HORIZON magazine vol 8

Page 1


E ditor’ s

vision

The five essential entrepreneurial skills for success are concentration, discrimination, organization, innovation and communication. Michael Faraday (1791-1867) เมือ่ ค​ รัง้ ท​ ผ​ี่ ม​ยงั เ​รียน​ปริญญา​ตรีท​ ม​ี่ หาวิทยาลัยเ​ชียงใหม่ ได้ม​ ี โ​อกาส​ออก​คา่ ย​อาสา​พฒ ั นา​ชนบท​อยูห​่ ลาย​ครัง้ มีอ​ ยู​่ ครัง้ ห​ นึง่ ใ​น​การ​ออก​คา่ ย​ทห​ี่ มูบ่ า้ น​ตาล​เจ็ดต​ น้ อำเภอปาย แม่ฮอ่ งสอน ผม​ใช้เ​วลา​วา่ ง​คยุ เ​ล่นก​ บั เ​ด็กๆ ใน​หมูบ่ า้ น เด็กห​ ญิง​ ​อายุ​ราว 7 ขวบ​คน​หนึ่ง​ถาม​ผม​ว่า “บ้าน​พี่​ทำ​อะไร” “ก็...ค้า​ขาย​น่ะ” “แล้ว​บ้าน​พี่​มี​ข้าว​กิน​ทั้ง​ปี​มั้ย?” “มี​สิ... ทำไม​เห​รอ?” “แปลก​นะ บ้าน​พี่ ​ไม่​ทำ​นา​แต่​มี​ข้าว​กิน​ทั้ง​ปี บ้านหนู​ทำ​นา​แต่​มี​ข้าว​กิน​มั่ง ไม่มี​กิน​มั่ง” อีกค​ รัง้ ห​ นึง่ ใ​น​การ​ออก​คา่ ยฯ ที่ อำเภอฝาง เชียงใหม่ ระหว่าง​ทผ​ี่ ม ‘เดินป​ า่ ’ กับพ​ ช​ี่ าวนา​อายุร​ าว 40 ปี เรา​ คุยก​ นั ห​ ลาย​เรือ่ ง ตัง้ แต่เ​รือ่ ง​ปญ ั หา​ชาวนา​ไป​จนถึงป​ ญ ั หา​บา้ น​เมือง​ใน​ขณะ​นนั้ จน​มา​ถงึ ป​ ระโยค​ทพ​ี่ เ​ี่ ขา​เปรยๆ ขึน้ ม​ า​ ​ว่า “ชีวติ ข​ อง​คณ ุ ก​ บั ช​ วี ติ ข​ อง​ผม​มค​ี วาม​จำเป็นแ​ ตก​ตา่ ง​กนั ตอน​นค​ี้ ณ ุ ต​ อ้ ง​เรียน​หนังสือ ถ้าไ​ม่เ​รียน คุณจ​ ะ​ไม่มง​ี าน​ทำ​ แล้ว​คุณ​จะ​อด​ตาย...ส่วน​ผม ไป​เรียน​หนังสือ​ไม่ ​ได้ ต้อง​ทำงาน​เลี้ยง​ตัว​เอง​และ​ครอบครัว ไม่​งั้น​อด​ตาย” ผ่าน​มากว่า 20 ปี เกษตรกร​ไทย​ยัง​ลุ่มๆ ดอนๆ การ​ประกอบ​อาชีพ​ของ​เกษตรกร​บาง​คน​เปลี่ยน​จาก​การ​ถูก ‘ตก​เขียว’ ไป​เป็น ‘เกษตรกร​พนั ธ​สญ ั ญา’ ใน​ขณะ​ทห​ี่ ลาย​คน​ลม้ ห​ าย​ตาย​จาก​ไป​จาก​อาชีพน​ เ​ี้ พือ่ เ​ข้าส​ ภ​ู่ าค​อตุ สาหกรรม​ และ​บริการ เกษตรกร​บาง​คน​ผัน​ตัว​ไป​เป็น ‘ผู้​ประกอบ​การเกษตร’ ภาค​การเกษตร​ของ​ไทย​ยัง​เต็ม​ไป​ด้วย​ปัญหา ทั้ง​จาก​สภาพ​แวดล้อม​และ​ทรัพยากร​ที่​เต็ม​ไป​ด้วย​ความ​ไม่​ แน่นอน อายุ​เฉลี่ย​ของ​เกษตร​ที่​สูง​ขึ้น หนุ่ม​สาว​สนใจ​เรียน​และ​สนใจ​ประกอบ​อาชีพ​ด้าน​เกษตร​ลด​ลง ราย​ได้ ​ไม่​คุ้ม​ กับง​ าน​หนัก ต้นทุนก​ าร​ผลิตส​ งู จ​ าก​การ​ใช้ส​ าร​เคมี สุขภาพ​ยำ่ แย่ ใน​ขณะ​ทร​ี่ าคา​พชื ผ​ ล​มร​ี าคา​ตำ่ แ​ ละ​เอา​แน่เ​อา​นอน​​ ไม่ ​ได้ Horizon ฉบับ​นี้ เกิด​ขึ้น​โดย​เป็น​ผล​พวง​จาก​การ​จัด​ทำ​ภาพ​อนาคต​การเกษตร​ไทย 2563 ซึ่ง​ดำเนิน​งาน​โดย​ สถาบันค​ ลังส​ มอง​ของ​ชาติ ศูนย์ค​ าด​การณ์เ​ทคโนโลยีเ​อเปค สว​ทน. และ​หน่วย​งาน​พนั ธมิตร​อกี ห​ ลาย​หน่วย​งาน โดย​ มุง่ ห​ วังว​ า่ เ​กษตรกร​ไทย​จะ​สามารถ​ลมื ตา​อา้ ป​ าก​ได้ เนือ้ หา​ของ​ภาพ​อนาคต​ได้ร​ ะบุป​ ระเด็นส​ ำคัญต​ า่ งๆ ไว้ แต่ก​ าร​จะ​ ไป​ให้ถ​ งึ ภ​ าพ​ทพ​ี่ งึ ป​ ระสงค์ห​ รือจ​ ะ​หลีกเ​ลีย่ ง​ภาพ​ที่ ไ​ม่พ​ งึ เ​ป็นป​ ระสงค์น​ นั้ ต้อง​อาศัยค​ วาม​รว่ ม​มอื ร​ ว่ มใจ​ของ​หลาย​คน​ ​หลาย​หน่วย​งาน​มา​ช่วย​กัน​คิด​ช่วย​กัน​ทำ ส่วน​จะ​ไป​ถึง​ฝั่ง​ฝัน​หรือ​ไม่​นั้น ต้อง​ตาม​ดู​กัน​ต่อ​ไป ขอ​ถอื โ​อกาส​นแ​ี้ จ้งท​ า่ น​ผอ​ู้ า่ น​ให้ท​ ราบ​วา่ Horizon จะ​มว​ี าง​แผง​ตาม​รา้ น​หนังสืออ​ กี เ​พียง 2 ฉบับค​ อื ฉ​ บับน​ ี้ (8)​ และ​ฉบับถ​ ดั ไ​ป (9) หลังจ​ าก​นนั้ จ​ ะ​จดั ส​ ง่ ผ​ า่ น​ระบบ​สมาชิกเ​ท่านัน้ หาก​ทา่ น​ตอ้ งการ​ตดิ ตาม​ขา่ วสาร​และ​เนือ้ หา​สาระ​ จาก Horizon ต่อ​ไป กรุณา​สมัคร​สมาชิก​โดย​ใช้ ใบ​สมัคร​ตาม​ที่​ปรากฏ​ใน​เล่ม​ครับ รัก​กัน​ชอบ​กัน​ก็​อย่า​ทอด​ทิ้ง​กัน​นะ​ครับ บรรณาธิการ

Horizon08.indb 2

1/27/12 1:59:12 PM


Contents Vo l. 2 No. 4

08

04 06 08 12 14 16 18 30 36 42 43 44 46 48 50 51

News review Statistic features Foresight society In & Out Cultural science Gen next Features Vision Interview Global warming Thai point Social & technology Myth & science Smart life Science media Techno-Toon

เจ้าของ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ ที่ปรึกษา ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ ดร.ญาดา มุกดาพิทักษ์ รศ.ดร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน รศ.ดร.ชาตรี ศรีไพพรรณ ดร.นเรศ ดำรงชัย ดร.กิติพงค์ พร้อมวงค์

