ ลิตภัณฑทมี่ นี วัตกรรมใหมๆ ไดหรือไม หาก มัวแตรอใหเอกชนกับมหาวิทยาลัยมาพบกันเองก็คงสาย เกินไป รัฐบาลตองสรางสะพานเชื่อมนี้ขึ้น” สะพานเชื่อมความรูที่วานี้คือ Science Park หรืออุทยานวิทยาศาสตร โครงการนี้ไมใชเรื่องใหมแต อยางใด แต ณ ขณะนี้ยังไมถึงจุดที่จะกอใหเกิดผลลัพธ ไดตามที่คาดหวัง หรืออาจกลาววาโครงการนี้ยังอยูใน ขั้นตอนนํารองก็วาได “เพราะฉะนั้ น ในทางปฏิ บั ติ สิ่ ง ที่ ต อ งช ว ยกั น ขบคิดคือการทําใหมันเกิดขึ้นจริง จะเห็นวาเรามีพรอม ในระดับหนึง่ แลว แตทาํ อยางไรใหดาํ เนินงานไดจริง ผม คิดวามันเปนเรื่องของการผลักดันมากกวา” ‘ขา’ ทีช่ อื่ วาการศึกษา มีสว นสําคัญในการพัฒนา มาก การจะพัฒนาดานการศึกษาใหตอบโจทยตลาดนัน้ หาใชการสอนที่เฉพาะเจาะจงในสายวิชาแตเปนการ สรางบุคคลากรที่มี Multidisciplinary Function หรือมี ความเปนสหวิทยาการ ทีม่ ากดวยความรูใ นหลายแขนง และมีแนวคิดที่ยืดหยุน นี่คือสิ่งที่เขาคิด “สิ่ ง สํ า คั ญ ในการพั ฒนาคื อ ต อ งสอนเด็ ก ให สามารถขามสาขาได หากเรียนรูทักษะที่แคบมาก ไมมี ทักษะในแขนงอื่น คุณจะประสบปญหาแลว หลายๆ อาชีพที่มีทักษะเฉพาะทางมีแนวโนมที่จะลดลงมาก เราตองผลิตคนที่มีทักษะยืดหยุน นักวิจัยก็เหมือนกัน ทักษะที่มีตองไมควรแคบกระทั่งวิ่งในลูเดียวกันตลอด ถามีก็มีไดแตไมควรเยอะ เพราะในหลายๆ องคกร ในขณะนี้ตองการนักวิจัยแบบปลายเปด สรางสรรค นวัตกรรมใหมจากความรูห ลายๆ ดาน นีเ่ ปนสิง่ สะทอน จากที่พบในขณะนี้” ‘ขา’ มีไวกาวเดิน หากขาทั้งสองขางไมสมดุลก็ ตองมีการปรับและแกไข มิฉะนั้นเราจะเดินอยางมั่นคง ไดอยางไร

15 :


IÇÕNþ§É &Êع·Ã©ÑOμUT ÃÒÇѲ¹

ในวงสนทนาของเรามักผสมผสานดวยคน หลายรุน ตั้งแตคน Gen-Y อายุตน 30 คน Gen-X รุน 40 และคนรุน Baby Boomer พี่ออดของผมเปนคนรุน Baby Boomer ปนี้พี่ออดอายุ 66 ประเด็นของพี่ออดก็คือเขาไมเคยจินตนาการ วาในชวงชีวิตจะไดเห็นมนุษยสามารถดูทีวีผานแวนตา หรือโลกจะผลิต Google Glasses ออกมาใหเราสวมใส พี่ออดไมเคยจินตนาการวาจะมีแวนตาที่ความสามารถ เหมือนสมารทโฟน สัง่ ทํางานดวยเสียง และแสดงขอมูล หรือภาพมุมบนของเลนสขางขวาโดยไมรบกวนสายตา แวนตายังสามารถถายภาพและบันทึกวิดโี อ แชรคอนเทนต ได โ ดยตรงผ า นอี เ มลหรื อ โซเชี ย ลเน็ ต เวิ ร ค สามารถ รายงานสภาพอากาศหรือแสดงแผนที่การเดินทาง พี่ อ อดย้ํ า อี ก หนว า ไม เ คยคิ ด ไม เ คยฝ นว า จะมี แบบวันนี้ แลวเขาก็เงียบลง : 16

ไมใชสิ่งเหลือเชื่ออีกแลว เมื่อเราไดเห็นบุคคล ผูลวงลับกลับมาเคลื่อนไหวอีกครั้งในโลกศตวรรษที่ 21 Holographic Technology ไดชบุ ชีวติ คนตายใหฟน กลับ มาโลดแลนมีชีวิตขึ้นอีกครั้ง – บนเวทีคอนเสิรต ทูแพ็ค อมารู ชาเคอร หรือ 2Pac แร็ปเปอรชาว อเมริกันหวนกลับมาขึ้นเวทีคอนเสิรตอีกครั้งในป ค.ศ. 2012 หลังจากไมไดขึ้นเวทีแหงใดตลอดเวลา 16 ป เพราะเขาเสียชีวิตตั้งแตป 1996 Holographic Technology ใชหลักการสรางภาพ ใหมีการแทรกสอดของแสงมากระทบรูปภาพ โดยฉาย แสงเลเซอรจากแหลงเดียวกัน แยกเปน 2 ลําแสง ลําแสง หนึ่งเปนลําแสงอางอิงเล็งตรงไปที่แผนฟลม อีกลําแสง เล็งไปทีว่ ตั ถุและสะทอนไปยังฟลม แสงจากทัง้ สองแหลง จะถูกบันทึกไวบนฟลมในรูปแบบของการแทรกสอด (Interference Pattern) ซึ่งมองไมคลายกับรูปของวัตถุ ตนแบบ กอใหเกิดภาพเสมือน (Virtual Image) ขึ้นมา ตามมุมของแสงที่มาตกกระทบ ทําใหตาของเรารับแสง อีกดานหนึ่งของแผน Hologram เกิดเห็นภาพ 3 มิติขึ้น


ในป ค.ศ. 1948 ดร.เดนนิส กาเบอร (Dennis Gabor, 1900-1979) วิศวกรไฟฟาชาวฮังการี ได คิดคน Holographic Technology ขึ้นมาครั้งแรกโดย บังเอิญ ในระหวางที่เขาพัฒนาปรับปรุงคุณภาพของ กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนที่บริษัท British ThomsonHouston เมือง Rugby ประเทศอังกฤษ จากการ คนพบนี้ กาเบอรไดรับรางวัลโนเบลสาขาฟสิกส ในป ค.ศ. 1971 เรื่องของพื้นที่และเวลาเปนเหมือนกําแพงกั้น ขวางการติดตอสื่อสารระยะไกล แต Holographic Technology ทําใหเปนเรื่องงายพอกับปอกกลวยเขา ปาก เจาฟาชายชารลสทรงปรากฏตัวบนเวทีการประชุม พลังงานสีเขียวกรุงอาบูดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส ทัง้ ที่ พระองคประทับอยูท พี่ ระราชวังในกรุงลอนดอน ประเทศ อังกฤษ ป 2006 รางของ Kate Moss ปรากฏบนเวที การแสดงแฟชัน่ ของ Alexander McQueen ดวยลําแสง เรือ่ เรืองดุจดวงวิญญาณ กอนเรือนรางของเธอจะปรากฏ ทรวดทรงองคเอว Holographic Technology ถูกใชในการนํา เสนอขาวการเลือกตัง้ ป 2008 ของสหรัฐอเมริกา สถานี โทรทัศนซีเอ็นเอ็น (CNN) ไดทําใหชาวอเมริกันหลาย ลานคนผละจากแฮมเบอรเกอรที่เพิ่งกัดไปไดคําเดียว เมือ่ เจสซิกา เยลลิน (Jessica Yellin) ผูส อื่ ขาวภาคสนาม รายงานสดจากชิคาโก ผาน ‘ฮอโลแกรม’ จึงทําใหราง เธอมาปรากฏตัวสนทนาในหองสงกับผูสื่อขาวหลักได ราวกับทั้งสองยืนอยูบนมิติพื้นที่และเวลาเดียวกัน และ วิล.ไอ.แอม (Will.I.Am) แหงวงแบล็ค อายด พีส ก็โผลมา แบบ 3 มิตใิ หสมั ภาษณสดๆ ในฐานะผูส นับสนุนโอบามา ในการแสดงสินคา Holographic Technology สรางการจดจําสินคาดวยการนํามนุษยในโลกจริงมาเคียง คูต วั การตนู ในโลกเสมือนจริง ฮอโลแกรมยังประโยชนใน การเสริมสรางความปลอดภัย Transmission Hologram นํามาใชกับบัตรประชาชน ใบอนุญาตขับขี่ พาสปอรต บัตรเครดิต แม แ ต ค นตายยั ง ถู ก ปลุ ก Holographic Technology ยอมใหกําเนิดบุคคลที่ไมมีตัวตนอยูจริง บนโลกใบนีไ้ ด นักรองไซเบอรจงึ กําเนิดดวยเทคโนโลยีนี้ ฮัทสึเนะ มิกุ (Hatsune Miku) เปนนักรองที่หลุดออก มาจากโลกเสมือนจริง มิ กุ เ ป น ผลงานการสร า งสรรค จ าก Crypton Future Media ที่ในชวงแรกเปนเพียงโปรแกรมสําหรับ ผูใชแตงเพลงขึ้นมาแลวใหมิกุที่เปนเพียงตัวละครใน โปรแกรมรองในคอมพิวเตอรใหฟงเทานั้น

Crypton ใชเสียงจากนักรอง นักแสดงที่เปน มนุษยจริงๆ ที่ชื่อวา Saki Fujita มาใหเสียงของมิกุ สวน ทํานองเพลงสรางจากโปรแกรม เราไดเขามาอยูใ นโลกแหงอากาศของแท เมือ่ มิกุ และเหลาเพื่อนพองขึ้นเวทีคอนเสิรต เธอปรากฏตัว บนเวที รองเพลง เตนรํา มีวงดนตรีแสดงสด ตอหนา แฟนเพลงนับพัน มิกุเปนนักรองฮอโลแกรม 3 มิติ เต็มรูปแบบ คนแรกของโลก ความโดงดังของเธอทําใหมี แฟนคลับจากโลกจริง มีหนา Facebook เปนของตัวเอง และไดมีการตั้งคายเพลงขึ้นมา คอนเสริตครั้งแรกของ เธอแสดงเมื่อป 2009 ลองคิดเลนๆ วาหาก Holographic Technology ถูกนํามาใชในธุรกิจดนตรีมากขึน้ เราคงไดดกู ารแสดงสด ของ The Beatles ในยุคที่ทั้ง 4 ไวผมหนามา เราคง ไดเห็นเคิรท โคเบน กลับมาสวมกางเกงยีนสลีวายส ขาดเปอ ย ไดเห็นใครตอใครฟน ตืน่ จากความตายอีกครัง้ Holographic Technology จะทําใหสํานึกเรื่อง ความตายของมนุษยเปนอยางไร หากเศรษฐีขเ้ี หงาคนหนึง่ สามารถนั่งพูดคุยกับพอแมผูลวงลับไปแลวในวันที่เขา คิดถึงผูวายชนมจับใจ “พีอ่ อ ดไมคดิ ไมฝน เลยนะ วาจะไดเห็นของพวกนี”้ พี่ออดย้ํา แลวเขาก็เงียบลง “พวกคุณยังหนุม ยังไดเห็นของพวกนี้อีกเยอะ” พี่ออดวา และหัวเราะแบบพี่ออด “โลกขางหนามันนา สนุกนะ พี่ออดยังอยากเห็นอยู แตความจริงก็คือ เมื่อ ถึงตอนนั้นพี่ออดคงเปนผงไปแลว”

17 :


FEATURES ÈÇÔÊÒ¢ ÀÙÁÔÃÑμ¹

การพัฒนา อุทยานวิทยาศาสตร ในประเทศไทย

THAILAND SCIENCE PARK A Brief History


เปนเรื่องที่ไมอาจมองขามไดอีกตอไปเมื่อประเทศไทย ไดมายืนอยูบนจุดที่ไมสามารถใชแรงงานราคาถูกเปน เครือ่ งมือในการแขงขันไดอกี แลว หลายประเทศในเอเชีย ใชความรูเ ปนพืน้ ฐาน (Knowledge Based) ในการเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขัน IMD หรือ The International Institute for Management Development จัดอันดับความสามารถ ในการแขงขันของประเทศตางๆ ทัว่ โลก พบวา โครงสราง พืน้ ฐานดานเทคนิคของประเทศไทยอยูล าํ ดับที่ 50 จาก ทัง้ หมด 59 ประเทศ ดานวิทยาศาสตรไทยอยูท ล่ี าํ ดับ 40

ดานสาธารณสุขและการศึกษาไทยอยูลําดับที่ 52 คํ า ถามก็ คื อ วิ ท ยาศาสตร เ ทคโนโลยี จ ะช ว ย สนั บ สนุ น ให ขี ด ความสามารถในการแข ง ขั น เพิ่ ม ได อยางไร ‘อุทยานวิทยาศาสตร’ เปนคําตอบหนึ่ง...เพราะ อะไร ÈÇÔÊÒ¢ ÀÙÁÃÔ μÑ ¹ เขียนบทความชิน้ นีเ้ พือ่ ทําใหเห็น ความจําเปนของอุทยานวิทยาศาสตรในประเทศไทย ใน วันที่เราไมมี ‘ทางถอย’ แลว

อุทยานวิทยาศาสตรสำคัญไฉน สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) ไดบรู ณาการยุทธศาสตรประเทศ มุง เนนการสรางฐานเศรษฐกิจทีม่ นั่ คงและยัง่ ยืน โดยมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) ที่ใหความสําคัญกับการพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม เนน การนําความคิดสรางสรรค ภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ ทรัพยสนิ ทางปญญา วิจยั และพัฒนา ตอยอด ถายทอด ประยุกตใชประโยชนทั้งเชิงพาณิชย สังคม และชุมชน โดยสราง สภาพแวดลอมทีเ่ อือ้ อํานวยตอการพัฒนาและประยุกตใชวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรมที่สงเสริมการใชความคิดสรางสรรคและสรางมูลคาเพิ่มใหกับ ภาคการผลิต ตลอดจนพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรมใหทั่วถึงและเพียงพอทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพในลักษณะของ ความรวมมือระหวางภาครัฐและเอกชน ‘อุทยานวิทยาศาสตร’ หรือ ‘นิคมวิจัย’ เปนโครงสรางพื้นฐานสําคัญชวย สงเสริมการพัฒนาองคความรูดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) ของประเทศไทยใหเขมแข็ง เนื่องจากเปนพื้นที่/สถานที่อํานวยความสะดวก สนับสนุนเอกชนทําวิจยั และพัฒนา โดยรวบรวมนักวิจยั ผูเ ชีย่ วชาญทัง้ ภาครัฐและ ภาคเอกชนจํานวนมาก มีสงิ่ อํานวยความสะดวก เชน หองปฏิบตั กิ ารทีม่ เี ครือ่ งมือ อุปกรณสําหรับการทําวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย รวมทั้งยังเปนตัวกลาง เชื่อมโยงระหวางภาคอุตสาหกรรม ภาคการศึกษา ภาครัฐ และภาคชุมชนทองถิ่น ซึง่ จะชวยสงเสริมการพัฒนากําลังคนดาน วทน. ของประเทศ สรางธุรกิจ เทคโนโลยี ใหมๆ และการสงเสริมการนําผลงานวิจัยและพัฒนาเขาสูระบบการคุมครองและ การใชประโยชนเชิงพาณิชยดวย อุทยานวิทยาศาสตรสามารถแบงออกไดเปน 3 ประเภทใหญๆ (1) อุทยาน วิทยาศาสตรโดยหนวยงานวิจัยหรือสถาบันการศึกษา (2) อุทยานวิทยาศาสตร โดยภาคเอกชน และ (3) อุทยานวิทยาศาสตรรวมภาครัฐและภาคเอกชน ใน ประเทศไทยอุทยานวิทยาศาสตรสว นใหญทเี่ ริม่ ดําเนินการเปนอุทยานวิทยาศาสตร โดยหนวยงานวิจยั เชนอุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย หรือโดยสถาบันการศึกษา เชนอุทยานวิทยาศาสตรภูมิภาค 3 แหง ไดแกอุทยานวิทยาศาสตรภาคเหนือ มี มหาวิทยาลัยเชียงใหมเปน ผูดําเนินการหลักรวมกับมหาวิทยาลัยอีก 6 แหงใน พื้นที่ อุทยานวิทยาศาสตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีมหาวิทยาลัยขอนแกนเปน ผูด าํ เนินการหลักรวมกับมหาวิทยาลัยอีก 3 แหงในพืน้ ที่ และอุทยานวิทยาศาสตร 19 :


ภาคใต มีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรเปนผูดําเนิน การหลักรวมกับมหาวิทยาลัยในพื้นที่ 1 แหงและ อุทยานซอฟทแวรซึ่งดําเนินการโดยภาคเอกชน สําหรับอุทยานวิทยาศาสตรโดยภาคเอกชน บริษัท อมตะ คอรปอเรชั่น จํากัด มีความสนใจ และกําลังพิจารณาดําเนินการพัฒนาเขตพื้นที่ของ ภาคเอกชนเองใหเปนอุทยานวิทยาศาสตร หรือเขต นวัตกรรม

วิวัฒนาการการพัฒนาอุทยานวิทยาศาสตรในประเทศไทย (พ.ศ. 2532 - 2554) ครม. มีมติใหจัดตั้งอุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย

2545

2532

อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทยเปดดำเนินการ

เริ่มดำเนินการอุทยานวิทยาศาสตรภูมิภาคในภาคเหนือ

2547

เริ่มดำเนินการอุทยานฯภูมิภาคใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต

2549

2550

8 มิถุนายน 2554 จัดตั้ง สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสงเสริม กิจการอุทยานวิทยาศาสตร (สอว.) ตามประกาศระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี วาดวยการสงเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร (พ.ศ. 2554)

: 20

· อุทยานฯภูมิภาคดำเนินการสำเร็จในระยะที่ 1 · สศช. เห็นควรใหกระทรวงวิทยาศาสตรพิจารณา การบริหารอุทยานฯภูมิภาคในภาพรวมเพื่อความเปนเอกภาพและตอเนื่อง · สป.วท. มอบหมายให มจธ. ทำการศึกษา และเห็นควรใหมีหนวยงานกลาง เพื่อกำกับดูแล สงเสริม และอำนวยความสะดวกในการดำเนินการอุทยานฯในภาพรวม

2554

(โดยความรวมมือระหวาง สป.วท. สวทช. และ สวทน.)


