HORIZON magazine vol 4

Page 1


E DITOR’ S

VISION

ฤดูรอนที่ผานมา เปนชวงเวลาที่ ‘รอน’ จริงๆ รอนทั้งเมืองไทยและทั่วโลก ภูเขาไฟใตธารน้ำแข็งในไอซแลนดปะทุหลายครั้งติดตอกันตั้งแตตนเดือนมีนาคม เรื่อยมาจนถึงปลายเดือน เมษายน ใครเลาจะคิดวาภัยจากธรรมชาติบนเกาะเล็กๆ ใกลขัว้ โลกเหนือจะสงผลใหคนนับลานคนทัว่ โลกเดือดรอน หันมากลับมาดูในบานเรา อากาศทีร่ อนจนแสบผิว ยังนอยกวาใจทีรุ่ ม รอนของคนไทย ใครเลาจะคิดวาเวลา เพียง 68 วันทีผ่ านไปจะทำใหเมืองไทยเปลีย่ นไปไดถึงเพียงนี้ นีไม ่ ใชโศกนาฏกรรมครัง้ แรกของเมืองไทย เหตุการณ ทำนองเดียวกันนี้เกิดขึ้นซ้ำแลวซ้ำเลาตลอดระยะเวลาเกือบ 80 ปของชวงเวลาประชาธิปไตย (?) ของไทย หรือคน ไทยเจ็บแลวไมจำ หรือคนไทยยังเจ็บไมหนักพอ หรือเราตองรอใหถึงวันที่แผนดินเหลือเพียงเถาถาน... ในทำนองเดียวกัน ภัยจากธรรมชาติกำลังเสียสมดุลไปเรือ่ ยๆ จากการใชชีวติ แบบบริโภคอยางไมบันยะบันยัง ของมนุษย มีผูชี้ใหเห็นภัยเหลานี้แลว มีผูพยายามแสดงเหตุที่มาที่ไป มีผูที่ชวยกันหาทางออกใหกับปญหาที่เกิดขึ้น แตดูเหมือนวาคนสวนใหญยังคงไมตระหนักถึงภัยคุกคาม (หรือโอกาส?) ดังกลาว หรือเพราะเรายังเจ็บไมพอ... ทามกลางความหดหูท อแท ยังมีคนอีกกลุม หนึง่ ทีพยายาม ่ สรางวิถชี​ี วติ ในสังคมใหม ทีเรี ่ ยกวา ‘สังคมคารบอน ต่ำ’ ดวยความหวังวาแนวทางในการดำรงชีวิตเชนนี้จะชวยแกไข (หรืออยางนอยก็บรรเทา) ปญหาหลายๆ ดานที่ ประเดประดังกันเขามา อยางไรก็ตาม ปจจัยสำคัญที่สุดที่จะทำใหสังคมคารบอนต่ำเปนจริงคือ ความตระหนักของ ผูคนในสังคม แลวสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใชชีวิตไปจากเดิม ใครบางคนเคยกลาวไววา “ชีวิตนี้ไมมีความลำบาก มีแตความไมเคยชินเทานั้น” เราลองมาชวยกันใชชีวิต แบบไมเคยชินบางจะดีไหม เชน เปดแอรลดลงจากเดิม 1 ชั่วโมง ดวยอุณหภูมิที่สูงขึ้นอีก 1 องศา (ปดไปเลยได มัย้ ) ใชน้ำทิง้ จากเครือ่ งปรับอากาศรดน้ำตนไม กินขาวในจานใหหมดทุกเม็ด สัญญากับตนเองวาจะไมชอปปง ในวัน อาทิตย งดซื้อเสื้อผาใหมเปนเวลา 1 ป จากที่เคยขับรถไปทำงานทุกวันก็เปลี่ยนไปใชบริการขนสงมวลชนสัปดาห ละ 2-3 วัน หรือเดินสัปดาหละ 1-2 วัน กินและใชของที่ผลิตในทองถิ่น ใชยาสีฟนใหหมดหลอด (รีดจนแบนยังไม พอ ลองตัดออกมาดูสิ ยังใชไดอีก 2-3 วัน) ฯลฯ เริ่มตนจากตัวเราเอง เพื่อที่วา ‘ความไมเคยชินในวันนี้ จะทำใหไมตองลำบากในวันหนา’

ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ


Vol. 1

20 Features Low Carbon Society คืออะไร พบหนทางสูยู โทเปย กับ Scenario

#04

5 ภาพ 5 มิติ 50 กวาสมอง เพื่อรวมกันสรางโลก 1 เดียว อนาคต ป 2050 ของ ‘สังคมคารบอนต่ำ’ จะกลายเปนทางเลือก เพื่อ ‘ทางรอด’ กับปญหาภาวะโลกรอน และชุมชนประหยัดคารบอน ที่เกิดขึ้นแลวในปจจุบัน

April-June

2010

04 06 08 12 14 16 18 20 28 30 36 42 43 44 46 48 50 51

News review News & event Foresight society In & Out Question area Cultural science Gen next Features Statistic features Vision Interview Global warming Thai point Social & technology Myth & science Smart life Science media Techno-Toon

เจาของ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ บรรณาธิการผูพิมพผูโฆษณา ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ ที่ปรึกษา ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน ดร.ญาดา มุกดาพิทักษ รศ.ดร.ศักรินทร ภูมิรัตน รศ.ดร.ชาตรี ศรีไพพรรณ ดร.นเรศ ดำรงชัย ดร.กิติพงค พรอมวงค

28 Statistic feature ทำไม ประเทศ ที่ ร่ ำ รวย ต อ ง แสดง ความ รั บ ผิ ด ชอบ ต อ ป ญ หา

เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การอธิบายทางเศรษฐศาสตร วาดวยทฤษฎีอรรถประโยชน (Utility) เปนทางหนึง่ ทีช่ วยหาคำตอบ ของขอถกเถียงนี้

36 Interview Sufficiency Carbon Society ศตวรรษที่

21 โลกเปลี่ยน สังคมเปลี่ยน โลกตองการ ความ ‘พอ เพียง’ ของ มนุษย รศ.ดร. สิริน∙รเ∙พ เตาประยูร จะมาบอกเราวา Low Carbon Society มีความหมาย วา อยางไร และ สามารถ ผลัก ดัน สังคม เขาสูสังคมคารบอนพอเพียง (Sufficiency Carbon Society) อยางไร

บรรณาธิการบริหาร ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ กองบรรณาธิการ พสชนัน นิรมิตรไชยนนท วัสสลิสา ไตรสัจจ ดร.สุรชัย สถิตคุณารัตน สิริพร พิทยโสภณ บรรณาธิการตนฉบับ วีรพงษ สุนทรฉัตราวัฒน ศิลปกรรม ณขวัญ ศรีอรุโณทัย น้ำฝน อุดมเลิศลักษณ

สำนักงาน ศูนยคาดการณเทคโนโลยีเอเปค สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สำนักงานชั่วคราว) 73/1 อาคาร สวทช. ถนนพระรามที่ 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2644 8150-9 ตอ 768, 713, 743 อีเมล horizon@sti.or.th เว็บไซต http://www.sti.or.th/horizon

ดำเนินการผลิตโดย บริษัท เปนไท พับลิชชิ่ง จำกัด โทรศัพท 0 2736 9918 โทรสาร 0 2736 8891 อีเมล waymagazine@yahoo.com


ศิริจรรยา ออกรัมย์ / ปรีติญา นิยมราษฎร์

ศาสตรา จาร ย เนียร บาร ซิ ลาย นัก วิจัย ประจำ สถาบัน การ แพทย ของ นิวยอรก สหรัฐอเมริกา ศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมที่แปรเปลี่ยนไปพบ ไดในผูที่มีอายุยืนยาว โดยทำการศึกษาวิจัยเกี่ยว กับความเจ็บปวยของผูสู งอายุทีเป ่ นโรคหัวใจ โรค เบาหวาน โรคมะเร็ง และโรคอัลไซเมอร จึงเกิด แรงบันดาลใจในการพัฒนายาทีจะ ่ ชวยใหมนุษยมี สุขภาพแข็งแรง มีอายุยืนถึง 100 ป ซึ่งจะสงผล ตอระบบชีววิทยาของรางกาย เชน กระบวนการ เมตาบอลิสม การตายของเซลล ระบบภูมิคุมกัน และระดับคอเลสเตอรอลในรางกาย ซึ่งในขณะนี้ กำลังอยูใน  ระหวางการดำเนินงานของบริษทั ผลิต ยา และคาดวาจะสามารถทดสอบตัวยาไดในอีก 2 ปขางหนา

‘ยา’

ชวยอายุยืน

∙ี่มา : http://www.dailymail.co.uk/health/article1277783/Drugs-help-live-100-available-2012. html?ITO=1490

เปลี่ยนกระดูก จากเหล็กเปนไม

การ แพทย พัฒนา มาก ขึ้น ใน แบบ วัน นี้ ที่ สามารถ ใช ไม แทน เหล็ก ใน การ เสริม กระดูก ของ มนุษย ที่ เสีย หาย โดย ดร.แอน นา แทม ไพรี ได ทำการ ทดลอง ใช ไม แทน กระดู ก ของ มนุ ษ ย โดย นำ ไมหวายไปผานกระบวนการเผา แลวเติมแคลเซียม และคารบอน จากนัน้ จึงนำไปเผาภายใตความรอน และความดันอากาศสูงเปนเวลา 10 วัน กอนจะนำ ไปผานสารละลายฟอสเฟต ไมทีได ่ จะเปลีย่ นสีขาว และมีรูพุรนคลายกระดูก เหมาะสำหรับเปนพื้นที่ ใหเสนเลือดและเสนประสาทตางๆ จากการทดลองผาตัดนำไมใสเขาไปในแกะ พบวาไมสามารถผสานเขาเปนหนึง่ เดียวกับกระดูก ของแกะเปนอยางดี ซึ่งดีกวาเหล็กหรือเซรามิกที่ เคยใช โดยไมนั้นแข็งแรงพอที่จะเปนกระดูกของ มนุษยได และผูเชี่ยวชาญวางแผนที่จะใชไมเปน วัสดุใหมในการเสริมกระดูกที่ไดรับความเสียหาย ภายใน 5 ป อีกเหตุผลหนึ่งในการนำไมมาใชแทน เหล็ก คือมีราคาถูกและมีประสิทธิภาพดีเยี่ยม

∙ี่มา : http://news.bbc.co.uk/2/hi/ europe/8446637.stm : 4


NEWS REV IEW

Makani Power บริษัท ดาน พลังงาน ลม แหง หนึ่ง ในมลรัฐแคลิฟอรเนีย สหรัฐอเมริกา ไดคิดคนและ ทดลองนำวาวมาใชเพือ่ ผลิตพลังงาน เมือ่ วาวตนแบบ ถูก ปลอย ขึ้น สู ทองฟา สามารถ กัก เก็บ พลังงาน และ เปลี่ยนเปนกระแสไฟฟาไดเมื่อถูกปลอยขึ้นสูทองฟา ดวยงบประมาณราว 20 ลานดอลลาร ทาง บริษัท คาด การณ ไว วา จะ สามารถ สราง วาว ขนาด ยักษ ที่ สามารถ ลอย ขึ้น ไป บน ทองฟา ใน ระดับ สูง และ สามารถ กัก เก็บ พลังงาน ได มากกวา กังหันลมทั่วไปที่มีความสูงไมมากนัก โดยคาดการณ วา เมื่อ ผล งาน ตนแบบ สำเร็จ วาว นี้ จะ สามารถ บิน ขึ้นสูงไดมากกวา 600 เมตร และผูผลิตวางแผนจะ ใชหุนยนตเปนตัวควบคุมการขึ้นของวาว ดังนั้นมัน จึงสามารถที่จะโลดแลนอยูบนทองฟาไดนานเทาที่ ตองการ วาวตนแบบจะสามารถปรากฏโฉมในอีก 18 เดือนขางหนา อดใจรออีกสักนิด เราอาจไดเห็นการ เปลี่ยนแปลงทางพลังงานอีกครั้ง

‘วาว’

รูปแบบใหม ของการสรางพลังงาน

∙ี่มา : http://www.greenlaunches.com/alternativeenergy/kites-generating-1mw-of-energy-beingdeveloped-by-makani-power.php

โรงแรมสีเขียว

‘ปน ไฟ’ แลกอาหาร

ครา วน พลา ซา โฮ เทล ใน กรุ ง โคเปนเฮเกน ประเทศเดนมารก ปงไอเดียเด็ดในการชวยโลก ประหยัดพลังงาน ดวยการเสนอใหผูเขาพักตอง ผลิต กระแส ไฟฟา ให ได อยาง นอย 10 วัตต ตอ ชั่วโมง โดย การ ปน จักรยาน ออก กำลัง อยู กับ ที่ เพียง 15 นาที แลกกับคูปองอาหารมูลคา 36 ดอลลาร โดยรถจักรยานออกกำลังกายดังกลาว จะ มี ไอ โฟน เชื่อม ตอ อยู ที่ ดาม จับ เพื่อ วัด ระดับ พลังงานที่ผลิตได ผูที่สามารถเขารวมไดมีเฉพาะ แขกที่เขาพักเทานั้น นอกจากนี้ โรงแรมสีเขียวแหงนี้ยังมีการ ผลิตพลังงานหมุนเวียนโดยการคิดแผงพลังงาน แสงอาทิตยที่ดานหนาของอาคารไวอีกดวย และ หากไอเดียนี้ประสบความสำเร็จ ทางโรงแรมก็ จะขยายผลตอไปยัง คราวน พลาซา โฮเทล ใน สหราชอาณาจักร

∙ี่มา : http://news.bbc.co.uk/2/hi/ europe/8621038.stm 5 :


Sดร.เPECIAL REPORT พียงเพ็ญ บุตรกตัญญู / นิรดา วีระโสภณ / ภั∙รวรรณ จารุมิลิน∙ / บรรณาธิการ การถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอากาศ ิ กับการใช้มาตรการบังคับสิทธิเหนือสิทธิบัตร

(Compulsory Licensing) ภายใตกรอบอนุสัญญา UNFCCC และ Kyoto Protocol กำหนดใหประเทศที่พัฒนาแลวมีบทบาท และเปนผูนำในการ ลดกาซเรือนกระจกในประเทศของตน และใหความชวยเหลือ ดาน การ เงิน (Finance) รวม ทั้ง การ ถายทอด เทคโนโลยี (Technology Transfer) แกประเทศกำลังพัฒนา แต ขอ เท็จ จริง ที่ พบ การ ถายทอด เทคโนโลยี ใน เชิง พาณิชย และเทคโนโลยีเพื่อการรับมือกับความเปลี่ยนแปลง ของสภาพภูมิอากาศเปนเทคโนโลยีที่มีสิทธิบัตรคุมครองอยู อาจมีราคาสูง จนเปนเหตุใหประเทศกำลังพัฒนาไมสามารถ เขาถึงหรือนำเทคโนโลยีมาใชได คำถามที่สำคัญก็คือ การ คุมครองทรัพยสินทางปญญา โดยเฉพาะสิทธิบัตรนั้น เปน อุปสรรคตอการถายทอดเทคโนโลยีหรือไม Horizon ฉบับ ‘สังคมคารบอนต่ำ’ ไดคัดเลือกเนื้อหา สวนหนึง่ ในรายงาน ‘การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอากาศ ิ : การ ถายทอดเทคโนโลยี กับประเด็นดานทรัพยสนิ ทางปญญา’ โดย: ดร.เพียงเพ็ญ บุตรกตัญู นิรดา วีระโสภณ ภัทรวรรณ จารุมิลินท ในสวนที่พยายามตอบปญหาขางตน

ใช CL เพื่อเขาถึงเทคโนโลยีสะอาด – ทำไดหรือไม หาก มอง โดย ผิว เผิน แนวทาง หนึ่ง ที่ อาจ ชวย แกไข ปญหา-อุปสรรค ใน การ เขา ถึง เทคโนโลยี เพื่อ รับมือ กับ การ เปลี่ ย นแปลง สภาพ ภู มิ อากาศ ได คื อ การ บั ง คั บ สิ ท ธิ ตาม สิทธิบัตร (Compulsory Licensing - CL) ภายใตกรอบของ ความตกลง TRIPS (Trade-Related Aspects of Intellectual Property Rights) ดังทีรั่ ฐบาลของหลายประเทศรวมถึงรัฐบาล ไทยไดใชมาตรการนี้ เพื่อเปนกลไกในการเขาถึงยารักษาโรค สำคัญๆ มาแลว บรรดาประเทศกำลังพัฒนาไดยกประเด็นของการนำ ขอยกเวน TRIPS เรื่องการบังคับใชสิทธิเหนือสิทธิบัตรขึ้นมา เพื่อใชเปนเครื่องมือในการชวยเหลือใหประเทศที่กำลังพัฒนา ไดมีโอกาสเขาถึงเทคโนโลยี ตัวอยางเชน ในกรณีของบริษัท Dupont ซึ่งสามารถคิดคนการผลิตสารเคมีที่ใชทดแทนสาร CFC ซึ่ง เปน สาร ที่ มี ปฏิกิริยา ตอ การ ทำลาย ชั้น โอโซน หรือ เรียกวาเปนสารเรือนกระจก โดยบริษัท Dupont ปฏิเสธการ อนุญาตใหใชสิทธิ (Licensing) ในการผลิตสารทดแทนดังกลาว แกบริษัทในประเทศอินเดียและบริษัทในประเทศเกาหลี การปฏิเสธในกรณีนีเป ้ นตัวอยางทีทำให ่ เห็นวาการแพร กระจายของเทคโนโลยีจากประเทศพัฒนาแลวนัน้ ยังคงเปนไป : 6

ไดยากตามกลไกทรัพยสินทางปญญาปกติ อยางไรก็ตาม ขอ 31 (f) ของความตกลง TRIPS กำหนด วา การ ใช มาตรการ การ บังคับ ใช สิทธิ นั้น จะ ตอง เปน ไป เพื่อ สนอง ตอ ความ ตองการ ของตลาดภายในประเทศเปนหลัก (Predominantly for the Supply of the Domestic Market of the Member Authorizing Such Use) ซึ่งในที่นี้ หมายความวาประเทศจะตองมีศักยภาพในการผลิต ภายในประเทศ เพื่อใชภายในประเทศเทานั้น ในการประชุมรัฐมนตรีรอบโดฮา จึงไดเสนอ ให มี การ ยกเวน ให แก ประเทศ ที่ ไมมี กำลัง ผลิต เอง สามารถนำเขายาสามัญที่ผลิตจากประเทศอืน่ ภายใต มาตรการ บังคับ สิทธิ ทดแทน ได ซึ่ง การ ยกเวน ใน ความตกลงรอบโดฮานั้น ไดนำไปสูการแกไขความ ตกลง TRIPS อยางถาวร แตบทบัญญัตทีิ แก ่ ไขใหมดังกลาวนัน้ เปนขอ ยกเวนสำหรับการบังคับใช CL ในเรื่องผลิตภัณฑยา เทานั้น การนำมาตรการ CL มาใชเพื่อเปนกลไกใน การเขาถึงเทคโนโลยีสะอาด ประเด็นหนึ่งที่ควรพิจารณาคือ การตีความ ภาวะเรงดวนฉุกเฉิน ภายใต TRIPS กับกรณีของ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 1 ใน 3 กรณีที่เปนสาระสำคัญของมาตรา 31 คือ ใน การ บังคับ ใช สิทธิ ตาม สิทธิ บัตร ตอง เกิดภาวะฉุกเฉินหรือสภาวะเรงดวนอยางที่สุดของ ประเทศ หากดูจากการตีความขอตกลง TRIPS ผาน ปฏิญญา โด ฮา จะ เห็น ได วา ภาวะฉุกเฉิน ดัง กลาว ปญหาดานสาธารณสุขโดยเฉพาะอยางยิ่งการแพร กระจายของไวรัสเอชไอวี ซึ่งเปนภัยคุกคามอันใหญ หลวงของโลก ขณะ ที่ การ เปลี่ ย นแปลง สภาพ ภู มิ อากาศ เปนสิ่งหนึ่งที่ประชาคมโลกมองวาเปนปญหาที่ตอง ดำเนิน การ แกไข อยาง จำเปน เรง ดวน และ ความ ตองการ ดาน เทคโนโลยี เพื่อ รองรับ ปญหา ดัง กลาว เปนสิ่งที่ไมสามารถรอคอยไดอีกตอไป อยางไร ก็ตาม การ ตีความ บทบัญญัติ ของ TRIPS ใหครอบคลุมประเด็นดาน Climate Change ยังเปนสิ่งที่จะตองรอพิจารณา (เชนเดียวกับที่เคยมี


การรอคอยการพิจารณาเรื่องสาธารณสุขมาแลว) นวัตกรรม (Open Innovation) เปนตน ดังนั้น ณ ปจจุบัน การใชมาตรการ CL กับปญหา นอกจากนี้ ประเด็นอื่นๆ ที่จะเปนประโยชนตอ ดาน Climate Change จึงมิอาจหยิบยกขึ้นมากลาวอาง ประเทศกำลังพัฒนา ไดแก ความสามารถในการเขาถึง ในทางเทคนิคไดอยางสมบูรณ ฐานขอมูลสิทธิบัตรที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสะอาด การรูจัก กับเทคโนโลยีและผลิตภัณฑทีเกี ่ ย่ วของ รวมทัง้ การมีทักษะ ทางออกเพื่อการเขาถึงการใชเทคโนโลยี ใน การ เจรจา ตอ รอง การ ใช สิทธิ ใน เทคโนโลยี จะ เปน เยียวยาโลกรอนคืออะไร ประโยชนในการเรียนรูปญหา และแนวทางการแกปญหา แทจริง แลว บทบาท ของ การ คุมครอง ทรัพยสิน ดานการเขาถึงและรับการถายทอดเทคโนโลยีของประเทศ ทางปญญาในอุตสาหกรรมยานั้น มีบริบทที่แตกตางจาก กำลังพัฒนาอยางยิ่ง อุตสาหกรรมพลังงานทดแทนหรือเทคโนโลยีสะอาดอยู หลาย ประการ กล่าว คือ ผูท้ รง สิทธิ บัตร ใน อุตสาหกรรม ยา ทางออก ทางเลือก ของประเทศไทย สำหรั บ ประเทศไทย เพื่ อ ส ง เสริ ม ให เกิ ด การ อาจ อยู ใน ฐานะ ที่ มี อำนาจ ผู ก ขาด ทางการ ตลาด สู ง และ อาจสามารถ ตั้ง ราคา ที่ สูง กวา ตนทุน การ ผลิต อยาง พั ฒนา ที่ ยั่ ง ยื น และ ร ว ม กั บ ประชาคม โลก ใน การ แก ไ ข มหาศาล เนือ่ งจากยาเปนผลิตภัณฑไมสามารถทดแทนกัน ปญหา ประเทศไทยควรเริ่มศึกษาและประเมินศักยภาพ ของแนวทางหรือมาตรการที่จะสงเสริมใหเกิดการพัฒนา ไดมากนัก ใน ขณะ ที่ เทคโนโลยี สะอาด หรือ ดาน พลังงาน เทคโนโลยี ที่ ปลอย กาซ เรือน กระจก ใน ปริมาณ ต่ำ หรือ ทดแทน เชน Photovoltaic (PV), เชื้อเพลิงชีวภาพ (Bio- สามารถ หลีก เลี่ยง การ ปลอย กาซ เรือน กระจก ได โดย Fuel) และลม (Wind Technology) เปนสาขาเทคโนโลยี คำนึงถึงเปาหมายในการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืนควบคู ที่มีปริมาณการแขงขันสูง ซึ่งทำใหผูใชมีทางเลือกคอนขาง กันไป ใน การ กำหนด แผน ระยะ ยาว เพื่ อ รั บมื อ กั บ ผล มาก และผูผลิตไมสามารถตั้งราคาหรือคาธรรมเนียมการ กระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จำเปนตอง ใชสิทธิ (Royalties) ในลักษณะผูกขาดไดนาน การแขงขันในเทคโนโลยีเชนวานี้ ไมเพียงเปนการ อาศัยการวิจัยและพัฒนา เพื่อใหเขาใจและตระหนักถึง ิ แขงขัน ระหวาง บริษัท ที่ ผลิต เทคโนโลยี ใน สาขา เดียวกัน แนวโนมและทิศทางของการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอากาศ ่ เกิดขึน้ ในระยะยาว จัดทำแผนปฏิบตั การ ิ เทานั้น แตยังเปนการแขงขันระหวางเทคโนโลยีที่ใชเปน อยางถาวรทีอาจ แหลงพลังงาน เชื้อเพลิง หรือพลังงานไฟฟาที่เปนทาง ดานการวิจยั และพัฒนาและจัดลำดับความสำคัญของการ เลือกทีแตก ่ ตางกันดวย ในทายทีส่ ดุ เทคโนโลยีทีมี่ มากมาย ศึกษาวิจัยเพื่อเตรียมแนวทางในการรับมือกับปญหาการ ิ ของประเทศไทย และเตรียม เหลา นี้ ก็ จะ ได รับ ความ สนใจ จาก กลุม ลูกคา ที่ มี ความ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอากาศ การรองรับการดำเนินการตามพันธกรณีที่อาจเกิดขึ้นใน ตองการแตกตางกัน บทบาท ที่ สำคัญ ของ ระบบ ทรัพยสิน ทาง ปญญา อนาคต สรางองคความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่เหมาะสม คือการสงเสริมการสรางและแพรกระจายของเทคโนโลยี กระจายเทคโนโลยีไปใชในวงกวาง สามารถลดการนำเขา อาจรวมถึงการสรางแรงจูงใจแกภาคเอกชนในการลงทุน เทคโนโลยีจากตางประเทศ จัดทำเครือขายนักวิจัย นักวิชาการ รวมทั้งฐาน ดานการวิจยั และพัฒนาทีมี่ ความเสีย่ ง และมีวัตถุประสงค เพื่อตอบสนองความตองการของตลาด เนื่องจาก ผูลงทุน ขอมูล การ วิจัย และ พัฒนา ดาน การ เปลี่ยนแปลง สภาพ มีความมั่นใจวาเขาจะไดรับผลตอบแทนที่คุมคาหากการ ภูมิ อากาศ ของ ประเทศไทย ให เกิด ศูนย ขอมูล ดาน การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย (Thailand วิจัยและพัฒนานั้นประสบความสำเร็จ มาตร กา รอื่นๆ ดาน ทรัพยสิน ทาง ปญญา อาจ Information Center on Climate Change) ที่สามารถ มี บทบาท ใน การ สง เสริม การ เขา ถึง เทคโนโลยี รวม ทั้ง ใชประโยชนทัง้ ในการกำหนดนโยบายของประเทศ การนำ การพัฒนาและถายทอดเทคโนโลยีไมนอยไปกวาการทำ ผล การ วิจัย ไป สู การ ใช ประโยชน อยาง เปน รูป ธรรม ทั้ง Compulsory Licensing เชน การ ให ความ ชวย เหลือ ที่ผานกลไกการคุมครองทรัพยสินทางปญญา และเพื่อ ทางการเงิน เพือ่ นำไปเปนทรัพยากรในการตอรองการจาย สาธารณประโยชน นอกจากนี้ ประเทศไทยยังตองแสดงใหชาวโลก คาธรรมการใชสิทธิ (Royalties Fees) นอกจาก นี้ ยัง รวม ถึง มาตรการ หรือ แนว ปฏิบัติ เห็นวา ประเทศไทยเคารพสิทธิในทรัพยสินทางปญญา สำหรับ การ คุมครอง ทรัพยสิน ทาง ปญญา ที่ เกิด จาก การ ที่ เป น ผล มา จาก การ วิ จั ย และ พั ฒนา และ มี น โย บาย สนับสนุนของรัฐบาล การจัดตั้งหนวยงานดานการวิจัย สนับสนุนการสรางเทคโนโลยีและนวัตกรรมอยางตอเนือ่ ง และพัฒนารวมทั้งการตกลงกันเพื่อใหผูผลิตเทคโนโลยี และยั่งยืน ที่เกี่ยวของ สามารถนำเทคโนโลยีนั้นเขาสูระบบการเปด 7 :