Horizon08.indb 3

18_ Features

สถาบัน​คลัง​สมอง​แห่ง​ชาติ​ได้​วิเคราะห์​ความ​เสี่ยง แนว​โน้ม และ​ โอกาส​ใน​อนาคต​ของ​ภาค​เกษตร​ไทย​ผา่ น​กระบวนการ​ทเ​ี่ รียก​วา่ การ​ มอง​อนาคต (Foresight) ซึ่งไ​ด้​ภาพ​อนาคต​เกี่ยว​กับ​การเกษตร​ไทย 3 ภาพ มีท​ ั้งภ​ าพ​ทสี่​ ดใส​เต็ม​ไป​ด้วย​แสง​สว่าง และ​ภาพ​ที่​ชวน​หดหู่​ ใน​ระดับ​หายนะ​ที่​จะ​เกิด​ขึ้น​กับ​ภาค​เกษตร​ไทย หนทาง​หรือว​ ธิ ก​ี าร​ทจ​ี่ ะ​ปอ้ งกันม​ ใ​ิ ห้ภ​ าค​เกษตร​ไทย​ตอ้ ง​เผชิญ​ ความ​หดหู่​เช่น​นั้น และ​เส้น​ทาง​ที่​จะ​นำพา​ภาค​เกษตร​ไทย​ไป​พบ​ แสงส​ว่าง​นั้น​คือ​อะไร Feature ฉบับ​นี้​ขอ​เสนอ​ทาง​เลือก​ที่​ควร​ค่า​ แก่​การ​พิจารณา

30_ Vision

ข้ อ ​กั ง วล​ใ น​บ าง​ส ถานการณ์ ​ก็ ​มี ​ข้ อ ดี ​ข อง​มั น ​ใ น​แ ง่ ​ที่ ​ท ำให้ ​เ รา​ เตรียม​พร้อม​รับมือ​กับ​ปัญหา และ​นี่​คือ​ข้อ​กังวล​ของ​ผู้​อำนวย​การ​ ศูนย์เ​ทคโนโลยีช​ วี ภาพ​เกษตร และ​อกี 3 ท่าน​จาก​สถาบันค​ ลังส​ มอง แ​ ห่งช​ าติ ใน​ความ​ออ่ น​ดอ้ ย​ของ​สภาพ​สงั คม เศรษฐกิจ และ​การเมือง​ ที่​จะ​ส่ง​ผล​ต่อ​ภาค​เกษตร​ไทย​ใน​อนาคต และ​มอง​จุด​แข็ง​ที่​ภาค​ เกษตร​สามารถ​พัฒนา​ให้​เต็ม​ศักยภาพ

46_ Myth & Science

เหตุ​ภัย​พิบัติ​ใหญ่​ที่​ผ่าน​มา​นั้น​ได้​นำพา​ความ​สับสน​มา​สู่​สังคม​ไทย ทั้ง​ข้อมูล​ข่าวสาร​ที่​ชวน​ตระหนก จริง​บ้าง​ไม่​จริง​บ้าง สิ่ง​ที่​ข่าวสาร​ บอก​วา่ จ​ ะ​เกิดก​ ลับไ​ม่เ​กิด สิง่ ท​ ไ​ี่ ม่ป​ รากฏ​ใน​ขา่ วสาร​กลับเ​กิดข​ นึ้ จ​ ริง อะไร​คือ​ความ​เชื่อ ส่วน​อะไร​คือ​ความ​จริง คงจะ​ดี​หาก​เรา​มี​ข้อมูล​ที่​ แม่นยำ เพราะ​ภยั พ​ บิ ตั ใ​ิ หญ่ท​ เ​ี่ พิง่ ผ​ า่ น​ไป ผูร​้ แ​ู้ ละ​นกั ว​ ชิ าการ​ทงั้ ห​ ลาย​ ต่าง​บอก​ว่า ‘แค่น​ ้ำ​จิ้ม’

บรรณาธิการบริหาร ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ กองบรรณาธิการ ศิริจรรยา ออกรัมย์ ปรินันท์ วรรณสว่าง ณิศรา จันทรประทิน ดร.สุรชัย สถิตคุณารัตน์ สิริพร พิทยโสภณ บรรณาธิการต้นฉบับ วีรพงษ์ สุนทรฉัตราวัฒน์ ศิลปกรรม ณขวัญ ศรีอรุโณทัย เดือน จงมั่นคง

สำนักงาน ศูนย์คาดการณ์เทคโนโลยีเอเปค สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ เลขที่ 319 อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 14 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0 2160 5432 ต่อ 305, 311, 706 อีเมล horizon@sti.or.th เว็บไซต์ http://www.sti.or.th/horizon

ดำเนินการผลิตโดย บริษัท เปนไท พับลิชชิ่ง จำกัด โทรศัพท์ 0 2736 9918 โทรสาร 0 2736 8891 อีเมล waymagazine@yahoo.com

1/27/12 1:59:18 PM


N 01

สิรินยา ลิม

e

w

s

อุโมงค์เก็บเมล็ดพันธุ์พืช วันสิ้นโลก เชื่อ​ไหม​ว่า​โลก​เรา​มี​อุโมงค์​ที่​ถูก​ขุด​ลึก​ลง​ไป​ใน​ชั้น​น้ำ​แข็ง​ กว่า 120 เมตร สามารถ​เก็บ​เมล็ด​พันธุ์​พืช​สำรอง​จาก​ ทั่ว​โลก​ได้ก​ ว่า 4.5 ล้าน​เมล็ด ธนาคาร​เก็บ​รักษา​พันธุ์​พืช​ โลก Svalbard Global Seed Vault (SGSV) ประเทศ​ นอร์เวย์ เปิด​ตัว​ขึ้น​เมื่อ​ต้น​ปี 2008 ตั้ง​อยู่​ที่​คาบสมุทร Arctic Svalbard ซึ่งอ​ ยูห่​ ่าง​จาก​ขั้ว​โลก​เหนือ​เพียง 1,300 กิโลเมตร มี​จุด​ประสงค์​หลัก​เพื่อ​เป็น​แหล่ง​สำรอง​เมล็ด​ พันธุ์​พืช​จาก​ธนาคาร​เมล็ด​พันธุ์​พืช​กว่า 1,400 แห่ง ที่​ ตั้ง​อยู่​ใน 100 ประเทศ​ทั่ว​โลก รวม​ถึง​ประเทศไทย​เอง​ก็​ กำลัง​ทำ​วิจัย​และ​พัฒนา​เพื่อ​ส่งตัว​อย่าง​เมล็ด​ถั่วฝักยาว (Cowpea) ไป​ฝาก​เก็บ​ไว้​ด้วย​เช่น​กัน

ริกเ​ตอร์ไ​ด้ และ​อยูส​่ งู ก​ ว่าร​ ะดับท​ น​ี่ ำ้ ท​ ะเล​จะ​ทว่ ม​ถงึ แ​ ม้เ​กิด​ ภาวะ​โลก​รอ้ น ภายใน​มร​ี ะบบ​ทำความ​เย็นด​ ว้ ย​กระแส​ไฟฟ้า จ​ าก​เหมือง​ใกล้เ​คียง​เพือ่ ร​ กั ษา​อณ ุ หภูมไ​ิ ว้ท​ ี่ -18 ถึง -20 องศา ซึง่ ส​ ามารถ​เก็บร​ กั ษา​เมล็ดพ​ นั ธุบ​์ าง​ชนิดไ​ด้ย​ าวนาน​ทสี่ ดุ ถ​ งึ 1,000 ปี และ​ถึง​แม้ว่า​ระบบ​ไฟฟ้า​จะ​ล่ม​แต่​ความ​เย็น​ จาก​ชั้น​หิน​ใน​ภูเขาน้ำแข็ง​ก็​จะ​ยัง​สามารถ​รักษา​อุณหภูมิ​ ของ​อุโมงค์​ไว้​ได้ที่ -3 องศา​เซลเซียส ซึ่ง​จะ​สามารถ​เก็บ​ เมล็ดบ​ าง​ชนิด​ไว้​ได้​นาน​เป็น​ร้อย​ปี แล้ว​มะพร้าว​จะ​เก็บ​ยัง​ไง!!?? พืชบ​ าง​ชนิดไ​ม่ส​ ามารถ​เก็บร​ ปู ข​ อง​เมล็ดไ​ด้ (อย่าง​นอ้ ย ​ผล​มะพร้าว​ก็​ใหญ่​เกิน​ไป​และ​คน​ชอบ​ทาน​มะพร้าว​ก็​อาจ​ จะ​น้อยใจ ถ้า​ไม่มี​ใคร​ช่วย​หา​วิธี​เก็บ​ส่วน​ขยาย​พันธุ์​ของ​ มะพร้าว​ให้) SGSV จึง​มี​การ​วิจัย​การ​เก็บ​ส่วน​ขยาย​พันธุ์ (Germplasm) ของ​พืช​ที่​ไม่​สามารถ​เก็บ​ด้วย​เมล็ด​ได้ นั่น​คือ​วิธี​การ​เก็บ​เนื้อเยื่อ​ใน​ไนโตรเจน​เหลว​ซึ่ง​มี​อุณหภูมิ -198 องศา​เซลเซียส หรือ​ที่​เรียก​ว่า​ภาย​ใต้​สภาพ​เย็น​ ยิ่งยวด (Cryopreservation) ซึ่ง​จะ​สามารถ​เก็บ​ตัวอย่าง​ ไม้​ผล​ได้ เช่น เชื้อ​พันธุ์​กล้วย​และ​มะพร้าว​ที่​กำลัง​จะ​ถูกส​ ่ง​ มา​จาก​ปาปัว​นิวกินี, ฟิลิปปินส์​และ​โก​โต​ดิ​วัว​ร์