ชีวประวัติฉบับยอ ของอุทยานวิทยาศาสตรในประเทศไทย อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย หรือ Thailand Science Park (TSP) ได รั บ การอนุ มั ติ ใ ห จั ด ตั้ ง เป น อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร แ ห ง แรกของ ประเทศไทยเมื่อป พ.ศ. 2532 และไดเปดดําเนินการตั้งแตป พ.ศ. 2545 จนถึงปจจุบัน ซึ่งถือเปนระยะที่ 1 ของ อวท. ในการพัฒนานิคมวิจัยโดย การสรางมวลรวมดานงานวิจัยและบริการใหมีความพรอมในการสนับสนุน กิจกรรมวิจัยของภาคเอกชน หลังจากนัน้ มีการอนุมตั โิ ครงการจัดตัง้ อุทยานวิทยาศาสตรในภูมภิ าค อีก 3 แหง ไดแก อุทยานวิทยาศาสตรภาคเหนือ ซึง่ เริม่ ดําเนินการเมือ่ ป พ.ศ. 2547 โดยมีสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) เปนหนวยงานรับผิดชอบในการดําเนินการรวมกับมหาวิทยาลัยในพื้นที่ ใน ป พ.ศ. 2549 อุทยานวิทยาศาสตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และอุทยาน วิทยาศาสตรภาคใต ไดเริม่ ดําเนินการโดยมีสาํ นักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) เปนหนวยงานรับผิดชอบรวมกับมหาวิทยาลัย ในพื้นที่ เมื่ออุทยานวิทยาศาสตรภูมิภาคทั้ง 3 แหง ไดดําเนินการในระยะที่ 1 แลวเสร็จ และไดมีการประเมินการดําเนินงานของอุทยานวิทยาศาสตร ภูมภิ าคเพือ่ ขยายผลการทํางานในระยะที่ 2 พบวาการบริหารจัดการอุทยาน วิทยาศาสตรภมู ภิ าคยังเปนการดําเนินงานแบบแยกสวน และควรปรับใหการ บริหารจัดการอุทยานวิทยาศาสตรภมู ภิ าคในภาพรวมมีทศิ ทางและแนวทางที่ เปนเอกภาพ จึงไดมกี ารศึกษารูปแบบการบริหารอุทยานวิทยาศาสตรภมู ภิ าค ที่เหมาะสม เพื่อใหภาพรวมการดําเนินงานของอุทยานวิทยาศาสตรภูมิภาค ตางๆ เปนไปเพื่อวัตถุประสงคหลักเดียวกัน และเพื่อที่จะใหการสงเสริม ทั้งจากรัฐและหนวยงานตางๆ เปนไปโดยสอดคลองสามารถขับเคลื่อนการ พัฒนาอุทยานวิทยาศาสตรไปไดอยางรวดเร็วและสรางผลกระทบเชิงบวก ตอเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไดอยางมีนัยสําคัญ สํ า นั ก งานเลขานุ ก ารคณะกรรมการส ง เสริ ม กิ จ การอุ ท ยาน วิทยาศาสตร (สอว.) จัดตั้งขึ้นตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการ สงเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร พ.ศ. 2554 เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2554 กําหนดใหมีคณะกรรมการสงเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร เรียก โดยยอวา ‘กสอว.’ และกําหนดใหสํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีมอบหมายหนวยงานในสังกัดทําหนาที่เปนสํานักงานเลขานุการ คณะกรรมการสงเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร และใหปลัดกระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแตงตั้งขาราชการในกระทรวงวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีคนหนึ่งทําหนาที่เปน ผูอํานวยการสํานักงานฯ และควบคุมดูแล การดําเนินงานโดยทั่วไปของสํานักงานฯ

21 :


ยุทธศาสตรการพัฒนาอุทยานวิทยาศาสตรของประเทศ (พ.ศ. 2556 – 2560)

การพัฒนาสงเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตรใหเกิดประสิทธิผลสูงสุด จําเปนตองดําเนินการอยางมี ยุทธศาสตร มีการบูรณาการกับหนวยงานที่เกี่ยวของ มีความชัดเจนและตอเนื่องทั้งในสวนนโยบาย การบริหาร จัดการการลงทุน การสนับสนุนของภาครัฐ และการสงเสริมบทบาทของภาคเอกชน ทิศทางและแนวทางการพัฒนา อุทยานวิทยาศาสตรประกอบดวยประเด็นสําคัญ 7 ประเด็นหลัก ประเด็นหลักทัง้ 7 นีม้ งุ เนนการสงเสริมการดําเนินงานอุทยานวิทยาศาสตรใหมปี ระสิทธิภาพ เกิดผลสูงสุด กอใหเกิดผลกระทบในทางบวกตอทัง้ ภาคเศรษฐกิจและสังคมทีไ่ ดมกี ารกําหนดเปาหมายหลักตามแผนวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2556 – 2560 เพื่อยกระดับความสามารถทางการแขงขันของ ประเทศ และเพื่อสนับสนุนสังคมไทยใหมีคุณภาพ เทาเทียมและเปนธรรม

ภาคเศรษฐกิจ (Economic Development)

เปาหมายหลักตามแผน วทน. เพ่อื ยกระดับความสามารถทางการแขงขันของประเทศ R&D / GDP

R&D Personnel (FTE)

คาใชจายวิจัยและพัฒนา เอกชน : รัฐ

1%

15 : 10,000

70 : 30

1 มุงเนนใหภาค เอกชนทําวิจัย และพัฒนา

2 สงเสริมใหประเทศเปน ฐานการลงทุนวิจัยและ พัฒนาของบริษัทขามชาติ และบริษัทในประเทศ

3 สงเสริมและเปดกวาง ใหภาคเอกชนลงทุน และจัดตั้งอุทยานฯ

ภาคสังคม (Social Development)

THAILAND SCIENCE PARK 5 เช่อื มโยงอุทยานฯ กับการพัฒนา เศรษฐกิจของพ้น ื ที่

เศรษฐกิจของพื้นที่

4 นําทรัพยากรของ รัฐมาใชใหเกิด ประโยชนสูงสุด (กงสี)

7 นโยบายสนับสนุน จากรัฐที่ชัดเจนและ ตอเน่อื ง

6 สรางใหเกิดการ พัฒนาเครือขาย ของอุทยานฯเชิง บูรณาการ

การกระจายความเจริญ / ลดความเหลื่อมล้ำ

เปาหมายหลักตามแผน วทน. เพ่อื สนับสนุนสังคมไทยใหมีคุณภาพ เทาเทียม และเปนธรรม : 22


ประเด็นที่ 1 มุงเนนสงเสริมใหภาคเอกชนลงทุนวิจัย

และพัฒนาแบบกาวกระโดด การสงเสริมใหเอกชนลงทุนวิจยั และพัฒนาเปน ประเด็นทีส่ าํ คัญ เพราะเอกชนมุง เนนการทําวิจยั พัฒนา ที่สรางมูลคาเพิ่ม และสามารถนําไปใชประโยชนเชิง พาณิชย ซึ่งการชวยใหภาคเอกชนมีความสามารถใน การแขงขันและสรางความเขมแข็งใหกบั ภาคเอกชนเอง แลว ยังจะเปนประโยชนสงผลในทางบวกตอประเทศ เนื่องจากความเขมแข็งของประเทศคือความเขมแข็ง ที่มาจากภาคเอกชน ดังนั้นเปนเรื่องสําคัญและจําเปน มากทีต่ อ งศึกษาหาความตองการของภาคเอกชนในการ ลงทุนวิจยั และพัฒนา เพือ่ ใหเกิดการลงทุนในโครงสราง พืน้ ฐาน จัดหามาตรการการสงเสริมในรูปแบบตางๆ ที่ จะถูกนําไปใชโดยภาคเอกชนใหเกิดการขยายการลงทุน วิจัยในอนาคตที่ชัดเจน

ประเด็นที่ 3 สงเสริมและเปดกวางใหภาคเอกชนเปนผู

ลงทุนจัดตั้งและพัฒนาอุทยานวิทยาศาสตร ในการส ง เสริ ม กิ จ การอุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร ควรมุงเนนการ ‘สงเสริม’ อยางแทจริง และหลีกเลี่ยง การ ‘กํากับควบคุม’ เพื่อเปดกวางใหภาคเอกชนเปน ผูลงทุนจัดตั้งและพัฒนาอุทยานวิทยาศาสตรไดอยาง คลองตัว โดยภาครัฐใหการสงเสริมผานระบบแรงจูงใจที่ เหมาะสม ทัง้ ทางดานการเงิน ภาษี และการสรางความ รวมมือกับหนวยงานทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ประเด็นที่ 5 เชื่อมโยงอุทยานวิทยาศาสตรกับการ พัฒนาเศรษฐกิจของพื้นที่

การพัฒนาอุทยานวิทยาศาสตรควรเชือ่ มโยงกับ การพัฒนาเศรษฐกิจในระดับพื้นที่ โดยกําหนดสาขา ยุทธศาสตรการผลิตและบริการทีแ่ ตละพืน้ ทีม่ ศี กั ยภาพ และความไดเปรียบเชิงการแขงขันสูง และคํานึงถึง ความสอดคลองกับการพัฒนาเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม หลัก ศักยภาพของหนวยงานสรางความรู และความ ตองการความรูและเทคโนโลยีของผูประกอบการภาค เอกชนในพืน้ ที่ ทัง้ ในอุตสาหกรรมทีม่ อี ยูเ ดิมทีม่ แี นวโนม ตองลงทุนดานการวิจัยและพัฒนาเนื่องจากแรงกดดัน ในการแข ง ขั น และอุ ต สาหกรรมใหม (Emerging Industry) ที่มีโอกาสสูงในการพัฒนาใหเกิดขึ้นในพื้นที่

ประเด็นที่ 2 สงเสริมใหประเทศเปนฐานการลงทุน

วิจยั และพัฒนาของบริษทั ขามชาติและบริษทั ไทย ใชอุทยานวิทยาศาสตรเปนเครื่องมือในการ สงเสริมใหประเทศไทยเปนฐานการลงทุนวิจัยและ พัฒนาของบริษัทขามชาติ รวมทั้งบริษัทในประเทศ การสรางผูประกอบการใหมฐานนวัตกรรม เนื่อง จากอุทยานวิทยาศาสตรเปนกลไกที่เชื่อมโยงภาค เอกชนและบริการศูนยวจิ ยั ของบริษทั ตางๆ กับองค ความรูข องภาคมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจยั ในการ ทํางาน รวมทัง้ ใหบริการสนับสนุนการบมเพาะธุรกิจ การสนับสนุนเงินทุนขยายประโยชนผลงานวิจัยเชิง พาณิชยและทรัพยสินทางปญญา ทําใหบริษัทเหลา นี้ชวยพัฒนาประเทศในการสรางงาน เพิ่มการจาง งาน และยกระดับคาจางภายในประเทศใหสูงขึ้น

ประเด็นที่ 4 นําทรัพยากรและโครงสรางพื้นฐาน

วิจัยและพัฒนาในภาครัฐมาใชใหเกิดประโยชน สูงสุด ใชอุทยานวิทยาศาสตรเปนกลไกชักนําให เกิ ด การนํ า ทรั พ ยากรของภาคมหาวิ ท ยาลั ย และ สถาบันวิจัย หรือสถาบันทางเทคโนโลยีของรัฐมาใช ใหเกิดประโยชนสงู สุด เพือ่ สนับสนุนการสรางความ สามารถทางเทคโนโลยีของภาคการผลิตและบริการ โดยมีการบริหารจัดการแบบ ‘กงสี’ กลาวคือ เปนกอง กลางที่ใชรวมกันสําหรับบริษัทและองคกรพันธมิตร ที่อยูในอุทยานวิทยาศาสตร

23 :


ประเด็นที่ 6 สรางใหเกิดการพัฒนาเครือขายของ

อุทยานวิทยาศาสตรในเชิงบูรณาการ การสรางระบบนิเวศของอุทยานวิทยาศาสตร (Science Park Ecosystem) และเครื อ ข า ย (Network) ที่กอใหเกิดการพัฒนาเชิงบูรณาการ ทั้งในระดับพื้นที่ ระดับประเทศและระดับภูมิภาค ระหวางประเทศไมเกิดความซ้ําซอน แตเปนการ ทํางานตอยอดเชื่อมโยงกัน เปนการเรงใหเกิดการ สรางนวัตกรรมไดเร็วขึ้น ประเด็นที่ 7 มีนโยบายสนับสนุนที่ชัดเจนและตอ

เนื่อง รั ฐ บาลจํ า เป น ต อ งมี น โยบายสนั บ สนุ น ที่ มีความชัดเจนและตอเนื่อง เนื่องจากการพัฒนา อุทยานวิทยาศาสตรเปนการดําเนินการเพื่อสราง ความสามารถในการแขงขันของประเทศอยางยัง่ ยืน ระยะยาว การจัดงบประมาณสนับสนุนควรพิจารณา จัดเปนงบลงทุนในโครงการพิเศษที่ไมถูกจํากัดดวย เพดานงบประมาณคาใชจา ยประจําป ของหนวยงาน ผูจัดตั้งอุทยานวิทยาศาสตร ในสวนนโยบายตองไมเปนนโยบายฉาบฉวย ที่เปนการสรางกระแสนิยมเปนชวงๆ เปนนโยบาย ระยะสั้น ทําๆ หยุดๆ แตควรเปนนโยบายระยะยาว ที่มีแผนการพัฒนาที่ชัดเจน และมีความตอเนื่อง

: 24


กิจกรรมและผลงานของอุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย และอุทยานวิทยาศาสตรภูมิภาค เนือ่ งจากอุทยานวิทยาศาสตรเปนโครงสรางพืน้ ฐาน หรือนิคมวิจยั ทีม่ งุ เนนใหภาคเอกชนเขามาทําวิจยั และ พัฒนา กิจกรรมของอุทยานวิทยาศาสตรที่ผูดําเนินงานอุทานวิทยาศาสตรควรมุงเนนประกอบดวย 5 กิจกรรม หลักคือ 1. การบมเพาะธุรกิจวิทยาศาสตร คือกระบวนการคนหา คัดเลือกผูป ระกอบการใหมทมี่ ศี กั ยภาพในการวิจยั และพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) และเสริมสรางประสบการณดวยการใหคําปรึกษา ฝก อบรม ใหการสนับสนุนในดานตางๆ เพือ่ ใหเกิดเปนผูป ระกอบการทีส่ ามารถนําแปลงงานวิจยั ออกไปสูเ ชิงพาณิชย รวมไปถึงการสรางเครือขาย การเชื่อมโยงใหผูประกอบการสามารถเติบโตไดรวดเร็วยิ่งขึ้น 2. การสรางศักยภาพของอุทยานวิทยาศาสตรใหบริการภาคเอกชน และสงเสริมใหเอกชนทําวิจัยและ พัฒนามากขึ้น ประกอบดวยการใหบริการตางๆ เชนการวิเคราะหทดสอบ การดูแลรักษาเครื่องมือ ซึ่งอาจทําได เปน Central Lab ของมหาวิทยาลัย เพื่อใหภาคเอกชนเขามารวมใช รวมไปถึงมาตรการสนับสนุน สงเสริมตางๆ 3. การสรางศักยภาพของผูประกอบการในพื้นที่ใหเขามาเปนลูกคาของอุทยานวิทยาศาสตรในอนาคต ประกอบดวยการยกระดับและการสรางความสามารถใหกับ SMEs ในการทํางานวิจัยและพัฒนา 4. การรวมวิจัยระหวางมหาวิทยาลัยและภาคเอกชน จะชวยใหผูประกอบการสามารถใชทรัพยากรที่มีอยู ในมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยและพัฒนาใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากมหาวิทยาลัยเปนแหลงองคความรู ทั้ง ในสวนบุคลากรวิจัย เครื่องมือและอุปกรณตางๆ 5. โครงสรางพืน้ ฐาน คือแนวทางการปรับสิง่ ทีม่ อี ยูใ นมหาวิทยาลัย ทีเ่ ปนทรัพยากรในการทําวิจยั และพัฒนา ใหมปี ระสิทธิภาพ เพือ่ ตอบสนองทัง้ ภารกิจของมหาวิทยาลัย/หนวยงานวิจยั และการรวมใชเครือ่ งมือ อุปกรณตา งๆ โดยภาคอุตสาหกรรม รวมถึงการวางแผนโครงสรางของตึก สําหรับใหเอกชนมาเชาใชพนื้ ที่ โรงงานทดสอบ โรงงาน ตนแบบ ทีจ่ าํ เปนสําหรับการพัฒนาศักยภาพของอุทยานวิทยาศาสตร เพือ่ ตอบความตองการของภาคอุตสาหกรรม และสาขาเปาหมายเชิงเศรษฐกิจในพื้นที่

มีอะไรในอุทยานวิทยาศาสตร จากการดําเนินงานที่ผานมา แตละอุทยานวิทยาศาสตรไดมีผลการดําเนินงานประกอบดวย อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ตั้งแตป พ.ศ. 2545 – 2554 • ผูเชาพื้นที่ 50-60 บริษัทตอป โดยมีการลงทุนในกิจกรรมวิจัยและพัฒนา ประมาณ 400 ลานบาทตอปหรือคิดเปนประมาณรอยละ 2 ของมูลคาการลงทุนดานการวิจัยและพัฒนา ของประเทศไทย ป 2553 จํานวน 20,631 ลานบาท1 • โครงการวิจยั และพัฒนาของผูเ ชาประมาณ 200-300 โครงการตอป เปนมูลคาทางเศรษฐกิจ ประมาณ 900-1,000 ลานบาทตอป • เกิดการจางงานบุคลากรวิจัยประมาณ 300 คนตอป และบุคลากรในตําแหนงอื่นๆ อีก ประมาณ 200 คนตอป • ผูประกอบการที่เขารับการบมเพาะธุรกิจเทคโนโลยีและไดเขารับการอบรม 835 ราย • สรางมูลคาทางเศรษฐกิจ 900 ลานบาท • สรางมูลคาทางสังคม คือเกิดการจางงานจากการประกอบธุรกิจเทคโนโลยีทงั้ สิน้ 1,372 คน 1 ที่มา: สรุปผลการศึกษาโครงการสํารวจและพัฒนาฐานขอมูลดานการวิจัยและพัฒนาในภาคอุตสาหกรรมของ ประเทศไทย ประจําป 2554, สวทน.