Th eo ry

พสชนัน นิรมิตไชยนน∙์

Causal Layered Analysis การวิเคราะหเหตุและผลแบบเปนลำดับชั้น (Causal Layered Analysis: CLA) เปนวิธีการมองอนาคตวิจัย รูปแบบใหมที่ Prof. Sohail Inayatullah ไดพัฒนาขึ้น ซึ่งคำๆ นี้ ยังไดยินไมบอยนักในวงการมองอนาคตของ ประเทศไทย เอกลั ก ษณ เฉพาะ ตั ว ของ CLA ได แ ก การ แปลความหมายขอมูลเพื่ออธิบายปรากฏการณ การ ศึกษาและจัดวางขอมูลเชิงลำดับชั้นในโครงสรางของ ประวัติศาสตร เชน ชนชั้น เพศ วรรณะ เปนตน ควบคู ไปกับการใหความสนใจประเด็นในจิตใตสำนึกที่ผูคน อธิบายออกมา และนิยามเปนความรูที่สอดคลองกับ โลกของความเปนจริง หากพิจารณาในแงของทฤษฎี, CLA ถูกบูรณาการ ขึ้นโดยการมุงใชประโยชนจากขอมูลเชิงประจักษ การ แปล ความ หมาย การ วิ พ ากษ และ การ เรี ย น รู แบบ ลงมือทำทั้งจากภายในและภายนอกตอประเด็นที่กำลัง ทำการวิจัยศึกษา หากพิจารณาในเชิงวิธีการ, CLA มุงคำนึงถึง การทำนายอนาคตเปนสวนนอย แตคำนึงถึงการคนหา ความจริงของปรากฏการณ (ซึ่งเปรียบเสมือนยอดของ ภูเขาน้ำแข็ง) ทั้งยังคนหาลึกลงยังชั้นตางๆ ของความ จริงของปรากฏการณ เพื่อประกอบการสรางทางเลือก ของ อนาคต ดวย การ ใช วิธี การ ทาง สังคมศาสตร เพื่อ วิเคราะหและสำรวจความสัมพันธของระบบ เนนการ ศึกษาอนาคตในเชิงลึก คนหาขอมูลในปจจุบันและอดีต มีการทำความเขาใจลึกถึงระดับความเชื่อ วัฒนธรรม และจิตใตสำนึกของผูมี สวนไดเสียในประเด็นทีกำลั ่ งมอง อนาคต รวมถึงเปดชองสำหรับใหมีการถกเถียงถึงขอมูล เชิงลึกเพื่อกำหนดภาพอนาคต CLA จึงเปนแนวคิดที่ลดขอจำกัดของการวิจัย ทางสังคมศาสตรและเทคนิคการทำนายบางวิธที​ี ค่ อนขาง ผิ ว เผิ น เปลี่ ย น การ ทำนาย อนาคต เป น การ อธิ บ าย ความหมายของขอมูล นอกจากจะถูกนำไปใชเพื่อการ มองอนาคตแลว CLA ยังสามารถนำไปใชในการพัฒนา นโยบายทีมี่ ประสิทธิภาพ มีความลุม ลึก ครอบคลุม และ ใชไดระยะยาว : 8

CLA เปนวิธี การ สราง ภาพ อนาคต ที่ คอน ขาง มี ประสิ ท ธิ ภ าพ และ สามารถ ประยุ ก ต ใช ใน การ หา คำตอบไดหลายบริบท ซึง่ มีผูสนใจ  นำ CLA ไปใชในหลาย ประเทศ ทั่ว โลก ไม วา จะ เปน องคกร ระหวาง ประเทศ มหาวิทยาลัย องคกร ภาค รัฐ ภาค ธุรกิจ และ องคกร ไมแสวงหากำไร ในภาคเอกชนมีการนำไปพัฒนาการ จัดประเภทขอมูลผลิตภัณฑและบริการ สถาบันตางๆ นำ ไป ใช ใน การ พิจารณา ความ คาด หวัง ของ ผู มี สวน เกี่ยวของในทุกระดับเพื่อวางกลยุทธใหมีความชัดเจน และครอบคลุม รวมถึงมีนักศึกษาปริญญาเอกนำไปใช ในการจัดการขอมูล ในกระบวนการ CLA นั้น วิทยากรกระบวนการ จะมีการตั้งคำถามกับผูเขารวมระดมความคิดในระดับ ตางๆ ของปรากฏการณหรือประเด็นทีกำลั ่ งมองอนาคต ใน 4 ระดับ ไดแก 01 ระดับ

Litany

ใน ขั้ น นี้ เป น ขั้ น ตอน ที่ เห็ น ได ทั่ ว ไป หรื อ ปรากฏการณ ที่ พบ วิทยากร กระบวนการ จะ ถาม ถึง ปรากฏการณหรือแนวโนมเชิงปริมาณที่ผูเขารวมระดม ความคิดรับรูหรื  อกำลังประสบอยูใน  ประเด็นทีกำลั ่ งมอง อนาคต เชน ขาวจากสื่อตางๆ เหตุการณหรือแนวโนม ที่ไมเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ประเด็นที่ตองการความชวย เหลือ ความเบื่อหนายไมกระตือรือรน เปนตน ขอมูล เหลานี้จะมองเห็นไดชัดเจนและมีการวิเคราะหเพิ่มเติม เพียงเล็กนอย มักถูกใชในการจัดทำนโยบาย 02 ระดับ

Social Causes

วิ ท ยากร กระบวนการ จะ ถาม ผู เข า ร ว ม ระดม ความ คิ ด ถึ ง เหตุ ป จ จั ย ที่ มอง เห็ น ได ใน ระดั บ ปรากฏการณและสงผลตอประเด็นที่กำลังมองอนาคต ซึ่ ง ต อ ง สอบถาม เพื่ อ ค น หา อย า ง ครอบคลุ ม ทั้ ง ทาง สังคม เทคโนโลยี เศรษฐกิจ นโยบายสิ่งแวดลอม และ ประวัติศาสตร โดยการอธิบายตางๆ อยูบนพื้นฐานของ ขอมูลทีวิ่ เคราะหโดยใชหนวยงานนโยบาย การอธิบายใน ทางเทคนิคและการวิเคราะหเชิงวิชาการ ภาครัฐ และผู ที่สนใจในประเด็นนั้นๆ


03 ระดับ

Discourse / Worldview

04 ระดับ

Metaphor / Myth

ึก

ลงล

ขึ้น

ยอน

วิทยากร กระบวนการ จะ ถาม ผู เขา รวม ระดม วิทยากร กระบวนการ จะ ถาม ผู เขา รวมระดม ความ คิด ความคิดเพื่อคนหาปจจัยเชิงลึกลงไปกวาระดับ Social เพื่อคนหาเรื่องราวที่ฝงลึกในจิตใตสำนึกหรือความรูสึก Causes ซึ่ ง เป น ป จ จั ย ที่ อาจม อง ไม เห็ น ใน ระดั บ ที่มีตอประเด็นที่กำลังมองอนาคต เชน ในระดับองคกร ปรากฏการณที่มีความเกี่ยวของกับประเด็นที่กำลังมอง บางองคกรมองบุคลากรเปนสินทรัพยที่มีคุณคา หรือ อนาคต เชน ประเด็น ทาง กฎหมาย สังคมศาสตร ในระดับประเทศหรือภูมิภาค เชน ในอเมริกามองวา ภาษาศาสตร กระบวนการทางวัฒนธรรม และความ อนาคต ไร ขอบเขต แต ชวย เติม เต็ม ทาง เลือก และ เชื่อในมุมมองของผูมีสวนไดเสียที่คอนขางยึดติด โอกาส ชาวเอเชียเชื่อวาอนาคตเหมือนตนไมที่มี จึงเปนสิง่ ทีท่ าทายวิทยากรกระบวนการ ชีวิต มีรากเปรียบเสมือนอนาคตที่มีทางเลือก ใน การ ค น หา ป จ จั ย เบื้ อ ง หลั ง เหล า นี้ จำนวนมาก เพื่อ ใช ใน การ ตอบ คำถาม หรือ แก ปญหา ดัง นั้นวิทยากร กระบวนการ ตอง ปรากฏการณ ประเด็นที่กำลังสนใจ ซึ่งภาพอนาคตจะ กระตุนใหผูเขารวมระดมความคิด เลา มีความแตกตางกันขึ้น ถึง ภาพ ที่ ปรากฏ ขึ้น ใน ใจ เนน ที่ การ อยู กั บ ข อ มู ล จาก อ ธิ บ า ย ค ว า ม 1 2 รู สึ ก โดย ไม ต อ ง การ อภิ ป ราย ใน กลไกทางสังคมและเศรษฐกิจ ขั้นตอนนี้ รวมถึง คำนึ ง ถึ ง ภาษา ทำใหเกิดความเขาใจใน ม า ก นั ก เ มื่ อ ระดับ Litany มากขึ้น สอบถาม ใน เชิ ง ใ น ขั้ น ต อ น นี้ ลึ ก จะ พบ ว า ป จ จั ย ใน โลกทัศน กระบวนทัศน วัฒนธรรม วิทยากรกระบวนการ ระดับ Metaphor / ต อ ง พ ย า ย า ม Myth เปรียบเสมือน อ ธิ บ า ย ค ว า ม ประสบการณ ที่ สัญลักษณ นิยายปรัมปรา คำพังเพย แตก ต า ง ของ มี อิ ท ธิ พ ล ต อ ความคิดมากกวา โลก ทั ศ น ของ การไกลเกลี่ยความคิดของผูมีสวนไดสวนเสียที่มีความ บุ ค คล การ ทำลาย กำแพง ความ เชื่ อ ของ บุ ค คล จะ แตกตางกัน มีการอภิปรายถึงอุดมคติหรือสถานะตางๆ เปน พลัง ที่ ทาทาย ปจจุบัน และ สราง ทาง เลือก สำหรับ ที่โลกกำลังเปนและควรจะเปน เชน การพัฒนาที่มุงเชิง อนาคตได เศรษฐกิจหรือความยั่งยืน เปนตน การทำความเขาใจ กับลักษณะของประชาชนในบริบท และการใหเหตุผล สนับสนุนความเชื่อ

∙ี่มาภาพ : + ‘ศิลปะการมองอนาคต เพื่อวันนี้’ โดย นเรศ ดำรงชัย (http://gotoknow.org/blog/foresight/40356) เอกสารอ้างอิง + Sohail Inayatullah. (2004).The Causal Layered Analysis (CLA) : Reader Theory and Case Studies of an Integrative and Transformative Methodology. Teipei : Tamkang University. + ผู้สนใจสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้∙ี่เว็บไซต์ของ Sohail Inayatullah : www.metafuture.org 9 :


es iti Ac tiv

Towards Low-Carbon Society

in Asia-Pacific 2050: A Technology Foresight Symposium

คง เป น ที่ ทราบ กั น ดี ว า ทุ ก คน ไม สามารถ หลุ ด พ น จาก ผลก ระ ทบ ของ ภาวะ โลก รอน ศูนย คาด การณ เทคโนโลยีเอเปคจึงทุมเทใหกับการ ศึ ก ษา วิ จั ย ระยะ ยาว ใน โครงการ ‘Research on the Futures of Lowcarbon Society: Climate Change and Strategies for Economies in APEC Beyond 2050’ ภายใตความ รวมมือระหวาง 15 ประเทศ เมือ่ วันที่ 27 – 28 มกราคม 2553 ศูนย คาด การณ เทคโนโลยี เอเปค ได จัด งาน ‘Towards LowCarbon Society in Asia-Pacific 2050: A Technology Foresight Symposium’ ขึ้นที่โรงแรมบันยันทรี กรุงเทพฯ จุดประสงคของการจัดงานครั้ง นี้เพื่อนำเสนอผลการวิจัยดวยกระบวนการคาดการณอนาคต ซึ่งไดรับความรวมมือจากผูเชี่ยวชาญในแตละสาขา ที่เกี่ยวของทั่วโลก รวมถึงเปนการเปดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางคณะทำงานทั้งในและตางประเทศกับผูมีสวน ไดเสียจากทั่วโลกเปนจำนวน 150 ทาน ในการวางแผนพัฒนาขีดความสามารถ การใชประโยชนจากทรัพยากร และการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพือ่ เตรียมความพรอมรวมกันในการกาวสูสั งคมคารบอนต่ำอยางสมบูรณ ภายในป ค.ศ. 2050 คณะผูจัดงานไดพยายามจัดกิจกรรมภายในงานที่สื่อถึงการใชชีวิตในสังคมคารบอนต่ำ ไมวาจะเปนการ บรรยายและอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นโดยใชวิดีโอคอนเฟอเรนซกับผูเชี่ยวชาญดานนโยบายสาธารณะ ของประเทศสหรัฐอเมริกา เพือ่ แสดงใหเห็นวาแมแตในการเขารวมประชุมระดับนานาชาติก็สามารถหลีกเลีย่ งการเดินทาง โดยใชเทคโนโลยีเขามาชวย เนื้อหาของการประชุมครอบคลุมเกี่ยวกับการคำนึงถึงและเลือกใชวัสดุที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม และกิจกรรมตางๆ ในชีวิตประจำวันของผูคนสามารถดำเนินไปภายใตแนวคิดของสังคมคารบอนต่ำ ไดทั้งสิ้น จากการประชุมดังกลาว พอจะเห็นแนวโนมวาหลายประเทศเริ่มตระหนักและเขาใจถึงลักษณะของสังคม คารบอนต่ำที่ไมไดจำกัดเพียงในมุมของการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเทานั้น หากแตสังคมคารบอนต่ำถือ เปนความรับผิดชอบรวมกันของทุกคนในสังคมโลกในทุกๆ มิติ เชน เศรษฐกิจ การคา การศึกษา ระบบสุขภาพ การจัดการทรัพยากรทัง้ รูปธรรมและนามธรรม การวิจยั เชิงลึกเพือ่ พยากรณการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอากาศ ิ การ จัดวางผังเมืองและระบบคมนาคม เปนตน ซึ่งการเขาสูสังคมคารบอนต่ำอยางมีประสิทธิภาพตองอาศัยความรวมมือจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ทัว่ โลกในการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตรการปรับตัวในทุกระยะ และผลักดันไปสูการ  ปฏิบตั อย ิ างจริงจัง

: 10

∙่าน∙ี่สนใจโครงการวิจัยดังกล่าวสามารถติดตามได้∙ี่ http://www. lcs2050.com ซึ่งในเดือนกันยายน 2553 นี้ จะมีการจัดแถลงข่าว เพื่อนำเสนอผลงานวิจัยสู่สาธารณชน

SOCIETY

วัสสลิสา ไตรสัจจ์


R Re me eco se nd mar ed ch

ภาพอนาคต

พสชนัน นิรมิตรไชยนน∙์ ใครๆ ก็ หายใจ เขา-ออก เปน ประเด็น เรื่อง สิทธิ มนุษย ชน ทั้ง กลา ที่ จะ ลุก ขึ้น มา เรียก รอง ความ ชอบ ธรรม ให แก ตนเอง ประหนึ่ง ปจจัยที่ 5 สงผลใหหนวยงานตางๆ รวมถึง ภาครัฐตองหันกลับมาทบทวนแนวทางการ ทำงานของตน! ความพึงพอใจของประชาชนผูมา  รับ บริการกลายเปนตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานที่ สำคัญของขาราชการในปจจุบัน การชันสูตรพลิกศพเปนหนึ่งในระบบงานที่ภาครัฐเปน ผูใหบริการเปนสวนใหญ แตกฎหมาย*ที่เกี่ยวของ กลับไมสนับสนุนระบบงานและผูปฏิบัติงานเทาที่ควร ไมมีการระบุถึงหนวยงานที่ทำหนาที่รับผิดชอบปญหาดาน การบริหารจัดการ คุณภาพของบริการ และการเขาถึงของประชาชน อีกทั้งผูรับบริการเองก็ไมสามารถลุกขึ้นมา เรียกรองสิทธิใดๆ ได สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.) เปนหนึง่ ในหนวยงานทีได ่ รับมอบหมายใหทำการวิจยั เพือ่ หาทางออก ใหแกปญหาดังกลาว จึงไดชักชวนใหศูนยคาดการณเทคโนโลยีเอเปค แหง สวทน. รวมทำวิจัยในหัวขอ ‘โครงการ วิจยั ภาพอนาคตของระบบการชันสูตรพลิกศพในประเทศไทย’ เพือ่ สรางทางเลือกในการพัฒนากฎหมายและระบบ การชันสูตรพลิกศพที่เหมาะสมกับประเทศไทย ดวยความที่ระบบนี้ทำงานโดยอาศัยความเชี่ยวชาญจากบุคลากรสหสาขาวิชา และเปนการทำงานรวมกัน ระหวางหลายหนวยงาน ทีมเราจึงไดผนวกวิธการ ี มองอนาคตทัง้ เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ จำนวนทัง้ สิน้ 4 วิธี เพือ่ ใหไดมาซึ่งผลการวิจัยที่ตอบวัตถุประสงคที่ตั้งไว ไดแก การวิเคราะหผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder Analysis) การวิเคราะหเดลฟแบบออนไลน (Real-time Delphi) การวางแผนภาพอนาคต (Scenario Planning) และการ สัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) ผล จาก การ วิจัย ทำให ได ขอ เสนอ แนะ เชิง นโยบาย เกีย่ วกับมาตรการระยะสัน้ วา ควรระบุใหกระทรวงสาธารณสุข เปนหนวยงานที่รับผิดชอบหลัก โดยแยกระบบงานชันสูตร พลิกศพออกจากระบบบริหารสุขภาพ สวนมาตรการระยะ กลางและระยะยาว ควรเพิม่ จำนวนแพทยนิตเวช ิ ดวยการสราง ระบบจูงใจและเสนทางกาวหนาในอาชีพ การสราง Coroner และ ศึ ก ษา ถึ ง ความ เหมาะ สม ของ การ จั ด ตั้ ง หน ว ย งาน ใหม ดาน การ ชันสูตร พลิกศพ ที่ มี ศักยภาพ ทั้ง ใน ดาน การ บริหารจัดการ การพัฒนาคุณภาพของบริการและบุคลากร รวมถึงจัดตัง้ หนวยงานกลางทีทำ ่ หนาทีกำกั ่ บดูแลการชันสูตร พลิกศพใหมีมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ สิ่งพิเศษสิ่งหนึ่งที่ผูเขียนเห็นไดจากงานโครงการวิจัยชิ้นนี้ (แตคงไมไดพบเห็นบอยนัก) คือ ภาพที่อธิบาย คำวา ‘ทุกภาคสวน’ ไดอยางชัดเจน เนื่องจากไดรับความรวมมือเปนอยางดีจากหนวยงานที่เกี่ยวของ และภาค ประชาชนเขารวมในกิจกรรมทุกกิจกรรมภายใตโครงการฯอยางพรอมเพรียง เปนภาพที่มีบุคลากรจากกระทรวงที่ เกี่ยวของ ตำรวจ แพทย ผูพิพากษา ประชาชน เจาหนาที่จากมูลนิธิ รวมกตัญู และบริษัทประกันภัยมารวมคิดรวมทำเพื่อระบุผูมีสวน * พระ ราช บัญญัติ แก้ไข เพิ่ม เติม ประมวล ไดเสียของระบบและรวมกันสรางภาพอนาคต กฎหมาย วิธี พิจารณา ความ อาญา ฉบับ ∙ี่ ภาพผูหลักผูใหญที่เรียนรูและคอยๆ ใชคอมพิวเตอรใน 23 พ.ศ. 2548 ∙ี่ระบุให้แพ∙ย์ไม่สามารถ การตอบหรืคำอถาม เดลฟแบบออนไลน นอกจากผลการวิจยั แลว ผูเขี  ยน มอบ อำนาจ ให้ ผู้ อื่น ไป กระ∙ำ การ ชันสูตร หวังวา Best Practice จากงานวิจัยชิ้นนี้คงทำใหหลายๆ หนวยงาน พลิกศพแ∙น และไม่ได้ระบุถึงหน่วยงานหลัก ไดนำแนวคิด ‘ทุกภาคสวน’ มาพัฒนาระบบการทำงานและแกปญหา ∙ี่รับผิดชอบการดำเนินการและการดูแลด้าน บานเมืองในสภาวการณเชนนี้บาง

ของระบบการชันสูตร พลิกศพในประเทศไทย

งบประมาณ ผลการวิจัยเพิ่มเติมสามารถติดต่อ ขอได้∙ี่พสชนัน poschanan@sti.or.th

11 :


Barcode IN & O UT สาโรจน์ ศรีใส

เมื่อกอนลอยฟา

ในอดีตธุรกิจสำรวจและผลิตปโตรเลียมเปนธุรกิจทีปล ่ อยกาซคารบอนไดออกไซดและสรางภาวะโลกรอนใหเกิดขึน้ กับพื้นที่โดยรอบและชั้นบรรยากาศเปนอยางมาก แตในปจจุบัน นโยบายในการลดปญหาภาวะโลกรอนจากการ ปลอยกาซเรือนกระจก เปนนโยบายหลักสำคัญที่รัฐบาลของทุกประเทศใหความสำคัญควบคูไปกับการเสริมสราง ความมั่นคงในการจัดหาพลังงานใหเพียงพอของแตละประเทศ เทคโนโลยีการกักเก็บกาซคารบอนไดออกไซดไวใตดินหรือที่เรียกเปนภาษาอังกฤษวา Carbon Capture Storage หรือเรียกยอๆ วา CCS จึงเปนแนวทางหนึ่งที่หลายประเทศหันมาใหความสนใจ ใน Horizon ฉบับนี้ จึงจะนำเสนอประเด็นที่เกี่ยวกับ CCS ใหทุกคนไดรับทราบโดยทั่วกัน CCS เปนเทคโนโลยีสมัยใหมที่ถูกนำมาใชเพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจกออกมาสูชั้นบรรยากาศของ โลก ซึ่งในทางเทคนิคนั้นในปจจุบันเปนที่ยอมรับวาการกักเก็บกาซคารบอนไดออกไซดไวใตดินเปนเทคโนโลยีที่จะ สามารถลดปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออกสูบรรยากาศในปริมาณที่สูงมาก หลายประเทศทั่วโลก ไดใหความสนใจและเริ่มดำเนินการศึกษาความเปนไปไดของการดำเนินโครงการ โดยสวนมากไดมีการเริ่มดำเนิน โครงการในลักษณะโครงการนำรองเพื่อทดลองศักยภาพการกักเก็บกาซคารบอนไดออกไซดไวใตดิน ตัวอยางประเทศที่ไดดำเนินการไปแลว ไดแก ฝรั่งเศส ญี่ปุน ออสเตรเลีย และนอรเวย แตถึงอยางไรก็ตาม เทคโนโลยีการกักเก็บกาซคารบอนไดออกไซดยังเปนโครงการที่ตองลงทุนคาใชจายสูงมาก ทำใหการดำเนินการ ในเชิงพาณิชยยังไมคอยแพรหลายมากนัก หลายๆ ประเทศรวมทั้งประเทศไทยเอง ก็ยังอยูในระยะเริ่มตนของ การดำเนินโครงการ ปจจัยพืน้ ฐานประการแรกทีมี่ ความสำคัญตอการดำเนินโครงการกักเก็บกาซคารบอนไดออกไซดไวใตดนิ คือ การศึกษาถึงความเหมาะสมของโครงสรางธรณีวทิ ยาใตดนิ สำหรับใชในการกักเก็บกาซคารบอนไดออกไซดไวใตดนิ โดยอาจเริม่ ศึกษาจากขอมูลโครงสรางทางธรณีวทิ ยาของแหลงกักเก็บเปนแหลงแรก ซึง่ ในขัน้ ตอนนีประเทศไทย ้ โดย ความรวมมือของหลายภาคสวน ไมวาจะเปน หนวยงานภาครัฐ อาทิ กระทรวงพลังงาน กระทรวงอุตสาหกรรม รวมไปจนถึงบริษัทผูประกอบการตางๆ ไมวาจะเปนบริษัทยักษใหญอยาง ปตท. หรือบริษัทผูรับสัมปทานขุดเจาะ น้ำมันอื่นๆ ก็ไดมีการริเริ่มการศึกษาความเปนไปไดของการดำเนินโครงการ อยางไรก็ตาม การดำเนินโครงการที่ผานมาเปนเพียงระยะเริ่มตน หากประเทศไทยตองการที่จะใหการ ดำเนินการประสบความสำเร็จ บรรลุเปาหมาย และคุม คาในการลงทุน มีความจำเปนอยางยิง่ ทีจะ ่ ตองทำการศึกษา อยางละเอียดรอบคอบ มีการใหทุกฝายเขามามีสวนรวมอยางจริงจัง โดยจะตองศึกษาความเปนไปไดโดยละเอียด

: 12


IN

เดี๋ยวนี้ลงดิน

ในประเด็นตางๆ เริ่มตั้งแตการศึกษาถึงเทคนิควิธีการที่เหมาะสมในการกักเก็บกาซคารบอนไดออกไซด สภาพ โครงสรางธรณีวิทยาวาจะสามารถกักเก็บกาซคารบอนไดออกไซดไวไดนานหรือไม และจะคุมทุนในเชิงพาณิชย หรือไมอยางไร การศึกษาเรื่องผลกระทบตอสิ่งแวดลอม การประเมินคาใชจายในการดำเนินการ มาตรการของ ภาครัฐในการสงเสริมหรือผลักดันใหผูประกอบการดำเนินการ ตลอดจนการสรางความเขาใจที่ถูกตองกับผูมีสวน เกี่ยวของ โดยเฉพาะประเด็นดานความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม และที่สำคัญที่สุดการใหความรูความเขาใจที่ ถูกตองกับมวลชน ในระยะเวลาอันสั้นที่จะถึงนี้ ประเทศไทยควรเริ่มดำเนินการศึกษาโครงสรางทางธรณีวิทยาของชั้นกักเก็บ ที่เปนชั้นหินทราย หินคารบอเนต ทั้งบนบกและในทะเล โดยเนนขอมูลทางดานธรณีวิทยาและวิศวกรรมแหลงกัก เก็บของดานธรณีวิทยา เพื่อเปนขอมูลเบื้องตนในการคัดเลือกโครงสรางทางธรณีวิทยาใตดินของประเทศไทยที่มี ความเปนไปไดในการกักเก็บกาซคารบอนไดออกไซด หลังจากนั้นจึงพิจารณาในรายละเอียดเชิงลึกของพื้นที่นั้นๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งเทคนิคความรูที่จำเปน อาทิ ความรูเกี่ยวกับการแยกกาซ CO2 (Capture) การขนยาย การ กักเก็บกาซ CO2 และการติดตามควบคุม (Monitor) เพือ่ สามารถจัดทำขอเสนอทางดานเทคนิค เพือ่ นำไปวิเคราะห งบลงทุนการดำเนินการไดอยางเหมาะสม เพราะในปจจุบนั การชวยแกปญหาภาวะโลกรอนในอุตสาหกรรมผลิตและสำรวจปโตรเลียมยังคงใชแนวทาง การพัฒนาภายใตโครงการกลไกการพัฒนาทีสะอาด ่ (Clean Development Mechanism, CDM) ไมวาจะเปนการ นำกาซธรรมชาติที่เหลือไปผลิตเปนกาซ LPG แลวนำไปอัดกลับลงหลุมเพื่อเพิ่มปริมาณการผลิตน้ำมันดิบสำหรับ แหลงทีมี่ ปริมาณกาซเผาทิง้ นอย ซึง่ ปลอยกาซเรือนกระจกคิดเปน 135,000 ตัน คารบอนไดออกไซดเทียบเทาตอป หรือการนำกาซที่ถูกปลอยหรือเผาทิ้งกลับไปใชประโยชนในการผลิตกระแสไฟฟาสำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟาขนาด เล็ก การติดตั้งอุปกรณเพิ่มแรงดันทำใหสามารถนำกาซกลับเขากระบวนการผลิต ซึ่งเปนกรรมวิธีที่ใชสำหรับแหลง ที่มีปริมาณกาซเผาทิ้งสูง ซึ่งปลอยกาซเรือนกระจกคิดเปน 355,000 ตัน คารบอนไดออกไซดเทียบเทาตอป และสุดทายการลดการปลอยกาซเรือนกระจกโดยใชเทคโนโลยีการแยกดวยเมมเบรนและกำจัดตอดวยการ ปลอยหรือเผาทิ้ง ซึ่งใชสำหรับแหลงกาซที่มีปริมาณคารบอนไดออกไซดสูงมาก ที่ปลอยกาซเรือนกระจกสูงถึงปละ 1,860,000 ตัน คารบอนไดออกไซดเทียบเทาตอป คิดเปนรอยละ 80 ของปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจก จากการปลอยตอเผากาซทิ้งของแหลงปโตรเลียมในประเทศไทย หากกระบวนการกักเก็บกาซคารบอนไดออกไซด ไวใตดินสามารถนำไปใชไดผล จะลดปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดไดอยางมหาศาล ตองติดตามกัน ตอไปวาการพัฒนาเทคโนโลยีเหลานี้จะเปนไปในทิศทางใด

13 :


Q UESTION

AREA

อุปกรณตรวจจับระเบิด Question Area เป็นพื้น∙ี่∙ำลายความสงสัยในแง่มุม เกี่ยวกับวิ∙ยาศาสตร์ เ∙คโนโลยี และนวัตกรรม Horizon นำข้อสงสัยและคำถามไปแจกจ่าย แก่ผู้รู้ในแต่ละด้าน เพื่อขจัดรอยย่นบนหัวคิ้ว ฉบับนี้ จิตติมา วงศ์มีแสง และ พิสิษฐ์พล กลิ่นบัวแก้ว ได้ไปค้นหาคำตอบให้∙่านผู้อ่าน

Q:

สุนัขตรวจจับระเบิด

อุปกรณ์ ตรวจ จับ ระเบิด แบ่ง ออก เป็น กี่ ประเภ∙ มี ข้อดี ข้อ เสีย อย่างไร บ้าง ใน แง่ ประสิ∙ธิภาพและความแม่นยำในการตรวจจับระเบิดและงบประมาณ

ตอบคำถามโดย นาวาอากาศเอกเจษฎา คีรีรัฐนิคม อุปกรณตรวจจับวัตถุระเบิด แบงตามลักษณะ การทำงานไดหลายประเภท เชน อุปกรณประเภท Ion Mobility Spectrometer ใช หลัก การ ดูด ไอ สาร ตอง สงสัยผานสารกัมมันตภาพรังสี ใหโมเลกุลมีประจุไฟฟา เคลื่อนที่ผานสนามไฟฟา ตรวจวัดระยะเวลาที่โมเลกุล ใชในการเคลื่อนที่เทียบกับฐานขอมูลภายในเครื่องเพื่อ วิเคราะหวาเปนวัตถุระเบิดชนิดใด สวนประเภท Amplifying Fluorescent Polymer ใชหลักการดูดไอสารตองสงสัยผานหลอดแกวเคลือบ พอลิเมอรพิเศษ ยิงแสงสีน้ำเงินจากเลเซอรไดโอดให พอลิเมอร เรือง แสง หาก เปน สาร วัตถุ ระเบิด จะ ทำ ปฏิกิริยาเปนผลใหพอลิเมอรเรืองแสงนอยลง ประเภท Chemiluminescence แยกสลายไอ : 14

สาร ดวย ความ รอน เกิด แกส ซึ่ง จะ ทำ ปฏิกิริยา กับ ชุด Detector เกิด การ เปลง แสง ฯลฯ ขอดี ของ อุปกรณ เหลานี้ ไดแก มีความไวสูง ตรวจจับไอหรืออนุภาควัตถุ ระเบิดไดในปริมาณ พิโกกรัม (หนึง่ ในลานลานกรัม) ถึง ไมโครกรัม (หนึง่ ในลานกรัม) ระบุชนิดของวัตถุระเบิดได นอกจากนัน้ ยังสามารถใชงานไดตอเนือ่ ง และเจาหนาที่ ทั่วไป สามารถ ใช อุปกรณ ได หลัง จาก รับ การ ฝก อบรม เพียงเล็กนอย สำหรับขอเสีย สวนมากตรวจจับวัตถุระเบิดได จากระยะใกล เนื่องจากตองดูดอนุภาคหรือไอของวัตถุ ระเบิดเขาไปวิเคราะหภายในเครื่อง นอกจากนั้นยังมี ราคาคอนขางสูง ประมาณ 500,000 – 1,000,000 บาทขึ้นไป


Q:

สุนขั ตรวจจับระเบิด มีข้อดีข้อเสียอย่างไรบ้าง ใน แง่ ประสิ∙ธิภาพ และ ความ แม่นยำ ใน การ ตรวจจับระเบิด และงบประมาณ ตอบคำถามโดย นาวาอากาศเอกเจษฎา คีรีรัฐนิคม

สุนัขดมกลิ่นตรวจหาวัตถุระเบิด มีขอดี คือ มี ความไวสูงกวาเครือ่ งตรวจจับวัตถุระเบิด สามารถตรวจ จับวัตถุระเบิดไดในระดับ 0.1 พิโกกรัม สามารถติดตาม กลิ่นและนำทางไปสูที่ซอนของวัตถุระเบิดได ขอเสียคือ ไมสามารถทำงานไดตอเนื่องเกินกวา 1-2 ชั่วโมง และ ตองใชเจาหนาที่พิเศษในการควบคุมสุนัข งบประมาณ ลงทุนต่ำกวาเครื่องตรวจจับวัตถุระเบิด คือ ประมาณ 450,000 บาท สำหรับการใชงานสุนัขเปนระยะเวลา ประมาณ 5-6 ป แตตองคำนึงถึงคาใชจายอื่นๆ เชน เงินเดือนของผูควบคุมสุนัขดวย

Q:

สายสามัญหรือสายอาชีวศึกษา การศึกษา การศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาหรือระดับมหาวิทยาลัย รูปแบบไหน∙ี่สามารถตอบโจ∙ย์ประเ∙ศได้ ทำใหกำลังคนที่จบอุดมศึกษามีมากเกินความจำเปนใน หลายๆ สาขา มีความลำบากในการหางานทำ ตกงาน จน ตอบคำถามโดย รศ.ดร. สมชาย จัน∙ร์ชาวนา รองอธิการบดี มหาวิ∙ยาลัยเ∙คโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี กระทัง่ อาจตองไปฝกทักษะอาชีพเพิม่ เติม เพือ่ ไปประกอบ

สมมุติวาประเทศเปรียบเสมือนรางกาย ประกอบ ดวยสองสวน สวนสมองกับสวนกลามเนื้อ สายสามัญ เปรียบเสมือนสมอง สวนสายอาชีวศึกษาเปรียบเสมือน กลาม เนื้อ ซึ่ง เปน กำลัง ใน การ สรางสรรค ให เกิด สิ่ง ที่ เปน รูปธรรม กรณีของประเทศไทยมีจำนวนนักเรียนสายสามัญ ที่มากกวา เนื่องจากคานิยมและชองทางความกาวหนา ของอาชีพในอนาคต ทำใหกำลังคนที่เรียนจบผานสาย สามัญและสายอาชีวศึกษาเริ่มไมมีความสมดุล ใน ป จ จุ บั น พบ ว า คน ส ว น มาก เลื อ ก เรี ย น ใน สาย สามั ญ มากกว า สาย อาชี ว ศึ ก ษา เพราะ สาย สามั ญ มี ทาง เลื อ ก ใน การ การ ศึ ก ษา ต อ ระดั บ ปริ ญ ญา และ มี สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา รองรั บ จำนวน มาก และ หลาก หลาย กว า ตลอด จน เมื่ อ จบ การ ศึ ก ษา แล ว มี โอกาส สร า ง ฐานะ ทาง สั ง คม ที่ ดี กว า ทำงาน ใน ระดั บ ที่ดีกวา ตำแหนงงานที่สูงกวา อ ย า ง ไ ร ก็ ต า ม ส ถ า น ก า ร ณ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ใน ป จ จุ บั น กลั บ มี ความ ต อ งการ ผู ที่ สำเร็ จ การ ศึ ก ษา ใน สาย ปฏิ บั ติ หรื อ สาย อาชี ว ะ มากกว า เพื่ อ การ ขับ เคลื่อน ประเทศ โดย บุคลากร จาก สาย อาชีวะ สวน ใหญ จะไปเปน กำลัง ของ ประเทศ ชาติ โดย ไป อยู ใน Real Sector จริงๆ ความนิยมเรียนสายสามัญ โดยมีเปาหมายเพื่อ

อาชีพอิสระ หรือทำงานในลักษณะที่ตองใชแรงงานอยาง ไมสามารถหลีกเลี่ยงได การ ให ความ สำคั ญ กั บ การ ผลิ ต กำลั ง คน สาย อาชีวศึกษา ที่ มี ทักษะ ใน การ ทำงาน จริง ได เปน ความ จำเปนของประเทศไทยในปจจุบนั เปนอยางมาก เนือ่ งดวย ภาคการผลิตและบริการของประเทศมีความตองการกำลัง คนทางดานนี้เปนจำนวนมาก ยิ่งกวานั้นโลกที่ไดพัฒนาไป ในหลายๆ ดาน ทำใหการพัฒนากำลังคนดานอาชีวศึกษา ใหมีทักษะใหมเพิม่ ขึน้ ไดแก ดานระบบสารสนเทศ มีความ สำคัญเพิ่มมากขึ้นดวย การสรางความตระหนักถึงความสำคัญของกำลัง คนดานอาชีวะ การพัฒนาระบบการศึกษาและการจัดการ ดานอาชีวะ การสรางโอกาสใหกับกำลังคนดานอาชีวะ การ ยอมรับบุคลากรดานอาชีวะ และการสรางสายอาชีพดาน อาชีวะใหทัดเทียมกับสายสามัญ มีความสำคัญที่จะตอง ไดรับการดำเนินการจัดการ เพื่อใหประเทศไดพัฒนาอยาง เทาเทียมกับอารยะประเทศอื่นๆ โดยสรุปแลวสถานการณของประเทศในปจจุบัน ตองการคนที่เรียนในสายอาชีวศึกษาในปริมาณมาก ซึ่ง ปจจุบันก็ยังขาดแคลนอยู ปญหาดานคานิยมของคน ไทยในระดับสายสามัญที่ดีกวา อีกทั้งสามารถมีทางเลือก ทีม่ ากกวา ทำใหจำนวนคนทีจะ ่ มาทำงานเฉพาะทางอยาง คนสายอาชีวะมีจำนวนไมมากเพียงพอ ทำใหประเทศไม 15 : สามารถพัฒนาไปไดอยางเต็มที่


C ULTURALอธิเSCIENCE จต มงคลโสฬศ

This is

E-book! หากเชาวันหนึ่ง คุณตื่นมาแลวพบวา หนังสือที่คุณอาน คางไว จูๆ ก็รองทักคุณ ‘เฮพวก...เชานี้จะรับดอนกีโฆเต ทีนาย ่ อานคางจากเมือ่ คืนตอเลยมัย้ ’ ภาพประกอบก็ดัน เคลื่อนไหวโชวความพลิ้วใหดูอีก เทานั้นยังไมพอ แค เพียงปลายนิ้วสัมผัสคุณก็สามารถเชื่อมโยงไปยังขอมูล ตางๆ ที่คุณอยากรูไดอยางไรขีดจำกัด คุณไมตองเสีย เวลาพลิกหนากระดาษเปดหาเชิงอรรถของหนังสืออีก ตอไป โอไม ตืน่ จากจินตนาการของคุณเถอะ เพราะสิง่ ที่กลาวมาทั้งหมดนี้มีอยูในหนังสืออิเล็กทรอนิกส หรือ E-book และมันไมใชเพียงแคหนังสือ โอ จอรจ มันยอดมาก! มนุษยชาติเกิดมาเพื่อ สิ่งนี้จริงๆ แต เดี๋ ย ว ก อ น ซา รา ใน ป จ จุ บั น หนั ง สื อ อิเล็กทรอนิกส หรือ E-book ยัง ไม เปน ที่ นิยม ในวง กวางจากหลายสาเหตุ แมจะมีขอดีอยูหลายประการ เมื่อเทียบกับหนังสือปกติ E-book ไมตองใชกระดาษในการจัดพิมพ มีภาพ ประกอบที่สามารถเคลื่อนไหวไดพรอมเสียง สามารถ แกไขปรับปรุงขอมูล (Update) ได สามารถสรางจุด เชื่อมโยง (Link) ไปยังขอมูลอื่นๆ เพิ่มเติมในระบบ : 16

อินเทอรเน็ต ประหยัดพื้นที่ในการพกพา (สามารถพก E-book หลายเลมใน Handy Drive หรือ CD) ตนทุน การผลิตต่ำ สามารถพรินทได จัดพิมพสำเนาเองไดไม จำกัด ที่สำคัญคือ E-book เปนนวัตกรรมที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม ซึ่งกาวขามขอบเขตของความเปนหนังสือ ไปมาก กระนั้น สาเหตุที่มันยังไมเปนที่นิยม สวนหนึ่ง คือเรื่องลิขสิทธิ์ที่หลายสำนักพิมพเปนหวงวาจะมีการ copy กันเหมือนอยางสื่ออิเล็กทรอนิกสอื่นๆ เชน เกม คอมพิวเตอร VCD DVD หรือ Mp3 นอกจากนีตลาด ้ ใน กลุมเปาหมายของ E-book ถือเปนตลาดเล็ก เมื่อเทียบ กับหนังสือกระดาษที่กลุมเปาหมายกวางกวาเยอะ อีกสาเหตุสำคัญทีทำให ่ เรายังขาย E-book ไดไม ถึงเปาทีท่ างบริษทั ตัง้ เอาไวก็คือ E-book ตองใชอุปกรณ ในการอาน ไมวาจะเปนคอมพิวเตอร โนตบุค iPad หรือ จะเปนเครื่องอาน E-book โดยเฉพาะอยาง Kindle ของ Amazon หรือ eSlick ของ Foxit ซึ่งคนทั่วไปเห็น วาการจะอานหนังสือจากอุปกรณเหลานี้ดูจะเปนเรื่อง แปลก และไมไดอรรถรสเหมือนอานหนังสือกระดาษ ขอนี้ยังรวมไปถึงความสะดวกในการพกพาเพราะตอง พกอุปกรณอานไปดวย


การ ที่ E-book เปนนวัตกรรม ที่ เปน มิตร กับ สิ่ง แวดลอม และ ประหยัดตนทุนการผลิตยิ่งทำให E-book เปนตัวเลือกแหงอนาคต มากขึ้น วิกฤติเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอมยิ่งจะเปนตัวเรงใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงมากขึ้น อยางไรก็ตาม จากสภาพการณปจจุบนั มีแนวโนม วาเราจะขาย E-book ไดเกินกวาเปาทีบริ ่ ษทั ตัง้ เอาไวใน อนาคตอันใกล ในตางประเทศนั้นมีนักเขียนหลายคนที่เริ่มหัน มาขายหนังสือผานทางการดาวนโหลดทางอินเทอรเน็ต โดยไมมการ ี จัดพิมพเปนกระดาษกันมากขึน้ สตีเฟน คิง เปน นัก เขียน นวนิยาย ยอด นิยม คน แรก ที่ บุกเบิก การ จำหนายนวนิยายทางอินเทอรเน็ต เมื่อ Riding the Bullet ปรากฏสูไซเบอรสเปซ ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2543 เพียงชั่วเวลา 48 ชั่วโมงแรก มีผูดาวนโหลด นวนิยายเรือ่ งนีถึ้ ง 500,000 คน ทำใหมีนักเขียนหลายคน หันมาสนใจวิธีนี้ ซึง่ ชวยใหนักเขียนไมจำเปนตองยึดติด ตัวเองอยูกับสำนักพิมพอีกตอไป กาวเล็กๆ ของสตีเฟน คิง บนไซเบอรสเปซเปน กาวที่ยิ่งใหญของมวลมนุษยนักเขียนเลยทีเดียว วิกฤติ เศรษฐกิจ ใน ชวง หลาย ป ที่ ผาน มา สง ผล กระทบตอวงการสื่อสิ่งพิมพ ปลายป พ.ศ. 2551 ธุรกิจ สื่อสิ่งพิมพในเครือทริบูน คัมปะนีที่สหรัฐยื่นลมละลาย ถึง 8 ฉบับ ขณะ ที่ ใน ประเทศไทย เอง นั้น พบ วาการ ลงทุนโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพนั้นลดนอยลง ตรงขามกับ สื่ออินเทอรเน็ตที่เพิ่มมากขึ้น แมเม็ดเงินโฆษณาในสื่อ สิง่ พิมพจะสูงกวาก็ตาม แตตนทุนการผลิตของสือ่ สิง่ พิมพ ก็สูงกวาสื่ออินเทอรเน็ตหลายเทา นี่ เป น สั ญ ญาณ ว า E-book อาจ เข า มา เป น ตัวเลือกตอไปจากการอานหนังสือกระดาษของคุณ! การ ที่ E-book เปน นวัตกรรม ที่ เปน มิตร กับ สิ่ ง แวดล อ ม และ ประหยั ด ต น ทุ น การ ผลิ ต ยิ่ ง ทำให E-book เปนตัวเลือกแหงอนาคตมากขึน้ วิกฤติเศรษฐกิจ และสิง่ แวดลอมยิง่ จะเปนตัวเรงใหเกิดการเปลีย่ นแปลง มากขึ้น มหา วิ ท ยา ลั ย ฮาร วาร ด มหา วิ ท ยา ลั ย จอร จ ทาวน และมหาวิทยาลัยแหงรัฐโอไฮโอเริ่มหันมาสนใจ ใช E-book เปนสือ่ การศึกษาในรูปแบบของ E-textbook

ที่มีราคาถูกเทากับหนังสือมือสอง และสามารถแกไข ปรับปรุงเนื้อหาไดตลอดเวลา นี่ อาจ เปน อีก กาว ของ การ เปลี่ยนแปลง อัน ยิ่ง ใหญ หาก E-book ถูก นำ มา ใช เปน สื่อ หลัก ใน การ ศึ ก ษา มั น อาจ เปลี่ ย น วั ฒ นธรรม การ อ า น หนั ง สื อ กระดาษของเราไปตลอดกาล คนรุนตอไปที่เติบโตมา กับการใช E-book ในระบบการศึกษาอาจหันมาอาน E-book จากอุปกรณพกพากันอยางเปนเรื่องปกติกวา การอานหนังสือกระดาษก็เปนได การ อาน E-book อาจ ไม เปน เรื่อง แปลก อีก ตอไป ใช แล ว เมื่ อ เวลา นั้ น มา ถึ ง การ ศึ ก ษา จะ เปลี่ยนแปลงไป ในปจจุบันมีการนำ E-learning มาใช ในการศึกษา หองเรียนเสมือน (Virtual Classroom) เริ่ม เปน ที่ พูด ถึง และ มหาวิทยาลัย เสมือน (Virtual University) ที่ลดขอจำกัดในเรื่องพื้นที่ และเวลาในการ ศึกษาก็ไมใชเพียงฝนอีกตอไป E-book คือ กาว แรก ของ สื่อ โลก อนาคต เมื่อ คุณ จินตนาการ ถึง หนังสือ ที่ พูด คุย กับ คุณ ได และ มัน เปนจริงแลว หวังวามันคงไมใชกาวที่พลาด (อีกครั้ง) ของ มนุษยชาติ เมื่อมองไปถึงการนำ E-book มาใชในการ ศึกษา แลวเปลี่ยนใหผูคนมาอยูแตหนาจอแสดงขอมูล การแสวงหาความรูใดๆ งายเพียงแคปลายนิ้วสัม ผัส คุณ สามารถ จบ ปริญญา ใดๆ ก็ได ใน หอง นั่ง เลน ของ คุณ ไมรู วา จะ เกิด อะไร ขึ้น กับ ความ สัมพันธ ระหวาง มนุษยกับมนุษย ความสัมพันธระหวางมนุษยกับโลก แตเดี๋ยวกอนเพียงแคคุณลองจินตนาการดู คุณคงพอ นึกภาพออกแลว โอ จอรจ! ฉันเริ่มไมแนใจแลววามันยอดมาก จริงๆ รึเปลา! 17 :


[text] [photo]

25 กุมภา อนุช ยนตมุติ

มี อยา ง ขอ ยก เวน

NEX T

∙ุก

G EN

เรารูจ กั เขาในตอน∙ี่ ออกมาเลนบ∙บู เปดโปงกลไกการ ∙ำงานของ GT 200 จนเปน กระแส∙ีสั่ งคมพูดถึงในชวงนัน้ แม ดร.เจษฎา เดนดวงบริพนั ธ จะเรียนจบมาดานชีววิ∙ยา เชีย่ วชาญเรือ่ งดีเอ็นเอ และงานประจำ วันนีก็้ คือแยกดีเอ็นเอของใบยาสูบ ไมเกีย่ วกับเครือ่ ง GT 200 เลย แตเขาบอกวา ในฐานะนักวิ∙ยาศาสตร สิง่ ∙ีขั่ ดแยงกับสามัญสำนึก – เราก็ตองพูด 01

ใบยาสูบ และเรื่องราวอื่นๆ

งาน หลั ก ของ ดร.เจษฎา คื อ ตรวจสอบสายพันธุดีเอ็นเอของยาสูบ ตนกำเนิดของบุหรี่ คือ ใบยาสูบ ใบยาสูบมีหลายสายพันธุ หนาตาของ พวกมันไมคอยตางกันเทาไหร ทั้งสาย พันธุพื้นเมืองและสายพันธุนำเขา ปญหาจึงเกิด โจทยที่ ดร.เจษฎา ตองแก ก็คือการคัดแยกวาสายพันธุ ไหน เปน สาย พันธุ ไหน เพราะ แตละ สาย พันธุ เก็บ ภาษี ไม เทา กัน ปองกัน การ ปะปน ของ ใบ ยาสูบ ที่ เก็บ ภาษี สูง กับสายพันธุที่เก็บภาษีต่ำ “ในแตละสายพันธุ ดีเอ็นเอมัน

: 18


ไมเหมือนกัน เหมือนคนแตละคน มีความเหมือนกัน 99.99 เปอรเซ็นต แตมันก็มีบางจุดที่แตกตางกัน งาน ผมเปนพวกไบโอเทคโนโลยี คือเอาความรูชี ววิทยา...อาจ จะเชิงบริสุทธิ์หนอยคือมีเรื่องดีเอ็นเอ แตก็มาประยุกต กับโรงงาน ใชกับโจทยในอุตสาหกรรมได “ผมไมสูบบุหรี่ ไมดื่มเหลาดวย งาน ผมคือเอา ใบมันมาแลวสกัดๆ จนกลายเปนดีเอ็นเอเปนสารเคมี ในหลอดแลวเอาไปทดสอบตอ เปนงานที่มองดวยตา เปลาไมเห็น มันอยูในหลอดทดลอง” ป ที่ ไข หวัด 2009 ระบาด ดร.เจษฎา ก็ ให ความสนใจในเรื่องนี้ ไหนจะเรื่อง GT 200 อีกละ “พู ด ยาก ผม เป น พวก จั บ ฉ า ย ผม เป น นั ก วิทยาศาสตรชั้นกลาง ยังคนหาตัวเองไมเจอวาตัวเอง ชอบอะไรเปนพิเศษ อยางคณะผมจะมีผูเชี่ยวชาญเรื่อง ลิง เรื่องเตา แตผมทำเเหลกเลย” 02

หาคาเฉลี่ย

เขาเรียกตัวเองวาเปน ‘โปรดักทของ พสวท.’ โครงการพัฒนาและสงเสริม ผูมีความสามารถ พิเศษ ทาง วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี หรือ พสวท. เกิดเมื่อป พ.ศ. 2530 ดวยรัฐบาลในขณะนั้นเห็นวา ประเทศไทยยังขาดแคลนบุคลากรดานวิทยาศาสตร ซึ่ง จำเปนสำหรับการขับเคลื่อนประเทศ “มีคนบอกวาประเทศที่เจริญแลวจะตองเรียน วิ ท ยาศาสตร 70 เปอร เ ซ็ น ต เรี ย น สาย สั ง คม 30 เปอรเซ็นต แตประเทศเรามันกลับขาง “ผมเขาใจวาการเรียนสังคมมันก็ทำใหเราเขาใจ มนุษยเขาใจสังคม แตในเชิงของการพัฒนาประเทศออก ไป ตอนนี้เราเปน ผูบริโภคหมดเลย โอเค...เราขายขาว ขายผัก แมแตกอนแรที่ยังไมสกัด แตเราซื้อเทคโนโลยี กลับมาหมดเลย สังคมศาสตรเปนเรื่องดี แตถาเราจะ พัฒนาประเทศตอไปในโลกเทคโนโลยี เราจะตองปน คนแบบนั้นมากขึ้น” ในอีก 10 ปขางหนา ดร.เจษฎาคาดการณวา สังคมไทยไมนาจะดีขึ้นเทาที่ควร “ผมอาจจะมองโลกในแงรายไปนิดหนึ่ง จริงๆ เขาฝกใหมองโลกในแงดีนะ แตผมดูสถานการณ ณ วันนี้ แลวมองไปอีก 10 ปขางหนา ผมวายังเหมือนเดิม อาจ จะดีขึ้นหนอย แตคงไมเปลี่ยนแปลงมาก “ถา เทียบ กับ เพื่อน บาน ที่ พุง ไป เร็ว มาก ของ เรา มี เรื่อง ความ ลวง เขา มา เยอะ เรา อาจ จะ เกง เรื่อง คอมพิวเตอรในเชิงศิลป แตคนพัฒนาโปรแกรมเรายัง ตามเขาไมทันแนๆ เราดีขึ้นแนๆ แตชาวบานเขาก็ดี แซงเรา”

03

วิ∙ยาศาสตร กับ ความลวง

เขาบอก – ในโลกดิจิตอล ไมผิดหรอก หาก จะเชื่อเรื่องไสยศาสตร แตวิทยาศาสตรลวง (pseudoscience) นี่สิ นากลัวกวา “วิ ท ยาศาสตร ลวง คื อ การ พยายาม เอา วิทยาศาสตรที่มันดูนาเชื่อถือมาอธิบายใหเราหลงเชื่อ ซึ่งมันไมใช แลวก็ชักชวนใหเราเสียเงินเสียทอง ชวงที่ เหอเรื่องสุขภาพก็จะมีวิทยาศาสตรลวงเต็มเลย อาหาร ประเภท นี้ กิน แลว ดี กิน แลว ไม เปน มะเร็ง มัน แรง ขึ้น เรื่อยๆ แลวบานเราพื้นฐานทางวิทยาศาสตรนอยจะ คิดตามไมทัน วามันไมนาจะเปนไปไดนะ นี่คือสิ่งที่นา หวงมากกวา” เขาไมเชื่อเรื่องบั้งไฟพญานาค แตก็บอกวา นั่น ไมนาหวง เพราะความเชื่อประเภทนี้ไมไดทำรายใคร “สังคมไทยตองมีองคประกอบหลายอยางของ มนุษย อยู ดวย กัน วิทยาศาสตร อยาง เดียว อยู ใน โลก ไมได ถาทุกอยางตองเชื่อวิทยาศาสตรมันก็กลายเปน ศาสนา” 04

∙ุกอยางมีขอยกเวน

ทุกอยางตองมีขอยกเวน สำหรับเขา ขอความขางตนถือเปนสิ่งที่พึงมีของ นักวิทยาศาสตรที่แท “สำคั ญ มาก นะ ซึ่ ง เรา สอน หนั ง สื อ ให เด็ ก ผิดมากๆ เลย เราสอนใหทอง ใหเชื่อนะวากฎมันตอง เปน อยาง นี้ๆ แต ไม จริง หรอก ทุก อยาง มี ขอ ยกเวน สมการที่เราเรียนวันนี้ อีก 10 ปขางหนา อาจจะมีคน มาลมก็ได” เขาเปรียบเทียบ ไอแซค นิวตัน - อัลเบิรต ไอนสไตน สตีเฟน ฮอวคิง “นักวิทยาศาสตรจำนวนมากมักไมเชือ่ ประโยคนี้ มันตองเปนอยางนัน้ มันตองเปนอยางนี้ มันคอนขางเปน ศาสนา ศาสนาบอกวาทุกอยางคุณตองเชื่อตามนี้ ถา เมือ่ ไหรคุณไปเชือ่ วิทยาศาสตรอยางงมงาย วิทยาศาสตร จะกลายเปนศาสนา “ผม มอง ต า ง จาก คุ ณ ที่ ว า คำ ว า ‘ทุ ก อย า ง มี ขอยกเวน’ เปนทางลงใหกับนักวิทยาศาสตร ผมมองวา มันเปนความจริงของมัน ความจริงที่มันตองมีทางออก หลายๆ ทางเกิดขึ้น” ทุ ก อย า ง ที่ เห็ น สิ่ ง ที่ เห็ น ใน ธรรมชาติ จะ มี ขอยกเวนเสมอ – เขาบอก

19 :


Fดาริ EATURES กา บำรุงโชค

Low Carbon Society ยูโทเปยที่ตองเปนจริง


ในหวงยามที่ปญหาโลกรอนกำลังสงสัญญาณเตือนถึงหายนะ ดังกึกกองไปทั่วโลก ในขณะที่ความหวังของโลกหลังจากยุคของ พิธีสารเกียวโต ก็กำลังจางหายไปพรอมกับความลมเหลวของการประชุม โลกรอนที่โคเปนเฮเกนเมื่อปลายปที่แลว เมื่อบทบาทการนำโดย ‘ภาครัฐ’ บนเวทีโลก ดูเหมือนจะทำอะไร ไมไดมากนักเกี่ยวกับปญหาโลกรอน ความหวังของการตออายุ ของโลกใบนี้จึงหันหลังกลับมายัง ‘ภาคประชาชน’ แทน

‘สังคมคารบอนต่ำ’ (Low Carbon Society) จึงกลายเปน ทางเลือก เพื่อ ‘ทางรอด’ สำหรับปญหาโลกรอน ครั้งหนึ่ง เซอรโทมัส มอร เคยเขียนถึงสังคมยูโทเปย เพื่อเสนอรูปแบบทางเลือกสูสังคมสมบูรณแบบ และดูเหมือน วา ‘สังคมคารบอนต่ำ’ ก็กำลังทำหนาที่เชนนั้น สำหรับ แนวทางการแกไขปญหาสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ทวาความตางระหวางสังคมยูโทเปยกับสังคม คารบอนต่ำอยูที่ ‘การมีอยูจริง’ หากสังคมยูโทเปยนั้นไมไดมีอยูจริง แตอยางไรก็ตาม สังคมคารบอนต่ำตองถูกทำใหเกิดขึ้นจริง เพราะอยางนอย สังคมคารบอนต่ำอาจจะเปนทาง รอดเพียงไมกี่ทาง สำหรับปญหาโลกรอนในเวลานี้


What is Low Carbon Society?