โครงสร้าง​อัน​แข็งแกร่ง SGSV ไม่​ได้​ถูก​สร้าง​ขึ้น​เพราะ​กลัว​ว่า​น้ำ​จะ​ท่วม​ โลก แต่​ว่า​เกิด​จาก​ความ​ตระหนัก​ใน​ความ​สำคัญของ ​พืช​พรรณ​อัน​มี​ค่า ที่​บาง​ชนิด​ได้​สูญหาย​ไป​เนื่อง​มา​จาก​ หลาย​สาเหตุ เช่น เกิด​ภัย​พิบัติ​ทาง​ธรรมชาติ สงคราม หรือก​ าร​เปลีย่ นแปลง​ของ​สภาพ​ภมู อ​ิ ากาศ เป็นต้น รัฐบาล​ นอร์เวย์​จึง​ร่วม​มือ​กับ The Global Crop Diversity Trust และ The Nordic Genetic Resource Center ใน​การ​จัด​ตั้ง SGSV ตัว​โครงสร้าง​ทาง​เข้า​และ​อุโมงค์​ สามารถ​ทน​ตอ่ ร​ ะเบิดน​ วิ เคลียร์ห​ รือแ​ ผ่นด​ นิ ไ​หว​ขนาด 6.2 การ​เก็บ​แบบ Black Box เนือ่ งจาก​วตั ถุประสงค์ข​ อง Svalbard Seed Vault คือ การ​เก็บ​รักษา​พันธุ์​พืช​จาก​ทั่ว​โลก ดัง​นั้น Svalbard จึง​ไม่มี​การ​ให้​บริการ​เมล็ด​พันธุ์ และ​ไม่​อนุญาต​ให้​เอา​ เมล็ด​พันธุ์​ออก​ไป​โดย​ปราศจาก​การ​อนุญาต​ของ​เจ้าของ​ ผู้​ฝาก​เชื้อ​พันธุกรรม​นั้น ผู้​ฝาก​เชื้อ​จะ​มี​สิทธิ์​เต็ม​ที่​ใน​เชื้อ​ พันธุกรรม​ของ​ตน​และ​สามารถ​ขอ​เมล็ด​คืน​เมื่อไร​ก็ได้ ได้​รู้​แบบ​นี้​หลาย​คน​คง​สบายใจ​ได้​ว่า แม้​จะ​เกิด​ น้ำ​ท่วม​จน​นา​ข้าว​หรือ​สวน​ผล​ไม้​ต้อง​ล่ม​ไป แต่​เรา​ก็​จะ​ ยัง​มี​เมล็ด​ของ​พืช​พรรณ​เก็บ​ไว้​อย่าง​ปลอดภัย​ใน​อุโมงค์​ที่​ แข็งแกร่ง แต่ห​ ่าง​ไกล​และ​หนาว​เหน็บ...

ที่มา: รายการ 60 Minutes The Global Crop Diversity Trust http://www.croptrust. org/main/arcticseedvault.php?itemid=842 : 4

Horizon08.indb 4

1/27/12 1:59:22 PM


r

e

v

i

e

w

กิตติศักดิ์ กวีกิจมณี

03

ทดสอบ​ภาค​สนาม เครื่อง​ตรวจ​จับผ​ ู้​ก่อการ​ร้ายใน​สหรัฐอเมริกา ระบบ​คัดก​ รอง​เพื่อ​หา​ตัวผู้​โดยสาร​ที่​มี​เจตนา​ร้าย​แอบแฝง ‘Minority Report’ ซึ่ง​ใน​ภาพยนตร์​จะ​ใช้​มนุษย์​กลาย​พันธุ์​ เป็น​ผู้​คาด​เดา​อาชญากรรม​ที่​จะ​เกิด​ขึ้น​ใน​อนาคต วิ ธี ​ก าร​ท ดสอบ​ร ะบบ FAST มี ​ขั้ น ​ต อน​คื อ ​ใ ห้ ​ผู้​ถูก​ทดสอบ​เดิน ​ผ่าน​เครื่อง​ตรวจ​วัด​และ ‘แกล้ง’ แสดง​ พฤติกรรม​ที่​สามารถ​เชื่อม​โยง​ไป​ถึง​การ​ก่อการ​ร้าย​ได้ แต่​ ก็ย​ งั ม​ ข​ี อ้ ก​ งั ขา​ถงึ ค​ วาม​เสมือน​จริงข​ อง​การ​แสดง​พฤติกรรม​ ดัง​กล่าว รวม​ไป​ถึง​ความ​เอน​เอียง​ต่อ​ผล​การ​ทดสอบ​หาก​ ผู้​เข้า​ทดสอบ​รู้​ว่า​ตนเอง​กำลัง​ถูก​ทดสอบ​อยู่ ข้อ​กังวล​อีก​ ประการ​หนึง่ ก​ ค​็ อื ความ​สามารถ​ของ​ระบบ​ใน​การ​แยกแยะ​ ปฏิกิริยา​ตอบ​สนอง​ของ​ร่างกาย​ขณะ​ที่​มี​ความ​กังวล​ออก​ จาก​ขณะ​ที่​กำลัง​คิด​วางแผน​ก่อการ​ร้าย เพราะ​แม้แต่​การ​ สแกน​ม่านตา​หรือ​การ​อ่าน​ลาย​พิมพ์​นิ้ว​มือ​ที่​ด่าน​ตรวจ​คน​ เข้า​เมือง ก็​ยัง​ทำให้​นัก​ท่อง​เที่ยว​ที่​เดิน​ทาง​เข้า​เมือง​อย่าง​ ถูก​กฎหมาย​มี​อัตรา​การ​เต้น​ของ​หัวใจ​ที่​เร็ว​ขึ้น​ได้ ระบบ​นี้​ จึง​อาจ​ทำให้​ผู้​บริสุทธิ์​ถูก​กล่าว​หา​ว่า​เป็น ​ผู้​ก่อการ​ร้าย​ ได้ Steven Aftergood นัก​วิเคราะห์​วิจัย​ของ​สหพันธ์​ นัก​วิทยาศาสตร์​อเมริกัน (Federation of American Scientists) กล่าว​ว่า “หาก​วิธี​การ​นี้​ยัง​ไม่​ได้ร​ ับ​การ​ยืนยัน​ ผล​การ​ทดสอบ มัน​ก็​ไม่ต​ ่าง​จาก​การ​เล่น​ทาย​คำ​ปริศนา” อย่างไร​ก็ตาม​จาก​การ​ทดสอบ​ใน​ห้อง​ปฏิบัติ​การ​ พบ​ว่า​ระบบ​นี้​มี​ความ​แม่นยำ​มาก​ถึง 70 เปอร์เซ็นต์ แต่​ หาก​นำ​ไป​ทดสอบ​ใน​ภาค​สนาม​ผล​ที่​ได้​ก็​อาจ​จะ​แตก​ต่าง​ ไป​จาก​ค่า​ดังก​ ล่าว John Verrico โฆษก​ของ DHS กล่าว​ ว่า ขณะ​นี้ DHS ยัง​ไม่​สามารถ​ประเมิน​ประสิทธิภาพ​ของ​ ระบบ​ได้ และ​จะ​ต้อง​ทำการ​ทดสอบ​ระบบ​ต่อ​ไป​เป็น​เวลา​ อีก​หลาย​เดือน ปัจจุบัน สถาน​ที่​ที่​ใช้​ทดสอบ​ระบบ​ก็​ยัง​ คง​ถูก​ปิด​เป็น​ความ​ลับ โดย Verrico บอก​ได้​เพียง​ว่า “เรา​ ไม่​ได้​ทดสอบ​ที่​สนามบิน แต่​เรา​เลือก​ใช้​สถาน​ที่​ที่​มี​สภาพ​ แวดล้อม​และ​ปัจจัย​ต่างๆ ที่​พอ​จะ​ทดแทน​กัน​ได้”