25 :


Success Story นอกจากนี้ Success Story ของอุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทยคือ บริษัท เฟล็กโซ รีเสิรช กรุป จํากัด ซึ่ง เปนผูเ ชาพืน้ ทีแ่ ละเปนผูส าํ เร็จการบมเพาะธุรกิจเทคโนโลยีในอุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ไดรบั การคัดเลือก จาก World Economic Forum เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2553 ใหเปนผูประกอบการ 1 ใน 31 รายจากทั่วโลก ซึ่ง ไดรับรางวัล World Economic Forum Technology Pioneers 2011 จากผลงานเอ็นไซมยอยกระดาษลามิเนต และไดรับการคัดเลือกจากนิตยสารไทม (Time Magazine) ใหเปน 1 ใน 10 ผูประกอบการซึ่งไดรับการตีพิมพ ในนิตยสารไทม ฉบับวันที่ 20 กันยายน 2553 ภายใตหัวขอ ‘10 Start-ups That Will Change Your Life’ ดวย

อุทยานวิทยาศาสตรภาคเหนือ (พ.ศ. 2548 – 2553)

• สรางเครือขายพันธมิตรรวมดําเนินงานกับสถาบันการศึกษาในภาคเหนือ 55 สถาบัน • สนับสนุนนักวิจัยในสถาบันการศึกษาของสถาบันการศึกษาของเครือขายนําผลงานวิจัยไปสนับสนุน อุตสาหกรรม 145 โครงการ (ดําเนินการแลวเสร็จ 40 โครงการ และอยูในกระบวนการ 105 โครงการ) • ฝกอบรมผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม วิสาหกิจชุมชน กลุมชุมชน ตามความตองการ ของกลุม เปาหมาย ในพืน้ ที่ 17 จังหวัดภาคเหนือ 59 ครัง้ 47 หลักสูตร และมีผเู ขารับการอบรม 2,967 คน • นําผลงานวิจัยไปถายทอดใหกับผูประกอบการนําไปใชประโยชนเชิงพาณิชย 10 โครงการ

นอกจากนี้ อวน. ยังไดจัดทําทะเบียนงานวิจัยที่ไดรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตรของพันธมิตรเครือขาย(จํานวน 42 รายการ) และทะเบียนนักวิจัยและนักวิชาการดีเดนในภาคเหนือ (จํานวน 66 ทาน) เพื่อใชเปนฐานขอมูล ในการใหการสนับสนุนการนําผลงานวิจัยไปใชประโยชนในเชิงพาณิชยดวย อีกทั้งไดทําการศึกษาศักยภาพของทองถิ่น โดยศึกษาทั้งภาคอุปสงคและอุปทาน และพบวา ภาคอุปสงค ไดแก โครงสรางของอุตสาหกรรมในภาคเหนือ จะเปนอุตสาหกรรมขนาดกลาง ขนาดเล็ก (SMEs) และอุตสาหกรรม ในครัวเรือน (Cottage Industry) ประเภทหัตถกรรม และกลุมอุตสาหกรรม OTOP ซึ่งมีจํานวนทั้งสิ้น 9,482 โรงงาน และภาคอุปทาน ไดแก การศึกษาชนิดและจํานวนของ เครื่องมือ อุปกรณ ที่ใชในการวิจัยของพันธมิตร เครือขาย ที่สามารถตอบสนองความตองการงานวิจัยของภาคอุปสงค หรือของอุตสาหกรรม ประกอบดวย หอง ปฏิบัติการของสถาบันการศึกษา จํานวน 12 หนวยงาน หนวยงานภาครัฐ จํานวน 7 หนวยงาน และหนวยงาน ภาคเอกชน จํานวน 1 หนวยงาน

อุทยานวิทยาศาสตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (พ.ศ. 2550 – 2552) • • • • • • • • • •

ผูประกอบการที่เขารับการบมเพาะ 60 ราย ผูประกอบการที่สําเร็จการบมเพาะ 5 ราย โครงการวิจัยพัฒนาของผูประกอบการ 54 ราย โครงการวิจัยพัฒนาที่ออกสูเชิงพาณิชย 34 โครงการ จํานวนนักวิจัยของผูประกอบการ 33 คน เอกชนที่รับการอบรมทักษะทางธุรกิจ 671 คน เอกชนที่ใชประโยชนจากที่ปรึกษาเทคโนโลยี 159 ราย เอกชนที่ใชประโยชนจากเงินกูดอกเบี้ยต่ํา 3 ราย หนวยงานที่รวมดําเนินงาน 67 ราย มูลคาทางเศรษฐกิจของผูประกอบการในศูนยบมเพาะ 70.91 ลานบาท

: 26


อุทยานวิทยาศาสตรภาคใต (พ.ศ. 2550 – 2552) • • • • • • • • • •

ผูประกอบการที่เขารับการบมเพาะ 67 ราย ผูประกอบการที่สําเร็จการบมเพาะ 1 ราย โครงการวิจัยพัฒนาของผูประกอบการ 35 ราย โครงการวิจัยพัฒนาที่ออกสูเชิงพาณิชย 15 โครงการ จํานวนนักวิจัยของผูประกอบการ 32 คน เอกชนที่รับการอบรมทักษะทางธุรกิจ 580 คน เอกชนที่ใชประโยชนจากที่ปรึกษาเทคโนโลยี 63 ราย เอกชนที่ใชประโยชนจากเงินกูดอกเบี้ยต่ํา 8 ราย หนวยงานที่รวมดําเนินงาน 12 ราย มูลคาทางเศรษฐกิจของผูประกอบการในศูนยบมเพาะ 34.86 ลานบาท

จากผลงานตางๆ ทีไ่ ดกลาวขางตน จะเห็นไดวา การมีกจิ กรรมตางๆ ในอุทยานวิทยาศาสตรชว ยสงเสริมให เกิดผูป ระกอบการใหม ใหเกิดการทําวิจยั พัฒนาโดยภาคเอกชน สงเสริมใหงานวิจยั ออกสูเ ชิงพาณิชย สรางเครือขาย และระบบนิเวศของอุทยานวิทยาศาสตร ทําใหเกิดสภาพแวดลอมทีเ่ หมาะสม มีการเชือ่ มโยงระหวางหนวยงานผูม ี สวนไดสวนเสียที่เกี่ยวของอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผลงานของอุทยานวิทยาศาสตรภูมิภาคทั้ง 3 แหงยังเปนตัวเลขของป 2552 (ผลงานระยะที่ 1) เนื่องจาก แนวทางการบริหารและจัดสรรงบประมาณยังไมชัดเจน สอว. ไดนําเสนอเรื่องยุทธศาสตรการพัฒนาอุทยาน วิทยาศาสตรของประเทศ (พ.ศ. 2556 – 2560) และเรื่องโครงการอุทยานวิทยาศาสตรภูมิภาค (ภาคเหนือ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต) พ.ศ. 2556 – 2558 พรอมกรอบวงเงินงบประมาณดําเนินการ 8,642 ลาน บาท โดยจัดสรรเปนงบอุดหนุนผานทางสํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตอคณะรัฐมนตรี ซึ่ง ไดลงมติเห็นชอบในหลักการ เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 อยางไรก็ตาม กระบวนการและการบริหารจัดการกิจกรรมอุทยานวิทยาศาสตรทั้งหมดนี้จะดําเนินงานได ดีมีประสิทธิภาพ ตอเมื่อมีนโยบายและงบประมาณการดําเนินงานสนับสนุนอยางตอเนื่องตามประเด็นที่ 7 ที่ได เสนอแนะไวขางตน

·ÕèÁÒ + แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2555 – 2559 โดย สํ า นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ + นโยบายและแผนวิทยาศาสตรเทคโนโลยี และนวั ต กรรมแห ง ชาติ ฉบั บ ที่ 1 (พ.ศ. 2555 – 2564) โดยสํานักงาน คณะกรรมการนโยบายวิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ + ยุ ท ธ ศ า ส ต ร ก า ร พั ฒ น า อุ ท ย า น วิทยาศาสตรของประเทศ (พ.ศ. 2556 – 2560) โดย สํ า นั ก งานเลขานุ ก าร คณะกรรมการส ง เสริ ม กิ จ การอุ ท ยาน

วิทยาศาสตร + ข อ เสนอโครงการจั ด ตั้ ง ‘สํ า นั ก งาน ส ง เสริ ม กิ จ การอุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร ’ สํ า นั ก งานปลั ด กระทรวง กระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี + รายงานฉบับสมบูรณ ‘โครงการประเมิน ผลโครงการอุทยานวิทยาศาสตรภูมิภาค ระยะที่ 1 (ป ง บประมาณ 2550 – 2552)’ โดย ที่ ป รึ ก ษาจากมู ล นิ ธิ สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง + สรุ ป การประชุ ม หารื อ ‘ความต อ งการ ของภาคเอกชนและศั ก ยภาพของ มหาวิ ท ยาลั ย เพื่ อ การร ว มมื อ ดํ า เนิ น กิ จ การอุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร ภู มิ ภ าค’

(ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต) โดย สํานักงานปลัดกระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สํานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง ชาติ สํานักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม แหงชาติ กันยายน 2555 + สรุปผลการศึกษา โครงการสํารวจและ พัฒนาฐานขอมูลดานการวิจยั และพัฒนา ในภาคอุ ต สาหกรรมของประเทศไทย ประจํ า ป 2554 โดยสํ า นั ก งานคณะ ก ร ร ม ก า ร น โ ย บ า ย วิ ท ย า ศ า ส ต ร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ

27 :


SÈÃÕ©MART LIFE ÑμÃÒ äªÂǧ¤ ÇÔÅÒ¹ เหตุการณเครื่องปฏิกรณนิวเคลียรทั้งสามในโรงไฟฟา นิวเคลียรฟกุ ชุ มิ ะ-ไดอิจิ ประเทศญีป่ นุ ระเบิดอันเกิดจาก ระบบหลอเย็นขัดของจากแผนดินไหวเมือ่ ป 2011 ทำให เกิดการถกเถียงและทบทวนกันถึงอนาคตของพลังงาน นิ ว เคลี ย ร ทั้ ง ในมุ ม มองของการผลิ ต ไฟฟ า มุ ม มอง ดานเศรษฐกิจและการลงทุน รวมถึงนโยบายพลังงาน นิวเคลียรของแตละประเทศ

Will the Fukushima Crisis Put a Question Mark on the Resurgence of Nuclear Power? ตามสถิติที่ผานมา ระบบพลังงานนิวเคลียรในประเทศ ญี่ปุน (ที่มีภูมิประเทศตั้งอยูบนวงแหวนแหงไฟและได รับผลกระทบจากแผนดินไหวไมมากก็นอยตลอดทั้งป) ไดถูกจัดวาเปนตัวอยางของระบบที่มีมาตรฐานความ ปลอดภัยสูงในระดับโลกมานานหลายทศวรรษ ญี่ปุน ไดใชพลังงานนิวเคลียร (อันไดรับการกลาวถึงวาเปน พลังงานสะอาด) เปนสัดสวนของพลังงานสวนใหญที่ ใชผลิตไฟฟา และมีจุดแข็งของนโยบายการพัฒนาและ สรางองคความรูของระบบโรงงานนิวเคลียรตลอดทั้ง หวงโซอุปทานนับแตการออกแบบโรงงาน การกอสราง การผลิตชิน้ สวนอุปกรณ ระบบการปฏิบตั งิ าน การบํารุง รักษา และการพัฒนากําลังคน จึงไมแปลกที่อุบัติเหตุของโรงไฟฟานิวเคลียร ฟุกุชิมะ-ไดอิจิ ในครั้งนี้ไดกอใหเกิดคําถามตางๆ แก ญี่ปุนมากมาย อาทิ 1. ทําไมหนวยงานทีร่ บั ผิดชอบของญีป่ นุ จึงออก มาปฏิบัติการไดชาเมื่อเทียบกับความเสียหายที่เกิดขึ้น อยางรวดเร็ว? 2. การก อ สร า งของโรงไฟฟ า นิ ว เคลี ย ร ไ ด ถู ก ออกแบบมาเพือ่ ทนตอการเกิดแผนดินไหวที่ 9 ริกเตอร หรือมากกวานั้นหรือไม? 3. ใบอนุญาตโรงไฟฟานิวเคลียร (Licensing) ได ถู ก จั ด ทํ า บนพื้ น ฐานข อ มู ล จากการวิ เ คราะห ความปลอดภั ย ภายใต เ หตุ ก ารณ ท่ี เ ลวร า ยที่ สุ ด แล ว หรือยัง? : 28

แหลงพลังงานสะอาดที่กำลังเติบโต ความตระหนั ก ถึ ง ภาวะโลกร อ นได ก อ ให เ กิ ด กระแสความตองการพลังงานสะอาดเพือ่ ลดผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอม สงผลใหพลังงานนิวเคลียรเปนแหลง พลังงานทดแทนที่ถูกจับตามองมากในชวงทศวรรษที่ ผานมา โดยจะเห็นไดวา ในป 2010 ทั่วโลกมีเครื่อง ปฏิกรณนวิ เคลียรมากกวา 56 ตัวทีอ่ ยูร ะหวางการติดตัง้ โดยเฉพาะในพืน้ ทีแ่ ถบเอเชียแปซิฟก อันรวมถึงประเทศ จีน อินเดีย ไตหวัน ที่มีสัดสวนของกําลังการผลิตจาก เครื่องปฏิกรณนิวเคลียรมากกวาครึ่งหนึ่งของกําลังการ ผลิตทั้งหมด สวนในประเทศอื่นๆ แมกระทั่งประเทศร่ํารวย ทรัพยากรพลังงานในแถบตะวันออกกลาง และกลุม ประเทศเติบโตอยางรวดเร็วทั้งในเอเชียใตและเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต รวมถึงกลุมประเทศพัฒนาแลวใน ทวีปอเมริกาและยุโรปตางมุง เนนไปยังแผนการเพิม่ หรือ สรางกําลังการผลิตไฟฟาจากพลังงานนิวเคลียร นั่น หมายความวาหนวยงานยักษใหญในวงการนิวเคลียร ไดแก Areva, Hitachi-GE, Toshiba-Westinghouse ตางก็เล็งเห็นถึงชองทางธุรกิจจากปจจัยนี้


ผลกระทบที่เกิดขึ้น ถึ ง แม เ รายั ง ไม ส ามารถคาดการณ ผ ลกระทบระยะยาวของการพั ฒนาพลั ง งานนิ ว เคลี ย ร ไ ด แต จ ะมี ผลกระทบฉับพลันในระยะสั้น ดังนี้

ÁÒμðҹ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ (Safety Standard): โรงไฟฟานิวเคลียรทอี่ ยูใ นระหวางการปฏิบตั งิ านทัว่ โลก ไมวา จะตัง้ ในพืน้ ทีท่ มี่ คี วามเสีย่ งจากแผนดินไหวหรือไม ก็ตาม จําเปนจะตองไดรบั การทบทวนเกีย่ วกับมาตรฐาน ความปลอดภัยโดยครอบคลุมถึงปจจัยเสีย่ งทีอ่ าจจะเกิด ขึน้ ในการนี้ ทบวงการพลังงานปรมาณูระหวางประเทศ (IAEA) จะเปนหนวยงานหลักในการทําหนาที่จัดระบบ มาตรฐานความปลอดภัยตอไป μŒ ¹ ·Ø ¹ ´Œ Ò ¹»ÃÐ¡Ñ ¹ ÀÑ Â (Insurance Cost): ไมวาในอนาคตจะมีสถานการณใดๆ เกิดขึ้นกับระบบ พลังงานนิวเคลียรกต็ าม คาประกันภัยอันเกีย่ วเนือ่ งกับ พลังงานนิวเคลียรจะยังมีแนวโนมทีจ่ ะเพิม่ ขึน้ และจะสง ผลไปยังราคาไฟฟาตอไป á¼¹¾Åѧ§Ò¹¹ÔÇà¤ÅÕÂà ¢Í§»ÃÐà·È (Country’s Nuclear Plan): ผลกระทบต อ นโยบายการพั ฒนา พลั ง งานนิ ว เคลี ย ร อ ย า งชั ด เจนในบางประเทศ ยกตัวอยางเชน เยอรมนีไดพิจารณาระงับแผนการใช พลังงานนิวเคลียร ในขณะที่ประเทศอื่นๆ ก็มีทาทีที่ พรอมจะทบทวนตอนโยบายพลังงานนิวเคลียรของตน

¡ÒÃÃѺÃÙŒ¢Í§ÊÒ¸ÒóР(Public Perception): มุมมองสาธารณะตอพลังงานนิวเคลียรมีแนวโนมที่จะ มีภาพลักษณที่แยลง จากความเขาใจวาเปนพลังงาน สะอาดที่ไมสรางมลภาวะตอสิ่งแวดลอมกลับเปนสิ่ง ที่ อั น ตรายและจะก อ ให เ กิ ด ผลกระทบต อ ชี วิ ต และ สุขภาพ นัน่ หมายความวารัฐบาลทัว่ โลกจะตองเรงสราง ความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตองเกีย่ วกับกระบวนการทํางาน ของการผลิตไฟฟาจากพลังงานนิวเคลียร มาตรฐาน ความปลอดภัย รวมไปถึงกระบวนการจัดการของเสีย จากเตาปฏิกรณนิวเคลียร à·¤â¹âÅÂÕ¾Åѧ§Ò¹·´á·¹ (Alternate Energy Technologies): วิกฤติอุบัติภัยจากโรงไฟฟานิวเคลียร ในครั้งนี้ ไดสรางโอกาสไปยังเทคโนโลยีในพลังงาน ทางเลือกอื่นๆ อาทิ เทคโนโลยีพลังงานน้ํา (Hydro Energy) เทคโนโลยีถานหินสะอาด (Clean Coal Technology) เทคโนโลยีการกักเก็บคารบอน (Carbon Capture and Storage: CCS) เทคโนโลยีการการ ผสมผสานระหว่ า ง Coal Gasification กั บ Gas Fired Combined Cycle Plant เขาดวยกัน (IGCC: Integrated Gasification Combined Cycle) เทคโนโลยี โรงไฟฟาพลังงานรอนรวม (Combined Cycle Power Plant) เปนตน

ผูแ ปลเชือ่ วาพวกเราสวนมากในทีน่ ี้ ตางก็เปนสักขีพยานมาแลวในการกลับมาของโรงไฟฟานิวเคลียรนบั แต อุบัติเหตุนิวเคลียรเกาะทรีไมล (Three Mile Island) ในป 1979 และอุบัติภัยเชอรโนบิล (Chernobyl Disaster) ในป 1986 ดังนั้น ในระยะยาวเหตุการณโรงไฟฟานิวเคลียรฟุกุชิมะ-ไดอิจิ จึงถือวาเปนเพียงหนึ่งในเหตุการณ อุบัติเหตุรายแรงของนิวเคลียรที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร เพราะไมวาอยางไรก็ตาม ความตองการพลังงานที่มีไม จํากัดของมนุษยจะทําใหพลังงานนิวเคลียรกลับมามีบทบาทตอไป และนิวเคลียรจะไมมีทางหายไปจากระบบ พลังงานของโลกที่กําลังปวยนี้แนนอน ที่มา: แปลจาก Will the Fukushima Crisis Put a Question Mark on the Resurgence of Nuclear Power? เขียนโดย Ravi Krishnaswamy, Vice President, Energy & Power Systems Practice, Asia Pacific, Frost & Sullivan. http://www.frost.com 29 :


S¡ÔμμÔOCIAL &TECHNOLOGY ÈÑ¡´Ôì ¡ÇÕ¡Ô¨Á³Õ

การปลูกขาวสำหรับเกษตรกรชาวนาน

จัดเปนวิทยาศาสตรชนิดหนึ่ง

จั ง หวั ด น า นถื อ เป น จั ง หวั ด ชายขอบการพั ฒ นาแห ง หนึ่งในภาคเหนือ เปนแหลงตนน้ําของแมน้ํานานซึ่งมี ความยาวกวา 600 กิโลเมตร มีปริมาณน้ํามากที่สุด ในบรรดาแมน้ําปง วัง ยม และนาน คอยหลอเลี้ยง ชาวนาและเกษตรกรที่ อ าศั ย อยู ต ลอดสายน้ํ า แห ง นี้ อยางไรก็ตาม ความเจริญไดเขามาสูจังหวัดในชวง 30 ปที่ผานมา กอใหเกิดการแผวถางและเผาปาเพื่อหา ของปาและการปลูกพืชเชิงเดี่ยว สงผลกระทบตอความ เสือ่ มโทรมของปาทีเ่ ปนแหลงตนน้าํ กระทบถึงชาวนาที่ เปนกลุม คนทีต่ อ งพึง่ ลําน้าํ ทีก่ าํ ลังถูกทําลาย ทําใหเริม่ มี กลุม เครือขายตางๆ ออกมาเคลือ่ นไหวเพือ่ การอนุรกั ษ สิ่งแวดลอมและเสริมสรางความรูในการทําการเกษตร ที่ถูกตองดวยความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ เขามามีบทบาทมากขึ้น แหลงเรียนรูช มุ ชนทีม่ บี ทบาทในการสงเสริมการ เรียนรูดานการเกษตรและการอนุรักษที่สําคัญของนาน คือ ‘ศูนยการเรียนรูโจโก’ (JoKo Learning Center) ซึ่ง เปนองคกรอิสระ ดําเนินการอยูภายใตเครือขายมูลนิธิ ฮักเมืองนาน โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษ ความหลากหลายทางชีวภาพ การทําเกษตรธรรมชาติ และการพัฒนาชุมชนอยางยั่งยืน กิจกรรมหลักที่สําคัญ จึงเปนการสรางความเขมแข็งและแลกเปลีย่ นองคความรู เชิงเทคนิคและประสบการณจริงระหวางปราชญชุมชน : 30