เมื่อ คำ วา ‘สังคม คารบอน ต่ำ’ ได กลาย เปน กระแสทีกำลั ่ งถูกพูดถึงทามกลางบริบทโลกยุคทีอุ่ ณหภูมิ ของ โลก สูง ขึ้น เรื่อยๆ แต เมื่อ ถาม ถึง นิยาม ของ สังคม คารบอนต่ำ ก็ดูเหมือนวาจะเปนภาพทีพร ่ ามัวไมชัดเจนนัก ถ า ลอง เริ่ ม จาก ทำความ เข า ใจ จาก สิ่ ง ที่ เรี ย กว า ‘สั ง คม’ ใน ความ หมาย โดย ทั่ ว ๆ ไป ก็ อาจจะ หมาย ถึ ง ภาพ การ ใช ชี วิ ต ของ ผู ค น ภายใต การ โยงใย ของ ระบบ ความ สั ม พั น ธ ระเบี ย บ กฎ เกณฑ และ ความ สำนึ ก ทาง สั ง คม ร ว ม กั น ดั ง นั้ น ภาพ ของ สั ง คม คาร บ อน ต่ ำ ก็ อาจ นิ ยา มก วางๆ ได วา เปน สังคม ที่ ผูคน หัน มา ใช ชีวิต

ภาย ใต การ เชื่อ ม โยง กั บ การ ลด การ ปล อ ย คาร บ อน สั ง คม คาร บ อน ต่ ำ จึ ง ไป ไกล กว า คำ ว า เศรษฐกิจ คารบอน ต่ำ (Low Carbon Economy) เมื อ ง คาร บ อนต่ ำ (Low Carbon City) หรื อ เรื่อ ง ของ เทคโนโลยี ที่ หลาย คน กำลัง พูด ถึง เพราะ ใน ภาพ ของ สังคม คารบอน ต่ำ นั้น ตอง อิงแอบ กับ การ พัฒนา เทคโนโลยี ให เปน มิตร กับ สิ่ง แวดลอม ตอง มี การ วาง ผังเมืองใหสอดคลองกับระบบนิเวศ พรอมทัง้ ตองสราง ความตระหนักถึงวิถชี​ี วติ แบบคารบอนต่ำของคนในสังคม การ ก า ว สู สั ง คม คาร บ อน ต่ ำ ต อ ง เป น ไป ทั้ ง ระบบ ต อ ง เปลี่ ย นแปลง ทั้ ง ใน ระดั บ โครงสร า ง วิธีคิด และ พฤติกรรม ของ ทุก ภาค สวน ใน สังคม เมื่อ สามารถเดินทางสูสังคมคารบอนต่ำได สิ่งที่กลายเปน เงา ตาม ตั ว คื อ การ สามารถ ลด ป ญ หา โลก ร อ น

Road to Low Carbon Society ลดความตองการใชพลังงานในทุกภาคสวน อาทิ ภาคครัวเรือน อาคารพาณิชย คมนาคมขนสง อุตสาหกรรม และเกษตรกรรม 02 มุง  พัฒนาแผนการใชพลังงานทางเลือกอืน่ ๆ อาทิ พลังงานจากลม คลืน่ แสงอาทิตย ความรอนใตพิภพ พลังน้ำ ชีวมวล ทดแทนพลังงานนิวเคลียร ไฮโดรเจน และเชือ้ เพลิงจากพืช หรือไบโอดีเซล แตเหนือสิง่ อืน่ ใดจะตองกาวขามกำแพงขอจำกัดเรือ่ งเทคโนโลยี และการเมือง ทีอาจ ่ จะกลายเปนปญหาสกัดกัน้ การ พัฒนาพลังงานทางเลือกในบางประเทศ 03 เนนการประชาสัมพันธใหเห็นถึงผลประโยชนรวม ทีทุ่ กภาคสวนในสังคมจะไดรับจากมาตรการเรือ่ งการ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอากาศ ิ อาทิ ใหเห็นผลดีของ การผลิตไฟฟาเองในชนบท พลังงานหมุนเวียน 04 สรางงานทีเป ่ นมิตรตอสิง่ แวดลอม (Green Job) เพือ่ ลดปญหาความยากจน อาทิ ในสายงานพลังงาน หมุนเวียน อาคารสีเขียว การจัดการการรีไซเคิลและ ปาไม 05 ตองบูรณาการการบรรเทาการเปลีย ่ นแปลงสภาพ ภูมอากาศ ิ และแผนปฏิบตั การ ิ ไปสูนโยบาย  ในทุกภาคสวน 01

Basic Elements of a Low Carbon Society สังคมทีต่ องชวยกันลดความตองการใชพลังงาน สังคมทีต่ องหลีกเลีย่ งการใชเชือ้ เพลิงฟอสซิลหรือ น้ำมัน และการปลอยกาซเรือนกระจก 03 สังคมทีเกิ ่ ดการพบปะหารือในเรือ่ งการพัฒนาความ ตองการของคนทุกกลุม ในสังคม 04 สังคมทีต ่ องมีมาตรการความมัน่ คงทางพลังงาน (Energy Security Measures) 01 02

: 22


จะเกิดอะไรขึ้นในป

2050

The 2050 Scenario: Low Carbon – High Quality Lifestyles for the Asia-Pacific เปน โครงการที่จัดทำโดยศูนยคาดการณเทคโนโลยีเอเปค สวทน. เปนการจัดทำภาพอนาคตบนพืน้ ฐานทีพ่ ยายามเชือ่ มโยงระหวางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนโยบายสาธารณะ สูความคิดริเริ่มภายในทองถิ่น ในประเด็นสังคมคารบอนต่ำ 5 ภาพ 5 มิติ 50 กวาสมอง เพื่อรวมกันสรางโลก 1 เดียว โลกที่วา – นาจะเปนโลกที่หมุนไปแบบยั่งยืน

ภาพที่ 1 สภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงและผลกระ∙บ

1

คอมพิวเตอรจะมีความสามารถในการพยากรณอากาศ และสภาพภูมิอากาศไดแบบเรียลไทม (Real-Time) ดวย ความแมนยำถึงรอยละ 98-100 ขอมูลดังกลาวจะเปนฐาน ขอมูลใหผูกำหนดนโยบายหรือรัฐในการเตรียมตัวรับมือ สถานการณเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศไดในระยะยาว จะ มี การ ลงทุน จาก ภาค รัฐ ทั้ง เพื่อ พัฒนา ซู เปอร คอมพิ ว เตอร ด า น ภู มิ อากาศ และ ความ สามารถ ของ นักวิทยาศาสตรดานภูมอากาศ ิ ทีจะ ่ คอยควบคุมเทคโนโลยี เหลานั้น งบ ประมาณ ประมาณ รอย ละ 2.5 ของ จี ดี พี ทั้ง โลก จะถูกนำไปใชสรางกลไกในการบรรเทา (Mitigation) ปญหาการปลอยกาซเรือนกระจก ในขณะทียุ่ ทธศาสตรใน การปรับตัว (Adaptation) ตองใชงบประมาณอีกประมาณ รอยละ 5 ของจีดีพีโลก กลไกการบรรเทาอยางการตั้งระบบราคาสำหรับ การปลอยคารบอน กำหนดภาษี เงินบำรุง อุดหนุน และ กลไก ทาง กฎหมาย เอื้อ ให ภาค เอกชน เพิ่ม การ ลงทุน ในเรื่องเทคโนโลยีสะอาด สถาบันการเงินโลกจะถูกกอตั้งขึ้นเพื่อเปาหมาย การลดการปลอยคารบอน ‘แผนตอสูเรื  อ่ งภาวะโลกรอน ตองใชงบประมาณรอย ละ 7.5 ของจีดีพีโลก’ 23 :


ภาพที่ 3 การยายถิ่น วิถีชนบ∙ และ ∙รัพยากรธรรมชาติ

ภาพที่ 2 ∙ี่อยูอาศัยและโครงสราง / ชีวิตในเมือง / การคมนาคม ขนสง ภายใน ป 2040 นวัตกรรม และ เทคโนโลยี จะ กาวหนา ไมหยุดยั้ง และเพิ่มอัตราเรงเมื่อถึงป 2050 ภายในป 2030 อาหารจะถูกสงตรงจากเกษตรกร และสงถึงผูบริโภคโดยไมผานคนกลาง วิถีชีวิตจะเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม กระแส ‘คืนสู สามัญ’ (Back to the Basics) จะกลายเปนวิถหลั ี ก ขณะที่ ‘บริโภคเพื่อความสุข’ (Consumption for Happiness) คอยๆ เสื่อมความนิยมลง พลังงานหมุนเวียน อาทิ พลังงานแสงอาทิตย ลม น้ำ และพลังงานนิวเคลียร จะกลายเปนแหลงผลิตกระแส ไฟฟาหลัก ตึกสูงในเมืองไดรับการหอหุมดวย PVs (PVs = Photovoltaics เปนการผลิตไฟฟาโดยใชพลังงานแสง อาทิตย ประเภท หนึ่ง) เพื่อ การ สราง กระแส ไฟฟา ดวย ตัวเอง การ พัฒนาการ คมนาคม ขนสง ไดแก การ เพิ่ม ประสิทธิภาพของเชื้อเพลิงที่สายการบินใชเปนพลังงาน ทาง เลือก และ จาก ความ กาวหนา ดานวิศวกรรม การบิน พั ฒ นา คุ ณ ภาพ การ กั ก เก็ บ ของ แบตเตอรี่ และ เซลล เชื้อเพลิงไฮโดรเจน ไปสูขั้นที่ไมตองการน้ำมันเชื้อเพลิง การ พั ฒนา ที่ เกี่ ย วข อ ง กั บ การ ประชุ ม ทาง ไกล (Teleconference) จะ ลด การ บิน ไป เจรจา ธุรกิจ และ หุนยนตจะเขามามีบทบาทในเรื่องที่ซับซอนขึ้น เปนทั้ง บุรุษไปรษณีย และแมสเซนเจอรใหกับบานและที่ทำงาน ‘ขยะกลายเปนแหลงพลังงานรอยละ 50’ ‘รอยละ 80 ของไฟฟามาจากพลังนิวเคลียร’

การวางโซนนิ่งที่ดินจะรับบทเดนเพื่อยืนยันวา ‘ชุมชนชนบท’ สามารถ รั ก ษา พื้ น ที่ ทำการ เกษตร ภาย ใต แรง กดดั น ด า น ประชากรได การทำเกษตรยั่งยืนจะกลายเปนจารีต (Norm) ยกระดับโดยการเขาถึงการศึกษาที่สูงขึ้นในหมูชาวนา วิถการ ี ผลิตของชาวนาจะเปนการทำฟารมโดยใชเครือ่ ง คอมพิวเตอรในการบริหารจัดการ (Computerized Farming) และ นำ ความ ก า วหน า ทาง เทคโนโลยี อื่ น ๆ มา หนุ น เสริ ม ผูอพยพจากเมืองมีแนวโนมขยายตัวไปสูชนบทมากขึ้น แมวา ในเขตเมืองจะมีการจัดการที่ดี ตึกกรีน พลังงานสะอาดและ ระบบขนสงมวลชนที่มีประสิทธิภาพ แตดวยจำนวนประชากร ที่แออัดทำใหพวกเขาจะเริ่มโหยหาคุณภาพชีวิตที่ดีกวาในเขต ชนบทและนี่จะเปนสิ่งคุกคามชาวชนบท ประเด็ น สำคั ญ ที่ ส ง ผลก ระ ทบ ต อ การ สร า ง สั ง คม คารบอน ต่ำ ใน ป 2050 คือ เรื่อง การ ปฏิรูป การ ศึกษา และ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพราะในป 2020 ภัยพิบัติจะเพิ่ม สูงขึ้น และการสะสมของจำนวนประชากรที่เพิ่มมากขึ้นในป 2030 เปนเสมือน Tipping Points ซึ่งเปนแรงกระตุนใหหัน มา ปรับ เปลี่ยน พฤติกรรม ให เปนการ ใช ชีวิต ใน รูป แบบ สังคม คารบอนต่ำ แตอยางไรก็ตาม ปจจัยสำคัญที่จะทำใหภาพอนาคต นี้เกิดขึ้นไดอยูที่การปฏิรูปการศึกษา (ที่ตองเปนแบบฟรี) การ มีธรรมาภิบาล และการเกษตรอยางยั่งยืน โดยผูคนในสังคมมี ความเขาใจการใชชีวิตรูปแบบคารบอนต่ำอยางแทจริง ‘พลังงาน∙ี่นำกลับมาใชใหม รอยละ 90’ ‘จะเกิดความเ∙าเ∙ียมกันในสังคม รวมถึงโอกาส∙างการ ศึกษา’

ภาพที่ 5 การคาและบริการ อุปสงคดานพลังงาน (Energy Supplies), ประชากร, บัญชี คารบอน (Carbon Accounting) และภาคบริการ จะเปน ตัวขับเคลื่อนการคาโลกในป 2050 เพราะ มั น เป น โลก ที่ ก า ว เข า สู ยุ ค หลั ง ฟอสซิ ล (Post-Fossil Era) ขอ ผูกมัด ใน การ คาขาย สินคา และ บริการ จะ เนน ไปที่การผลิตโดยเทคโนโลยีสะอาด การใชพลังงานอยาง มีประสิทธิภาพ และการขนสงที่ปลอยกาซเรือนกระจก

นอยที่สุด สิทธิคารบอน (Carbon Rights) จะบังเกิดขึ้น ซึ่งจะมีคุณสมบัติเสมือนหลักทรัพยที่ใชในการกูยืม และ แม กระทั่ง เปนการ กู ยืม ผาน IMF การ คา คารบอน จะ ถูก ปกครอง ดูแล โดย องคกร หรือ เครือ ขาย ใหม ที่ พน จาก องคการ WTO ใน ป 2050 เรา อาจ จะ ต อ ง มี บั ญ ชี คาร บ อน ที่จะบันทึกกระแสไหลเวียนในความหมายของการปลอย กาซคารบอนไมตางจากสมุดบัญชีธนาคาร ภาค บริ ก าร จะ ไป ไกล กว า ป 2010 มาก อั น


ภาพที่ 4 สังคมและสุขภาพ การเปลี่ยน ผานทางเศรษฐกิจและสังคมที่มุงสูสังคมคารบอนต่ำ เกิดขึน้ ไดยากในระดับรัฐชาติ แตหากเริม่ ตนในระดับปจเจกบุคคล ชุมชน หมูบาน ภาคธุรกิจ (ขนาดกลางและเล็ก) จะทำใหโลกมี ความหวังกวา เจตนารมณ ทางการ เมื อ ง ที่ เข ม แข็ ง และ โครงสร า ง การกระจา ยอำ นา จอ ย า ง มี ประสิ ท ธิ ภ าพ ที่ ยิ น ยอม ให ชุ ม ชน ขนาดเล็กในป 2050 มีเสรีภาพทัง้ ทางการเมืองและทางเศรษฐกิจ เมื่อเทียบกับป 2010 บทบาท ถูก ขับ เคลื่อน โดย ชุมชน จะ เพิ่ม ขึ้น ขนาน กับ การ ประสานความรวมมือในระดับภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก ธนาคารเลือดของอาเซียนและความรวมมือเรื่องพลังงาน แสง อาทิตย ของ ยุโรป จะ เปน โมเดล ตนแบบ ให กับ ภูมิภาค เพื่อ สามารถนำพาประโยชนมายังชุมชนไดรวดเร็วยิ่งขึ้น การทำงาน เปนทีมจะถูกยกระดับโดยรัฐสภาอาเซียนที่จัดตั้งโดยตัวแทนของ ชุมชน เพื่อกระตุนเครือขายตางๆ ใหขับเคลื่อนเจตนารมณ ความ คิด สรางสรรค และ นวัตกรรม สำหรับ เสน ทางการ พัฒนา สังคม คารบอนต่ำ พื้นที่หลักของการประสานนโยบาย คือ นโยบายควบคุม โรค ระบาด และ เปา หมาย เรื่อง การ ลงทุน ดาน การ วิจัย และ การ พัฒนาสำหรับความตองการรวมทางสังคม เชน พลังงานสะอาด และการผลิตอาหาร เปนตน ‘จำนวนประชากรโลกลดลง เหลือ 3 พันลานคน’ ‘ขอมูลดีเอ็นเอสวนบุคคลดานการแพ∙ย จะเปนสวนหนึ่งของ แผนระดับชาติวาดวยอัตลักษณ’

2

3

4

เนื่องจากแรงผลักโดยเทคโนโลยีขอมูลขาวสาร คอมพิวเตอรกลายเปนเครื่องหยั่ง รู สามารถสรางการทองเที่ยวเสมือนจริง คาดการณวาสถานที่ทองเที่ยวที่เปน จุดหมายปลายทางของนักทองเที่ยว เชน ภูเก็ต ก็จะเปนสถานที่สำหรับทุกคนแม ไมตองเดินทางออกจากบาน ในป 2030 เอเชียแปซิฟก เริ่มตนเห็นการเกิดขึ้นของโรงงานอุตสาหกรรม ทีปล ่ อยคารบอนทีระดั ่ บศูนย และการขยายตัวของพลังงานแสงอาทิตย ภาคเอกชน จะเปนเครือ่ งมือในการขับเคลือ่ นการเปลีย่ นแปลงใหไปในทิศทางทีดี่ แตสิง่ ทีสำคั ่ ญ พื้นฐานในการเปลี่ยนแปลง คือ เปนการเปลี่ยนทัศนคติในระดับสังคม ‘สิ∙ธิคารบอน (Carbon Rights) สามารถถูกใชเสมือนหลัก∙รัพย∙ี่ใชใน การกูยืม’

5 25 :


ชุ ม ชน ประหยัดคารบอน

กฎเหล็ก 3 ประการแหงหมูบานแอชตัน เฮยส 01 Reduce คือ แนวทางการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ 02 Renew คือ การหันไปใช้แหล่งพลังงานทดแทนในการผลิตไฟฟ้า เช่น แสงอาทิตย์ ลม น้ำ 03 Replace คือ ลงมือช่วยกันปลูก ต้นไม้ เพื่อลดคาร์บอนที่ตกค้างอยู่ในชั้นบรรยากาศ : 26


หมูบานแอชตัน เฮยส (Ashton Hayes) ประเ∙ศอังกฤษ หลังจากรัฐบาลอังกฤษประกาศแผนสนับสนุนใหชุมชนตางๆ หันมาชวยกันลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด หมูบานแอชตัน เฮยส กลายเปนชุมชนแหงแรกของอังกฤษที่ติดปายวา ‘หมูบานคารบอนต่ำ’ แผงโซลาเซลล กังหันลม และแหลงพลังงานหมุนเวียนอื่นๆ ถูกติดตั้งขึ้น เพื่อเปนแหลงพลังงานสำหรับ ชุมชน นอกจากนี้ ยังมีการจัดตั้ง ‘คลินิกคารบอน’ ของชุมชน เพื่อคอยใหคำปรึกษาเรื่องแนวทางการลดคารบอน แกชาวบาน ภายหลังจากการริเริ่มโครงการนี้ หมูบานนี้สามารถลดการปลอยกาซคารบอนในภาคครัวเรือน ไดมากกวา รอยละ 23 อีกทั้งยังสามารถประหยัดเงินในกระปุกออมสินของผูเขารวมโครงการไดประมาณ 250 ปอนดตอ เดือน หมูบานคารบอนต่ำแหงนี้เปนการเคลื่อนไหวผลักดันโดยมาจากชาวบาน นักเรียน และผูนำทองถิ่นอยาง แทจริง ไมแตเพียงอุปกรณเทคโนโลยีรักษโลกทีถู่ กติดตัง้ ดวยมือผูเชี  ย่ วชาญในทองถิน่ แลว ทวา วิถชี​ี วติ และจิตสำนึก ลดคารบอนยังถูกติดตั้งอยูในรูปแบบวิถีชีวิตของชาวบานในหมูบานแหงนี้

เมืองโอบิฮิโระ ประเ∙ศญี่ปุน

ญี่ปุนเปนประเทศแนวหนาเมื่อกลาวถึงสังคมคารบอนต่ำ โดยเฉพาะเมืองโอบิฮิโระบนเกาะฮอกไกโด ก็กำลังถูก จับตามองในฐานะตนแบบสังคมคารบอนต่ำในมิติเกษตรกรรมอยางยั่งยืน แนวทาง ลด การ ใช คารบอน ใน ภาค เกษตรกรรม ของ เมือง นี้ มี หลาก หลายวิธี เชน หัน มา ใช ปุย หมัก จาก ภาคปศุสัตวและพืชผลตางๆ ทดแทนการใชปุยเคมี ไมใชยาฆาแมลง แตเลือกปลูกพืชที่สามารถไลแมลงไดแทน นอกจากนี้ พลังงานตางๆ ยังมาจากแหลงพลังงานแสงอาทิตย สวนรถที่วิ่งในชุมชนก็หันมาเติมน้ำมันไบโอดีเซล สำหรับการเพิ่มออกซิเจนใหกับเมืองนี้ คือ ชาวบานลงมือปลูกตนไมใหกลายเปนปาขนาดใหญ พรอมทั้ง รวมมือกันบอกเลิกถุงพลาสติก และคิดคนวิธีการนำบรรดาขยะกองโตกลับมาใชใหเปนประโยชน เมืองโอบิฮิโระยังประสานความรวมมือกับเมืองแมดิสัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ในฐานะ ‘เมืองพี่เมืองนอง’ เพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลและความคิดเรื่องสิ่งแวดลอมระหวางกันเสมอๆ

เ∙ศบาลตำบลปริก สงขลา ประเ∙ศไ∙ย

ประเทศไทยของเราก็ใชยอย ทีเขต ่ เทศบาลตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา เปนชุมชนแหงหนึง่ ทีมี่ พฤติกรรม เขาขายวิถีแบบสังคมคารบอนต่ำ โดยมีจุดเดนที่การจัดการขยะ แตดั้งแตเดิม ชาวปริกไมไดคิดไกลไปถึงขนาดวาจะเปนชุมชนชวยโลกที่กำลังรอน แตเพราะปญหาเบาๆ อยางขยะเกลื่อนชุมชนนั่นเองที่ทำใหพวกเขาเทแบบไมรูตัว ในตอนนั้น ชาวบานตางคิดวานี่ไมใชหนาที่ฉัน นูน... ภาระของเทศบาลตางหาก พวกเขานำขยะอินทรียจำพวก  เศษอาหาร ผัก และผลไม ซึง่ มีมากทีส่ ดุ ไปแปรรูปเปนพลังงานทดแทน (กาซ ชีวภาพ) น้ำหมักชีวภาพ (ปุยอินทรีย) น้ำยาอเนกประสงค (น้ำยาใชในครัวเรือนปลอดสารพิษ) รองลงมาก็ขยะจำพวกกระดาษ ซึ่งสามารถรีไซเคิลได ในสวนนี้ชุมชนปริกจัดตั้ง ‘ธนาคารขยะ’ ทำหนาที่ ประหนึง่ ธนาคารจริงๆ ชาวบานสามารถนำขยะรีไซเคิลมาฝากธนาคารขยะ แลวก็จะมีเงินเก็บสะสมในบัญชี สำหรับ ขยะที่ไมสามารถรีไซเคิลไดจะถูกนำมาสงยังบอเก็บขยะของเทศบาลเพื่อหาทางใชประโยชนจากมัน แตเดิมเทศบาลตำบลปริกมีรถเก็บขยะทั้งหมด 4 คัน เมื่อขยะนอยลง รถที่ใชงานจึงเหลือ 2 คัน พวกเขาเรียกกระบวนการนี้วา ‘การจัดการขยะฐานศูนย’ การนำขยะอินทรียไปใชประโยชน นอกจากจะทำใหขยะลดนอยลง ลดคาใชจายในครัวเรือน มันยังทำให หัวจิตหัวใจของชาวปริกแปรเปลี่ยนไปอีกดวย ยกตัวอยางน้ำยาอเนกประสงคที่ไดจากขยะอินทรีย ชาวบานใชน้ำยาอเนกประสงคลางจาน ซักผา ลาง หองน้ำ พวกเขาบอกวา สารพิษจากครัวเรือนเปนสวนหนึง่ ของการทำลายสิง่ แวดลอมชุมชน เมือ่ น้ำยาอเนกประสงค ไมมีสารพิษ สารพิษก็ไมไดเล็ดลอดออกจากครัวเรือนลงสูแมน้ำ หรือซึมลงดิน เมื่อดินดี น้ำดี สัตวปาดี หัวใจมนุษยก็ดี ชาวปริกเขาวาอยางนั้น 27 :


STATISTIC ธเนศ FEATURES มหั∙ธนาลัย

ประเมินผลกระทบของ

Climate Change

จากมุมมองอุปสงค์

ปจจุบันภาวะโลกรอนเปนปญหาที่นาวิตกกังวลมากขึ้น ทุกขณะ และดูเหมือนหนทางแกไขจะยากกวาปญหาที่ ทุกประเทศเคยประสบ ไมวาจะเปนปญหาความแออัด หรือมลภาวะตางๆ เพราะภาวะโลกรอนเปนวิกฤติที่ สงผลทั่วโลก จึงเปนเรื่องของสินคาสาธารณะในระดับ โลก (Global public good) ซึ่งยากในการหาคำตอบที่ เปนธรรมวา ใครควรรับภาระหรือควรใหการชวยเหลือ มากนอยอยางไร การ อธิ บ าย ทาง เศรษฐศาสตร ว า ด ว ย ทฤษฎี อรรถประโยชน (Utility) เปนทางหนึ่งที่ชวยหาคำตอบ ของขอถกเถียงนี้ Nicholas Herbert Stern ประธานของ The Grantham Institute for Climate Change and the Environment แหง The London School of Economics (LSE) เปน ผู ที่ กำลัง ถูก กลาว ถึง อยู ทั่ว โลก จาก ความ พยายาม ประเมิน ผลก ระ ทบ ของ การ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอากาศ ิ ในมุมมองดานอุปสงค โดย อาศัยหลักการวา อรรถประโยชน หรือ ความพึงพอใจ จากการบริโภค (Utility : U) จะสัมพันธกับการบริโภค (Consumption : C) ดังแสดงในรูปที่ 1 แตการบริโภคหนวยหลังๆ จะทำให Utility เพิ่ม ขึ้นในอัตราที่ลดลงเรื่อยๆ ตามคาความชัน (k) หรือคา ความยืดหยุนของ Utility curve ที่นอยลง ประเด็นนี้สื่อ นัยวา Marginal utility ของกลุมประเทศที่ยากจนจะ สูงกวากลุมประเทศที่ร่ำรวย จากการบริโภคตอหัวที่ยัง ต่ำอยู การบริโภคที่ลดลงในกลุมประเทศยากจนจึงสง ผลกระทบตอ Utility และชีวิตความเปนอยูของคนใน ประเทศมากกวา Stern ไดผูกโยงเรื่องสวัสดิการ (Welfare) เขา กับ Utility function โดยใช The Balanced Growth Equivalent Model (BGE) ซึ่งเปนการหามูลคาปจจุบัน : 28

ของ สวัสดิการ ที่ จะ เกิด ขึ้น ใน อนาคต โดย ใช Utility discount rate (ρ) เปนอัตราสวนลด ซึ่งอัตราสวนลดนี้ จะรวมผลของการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอากาศ ิ ซึง่ เปน ปจจัยหนึ่งที่จะลดทอนการบริโภคเขามาดวย นั่นหมาย ถึง ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่ มีตอสวัสดิการนั้นจะขึ้นอยูกับทั้งคาความยืดหยุนของ Utility (k) และ Utility discount rate (ρ) นั่นเอง อยางไรก็ตาม งานศึกษาและชื่อเสียงของ Stern ที่โดงดังในแวดวงวิชาการดานการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ไดถูกวิพากษจากนักวิชาการรุนหลังอยาง หนัก เพราะแม Stern จะทราบดีวาระดับ Marginal utility ในประเทศร่ำรวยและประเทศยากจนจะมีความ แตก ตาง กัน มาก ตาม การ บริโภค ตอ หัว โดย ประเทศ ยากจนจะไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศที่รุนแรงกวา ทั้งที่ไมไดเปนตัวการหลักที่กอ ใหเกิดขึ้นก็ตาม ซึ่งการบริโภคแตละหนวยที่หายไปใน ประเทศกลุมนี้ ทำใหอรรถประโยชนและสวัสดิการหาย ไป อยาง มหาศาล แต กลับ ไม ถูก ประเมิน แยก ออก มา ใหเห็น เพราะเนนแตการมองภาพรวมของทั้งโลกจาก Global welfare function David Anthoff และ Richard S.J.Tol จาก มหาวิ ท ยาลั ย Hamburg เยอรมนี ได ประเมิ น ผล กระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยใช Regional welfare function ภายใต The Climate Framework for Uncertainty, Negotiation and Distribution (FUND) ครอบคลุม 16 ภูมิภาค ทั่ว โลก ที่ มี ราย ได ตอ หัว แตก ตาง กัน พบ วา ความ เสีย หายจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศซึ่งประเมิน จาก Regional Welfare Function สูงกวา Global welfare function หลายเทา (รูปที่ 2) ซึ่งชี้ใหเห็นวา เมื่อพิจารณาลงไปในระดับภูมิภาค นอกจากจะเห็นถึง


รูป∙ี่ 1

Total damage without mitigation K=1.0

K=1.5

K=2.0

Global welfare function

ρ=0.1

1.3%

0.9%

0.4%

ρ=1.0

0.4%

0.2%

0.1%

ρ=3.0

0.01%

0.02%

0.01%

Regional welfare function

ρ=0.1

4.3%

27.9%

91.1%

ρ=1.0

1.5%

9.7%

70.6%

ρ=3.0

0.08%

0.6%

10.3%

Due to higher marginal utility of consumption in poor regions, total damage without mitigation estimated from disaggregated regional welfare function is higher than from global welfare function.