หาก​ใคร​กำลัง​วางแผน​ไป​ท่อง​เที่ยว​ทาง​ภาค​ตะวัน​ออก​ เฉียง​เหนือ​ของ​ประเทศ​สหรัฐอเมริกา​ใน​ช่วง​นี้ คุณ​อาจ​ กลาย​เ ป็ น ​ส่ ว น​ห นึ่ ง ​ข อง​ก าร​ท ดสอบ​ก าร​รั ก ษา​ค วาม​ ปลอดภัยเ​พือ่ ต​ รวจ​หา​ผก​ู้ อ่ การ​รา้ ย​โดย​ไม่รต​ู้ วั ทัง้ นี้ Nature News ได้ร​ ายงาน​ว่า กระทรวง​รักษา​ความ​มั่นคง​แห่ง​ชาติ (Department of Homeland Security – DHS) ประเทศ​ สหรัฐอเมริกา กำลัง​พัฒนา​เทคโนโลยี​ใหม่​ซึ่ง​มีชื่อ​เรียก​ว่า Future Attribute Screening Technology (FAST) เพื่อ​ เป็นเ​ครือ่ ง​มอื ต​ รวจ​จบั ผ​ ท​ู้ ม​ี่ พ​ี ฤติกรรม​เข้าข​ า่ ย​เป็นผ​ ก​ู้ อ่ การ​ ร้าย โดย​ได้​มี​การ​ทดสอบ​ภาค​สนาม​ใน​ขั้น​แรก​เมื่อ​เดือน​ มีนาคม​ที่​ผ่าน​มา​ใน​สถาน​ที่​ที่​ไม่มี​การ​เปิด​เผย ใน​บริเวณ​ ภาค​ตะวันอ​ อก​เฉียง​เหนือ​ของ​สหรัฐอเมริกา เทคโนโลยี FAST นีค้​ ล้าย​กับ​เครื่อง​ตรวจ​จับ​โกหก กล่าว​คือ​ระบบ​จะ​ตรวจ​สอบ​สภาวะ​การ​ทำงาน​ของ​ส่วน​ ต่างๆ ของ​ร่างกาย ตั้งแต่​อัตรา​การ​เต้น​ของ​หัวใจ​ไป​จนถึง​ ความ​นิ่ง​ของ​สายตา และ​นำ​ข้อมูล​ไป​ประมวล​เพื่อ​ตัดสิน​ ความ​นึกคิด​ของ​ผู้​ถูก​ตรวจ​สอบ สิ่ง​ที่​เป็น​ข้อ​โดด​เด่น​ของ​ ระบบ FAST ก็ค​ ือ การ​ใช้​ตัว​ตรวจ​จับ (Sensor) ที่​ไม่​ต้อง​ สัมผัสก​ บั ร​ า่ งกาย​ของ​ผถ​ู้ กู ท​ ดสอบ และ​ไม่ต​ อ้ ง​ใช้ว​ ธิ ก​ี าร​ซกั ​ ถาม ทำให้​การ​ทดสอบ​สามารถ​ทำได้​สะดวก​แม้​ใน​ขณะ​ที่ ที่มา: Terrorist ‘pre-crime’ detector field tested in United States. ผ​ ถ​ู้ กู ท​ ดสอบ​กำลังเ​ดินอ​ ยูใ​่ น​อาคาร​ผโ​ู้ ดยสาร​ของ​สนามบิน Nature News, 27 May 2011 (http://www.nature.com/news/2011/1 0527/ ซึ่ง​พอ​มา​คิด​เล่นๆ ดู​แล้ว​ผู้​อ่าน​หลาย​ท่าน​ก็​อาจ​จะ​เห็น​ว่า​ full/news.2011.323.html) เทคโนโลยี FAST นี้​มี​ความ​คล้ายคลึง​กับ​หลัก​การ​ที่​เรา​ เรียก​กัน​ว่า ‘Pre-crime’ ที่มา​จาก​ภาพยนตร์​ไซ​ไฟ​ชื่อ​ดัง 5 :

Horizon08.indb 5

1/27/12 1:59:24 PM


Statistic ดร.Fอeatures ังคาร วงษ์ดีไทย

สถิติที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรของไทย

28 ล้านไร่ 102 ล้าน​ไร่ เป็ น พื้ น ที่ ก ารเกษตรที่ ไ ด้ รั บ การพั ฒ นาและ มีระบบชลประทาน

เ ป็ น ​พื้ น ที่ ​เ ก ษ ต ร ​น อ ก ​เ ข ต ​ช ล ป ร ะ ท า น​ ​หรือ​พื้นทีเ่​กษตร​น้ำ​ฝน​

50.6% 12.1% พื้นที่ทำนาลดลงจากร้อยละ 56.1 ในปี 2541 เป็น 50.6 ในปี 2551

พื้นที่​ปลูก​ยาง​กลับเ​พิ่ม​ขึ้น​จาก 9.41 ใน​ปี 2541 เป็น 12.1 ใน​ปี 2551

702,610 ล้าน​ลูกบาศก์เ​มตร

เป็น​ปริมาณ​ฝน​ตก​เฉลี่ยท​ ั้ง​ประเทศ​ต่อ​ปี แต่​ปริมาณ​น้ำ​ที่​ไหล​ลง​อ่าง​เก็บ​น้ำ​ขนาด​ใหญ่​รวม​กัน​ทั้งป​ ระเทศ​กลับ​มี​ค่า​เฉลี่ย​เพียง

40,172 ล้าน​ลูกบาศก์เ​มตร หรือ​ร้อย​ละ 5.7 ของ​ปริมาณ​ฝนทั้งป​ ี : 6

Horizon08.indb 6

1/27/12 1:59:31 PM


9,011 ล้าน​บาท

เป็น​จำนวน​เงิน​ที่​ประเทศไทย​นำ​เข้า​เทคโนโลยี​และ​เครื่องจักร​กล​ การเกษตร​ใน​ปี 2552 เพิ่ม​ขึ้น​จาก​ปี 2551 ที่​ประเทศไทย​นำ​เข้า​ เทคโนโลยี ​แ ละ​เครื่ อ งจั ก ร​ก ล​ก ารเกษตร​เ ป็ น ​มู ล ค่ า ​ทั้ ง ​สิ้ น 6,094 ล้าน​บาท

4,114,313 ตัน

เป็นปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีในปี 2552 โดยปุ๋ยอินทรีย์มีสัดส่วนต่อปริมาณ การนำเข้าเพียงร้อยละ 0.07

16,816 ล้าน​บาท

ใน​ปี 2552 ประเทศไทย​นำ​เข้า​สาร​เคมี​ป้องกัน​และ​กำจัด​ศัตรู​พืช​เป็น​จำนวน 118,152 ล้ า น​ตั น ​ข อง​ส าร​อ อก​ฤ ทธิ์ คิ ด ​เป็ น ​มู ล ค่ า 16,816 ล้ า น​บ าท คิด​เป็น​มากกว่า 1 ใน 3 ของ​ต้นทุนก​ าร​ปลูก​พืชท​ ั้งหมด

มากกว่า

65 ปี

ใน​ชว่ ง​แผน​พฒ ั นา​เศรษฐกิจแ​ ละ​สงั คม​แห่งช​ าติฉ​ บับท​ ี่ 8 เกษตรกร​ทม​ี่ อี ายุม​ ากกว่า 65 ปีเ​ท่ากับร​ อ้ ย​ละ 5.2 ของ​ ประชากร​เกษตรกร และ​เพิ่ม​ขึ้น​เป็น​ร้อย​ละ 9.8 ใน​ช่วง​แผน​พัฒนา​เศรษฐกิจ​และ​สังคม​แห่ง​ชาติ​ฉบับ​ที่ 10

ที่มา:

1. การ​จัดการ​ความ​เสี่ยง​ทรัพยากร​น้ำ​ของ​ไทย (Risk management in water resource of Thailand), (2554), สถาบัน​สารสนเทศ​ ทรัพยากร​น้ำ​และ​การเกษตร (องค์การ​มหาชน). 2. ภาพ​อนาคต​การเกษตร​ไทย 2563, (2554), สถาบันค​ ลังส​ มอง​ของ​ชาติ ภาย​ใต้​มูลนิธิ​ส่ง​เสริม​ทบวง​มหาวิทยาลัย. 7 :