ภาคี เ กษตรกร ชาวนา โรงเรี ย น และคนในชุ ม ชน ยกตัวอยางกิจกรรมในแตละวันของศูนย ปราชญชมุ ชนทีเ่ ปนทีร่ จู กั ของเกษตรและชาวนา ในทองถิ่นก็คือ นายหวัน เรืองตื้อ ชาวนานักปรับปรุง พันธุขาวของตําบลเมืองจัง เปน ผูคิดคนขาวเหนียว สายพันธุ ‘หวัน 1’ และ ‘หวัน 2’ ผานกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร ตั้งแตการเก็บรวบรวมพันธุพื้นเมือง และพันธุปรับปรุง ทั้งของทองถิ่นและจากศูนยวิจัยขาว อุบลราชธานีและแพร มีการกําหนดวัตถุประสงคของการคิดคนพันธุ ใหม ทดลองผสมพันธุขาวและนําพันธุขาวที่ผสมได ไปทดลองปลูก โดยมีศูนยการเรียนรูโจโกเปนเวทีแลก เปลีย่ นเรียนรูผ ลการทดลองปลูกทัง้ ระหวางชาวนาและ นักวิชาการ จนกระทั่งประสบความสําเร็จไดพันธุขาว ทีไ่ มลม งาย ทนตอโรค และมีผลผลิตสูง (หวัน 1 มีผลผลิต ตอไร เฉลี่ย 1,140 กก./ไร และหวัน 2 1,240 กก./ไร) อยางไรก็ตาม อุปสรรคทีส่ าํ คัญก็คอื คานิยมทางสังคมตอ การยอมรับขาวพันธุใ หมทพี่ ฒ ั นาโดยฝมอื ชาวนากันเอง จนกระทั่งเกิดอุทกภัย พันธุขาวของนายหวันจึงเริ่มเปน ที่รูจักมากขึ้น เนื่องจากการพัฒนาขาวเหนียวพันธุหวันจนได สายพันธุที่คงตัวจะตองใชเวลานานถึง 9 ป ปจจัยแหง ความสําเร็จในการพัฒนาพันธุขาวครั้งนี้จึงเปนการมี


ÀÒ¾¨Ò¡ http://www.jokonan.org

สวนรวมในกระบวนการวิจัยของคนในพื้นที่มาตั้งแต ตน ทําใหการคิดคนวิจัยมีความตอเนื่อง แตกตางจาก การทําวิจยั ในสถานีวจิ ยั ซึง่ มักมีการโยกยายตําแหนงของ นักวิจัยบอยครั้ง อีกทั้งชาวนาที่อยูในพื้นที่ก็มีความรูใน เรือ่ งของสายพันธุข า วอยางลึกซึง้ จึงสามารถเลือกพันธุ พอ/แม (Parent Stock) ทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะและตรงตาม ความตองการอยางแทจริง ความภาคภูมใิ จในผลงานอันเกิดจากกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรในทองถิ่น ไดจุดกระแสการถายทอด องคความรูส ง ตอไปสูช มุ ชนใกลเคียง และยังจุดประกาย ใหเยาวชนเกิดความสนใจที่จะเรียนรูเรื่องพันธุขาวใน ทองถิ่นตนมากขึ้น ศูนยการเรียนรูโจโก จึงเปนเวทีที่ เยาวชนในทองถิน่ เขามามีบทบาทในการพัฒนาโดยเปน แหลงถายทอดความรูจากโรงเรียนสูชุมชน ในที่นี้จะขอกลาวถึงตัวอยางในการใชหลักสูตร เรื่องขาวในโรงเรียนมัธยมที่นาสนใจ ไดแก หลักสูตร ‘ขาวนาพื้นเมืองนารูคูภูมิปญญาทองถิ่นเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน’ ของโรงเรียนศรัทธาศิลาเพชรรังสรรค และ หลักสูตร ‘ขาวนานารูค เู มืองจัง’ ของโรงเรียนศรีนครนาน กลาวโดยรวมคือหลักสูตรทั้งสองมีเปาหมาย ในการพั ฒนาองค ค วามรู เ รื่ อ งการทํ า นาแก นั ก เรี ย น นั ก เรี ย นจะได บู ร ณาการความรู ด า นวิ ท ยาศาสตร คณิตศาสตร ภาษาไทย และภาษาอังกฤษที่เกี่ยวของ

กับการปลูกขาว และเลือกศึกษาพันธุขาวทองถิ่น ได ฝกทําน้ําหมักชีวภาพจากหอยเชอรี่ การใชเชื้อราไตรโคเดอรมาเพื่อกําจัดโรคแมลง โดยมีการเชิญผูปกครอง มาชมการนํ า เสนอโครงงานข า วของนั ก เรี ย น และ สามารถนําผลการศึกษามาเผยแพรผา นศูนยการเรียนรู โจโก สวนโรงเรียนก็ไดพยายามแนะแนวทางใหนกั เรียน เลือกศึกษาในดานเกษตรซึ่งปจจุบันเริ่มมีแนวโนมวา แมแตผูที่มีฐานะทางการเงินดีก็สนับสนุนใหลูกหลาน มาเรียนดานการเกษตรมากขึ้น การเข า มามี ส ว นร ว มของโรงเรี ย นในการ ปลูกฝงใหนกั เรียนไดรจู กั และรักในทองถิน่ ของตนเอง โดย เชื่อมโยงโจทยทองถิ่นเขากับความรูดานวิชาการ เปน วิธีการสรางเมล็ดพันธุบุคลากรที่มีคุณภาพ ที่ถึงแมจะ ไปเติบโตยังทองถิ่นอื่น แตสุดทายก็จะหวนคืนมาทํา ประโยชนกลับคืนสูบานเกิดของตัวเองตอไป ดวยเหตุทกี่ ลาวมาขางตน ศูนยการเรียนรูช มุ ชน จึงมีบทบาทสําคัญยิ่งในการเปนเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู ของคนในชุมชนทุกระดับอยางสม่ําเสมอ กอใหเกิดการ สรางความเขมแข็งใหองคความรูที่ตองอาศัยการสั่งสม เปนระยะเวลานาน จนตกผลึกออกมาเปนภูมิปญญาที่ เกิดประโยชนแกคนในทองถิ่นอยางแทจริง 31 :


I NTERVIEW [text] [photo]

¡Í§ºÃóҸԡÒà ͹ت ¹μÁØμÔ áÅÐà©ÅÔÁ¾Å »˜³³Ò¹ÇÒÊ¡ØÅ

ÍØ·ÂÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒÊμà ໚¹·Ñ駤ӶÒÁáÅФÓμͺ อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ น่ า จะเป็ น คํ า ตอบให้ ห ลาย คํ า ถามในการพั ฒ นาศั ก ยภาพขี ด ความสามารถ ในการแข ง ขั น ของประเทศ ไม ว า จะเป น ธุ ร กิ จ ระดั บ ชาติ หรื อ SMEs ธุ ร กิ จ ที่ ต อ งพึ่ ง พา องค ค วามรู แ ละทั ก ษะของวิ ท ยาศาสตร แ ละ เทคโนโลยี เราพูดคุยกับ 3 ทาน ผูท าํ งาน เคีย่ วเข็ญ และวางอนาคตใหอทุ ยาน วิทยาศาสตร 3 แหง คนหนึ่งเปนผูอํานวยการอุทยานวิทยาศาสตร ประเทศไทยหรือ Thailand Science Park คนหนึง่ เปนผูอ าํ นวยการสํานัก สวนอุตสาหกรรม มจธ. สวนอุตสาหกรรมทีก่ อ ตัง้ โดยมหาวิทยาลัย และ คนหนึง่ เปนผูอ าํ นวยการโครงการอุทยานวิทยาศาสตรภาคใต สํานักวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ทั้ง 3 ทาน และอุทยานวิทยาศาสตร 3 แหง ยอมมีเรื่องเลาที่ฟง และเห็นตรงกันวา อุทยานวิทยาศาสตรเปนไดทั้งคําถามและคําตอบ

: 32


01

ดร.เจนกฤษณ คณาธารณา ผูอํานวยการอุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย

131 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง ปทุมธานี 12120 อีเมล: customerrelation@sciencepark.or.th โทรศัพท: 0-2564-7200 ตอ 5360, 5040, 5363 โทรสาร: 0-2564-7201 เว็บไซต: http://www.sciencepark.or.th

»˜¨¨Øº¹Ñ ÍØ·ÂÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒÊμà »ÃÐà·Èä·Â ËÃ×Í Thailand Science Park ¡íÒÅѧ¨Ðà´Ô¹Ë¹ŒÒÊÙà‹ ¿Ê·Õè 2 ËÃ×Í·Õàè ÃÒ àÃÕÂ¡Ç‹Ò Innovation Cluster 2 ¤íÒ¶ÒÁ¡ç¤Í× ÍÐäÃ໚¹ áç¼ÅÑ¡´Ñ¹·Õ¨è ÐμŒÍ§ÁÕ Innovation Cluster 2 ต า ม แ ผ น พั ฒ น า อุ ท ย า นวิ ท ย า ศ า ส ต ร ประเทศไทยที่เราเสนอไวกับ ครม. ป 2538-2539 จะพูดถึงการพัฒนาอุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย เปน 3 เฟสดวยกัน เฟสที่ 1 เปนการสรางฐานการ วิจัยและพัฒนาใหแพรหลาย เฟสที่ 2 เปนเรือ่ งการ เก็บเกี่ยว เมื่อเราลงทุนแลวก็ตองเก็บเกี่ยว เฟสที่ 3 เปนการนําเอกชนเขาพืน้ ทีเ่ พือ่ ผลักใหเกิดความเขมขน ดานการวิจัยและพัฒนาภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น ปจจุบันนี้เราอยูในเฟส 1 สวนเฟส 3 อีกยาว ไกลถาเราทําตรงนีใ้ หเขมแข็ง ก็อาจจะพัฒนาพืน้ ทีโ่ ดย รอบเขาสู Knowledge Base Economy ได ตอนที่ เราเริ่มกอสรางเราเจอวิกฤติเศรษฐกิจ ฉะนั้นแผนก็ ลาชาออกมา จากทีเ่ ราจะสรางฐานงานวิจยั และพัฒนา โดยหลักๆ คือนํา สวทช. และศูนยวิจัยแหงชาติ 4 ศูนย ไดแก ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ แหงชาติ ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ ศูนย อิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ และศูนย นาโนเทคโนโลยีแหงชาติ เขาพื้นที่ สิ่งที่เราทําในเฟส 1 คือเฉือนพื้นที่สวนหนึ่ง ออกมาใหเอกชนมาใชพื้นที่วิจัยและพัฒนาไดกอน ก็

เลยเปนเหตุใหทกุ วันนีเ้ รามีเอกชนอยูใ นนีแ้ ลว 60 กวา ราย เหมือนเราวางแผนไว 3 เฟส แตเราทําไป 1.5 เฟส สถานการณมนั บังคับโดยปริยาย เราคาดวาจะมีเอกชน เขามาอีก 100 กวารายใน Innovation Cluster 2 ตอนทีอ่ ทุ ยานวิทยาศาสตรเขาสูเ ฟส 1 ในตอนนัน้ คนทําวิจัยในบานเรายังมีนอย เรามุงหวังใหเอกชน มีพื้นที่ทําวิจัยไดเร็วขึ้น เราทําโครงสรางพื้นฐานไว รองรับ พอถึงเฟสที่ 2 เราก็เริ่มมองวาเราควรโฟกัส อุตสาหกรรมไหนเปนพิเศษไหม ซึ่งตอนนี้ก็มองไปยัง 2-3 อุตสาหกรรม ÁÕÍÐäúŒÒ§¤ÃѺ เรื่องอาหาร อิเล็กทรอนิกส และการแพทย ã¹ Innovation Cluster 2 ÁÕ¡ÒÃÇҧἹÍ‹ҧäà ในเมื่อเฟส 1 เรามุงเนนที่โครงสรางพื้นฐาน รองรับเอกชนมาทําวิจัย แลวก็พยายามเชื่อมใหเกิด การวิ จั ย ร ว มระหว า งเอกชนกั บ ศู น ย วิ จั ย แห ง ชาติ ทั้ง 4 แหงที่กลาวไป ในเฟสที่ 2 เราโฟกัสไปยัง 3 อุตสาหกรรมดังกลาว เมื่อเอกชนทําวิจัยและพัฒนา กันมากขึ้น เราก็นาจะผลักดันใหงานวิจัยจากตนน้ํา ไหลลงสูปลายน้ําไดเร็วขึ้น การจัดตําแหนงใหคนที่ อยูในสาขาเดียวกันมาอยูในหวงโซเดียวกัน ก็นาจะ ทําใหไหลไดงา ยกวา แตทงั้ นีท้ งั้ นัน้ ตองผลักดันใหเกิด 33 :


วัฒนธรรม Open Innovation ใหเกิดขึ้นดวย เพราะ ถาวัฒนธรรมนี้ไมเกิด ตอใหมาอยูดวยกันทุกคนก็ จะนั่งทํางานในแล็บของตัวเอง งานก็สงกลับบริษัท ของตัวเอง การเชื่อมโยงก็จะต่ํา ถาวัฒนธรรมนี้เกิด จากการทํางานของคนที่อยูในหวงโซใกลๆ กันมันจะ ตอยอดไปไดไกลขึ้น

สิ่งนี้ทําไปก็เพื่อให Return Investment ของ งานวิจยั กลับมาเร็วขึน้ เพราะในโลกทุกวันนี้ Shelf Life ของเทคโนโลยีสั้นนิดเดียว เทคโนโลยีพัฒนาเร็วมาก ถาเก็บเทคโนโลยีไวในบริษัท กวาจะลงตลาดสุดทาย มันก็ตกรุน Return Investment มันไมทัน ตนทางที่ทําวิจัยก็ดูวามีของใครที่มาเชื่อมโยง กับเราไดบา ง มันตองเร็ว มิเชนนัน้ ไมทนั ตอนนีบ้ ริษทั ¤Ø³¹ÔÂÒÁ¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ Open Innovation Í‹ҧäà ใหญๆ ในโลกใช Open Innovation กันหมดเลย ไมงน้ั มันเปนหลักคิดที่เพิ่งเกิดเมื่อ 10 ปที่ผานมา แขงไมได ที่แปลกคือบริษัทขนาดเล็กที่เกิดใหมก็ใช โดย Henry Chesbrough เขาก็บอกวาในภายภาค Open Innovation เปนสวนใหญ เพราะวาถาไมใช หนาหนวยงานตองมองวาจะนําองคความรูภายนอก Open Innovation เขาแขงกับบริษัทใหญไมได มาผสานกับองคความรูท มี่ อี ยูภ ายในไดอยางไรเพือ่ จะ ã¹»ÃÐà·Èä·Â ¤ÇÒÁμÃÐ˹ѡ¢Í§¼Ù»Œ ÃСͺ¡ÒáѺ เรงอัตราการเกิดนวัตกรรมใหเร็วขึ้น เมือ่ มีนวัตกรรมเกิดในองคกรแลว ทําอยางไรใหลง Open Innovation ÁÒ¡¹ŒÍ¢¹Ò´ä˹ สูต ลาดหลายๆ ชองทางไดมากทีส่ ดุ ทัง้ ชองทางทีต่ วั เองคุน ยังไมมากนะครับ แตก็ถือวาบางคนก็เริ่มทํา เคย ในแตละหนวยงานจะมีชอ งทางการตลาดของเขาอยู บางสวน...ถาสังเกต เอกชนไทยที่เริ่มทําวิจัยแลว ชวง แลว นอกจากชองทางนัน้ มันตองมองไปขางๆ ดวยวายัง แรกๆ ทีท่ าํ วิจยั ก็จะเริม่ จากรับการถายทอดเทคโนโลยี มีตลาดไหนใหไปไดอกี หรือมีอตุ สาหกรรมไหนทีจ่ ะเอา จากมหาวิทยาลัยใชไหมครับ หรือบางทีกม็ กี ารทําวิจยั เทคโนโลยีนไ้ี ปใชประโยชนไดอกี เขาก็พยายามจะเผย รวมหรือจางมหาวิทยาลัยทําวิจัย จาง สวทช. ทําวิจัย แตโดยมากมักจะเอาเขามาแลว... บางคนแรงหนอยขอ แพรเทคโนโลยีและนวัตกรรมออกไปใหเร็ว

02

รศ.ดร.โสฬส สุวรรณยืน

รองศาสตราจารยรักษาการรองอธิการบดีวิทยาเขต ผูอํานวยการสํานักสวนอุตสาหกรรม สถาบันพัฒนา และฝกอบรมโรงงานตนแบบ สนง.บางขุนเทียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

: 34


IP ไวกบั ตัวเองไมใหใคร ไมแชร แลวระดับของการเอา ออกไปหรือสงไปทางชองทางอืน่ จะนอยมากหรือแทบ ไมมีเลยมั้ง ÍØ·ÂÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒÊμà ¨Ðμͺ⨷ ãËŒà¡Ô´ÇѲ¹¸ÃÃÁ Open Innovation 䴌͋ҧäà อุทยานวิทยาศาสตรจะเปนเครื่องมือหนึ่ง ใน ฐานะการเปนนิคมวิจัย การที่มีผูเลนมาอยูรวมกันใน นีห้ มด มันก็ทาํ ใหพวกเขาหากันเจองายขึน้ ถาใสกลไก ในการทําความเขาใจในวัฒนธรรม Open Innovation ใหมากขึน้ หาเวทีทจ่ี ะทําใหเรือ่ งพวกนีม้ นั เกิดงายขึน้ ก็ นาจะทําให Open Innovation เกิดไดงา ยขึน้ แตทง้ั นี้ ทั้งนั้น Open Innovation มันผูกกับเรื่องวัฒนธรรม มากเลยนะครับ มันผูกกับเรือ่ งวัฒนธรรมของเครือขาย ความรวมมือของคน ซึ่งแตละชาติไมเหมือนกัน ผม ชอบเทียบวาถาโยนคนยุโรปหรืออเมริกนั เขาไปในหอง ทุกคนไปเจออยูตรงกลาง อยูมุมหองก็ไมรูจะทําอะไร ใชมั้ยครับ เขาก็ไปคุยกันกลางหอง แตคนเอเชียหรือ คนไทยเมือ่ เขาไปอยูใ นหอง พวกเราจะแตกเปน 4 มุม (หัวเราะ) มันเปนกําแพงทางวัฒนธรรมที่ตองทําลาย