Souce : FUND (The Climate Framework for Uncertainty, Negotiation, and Distribution) Environ Resource Econ (2009), David Anthoff & Richard S.J. Tol รูป∙ี่ 2

ความแตกตางดานรายไดและการบริโภคแลว ตนทุนที่จะชดเชย ความเสียหาย (Mitigation cost) รวมทั้งโลกยังนาจะสูงกวาที่ เคยประเมินกันไว ในชวงหลายปทีผ่ านมา การมองหาผูร บั ภาระ Mitigation cost ยังเปนที่ถกเถียงกันอยู ประเทศร่ำรวยมักตกเปนผูตองหา ใหรับบทหนักในการชดเชยความเสียหายจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ โดยยกเหตุผลที่มองจากดานอุปทาน จากการ ทีประเทศ ่ ร่ำรวยสวนใหญเปนประเทศอุตสาหกรรมทีพั่ ฒนาแลว จึงเปนแหลงกำเนิดกาซตระกูลคารบอนจำนวนมาก ซึง่ นับจากนี้ ผลทีได ่ จากการประเมินขางตนนาจะถูกยกเปนเหตุผลใหญอีกอัน หนึง่ จากมุมมองดานอุปสงค ในการสะทอนใหเห็นความเจ็บปวด ของประเทศยากจน จากผลกระทบที่หนักกวาประเทศที่ร่ำรวย หากอธิบายจาก Marginal utility แลว เม็ดเงินที่ประเทศร่ำรวย ตองรับภาระเพื่อชดเชยความสูญเสีย จะไมกระทบตอชีวิตความ เปนอยูของผูคนในประเทศร่ำรวยมากนัก แตจะนำพาความสุข กลับคืนสูผูคนที่อยูในกลุมประเทศยากจนไดอยางมากมาย แม จะชดเชยไมไดทั้งหมดก็ตาม ราย ได ระหวาง กลุม ประเทศ ที่ มี ความ แตก ตาง กัน มาก หากมอง Mitigation เปน Global public good กลุมประเทศ ที่ยากจนมากควรไดรับเงินชดเชยหรืออุดหนุนมาก ในขณะที่ ประเทศร่ำรวยจะตองรับภาระในรูปของภาษีที่ตองจายเพิ่ม เพื่อ ชวยเหลือประเทศยากจน หรืออาจสมทบในรูปของเงินกองทุน ระหวางประเทศ ซึง่ คงตองเปนหนาทีของ ่ องคกรระหวางประเทศ ที่ จะ ตอง จัดสรร ให ประเทศ ยากจน อยาง เปน ธรรม ประเทศ ยากจนจึงสมควรไดรับมาตรการชวยเหลือที่เขมขนและเรงดวน เพื่อเพิ่มผลไดในระยะยาว โดยตนทุนที่สูงขึ้นในชวงแรกควรได รับการสนับสนุนจากประเทศร่ำรวย ที่ผานมา แมกลุมประเทศร่ำรวยจะเคยใหคำมั่นในการ ชวยเหลือประเทศยากจนในโครงการพัฒนาตางๆ ที่ครอบคลุม ถึงการลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แต การปฏิบัติตามคำมั่นสัญญายังมีนอยมาก ประเทศแอฟริกาเปน หนึ่งในตัวอยางของประเทศยากจน ที่ประเทศร่ำรวยมักหยิบยก ขึ้นมาอางถึงการใหความชวยเหลือทางการเงินที่เพิ่มขึ้น หากนำ เหตุผลจากมุมมองดานอุปสงคเขามาอธิบายผาน Utility function แลว ประเทศ ยากจน อยาง แอฟริกา ควร จะ ได รับ เงิน อุดหนุน ชดเชยผลที่ตนเองไมไดกอขึ้นมากกวาระดับที่เปนอยู การ วิ เ คราะห อรรถประโยชน จึ ง เป น คำ ตอบ หนึ่ ง ที่ ชวยสนับสนุนเหตุผลวา ทำไมประเทศร่ำรวยตองแสดงความ รับผิดชอบตอปญหาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่สงผลใหเกิดความสูญเสียในประเทศยากจนมากกวาที่เปนอยู เพราะความสูญเสียเมือ่ มองจากดานอุปสงคจะชัดเจนและรุนแรง กวามองจากดานอุปทาน ที่พิจารณาเพียงวาใครเปนผูกอก็ตอง รับผิดชอบ ซึ่งเปนปญหาถกเถียงที่ไมรูจบ 29 :


V ISION

[text] [photo]

กองบรรณาธิการ อนุช ยนตมุติ, โกวิ∙ โพธิสาร

ชมรมคนรักโลก จากการพูดคุยกับบุคคล∙ั้ง 3 ∙าน ในประเด็น Low Carbon Society เราจึงพบวา คำๆ นี้มีความหมาย∙ี่หลากหลาย ไมมีความหมายระบุอยางตายตัว แตภาพรวม ความหมายของคำๆ นี้ พยายามมุงไปสูความหมาย เดียวกัน นั่นคือการอาศัยอยูบนโลกนี้อยางยั่งยืน ขึ้นอยูกับมุมมองสวนบุคคล คงคลายๆ ความหมายของคำวา ‘รัก’ ไมตายตัว แตความหมายของมัน ไมนาจะเลยพนไปจากความปรารถนาอันดีงาม

01

ศิริธัญญ ไพโรจนบริบูรณ

ผูอำนวยการองคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) : 30


คุณกำลังทำอะไร องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการ มหาชน) ตัง้ ขึน้ มาเพือ่ รองรับพิธสาร ี เกียวโต เพือ่ ปฏิบตั งาน ิ ดานการบริหารเกีย่ วกับกาซเรือนกระจกและการดำเนินการ ตามกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism – CDM) ภายใตพิธีสารเกียวโตใหเปนไป ตามขอกำหนดสากล ภายใตพิธสาร ี เกียวโต ประเทศกำลังพัฒนาจะตองมี DNA- Designated National Authorities ซึง่ เปนหนวยงาน ของประเทศทีมี่ อำนาจในการใหการรับรองโครงการ CDM ยกตัวอยางเรือ่ งการซือ้ ขายการลดกาซเรือนกระจก ซึง่ เปน หนึ่งโครงการในความรับผิดชอบของเรา ถาใหพูดอยางรวบรัดที่สุด องคการบริหารจัดการ กาซเรือนกระจกมีหนาทีใน ่ การออกเอกสารรับรองการลด กาซเรือนกระจก ซึ่งตอนนี้ทำไปแลว 100 โครงการ ลด การปลอยคารบอนได 6.32 ลานตันตอป นอกจากนี้ เรายังมีหนาที่ในการพัฒนาศักยภาพ ของบุคลากรขององคกรในการลดกาซเรือนกระจก ในการ จัดการในการพัฒนาโครงการ CDM มีทั้งการจัดสัมมนา การประชุมเชิงปฏิบัติการ การฝกอบรม เกือบทุกภาคของ ประเทศ ซึง่ เริม่ มีคนสนใจ บริษทั ทีเขา ่ สนใจเขาก็จัดแลวให เราไปชวยเสริมขอมูลตรงนี้ และเราก็เปนศูนยขอมูลเรื่องกาซเรือนกระจกของ ประเทศ

ก็คือเมืองที่มีกิจกรรมหรือการดำเนินการที่ลดการปลอย คารบอนใหอยูในปริมาณต่ำ ต่ำกวาเทาไหรถึงเรียกวาโลว คารบอน ตรงนีไม ้ มมาตรฐาน ี เราเพิง่ จะไดงบประมาณมา ทดลองใชกับเทศบาลแกลง จังหวัดระยอง ศึกษารูปแบบวา ลดเทาไหรจึงเปนมาตรฐาน ตองเปรียบเทียบกับฐานขอมูล กับกิจกรรมที่เพิ่มขึ้น การลดคารบอนมันมีหลายภาคสวน ในมุมมอง ของ เมือง ก็ ตอง ดู คารบอน ฟุต พริ นท ของ วิถี ชีวิต ชุมชน เพราะการปลอยคารบอนไดออกไซดมันตั้งแตตื่นนอนจน เขานอน ที่สำคัญก็คือการใชไฟฟาของชุมชน ถาใชมาก ตอหัวนีเท ่ าไหร ตอนนีเรา ้ ยังไมรวู าลดลงมาเทาไหรทีเรี ่ ยก วาโลวคารบอน นอกเหนือจากพลังงานแลวก็มีภาคของเสีย เมือง มีขยะมากนอยแคไหน แลวเอาไปทำอะไร มีโปรแกรมลด ขยะหรือไม เปนกิจกรรมทีเกี ่ ย่ วกับการลดคารบอน มีสวน สาธารณะที่มีการดูดซับคารบอนแคไหน

คุณคิดวาสังคมไทยมีแนวโนมที่จะเปนสังคม คารบอนต่ำไดไหม กรุงเทพฯเองก็มีโปรแกรมการขนสงที่ลดคารบอน ผมมองวาหลายกิจกรรมทีเขา ่ ทำกันเขาขายโครงการ CDM หรือคารบอนเครดิตไดดวยซ้ำ ผมไปเห็นของอินเดีย – สวมสาธารณะใหญมาก เพราะอินเดียคนจนเยอะ รองรับวันหนึ่ง 32,000 คนตอ วัน ของเราบานเรือนมีสวมทุกหลัง คือสิ่งปฏิกูลที่ดูดจาก คุณมีความมั่นใจขนาดไหนวาสิ่งที่กำลังทำอยู สวมมา ถามาเปน Central Treatment Tank มันก็ไดกาซ สามารถชวยโลกไดจริง ชีวภาพ นี่ก็เปนโครงการได ผม มอง วาการ ซื้อ ขาย กาซ เรือน กระจก มัน เปน รถเก็บขยะ-กทม. มีกี่พันคัน เปลี่ยนไปใชเอ็นจีวี ราย ได เสริ ม ที่ สำคั ญ มั น เป น แรง จู ง ใจ เพราะ ปกติ ปรับเสนทางใหประหยัดพลังงานมากขึ้น มันก็คือการลด ผูประกอบการเขาจะไมทำกัน คารบอนแลวหวนกลับมาเปนคารบอนเครดิตได ยกตัวอยางโรงงานปูน ซึง่ ปลอยคารบอนเยอะมาก เขาก็นำสาหรายมาเลี้ยง ซึ่งสาหรายกินคารบอนนะครับ คุณมองโลก (รอน) แบบไหน ผมเคยเปนอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ 2 ป งานสวน แลวเราเอาสาหรายไปทำอะไร ก็ทำอาหารสัตวไดอีก ผม มองวามันกระตุนใหเกิดนวัตกรรมซึ่งบางทีเราก็คาดไมถึง ใหญคือ Command – Control ใชกฎหมายบังคับ เทาที่ มี โครงการ หนึ่ง กำลัง ศึกษา ความ เปน ไป ได ของ เห็นก็ไมคอยไดผลนะ หลังๆ กระแสโลกมีกลไกการจัดการ วินมอเตอรไซค คือเขาจะเปลี่ยนมอเตอรไซคทั้งวินเปน ดานสิง่ แวดลอมโดยดึงเอาเครือ่ งมือทางเศรษฐศาสตรและ มอเตอรไซคไฟฟา ถามวามีอยูกี่ลานคันละในกรุงเทพฯ เครื่องมือทางสังคมมากระตุนมากขึ้น ก็เห็นวาการจัดการ ประเด็น ก็ คือ มัน ตอง เลิก ใช คัน เกา ไป เลย นะ ไมใช เอา สิ่งแวดลอมถาไม Win-Win มันคอนขางจะลมเหลว คือพูดงายๆ กิจการขององคการกาซเรือนกระจก คันใหมมาใช แลวขายคันเกาไปตางจังหวัด มันก็ยังปลอย จะมีลักษณะ Give มากกวา Take เปนงานบริการ ฉะนั้น คารบอนอยูนะ ฉะนั้น ก็ตองศึกษาวามันเปนไปไดไหม ทำงานนาจะมีความสุขมากกวา แลวเราก็มีสวนชวยสังคม ในมุมมองของคุณ อะไรคือ Low Carbon Society ไดเยอะ การรักษาสิง่ แวดลอมเปนเรือ่ งทีเป ่ นภาระ แตเรือ่ ง ถาจะใหความหมายแคบลงมาหนอย Low Carbon CDM เรื่องการจัดการกาซเรือนกระจกกลับเปนการเพิ่ม Society ก็คือเมือง...เมืองลดคารบอน ผมไมชอบคำวา กำไร ลดตนทุน ทั้งๆ ที่ทำแบบเดียวกัน (หัวเราะ) แต คารบอนต่ำ ฟงดูทะแมงๆ แตมันติดตลาดไปแลวนะ จริงๆ มันไดผลกวา 31 :


02

คุณหญิงสุธาวัลย เสถียรไ∙ย สถาบันธรรมรัฐ เพื่อพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม

: 32


คุณกำลังทำอะไร ในชวง 3-4 ปมานี้ เรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศเปนที่พูดถึง สถาบันธรรมรัฐฯเรายังเนนทำงาน วิจัยเรื่องธรรมาภิบาลอยู กอนที่จะมาจับงานวิจัยเรื่อง โลกรอน เราจับเรือ่ งการคาเสรีดวย เราไปดูเรือ่ งการคาเสรี วามันมีผลกระทบอะไรตอสิ่งแวดลอมไหม 2 ปที่แลว ที่ประชุมบาหลีของ UNFCCC เราก็ ไปดวย ดิฉนั ก็ไปเสนอแนวคิดอันหนึง่ ซึง่ ไดรับการตอบรับดี ในหมูประเทศ  กำลังพัฒนาดวยกันนะคะ เรามองวาปญหา โลกรอน มันมีปญหาเรื่องความเปนธรรมเขามาเกี่ยวของ คอนขางสูงมาก ความเปนธรรมมี 2 เรื่องใหญๆ ประเด็นแรก คือ Historical Emission หมายความ วา ในอดีต...เราตองยอมรับวาประเทศเราไมไดเปนตัวกอ ปญหานี้เลย ประเทศที่ปฏิวัติอุตสาหกรรมเมื่อ 100 ปที่ แลวนั่นตางหากที่สงกาซเรือนกระจกไปบนชั้นบรรยากาศ เต็ม ไป หมด แต เรา เพิ่ง จะ มา เริ่ม แลว การ ที่มา บอก วา ทุกคนตองมาลดกาซเรือนกระจกเหมือนกันหมด มันไม ยุติธรรม อีกประเด็นหนึ่งเขาเรียกวา Offshore ของกาซ เรือนกระจก คือการปลอยกาซเรือนกระจกขามพรมแดน ประเด็น Historical เปนมิติทางเวลา แต Offshore เปน มิติทางพื้นที่ ความหมายก็คือ ขณะนี้ประเทศตางๆ เวลามอง การปลอยกาซเรือนกระจก จะมองในขอบเขตของประเทศ นั้นๆ เชน โรงงานนี้ตั้งอยูในประเทศนั้น ประเทศนั้นก็ ตองรับผิดชอบ แตประเทศอุตสาหกรรมเขาเปลีย่ นมาเปน Service Industry กันหมดแลว เขาคุมเทคโนโลยี คุมสวน ที่เปน High Value แตการผลิตทั้งหมดเขา Outsource มาใหเราผลิตหมด คำถามก็คือโรงงานตางๆ ที่มาตั้งอยู ใน ประเทศ เรา แลว ผลิต กาซ เรือน กระจก มหาศาล นั้น เปนการผลิตใหใคร เราจะปฏิเสธ 100 เปอรเซ็นตก็ไมได เพราะเรา ก็ไดประโยชน แตมันก็ไมใชประโยชน 100 เปอรเซ็นตที่ เปนของเรา แตถาคิดอยางปจจุบัน ตอนนี้เรารับผิดชอบ 100 เปอรเซ็นต ถามวามันแฟรหรือเปลา นี่ก็เปนคำถาม เรื่องความไมเปนธรรมอีกมิติหนึ่ง นอกจากมิติเรื่องเวลา มันก็มีมิติเรื่องการปลอยขามพรมแดน

3. การอยูรวมกับธรรมชาติได ซึ่ง มัน คอน ขาง เปน แนวคิด ที่ ไป กับ เศรษฐกิจ พอ เพียง ได แต ทั้งนี้ ทั้ง นั้น ก็ ไม ได หมายความ วา ตอง ไมมี เทคโนโลยี แตตองเปนเทคโนโลยีที่เรียบงาย

มีโอกาสเกิดกับสังคมไทยหรือไม เราไปหยิบกรณีศึกษามาจากหลายที่ที่มีชุมชนที่ เขาพยายามทำเศรษฐกิจพอเพียง เราก็คิดวามันมีความ เปนไปไดในชุมชน หัวใจของเศรษฐกิจพอเพียงคือปญญา เขาสามารถปรับตัว สามารถหาวิธีดำเนินชีวิตใหมันอยู รอดไดอยางดีและมีความสุข เศรษฐกิจพอเพียง...หัวใจ คือการสรางปญญา ถาชุมชนหรือคนมีปญญา อะไรๆ ก็ งายมากเลย แลว ปญญา มัน มา จาก ไหน เรา สังเกต วา หลาย ชุมชนที่มีปญญาจะมาจากผูนำ ซึ่งก็เอาแนวพุทธมาทำ มันไมใชปญญาที่พนทุกขหรือนิพพาน แตเปนปญญาที่ทำ อยางไรเราจะมีชีวิตอยูได แกไขความยากจนที่ไมสุดโตง แตเปนอยูตรงกลางที่เรียกวาความพอดี ถาเราสามารถ ทำใหสังคมตางๆ ในประเทศไทยมีปญญาตรงนี้ขึ้นมาได มันจะสามารถคนหาการดำเนินชีวิตในบริบทที่ตัวเองอยู ก็จะมีการหาวิธีใหไปขางหนาได ตรงนี้คือหัวใจ

คุณมองโลก (รอน) แบบไหน เศรษฐกิจพอเพียงมันไมไดมีความหมายวาเราอยู แบบปดประเทศ อยูแบบ  ยากจน เศรษฐกิจพอเพียงคือการ ที่เรามีภูมิคุมกัน การลงทุนเราก็ตองมีการเลือกการลงทุน ที่ดี ที่ยั่งยืน ไมทำลายเรา หรือเราตองสรางเทคโนโลยี ในระดับที่เราพึ่งตัวเองได เราก็มีอำนาจตอรองได คำวา เศรษฐกิจพอเพียงมีความหมายกวางกวาการปดประเทศ แลวอยูกันเอง ถ า มอง ใน เชิ ง ปรั ช ญา เชิ ง แนวคิ ด วิ ธี คิ ด แบบ เศรษฐกิจพอเพียง มันก็คลายประเทศภูฏาน คือเปนแนว พุทธ เอาเขาจริงๆ แลว การทีเรา ่ อยูกั นในระบบโลกาภิวัตน แลวเราไมแข็งแรง พอเราไปตอสูกับเขาเราก็สูเขาไมได ถาเปนแนวคิดแบบพุทธ เราก็ตองดูวาความพอใจเราอยู ตรงไหน เราอาจตองหันกลับมาดูวาเรามีอะไรที่ทำใหเรา อยูไดอยางมีความสุขและสรางความเขมแข็งขึ้นมา ทำไมเราไมเลือกการพัฒนาที่ดี มันไมใชวาเราอยู ตรงนีจะ ้ เปนการเลือกระหวางการพัฒนาหรือไมพัฒนานะคะ Low Carbon Society คืออะไร มั น เป น สเปกตรั ม ตั้ ง แต การ พั ฒนา ที่ แบบ ทำลาย ฐาน ในงานวิจยั ของสถาบันธรรมรัฐฯ เขาก็ตีความ Low ทรัพยากรของเราจนหมด เราจะเอาพัฒนาแบบที่เจริญไป Carbon Society ออกมา 3 ขอ คือ ดวยและยั่งยืนดวย ทำไมเราไมเลือกละคะ เปนการบานที่ 1. สังคมที่พยายามปลอยคารบอนต่ำที่สุดจากที่ เราตองอาศัยนักพัฒนาในสหสาขาวิชา ทำไมเราไมทำ เรา เปนอยู เอาแตถามวาจะพัฒนาหรือไมพัฒนา ทั้งๆ ที่สเปกตรัม 2. เปนสังคมทีค่ อนขางจะเรียบงาย มีคุณภาพชีวติ มันกวางมาก ไมไดมีตัวเลือกแค 2 ตัวเลือกที่อยูคนละขั้ว ที่เรียบงาย แตอยูดีมีสุข 33 :


03 อาวุธ นิติพล

ฝายนโยบายพลังงานและธุรกิจสัมพันธ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)

: 34


คุณกำลังทำอะไร ผมทำงานในธุรกิจพลังงาน โดยขอเท็จจริงก็ปรากฏ อยูแล  ววาการใชพลังงานเปนแหลงใหญของการปลอยกาซ เรือนกระจก เปนจำเลยของสังคมของโลก แนนอนมันเปน คำถามที่ตองถามอยูเสมอวาถาเราตองการลดกาซเรือน กระจก ธุรกิจพลังงานมันจะโตไปไดหรือไม เพราะคุณเปน คนปลอยหลัก ก็เปนการบานที่ตองแกตองปรับ เมือ่ ทิศทางของโลกเปนแบบนี้ แลวธุรกิจทีเกี ่ ย่ วของ กับพลังงานที่ผมดูอยูจะตองปรับตัวอยางไร ฉะนั้น สิ่งที่ ตองศึกษาติดตามก็คือ ธุรกิจพลังงานหรือจำเลยอยางเรา จะชวยโลกชวยประเทศอยางไร ปรับตัวอยางไร ซึง่ คำตอบ มันก็ยังไมชัดเจนมากนัก ดวยเทคนิคปจจุบัน...คงหาอะไร มาแทนน้ำมันมาแทนไฟฟาไดยาก แตสิ่งที่เราดูก็คืออีก 5 ป 10 ป บริษัทน้ำมันคงขายน้ำมันชนิดใหมแลวละ ซึ่ง ไมใชน้ำมันจากปโตรเลียม คงตองปรับตัว หาทรัพยากร จาก ธรรมชาติ จาก ธรรมชาติ คือ อะไร จาก ออย จาก มันสำปะหลังเหรอ พอเอาจากออยจากมันสำปะหลังมา เยอะเดี๋ยวก็ไปแยงอาหารอีก อาหารขาดแคลน เพราะ ฉะนัน้ ธุรกิจก็ตองมองไปอีกขัน้ หนึง่ เมือ่ เอาจากออยจากมัน ไมได ก็ไปเอาจากฟางขาวจากใบออยไดไหม เปนตน

ถา เรา ยอน ไป รอย กวา ป คน ก็ คง ไม เชื่อวา จะ มี รถยนต วิ่ง ได จากตรงนี้มันก็เปนไปไดวาเราอาจจะมีอะไรใหมๆ ที่ เราคาดคิดไมถึง

สังคมคารบอนต่ำคืออะไร ไมวาคุณจะเรียกมันวาอะไร ผมมองวามันคือสิ่ง เดียวกัน ก็คือการเจริญเติบโตที่มีเหตุมีผล พอเพียง และ เปน มิตร กับ สิ่ง แวดลอม ซึ่ง ตอน นี้ เชื่อ ได วา ธุรกิจ ขนาด กลาง ขนาด ใหญ หรือ ขนาด เล็ก ที่ มี มุม มอง กวาง ไกล ตระหนักแลววาการทำธุรกิจไมสามารถจะยั่งยืนตอไปได ถาสังคมไมสามารถโตไปดวยได มัน ก็ เปน เหมือน ไก กับ ไข นะ ใน มุม มอง ผม เชน บริษัทหนึ่งทุมเทผลิตสินคาที่ดีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ซึ่ง มันเพิม่ ตนทุนอยูแล  ว เขาก็ตองขายแพงขึน้ มันก็เปนอะไร ทีเจ ่ าของธุรกิจตองคิดหนัก วาจะเลือกไปทางกำไรนอยแต ยั่งยืนกับเลือกไปทางหนึ่งคือกำไรเยอะแตไมยั่งยืน เขา จะรักษาความสมดุลนี้อยางไร เพราะธุรกิจยังไงก็ตองอยู รอด ตองมีกำไร ตองเติบโต ถาเขาไปทำเพื่อสังคมเยอะ มากมันก็จะ... นี่คือสิ่งที่ผมวามันตองไปดวยกัน ระหวางผูผลิต กับผูบริโภค แตแนนอน ธุรกิจตองโชวกอน ตองแสดงให สิ่งที่คุณกำลังทำอยูมีโอกาสเกิดขึ้นจริงหรือไม เห็น กอนวา พรอม จะ ไป ใน ทาง นี้ แลว ตอง ทำ ดวย ความ เทคโนโลยีในปจจุบนั จากฟางขาวไปทำเอทานอล เชื่อจริงๆ วาถาไมทำอยางนี้ โลกนี้มันอยูไมได ถามีแต ยังแพงมาก คุณก็ตองไปคิดเทคโนโลยีมาวาจะทำยังไงให คนที่ทำไปในทางเดิมๆ คือไมเปนมิตรกับโลกเทาที่ควร ฟางขาวหรือใบออยไปทำพลังงานโดยที่ราคายังพอรับได มันก็ไปไมได นี่คือลักษณะของธุรกิจที่ตองปรับตัวไป พอหรือยัง...ไมพอ แลวอีก 15 ปละ คุณจะทำ คุณมองโลก (รอน) แบบไหน ใน 10 ปขางหนา ประเทศพัฒนาแลวจะลดการ อะไรอีก ก็ตองมองไปไกลกวานั้น ในเมื่อฟางขาวหรือ ใบ ออย อาจ จะ ไม พอแลว ก็ ปลูก พืช ขึ้น มา ทำ พลังงาน ใชน้ำมันประมาณ 20 เปอรเซ็นต ถาเรามองในอเมริกา... โดยตรง สาหรายดีไหม เลี้ยงสาหราย สาหรายกินอะไร เกือบทุกคนมีรถ ประเทศไทยหรือจีน 100 คน อาจจะมี กินคารบอนไดออกไซด สาหรายกินคารบอนไดออกไซด รถสัก 7-8 คน ยังมีคนไมมีโอกาสใชรถอีกเยอะ มันก็จะ แลวทำออกมาเปนน้ำมัน เอาน้ำมันไปใชจะไดไมตองใช มีคนซื้อรถใหมๆ อีกเยอะ ซึ่งทำใหความตองการน้ำมัน มันไมลดลง แตจะโตชาไปเรื่อยๆ คือ 10 ปขางหนามัน ฟอสซิล ธุรกิจก็ตองมอง ผมก็ตองมองวามันมีความเปนไปไดขนาดไหน ณ จะโตชา และอาจถูกทดแทนดวยเอทานอล ไบโอดีเซล วันนี้มันแพงอยู ก็ตองเฝาตามดูวามันจะเปลี่ยนไปทาง ความตองการน้ำมันในสวนที่เปนปโตรเลียมจะโตชา แต ไหน แตยังไงมันก็ตองไปในลักษณะนี้ ตองใชน้ำมันจาก จะเพิ่มในสวนที่เปนน้ำมันจากธรรมชาติ พืชจากสาหรายใสเขามา เรารูแลววาถาเราโตไปกับน้ำมัน จากปโตรเลียม...โลกก็คงไปไมรอด ถาเราอยากใหโลกโตไป และธุรกิจโตดวย เราก็ตองเปลี่ยนลักษณะของธุรกิจจาก น้ำมันปโตรเลียมเปนน้ำมันที่มาจากพืชโดยใชเทคโนโลยี ใหมๆ จะมาจากสาหรายหรือมาจากอะไรไมรูนะ ธุรกิจ ตองปรับตัว มองอะไรที่มันไกลๆ บางคนก็บอกวา สมัยนั้นก็รุนลูกรุนหลานแลวจะ ไป ทำ ทำไม ถา ไม ดู ไม คิด ตั้งแต ตอน นี้ มัน ก็ เกิด ขึ้น ไม ได 35 :