Horizon08.indb 7

1/27/12 1:59:35 PM


or y Th e

ศิริจรรยา ออกรัมย์

ภ าพอนาคตการเ กษต ร ไทย สถาบัน​คลัง​สมอง​ของ​ชาติ ภาย​ใต้​มูลนิธิ​ส่ง​เสริม​ทบวง​ มหาวิ ท ยาลั ย ร่ ว ม​กั บ ศู น ย์ ​ค าด​ก ารณ์ ​เ ทคโนโลยี ​ เอเปค สำนักงาน​คณะ​กรรมการ​นโยบาย​วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี​และ​นวัตกรรม​แห่ง​ชาติ (สว​ทน.) ธนาคาร​ เพื่อ​การเกษตร​และ​สหกรณ์​การเกษตร คณะ​เกษตร มหาวิทยาลัย​เกษตรศาสตร์ สำนักงาน​คณะ​กรรมการ​ วิ จั ย ​แ ห่ ง ​ช าติ สำนั ก งาน​ก องทุ น ​ส นั บ สนุ น ​ก าร​วิ จั ย สำนักงาน​พัฒนาการ​วิจัย​การเกษตร (องค์การ​มหาชน) สถาบันส​ ิ่ง​แวดล้อม​ไทย องค์การ​กระจาย​เสียง​และ​แพร่​ ภาพ​สาธารณะ​แห่งป​ ระเทศไทย และ​หนังสือพ​ มิ พ์โ​พสต์​ ทู​เดย์ ได้​จัด​ทำ โครงการ​ภาพ​อนาคต​การเกษตร​ไทย 2563 ขึน้ เพือ่ ว​ เิ คราะห์แ​ นว​โน้มแ​ ละ​จดั ท​ ำ​ภาพ​อนาคต​ การเกษตร​ไทย​ใน​ปี 2563 ด้วย​กระบวนการ​มอง​อนาคต (Foresight) กระบวนการ​จัด​ทำ​ภาพ​อนาคต​การเกษตร​ไทย ประกอบ​ด้วย​การ​ประชุม​ระดม​ความ​คิด​เห็น 2 ครั้ง โดย​ พิจารณา​ประเด็นค​ วาม​ไม่แ​ น่นอน​ซงึ่ เ​ป็นท​ งั้ ป​ จั จัยภ​ ายใน​

ประเทศ​และ​ปัจจัย​ภายนอก​ประเทศ มี​การ​วิเคราะห์​ แนว​โน้ม (Trends) แรง​ผลัก​ดัน (Driving Force) ระบุ​ ความ​ไม่แ​ น่นอน​ของ​ปจั จัยห​ รือเ​หตุการณ์ใ​น​อนาคต เพือ่ ​ นำ​ไป​สู่​การ​กำหนด​ประเด็น​หลัก (Scenario Logics) สำหรับ​การ​จัด​ทำ​ภาพ​อนาคต​การเกษตร​ไทย 2563 เพื่อ​สร้าง​ความ​ตระหนัก​รู้​ให้​กับ​สังคม​ใน​การเต​รี​ยม​ รับมือ​กับ​อนาคต​ใน​มิติ​ใหม่​อย่าง​เท่า​ทัน รวม​ทั้ง​สร้าง​ เครือข​ า่ ย​ความ​รว่ ม​มอื ก​ นั ใ​น​การ​สร้าง​องค์ค​ วาม​รใ​ู้ น​การ​ วางแผน​และ​การ​กำหนด​ทิศทาง​การ​พัฒนา​เกษตร​ของ​ ประเทศไทย​ต่อ​ไป ภาพ​อนาคต​การเกษตร​ไทย 3 ภาพ เปรียบ​ได้​ กับ​การ​เติบโต​ของ​ต้นไม้​ที่​ได้​รับ​ผลก​ระ​ทบ​จาก​สภาพ​ แวดล้อม​และ​ความ​สามารถ​ใน​การ​ปรับ​ตัว ได้แก่ ภาพ​ไ ม้ ​ป่ า สภาวะ​โ ลก​ร้ อ น​ถื อ ​โ อกาส​ข อง​ การเกษตร​ไทย มีค​ วาม​กา้ วหน้าท​ าง​ดา้ น​เทคโนโลยีแ​ ละ​ ภูมิปัญญา​ท้อง​ถิ่น​เกิด​เป็น​เครือ​ข่าย​เกษตรกร มี​การนำ​ ความ​รู้ เทคโนโลยี​และ​มี​การ​จัดการ​ทดี่​ ี​ประกอบ​กับ​การ​

: 8

Horizon08.indb 8

1/27/12 1:59:37 PM


เข้าถ​ ึง​แหล่ง​เงิน​ทุน แต่​การเมือง​ไทย​ยัง​คง​สับสน ภาค​ ธุรกิจแ​ ละ​ภาค​เอกชน​หนั ม​ า​จบั ธ​ รุ กิจเ​กษตร​เพือ่ อ​ าหาร​ และ​พลังงาน​มาก​ขึ้น ภาพ​ไม้​เลี้ยง เกษตรกร​ยิ้ม​สู้ เนื่องจาก​สภาวะ​ โลก​ร้ อ น​ส่ ง ​ผ ล​ใ ห้ ​ร าคาพลั ง งาน ​อ าหาร​แ ละ​ ผลผลิตเกษตร​สูง​ขึ้น เกิด​รัฐ​กสิกรรม (ประชา​นิยม 2.0) ภาค​รัฐ​มีน​โย​บาย​ด้าน​การเกษตร​ที่​ชัดเจน มุ่ง​เน้น​

การ​พัฒนา​ศักยภาพ​และ​ประสิทธิภาพ​การ​ผลิตม​ ากกว่า​ การ​เน้ น ​ผ ล​ร ะยะ​สั้ น มี ​แ ผนการ​เกษตร​แ ห่ ง ​ช าติ ​ที่ ​มี ​ เป้า​หมาย​ชัดเจน เกษตรกรรม​เป็น​อาชีพ​ยอด​นิยม​ของ ​คน​รุ่น​ใหม่ และ​สินค้า​เกษตร​มี​เรื่อง​ราว ภาพ​ไม้ล​ ม้ การเมือง​ยงั ค​ ง​ยงุ่ เหยิง ภาค​รฐั ช​ ะงักง​ นั นโยบาย​ข าด​ค วาม​ต่ อ ​เ นื่ อ ง แต่ ​เ ทคโนโลยี ​ใ น​ภ าค​ เอกชน​มี​ความ​ก้าวหน้า​จาก​การ​ลงทุน​วิจัย​และ​พัฒนา​ อย่าง​ต่อ​เนื่อง เกิด​สภาพ​ข้าว​ยาก​หมาก​แพง​จาก​สภาพ​ ภู มิ ​อ ากาศ​ที่ ​เ ปลี่ ย นแปลง​ส่ ง ​ผ ล​ใ ห้ ​เ กิ ด ​ส ถานการณ์ ​ น้ำ​ท่วม​และ​น้ำ​แล้ง​ซ้ำซาก การ​จัดการ​ทรัพยากร​น้ำ​ มี​ความ​ยุ่ง​ยาก ไทย​เป็น​เมือง​ขึ้น​ทางการ​เกษตร โดย​ ชาว​ตา่ ง​ชาติแ​ ละ​นกั ธ​ รุ กิจไ​ทย​ทม​ี่ ค​ี วาม​รแ​ู้ ละ​มเ​ี งินล​ งทุน​ เข้า​ถือ​ครอง​ที่ดิน​ทางการ​เกษตร เพื่อ​ผลิต​สินค้า​เกษตร​ เพื่อ​อาหาร​และ​พลังงาน​เพิ่ม​มาก​ขึ้น

ไม้ป่า

ไม้เลี้ยง

ไม้ล้ม

ที่มา

การ​จัด​สัมมนา​วิชาการ​เรื่อง ‘ภาพ​อนาคต​การเกษตร​ไทย 2563’ ใน​ วัน​ที่ 11 พฤษภาคม 2554 ผู้​สนใจ​สามารถ​หา​ข้อมูล​จาก​เว็บ​ไซด์​ของ​ สถาบัน​คลัง​สมอง​ของ​ชาติ (http://www.knit.or.th) 9 :

Horizon08.indb 9

1/27/12 1:59:39 PM


ity tiv Ac

สุภัค วิรุฬหการุญ

แผนที่​นำทาง​สำนักงาน​ปรมาณู​เพือ่ ​สนั ติ พ.ศ. 2 5 5 5 - 2 5 6 5 ( O A P R o a d m a p )