ÍÂÒ¡ãËŒÍÒ¨ÒàªÇ‹ Âá¹Ð¹íÒ»ÃÐÇÑμ¤Ô ÇÒÁ໚¹ÁҢͧ IPC Industrial Park Center ËÃ×Í ÊǹÍØμÊÒË¡ÃÃÁ ·Õè ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂà·¤â¹âÅÂÕ¾ÃШÍÁà¡ÅŒÒ¸¹ºØÃäÕ ´Œ·Òí ¢Ö¹é ÁÒ สวนอุตสาหกรรมเริ่มทํามาตั้งแตชวงกลาง หรือชวงปลายแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ 5 ความจริงมันก็เปนเรื่องที่เกิดขึ้นจากทั้ง 2 ฝาย มจธ. (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี) และ ทบวงมหาวิทยาลัยซึ่งก็คือ สกอ. ณ ปจจุบัน รัฐบาล มี น โยบายในเรื่ อ งของการสร า งความเข ม แข็ ง ทาง เทคโนโลยีใหแกประเทศ ความหมายก็ คื อ อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร ห รื อ อุทยานเทคโนโลยี ไมใชนิคมอุตสาหกรรมนะครับ เราเรียกวา ‘Park’ เหมือนกันก็จริง แตเราเนนเปน Technology Park เราเห็นวาเปนสิ่งที่นาจะชวยใน การพัฒนาผูประกอบการตางๆ ในประเทศไทยในเชิง ความเขมแข็งของเทคโนโลยี ถาประเทศไทยมีความ เขมแข็งดานเทคโนโลยี ไมใชธุรกิจเขมแข็งอยางเดียว เพราะธุรกิจมันขึ้นๆ ลงๆ แตทายที่สุดถาจะทําให ยั่งยืน จะตองเปนสุดยอดในฐานเทคโนโลยี เราเห็ น ตั ว อย า งจากประเทศทั้ ง หลายไม ว า จะเป น ในอาเซี ย นหรื อ ในเอเชี ย ที่ เ ป น ประเทศ

ÍØ·ÂÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒÊμà ÁÍÕ Ðä÷ըè Ðä»μͺ⨷ ÀÒ¤àÍ¡ª¹ ãËŒÁ¤Õ ÇÒÁμÃÐ˹ѡà¾×Íè 㪌¡Åä¡àËÅ‹Ò¹Õäé ´ŒàμçÁ·Õè ผมตอบอยางนีด้ กี วา ในเฟส 2 เรามี Strategic Direction อยู 5 ดานดวยกัน 1.งานวิจยั สวทช. จะเริม่ ทํางานวิจัยในลักษณะโปรแกรมวิจัยมุงเปาคลัสเตอร มากขึ้ น ก็ จ ะชั ด ขึ้ น เรื่ อ ยๆ 2.สํ า หรั บ ในอุ ท ยาน วิทยาศาสตร อยางที่กลาวไปตอนแรกเราจะโฟกัสใน บางอุตสาหกรรมซึ่งจะสอดคลองกับสวนแรก 3.เรา ผลักดันในเรื่อง Market to Lab ใหมากขึ้น รวมถึง Open Innovation ใหเกิดขึ้น 4.กลับมาดูเรื่องบริการ ที่อยูในอุทยานวิทยาศาสตร จากของเดิมมีบริการอยู เยอะ แตละอันก็ไมไดจดั หมวดหมูช ดั เจนเทาไร บางที คนจะเขาถึงบริการก็จะนึกลําบาก เราพยายามจัด หมวดหมูบริการใหมีความชัดเจน รวมถึงเพิ่มบริการ ตางๆ ที่ขาดอยูเขาไป 5.เราอยูในสถานที่ที่ดี เราอยู ติดกับมหาวิทยาลัย ภายในอุทยานวิทยาศาสตรมี ศูนยวิจัยแหงชาติ 4 แหง ก็มามองวาเราจะถายทอด หรือเคลื่อนยายทักษะองคความรูตรงนี้อยางไรใหเกิด ประโยชนสูงสุด

อุตสาหกรรมใหม วาในที่สุดไมวาทางธุรกิจเขาจะ ดีแคไหนก็ตามแตทายที่สุดจะเห็นวาเขาสรางความ เขมแข็งทางเทคโนโลยีขึ้นในประเทศไดเอง พัฒนา เทคโนโลยีได ไมใชเปนการนําเขาเทคโนโลยี ซือ้ มาขาย ไป เพราะฉะนัน้ เราเห็นมาตัง้ แตตอนตนแลววา ถาจะ ทําความเขมแข็งมันตองมีสวนอุตสหากรรมหรืออุทยาน วิทยาศาสตรทม่ี ลี กั ษณะเฉพาะทีช่ ว ยสรางความเขมแข็ง ใหผูประกอบการหรือสรางผูประกอบการใหม ผู ประกอบการใหม ส ว นใหญ จ ะเป น สิ่ ง ที่ เ รา อยากใหเกิดขึน้ อยูแ ลว แตผปู ระกอบการเดิมทัง้ หลาย หรือแมกระทั่งอุตสาหกรรมใหญๆ ในประเทศก็ยัง ตองการความสามารถในเชิงพัฒนาเทคโนโลยีมาก ซึง่ ในชวงนัน้ เราจะเห็นภาพวาประเทศคอนขางออนมาก เลยทีเดียว นโยบายรัฐบาลพูดมาเกือบทุกรัฐบาลวา จะสรางความเขมแข็งของเทคโนโลยีในประเทศไทย ขึ้นในภาคอุตสาหกรรมอะไรทั้งหลาย เพราะฉะนั้น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรีเลยเนน ในเรื่องการสรางความเขมแข็งของตัวเองขึ้น ໇ÒËÁÒ¢ͧÊǹÍØμÊÒË¡ÃÃÁ¤×ÍÍÐäà เราเห็นชัดอยูแลววาเราจะสราง Technology 35 :


Incubator ขึ้ น มาก็ เ ท า นั้ น เอง เราอาจจะไม เ น น Business Incubator (หนวยบมเพาะธุรกิจ) แตอาจ มีวิธีการพูดคุยใหคําแนะนําถาเขามีความตองการ ขอมูลดานธุรกิจ และเราก็ไมตองทําเองก็ได เราอาจ จะไปรวมกับทีอ่ นื่ ทีเ่ ขามีความสามารถทางนีด้ งึ เขามา ดวยเพือ่ ชวยผูป ระกอบการทีต่ อ งการความรูท างธุรกิจ แตเราเนนพื้นฐานเทคโนโลยี และสนับสนุนการทําให ผลงานวิจัยไปสูการใชงานไดจริง ในการสรางเทคโนโลยีไดดว ยตนเองโดยใชผลที่ ไดจากงานวิจัย หรืองานวิศวกรรมตางๆ ที่พัฒนาขึ้น มาจากการทดลองออกไปสูภาคอุตสาหกรรม จําเปน ต อ งมี ก ารขยายความรู สู ภ ายนอก เพราะการไปสู อุตสาหกรรมนั้นไมไดหยิบจับจากหองทดลองแลวนํา ไปสูตรงนั้นไดทันที หรือบางทีเขาตองการเพียงแค ขอยืมใชเครื่องมือซึ่งเครื่องมือตางๆ เปนเครื่องมือใน ระดับหองทดลอง ซึง่ ตรงจุดนีม้ นั มีชอ งวางคอนขางชัด และความจริงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุ รี ก็ มี ก ลุ ม ที่ ส นใจในเรื่ อ งการขยายความรู สู ภายนอกหรือการขยายขนาดโดยใชอปุ กรณตน แบบ ซึง่ อุปกรณตนแบบเหลานี้ก็มีลักษณะการทํางานเหมือน กับของจริงในอุตสาหกรรม แตเปนขนาดไมใหญจน เกินไปนัก

แต เ มื่ อ ออกจากห อ งทดลอง ต อ งขยายให ใหญขึ้นกอน แลวก็ทําการทดลองทดสอบกอน แลว ตรวจสอบวามันสําเร็จจริงหรือเปลา ความจริงก็คือ บางอยางที่ประสบความสําเร็จในหองทดลองไมได หมายความวามันจะนําไปสูภาคการคาไดทั้งหมดนะ ครับ เพราะอาจยังไมไดดูจริงจังวาวัสดุจริงนั้นมาจาก ไหน ในหองทดลองก็อาจใชสารเคมีหรือวัสดุที่มีการ ตรวจสอบคัดกรองมาอยางดีมาใชในการทดสอบ แต วาถาไปในดานอุตสาหกรรมเราตองไปดูอกี วาวัตถุดบิ คืออะไร มาจากไหน เพราะทุ ก อย า งทํ า ขึ้ น มาแล ว มั น ไม ไ ด เ ป น ผลิตภัณฑในทันที มันตองมีการคัดแยก การตรวจสอบ อะไรตางๆ ในขณะเดียวกันก็ยงั ไมไดพดู ถึงพลังงานที่ ใชในการผลิต หรือเรื่องสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของ แตใน อุตสาหกรรมหรือโรงงานขนาดใหญตองมีการจัดการ จํานวนมาก ตองดูวาสามารถขยายเปนกระบวนการ ผลิตไดไหม เทคโนโลยีที่จะขยายจากหองทดลองขึ้น มาในระดับโครงการนํารองมันตองมีอะไรขึ้นมาบาง เพื่อทําใหเปนกระบวนการที่ผลิตตั้งแตตนจนจบได จริง ซึ่งอันนี้ยังขาดอยู พระจอมเกลาธนบุรีจึงบอกวาเราสนใจตรง จุดนี้ เพราะเรามีการทํางานระหวางนักวิทยาศาสตร

ÍØ·ÂÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒÊμà ÀÁÙ ÀÔ Ò¤ÀÒ¤ãμŒÁàÕ ¤Ã×Í¢‹Ò·ѧé ËÁ´ 14 áË‹§ 㹨ѧËÇÑ´ÀÒ¤ãμŒ ¤íÒ¶ÒÁ¡ç¤Í× à¤Ã×Í¢‹ÒÂáμ‹ÅÐáË‹§μŒÍ§μͺ ⨷ ¢Í§·ŒÍ§¶Ô¹è 㪋ËÃ×ÍäÁ‹ ÇҧἹÍ‹ҧäà โจทยคือเอาอุปสงคเปนตัวตั้ง ฉะนั้นที่ภูเก็ต กาญจนโอภาษ ICT จะเปนหลัก อาจมีแปรรูปดานเกษตรบาง สวน ผูอํานวยการโครงการอุทยานวิทยาศาสตรภาคใต ที่สุราษฎรธานี จะเปนเรื่องของอาหารทะเลแปรรูป ปาลมน้ํามัน ตามอุปสงคของอุตสาหกรรม ลงมาทาง สํานักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ใตฝง ปตตานี ก็จะมีมติ ครม. ใหเนนไปทีอ่ ตุ สาหกรรม อาหารฮาลาล สําหรับที่หาดใหญใหดูเรื่องยางพารา ปาล ม อาหารทะเล และอุ ต สาหกรรมอื่ น ๆ ที่ มี โครงการอุทยานวิทยาศาสตรภาคใต สํานักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ศักยภาพ เชน เครื่องมือแพทย เภสัช สมุนไพร นี่คือ ต.คอหงส อ.หาดใหญ สงขลา 90110 ประเด็นที่กําหนดกรอบไวกวางๆ อีเมล: akkharawit.k@psu.ac.th สวนหนึง่ เปนอุปสงค สวนหนึง่ เปนอุปทาน เมือ่ โทรศัพท: 074-212-808 รวมกันก็มี 2 สวน คือ อุตสาหกรรมที่มีอยูในพื้นที่ โทรสาร: 074-412-839 (Existing Industry) ซึ่งเหมาะกับเอกชนมากกวา อีก เว็บไซต: http://rdo.psu.ac.th/stsp สวนคือ อุตสาหกรรมเกิดใหม (Emerging Industry) เชนอุตสาหกรรมเครือ่ งมือแพทย เพราะคณะแพทยเรา

03

ดร.อัครวิทย

: 36


และวิศวกรรวมกันอยูแลว เพราะฉะนั้นเราก็เนนใน สิง่ ทีจ่ ะพัฒนา ซึง่ ก็คอื อุปกรณตน แบบ โรงงานตนแบบ และความสามารถในการตอยอดจากหองปฏิบัติการ สูในระดับโครงการนํารองได แลวมันก็ชวยทําใหสราง กระบวนการผลิตไดและสามารถวิเคราะหถงึ ความเปน ไปไดในเชิงเทคโนโลยีและเศรษฐศาสตรไดดวย ดูเหมือนวาทางรัฐบาลเองก็ไมคอยสนใจหรือ ตระหนักในเรื่องทําใหเกิดการพัฒนาเทคโนโลยีใน ประเทศขึ้นไดจริงตองมีขั้นตอนของหวงโซอยางไร คือจริงๆ มันเปนหวงโซในดานการวิจัยที่ทําใหเกิด Translational Research ได ก็คือการทําการวิจัยขึ้น มาแลวเปลีย่ นใหเปน Commercialization แตของไทย เหมือนกับดูวา การทําวิจยั เสร็จมันก็นา จะใชไดแลวนะ ซึง่ อันนีท้ าง มจธ. เห็นมานานแตทางภาครัฐยังไมคอ ย เห็นภาพแบบนีเ้ ทาไร เพราะฉะนัน้ นีค่ อื สิง่ ทีร่ ฐั บาลไทย แตกตางจากรัฐบาลอื่นๆ อยางไตหวัน เกาหลี หรือ อะไรตางๆ คือถาเราทําลุยตั้งแตแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5 ตอนนีผ้ มคิดวาเรานาจะทัดเทียมไตหวันหรือเกาหลี อยูพอสมควร ÍÒ¨ÒàÁ¤Õ ÇÒÁàËç¹Í‹ҧä÷ջè ÃÐà·Èä·Â¨Ð¾Ñ²¹ÒãËŒ ‘Êǹ ÍØμÊÒË¡ÃÃÁ’ ËÃ×Í ‘Í·Ø ÂÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒÊμà ’ ä»ãˌ䴌ã¹ÃдѺ

μ‹Ò§»ÃÐà·È ÍÐä÷Õàè »š¹»˜ÞËÒáÅÐÍØ»ÊÃä㹡ÒþѲ¹Ò รัฐบาลเอาจริงไหม รัฐบาลตองเอาจริง เพราะ ฉะนั้นจะเปนแบบ มจธ. ทํา แบบที่เราทํามาตั้งแต แผนพัฒนาฉบับที่ 5 มันจะไดเทานี้ แตถาอยากได แบบเห็นผลรวดเร็วและทั่วทั้งประเทศ รัฐบาลตองลุย แบบเกาหลี สิงคโปร จะไปเอาโมเดลไหนมาก็แลวแต ตอนนี้ จ ะเห็ นว า จะมี แ ค 2 กระทรวงที่ ใ ห เงิ น วิ จั ย เช น กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารและกระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แตกระทรวงอื่นไมได งบวิจัยโดยตรง แตตางประเทศเขาทําไดเพราะเขา สนับสนุนทุกดาน อยางที่ผมบอก Value Chain มัน มาตั้งแตตนไปจนถึงการนําไปเขาสูตลาด ซึ่งทําให งานเหลานี้เกี่ยวของกับทุกกระทรวงทุกสาขาวิชา ถา ทั้งหมดทั้งปวงไมมาทํางานรวมกัน มันก็ไมตอยอด ไปอยางที่วา อันนี้คือปญหาของประเทศ รัฐบาลก็เหมือน กันคือรัฐบาลพูดถึงนโยบาย ทุกรัฐบาลก็จะบอกวามี นโยบายสรางความเขมแข็งดานเทคโนโลยีในประเทศ มันพูดนะพูดได แตจะทําไดอยางไรเราก็เห็นปญหาอยู เพราะฉะนั้นอยางที่ มจธ. รัฐจะพูดอะไรก็ตาม แตเรา จะทําไปกอน คือเรารูวาสิ่งไหนที่ประเทศขาดอยู เรา ชวยไดไหม ถาเราทําได เราก็ทําสิ่งนั้นขึ้นมา

เกง อุตสาหกรรมเภสัชและเครื่องสําอาง เพราะคณะ เภสัชเราแข็ง มีผลงานเยอะ เราจะใชกลไกของอุทยานวิทยาศาสตรภมู ภิ าค ที่ ต า งกั น ฉะนั้ น กลไกที่ เ ป น อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร ภูมิภาค ถาเปน Existing Industry คือไปยกระดับขีด ความสามารถในการแขงขันของเขา เราจะใชบริการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ เชน iTAP หรือใหมาใช บริการหองแล็บ หรือใชบริการทางดานทรัพยสินทาง ปญญา สวน Emerging Industry ตองใชกระบวนการ บมเพาะธุรกิจ เลี้ยงตั้งแตแนวคิดธุรกิจวาสามารถ ทําไดจริงไหม ถาทําไดจริงเรามาตั้งบริษัทเล็กๆ ไหม แลวเลีย้ งบริษทั ใหโตขึน้ ไป ก็ดแู ลเขาดวยกระบวนการ บมเพาะเปนหลัก ตรงนี้ อุ ท ยานฯจะออกแบบเป น Platform ประมาณ 4 Platform ที่เราจะดูแลกลุมเอกชนที่ตาง กันก็คือ Existing Industry กับ Emerging Industry Emerging Industry ใชอุปทานเปนตัวนํา 37 :


กับใชเทรนดของตลาด แต Existing Industry เปน สิ่งที่เราตองชวย ไมอยางนั้นเอกชนจะไมเห็นวาทํา อุทยานวิทยาศาสตรแลวเกิดอะไรขึน้ ไดอะไร อุทยานมี บทบาทชวยเขาอยางไร เพราะเรามีจดุ เดนคือเรารวมมือ กับภาคอุตสาหกรรมภาคใตในการคิดวางแผนผลักดัน ใหเกิดอุทยานวิทยาศาสตร เพราะเอกชนมีความรู ความเขาใจวาเขามีภาวะคุกคาม ÀÒÇФء¤ÒÁ¹Ñ¹é ¤×ÍÍÐäà ตองยอนกลับไปป 2547 (แรกเริ่มเกิดอุทยาน ภูมิภาคภาคใต) ถามวาทําไมตองมีอุทยานฯ เอกชน ภาคใต เ ริ่ ม สู ญ เสี ย ขี ด ความสามารถในการแข ง ขั น อาหารทะเล ปาไม เหมืองแร เปนทรัพยากรพื้นฐาน คาแรงสูงขึน้ ของขายไดเทาเดิมหรือนอยลง ทรัพยากร กําลังหมดไป ตอนที่เราทํา เชน อาหารทะเล วัตถุดิบ ไมไดมาจากอาวไทยแลวนะครับ เอกชนตองไปเอา จากแอฟริกาใต แชแข็งมาแลวมาแปรรูปที่เมืองไทย ตองไปจับปลาทีอ่ นิ โดนีเซียเพือ่ เอามาทําปลากระปอง เขารูแลววาเขาจะอยูรอดดวยทรัพยากรจํากัดแบบนี้ ไปไมนาน การชวย Existing Industry จะเนนไปที่การใช เทคโนโลยีเพื่อลดตุนทุน แต Emerging Industry มัน ตองใชกระบวนการบมเพาะซึ่งเปนเรื่องของการสราง ผูประกอบการ การสรางจิตสํานึกการเปนผูประกอบ การ การเฟนหางานวิจยั ทีพ่ รอมจะถายทอดเทคโนโลยี ไปยัง Start Up หรือ ทํา Business Matching ได ก็ ตองทําสิ่งเหลานี้ไปคูขนานกัน แตทยี่ ากคือทําความเขาใจกับ Stakeholder ใน แตละภาคสวนในเอกชนไมยากเทาหนวยงานภาครัฐ : 38