I NTERVIEW

[text] [photo]

กองบรรณาธิการ อนุช ยนตมุติ

เป น หนึ่ ง ใน คณะ นั ก วิ จั ย โครงการ การ จั ด ทำ บั ญ ชี ก า ซ เรื อ น กระจก แห ง ประเทศไทย เปนผูเชี่ยวชาญในการคำนวณหาคาการปลอยกาซเรือนกระจกที่ ภาครัฐและเอกชนพึ่งพาความสามารถอยูบอยๆ ปจจุบัน รศ.ดร.สิริน∙รเ∙พ เตาประยูร เปนรองผูอำนวยการบัณฑิต วิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม (Joint Graduate School of Energy and Environment - JGSEE) อันเปนศูนยวิจัยและใหการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษาดานเทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดลอม ของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ทัง้ ยังเปนผูเชี  ย่ วชาญคอยใหคำปรึกษาใหทางศูนยคาดการณเทคโนโลยี เอเปค ในโครงการวิจยั สังคมคารบอนต่ำและยุทธศาสตรการปรับตัวของเอเปค (APEC Low-Carbon Society and Adaptation Strategy Project) ในศตวรรษที่ 19 คารล มารกซ มีความฝนที่จะสรางสังคมที่ดีกวา โดยไดเสนอแนวคิดและอธิบายวิวัฒนาการของสังคมเปนขั้นๆ จนถึงสังคม คอมมิวนิสต ใน ศตวรรษ ที่ 21 โลก เปลี่ยน สังคม เปลี่ ย น ท า มกลาง ป ญ หา สภาพ ภู มิ อากาศ เปลี่ยนแปลง ถาอยากเห็นสังคมที่ดีกวา รศ.ดร.สิริน ทรเทพ เสนอวา ควรสราง ‘สังคมคารบอนพอ เพียง’ ใหเกิดขึ้น โลก ต อ งการ ความ ‘พอ เพี ย ง’ ของ มนุษย เพราะเมื่อถึงวันนั้น ความพยายามของ เราอาจจะยังไม ‘เพียงพอ’

Sufficiency

Carbon Society มาสร้าง ‘สังคมคาร์บอนพอเพียง’ ด้วยกัน

: 36


อาจารยเริ่มสนใจที่จะเขามาทำงานเกี่ยวกับ Low Carbon Society ไดอยางไร อาจารย เริ่ ม ทำงาน เรื่ อ ง การ ปล อ ย ก า ซ เรือนกระจก บนฐานการปลอยจากภาคการเกษตร มาก อ น จาก นั้ น ก็ ไ ด เข า ไป มี ส ว น ร ว ม ใน งาน เชิ ง พลังงานมากขึ้น ก็ทำใหมีฐานในเรื่องของการปลอย และการลดการปลอยกาซเรือนกระจกในหลายภาค สวน มาก ขึ้น ทั้ง ภาค สวน ใน ประเทศ และ ภาพ รวม ของโลก ภาพ รวม ของ โลก...อย า ง ที่ ทราบ กั น ว า จะ มี การ ประ ชุ ม ค็ อบ หรื อ การ ประชุ ม ภาคี อนุ สั ญ ญา สหประชาชาติ ว า ด ว ย การ เปลี่ ย นแปลง สภาพ ภู มิ อากาศ (Conference of the Parties หรือ COP) เกิด ขึ้นประจำทุกป ซึ่งในแตละปจะมีการพูดถึงเปาหมาย ในการลดกาซเรือนกระจก อาจารยก็มีโอกาสทำงานให สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ก็ทำในเรือ่ งเปาหมายทีควร ่ จะลด และปริมาณ ของกาซเรือนกระจกทีควร ่ จะลดนัน้ ควรลดในภาคสวน ไหน เริ่มแรกทำให สกว. กอน ตอมาก็จะมีทีมของ อาจารย และ นัก วิชาการ ที่ ทำ เรื่อง การลด กาซ เรือน กระจกใหกับ สกว. ก็ไดไปชวยอาจารยทานอื่นๆ ทำ ตรงนั้นอีกแรงหนึ่งดวย จาก การ ทำงาน ก็ จะ พบ วา ทิศทาง ของ การ ใช เทคโนโลยีอยางเดียวมันอาจจะไมสำเร็จหากจะลด กาซเรือนกระจกแบบกาวกระโดด เพราะฉะนั้นเรื่อง ของ Low Carbon Society ก็เลยเปนกระแสที่เขามา เพราะเปาหมายในการวางทิศทางการเจรจาเพื่อลด กาซเรือนกระจกมันเปนแบบบนลงลาง (Top-Down) ซึ่งสั่งลงมาจากรัฐบาลแตละประเทศ วาจะตองลด ใหไดกี่เปอรเซ็นตภายในปนี้ๆ กระแสที่จำเปนตองสวนทางขึ้นไปมันคงเปน เรื่องของลางขึ้นบน (Bottom-Up) คือ ตองเปนเรื่อง ทีม่ ากกวาการใชเทคโนโลยีเพียงอยางเดียว นัน่ คือการ ลดดวยจิตสำนึกของคน หรือการลดแบบกาวกระโดด จำเป น ต อ ง มี การ เปลี่ ย นแปลง ใน เชิ ง พฤติ ก รรม (Behavior Change) ตรงนีก็้ เลยทำใหมองวาการลดโดยมีเปาหมาย จากขางบนลงลางเพียงอยางเดียว ในความเปนจริง อาจจะไมพอ โอกาสทีจะ ่ ลดจากจิตสำนึกของคน หรือ จากลางขึ้นไปขางบนนาจะมีมากวา ในการที่จะไป บรรเทาภาวะโลกรอนในปจจุบัน โดยที่ตัวเราเองอาจ จะไมรเลย ู ดวยซ้ำวามีสวนชวยไปแลว ก็เปนอะไรทีเริ ่ ม่ เขามาดูในเรื่องของ Low Carbon Society กระแส ของโลกมันพาใหเราเขาไปสนใจมากกวา จากที่เริ่มงานในสวนของการปลอยจากภาค

การเกษตร ดูเปาหมายในการลด เขาไปชวยทบทวน การ ปลอย กาซ เรือน กระจก ของ ประเทศ ตางๆ เฝา ติ ด ตาม การ ประ ชุ ม ค็ อบ มอง ไป ที่ ผล สำเร็ จ ของ เทคโนโลยี ซึง่ อาจจะไมประสบความสำเร็จ หรือมีสวน ชวยไดแตไมทั้งหมด ผลสุดทายถาจะใหกาวกระโดด จริงๆ คงจะมาดูที่ Low Carbon Society ความหมายของ Low Carbon Society สำหรับ อาจารยเปนอยางไร ตองทำความเขาใจกอน เพราะตอนนีมี้ หลายคำ ที่เกี่ยวของกับ Low Carbon Society และดูเหมือน วามันกำลังเปนกระแส มี Low Carbon Economy, Low Carbon Society และ Low Carbon City ซึ่ง 3 คำนี้มีความแตกตางกัน อยาง Low Carbon Economy จะเนนไปทางเทคโนโลยีกับเศรษฐศาสตร มาเกี่ยวของ Low Carbon Economy จะเนนไปที่การนำ เทคโนโลยีสะอาดมาชวยลดกาซเรือนกระจก เนือ่ งมา จากผลพวงที่เราทราบกัน Low Carbon Economy จะคอนขางเนนหนักไปทางประเทศที่พัฒนาแลว เขา จะ ใช คำ นี้ กัน มาก เนน เรื่อง เทคโนโลยี ที่ จะ เขา มา เปลี่ยนแปลงเพื่อลดกาซเรือนกระจก แตถา Low Carbon City ก็เปนอีกแบบหนึ่ง จะใชพืน้ ทีเป ่ นหลัก มุง ไปทีเมื ่ อง เมืองใดเมืองหนึง่ ทีจะ ่ เขาสูการ  ปลอยกาซเรือนกระจกต่ำ มีการจัดการเมือง นั้นๆ ใหสามารถลดกาซเรือนกระจกจากฐานเดิมที่ยัง ไมไดมีการจัดการเลย มีวิธการ ี อยางไร...ลดไดเทาไหร ศึกษาเชิงพื้นที่ (Area-Based) เปนหลัก แลว Low Carbon Society มีความหมายวา อยางไร ถาเปน Low Carbon Society ในความหมาย ที่พูดๆ กันอยู ไมวาจะเปนในเอกสาร ในเว็บไซต หรือ แบบปากตอปาก เขาจะพูดถึงหลัก 3 ขอใหญๆ อันแรกเรียกวา Carbon Minimization จะตอง เปนสังคมทีสามารถ ่ ลดกาซเรือนกระจกได แลวการลด เปนการลดแบบไหน อันทีสอง ่ Simpler and Richer หมายความวา ดวยวิธงี ายๆ มีความเต็มใจในการลด สามารถทำไดใน ชีวิตประจำวันและยังสามารถสรางรายได อันที่สาม Co-Existing with Nature เปน เรื่องของการปรับตัวเองใหเขาสูภาวะโลกรอนที่เกิด ขึ้น ฉะนั้นความหมายของ Low Carbon Society มันจึงกวางมากกวาตัวเทคโนโลยีอยางเดียว เพราะดู เรื่องของการรับรูของชุมชนในการยอมรับเทคโนโลยี ดวย สามารถปรับตัวเองเขาไปสูการอยูกับธรรมชาติ โดย ไม ได ทำร า ย ธรรมชาติ ตาม หลั ก การ นี้ Low 37 :


Carbon Society จึง เปน ทั้ง เรื่อง ของ การ บรรเทา (Mitigation) และการปรับตัว (Adaptation) ของคน และสังคมดวย อยางไรก็ตาม Low Carbon Society มันถูก ผลักดันมาจากประเทศทีพั่ ฒนาแลว เขาชูคำนีมา ้ กอน เขาก็จะใหความสำคัญที่เทคโนโลยีเปนหลัก Low Carbon Society ในบริบทของสังคมไทยจะมี แนวทางแบบไหน สำหรับสังคมไทย Low Carbon Society จะ เขากับการดำเนินชีวิตในลักษณะบูรพาวิถี (Oriental Wisdom) การดำเนินชีวิตของชาวตะวันตกกับชาว ตะวันออกไมเหมือนกันอยูแลว เทคโนโลยีของเขาที่ พัฒนามาเรื่อยๆ เปนสาเหตุหนึ่งที่ทำใหเกิดโลกรอน ขณะที่การดำเนินชีวิตของคนตะวันออกจะคอนขาง เรียบงาย แมแตคนในชนบทของจีนก็ยังมีวิถชี​ี วติ เรียบ งายอยู ที่เดนชัดก็ประเทศภูฏาน แมแตประเทศลาว พมา กัมพูชา การดำเนินชีวติ จะเรียบงาย ประเทศไทย เองก็เหมือนกัน ถาไมนับในเมืองใหญนะคะ การดำเนิน ชีวิตของคนชนบทเรายังอยูกับธรรมชาติมาก ยังเขา กัน ได ดี กับ ปรัชญา เศรษฐกิจ พอ เพียง ของ ในหลวง ฉะนั้นก็จะเห็นวา Simpler and Richer จะเนนเรื่อง ความสบายใจในการที่จะดำรงชีวิตอยู มันคือการใช ชีวิตอยางพอเพียงนี่แหละ ขณะที่ Co-Existing with Nature ถาเราไป มองในบริบทไทย ชุมชนทีเขา ่ นำเอาเศรษฐกิจพอเพียง เขาไปพัฒนา เขาจะมีรูปแบบในการดำเนินชีวิตที่เขา กับธรรมชาติไดดี และรักษาธรรมชาติไดดีดวย เหมือน ชุมชนบานเปร็ดใน อำเภอเมือง จังหวัดตราด ทีเคย ่ ลง ไปวิจัยรวมกับ สกว. รวมกับสถาบันธรรมรัฐ ตรงนัน้ จะเห็นวาเมือ่ ชุมชนเริม่ รับเอาเศรษฐกิจ พอเพียงเขาไป เขาจะเริม่ มีวิธคิี ดทีรั่ กษาธรรมชาติ ไม ไดมองที่ตัวเองเปนหลัก แตจะสรางระบบเปนหลัก ทำ อยางไร ให อยู กับ ธรรมชาติ ได แลว การ ที่ เขา อยู รวมกับธรรมชาติได ก็ทำใหเขาสามารถชวยโลกรอน ไปโดยไมรูตัว เชน เขา รู วา ปา ชาย เลน ของ เขา เสื่อมโทรม เพราะ ตัด เอา ปา ชาย เลน ไป ทำ ฟน ชุมชน เขา ก็ จะ ปลูก ปา สราง ระเบียบ ขึ้น มา ปองกัน คนนอก ชุมชน เขาไปทำลายปา หลังจากนั้นผานไป มีเรื่องปูแสม เขามามากขึ้น เราไปดูก็พบวา หลังเขาปลูกปาไป แลว มันทำใหการพังของปาลดนอยลง แลวสามารถ รักษาพื้นที่ตรงนั้นได แลวการปลูกปามันใหเขาดูด คารบอนไดออกไซดได เราเขาไปเทียบการปลอยกาซ เรือนกระจกตอหัว ปริมาณที่ปลอยตอหัวตอปนอย กวา คา เฉลี่ย ของ ปริมาณ ที่ ปลอย ตอ หัวตอ คน ตอ ป : 38

Low Carbon Economy จะเน้นไป∙ี่การนำ เ∙คโนโลยีสะอาดมาช่วย ลดก๊าซเรือนกระจก เนื่อง มาจากผลพวง∙ี่เรา∙ราบกัน Low Carbon Economy จะค่อนข้างเน้นหนักไป∙าง ประเ∙ศ∙ี่พัฒนาแล้ว เขาจะใช้คำนี้กันมาก เน้น เรื่องเ∙คโนโลยี∙ี่จะเข้ามา เปลี่ยนแปลงเพื่อลด ก๊าซเรือนกระจก


ของประเทศ ฉะนั้น ถา คน ไทย ทั้ง ประเทศ ทำ แบบ ชุมชน บานเปร็ดใน ปริมาณการปลอยตอหัวตอคนตอปก็ จะ ลด ลง เพราะ ฉะนั้น ภาพ รวม ของ การ ปลอย ใน ประเทศ จะ ลด ลง ไม ตอง ไปพูด ถึง เปอรเซ็นต ที่ เรา ตอง ไป Commitment เพราะ เรา ก็ ไมมี บทบาท ไป Commitment กับยูเอ็น แตถาเราตระเตรียมวิธีการ แบบนี้ ถามวาไดประโยชนตอชุมชนไหม...ได แลว ยังสามารถชวยลดกาซเรือนกระจกไดดวย เพียงแต ตองมีคนเขามาวิเคราะหตรงนี้ใหเห็นภาพชัดเจน วา สิ่งที่เราทำในปจจุบันมันไดชวยโลกอยูแลว ชวยลด กาซเรือนกระจกอยูแลว ตองชวยกันทำดวยความ เต็มใจ จะเขากับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทุกคนตอง มีความสมัครใจ (Willingness) ที่จะทำ มันไปดวยกันระหวาง Low Carbon Society กับ เศรษฐกิจพอเพียง

เรา ตอง เขาใจ ตรง นี้ ถา จะ ใช เทคโนโลยี มา ชวย ลด กาซเรือนกระจกจาก 2 ภาคสวนหลักๆ 2 สวนนี้ ควรจะใชเทคโนโลยีอันไหน ถามองวาวิกฤติมีอยู 2 สาเหตุ คือ คนกับกิจกรรม ขณะที่โครงสรางพื้นฐานก็ครอบคนอีกชั้น เราตอง เริ่มจากตรงไหนครับถาจะไปใหถึงจุดนั้น (Low Carbon Society) ไปที่การสรางความเขาใจของคน ขณะเดียวกัน โครงสรางพื้นฐานก็ตองมีความพรอม ที่จะเปลี่ยนแปลงและพัฒนา ขณะนี้เมืองไทยอยู สวนไหน เราตองเริ่มที่ตรงไหน โครงสราง พื้น ฐาน อาจ จะ ตอง บน ลง มา ลาง ในขณะที่ถาเปนความเขาใจของคนอาจจะลางขึ้นไป บน ถามวาจะ Top-Down ได คนที่มีสวนเกี่ยวของ กับการเปลี่ยนแปลงตองเขาใจ อาจารยมองวาถาจะ เปนมิติตรงนี้ มันนาจะเปนเรื่องของการเปลี่ยนแปลง โครงสราง (Infrastructure Change) เปลี่ยนแปลง พฤติกรรม (Behavioral Change) และ เปลี่ยนวิธี คิด (Mindset Change) ถาเปลี่ยนแปลงวิธีคิดได คนก็จะมีวิถีชีวิตที่ มี กิจกรรม หรือ กิจวัตร ประจำ วัน ที่ ตระหนัก ตอ การ ลด ก า ซ เรื อ น กระจก ตลอด เวลา ถ า เปลี่ ย นแปลง วิธี คิด ของ ผู บริหาร ประเทศ หรือ ผู มี อำนาจ ใน การ ที่ จะ มา เปลี่ยนแปลง โครงสราง มัน ก็ จะ ชวย นำ เขา สู Low Carbon Society ไดอยางกวางขวาง ถามี วิธี คิด ที่ เปน ไป ใน ทำนอง เดียวกัน แลว พัฒนา ให เกิด การเปลี่ยนแปลงในทุกภาคสวนอยางนี้ได ก็จะเขาสู สังคมคารบอนต่ำได และลดกาซเรือนกระจกไดอยาง เปนกอบเปนกำ สวนการเปลีย่ นพฤติกรรมมันเกีย่ วหลายอยาง อยางการทีจะ ่ เลือกเดินแทนทีจะ ่ ไปขับรถ เลือกซือ้ ของ ทีอยู ่ ใน  พืน้ ทีเป ่ น Local Consumption แทนทีจะ ่ ไปซือ้ ของทีม่ าจากขางนอก เพราะของทีม่ าจากนอกทองถิน่ มันตองปลอยคารบอนไดออกไซดในการขนสงมายัง ทองถิ่นเรา นี่คือการเปลี่ยนพฤติกรรม อาจารยมองวา 3 มิตินี้ จะตองไปดวยกัน แต มันตองเริ่มจากมิติยอยๆ กอน คือ เปลี่ยนวิธีคิดแลว พฤติกรรม มัน จะ เปลี่ยน เอง สวน โครงสราง อาจ จะ ยากหนอย มีเรื่องเทคโนโลยีมาเกี่ยวของ ฉะนั้น มัน ก็เกี่ยวกับความเขาใจของคนตอเทคโนโลยีที่เหมาะ สมแลวละคะ

มีมิติอื่นอีกไหมครับที่เราควรจะพิจารณา มิติการเขาสูสังคมคารบอนต่ำ อันแรก นาจะ เปนความเขาใจ (Perception) ของคนกอน คนจะ ตองมีความเขาใจ คนนี่หมายถึงตั้งแตชุมชนจนถึง รัฐบาล นายกฯตองเขาใจคำนี้กอน วาทำไมจึงตอง มาทำสังคมคารบอนต่ำในเมื่อเรามีชีวิตอยูตามปกติ ก็ดีอยูแลว แตกิจกรรมที่ทำทุกอยางในชีวิตประจำ วัน มันปลอยกาซเรือนกระจกออกมา ถาไมทำอะไร ก็คงไมได ถาเขาใจวาเราไมเห็นตองทำอะไร...คงไม ไดแลว ตองมีความเขาใจในเรื่องของทำอยางไรจึงจะ ลดกาซเรือนกระจกใหได ในการลดกาซเรือนกระจก มันตองมีทั้งเทคโนโลยีและเรื่องการใชชีวิตประจำวัน สองสิ่งนี้ตองไปดวยกัน แตอาจารยจะมองในเรื่องของคนเปนหลัก ถา คุณจะมองในเรื่องของโครงสรางมันตองเปนอีกแบบ หนึ่ง ถาเรื่องคน ก็ตองเปนเรื่องการสรางความเขาใจ เขาตองมีความเขาใจ ซึ่งหมายถึงเขาใจในเทคโนโลยี ดวย ไมใชวาเขาใจเพียงแตวาสาเหตุและความจำเปน ในการตองลด แตตองเขาใจวาเทคโนโลยีอันไหนที่มัน จะชวยลดได เขาใจในเรื่องกิจกรรมในชีวิตประจำวัน ของตัวเอง จะดำเนินกิจวัตรประจำวันแบบไหนที่จะ ชวยลดกาซเรือนกระจก ถ า จะ มอง ใน มิ ติ ของ โครงสร า ง สั ง คม มั น ก็ มี ทั้ ง คน และ องค ประกอบ ที่ เข า มา เกี่ ย วข อ ง กั บ กิจกรรมของ คน ถา เปน โครงสราง อาจ จะ ไล ตาม ภาคสวนของการปลอยกาซเรือนกระจก อยางตอนนี้ มีเกณฑมาตรฐานการปลอยคารบอนไดออกไซด ภาค การ ปลอย กาซ เรือน กระจก ที่ มาก ที่สุด ของ โลก กำหนดไหมครับ เทาไหรจึงจะถูกจัดวาเมืองนั้นได ไปอยู ที่ การ ผลิต กระแส ไฟฟา และ การขนสง ถา จะ เขาสูสังคมคารบอนต่ำ ตั ว เลข ใน การ ปล อ ย คาร บ อน...ประเทศ ที่ มองโครงสรางเพื่อนำเขาสู Low Carbon Society 39 :


พัฒนา แลว เขา ทำ ทุก ป ประเทศ ที่ กำลัง พัฒนา เขา ทำ ภาย ใต National Communication ขึ้น อยู กับ การสนับสนุนดานการเงิน แตไมจำเปนตองสงใหกับ ยูเอ็นทุกป ในแตละปเราจะทราบวาประเทศที่พัฒนาแลว ปลอยออกมาเทาไหร เปน Commitment ของเขาที่ ตองสงใหยูเอ็น แตถามวาตรงนีมั้ นเกีย่ วของกับสังคม คารบอนต่ำไหม อาจารยมองวาสังคมคารบอนต่ำมัน เปนสิง่ ทีต่ องมาจากฐานลางขึน้ ไป มาจากประชาชนใน ระดับปจเจกระดับชุมชนมากกวาจะเปนการบังคับจาก สวนบนหรือผูนำแตละประเทศ ถาเราตองการมองวาไดเขาสูสังคมคารบอน ต่ำหรือยัง มันตองเทียบกับกรณีฐานเดิมเราปลอย เทาไหร ถาเราไมทำอะไรเลยเราจะปลอยเทาไหร ถา เรามีกิจกรรมตางๆ ไมวาจะนำเทคโนโลยีเขามาหรือ

สังคมคาร์บอนพอเพียง อาจารย์มองว่าเป็นสังคม∙ี่ เขานำเอาเศรษฐกิจพอเพียง เข้ามาใช้ ในขณะเดียวกันเขา จะมีความเข้มแข็งในการ∙ี่ จะเปลี่ยน รับรู้ในเรื่องของ การเปลี่ยนแปลงของโลก และปรับตัวเองให้เข้ากับการ เปลี่ยนแปลงของโลกภายใต้ บริบ∙ของภาวะโลกร้อน แล้วการลดมันจะเข้ามาเอง

: 40

เปลี่ยนวิถีชีวิตตัวเอง จะชวยลดกาซเรือนกระจกได เทาไหร ก็มาเปรียบเทียบกับกรณีฐานจึงจะบอกไดวา เราเขาสูสั งคมคารบอนต่ำหรือยัง ถาไมมกรณี ี ฐานอาจ จะเทียบกับคาเฉลี่ยก็ได เชน ถาเราจะพูดถึงกิจกรรม ใดกิจกรรมหนึง่ ก็อาจจะตองมองวา ปกติคาเฉลีย่ การ ปลอยคารบอนตอหนวยออกมาเทาไหร ถาเรามีการ ดำเนินการที่ตางออกไปเพื่อปลอยคารบอนใหนอยลง ตรงนั้นก็สามารถวัดไดวาเราเขาสูสังคมคารบอนต่ำ หรือยัง แตถามวาแคไหนละความพอใจ...ความพอใจ ของเราอยูที่จุดไหน ตรงนั้นก็ยังไมมีใครบอกไดวามัน ควรจะแคไหน มันก็ขึ้นอยูกับการตั้งเปาของเราเอง ปกติ การ สราง สังคม คารบอน ต่ำ เรา ได ตั้ง เปาในการลดเทาไหรในอีก 5 ปขางหนา เราจะลด เทาไหร ในอีก 10 ปขางหนา แลวเปามันก็ขยับได เพราะบางทีการลดมันเกี่ยวกับเศรษฐกิจ และอยาง


ที่บอกมันเกี่ยวของกับความเต็มใจ (Willingness) เพราะฉะนั้นความเต็มใจที่เราจะทำโดยที่ไมสงผลก ระทบตอภาคการเงินมากนักตองอยูที่เทาไหร ถาทำ ไป แลว พบ วา อยาก จะ ให ลด ลง มากกวา นี้ ก็ สามารถ ที่ จะ ปรับ เปาหมาย กัน ได ก็ เปน เรื่อง ของ กา รส ราง Scenario อยูพอสมควร เปนการมองในอนาคตเขา มาเกี่ยวของดวย แมเรายังไมไดมี Commitment ในการลดกาซ เรือนกระจก แตอาจารยมองวาถาเราไมทำอะไรก็คงไม ได เพราะฉะนั้นการที่จะดึงเอาตรงนี้เขามาเพื่อทำให สังคมเขาสูสั งคมคารบอนต่ำก็คงตองมุง ไปทีประโยชน ่ ทีสั่ งคมจะไดรับกอน แลวเรือ่ งของกาซเรือนกระจกนา จะเปนตัวเสริม เชน เรื่องของการที่ทำใหคนมีความ เขาใจในเรื่องของโลกรอน เรื่องกาซเรือนกระจก มัน นาจะเปนเปาหมายแรกที่จะวางพื้นฐานใหสังคมของ เราเสียกอน แลวกิจกรรมมันจะตามมา ถาเราวาง พื้น ฐาน ให เขา มี ความ เขาใจ ของ โลก รอน เรื่อง ของ กาซเรือนกระจกใหถูกตองเสียกอน อาจารยมองวา มันจะไดประโยชนในระยะยาว จะทำใหคนเขาสูสังคม คารบอนต่ำไดเร็วขึน้ ...เรียบงายขึน้ เอาไปประสานกัน กับเศรษฐกิจพอเพียง ตรงนี้จะชวยทำใหเราผลักดัน สังคม เขา สู สังคม คารบอน พอ เพียง (Sufficiency Carbon Society) มันไปดวยกันได สังคมคารบอนพอเพียงเปนอยางไร สังคมคารบอนพอเพียง อาจารยมองวาเปน สังคมที่เขานำเอาเศรษฐกิจพอเพียงเขามาใช ในขณะ เดียวกัน เขา จะ มี ความ เขม แข็ง ใน การ ที่ จะ เปลี่ยน รับ รู ใน เรื่อง ของ การ เปลี่ยนแปลง ของ โลก และ ปรับ ตั ว เอง ให เข า กั บ การ เปลี่ ย นแปลง ของ โลก ภาย ใต บริบท ของ ภาวะ โลก รอน แลว การ ลด มัน จะ เขา มา เอง อาจารยมองวาเรานาจะเอาตรงนี้เปนตัวนำ ซึ่ง ปรัชญา เศรษฐกิจ พอ เพียง มัน ไม ได ใช เฉพาะ ชุม ชน เล็กๆ ตอนนี้เอาเขามาใชในเมืองใหญก็ได เขามาใชใน ภาคอุตสาหกรรม หรือแมแตโรงงานอุตสาหกรรมที่ จะดึงเอาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช อาจารยมองวาการ สรางความเขาใจของการเขาสู Low Carbon Society มันจะงายขึ้น ตะวันตกเขาทำอยางไรในการเขาสูสังคมคารบอนต่ำ ถาเปนตะวันตก เขาจะสรางระบบชัดเจน สวน ใหญเขาจะเนนไปที่เมือง อยางที่ญี่ปุนหรืออังกฤษ มี เมืองที่เขาสู Low Carbon Society โดยใชหลักการ Low Carbon Society โดยที่จะตองมีการวางเปา หมาย รวม กัน เขา ใช ใน เชิง ของ ผู มี สวน ได สวน เสีย