สืบ​เนื่องจาก Horizon ฉบับ​ที่ 6 ได้​เล่าก​ ิจกรรม Kick off OAP Foresight ทีส่​ ำนักงาน​ปรมาณู​เพื่อ​สันติ (ปส.) และ​ ศูนย์​คาด​การณ์​เทคโนโลยี​เอเปค สว​ทน. ได้​ร่วม​กัน​จัด​ทำ​ ภาพ​อนาคต ปส. ใน​ปี 2563 มา​ใน​ครั้ง​นี้​จะ​เป็น​บท​สรุป​ ของ OAP Foresight ​ก็​คือ​แผนที่​นำทาง​สำนักงาน​ปรมาณู​ เพื่อ​สันติ พ.ศ. 2555-2565 (OAP Roadmap) แต่ก​ ่อน​ ที่​จะ​ได้​แผนที่​นำทาง​นั้น เรา​ได้​ใช้​ประโยชน์​จาก Kick off OAP Foresight ​โดย​การนำ​ภาพ​อนาคต​ที่​ได้​จัด​ทำ​ขึ้น​ทั้ง 4 ภาพ​ไป​ผ่าน​กระบวนการ​คาด​การณ์อ​ นาคต (Foresight) ใน​ขั้น​ต่อๆ ไป โดย​บุคลากร​ของ ปส. ได้​ช่วย​กัน​ทำ Mini Foresight ใน​แต่ละ​สำนัก​ของ ปส. เอง ซึ่ง​เป็นการ​จัด​ทำ​ ข้อมูลป​ ระเมินต​ นเอง (Self Assessment Data) ของ​แต่ละ​ สำนัก​ว่า​มี​บทบาท​อย่างไร​ต่อ​องค์กร เพือ่ ​ให้​ได้​ขอ้ มูล​ท​ค่ี รบ​ถว้ น​รอบ​ดา้ น เรา​ได้​ม​กี าร​จดั ​ทำ Stakeholder Analysis Workshop ใน​หมูเ​่ จ้าห​ น้าทีข​่ อง ปส. ผล​ทไ​่ี ด้ท​ ำให้เ​รา​สามารถ​ระบุผ​ ม​ู้ ส​ี ว่ น​ได้ส​ ว่ น​เสีย (Stakeholders) ที่​สำคัญๆ ของ ปส. และ​นำ​ผล​ที่​ได้​นั้น​มา​จัด Stakeholder Opinions Workshop เพื่อ​รับ​ฟัง​ความ​คิด​เห็น​จาก​บุคคล​ หรือ​หน่วย​งาน​ที่​เกี่ยวข้อง​ว่า​มี​ความ​คิด​เห็น​หรือ​ต้องการ​ให้ ปส. ดำเนิน​งาน​ไป​ใน​ทิศทาง​ใด สำหรับ 10 ปี​ข้าง​หน้า หลัง​จาก​นั้น​เรา​จึง​ได้​นำ​ข้อมูล​เหล่า​นั้น​มา​ประมวล วิ เ คราะห์ และ​สั ง เคราะห์ ออก​ม า​เ ป็ น ต้ น ​แ บบ OAP Roadmap แล้ว​ได้​นำ​ต้นแบบ​นั้น​ไป​แลก​เปลี่ยน​และ​ระดม​ ความ​คิด​เห็น​จาก​ผู้​บริหาร​และ​บุคลากร​ของ ปส. จน​ได้​ ออก​มา​เป็น ‘แผนที่​นำทาง​สำนักงาน​ปรมาณูเ​พื่อ​สันติ พ.ศ. 2555-2565’ หรือ OAP Roadmap OAP Roadmap ประกอบ​ด้วย 5 ชั้น ได้แก่ วิสัย​ทัศน์ (Vision) ซึ่ง​ระบุ​ว่า ปส. จะ​เป็น​องค์กร​ ที่​ทำ​หน้าที่​กำกับ​ดูแล​การ​ใช้​พลังงาน​ปรมาณู​ที่​เป็น​เลิศ​ องค์กร​หนึ่ง​ใน​ประชาคม​อาเซียน ภายใน​ปี พ.ศ. 2560 พันธ​กิจ (Mission) ปส. มีพ​ ันธ​กิจ​หลัก 4 ประการ​ คือ 1) ปรับปรุง​กฎหมาย ระเบียบ ข้อบ​ ังคับ และ​เสนอ​แนะ​ นโยบาย​และ​แผน​ยุทธศาสตร์ด​ ้าน​พลังงาน​ปรมาณู เพื่อ​นำ​ ไป​สก​ู่ าร​ปฏิบตั ท​ิ เ​ี่ ป็นร​ ปู ธ​ รรม 2) กำกับด​ แู ล​ความ​ปลอดภัย​ จาก​การ​ใช้​พลังงาน​ปรมาณู​ให้​เป็น​ไป​ตาม​มาตรฐาน​สากล 3) เป็น​ตัวแทน​ประเทศ​ใน​การ​ดำเนิน​การ​ตาม​พันธกรณี​

: 10

Horizon08.indb 10

ความ​ตกลง​ระหว่าง​ประเทศ​ด้าน​พลังงาน​ปรมาณู และ 4) เผย​แพร่ค​ วาม​รแ​ู้ ละ​สร้าง​ความ​เชือ่ ม​ นั่ ด​ า้ น​ความ​ปลอดภัย​ จาก​การ​ใช้​พลังงาน​ปรมาณูใ​ห้​แก่​ประชาชน ขีด​ความ​สามารถ​หลัก (Core Competency) ที่ ปส. ต้อง​มี​หรือ​ต้อง​พัฒนา​ให้​เกิด​ขึ้น ได้แก่ 1) ขีด​ความ​สามารถ ​ใน​การ​ศึกษา​และ​วิเคราะห์​กฎหมาย​รวม​ถึง​กฎ​ระเบียบ​ต่างๆ ที่​เกี่ยว​กับ​การ​กำกับ​ดูแล​ด้าน​ความ​ปลอดภัย​เกี่ยว​กับ​การ ค​ รอบ​ครอง​และ​การ​ใช้ส​ าร​กมั มันตรังสี 2) ขีดค​ วาม​สามารถ​ใน​ การ​ตดิ ตาม พัฒนา ประยุกต์ใ​ช้ และ​เผย​แพร่อ​ งค์ค​ วาม​รท​ู้ เ​่ี กีย่ ว​กบั ​ความ​ปลอดภัย​ของ​เทคโนโลยี​นวิ เคลียร์ 3) ขีด​ความ​สามารถ​ใน​ การ​พฒ ั นา​เครือข​ า่ ย​ความ​รว่ ม​มอื ใ​น​รปู แ​ บบ​ตา่ งๆ กับห​ น่วย​งาน ​ทง้ั ​ใน​และ​ตา่ ง​ประเทศ 4) ขีด​ความ​สามารถ​ใน​การ​สอ่ื สาร​ขอ้ มูล ก​ บั ส​ าธารณะ​อย่าง​ถกู ต​ อ้ ง ทันท​ ว่ งที รอบ​ดา้ น และ​ตรง​ไป​ตรง​มา ภารกิจ​เชิง​ยุทธศาสตร์ (Strategic Function) ปส. ต้อง​มี​หน่วย​งาน​สำคัญ​ที่​รับ​ผิด​ชอบ​ภารกิจ​เชิง​ยุทธศาสตร์ ​ดั ง ​ต่ อ ​ไ ป​นี้ 1) หน่ ว ย​คั ด ​ก รอง ประมวล​แ ละ​วิ เ คราะห์ ​ ข้อมูล และ​ทำ​หน้าที่​บริหาร​จัดการ​ความ​รู้ 2) หน่วย​บริหาร ​จั ด การ​ก าร​วิ จั ย ​แ ละ​พั ฒ นา 3) หน่ ว ย​บ ริ ห าร​จั ด การ​ ด้าน​ความ​ปลอดภัย​และ​ความ​เสี่ยง​เกี่ยว​กับ​กัมมันตรังสี 4) หน่วย​บริหาร​จัดการ​ภาพ​ลักษณ์อ​ งค์กร 4) หน่วย​ติดตาม​ และ​ประเมิน​ผล ทรัพยากร (Resources) เพื่อ​ให้การ​ดำเนิน​งาน​ ของ ปส. บรรลุ​เป้า​หมาย​ตาม​วิสัย​ทัศน์​ที่​กำหนด​ไว้​อย่าง​มี​ ประสิทธิภาพ จำเป็นต​ ้อง​อาศัยก​ าร​บริหาร​จัดการ​ทรัพยากร​ ให้เ​หมาะ​สม​กบั ภ​ ารกิจ ใน​ทน​ี่ แ​ี้ บ่งท​ รัพยากร​ดงั ก​ ล่าว​ออก​เป็น 4 กลุ่ม​หลัก ได้แก่ การ​พัฒนา​ทรัพยากร​บุคคล การ​แสวงหา​ และ​ครอบ​ครอง​องค์​ความ​รู้ การ​บริหาร​งบ​ประมาณ​อย่าง​มี​ ประสิทธิภาพ และ​การ​สร้าง​แรง​จูงใจ​แก่บ​ ุคลากร อย่างไร​ก็ตาม องค์ป​ ระกอบ​ที่​สำคัญ​อีก​ประการ​หนึ่ง​ คือ ปัจจัย​ที่​จะ​ส่ง​ผล​ให้​เกิด​การ​เปลี่ยนแปลง (Change Factors) ทีช​่ ดั เจน ซึง่ ไ​ด้แก่ 1) การ​ปรับโ​ครงสร้าง​องค์กร​เพือ่ ​ ให้ส​ ามารถ​รองรับก​ าร​ทำ​หน้าทีข​่ อง ปส. อย่าง​มป​ี ระสิทธิภาพ​ ใน 10 ปี​ข้าง​หน้า 2) การ​ปรับ​เปลี่ยน​วัฒนธรรม​องค์กร​ ด้วย​ความ​ร่วม​มือ​ร่วมใจ​ของ​บุคลากร​ภายใน ปส. และ 3) การ​มี​เส้น​ทาง​อาชีพ​ของ​บุคลากร ปส. ทีช่​ ัดเจน เพื่อ​ให้​เกิด​ การ​พัฒนา​ความ​สามารถ​และ​ความ​เชี่ยวชาญ​อย่าง​จำเพาะ​ เจาะจง​ใน​แต่ละ​สาขา หลัง​จาก​นี้ ผู้​บริหาร และ​บุคลากร​ของ ปส. จะ​นำ OAP Roadmap ไป​ใช้​ใน​การ​จัด​ทำ​ยุทธศาสตร์​ใน​การ​ ดำเนิน​การ​ของ​องค์กร​ต่อ​ไป