จะทําใหเขาเขาใจวาอุทยานคืออะไร ไปคุยกับจังหวัด คุยกับชุมชน หนวยงานราชการที่จะมาสนับสนุนเรา เชน กรมสงเสริมอุตสาหกรรม หรือกรมวิชาการเกษตร นี่คือสิ่งที่ยากตอความเขาใจของภาครัฐ ÁÕÍÐäÃäËÁμÅÍ´àÇÅÒ 6-7 »‚¢Í§ÍØ·ÂÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒÊμà ·ÕÍè ÂÒ¡·íÒáμ‹Â§Ñ äÁ‹ä´Œ·Òí à¾ÃÒÐÍÐäà สิ่งที่ผมอยากทําแตยังไมไดทํา คือการทําให เห็นวาอุทยานมีผลกระทบตอการพัฒนาประเทศ ใน แผน 10 เราก็เขียนวาจะพัฒนาประเทศดวยฐาน ความรูใชไหมครับ อุทยานไมไดถูกเอาเขาไปเชื่อมโยง กับแผนพัฒนาประเทศ พอมาเปนแผน 11 บอกวา จะพัฒนาประเทศดวย วทน. มันก็ยังไมเห็นบทบาท ของอุทยานเขาไปอยูในแผน เวลาเรามองการพัฒนา ประเทศ เราไมไดมองอุทยานวาเปนกลไกหนึง่ เหมือน เราเห็นตัวอยางตางประเทศที่เห็นความสําคัญของ อุทยาน เวลาผมอธิบายใหคนฟงวาอุทยานวิทยาศาสตร คืออะไร ผมจะบอกวามันเหมือนโรงพยาบาลของสาย วิทยาศาสตรสุขภาพ ที่มองแบบนี้ก็เพราะวาเวลาเรา เจ็บปวยเราก็ไปโรงพยาบาล บอกอาการหมอ เขาก็ สงเราไปวินิจฉัย รับยาหรือรักษา ทีน้เี มื่อเอกชนมีปญหา เชน แปงของผมขึ้นรา ผลิ ต ภั ณ ฑ ผ มเก็ บ ได ไ ม น าน ผมจะไปหาใครช ว ย มาที่ เ ดี ย วมั น ควรจะได คํ า ตอบครบไหม อุ ท ยาน วิทยาศาสตรก็จะบอกวามันมีปญหาที่วัตถุดิบ เอา ผู เ ชี่ ย วชาญด า นนี้ ไ ปดู คุ ณยั งขาดสิ่งนั้นสิ่งนี้ การ เดินเรื่องมันคือที่อุทยานทั้งหมด คุณมาที่เดียวแตได คําตอบทุกอยาง จะเร็วหรือชาก็แลวแต มันก็ยังมี


ÍØ·ÂÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒÊμà ÀÁÙ ÀÔ Ò¤ÀÒ¤ãμŒÍ¡Õ 5-10 »‚¢ÒŒ §Ë¹ŒÒ¨Ð รพ.รัฐ-เอกชน ที่เขามีกําลังจายได ถามวา SMEs 90 เปอรเซ็นตในประเทศ มี ໚¹Í‹ҧäà เราหวังที่จะเห็นการลงทุน เพราะที่ผานมาเรา ความสามารถซื้อเทคโนโลยีเทาบริษัทใหญไหม นี่คือ ปญหาที่ผมมองวาอุทยานวิทยาศาสตรนาจะทําได ใชกงสีของมหาวิทยาลัย เชน อาคาร สถานที่ เราควร มากกวานี้ในชวงเวลาที่ผานมา ถาเรามีความพรอม มีหองแล็บของเราเองเพื่อใหบริการเอกชน พื้นที่ที่จะ เรื่องงบประมาณและคน ใหเอกชนมาทดลองผลิต เรานาจะมีโรงงานตนแบบ เรามี ที่ สํ า หรั บ ให ค วามสะดวกและให บ ริ ก ารของ ÍÒ¨Òàà»ÃÕºà·ÕºNjÒÍØ·ÂÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒÊμà àËÁ×͹ อุทยานอยางครบวงจรไดภายใน 5 ป ซึ่งเราหวังวา âç¾ÂÒºÒÅ ¿˜§áÅŒÇÍØ·ÂÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒÊμà àËÁ×͹ มันจะเกิดขึน้ คือการมีโครงสรางพืน้ ฐาน ผมวาอุทยาน âç¾ÂÒºÒÅàÍ¡ª¹ÁÒ¡¡Ç‹Ò ÊÀÒ¾¢Í§ÍØ·ÂÒ¹Ïμ͹¹Õé วิทยาศาสตรนา จะเปนกลไกชวยตอบโจทยของประเทศ ໚¹àª‹¹¹Ñ¹é äËÁ หลายๆ อยาง ถ า เราจะเพิ่ ม งบในการวิ จั ย และพั ฒนาจาก รู ป แบบที่ คุ ณ ถามผมว า เป น เอกชน 100 เปอรเซ็นตไหม ผมยังไมคดิ วาอุทยานจะเปนหนวยงาน 0.25 เปอรเซ็นตของจีดีพีใหกลายเปน 1 หรือ 2 ที่เลี้ยงตัวเองไดใน 10 ปนี้ นั่นคือคิดทุกอยางบนฐาน เปอรเซ็นต จะเพิ่มไดอยางไรถาเราไมเพิ่มตัวกลาง ความจริง ใครมาใชบริการก็ตอ งเสียคาบริการ มันก็ยงั ในการขับเคลื่อนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสูภาค มีสวนหนึ่งที่เราตองดูแล เชน ผูประกอบการบมเพาะ อุตสาหกรรม มันขาดตรงนี้ ถาเราจะไปพึง่ งบวิจยั อยาง เดียวมันก็ลน เรามีนกั วิจยั อยูแ คน้ี เอาเงินใสมากกวานี้ แตถาคุณเปนรายใหญ คุณก็ตองจายคาบริการเอง ถามวาเม็ดเงินจะคืนกลับมาอยางไร แมรฐั จาย เขาก็ทําไมไหวแลว ก็จริง ผมยกตัวอยางไตหวันที่รัฐใสลงไปในอุทยาน แตถาเราบอกวาเราจะขยายใหเอกชนเขามา วิทยาศาสตรของไตหวัน ทุก 1 ดอลลารของไตหวัน รวมวิจัยดวย อุทยานวิทยาศาสตรคือคําตอบในเรื่อง เขาคํานวณออกมาวาอุทยานฯจะคืนกลับรัฐ 3 ดอลลาร เหลานี้ การพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของ ในรูปแบบภาษีท่เี ขาเก็บไดจากอุตสาหกรรมที่ขายได ประเทศเราคื อ หนึ่ ง ในคํ า ตอบที่ จ ะช ว ยตอบหลาย มากขึ้น หรือสรางงานไดมากขึ้น เขามองภาพใหญ คําถาม เชน ทําไมคนไมเรียนวิทยาศาสตร ทําไม เขาลงทุนในอุทยานฯเพราะมันทําใหเกิดอุตสาหกรรม วิทยาศาสตรไมเคยชวยภาคอุตสาหกรรม ทําไมเรา แลวไปเก็บภาษีเมือ่ บริษทั สําเร็จ เอาเงินกลับไปชวยคนที่ ไมเคยมีเทคโนโลยีไปขายคนอืน่ บาง ถามวาแลวทําได เกิดธุรกิจใหม แนนอนตรงนีต้ อ งมีลม หายตายจากไปบาง ไหม ผมเชื่อวาถาเราทําจริงเราทําได เราเห็นไตหวัน เปนเรือ่ งธรรมดาของธุรกิจ ถามวาอุทยานฯเลีย้ งตัวเอง เกาหลี สิงคโปร ฮองกง ผมเชื่อวาเราทําได ไดไหม ในระยะตนคงไมได 39 :


V ISION

[text] [photo]

¡Í§ºÃóҸԡÒà ͹ت ¹μÁØμÔ / à©ÅÔÁ¾Å »˜³³Ò¹ÇÒÊ¡ØÅ

SCIENCE PARK กวา 10 ปที่ประเทศไทยกอตั้งอุทยานวิทยาศาสตร พัฒนาโครงสรางพื้นฐานทาง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อสงเสริมและสนับสนุนภาคเอกชนในการสรางความสามารถ และเสริมสรางระบบนวัตกรรมของประเทศ อุทยานวิทยาศาสตรยังเปนสะพานเชื่อมระหวางภาคการศึกษาและวิจัยกับภาคการ ผลิต รวมทั้งความเชื่อมโยงระหวางภาคการผลิตดวยกันเอง นับจากวันแรกที่อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย (Thailand Science Park) ตั้งอยูที่ อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี บนพื้นที่กวา 200 ไร ภายใตการบริหารจัดการของ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) รวมถึงศูนยวิจัยแหงชาติ 4 ศูนย ไดแก ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุ แหงชาติ ศูนยอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ และศูนยนาโนเทคโนโลยีแหงชาติ มาถึงวันนี้ นอกจากอุทยานวิทยาศาสตรแหงประเทศไทย เรามีอุทยานวิทยาศาสตร ภูมิภาคทั้ง 3 ภาค ไดแก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต รวมถึงเครือขาย เราจะลองมาดูความเปนมาตั้งแตอดีต ความเปนไปในปจจุบัน และทิศทางในอนาคตของ อุทยานวิทยาศาสตรในประเทศไทย

ในสวนสาธารณะของนักวิจยั และนักธุรกิจ

: 40


01

ÃÈ.´Ã.ÇÕÃо§É á¾ÊØÇÃó »ÅÑ´¡ÃзÃǧÇÔ·ÂÒÈÒÊμà áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ

อุทยานวิทยาศาสตรคือบันไดของเณรนอย ตองเรียนอยางนี้ เริม่ ตนของอุทยานวิทยาศาสตร มี 2 ลักษณะ ทั้งลักษณะที่ไมใชหนวยงานมหาวิทยาลัย เปนผูก อ ตัง้ ยกตัวอยางเชน หนวยงานภาครัฐอยาง สวทช. เปน ผูตั้ง และมหาวิทยาลัยเปน ผูกอตั้ง โดยสวนมาก อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร ใ นประเทศไทยจะเป น แบบ มหาวิทยาลัยเปน ผูกอตั้งเสียเยอะ เพราะความพรอม ดานองคความรูในมหาวิทยาลัยจะมีพรอมในหลักสูตร และหองวิจัย หองทดลอง ในคณะวิทยาศาสตร คณะ วิศวกรรมศาตร โดยเขาจะพรอมใหบริการเทคโนโลยี และบริการวิชาการ ตัวอยางกรณีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรีก็สรางระบบขึ้นมาเรียกวา ‘สวน อุ ต สาหกรรม’ เพราะมหาวิ ท ยาลั ย บางแห ง มี ค ณะ วิศวกรรมเปนตัวหลักในการจัดสราง บางมหาวิทยาลัย นํา 2 คณะมารวมกัน เชน คณะวิทยาศาสตรและคณะ วิศวกรรมศาสตร และอยางมหาวิทยาลัยเชียงใหมก็ จะรวม 3 คณะ คือเกษตรศาสตร วิศวกรรมศาสตร และวิทยาศาสตร ซึ่งเมื่อทําเชนนี้จึงเกิดสหวิทยาการ (Multidisciplinary) อันเปนประโยชนตองานวิจัยและ

พัฒนา เราจึงตั้งหนวยงานในมหาวิทยาลัยขึ้นมาเรียก วา ‘อุทยานวิทยาศาสตร’ กําเนิดอุทยานวิทยาศาสตรในมหาวิทยาลัยมี มาคอนขางยาวนาน แตจุดสําคัญคือการใชกงสีของ มหาวิทยาลัย ใชคนของมหาวิทยาลัย ใชงบประมาณ บางสวนของมหาวิทยาลัย มาดําเนินงานเพื่อบริการ ชุ ม ชนพร อ มกั บ หารายได เ ชิ ง เทคโนโลยี บ ริ ก าร แต ข อ เสี ย ของนั ก วิ ช าการคื อจะขาดเรื่ อ งการบ ม เพาะ ธุรกิจ (Business Incubation) เมื่อตอนหลังเขาเริ่ม ทํา อุทยานวิทยาศาสตรจึงเริ่มพัฒนาไปขางหนา จาก การบริการวิชาการธรรมดาไปผลักดันใหบรรดา ‘เณร นอย’ ทั้งหลายมาตั้งบริษัทเพื่อดําเนินการที่เราเรียก วา Entrepreneurship หรือที่บางแหงเรียกนักลงทุน เหลานี้วา ‘เถาแกนอย’

อุทยานวิทยาศาสตรภูมิภาค เมื่อป พ.ศ. 2554 ไดมีมติ ครม. ออกมาใน เรื่องของการสงเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตรโดย การเสนอของกระทรวงวิทยาศาสตรเพื่อสงเสริมการ 41 :


“อุทยานวิทยาศาสตรภมู ภิ าคเปนประตูผา นเพือ่ ใหทอ งถิน่ แกปญหา สงเสริมการลงทุนที่ชาญฉลาดเพราะ เครื่องไมเครื่องมือที่ใชในมหาวิทยาลัยตางๆ มีสะสมมา เยอะแยะมาก คนก็เยอะ สั่งสมประสบการณมาก็เยอะ แตรอยตอระหวางภาครัฐกับภาคการผลิตเอกชนมันมี ชองวางกวางมาก และชองวางตรงนี้อุทยานวิทยาศาสตร จะมาอุดพอดี”

สรางอุทยานวิทยาศาสตรในภาคเหนือ (จ.เชียงใหม) ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ (จ.ขอนแกน) และภาคใต (จ.สงขลา) โดยจับเอาบริการทางวิชาการของเขาทีเ่ ริม่ เปนรูปรางขึน้ มาภายใตการสงเสริมดูแลของ Thailand Science Park (อุทยานวิทยาศาสตรของกระทรวงวิทยาศาสตร)

อุทยานวิทยาศาสตรภมู ภิ าค เหมือน Thailand Science Park หรือไม ไมเหมือนและอยามองรวมกันนะครับ เพราะ คํ า ว า อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร ภู มิ ภ าคก็ เ ฉพาะภู มิ ภ าค กรุงเทพฯก็เปน Thailand Science Park เพราะเขาเกิด มากอน แตเราใชคนของ Thailand Science Park เขามา รวมสนับสนุนจัดการกับภูมภิ าค ในสวนของภูมภิ าคก็จะ ดูแลโดย สํานักงานสงเสริมกิจการอุทยานวิทยาศาสตร (สอว.) และ สํานักปลัดฯ กระทรวงวิทยาศาสตร ขณะที่ Thailand Science Park ดูแลโดย สวทช. แตเรามีความ สัมพันธทใี่ กลชดิ กันอยางดี นีค่ อื เหตุผลทีว่ า เราทํางานไม เหมือนกันและไมซ้ําซอนกัน อุ ท ยานภู มิ ภ าคภาคเหนื อ อาจทํ า เรื่ อ งที่ เ ขามี ความถนัด เชน Medical Hub หรือเรื่องขาว สมุนไพร หรือสปา ในขณะทีข่ อนแกนทําปศุสตั ว ทางใตกย็ างพารา ปาลมน้ํามัน ถาเปนอยางนี้รัฐบาลก็สนับสนุนเพราะไม ซ้ําซอนกัน และเพิ่มจุดเดนของแตละภูมิภาค

อุทยานวิทยาศาสตรภมู ภิ าคกับการอุดชองโหว ทางเทคโนโลยี เรามีนโยบายของเราในการสรางฐานใหอุทยาน วิทยาศาสตรภมู ภิ าคแตละแหง เชนการบริการประชาชน บริการหองปฏิบตั กิ าร จัดทําฐานขอมูลโครงสรางพืน้ ฐาน : 42

ทั้งหมดของประเทศไทย เพื่อใหประชาชนรูวาเครื่องมือ ทางเทคโนโลยี ที่ ต รงตามความต อ งการของเขาอยู ที่ มหาวิทยาลัยไหนบาง อุทยานวิทยาศาสตรภมู ภิ าคจะใหความชวยเหลือ หรือบริการวิชาการและเทคโนโลยีแกธรุ กิจ SMEs ระดับ ทองถิ่น บมเพาะธุรกิจ (Incubation) ใหเขาเริ่มตน ชี วิ ต บริ ษั ท ได และแน น อนการถ า ยทอดเทคโนโลยี สูประชาชน Platform พวกนี้ทําเหมือนกันเลยทุกที่ อยางมหาวิทยาลัยเชียงใหมมีหองปฏิบัติการที่สามารถ วิเคราะหคา ตางๆ ของผลิตภัณฑ มีเยอะแยะไปหมดรวม 120 หองปฏิบัติการ ประชาชนสามารถมาขอใชบริการ ได แตตองมีคาบริการ อุทยานวิทยาศาสตรภูมิภาคเปนประตูผานเพื่อ ใหทองถิ่นแกปญหาของเขาได สงเสริมการลงทุนที่ชาญ ฉลาดเพราะเครื่ อ งไม เ ครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นมหาวิ ท ยาลั ย ต า งๆ มี ส ะสมมาเยอะแยะมาก คนก็ เ ยอะ สั่ ง สม ประสบการณมาก็เยอะ แตรอยตอระหวางภาครัฐกับ ภาคการผลิตเอกชนมันมีชองวางกวางมาก และชองวาง ตรงนี้อุทยานวิทยาศาสตรจะมาอุดพอดี เพราะถาไมมี อุทยานวิทยาศาสตร โอกาสที่ปญหาจะตามเขามาใน มหาวิทยาลัยก็มี หรือความชํานาญการทางวิชาการหรือ หองปฏิบัติการก็ไมขามไปสูภาคการผลิต อุทยานวิทยาศาสตรภูมิภาคเปน One Stop Service ของการพัฒนา Productivity ของภาคการผลิต ไมวา SMEs หรือบริษัทใหญ หรือ Enterprise ก็ตาม ที่มีปญหาและสนใจที่จะแกปญหาดวยระบบโครงสราง พืน้ ฐานของเราเอง สวนใหญบริษทั จะวิง่ ออกไปหาบริษทั แม แทนที่จะมายอนดูวาโครงสรางพื้นฐานของเรามีอะไร ในขณะที่มหาวิทยาลัยก็สอนหนังสืออยางเดียว ผลิต


รายงานการวิจัยบนกระดาษอยางเดียว ไมพูดถึงการ ผลิ ต เลย ประเทศจึ ง มี ก ารลงทุ น ที่ เ ป น เสาสองต น อยางนี้มาตลอด แนนอนวาเมือ่ เราโดนจัดอันดับขีดความสามารถ ทางการทําวิจัย ก็ไมแปลกใจเลยวาเราดอยเรื่องนักวิจัย ในภาคเอกชน เรามี นั ก วิ จั ย ที่ ผ ลงานไม ไ ด ใ ช เ ลยใน มหาวิทยาลัยอยูเ ยอะแยะมาก สิง่ เหลานีเ้ ปนเหมือนรอย แผลเปนในระบบงานวิจัยของเรา อุทยานวิทยาศาสตร นาจะแกปญหาชองวางของงานวิจัยกับการลงทุนเพื่อ ตอยอดใชไดจริงได

อุทยานวิทยาศาสตรในรมเงาของเอกชน ในแงของเอกชน มีตัวอยางของระบบอุทยาน วิทยาศาสตรที่ดีคือที่ บริษัท อมตะ คอรปอเรชั่น จํากัด โดยอุทยานวิทยาศาสตรมีเฟสในการพัฒนาของมัน ซึ่ง นิคมอุตสาหกรรมนี้ไดพัฒนาไปไกลแลว ในประเทศ สวี เ ดนเองเขามี อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร ที่ พั ฒ นาไปจน ภาคเอกชนสามารถเขามาใชสิ่งอํานวยความสะดวกใน มหาวิทยาลัยของเขาได คนที่ตั้งบริษัทคือนักศึกษาที่