(Stakeholder) เอาคนที่เกี่ยวของเขามาประชุมรวม กันมองหาโอกาสในการลดกาซเรือนกระจก เขาก็จะ วางแผนในการลดกาซเรือนกระจกรวมกัน สรางแผน ปฏิบัติรวมกัน ถา จะ เอา เงื่อนไข แบบ นี้ เขา มา ใช กับ บาน เรา อาจารยก็มองวาก็นาจะได แตเราตองใหความสำคัญ กับการมีสวนรวมของชุมชนมากๆ เพราะอาจารยมอง วามันเปนเรือ่ งจากขางลางขึน้ ไป ตองเอาสวนรวมของ ชุมชนเขามาชวยกันดำเนินการ ชวยกันรวมกันคิด เมืองไทยมีความพยายามแบบนั้นไหมครับ ยัง คะ ตอน นี้ องคการ บริหาร จัดการ กาซ เรือนกระจก (องคการมหาชน) กำลังพยายามเริ่ม มองเมืองตนแบบ Low Carbon Society และจะ พัฒนา คูมือ อาจารย มอง วา มัน ตอง ให ความ รู กอน แตถาเรามีเมืองตนแบบก็จะชวยใหชุมชนอื่นดำเนิน การตามไดงายขึ้น วิธีวัด Low Carbon Society ถา จะใหประสบความสำเร็จ อาจารยก็มองวาวิธีวัดก็ สำคัญเหมือนกัน เรามีการสรางความตระหนักในเรื่องสภาพ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง แตสำหรับเรื่อง Low Carbon Society ยังไมคอยมี เราจะเริ่ม อยางไรครับ ใหเห็นวา LCS คืออะไร เขาควร ปฏิบัติตัวอยางไร อาจารยมองวาถาพูดถึงเรือ่ ง Climate Change ตรงนี้มันเกี่ยวของกัน ฉีกกันไมออก ถาพูดถึงสาเหตุ ของ โลก รอน คือ อะไร มัน ก็ คือ การ ปลอย กาซ เรือน กระจก แลว Low Carbon Society มันก็คือเครือ่ งมือ หนึง่ ในการชวยลดกาซเรือนกระจก มันควรไปดวยกัน ถาถามวาจะทำอยางไร ตอนนี้เราเผยแพรขอมูล เรา ใหขอมูลในเรื่อง Climate Change ในระดับไหน เรื่อง นี้ก็ถูกใสเขาไปในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบับที่ 11 ขณะเดียวกัน Low Carbon Society ก็ถูกใสเขาไปในแผนฯ ฉบับ 11 นี่เชนกัน อาจารยมองวา มันจะตองใหความรูทุกระดับ ตั้งแตเด็ก ถาพูดถึงในโรงเรียน ถาเราใหความรูเรื่อง โลก รอน ก็ ควร ให ความ รู เกี่ยว กับ เรื่อง นี้ เขาไป ดวย เพราะมันเปนเรื่องการเปลี่ยนวิธีคิด การเปลี่ยนวิธี คิดไมไดเกิดขึ้นใน 5 ป 10 ป แตเราตองหวังผลใน ระยะยาว เราจะตองไปสรางตั้งแตเด็กใหมีจิตสำนึก ถาหวังผลระยะยาว จะใหผูใหญเปลี่ยนนี่ลำบาก แต กับเด็ก...เรายังมีความหวัง

41 :


Gดร.สLOBAL WARMING ุรชัย สถิตคุณารัตน์

APEC Center for Technology Foresight สว∙น. surachai.james@gmail.com

CSR ลู ก ผ ส ม

ความรับผิดชอบตอสังคม หรือ CSR (Corporate Social Responsibility) เปนคำที่ไมจำเปนตองใหความหมาย อีกแลว เชื่อวาทุกคนรูจักดี หลายๆ องคกรตางใชประโยชนจาก CSR ในหลายๆ วัตถุประสงค องคกรตางๆ โดยเฉพาะบริษทั ขนาดใหญนำ CSR มาใชในหลายรูปแบบ เชน การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม สุขภาพอนามัย และกีฬา การสรางความเขาใจใหชุมชน หรือแมแตดานสิ่งแวดลอมที่กำลังเปนที่นิยมอยางมาก ในปจจุบัน นอกจากเปนการคืนกำไรใหสังคมแลว ยังถือวาเปนยุทธศาสตรที่สำคัญที่จะทำใหบริษัทมีภาพลักษณ ที่ดีในสายตาของสังคม หรือใชเปนมาตรการสำคัญในการลดการตอตานของชุมชน หากธุรกิจของบริษัทกระทบตอ ชีวิตความเปนอยูของประชาชนที่อยูรอบขาง ในอนาคตจะมี CSR รูปแบบใหมทีเน ่ นการลดการปลอยกาซเรือนกระจก โดยเปนการประยุกตหลักการของ CSR ไปกับหลักการของ Carbon Footprint ใชชื่อวา Corporate Carbon Footprint หรือ CCF CCF หมายถึง การแสดงจำนวนของกาซเรือนกระจกที่ถูกปลอยออกมาจากกิจกรรมและสินคาทั้งหมด ของทั้งองคกร วัตถุประสงคหลักของการใชระบบนีคื้ อ การลดการปลอยกาซเรือนกระจกของทัง้ องคกรเพือ่ ทีจะ ่ เตรียมรับมือ กับขอตกลงการลดการปลอยกาซเรือนกระจกแบบภาคสวน (Sectored Approach) ในอนาคต ที่มีแนวโนมที่จะ เปลี่ยนไปเปนการลดการปลอยกาซเรือนกระจกแบบเปนภาคสวน เชน ภาคอุตสาหกรรม ภาคพลังงาน หรือภาค การขนสง แทนที่จะใหลดในระดับประเทศดังที่ใชกันในทุกวันนี้ CCF สามารถทีจะ ่ ชวยเพิม่ ขอไดเปรียบในการแขงขันกับคูแข  ง ในดานการตัดสินใจของลูกคาทีจะ ่ เลือกสินคา หรือบริการขององคกร นอกจากนั้นยังชวยใหองคกรทราบขอมูลภายในทั้งหมดขององคกรวามีสถานะเปนอยางไร ซึง่ สามารถนำไปสูการ  เพิม่ ประสิทธิภาพขององคกรหรือลดตนทุนได เชน การเพิม่ ประสิทธิภาพการใชพลังงาน การ ลดการใชวัสดุที่ไมจำเปน เปนตน การคำนวณการปลอยกาซเรือนกระจกในแนวทางของ CCF จะแบงเปน 3 สวนคือ การปลอยกาซเรือน กระจกภายในองคกร (Organization Footprint) เชน การเดินทางของพนักงาน การใชไฟฟาและพลังงานตางๆ ในอาคารสำนักงาน เปนตน การปลอยกาซเรือนกระจกในหวงโซอุปทาน (Supply Chain Footprint) เชน การผลิตวัตถุดิบ การใชไฟฟา และพลังงาน การใชเชื้อเพลิงในกระบวนการเผาไหม กระบวนการทางเคมี และการขนสงวัสดุหรือสินคา เปนตน การปลอยกาซเรือนกระจกในผลิตภัณฑ (Product Footprint) ที่เปนการพิจารณาในขั้นตอนการใชสินคา และบริการของลูกคา เมื่อองคกรทราบตัวเลขของกาซเรือนกระจกที่ปลอยออกมาแลว ซึ่งหนวยที่ใชมักจะเปนกิโลกรัมของกาซ เทียบเทาคารบอนไดออกไซดตอตารางเมตรของพื้นที่ขายสินคา ในขั้นตอไปมักจะเปนการกำหนดเปาหมายของ การลดการปลอยกาซเรือนกระจกขององคกร โดยทั่วไปมักจะตั้งเปาหมายวาจะลดลงรอยละเทาไหร ในปใด นอกจากนีการ ้ ใชระบบ CCF ยังชวยใหองคกรสามารถนำขอมูลทีได ่ ไปนำเสนอในรูปแบบของระบบนานาชาติ ที่ใชกันในปจจุบันเชน ISO 14064 หรือ GHG Protocol ได คาดวา CCF จะเปนที่นิยมเหมือน CSR และ Carbon Footprint ในไมชา

: 42


[photo]

อนุช ยนตมุติ

Carbon footprint

THAI

POINT • ทำไมเราตองทำคารบอนฟุตพรินท ก็เพราะเวลาผูบริ  โภค ซื้อผลิตภัณฑสักชิ้น เขาควรมีโอกาสรูวาผลิตภัณฑนั้นเปน มิตรกับสิง่ แวดลอมมากนอยขนาดไหน คารบอนไดออกไซด เปนหนึง่ ในตัวบงชี้ สมมุติ เราไปทานสุกีที้ เอ็ ่ มเค พอเราทาน เสร็จแลวก็จะมีคาแคลอรี คาโปรตีน คาไขมัน ระบุอยูใน บิลคอยบอกเรา เราจะรูวาในมื้อนั้นไดทานอะไรไปเทาไหร คารบอนฟุตพรินทชวยใหเราในฐานะผูบริ  โภคมีทางเลือกใน การบริโภคผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

ตอน นี้ กลุม การ คา ใหญ ระดับ โลก พยายาม ผลัก ดัน ให ผลิตภัณฑแสดงคาการปลอยคารบอน ในอนาคตขางหนา สินคาทีไม ่ มฉลาก ี คารบอนฟุตพรินทจะไมไดรับการอุดหนุน ผู ประกอบ การ ก็ จะ พั ฒนา ให สิ น ค า ตั ว เอง มี การ ปล อ ย คารบอนที่ต่ำ ประเทศที่เริ่มกอนเลยคือประเทศฝรั่งเศส ในเดือนมกราคมป พ.ศ. 2554 ผลิตภัณฑที่จะวางขายใน ตลาดฝรั่งเศสได...จะตองมีคารบอนฟุตพรินท นี่คือความ พยายามที่จะขับเคลื่อนใหเกิดการลดคารบอน ทุกคนจะ มีสวนรับผิดชอบ ผูบริโภคเองผูผลิตเองก็ดูเหมือนจะเปน แนวโนมแบบนี้

• ปจจุบนั โครงการพัฒนาเทคโนโลยีสะอาดและผลิตภัณฑ เชิ ง นิ เ วศ เศรษฐกิ จ ที่ ผม ดู อยู มี นั ก วิ จั ย ทำงาน คำนวณ คาร บ อน ที่ ปล อ ย ออก มา จาก วงจร ชี วิ ต ของ ผลิ ต ภั ณ ฑ ประมาณ 25 คน ซึ่งถือวายังไมเพียงพอตอความตองการ ของ ผลิตภัณฑ ผม มอง วา ใน อนาคต อาชีพ นี้ จะ เปน ที่ ตองการ โดยคนที่จะมาทำดานนี้ตองจบดานวิทยาศาสตร หรือวิศวกรรมศาสตรดานไหนก็ได แตตองผานการศึกษา ในหลักสูตรเกี่ยวกับคารบอนฟุตพรินท ตองเรียนเรื่อง Life Cycle Assessment (LCA) ซึง่ มีบรรจุไวในหลายๆ มหาวิทยาลัย ใน มุม ของ การ สง ออก โครงการ คารบอน ฟุต พริ นท (Carbon Footprint) เป น เหมื อ น การ ติ ด อาวุ ธ ให ผลิ ต ภั ณ ฑ ออก ไป สู โลก การ ค า ที่ วั น นี้ ต อ ง มี ฉลาก คาร บ อน ฟุ ต พริ นท ระบุ ว า กระบวนการ ใน การ ผลิ ต ผลิตภัณฑตัวนี้ปลอยคารบอนเทาไหร ถาไมมี – ก็เตรียมตัวบินลัดฟากลับบานมาไดเลย งานของ ดร.ธำรงรัตน มุง เจริญ แหง MTEC คือ การคำนวณคาการปลอยคารบอนของผลิตภัณฑตั้งแต ตนทางจนถึงปลายทาง เพือ่ ดูวาวงจรชีวติ ของผลิตภัณฑ หนึ่งมีการปลอยคารบอนเทาไหร ใน มุม ของ การ ใช ชีวิต ดร.ธำรง รัตน บอก วา ควรบริโภคคารบอนใหนอยๆ และคารบอนฟุตพรินทก็ จะเปนตัวกระตุนที่ดี เหมือนไปกินสุกี้แลวไดรับใบเสร็จบอกปริมาณ แคลอรี วามื้อนี้...คุณบริโภคมากไปหรือเปลา

• ตอนนี้...โครงสรางพื้นฐานในเชิงขอมูลเรามีพรอม องค ความรูเรามีพรอม แนวทางการคำนวณคารบอนฟุตพรินท เรามีพรอม ซึ่งเก็บขอมูลทำรวมกับโรงงาน ทรัพยากรคน... เรามีเปนกลุมแรกคือกลุมบุกเบิก แตมันยังรองรับไมพอตอ ความตองการ เราก็เลยตองสรางคนเพิ่ม • ลูก ของ ผม ก็ ถาม บอยวา เขา จะ ชวย โลก ได อยางไร ที่ ประเทศญีป่ นุ คำนวณออกมาวา ในชีวติ ประจำวันของคน 1 คนคาการปลอยคารบอนจะอยูที่ 15.8 กิโลกรัม ตั้งแตตื่น นอน แปรงฟน เดินทาง กินขาว จนกลับเขานอน ฉะนั้น ถา เราเปนคนที่ไมอยากสรางภาระใหสังคม เราก็นาจะเปลี่ยน วิถีชีวิตใหปลอยคารบอนไมเกินคาที่ตั้งเปนมาตรฐาน นี่คือ หลักการที่เขาพยายามจะใชกัน คาเฉลี่ยเทาไหร เราไมควร ใชเกินมาตรฐานนั้น ใน ระดับ ปจเจก เรา จะ เลือก ใช ชีวิต เลือก บริโภค อยางไร ตางคนตางชวยคนละไมคนละมือ ก็นาจะชวยโลกได


S OCIAL & TECHNOLOGY ดร.อังคาร วงษ์ดีไ∙ย

อนาคตการเกษตรไ∙ย

ใครได้ประโยชน์ หากภาคเกษตรของไทยมีความเขมแข็งทัง้ ตนน้ำ กลาง น้ำ และปลายน้ำ จะมีสวนสำคัญในการพัฒนาประเทศ อยาง ยั่งยืน และ สามารถ ชวย ให สังคม ลด การ ปลอย คารบอน (Low Carbon Society) ไดมากอีกทางหนึ่ง บทความ นี้ ตั้ง คำถาม ชวน คิด เกี่ยว กับ ผลก ระ ทบ ของ วิถีชีวิตคน ชุมชน และสังคม ที่จะมีตออนาคตภาค การเกษตรของไทย โดยพยายามจะค้นหาคำตอบเบือ้ งต้น สำหรับภาพประเทศไทยในอีก 10 ปขางหนาวาจะ เปนอยางไร หากเราปลอยใหสังคมและชุมชนของเรา พัฒนาไปตามกระแสทุนนิยมที่เชี่ยวกราก วัฒนธรรม คานิยม กับสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดลอมที่กำลัง จะเปลี่ยนแปลง ใน ที่ นี้ จะ ขอ เริ่ม ตน ดวย การ ตั้ง คำถาม งายๆ (แตคำตอบอาจบาดลึกลงไปในความรูสึก) คือ “ภาค การเกษตร ตอง อยู กับ สังคม ไทย ใช หรือ ไม” รอย ละ 90 อาจ ตอบ วา “แนนอน ฟน ธง” เพราะ เขาใจ วา ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรมมาชานานและ คงตองเปนแบบนี้ตลอดไป แตถามองในมุมของคนที่ มีขอมูลและมองภาพเปนองครวม วิเคราะหเชื่อมโยง กันระหวางปจจัยภายนอก-ใน ที่สลับซับซอนจากนั้น ทำการคาดการณภาพอนาคต คำตอบที่ไดอาจจะเปนตรงกันขามอยางสิ้นเชิง คน สวน ใหญ ที่ อยู นอก ภาค การเกษตร จะ ไม ทราบ วา ปจจุบัน ภาค การเกษตร (ประชากร 4.7 ลานครัวเรือน) กำลังเผชิญกับปญหาที่กัดกรอนความ มั่นคง คือ : 44

1 บุคลากร ดาน การเกษตร เปน ผู สูง วัย (อายุ เฉลี่ยชาวนาไทยอยูที่ 57 ป) และหาผูสืบทอดรุนใหม ที่รักและพรอมจะเรียนรูในอาชีพอยางแทจริงคอนขาง ยาก 2 ปญหาหนี้สิน เกษตรที่ปลูกพืชเชิงเดี่ยวตอง พึง่ พาปจจัยภายนอกมาก ทำใหมีตนทุนและความเสีย่ ง สูง ทำใหเกิดปญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคมตามมา แลวขยายผลกลายไปเปนปญหาการเมือง 3 การขยายตัวของบริษั∙ขนาดใหญ เกษตรกร สวนใหญเปนรายยอย ขาดความรูและ  ความเขาใจ บริษทั หรือนายทุนใชเทคโนโลยีทีทั่ นสมัยเพือ่ การลดตนทุน ถึง แมวาจะเปนการลงทุนสูงในตอนตนแตใหผลตอบแทน คุมคาในระยะยาว สามารถผลิตสินคาที่เปนที่ตองการ ตาม คุณภาพ มาตรฐาน ของ ตลาด โลก มี เครือ ขาย ที่ เขมแข็งอำนาจตอรองสูง เกษตรกรทีล่ มเหลวกลับกลาย ไปเปนลูกจางใหบริษัทแทน 4 คนไมอยากอยูในภาคการเกษตร คาตอบแทน ต่ำ พอแมอยากใหลูกเขาไปเรียนเขาไปทำงานในเมือง ใน สาย อาชีพ อื่น เชน สง เสริม ให เปน หมอ ตำรวจ ขาราชการ ทำงาน บริษัท ไม อยาก ให ลำบาก เหมือน ตัวเอง คนจำนวนหนึ่งหันมาขับแท็กซี่ วินมอเตอรไซค รับจาง หรือเปนลูกจางตามโรงงาน ขณะเดียวกันใจหนึง่ ก็อยากใหลูกกลับมาชวยเหลือที่บานใกลชิดกับพอแม และ ครอบครัว ซึ่ง สอง สิ่ง นี้ กลับ ขัด แยง กันเอง ทำให ครอบครัวขาดความสุข


การ แก ป ญ หา ∙ี่ ยั ง ไม ครอบคลุ ม และ การ แ∙รกแซง ∙างการ เมื อ ง การ แก ไ ข ป ญ หา แบ ง ออก เปนการ แกไข ปญหา ระยะ สั้น ระยะ กลาง และ ระยะ ยาว โดยมากรัฐจะลำดับความสำคัญแกไขปญหาระยะ สั้นกอน เชน การประกันราคา/รายได/จำนำผลผลิต ทางการ เกษตร การ จัดสรร น้ำ จาก ระบบ ชลประทาน เฉพาะบางพื้นที่ แตไมคอยใหการสนับสนุนการแกไข ปญหา ระยะ ยาว ที่ หนวย งาน ที่ รับ ผิด ชอบ ตอง มี การ สั่งสม องค ความ รู สราง ความ สามารถ ของ บุคลากร การมียุทธศาสตรดานการเกษตรของประเทศที่ชัดเจน และหนวยงานตางๆ สามารถนำไปปฏิบัติไดจริง และ การมีโครงสรางพื้นฐานดานการวิจัยที่เขมแข็งทันสมัย และพอเพียง มีความรวมมือกันระหวางภาครัฐ เอกชน มหาวิทยาลัย ใหสามารถแขงขันกับตางประเทศไดอยาง มีประสิทธิภาพ จริง อยู ปญหา ที่ เกิด ขึ้น เหลา นี้ เกิด จาก หลาย ฝายหลายกลุมคนประกอบกัน แตกลุมคนที่ใหญที่สุด คือ เกษตรกร ไทย สวน มาก กลับ ขาด ภูมิคุมกัน ยัง ยึด ความเชื่อเดิม ทำการเกษตรแบบเดิม ไมมีฐานขอมูลที่ ทันสมัย ความตองการสินคา การตลาด ความเขมแข็ง ของ ภาค การเกษตร ไทย และ การ แขงขัน ที่ รุนแรง จาก นานาประเทศ เกษตรกรทราบวาไทยสงออกสินคาเกษตรเปน อันดับตนๆ โดยขาวเปนอันดับ 1 ของโลก แตกลับยัง ไมทราบวามีปจจัยอะไรบางที่ทำใหราคาขาวหรือสินคา ขึ้นลงอยางรุนแรงได และทำอยางไรจึงจะสามารถสราง ภูมคิ มุ กันได (สาเหตุหนึง่ ทีทำให ่ ราคาขาวตกต่ำในชวงที่ ผานมาคือ ทางยุโรปตะวันออกมีผลผลิตขาวออกมาเปน จำนวนมาก มีทีนา ่ ขนาดใหญ ใชขาวพันธุที ให ่ ผลผลิตสูง ทำใหสามารถบริหารจัดการเชิงพาณิชยสะดวก) คน ไทย โดย มาก ก็ จะ ทำ อะไร ตาม กั น เวลา ผลิตผลไหนขายไดราคาคนก็จะแหหันไปปลูกพืชนัน้ ตาม กัน ทำใหสินคาลนตลาด เวลาพืชผลราคาตกต่ำคนก็จะ มาขอใหรัฐบาลชวย แมวาเกษตรกรที่ทำเกษตรอินทรีย หรือ เกษตร ประณีต ที่ ปลูก พืช แบบ ผสม ผสาน ใน พื้นที่ นอย แตขยันทำงานหลากหลาย จะไดรับคาตอบแทน ที่ สูง แต ก็ ตอง ใช ระยะ เวลา ใน การ ปรับ สภาพ ของ ดิน 2-5 ป ทำใหเกษตรกรที่ปลูกพืชแบบเคมีหรือเชิงเดี่ยว ที่ ตองการ ผลผลิต อยาง ตอ เนื่อง ไม สามารถ เปลี่ยนวิธี การไดในทันที หาก มอง ยอน ไป ใน อดีต ที่ เรา สามารถ ขึ้น แทน มาเปน ผูสงออกขาวเบอรหนึ่งไดก็เพราะในอดีตเรามี บุคลากรและนักวิจัยรุนใหมที่เรียนจบจากตางประเทศ กลับมาพัฒนาภาคการเกษตรจำนวนมาก แตในปจจุบนั กลับพบวามีจำนวนลดลงเนื่องจากความไมชัดเจนดาน 5

เสนทางอาชีพ การไมไดรับการสนับสนุนและเปาหมาย ในการพัฒนาของทางภาครัฐ จึงหันไปทำงานใหกับภาค เอกชน ขณะที่เวียดนามกลับมีนักวิจัยดานการเกษตร รุนใหมไฟแรงที่กลับมาพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะเรื่อง ขาวและสามารถออกนโยบายกำหนดใหเกษตรกรปลูก ขาวพันธุที ปรั ่ บปรุงแลวในบริเวณทีกำหนด ่ แบบไมติดขัด เพื่อ ลด ความ เสี่ยง ใน การ เกิด โรค แมลง โดย ขาว ของ เวียดนามในปจจุบันมีลักษณะเมล็ดยาว ใส เหนียวนุม มีกลิ่นหอม และมีรสชาติใกลเคียงกับขาวหอมมะลิมาก ราคาถูกกวาเนื่องจากมีตนทุน (แรงงาน) ที่ถูกกวา ความตองการสินคาการเกษตรหลายชนิดของ ไทยในอนาคตอาจยังมีแนวโนมสดใสจากความตองการ ที่เพิ่มขึ้นของประชากรโลกที่เพิ่มจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ พื้นที่ เพาะ ปลูก ที่ ลด จำนวน ลง จาก การ ขยาย ตัว ของ เมือง และผลกระทบของสภาพความเปลี่ยนแปลงทาง ภูมิอากาศโลก แตคนที่ไดประโยชนกำลังจะเปนกลุม บริษัท เนื่องจากสามารถสรางมูลคาเพิ่มไดจากธุรกิจ แบบครบวงจร สวนเกษตรกรรายยอยที่ทำเกษตรแบบ ขาดภูมิคุมกันกำลังรวงโรยลงไป หนวยงานตางๆ มี การ จั ด งาน สั ม มนา เพื่ อ ระดม ความ คิ ด จาก ทุ ก ภาค สวน เพื่อทราบปญหาตางๆ มากมายหลายครั้ง จน ผู ที่ มี สวน เกี่ยวของ และ ผู ที่ มี อำนาจ ใน การ ตัดสิน ใจ เขาใจปญหาและทราบแนวทางการแกปญหาเหลานั้น แลว แตสิ่งสำคัญที่สุดคือกระบวนการ ผลักดันวิธีการ ไปสูภาคปฏิบัติ ซึ่ง ยังไมมีใครสามารถจัดการไดแบบ เบ็ดเสร็จ ความ คลอง ตัว ของ นโยบาย ที่ มี เสถียรภาพ การปฏิบัติของภาครัฐและการเมืองมีความโปรงใสและ มีประสิทธิภาพนั้นมีความจำเปนเปนอยางมาก หาก เรา มอง ตาง ชาติ ประเทศ ญี่ปุน สมัย กอน ก็มีลักษณะคลายกับประเทศไทย คือทำเกษตรกรรม ประชากรภาคการเกษตร ก็มีจำนวนนอยลง หันมาใช เทคโนโลยีระดับสูง แตกลับกลายมาเปนผูนำเขาสินคา การเกษตร และ อาหาร ประเทศ สหรัฐอเมริกา ก็ เชน เดียวกันที่มีประชากรภาคการเกษตรนอยมาก และหัน มาใชเครื่องจักรกลทางการเกษตรแบบครบวงจร แนว โนมของประเทศไทยเองก็คงหลีกไมพนที่จะตองพัฒนา ไปในทิศทางนี้ใชหรือไม เพราะหลายสิ่งหลายอยางขาง ตนบงชี้วา หากเราไมทำอะไรเลย ภาคการเกษตรของ ไทยคงมีผูที่ไดประโยชนแคกลุมนายทุนเพียงไมกี่กลุม และ จะ เหลือ รอด เพียง เกษตรกร และ พอคา ราย ยอย จำนวนหนึ่งที่มีความเขมแข็งเทานั้น ใน ทาง กลับ กัน หาก มี การ แกไข ปญหา ตางๆ อยางจริงจัง เราอาจไดเห็นภาพที่ประเทศไทยกาวมา เปน เบอร หนึ่ง ดาน เกษตร อาหาร แบบ ยั่งยืน ครบวงจร อยางแนนอน 45 :


M YTH &ดร.สSุชาตCIENCE อุดมโสภกิจ ใครบางคนบอกวา ‘ดวงตาคือหนาตางของหัวใจ’ เพราะไม วาเราจะดีใจ เสียใจ โศกเศรา ยิม้ แยม หัวเราะ หรือรองไห อารมณและความรูส กึ ตางๆ สามารถรับการถาย∙อด ผานแววตาได∙ัง้ นัน้ ใน∙ำนองเดียวกัน ตาเปนชอง∙างรับ ‘สัญญาณ’ จากภายนอกรางกายชอง∙างหนึง่ (นอกเหนือจากลิน้ หู จมูก และผิวหนัง) เพือ่ ถาย∙อดเขาสูระบบ  ประสา∙แลว ประมวลผลอยางรวดเร็ว กอน∙ีร่ างกายจะมีปฏิกริ ยิ า ตอบสนองใน∙างใด∙างหนึง่ ตาจึงเปนอวัยวะ∙ีสำคั ่ ญ ของรางกาย∙ีต่ องไดรับการดูแลรักษาอยางถูกตอง เพือ่ ใหสามารถ∙ำหนา∙ีได่ อยางปกติตลอดชีวติ อยางไรก็ตาม ยังมีความเชือ่ บางประการเกีย่ ว กับเรือ่ งตาซึง่ ควร∙ำความเขาใจใหถูกตอง ดังตอไปนี.้ ..