การ​จัด​ทำ​แผนที่​นำทาง คือ กระบวนการ​ใน​การ​มอง​อนาคต​ของ​ เทคโนโลยี​เพื่อ​เตรียม​ความ​พร้อม​ของ​หน่วย​งาน​หรือ​องค์กร​ใน​การ​ ที่​ทำงาน​หรือ​ทำ​วิจัย​ให้​สอดคล้อง​กับ​ความ​ต้องการ​หรือ​แนว​โน้ม ​ใน​อนาคต แผนที่​นำทาง​ได้​จาก​การ​พิจารณา แนว​โน้ม​ของ​ตลาด (Market Trends) ปัจจัย​ที่​เป็น​แรง​ผลัก (Drivers) รูป​แบบ​ของ​ ผลิตภัณฑ์ (Product) บริการ (Services) เทคโนโลยี (Technology) และนโยบาย​และ​โครงสร้าง​พื้น​ฐาน (Policy and Infrastructure) 1/27/12 1:59:41 PM


การคาดการณ์อนาคต กับการเตรียมความพร้อมในภาวะวิกฤติ

สุชาต อุดมโสภกิจ

กล่าว​ได้​ว่า​สิงคโปร์​มี​ขีด​ความ​สามารถ​ใน​การ​บริหาร​จัดการ​ภาวะ​วิกฤติ​ได้ด​ ี​ใน​ระดับ​หนึ่ง เพราะ​กลไก​การ​ทำงาน​ของ​ หน่วย​งาน​รัฐ ภาค​เอกชน และ​ภาค​ประชา​สังคม มี​ความ​สอดคล้อง​กัน ดังใ​น​กรณี​การ​ระบาด​ของ​โรค​ซาร์ส​และ​วิกฤติ​ ทาง​เศรษฐกิจ ซึ่งเ​ป็น​ผล​จาก​การ​คาด​การณ์อ​ นาคต​ของ​หน่วย​ยุทธศาสตร์อ​ นาคต (Centre for Strategic Futures, CSF) ของ​สิงคโปร์* ที่​ได้​เตรียม​การณ์ส​ ำหรับภ​ าวะ​วิกฤติไ​ว้​ล่วง​หน้า

การ​คาด​การณ์อ​ นาคต​กับ​ภาวะ​วิกฤติ การ​พิ จ ารณา​อ นาคต​อ ย่ า ง​เ ป็ น ​ร ะบบ การ​ พยายาม​ระบุ​และ​ประเมิน​ความ​เสี่ยง​ต่างๆ ให้​ชัดเจน​ ที่สุด​เท่า​ที่​จะ​เป็น​ไป​ได้ จะ​ช่วย​ให้​สามารถ​หลีก​เลี่ยง​ หรือบ​ รรเทา​ความ​เสีย่ ง​เหล่าน​ นั้ ก​ อ่ น​ทจ​ี่ ะ​ถงึ ภ​ าวะ​วกิ ฤติ (ไม่ใช่ก​ าร​หลีกเ​ลีย่ ง​หรือเ​บีย่ ง​เบน​วกิ ฤติท​ จ​ี่ ะ​เกิดข​ นึ้ อ​ อก​ ไป) ซึ่ง​จะ​ช่วย​ลด​ผลก​ระ​ทบ​และ​เป็นการ​เตรียม​ความ​ พร้อม​ใน​การ​ตอบ​สนอง​ได้​ดี

การ​สื่อสาร​และ​การ​บรรเทา​ความ​เสี่ยง การ​สื่ อ สาร​ค วาม​เ สี่ ย ง​มี ​ค วาม​ส ำคั ญ ​ม าก เนือ่ งจาก​เรา​ตอ้ งการ​การ​ยอมรับร​ ว่ ม​กนั ข​ อง​หน่วย​งาน​ ต่างๆ ที่​เกี่ยวข้อง​ใน​การ​ร่วม​มือ​กัน​แก้ไข​ปัญหา​อย่าง​ ทัน​ท่วงที การ​ตอบ​สนอง​ต่อ​ความ​เสี่ยง​อาจ​ไม่​สามารถ​ กระทำ​ได้​อย่าง​ทัน​ท่วงที แต่​การ​ที่​ได้​คิด​แนวทาง​การ​ ตอบ​สนอง​รปู แ​ บบ​ตา่ งๆ จาก​ภาพ​อนาคต​หลายๆ ภาพ​ ที่​ได้​จัด​ทำ​ไว้ จะ​ช่วย​ให้​เรา​ตอบ​สนอง​ต่อ​สถานการณ์​ที่​ เปลี่ยนแปลง​ไป​ได้​อย่าง​เหมาะ​สม โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​ เมื่อ​ความ​เสี่ยง​เหล่า​นั้น​กลาย​เป็น​วิกฤติ การ​ระบุ​และ​ประเมิน​ความ​เสี่ยง ภาพ​ประกอบ​แสดง​ให้​เห็น​ความ​เสี่ยง​ต่างๆ ที่​ สามารถ​ทำได้​ด้วย​ความ​ร่วม​มือ​ของ​หลายๆ หน่ ว ย​ง าน​ช่ ว ย​กั น ​ร ะบุ ​แ ละ​ป ระเมิ น ​ค วาม​เ สี่ ย ง​ที่ ​ สัมพันธ์​กับ​การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​สภาพ​ภูมิ​อากาศ ซึ่ง​ เกี่ยวข้อง​กับ​แนว​โน้ม​ต่างๆ ที่​เกิด​ขึ้น ด้วย​กระบวนการ​ ทำให้​เกิด​วิกฤติ​ด้าน​สภาพ​ลม​ฟ้า​อากาศ​และ​หาย​นภัย​ ต่างๆ เช่น การก​วาด​จบั ส​ ญ ั ญาณ (Horizon Scanning) ต่างๆ ทีจ่​ ะ​ตาม​มา สิ่ง​เหล่า​นี้​ทำให้ห​ ่วง​โซ่​อุปทาน​ของ​ ร่วม​กับ​การ​ประเมิน​ความ​เสี่ยง การ​ศึกษา​ประเด็น​ โลก​ลด​นอ้ ย​ลง ความ​ตอ้ งการ​พลังงาน​ใน​แต่ละ​ภมู ภิ าค​ เชิง​ยุทธศาสตร์​ที่​อุบัติ​ใหม่ เป็นต้น จะ​ช่วย​ใน​การ​จับ​ สูง​ขึ้น และ​ความ​เปราะ​บาง​ด้าน​ทรัพยากร​ของ​สิงคโปร์​ สัญญาณ​อ่อนๆ ที่​อาจ​กลาย​เป็น​ปัญหา​ได้ ก็​จะ​สูง​ขึ้น การ​ตั้ง​คำถาม​ว่า ‘ถ้า​หาก’ (What if) และ ‘แล้ว​ นอกจาก​นี้ ​ก าร​เ ปลี่ ย นแปลง​ข อง​ส ภาพ​ภู มิ ​ จะ​เป็น​อย่างไร’ (So what) จะ​ช่วย​กระตุ้น​ให้​เกิด​การ​ อากาศ​อาจ​ทำให้​อุณหภูมิ​และ​ความชื้น​สูง​ขึ้น ส่งผ​ ล​ให้​ คิดถึง​ความ​เป็น​ไป​ได้​ต่างๆ ที่​จะ​เกิด​ขึ้น​ใน​อนาคต แล้ว​ เกิดโ​รค​ระบาด ระดับน​ ำ้ ท​ ะเล​ทส​ี่ งู ข​ นึ้ อ​ าจ​ทำให้น​ ำ้ ท​ ว่ ม นำ​ไป​สู่​ประเด็น​ที่​เรา​ไม่​เคย​คิดถึง​มา​ก่อน ซึ่ง​จะ​ช่วย​ สูญ​เสีย​ที่ดิน​และ​แหล่ง​น้ำ​จืด ระบบ​สาธารณูปโภค​ที่​มี​ ให้​เรา​มี​ความ​เข้าใจ​ว่า​แนว​โน้ม​เหล่า​นั้น​จะ​พัฒนา​ไป​สู่​ อยู่ เช่น โรง​พยาบาล ท่าเรือ สนามบิน โครง​ข่าย​ไฟฟ้า​ ความ​ตึงเครียด​ได้​อย่างไร​บ้าง โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​เมื่อ​ และ​น้ำ เป็นต้น จะ​สามารถ​รับมือ​กับ​ความ​ตึงเครียด​ ถูก​กระตุ้น​ด้วย​เทคโนโลยี เหล่า​นี้​ได้​หรือ​ไม่ และ​เมื่อ​สิ่ง​เหล่า​นี้​ก่อ​ให้​เกิด​ผล​ร่วม​ อย่างไร​ก็ตาม กิจกรรม​นี้​ต้อง​ดำเนิน​การ​ผ่าน​ กันอ​ าจ​ทำให้ก​ าร​ดำรง​ชวี ติ ข​ อง​ชาว​สงิ คโปร์แ​ ละ​ขดี ค​ วาม​ เครือ​ข่าย​ที่​มี​มุม​มอง​หลาก​หลาย​ทั้ง​ใน​ระดับ​ประเทศ​ สามารถ​ใน​การ​แข่งขัน​ของ​ประเทศ​มี​ปัญหา และ​ระดับน​ านาชาติ สิง่ ห​ นึง่ ท​ ม​ี่ ค​ี วาม​สำคัญไ​ม่ย​ งิ่ ห​ ย่อน​ จะ​เห็นไ​ด้ว​ า่ การ​ตอบ​สนอง​ตอ่ ค​ วาม​เสีย่ ง​ตา่ งๆ ไป​กว่า​กัน​คือ ความ​เป็น​หนึ่ง​เดียว​ของ​รัฐ (Whole-of- ที่​ระบุ​ไว้​ข้าง​ต้น​ต้อง​อาศัย​หน่วย​งาน​ต่างๆ ไป​รับ​ผิด​ Government) ซึ่ง​จะ​ทำให้​หน่วย​งาน​ของ​รัฐ​มี​การ​ทำ​ ชอบ​แต่ละ​ประเด็น เช่น การ​จัดการ​พลังงาน​อย่าง​มี​ หน้าที่​อย่าง​สอดคล้อง​กัน​ใน​การ​จัดการ​ความ​เสี่ยง​ด้วย​ ประสิทธิภาพ โครงสร้าง​ของ​การ​ระบาย​น้ำ การ​บริหาร​ ความ​ตระหนัก​ใน​ความ​เสี่ยง​และ​เหตุการณ์​ที่​จะ​เกิด​ จัดการ​มลภาวะ ความ​มั่นคง​ของ​ทรัพยากร เป็นต้น ขึ้น​ร่วม​กัน การ​พิจารณา​ภาวะ​วิกฤติ​ต่างๆ ทีอ่​ าจ​เกิดข​ ึ้น​ยังช​ ่วย​ให้​ ระดับน​ โยบาย​เห็นถ​ งึ ช​ อ่ ง​วา่ ง​ของ​ขดี ค​ วาม​สามารถ​และ​ ที่มา: Kwa Chin Lum. Foresight and crisis preparedness: the กระบวนการ​ที่​มี​อยู่ ซึ่ง​จะ​นำ​ไป​สู่​การ​พัฒนา​เพื่อ​รับมือ​ Singapore experience. Global is Asian, Issue12, Oct-Dec กับ​เหตุการณ์​ต่างๆ อย่าง​ทันท​ ่วงที 2011, p42-43. * Centre for Strategic Futures (CSF) เป็น​หน่วย​งาน​ภาย​ใต้ Public Service Devision (PSD) ของ​สิงคโปร์ เป็น​ หน่วย​งาน​ของ​รัฐ​ทำ​หน้าที่​ให้​บริการ​แก่​สาธารณะ​อย่าง​มี​ประสิทธิภาพ ซึ่ง​รวม​ถึง​โครงสร้าง​พื้น​ฐาน การ​ศึกษา ที่​อยู่​อาศัย กฎหมาย สิ่ง​แวดล้อม โดย​มี​การ​เรียน​รู้​และ​คาด​การณ์​อนาคต​อย่าง​ต่อ​เนื่อง เพื่อ​เตรียม​ความ​พร้อม​และ​เพื่อ​ให้​มั่นใจ​ว่า​จะ​ สามารถ​ให้​บริการ​อย่าง​ใน​ระดับ​ดี​เยี่ยม​อย่าง​ไม่​ขาดตอน​และ​มี​การ​พัฒนา​ตลอด​เวลา