จบออกไปเองนี่แหละ รวมทั้งมี One Stop Service มีหองประชุมที่สามารถใชรวมกันไดเพื่อลดคาใชจาย อยางไรก็ดี มีขอบังคับวาเมื่อบริษัทที่เขาไปอยูจนครบ 3 ป ก็ตองออกมายืนดวยตัวเอง ที่อุทยานวิทยาศาสตร ก็จะมีพื้นที่ใหตั้งบริษัทซึ่งเปนโรงงานตนแบบ (Pilot Plant) สามารถผลิตอะไรที่ไมตองถึงกับมากมายแต สรางประสบการณกอน จนไปถึงลักษณะที่เปนระดับ นิคมธุรกิจวิทยาศาสตร เปนนิคมที่รวมบริษัททําธุรกิจ วิทยาศาสตรเขาดวยกัน นิคมอมตะตองการสรางอุทยานวิทยาศาสตรใน ลักษณะทีค่ ลายกับทางเดนมารกหรือสวีเดน เขาตองการ ทําเหมือนบานจัดสรร ลูกคามาซื้อบาน แลวมีสโมสรให ใช มีสนามเทนนิสใหเลน มีสระวายน้ํา แตเปลี่ยนพวกนี้ เปนโครงสรางพื้นฐานทางวิทยาศาสตร เชน หองปฏิบัติ การวิเคราะห เครื่องมือราคาแพงที่ซื้อมาใชรวมกัน การ ใชบริการรวมกันทีอ่ ยูต รงกลางจะเปนเสนหข องการทีค่ น จะมาเชาพื้นที่เพื่อตั้งบริษัท ถามวานิคมธุรกิจวิทยาศาสตรตางจากอุทยาน วิทยาศาสตรอยางไร ตางตรงที่วาอุทยานวิทยาศาสตร 43 :


เอาเณรเขามาฝก แตนคิ มธุรกิจวิทยาศาสตรเอาพระเขา มา ก็คอื ในนิคมธุรกิจวิทยาศาสตรตอ งเปนบริษทั แลว ทํา Pilot Plant แลว สําเร็จแลว แตจะมาตั้งบริษัทในพื้นที่ก็ ตองมาเชาที่ มาซื้อที่เหมือนนิคมอมตะหรือนวนคร แต พวกนีเ้ ขาจะมีพนื้ ทีข่ องเขาเฉพาะ เขาจะ Self-sustained ตัวเองในแงของการทําวิจัย ถาจะทําแบบที่อมตะออกแบบไว เขาจะสราง โรงเรี ย นเทคนิ ค ไว ข า งในเลย ผลิ ต คนป อ นเข า ไปใน โรงงานตางๆ ที่ตั้ง อมตะจะทําเรื่องที่เราเรียกวา หอง ปฏิบตั กิ ารทีม่ มี าตรฐาน อมตะคุยกับมหาวิทยาลัยชัน้ นํา เชิญมหาวิทยาลัยเขาไปตั้งแล็บขางใน โดยไมคิดคาเชา

นิคมธุรกิจวิทยาศาสตรเชิงเอกชน สิ่งที่อมตะพยายามจะทํา เรียกวา ‘นิคมธุรกิจ วิทยาศาสตรเชิงเอกชน’ ซึง่ ผมไมคอ ยแนใจวาความแตกตาง ระหวางนิคมอุตสาหกรรมกับนิคมธุรกิจวิทยาศาสตร ผม ยังคิดวาในเชิงโครงสรางแลว นิคมธุรกิจวิทยาศาสตรดกี วา นิคมอุตสาหกรรมเปนประเภทตองการ Tax Incentive ต อ งการแรงงานราคาถู ก ต อ งการระบบโลจิ ส ติ ก ส ทีด่ ี น้าํ ไมทว ม ประเทศไทยเดินทางบนถนนสายนีม้ ากอน มาจากบริษัทขามชาติที่เขามาตั้ง

“เราจะดึงเอาความสามารถ ของเด็กวิศวกรรมศาสตร ความสามารถของ เด็กสายวิทยาศาสตร ความสามารถของนักวิจัย ในภาคมหาวิทยาลัยขึ้นมาจาก ชั้นของเณรไปเปนพระ จากพระเปนเจาอาวาส ก็ตอง ขึ้นมาทางนี้ ตองขึ้นมาโดยมี อุทยานวิทยาศาสตรหรือนิคม ธุรกิจวิทยาศาสตรเปนบันได”

: 44

แ ต เ ร า จ ะ ดึ ง เ อ า ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง เ ด็ ก วิศวกรรมศาสตร ความสามารถของเด็กสายวิทยาศาสตร ความสามารถของนักวิจยั ในภาคมหาวิทยาลัยขึน้ มาจาก ชัน้ ของเณรไปเปนพระ จากพระเปนเจาอาวาส ก็ตอ งขึน้ มาทางนี้ ตองขึ้นมาโดยมีอุทยานวิทยาศาสตรหรือนิคม ธุรกิจวิทยาศาสตรเปนบันได ไมเชนนั้นเด็กวิศวกรรม ที่จบก็จะวิ่งไปที่นิคมอุตสาหกรรม แลวไปรับจางเขา ทํางาน เปนคนเขียนแบบ วงจรชีวิตจะเปนลูกจาง แต ถามาทางนี้เปนเจาของบริษัทไดในอนาคต ถึงแมวาจะ มีไมกคี่ นทีท่ าํ เชนนัน้ ได แตกด็ กี วาไมมบี นั ไดหรือโอกาส ใหพวกเขาเลย


02 ´Ã.ªÑª¹Ò¶ à·¾¸ÃÒ¹¹· »ÃиҹÊÁÒ¤ÁÍØ·ÂÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒÊμà ¹Ò¹ÒªÒμÔ (International Association of Science Parks, IASP)

ทำไมตอง Science Park ถาเรามองยอนกลับไปสักราวทศวรรษที่ 2530 ประเทศเรากําลังถูกบีบจากประเทศทีม่ ขี ดี ความสามารถ ในการแขงขันทางเศรษฐกิจต่ํากวา จากกลไกคาจาง แรงงานที่ต่ํากวาอยางพมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม ในขณะที่คาจางแรงงานของเรามีราคาสูงขึ้น เราจะ แขงขันบนฐานคาจางแรงงานต่าํ ไมไดแลว ขณะเดียวกัน ประเทศที่ มี ขี ด ความสามารถในการแข ง ขั น สู ง ก็ มี นวัตกรรม มีเทคโนโลยีที่พัฒนา ซึ่งเราก็ยังไปไมถึง ถา เราอยูต รงกลางเราจะถูกบีบ เราแขงกับขางบนไมได แขง กับขางลางก็ไมได เราเปนมวยรุน ทีแ่ ขงน้าํ หนักมากก็ไม ได แขงน้ําหนักนอยก็ไมได แตเรามีทางเดียวคือตองขึ้น เราลงไมได ...ตองพัฒนาขึ้นเทานั้น การที่ จ ะพั ฒ นาประเทศให มี ค วามสามารถ ในการแขงขันก็มีหลายวิธี อุทยานวิทยาศาสตรเปน กลไกหนึ่ง เปนการสรางตลาดงานวิจัย เรารูจักนิคม อุตสาหกรรมกันดี วาเปนแหลงอํานวยความสะดวกใน การผลิต คนจะตั้งโรงงานจะตองไปซื้อที่ดินอยูติดถนน ใชไหม มีน้ํามีไฟไหม อะไรตอมิอะไร ถาโรงงานใด โรงงานหนึ่งเขามาตั้งในนิคม เขาก็เริ่มงานไดทันที นิคม วิจัยก็เชนเดียวกัน มันเปนสถานที่อํานวยความสะดวก ในการทําวิจยั บริษทั ทีต่ อ งการทําวิจยั เมือ่ เขามาอยูใ นนี้

ก็จะประหยัดเวลาและคาใชจา ย ลดตนทุน ลดเวลา เพิม่ โอกาสในการทําใหสําเร็จเร็วขึ้น ถามองยอนกลับไปในสมัยกอนนั้น บริษัทตางประเทศเขามาประเทศไทยรุนแรกๆ ก็แค เปด Sales Office นั ก ศึ ก ษาที่ จ บเคมี ก็ ไ ด้ ง านขายเคมี ภั ณ ฑ์ นักศึกษาที่จบเภสัชศาสตรก็ไดงานขายยาในบริษัทยา จบอะไรก็ขายอยางนั้น แตเมื่อมีประสบการณแลวก็จะ สามารถออกมาเปดบริษทั ขายของตนเองได ตอมา BOI (Board of Investment) ไดมีการสงเสริมการลงทุนบน พื้นฐานคาจางแรงงานต่ํา บริษัทตางประเทศจึงมาเปด โรงงานกันมาก นักศึกษาที่จบออกมาก็เขาไปทํางานใน โรงงาน ก็เริ่มมีงานในหองวิจัย (Lab) แตเปนงานที่เปน หนาที่ประจําเปน Routine ไมใชงานวิจัย จะเปนพวก ตรวจสอบคุณภาพสินคาซะมากกวา ณ ปจจุบัน BOI จึงพยายามจะดึง Research Company เขามาในประเทศไทย เพื่อที่จะใหบัณฑิต ของเราจบออกมาก็จะไดมีงานวิจัยทํากันจริงๆ และ ชัดเจน ถาประเทศเรามี Foreign Direct Investment ใน ดานการวิจัยและพัฒนา บัณฑิตของเราจะไดทํางานใน สาขาที่เรียนมาจริงๆ เมื่อสั่งสมประสบการณในบริษัท ใหญแลว เขาก็จะสามารถเปดบริษัทวิจัยเล็กๆ เองได เปนการสรางตลาดงานวิจัย เปนการรนระยะเวลาที่เรา 45 :


จะตองพัฒนาอุตสาหกรรมของเราขึ้นไปสูการวิจัย กลไกอุทยานวิทยาศาสตรในตางประเทศเขา ใชกันมาไดผลดีมาก คือสามารถสรางตลาดงานวิจัย และดึ ง ดู ด บริ ษั ท ชั้ น นํ า ทั่ ว โลกเข า มาอยู ใ นอุ ท ยาน วิทยาศาสตรของเขา รวมกันสรางสรรคงานวิจัยและ พัฒนา และยกระดับเทคโนโลยีและการแขงขันไปเรือ่ ยๆ ตอนนี้ชัดเจนแลววาถาประเทศไทยตองการยก ระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศ ยอมมาถึง จุดที่จะตองกาวไปขางหนาดวยงานวิจัยและพัฒนาเปน สําคัญ

พันธกิจของ Science Park ก อ นที่ เ ราจะมาดู ว า อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร ข อง เราเปนอยางไร เรามาดูกันกอนวาอะไรคือพันธกิจของ อุทยานวิทยาศาสตร พันธกิจหนึ่ง...คือการสรางนิคม วิจัย ใหมีตลาดงานวิจัยเกิดขึ้น สอง...มันจะกอใหเกิด นวัตกรรมของธุรกิจทองถิ่น สามารถยกระดับเขาขึ้น โดยเขาเขามาใชสิ่งอํานวยความสะดวกในการวิจัยและ พัฒนาและเชื่อมโยงองคความรูกับหนวยงานตางๆ จะ ตองมีหนวยงานทีเ่ อือ้ ใหเขาไดประโยชนจากการทีเ่ ขามา อยูในอุทยานวิทยาศาสตร ทั้งในดานสถานที่ หองวิจัย นักวิจัย โรงงานตนแบบ และหลายๆ อยาง เราพยายาม จัดหาองคความรูท ธี่ รุ กิจทองถิน่ ตองการกับมหาวิทยาลัย ทั่วประเทศ เราจะรูวาใครทําอะไรเกงอยูที่ไหน ถาหาก เขาตองการทีจ่ ะทําวิจยั เรือ่ งนัน้ เรือ่ งนี้ สวทช. ก็สามารถ ติดตอใหเขาได อีกภารกิจหนึ่งของอุทยานวิทยาศาสตรคือชวย ธุรกิจเล็กๆ หรือรายใหมเริ่มตน (Start up) เรามีหนวย บมเพาะ (Incubator) เพื่อชวยพวก Start up อุทยาน วิทยาศาสตรก็เหมือนโรงเรียน ระดับ Start up เหมือน อนุบาล เรามีอนุบาลเพือ่ ปอนเขาประถม มัธยม ใหพวก ที่ Start up ก็หมายถึงพวกที่รูดานเทคโนโลยี แตไมมี ความรูเรื่องธุรกิจ เขาก็เขามา Incubate ฉะนั้นอุทยาน วิทยาศาสตร จึงเอื้อประโยชนใหกับทั้งบริษัทยักษใหญ กลาง และเล็ก อุทยานวิทยาศาสตรเปนแหลงบมเพาะ และสนับสนุนบริษัทธุรกิจเทคโนโลยี

ตัดเกรดให Thailand Science Park การวัดความสําเร็จ ถาสากลเขาจะดูจากผลิตผล จากรายไดและการจางงาน ยกตัวอยางที่เกาแกที่สุดดัง ทีส่ ดุ คือ Research Triangle Park อยูท ี่ North Carolina สมัยกอนพืน้ ทีน่ เี้ ปนรัฐเกษตรกรรม เปนรัฐทีม่ รี ายไดตา่ํ ทีส่ ดุ ในอเมริกา สวนปกครองทองถิน่ ของเขาก็มคี วามคิด จะเปลี่ยนเมืองใหเปนเมืองไฮเทค : 46

North Carolina มีมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงอยู 3 แหง มหาวิทยาลัยนอรธแคโรไลนาแชเพิ้ลฮิล มหา วิทยาลัยนอรธแคโรไลนาสเตต มหาวิทยาลัยดุค เขามี คน มีนักวิจัย มีนักศึกษา มีหองวิจัย ปจจัยเหลานี้ดึงดูด บริษัทลงทุนใหญๆ เขาไปโดยใชแรงจูงใจทางภาษี จึง เกิดการสรางงาน ไหนจะมีกําลังคนที่ทําวิจัย มีแรงงาน ทีเ่ ปนแรงงานชัน้ สูง และอากาศก็ดี มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี รัฐ North Carolina ก็พลิกโฉม จนบัดนี้เปนเมืองที่มีรายได จากเทคโนโลยีชั้นสูง โดยปกติ เขาจะวั ด ความสํ า เร็ จ ของอุ ท ยาน วิทยาศาสตรดวยผลิตผลจากรายไดและการจางงาน พลิ ก รายได ข องรั ฐ ของประเทศมากน อ ยแค ไ หน ซึ่ ง เราไม ท ราบตั ว เลขล า สุ ด ของอุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร ประเทศไทย หรื อ Thailand Science Park แต Thailand Science Park เพิ่งจะจบระยะที่ 1 ซึ่ง เรามี ก ารพั ฒ นาอุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร ป ระเทศไทย 3 ระยะ นั่นคือ ระยะที่ 1 นํา สวทช. เขาไปอยูใน อุ ท ยานฯ ระยะที่ 2 นํ า เอกชนหรื อ อุ ต สาหกรรม เขาไป และระยะที่ 3 สรางชุมชนโดยรอบใหมีความ เขมแข็ง และสามารถสรางมูลคาให ธุรกิจตนเองได

อุปสรรคของ Science Park ในประเทศไทย อุปสรรคแรกคือเงิน เพราะงบประมาณลาชา มาก เนื่องจากวิกฤติเศรษฐกิจในป 2540 อุปสรรคที่ สอง บริษทั ไทยยังไมใหความสําคัญกับการทําวิจยั ตอนที่ ดิฉนั เขามาเปนผูอ าํ นวยการอุทยานวิทยาศาสตร เรารวม กับ สวทช. ตอนนั้นเรามองวาเราไมควรบริหารอุทยาน วิทยาศาสตรกันเอง เพราะเราไมมีประสบการณ เรา เสนอคณะกรรมการวาควรใชวธิ บี ริหารรวมกับพันธมิตร (Joint Venture) เราก็ไดผูสนใจที่จะรวม Joint Venture เปน บริษัทแหงหนึ่งซึ่งเขาทํา Kyoto Research Park เปน อุทยานวิทยาศาสตรแหงเดียวในญี่ปุนที่เปนของเอกชน เขาก็ขอมาศึกษาประเทศไทยเปนเวลา 6 เดือน หลัง จาก 6 เดือนเขาก็ปฏิเสธเรา เขาบอกวาเรายังไมมตี ลาด สําหรับอุทยานวิทยาศาสตร เพราะบริษทั ในไทยไมไดทาํ วิจัย เขาทําอุทยานวิทยาศาสตรเปนธุรกิจจริงๆ เหมือน กับนิคมอุตสาหกรรมนิคมวิจยั อะไรแบบนัน้ เขาทําธุรกิจ จริงๆ แตเราเปนภาครัฐ ตลาดก็ไมมี เราก็ตองสราง เพราะคือวิถีที่เราจะไป เราก็เลยตองทําเอง อุ ป ส ร ร ค ที่ ส า ม ก า ร เ ชื่ อ ม โ ย ง ร ะ ห ว า ง มหาวิทยาลัยกับอุตสาหกรรมออนแอ อันนีเ้ ปนอุปสรรค ทีท่ าํ ใหอตุ สาหกรรมไทยทําวิจยั นอยตัง้ แตตน เพราะมัน ไมมีการเชื่อมโยง


“ถาเราทำทีมฟุตบอลแลวบริหารแบบเอกชน เราก็ ซื้อตัวนักฟุตบอลเขามาเลยเพื่อสรางทีมฟุตบอล ทีแ่ ข็งแกรงทีส่ ดุ ในโลก เชลซียงั จับใครมาไดทว่ั โลกเลย มันทำได ถาเราบริหารแบบเอกชน”

อุปสรรคที่สี่ การสนับสนุนของภาครัฐ นโยบาย ของรั ฐ ยั ง ไม เ อื้ อ ให บ ริ ษั ท ไทยทํ า วิ จั ย เราไม มี เ งิ น สนับสนุนงานวิจยั (Research Grant) สําหรับเอกชน เรา ใหนกั วิจยั ในมหาวิทยาลัย แตไมมใี หเอกชน ตางประเทศ เขามี Research Grant ใหเอกชนทําวิจัย รวมถึงพัฒนา ผลงานวิจัยไปสูเชิงพาณิชย(Translational Research) คนไทยมักเขาใจวาเมื่อเสร็จงานวิจัยในหองวิจัยแลว สามารถยกเขาโรงงานได มันไมใชการวิ่ง 100 เมตร มันตองมีไม 1 ไม 2 ไม 3 และไม 4 พอเสร็จจาก หองแล็บแลว การผลิตทีเ่ พิม่ จํานวนจากกิโลกรัมเปนตัน นั่ น คื อ กระบวนการของวิ ศ วกรรม และมั น จะต อ งมี อีกชวงหนึ่งที่เขามาพัฒนาจึงไปสูโรงงานได

ควรบริหาร Science Park แบบเอกชน และสุดทายเลยคือการจัดการซึง่ สําคัญอยางมาก อุทยานวิทยาศาสตรควรจัดการแบบเอกชน ไมใชภาครัฐ เราจะสราง Management Company คือเปนบริษัทที่ บริหารจัดการอุทยานวิทยาศาสตร ทรัพยสมบัตอิ ะไรอยู กับภาครัฐก็ได ไมมปี ญ  หา แตวธิ จี ดั การทัง้ หลายตองเปน แบบเอกชน ซึ่งถาเปนแบบเอกชนเงินเดือนมันก็สูงแบบ เอกชนมันก็ดึงดูดผูจัดการธุรกิจมาได ถาไปดูสิงคโปรหรือมาเลเซีย เบื้องตนเขาเปน ภาครัฐบริหารจัดการอุทยานวิทยาศาสตร แตจบลงเปน เอกชน โดยเขายกทรัพยสินทั้งหมดใหบริษัทไปเลยนะ ฉะนั้นบริษัทไมไดเปนแค Management Company