‘ดวงตา’

คือหนาตางของ ‘หัวใจ’

‘วิ∙คืยาศาสตร ’ อตะเกียงของ ‘ความเชื่อ’

นั่งดูโทรทัศนใกลเกินไปจะเปนอันตรายตอสายตา? ความเชื่อ

วิทยาศาสตร

บรรดาคุณพอคุณแมมักอารมณเสียเมือ่ เห็น ลูกๆ ที่นั่งอยูกับพื้นและแหงนหนาจองจอ โทรทัศน เพลิดเพลินกับเพื่อนสนิทของเขา ในรายการโปรด ทั้ง Karmen Rider ชินจัง อิกคิวซัง รวมไปถึง Ben 10 ในระยะหาง ประมาณ 1 เมตร และทุกครั้งก็จะมีเสียง เตือน (ดังไปแปดบาน) วา “ถอยออกมาจากโทรทัศนหนอย รูมั ย้ วา มัน ทำให สายตา เสีย อยา ให ตอง เตือน บอยๆ ทำไมชัน้ ตองคอยปากเปยกปากแฉะ กับเรื่องอยางนี้ตลอดเวลานะ”

ความจริงแลวยังไมมีหลักฐานที่ชี้ชัดวาการนั่งชมทีวีใกลๆ จะเปน อันตรายตอสายตา สมาคมจักษุวิทยาของสหรัฐอเมริกา (The American Academy of Ophthalmology, AAO) บอกวาเด็กๆ สามารถปรับโฟกัสกับวัตถุในระยะใกลไดดีกวาผูใหญโดยสายตา ไมรสึู กลา ดวยเหตุนี,้ บรรดาแฟนๆ ของ Ben 10 จึงมีพฤติกรรมที่ จะนั่งจองหนาจออยางใกลชิด อาจเปนเพราะพวกเขามีความรูสกึ ใกลชิดกับปฏิบัติการของฮีโรของพวกเขา พฤติกรรมการนั่งจอง ทีวีใกลๆ อาจสัมพันธกับการกมหนากมตาอานการตนู อยางเมามัน และตาแทบจะติดกับหนาหนังสือ อยางไรก็ตาม คุณพอคุณแม ควรคอยสังเกตพฤติกรรมการดูทีวและ ี อานหนังสือของเด็กๆ ดวย เพราะหากพวกเขานั่งใกลจอหรือกมหนาจนแทบจะชิดหนังสือ ทุก ครั้ง อาจ เปน สัญญาณ วา เขา สายตา สั้น ก็ได เพราะ ฉะนั้น อยาดุดาเลย พาไปตรวจสายตาดีกวาครับ

หากทำตาเหลบอยๆ จะทำใหเหลถาวร ความเชื่อ

วิทยาศาสตร

เด็กๆ มักชอบเลนแผลงๆ เชน ดูดริมฝปากจนหอเลือด ปลิ้น หนัง ตาบ นอ อก มา ให คาง ไว รวมไปถึงทำตาเหล (จะดวย เหตุผล ใด ก็ตาม) และ มัก จะ ถูกขูเสมอวา “อยาทำตาเหลบอยนะ เดี๋ยวเหลตลอดไปหรอก”

ผูใ หญขู เพราะเห็นวาการทำตาเหลแลวดูนาเกลียดมากกวา (แตคงแอบหัวเราะ ใน ใจ เหมือน กัน กับ ความ พิเรนทร ของ เจาตัว เล็ก) อัน ที่ จริง การ ทำตา เหล ดวยความซุกซนไมสามารถทำใหมันมีสภาพอยางนั้นแบบถาวร และเราจะทำ ตาเหลไดเพียงชั่วประเดี๋ยวประดาว เพราะมันเมื่อย... (ไมเชื่อลองดู) สวนผูที มี่ อาการตาเหลแบบถาวรนัน้ เปนความผิดปกติของกลามเนือ้ ตา ทัง้ 2 ขางทีไม ่ ประสานกัน ทำใหแนวแกนของตาทัง้ 2 ขางไมอยูใน  แนวขนานกัน โดยอาจเหลตลอดเวลา (constant) หรือเหลเปนครั้งเปนคราว (intermittent) ซึ่งอาจเกิดจากอุบัติเหตุทางตาหรือสมอง หรืออาจเปนผลจากพันธุกรรมก็ได คุณ พอคุณ แม ควร สังเกต อาการ ของ เด็กๆ วา หาก เขา หยี ตา บอยๆ หรือมีอาการปวดศีรษะเมื่อมองวัตถุใกลๆ เปนเวลานาน ควรพาไปปรึกษา จักษุแพทยครับ

: 46


หากพอแมมีสายตาผิดปกติ (สายตาสั้น สายตายาว สายตาเอียง ตาเปนตอ) จะถายทอดความผิดปกติผานพันธุกรรมไปยังลูกดวย วิทยาศาสตร ความเชื่อ บางครั้งบางคราวที่ไปเดินเที่ยวในหางสรรพสินคา ทานผูอานอาจพบวามีบางครอบครัวที่ ‘แวนยกทีม’ แลว ก็ ตั้ง คำถาม กับ ตนเอง วา “นี่ มัน เปน เพราะ ยีน หรือเปลา”

เปนความจริง แตไมเสมอไป ดังนั้น หากทานมีความผิดปกติ เกี่ยวกับสายตา และบรรพบุรุษของทานก็มีความ ผิดปกติ ดังกลาวมากอน ลักษณะที่วานี้อาจไดรับการ ถายทอดไป ยัง ลูก ดวย จึง ควร ให ขอมูล ความ ผิด ปกติ ทาง สายตา ของ ครอบครัวของทานแกจักษุแพทย เพื่อชวยในการประกอบ การวินิจฉัย

รับประทานแครอทจะชวยใหสายตาดีขึ้น ความเชื่อ อี ก แล ว ที่ คุ ณ พ อ คุ ณ แม ต อ ง คะยั้นคะยอใหจอมซนกินผักตางๆ ซึ่งรวมถึงแครอท และคุณแมก็จะ พยายามสรรหาหลากวิธีหลายรูป แบบ ใน การ หลอก ล อ ให แครอท นา กิน ที่สุด เพื่อ จูงใจ ให จอม ซน ยอม สวาปาม แครอท แปรรูป ให ได (หลังจากใชสินบนอีกนิดหนอย)

วิทยาศาสตร เปนความจริงที่แครอทมีวิตามินเอในปริมาณมาก ซึ่งมีสวนชวยในการ มองเห็น แตไมไดหมายความวาเราจะตองรับประทานแตแครอทเพื่อ ใหไดวิตามินเอ เพราะอันที่จริงแลวยังมีผักและผลไมอีกหลายชนิดที่มี วิตามินเอ เชน หนอไมฝรั่ง (หรือแอสปารากัส) แอปริคอท เนกทารีน (nectarine – ผลไมสีเหลืองแดงคลายลูกพีช) ผักโขม ตำลึง ยอดชะอม กระถิน ฟกทอง เปนตน ดังนัน้ อยาคะยัน้ คะยอจอมซนใหกล้ำกลืนแครอทอยางเดียวเลย ครับ ลองเปลี่ยนเปนอยางอื่นบาง อาจทำใหอะไรๆ ราบรื่นขึ้น (และไม ตองใชสินบนอีกตอไป ;P)

การใชคอมพิวเตอรเปนอันตรายตอสายตา ความเชื่อ

วิทยาศาสตร

คน เรา ทุ ก วั น นี้ คุ ย กั บ คอมพิ ว เตอร มากกวาคุยกับคนดวยกัน ตื่นเชาตรวจ ขาว จาก เว็บ กอน แปรง ฟน เปด อีเมล ขณะรับประทานอาหารเชา มาทำงาน ก็นัง่ อยูหน  าจอ กลับบานชมภาพยนตร ดวยโนตบุค กอนนอนขอ ‘ออนเอ็ม’ กับ กิ๊กอีกสัก 2 ชั่วโมง

AAO บอกวาการใชคอมพิวเตอรตามปกติจะไมเปนอันตรายตอสายตา อยางไรก็ตาม การจองมอนิเตอรขณะใชคอมพิวเตอรเปนเวลานานๆ จะ ทำใหเรากะพริบตานอยกวาปกติโดยไมรูตัว (ทำนองเดียวกับการอาน แฮรรีพอตเตอรอยางเมามัน) ซึ่งนั่นจะทำใหเกิดอาการตาแหง แลวทำให ตารูสึกลา เพราะฉะนั้น เราควรหยุดพักการใชคอมพิวเตอรเปนพักๆ (เชน ทุกๆ ครึง่ ชัว่ โมง) โดยการมองออกไปไกลๆ หรือกลอกตาบาง และอยาลืม เตือนเด็กๆ ใหพักจากเกมหรืออินเทอรเน็ต เพื่อไปเขาหองน้ำบาง (อะไร บาง...) เพราะนอกจากจะปองกันอาการตาแหงตาลาแลว ยังชวยปองกัน ไตอักเสบและกระเพาะปสสาวะอักเสบดวย

มีแตผูชายเทานั้นแหละที่เปนตาบอดสี

ตาบอดสีเปนความผิดปกติทางพันธุกรรมที่ถายทอดผานโครโมโซม X แตความผิดปกติดังกลาวนี้ไมไดพบในผูชายเทานั้น อยางไรก็ตาม มีตัวเลขประมาณการวาตาบอดสีพบในผูชายมากกวาผูหญิงถึง 10 เทา โดยสวนใหญจะบอดสีแดง-เขียว รองลงมาคือ น้ำเงิน-เหลือง (อันนีไม ้ เกีย่ วกับกีฬาสีทีกำลั ่ งขับเคีย่ วกันอยูทั ว่ ประเทศนะครับ) ทานสามารถตรวจสอบตาบอดสีไดที่นี่ http://www.toledobend.com/colorblind/Ishihara.asp

∙ี่มา + + + +

Vision Facts and Myths (http://kidshealth.org/ parent/general/eyes/vision_facts_myths.html) สาระนารูเรื่องตาเหล โรงพยาบาลไทยนครินทร (http://www.thainakarin.co.th/tipsdetailth. php?id=66) ตาเหล! ใครวารักษาไมได สมาคมผูบริโภคสื่อสีขาว (http://www.whitemedia.org/wma/content/ view/100/17/) โรคตาบอดสี Siamhealth (http://www.siamhealth. net/public_html/Disease/eye_ent/color_blind/ color_blind.htm)


Sอุบล∙ิMART LIFE ต จังติยานน∙์ การคาในยุคโลกรอน ผลิตภัณฑตาง แสดง ความ พยายาม ใน การ มี สวน รวมรับผิดชอบตอโลกดวยการผลิต สินคาอยางเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ลองไปดูวา ฉลาก∙ีแปะ ่ บนผลิตภัณฑ ตางๆ ∙ั่วโลกนั้นมีหนาตาและความ หมายอยางไรบาง แนวโนมการบริโภคของเราๆ ∙านๆ นาจะมี∙ิศ∙าง∙ีดี่ ขึ้น เพราะ ผลิตภัณฑ∙ี่เราเลือกซื้อ จะบง บอกตัวตนของเราวาเราเปน คนแบบไหน

ผ ลิ ต ภั ณ ฑ อาหาร และ พื ช ผล 70 เปอร เ ซ็ น ต ของ ผลิตภัณฑที่มีสัญลักษณนี้ ผลิตขึ้น โดยใชวิธีทางอินทรียลวนๆ (UK) ถ า เ ห็ น สั ญ ลักษณ นี้ ให รู เลย วา เป น สั ญ ลั ก ษณ ของ Forest Stewardship Council (FSC) ที่ออกใหผลิตภัณฑที่ทำจาก ไม เพื่ อ แสดง ให เห็ น ว า ผลิ ต ภั ณ ฑ นั้นๆ มา จาก ปา ที่ มี การ จัดการ ที่ ดี ไมมีการตัดตอพันธุกรรม มีการ เก็ บ เกี่ ย ว แบบ อนุ รั ก ษ และ ไม มี การ เก็บ เกี่ยว ของ ปา จาก พื้นที่ ปา อนุรักษ (USA) สำหรั บ พรม ก็ มี นะ เป น ฉลาก สำหรั บ ยื น ยั น ว า เป น พรม แบบ Go Green ที่ ผ า น กระบวนการ ผลิต ที่ ลด การ ใช สาร เคมี ลด การ ปลอยสารอินทรียระเหย (Volatile Organic Compound, VOC) ซึ่ ง เป น ส ว นหนึ่ ง ที่ ก อ ให เกิ ด : 48

ปรากฏการณ เรื อ น กระจก ทั้ ง นี้ กระบวนการ ผลิ ต พรม ต อ ง เป น ไป ตาม ขั้ น ตอน ของ สำนั ก งาน คุมครองสิ่งแวดลอมสหรัฐอเมริกา (US Environmental Protection Agency, EPA)

ของ ผลิ ต ภั ณ ฑ ชิ้ น นี้ เป น มิ ต ร กั บ สิ่งแวดลอม (EU)

เป น ฉลาก ที่ รับรองวา ผลิตภัณฑ นี้ ไม มี การ ตั ด ต อ พันธุกรรม ไมใชสารฆาแมลงและปุย และเชนเดียวกันกับเนื้อสัตวที่ผาน การเลี้ยงดวยอาหารอินทรีย 100 เปอรเซ็นต โดยไมมีการฉีดฮอรโมน เรงการเจริญเติบโต (USA)

แป น พิ ม พ (keyboard) รวม ทั้ ง อุ ป กรณ สำนั ก งา นอื่ น ๆ อย า ง เชน พวก HP, Seimens, Fujisu, Samsung, Philips อาจจะเคยผาน ตากันมาบางแลวกับสัญลักษณแบบ นี้ ซึ่งเปนการการันตีวาผลิตภัณฑ เหลา นี้ มี ประหยัด พลังงาน มี การ ปลอยรังสีอยางเหมาะสม รูปทรง ออกแบบใหเขากับสรีรศาสตรของ ผูใช  แนววาหวงใยคนใช...วางัน้ เหอะ (International)

LEED (Leadership in Energy and Environmental Design) แสดงวา อาคารหลังนี้มี การใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ มี การ ทำ สวน บน หลังคา (Green Roofing) เพื่อ ประหยัด พลังงาน และมีคุณภาพอากาศภายในอาคาร ทีได ่ มาตรฐาน ซึง่ ยังมีการแบงระดับ ตาม เฉด สี ของ ฉลาก ระดั บ เงิ น ระดับทองคำ และยังมี ระดับแพลต ตินัม อีกดวย (USA) ไม ตอง บอก ก็ รู วา นี่เปนสัญลักษณ ‘ดอกไม’ หรื อ ‘Flower’ ที่ บอก กั บ ผู บริ โ ภค ว า ทุ ก ส ว น ประกอบ

หลาย คน ที่ ใช คอมพิ ว เตอร เครื่องพิมพ (printer)

อั น นี้ ดู เผิ น ๆ เหมือนสตารบัคสยังไง ไม รู แต แทนที่ จะ เจอ ตาม ราน กาแฟ ทั่วไป อาจ จะ พบ ฉลากแบบนีใน ้ รานคาขายปลีก เพือ่ เปนสัญลักษณที่แสดงวาผลิตภัณฑ ที่ลูกคาซื้อไปนั้น ผานกระบวนการ ผลิ ต ที่ ใช พลั ง งาน ทดแทน และ ลด การ ปล อ ย ก า ซ เรื อ น กระจก (International) เดี๋ยว นี้ ชาวนา ในฟารมก็ตองมีฉลาก กับเขาเหมือนกัน เชน


เดียวกับฉลากทองทุง สีเขียวอันนี้ ซึง่ สื่อถึงสินคาที่มาจากไรที่ไดรับการ รับรองวาเปนไรทีปลู ่ กพืชทีคำนึ ่ งถึง สุขภาพผูบริ  โภค ไมมการ ี ใชฮอรโมน เรงการเจริญเติบโต ไมมีการใชยา ปฏิชวี นะและสารกำจัดศัตรูพืช ไมมี การตัดตอทางพันธุกรรมกับพืชและ สัตวเลี้ยง ขณะเดียวกัน ก็เปนการ ทำ ไร ที่ อนุรักษ ทรัพยากร ดิน น้ำ และพื้นที่อยูอาศัยของสัตวปาดวย (North America) ใครๆ เห็นรูป นี้ก็อาจจะเดาออก ใช แลว ฉลากอันนี้แสดง ให ผู บริ โ ภค ที่ เป น คอ ของ ขม รู ว า เมล็ด กาแฟ ที่ นำ มา ผลิต กาแฟ ให ดื่ม กัน นั้น มา จาก ไร ที่ ไม ทำลาย ที่ อยูอาศัยของนก ซึ่งรวมไปถึงแหลง น้ำ และ แหลง หากิน ของ นก ตางๆ ดวย (USA) ใคร จะ ไป รู ว า เดี๋ ย ว นี้การจับปลาก็มีฉลากสิ่งแวดลอม เหมือนกัน ‘FishWise’ เปนฉลาก ที่แสดงใหเห็นถึงการทำการประมง ทางทะเลอยางยั่งยืน ที่นอกจากจะ มีการะบุวิธีการจับปลาที่เหมาะสม ยังมีการแสดงขอมูลสายพันธุปลา ที่มีสารพิษสะสมที่ไมเหมาะตอการ บริโภคดวย Rainforest Alliance มีรูปกบเปน ตั ว แทน สั ญ ลั ก ษณ

สื่อ ความ หมาย วา สินคา นั้น เปน ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ได จาก การ เก็ บ เกี่ ยว ของปาอยางเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม รับผิดชอบตอสังคมอยางยั่งยืน ท า น อ า จ สามารถพบฉลากนีได ้ ตาม ขาง ถัง กระปอง สี รวมทั้งผลิตภัณฑที่เกี่ยวของ ซึ่ง ชี้ใหเห็นวาผลิตภัณฑสีนั้นๆ มีสาร อิ น ทรี ย ระเหย ซึ่ ง เป น สาร ที่ เป น อั น ตราย ต อ มนุ ษ ย และ มี ผลก ระ ทบ ต อ มนุ ษ ย และ สิ่ ง แวดล อ ม ใน ปริมาณต่ำ อุตสาหกรรม สิ่ ง ทอ ก็ มี ฉลาก ที่ คำนึงถึงสิ่งแวดลอม เชนกัน ดังทีเห็ ่ นเปนรูปดอกไมทอนี้ เรียกวา Oeko-Tex Standard 100 ซึ่งรับรองวาการผลิตสิ่งทอนั้นเปน มิตรตอสิ่งแวดลอม สำหรั บ ผู ผลิ ต และ ผู จำหนาย เครื่อง ใช ไฟฟ า ใน สหภาพ ยุ โ รป นั้ น สิ่ ง จำเป น อยางหนึ่งคือ จะตอง ให ขอมูล การ ใช ไฟ ของ ผลิตภัณฑ โดย การ ให คะแนน ตาม ลำดับ ยิ่ง ถาได ‘A’ แปลวาผลิตภัณฑชิ้นนั้น ประหยัดพลังงาน คุมคา และเปน มิตรตอสิ่งแวดลอม (EU)

สั ญ ลั ก ษ ณ ก า ร ป ล อ ย ค า ร บ อ น ไ ด อ อ ก ไ ซ ด อ อ ก โ ด ย กระทรวงการสิ่งแวดลอม ประเทศญี่ปุน ที่มีวัตถุประสงคเพื่อ เผยแพรและรณรงควาผลิตภัณฑชิน้ นั้นๆ ใหความสำคัญกับการลดการ ปลอยกาซเรือนกระจก (Japan) เดีย๋ วนีใคร ้ ทีเคย ่ จับ จายซื้อสินคาจากประเทศ ที่ พัฒนา แลว เชน ญี่ปุน หรื อ ประเทศ ฝ ง สหภาพ ยุโรป อาจ จะ ผาน ตา กับ ฉลาก ดำ ที่ มี รูป เทา พรอม ตัวเลข กำกับ (ซึ่งหนวยอาจจะเปน g, kg, ton) นี้มาแลว ซึง่ เครือ่ งหมายนี้ หมายความ ว า การ ผลิ ต สิ น ค า ชิ้ น นั้ น ตลอด วงจร การ ผลิ ต ของ มั น จาก แหล ง ผลิต จนถึง มือ ผู ซื้อ ได ปลอย กาซ คารบอนไดออกไซดหรือกาซเรือน กระจกลงในปริมาณเทาใด (ในกรณี นี้ 100 กรัม) เพื่อเปนขอมูลแกผู บริโภคในการเลือกบริโภคและรวม การลดการปลอยกาซเรือนกระจก ตอไป (International) สวนอันสุดทาย อัน นี้ก็ Green Label เหมือน กัน แตคงไมตองบอกความ หมายนะคะ!!

49 :


SสุภัคCIENCE MEDIA วิรุฬหการุญ

Our Choice

ปฏิบัติการกู้โลกร้อน ทางเลือกสู่ทางรอดแบบยั่งยืน อัล กอร คือใคร? แรกเริ่มเดิมทีที่เรารูจักเขาในฐานะนักการเมือง ทอง ถิ่น จน มา เปน รอง ประธานาธิบดี คน ที่ 45 ของ สหรัฐอเมริกาในป ค.ศ.1993 และอยูในตำแหนงนาน ถึง 8 ป แตหลายปที่ผานมาคนทั่วโลกไดรูจักเขาอีก หนึ่งบทบาท คือ ชายผูกระตุ  นใหคนทั่วโลกหันมาสนใจ ปญหาภาวะโลกรอน จากหนังสือ An Inconvenient Truth กระแส ของ หนังสือ เลม นี้ ทำให มี เวอรชั่น ของ ภาพยนตรสารคดีขึ้นมา กระทั่งภาพยนตรเรื่องนี้ไดรับ รางวัล ACADEMY AWARD® และเขายังไดรับรางวัลโน เบลสาขาสันติภาพรวมกับ IPCC (Intergovernmental Panel on Climate Change) ในป 2007 อีกดวย อั ล กอร กลั บ มา อี ก ครั้ ง ใน หนั ง สื อ ชื่ อ Our Choice หรื อ ชื่ อ ภาษา ไทย ‘ปฏิ บั ติ การ กู โลก ร อ น ทาง เลือก สู ทาง รอด แบบ ยั่ง ยืน’ ซึ่ง ใน หนังสือ เลม นี้ เขายังย้ำชัดวา “เรา แกปญหาวิกฤติภูมิอากาศได มันตองเปน เรื่อง ยาก แน แต ถา เรา ตัดสิน ใจ จะ แก ผม มั่นใจ โดย ปราศจาก ขอ กังขา วา เรา ทำได และ จะ ประสบ ความ สำเร็จดวย” ภายในเลมเลาถึงวิกฤติของภาวะโลกรอนรวมถึง แหลงพลังงานของเรา เชน ดวงอาทิตย ความรอนจาก ใตพิภพ เชือ้ เพลิงทีเรา ่ สามารถปลูกได (เราสามารถปลูก เชือ้ เพลิงกันไดจริงๆ คุณจะรูเมื  อ่ ไดอานในหนังสือเลมนี้ วาหมายถึงอะไร) หรือแมกระทัง่ พลังงานนิวเคลียร ทียั่ ง เปนขอถกเถียงกันในปจจุบันถึงขอดีและขอเสีย รวมถึง การดำรงของสิ่งมีชีวิตไมวาจะเปนปาไม ดิน คน ไมเพียงเทานั้น กอรยังนำเสนอแนวคิดในการ

Our choice ผู้เขียน อัล กอร์ แปลหลายคน สำนักพิมพ์มติชน

: 50

ใชพลังงานเพื่ออนาคต ในคอนเซ็ปตยิ่งนอย ยิ่งดี หรือ การ ใช โครง ขาย ไฟฟา อัจฉริยะ ที่ จะ มา แทน โครง ขาย ไฟฟาในปจจุบัน และอุปสรรคที่เราตองเผชิญ ไมวาจะ เปนวิธีคิดของแตละบุคคลที่เราจำเปนตองสรางความ ตระหนักเรือ่ งวิกฤติภูมิอากาศใหมากขึน้ ตนทุนทีแ่ ทจริง ของคารบอน หรือแมกระทั่งอุปสรรคทางการเมืองที่มี มากมาย เหลือ เกิน เมื่อ ประเทศ มหาอำนาจ ยัง มี ความ คิด เรื่อง การ เสีย ผล ประโยชน หรือ คิด เรื่อง อำนาจ ทาง ความมั่นคงเปนใหญ กอร นำเสนอขอความในหนังสือเลมนีด้ วยภาษา ที่เขาใจงาย (ขอบคุณคณะผูแปลภาษาไทยที่ทำใหเรา เขาใจไดงายมากยิง่ ขึน้ ) รูปภาพประกอบทีสื่ อ่ ความหมาย ไดอยางชัดเจนถึงวิกฤตการณภูมิอากาศดานตางๆ ที่ โลกกำลังประสบ ซึ่งโดยสวนตัวคิดวาดีมากเนื่องจาก คนทั่วไปไมชอบอานหนังสือที่มีแตตัวอักษรเต็มไปหมด แตหนังสือเลมนี้ใชภาพสื่อความหมายไดอยางดีทีเดียว บท สรุ ป ของ หนั ง สื อ เล ม นี้ เป น การ มอง ภาพ อนาคตที่ ‘เรา’ คนในยุคนี้ ตองตอบคำถามคนในยุค ตอไป 1 ใน 2 ขอนี้คือ “พวกคุณคิดอะไรกันอยู ไมเห็นหรือวาพืน้ น้ำแข็ง ที่ขั้วโลกเหนือกำลังละลาย คุณไมไดยินเสียงเตือนจาก นักวิทยาศาสตรหรอกหรือ คุณลังเลใจหรือไง คุณไม ใสใจเลยหรือ” หรือพวกเขาอาจถามวา “คุณรวบรวมพลังใจลุกขึน้ มาแกวิกฤติทีหลาย ่ คน บอกวาหมดหนทางไดอยางไรกัน” คุณละ - อยากจะตอบคำถามขอไหน? สุภาษิตจีนโบราณกลาวไววา ‘การเดินทางหมืน่ ลี้ เริ่มตนดวยกาวแรก’ ถึงเวลาแลวที่เราจะเริ่มตนกาวแรกพรอมกัน…. Our Choice ป.ล. ในหนังสือเวอรชั่นภาษาอังกฤษนั้น พิมพ ดวยกระดาษรีไซเคิลทั้ง 100 เปอรเซ็นต เปนสิ่งพิมพที่ มีการปลดปลอยคารบอนอยางสมดุล ปริมาณคารบอน ซึง่ เกิดจากการผลิตหนังสือเลมนัน้ ไดรับการคำนวณโดย Carbon Neutral Company นา เสียดาย ที่ ใน เวอรชั่น ภาษา ไทย ไม ได ยึด ใน คอนเซ็ปตเดียวกัน


TECHNO -TOON Tawan

51 :


Copenhagen Accord [CA] หรือขอตกลงโคเปนเฮเกน

Vol. 1

#04

ดร.สุรชัย สถิตคุณารัตน

April-June

2010

Sufficiency Carbon Society

LOW CARB ON SO C

รศ.ดร.สิริน∙รเ∙พ เตาประยูร แหง JGSEE ชวนสราง ‘สรางสังคมคารบอนพอเพียง’ Climate Change & Supply

ประเมินผลกระ∙บของ Climate Change จากมุมมองอุปสงค Low Carbon Society

ยูโ∙เปย∙ี่ตองเปนจริง

T IE

Y

#04 April-June 2010

ขอตกลงที่เปน ผลมาจากการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 15 (The Fifteenth Session of the Conference of the Parties: COP15) และการประชุมรัฐภาคีพิธีสารเกียวโต สมัยที่ 5 (The Fifth Session of the Conference of the Parties Serves as the Meeting of the Parties to the Kyoto Protocol: CMP5) ที่จัด ณ กรุงโคเปนเฮเกน ราชอาณาจักรเดนมารก ขอตกลงโคเปนเฮเกนนั้นไมมี ผลทางกฎหมายใดๆ ในระยะแรก เปนเพียงขอตกลงกันระหวางสมาชิกของ UNFCCC ที่รับรองขอตกลงเทานั้น แตภายหลังประเทศสมาชิกสวนใหญไดแสดงเจตนาเขารวมขอตกลงนี้ คาดวาในอนาคต CA จะถูกพัฒนาใหมีผล บังคับทางกฎหมายตอไป CCS (Carbon Capture and Storage หรือ Carbon Capture and Sequestration) การใชเทคโนโลยีตางๆ มาดักจับกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ที่ถูกปลอยออกมาจากกิจกรรมตางๆ ของมนุษย จากนั้นทำให CO2 มีความเขมขนสูงขึ้น แลวนำไปกักเก็บไวในที่ที่เหมาะสมเชน ใตดิน ใตทะเล ความ สำเร็จของการใชเทคโนโลยีนี้คือ จะตองเลือกแหลงกำเนิดที่ปลอยกาซในปริมาณมากที่สุด และมีระยะทางขนสง ไปสถานที่กักเก็บนอยที่สุด CCS มีเทคโนโลยีหลัก 3 สวนคือ การดักจับ (capture) การขนสง (transport) และ การกักเก็บ (storage) ในปจจุบันเทคโนโลยีนี้ยังไมแพรหลายเนื่องจากมีตนทุนสูง แตในอนาคตคาดวาจะมี ราคาถูกลง ประกอบกับหากมีมาตรการบังคับใหมีการลดการปลอย CO2 เทคโนโลยีนี้นาจะมีการใช อยางแพรหลายมากขึ้น Carbon Intensity (CI) จำนวนกาซคารบอนไดออกไซดที่ปลอยออกมาตอหนวยการผลิต โดยทั่วไปในระดับ ประเทศมักจะใชหนวยตันคารบอนไดออกไซดตอจีดีพีหรือตอหัวประชากร CI เปนแนวทาง ใหมในการตั้งเปาของแตละประเทศที่จะลดการปลอยกาซเรือนกระจกแทนที่จะเปนการ ตั้งเปาวาจะลดการปลอยเปนจำนวนรอยละเมื่อเทียบกับปฐานดังที่เคยใชกันในอดีต ประเทศที่ใช CI ในการตั้งเปาหมายการลดการปลอยกาซเรือนกระจกไดแก จีน และอินเดีย

ราคา 50 บา∙


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.