แต เ ป น เจ า ของอสั ง หาริ ม ทรั พ ย แ ละสิ่ ง อํ า นวยความ สะดวกตางๆ ถาพูดถึง Thailand Science Park เริ่มตนจะ ตองไปขายพืน้ ทีใ่ หเอกชนเขามาเชากอนใชไหม เราก็บอก วา Thailand Science Park จะกอสรางเสร็จป 2553 พืน้ ทีม่ รี าคาเทานี้ บริษทั ใหญทงั้ หลายเขาตองไปทีบ่ ริษทั แมที่ตางประเทศ ไปเขาคณะกรรมการ ไปขออนุมัติ เขา ตองวางแผนกันลวงหนาถาเขาจะมาลงทุนดานวิจยั และ พัฒนาที่ประเทศไทย เขาตองเตรียมบุคลากร เครื่อง มือ อยางไร เทาไร เขาก็สรุปกันเสร็จแลว พอถึงป พ.ศ. 2553 ปรากฏวาตองลาชาเนื่องจากนโยบายสนับสนุน จากภาครัฐไปอีก 6 เดือน โอเค 6 เดือนยังพอไหว พอ ครบ 6 เดือนก็ลาชาไป ป พ.ศ. 2554 และขอลาชาไป ป พ.ศ. 2555 ก็ไมมีใครเขาเลนดวยแลว ภาครัฐก็สบายๆ ก็ฉันยังไมเสร็จนี่ (หัวเราะ) มันไมได เขาใจไหม แตหากเราบริหารแบบเอกชน เราทําได ไดงาย มากเลย ถาเราทําทีมฟุตบอลแลวบริหารแบบเอกชน เราก็ซื้อตัวนักฟุตบอลเขามาเลยเพื่อสรางทีมฟุตบอล ที่แข็งแกรงที่สุดในโลก เชลซียังจับใครมาไดทั่วโลกเลย มันทําได ถาเราบริหารแบบเอกชน บริหารแบบภาครัฐ ก็ทําได - แตชา

47 :


STATISTIC FEATURES ¹¹·ÇѲ¹ ÁСÃÙ´ÍÔ¹·Ã

อุทยานวิทยาศาสตร:

เริ่มนับหนึ่งสูนับรอย

ÃٻẺ¢Í§ÍØ·ÂÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒÊμà ÌÍÂÅÐ 54.6 STP

ของอุทยานวิทยาศาสตรทั่วโลกดําเนินการโดยภาครัฐ

ดําเนินการโดยภาคเอกชน อย า งไรก็ ต าม รั ฐ บาลจํ า เป น ต อ งลงทุ น และให ก าร สนับสนุนในระยะแรกของการจัดตัง้ อุทยานวิทยาศาสตร เพราะตองใชเงินลงทุนในการจัดตัง้ คอนขางสูง และเมือ่ จัดตั้งเสร็จตองมีรูปแบบในการดําเนินการที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพสูงสุด

Mixed ownership 29.4% Private ownership 16%

Public ownership 54.6%

¾×้¹·Õ่¡ÒÃμÑ้§ÍØ·ÂÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒÊμà Location of STPs - city

Percentage

50% 40% 30% 20%

อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร ส ว น มากตั้งอยูในเมืองหรือแหลง อุตสาหกรรม มีเพียงรอยละ 5.9 ไมไดตั้งอยูในเมือง นั่น หมายถึงอุทยานวิทยาศาสตร มีสวนทําใหมีการเติบโตของ เศรษฐกิ จ ในบริ เ วณรอบๆ พื้นที่

10% 0%

35.3%

13.4%

45.4%

5.9%

Large city

Medium city

Small city

Not in city

over 1,000,000 population : 48

500,000 to 1,000,000 population

under 500,000 population

City Size

hip

ÃŒÍÂÅÐ 16

ers

เปนความรวมมือระหวางรัฐบาลและเอกชน

o

wn

ÃŒÍÂÅÐ 29.4


ͧ¤ »ÃСͺ·Õ่ÊÓ¤ÑޢͧÍØ·ÂÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒÊμà Percentage

100%

91.6% 80.7%

80%

59.7%

60% 42.9%

40%

42.9% 25.2%

21.8%

20% 0% Incubator

Research Institute

University Center

Residential Facilities

Leisure Activities

Socila Service

Other

STP elements

องค ป ระกอบที่ สํ า คั ญ ที่ พ บได ใ นอุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร ทั่ ว โลก คือหนวยบมเพาะธุรกิจ (Business Incubators) และศูนยวิจัย (Research Center) (รอยละ 91.6 และ 80.7 ตามลําดับ) สวน ที่เหลือเปนองคประกอบที่สนับสนุนการดําเนินงานของอุทยาน วิทยาศาสตร

»ÃÐÇÑμÔÈÒÊμà ©ºÑºÂ‹Í¢Í§ÍØ·ÂÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒÊμà การจัดตั้งอุทยานวิทยาศาสตรเกิดขึ้นครั้งแรก ในประเทศสหรัฐอเมริกาประมาณป ค.ศ. 1950 เรียกกันวา Silicon Valley, Stanford University จากนัน้ ในป 1960 มีการตัง้ อุทยานวิทยาศาสตรที่ ฝรัง่ เศสชือ่ Sophia Antipolis ตามมาดวย Tsukuba Science City ของประเทศญี่ปุนในป 1970 เมื่ อ ถึ ง ช ว งกลางทศวรรษที่ 1980 เปนตนมา ประเทศจีนเปนอีกหนึ่งประเทศที่มี อุทยานวิทยาศาสตรเพิ่มมากขึ้นกวาทุกประเทศ

โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหอุทยานวิทยาศาสตร เปนแหลงพัฒนาธุรกิจแนวใหมที่ใชเทคโนโลยี ขั้นสูง และเปนโครงสรางพื้นฐานที่จําเปนสําหรับ การพั ฒ นาประเทศไปสู เ ศรษฐกิ จ ฐานความรู ซึ่ ง รู ป แบบของแนวคิ ด ในการพั ฒ นาอุ ท ยาน วิทยาศาสตรในแตละแหงนัน้ ไมสามารถลอกเลียน กั น ได ทั้ ง นี้ ขึ้ น อยู กั บ ทิ ศ ทาง บริ บ ท และ ความตองการของการพัฒนาในแตละประเทศ เปนสําคัญ

áËÅ‹§¢ŒÍÁÙÅ • International Association of Science Parks. (IASP) (http://www.iasp.ws) • University-Industry Partnerships (UNISPAR), UNESCO. Science Parks around the World. (http://www.unesco.org/new/en/natural-sciences/ science-technology/university-industry-partnerships/science-parksaround-the-world/) 49 :


G LOBAL WARMING ÈÃÕ©ÑμÃÒ äªÂǧ¤ ÇÔÅÒ¹

¡Òâ¹Ê‹§ã¹àÁ×ͧâšÌ͹ ผู เ ขี ย นมี โ อกาสไปดู ง านที่ เ มื อ งโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร ก ย อ นไปในป ค.ศ. 2009 ที่ผานมา โคเปนเฮเกนเปนเมืองทีใ่ ชในการจัดการ ประชุมใหญของบรรดาประเทศภาคีท่มี ีพันธกิจใน UNFCCC ครัง้ ที่ 15 หรือเรียกวา COP (Conference of Parties) 15 กอใหเกิดขอตกลงโคเปเฮเกน หรือ Copenhagen Accord อันโดงดัง เพื่อสรางขอ ตกลงรวมกันในการลดกาซเรือนกระจก (ทุกทาน สามารถหาอานรายละเอียดเพิม่ เติมไดใน Horizon ฉบับที่ 4 เขียนโดย ดร.สุรชัย สถิตคุณารัตน) เมื่ อ ได ม าเยื อ นเมื อ งอั น มี ป ระวั ติ ศ าสตร โดงดังนี้ ผูเขียนรูสึกไดวาอากาศที่สูดอยูมีความ สดชื่นสะอาดขึ้นมาทีเดียว เพราะนอกเหนือจาก มลพิษทางอากาศที่นอยเมื่อเทียบกับประเทศไทย แล ว เมื อ งรั ก ษาความเป น ธรรมชาติ ด ว ยการ สรางพื้นที่สาธารณะและตนไมใหญแทรกอยูตาม จุดสถานที่ทองเที่ยว ทั้งสังเกตเห็นระบบขนสง สาธารณะเปนระเบียบ สะดวกตอการใชอยูตาม จุดตางๆ เพื่ออํานวยความสะดวกแกประชาชน และนักทองเที่ยว ความยืดหยุนในกฎระเบียบของ การใชรถไฟที่เอื้อใหผูใชลดการใชรถยนตสวนตัว เชน อนุญาตใหนําสุนัขขึ้นมาโดยสารดวยกันได (แตตองซื้อตั๋วอีกใบใหสุนัขตัวนั้น) การอนุญาตให นําจักรยานขึ้นมาบนรถไฟโดยจะจัดแบงพื้นที่เพื่อ จักรยานเปนสัดสวน การทําพื้นที่ถนนเพื่อชอง จักรยานโดยเฉพาะ ไมใหรบกวนการสัญจรของ พาหนะอื่นๆ ผูเขียนไมแปลกใจเลยที่ตามทองถนนจะเห็นคนใสสูทภูมิฐานปนจักรยานไป ทํางาน คุณพอทีพ่ าลูกๆ มาปน จักรยานในวันพักผอน หรือลานจอดจักรยานหนาสถานี รถไฟที่มีจํานวนมหาศาล อันเนื่องมาจากนโยบายที่เอื้อใหคนใชระบบขนสงสาธารณะ สะดวกสบาย สงผลใหการใชพลังงานเพื่อการขนสงลดลง ทุกประเทศยอมรับวาโลกของเรากําลังมีปญหา แตหลายๆ ประเทศไมอยาก เริม่ ตนแกปญ  หา เรือ่ งของการลดการปลอยกาซเรือนกระจกเพือ่ แกปญ  หาภาวะโลกรอน นี้ มีความจําเปนตองพึ่งพานโยบายรัฐบาลและโครงสรางพื้นฐานเปนสําคัญ เมื่อผูเขียนยางเทาเหยียบประเทศไทย แคเบียดเสียดผูคนรวมเมืองขึ้นรถไฟไป ทํางานใหทันก็ยากยิ่งแลว : 50


อีกชองทางหนึ่งสำหรับผูอาน ที่ ต อ งการทอดสายตาไปยั ง Vol. 1

N G N N I S C A

T H E

O F

C E S C I E N

O L O G Y T E C H N

A N D

N I N N O V A T I O

Vol. 1

#03

Vol. 1

T I E R F R O N

#01

#04

January-March

July-September

April-June

2010

2009

2010

Sufficiency Carbon Society

LOW CARB

ÃÈ.´Ã.ÊÔÃÔ¹·Ãà·¾ àμŒÒ»ÃÐÂÙà áË‹§ JGSEE ªÇ¹ÊÌҧ ‘ÊÌҧÊѧ¤Á¤Òà ºÍ¹¾Íà¾Õ§’

ON

Climate Change & Supply

SO

»ÃÐàÁÔ¹¼Å¡Ãзº¢Í§ Climate Change ¨Ò¡ÁØÁÁͧÍػʧ¤

C

Low Carbon Society

ÂÙâ·à»‚·ÕèμŒÍ§à»š¹¨ÃÔ§

T IE

Y

interview

´Ã.ÊØÇÔ·Âq àÁÉÔ³·ÃÕÂq àÁ×èÍâÅ¡äÁ‹ãª‹ãºà´ÔÁ

features

䢻ÃÐ ÙËÒ·Ò§ÍÍ¡¨Ò¡ÇÔ¡Ä ÔàÈÃÉ°¡Ô¨ ´ŒÇ¡ØÞᨴ͡·ÕèàÃÕ¡NjÒ: ÇÔ·ÂÒÈÒÊ Ãq

ÃÒ¤Ò 80 ºÒ·

Foresight Society

interview

Foresight ¤×ÍÍÐäÃ

´Ã.ÇÕÃÇѲ¹ àÅÔÈǹÇѲ¹Ò »ÃÐʺ¡Òó ¢Í§¡ÒÃàÃÔèÁ§Ò¹ÇÔ¨ÑÂáÅоѲ¹Òã¹ÀÒ¤àÍ¡ª¹

2010

Myth yth & SScieence ncee In & Out ut

Int nnte nt ter te ervie erview rvie vieew w

´Ãà ¾¾ÔàªÔàર ´´Ã. ªª°° ´Ø´´Ã§Øç¤ §§¤àÇâà ¤àÇâà Çâè¹ ¨¹ ¹ / ´Ã ´Ã. ´Ã..ÞÞÒÒÒ´´´ÒÒ ÁØÁ¡´ Á¡¡´´Ò¾Ô¾Ô··¡É ·ÑÔ Ñ¡¡ÉÉÉ Ç‹Ò´Œ ÇÒ ‹Ò´ŒÇǹ⠹⺠¹âºÒÂáÅÐ ººÒÒÂáÅÐá ÒÂáÅÐ ÂáÅÐá áÅÅÐá¼ á¼¹¹ÃÐ´Ñ ¹ÃÃдÑдºªÒμ ´´ÑºªÒμ ªÒμμÔÇÇÒ ªÒ Ô ÒÒ´Œ ÇÒ´Ç ‹ ´´ŒÇŒÇÂÂÂÇÇÔÇ·ÂÒÈÒ Ô·ÂÒÈ ÂÒÈÒÊ Â ÈÒÒÊμà Êμà Êμà Êμ àà·à·¤ ·¤ ·¤â¤¤â¹â ·¤â¹ ââ¹¹âÅâÅÅÂÕÂÂÕÂáÕááÅ áÅÐ¹Ç ÅÅй й йÇμ¡Ã ¹ÇÇÑμ¡Ã μÑ ¡ÃÃÃÁ ÃÁ Ener

2 N Vol. o. 4

2 N Vol. o. 3

08

interview

ÃŒÍÂⷾѪâôÁ ÍعÊØÇÃó ¨ÐÁÒ䢻ÃÔÈ¹Ò ‘ÍÑÁ¾ÇÒ’ Ç‹Ò·Õè ‘àǹÔÊáË‹§ºÙþҷÔÈ’ Social & technology

ÇÑ´¢Õ´¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡Òà ¾Ñ²¹Ò»ÃÐà·ÈÃÐËÇ‹Ò§ä·Â¡Ñº¨Õ¹ Feature

¡ÃØÃØ§Ø§à·¾Ï §à·à·à·¾Ï §à§à·¾ ·¾Ï ã¹» ã¹»‚ ã¹ ¹»‚ ¤È ¤.¤ È.2030 2200330 ¨Ð Ë˹ ¨ÐÁÕ Ë¹Œ¹Œ¹ÒŒ μÒ໚¹Í‹ Í‹ҧäà ¹ÕèäÕ Á‹ã‹ ª‹ªª¹¹Ô¹ÂÔ ÒÂ

Scientists,

The 3 Futures of Thai Agriculture

where are you?

gy

Envi ronm en

lizat ntra Dece

ion

Food

Econ omic s

al Soci

ÃÒ¤Ò 50 ºÒ·

ÃÒ¤Ò 50 ºÒ·

07

Issue

02

July-September

¤Ç Áàª×ª×èÍ× ¼Ô´æ ¤ÇÒÁàª× ´æ 10 »ÃÐÃС¡Òà à¡ÕèÂǡѺä¢Ë ä䢌ŒËÇÑÇ´Ñ áÅ á Ð䢌ËÇÑ´´ãËÞ ãËËÞ‹‹

Myth & science

‘Barcode‘ ¡ÓÅѧ¨Ðä» ã¤Ãæ ¡çºÍ¡Ç‹Ò »‚ 2012 ‘RFID‘ ¡ÓÅѧ¨ÐÁÒ à»š¹ÇѹÊØ´·ŒÒ¢ͧâÅ¡

Vol. 2

Vol. 1

#05

»ÃÐÇÑÐÇÑÇÑμÔÈÒÊμÃ Ò Ã ¡ÒÃμÒÁËÒ¤ÇÒÁ ÒÃμÒÁ ÇÒÁ¤Á Á¤Á ¤ÁªÑ Áª´ ªÑ´Ñ

In & Out

t

Vision

ÀÒáԨÈÑ¡´ÔìÊÔ·¸Ôì: ËÒ¡Êѧ¤Áä·Â¨Ð¼ÅÔμ ‘¡ÓÅѧ¤¹´ŒÒ¹ Ç·¹.’ à¾×è;Ѳ¹ÒÈÑ¡ÂÀÒ¾ 㹡ÒÃᢋ§¢Ñ¹·Ò§´ŒÒ¹àÈÃÉ°¡Ô¨¢Í§»ÃÐà·È àÃÒ¨ÐμŒÍ§à»ÅÕè¹á»Å§μÑÇàͧÍ‹ҧäÃ

va Inno

BANGKOK

tion

Heal

th

2030?

Statistic feature

¹âºÒ·Õè´Õ ÕÁÒ¨Ò¡μÑÇàÅ¢·Õ Å¢·ÕèªÑ´´à¨¹ à¨à¨¹:¹ ÃÒÂ§Ò¹Ê¶Ô §Ò¹Ê Ò¹¹Ê¶Ô ¹Ê¶ÔμÔμÑÇàÅ¢â¤Ã àÅ¢â¤Ã§ÊÃŒ Å¢â¤Ã â¤Ã§ÊÃŒ §ÊÃŒ ÊÌҌ §ºØ § ¤ØÅÅÒ¡Ã ´ŒÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒÊμà áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ áÅмټٌÊÙ Óàà ÓàÃ訡ÒÃÈÖ ÓàÃç ç ¡ÒÃÈÖ ÒÃÈÖ¡ÉÒÊÒÂÇÔ ÉÒ ·ÂÒÈÒÊμà ÃÒ¤Ò 50 ºÒ·

ÃÒ¤Ò 50 ºÒ·

3 N Vol. o. 2

Vol. 3 No. 1

3 N Vol. o. 3

10

11 อัศว

ินมา

ขาว

09

ÃÒ¤Ò 50 ºÒ·

How to

Survive สามารถ เพิ่มขีดความ ของประเทศ งขัน ทางการแข ยาศาสตร วิท ดวยการใช ัตกรรม เทคโนโลยีและนว

in Climate Change era

STI for

Alternative Energy ÃÒ¤Ò 50 ºÒ·

คลิก

¥´ ´ ´

ÃÒ Ò 50 ºÒ·

http://www.sti.or.th/horizon แลวไดอะไร

• ดาวนโหลดนิตยสาร Horizon ตั้งแตเลมแรกจนถึงเลมลาสุด • อัพเดตเนื้อหาและขอมูลความรูดาน วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม • ขาวสารและความเคลื่อนไหวดาน วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในแบบที่ ‘กินได’ และยอยงาย

อาน Horizon แลววิทยาศาสตรจะไมใชเรื่องไกลตัวอีกตอไป


N Vol. 3 o. 4

TECHNO ART

12 THAILAND SCIENCE PARK

Vol. 3 No. 4 Issue 12

"การแปรผกผันของสมองและการพัฒนา"

Digital Painting | 16.3 x 23.9 cm

2013 © Muscular&TheScientist


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.