Horizon08.indb 11

11 :

1/27/12 1:59:43 PM


I nสุชาต&อุดมโสภกิ O utจ

ก ว่ า จ ะ ม า เ ป็ น

สมาร์ทโฟน ทุกว​ นั น​ เ​ี้ รา​พบ​คน​กม้ ห​ น้าเ​ดินก​ นั ม​ าก​ขนึ้ คุยก​ บั ค​ น​ขา้ ง​กาย​นอ้ ย​ลง แต่ค​ ยุ ก​ บั ค​ น​ทอ​ี่ ยูค​่ นละ​ซกี โ​ลก​มาก​ขนึ้ และ​ เรา​ใช้ ‘นิ้ว’ คุย​กัน​มาก​ขึ้น อย่า​แปลก​ใจ​หาก​พบเห็น​คน​บาง​คน​ไม่​สนใจ​ว่า​เขา​จะ​เดิน​ไป​ไหน หรือ​หนทาง​ข้าง​หน้า​จะ​เป็น​อย่างไร หรือเ​ขา​ทำตัว ‘ขัด​ขวาง​ความ​ก้าวหน้า’ แค่ไ​หน เพราะ​ขณะ​นั้น​เขา​กำลังส​ นใจ​สิ่ง​ที่​อยู่​ใน​มือ…สมา​ร์ทโ​ฟน เรา​ลอง​ย้อน​กลับไ​ป​ดู​ซิ​ว่า...กว่าจ​ ะ​เป็น​สมา​ร์ท​โฟน​ใน​มือ​เรา มัน​ผ่าน​ร้อน​ผ่าน​หนาว​มา​อย่างไร​บ้าง

ค.ศ. 1908 สิทธิบ​ ตั ร​อเมริกนั ห​ มายเลข 887357 ของ Nathan B. Stubblefield เป็นส​ ทิ ธิบ​ ตั ร​แรก​ ที่​เกี่ยว​กับ​โทรศัพท์ไ​ร้​สาย ค.ศ. 1945 โทรศัพท์​เคลื่อนที่​ยุค 0G (Zero Generation) ถือ​กำเนิด​ขึ้น แต่​ยัง​ไม่​ถูก​เรียก​ว่า ‘โทรศัพท์เ​คลือ่ นที’่ อย่าง​เป็นท​ างการ เพราะ​ผใ​ู้ ช้ย​ งั ไ​ม่ส​ ามารถ​เคลือ่ น​ยา้ ย​จาก​ฐาน​หนึง่ (พืน้ ทีท​่ ส​ี่ ถานีใ​ห้บ​ ริการ – ‘เซลล์’) ไป​ยงั อ​ กี ฐ​ าน​หนึง่ อ​ ย่าง​อตั โนมัติ จน​กระทัง่ Bell Labs พัฒนา​เทคโนโลยี​เกี่ยว​กับ​ฐาน​ให้​บริการ​ใน​อีก 2 ปี​ถัด​มา และ​ได้​รับ​การ​พัฒนา​มา​ โดย​ตลอด​จนถึง​ทศวรรษ 1960 ค.ศ. 1973 วัน​ที่ 8 เมษายน Martin Cooper ผู้​จัดการ​ของ​โม​โต​โร​ลา​เป็น​คน​แรก​ที่​ใช้​โทรศัพท์​ เคลื่อนที่​แบบ​มือ​ถือ (Handheld Mobile Phone) ... ผ่าน​โมเด็ม ค.ศ. 1982 โนเกียเ​ปิดต​ วั โ​ทรศัพท์เ​คลือ่ นทีร่​ นุ่ Mobira Senator ซึง่ เ​ป็นก​ลอ่ ง​สเี่ หลีย่ ม​ขนาด​ใหญ่ มี​หหู​ ิ้ว เพราะ​ถูก​ออกแบบ​ให้​ใช้​ใน​รถ (ตอน​นั้น​ไม่มี​ใครบ้า​พอที่​จะ​หิ้ว​เจ้า​เครื่อง​นี้​แล้ว​ เดิน​คุย เพราะ​อาจ​ทำให้​หัว​ไหล่​หลุด) ค.ศ. 1984 Bell Labs ซึง่ พ​ ฒ ั นา​เทคโนโลยีเ​กีย่ ว​กบั ฐ​ าน​ให้บ​ ริการ​สญ ั ญาณ ได้ป​ ระดิษฐ์เ​ทคโนโลยี​ ที่​เรียก​ว่า ‘Call Handoff’ ซึ่ง​ทำให้​ผู้​ใช้โ​ทรศัพท์​เคลื่อนที่​เดิน​ทาง​ผ่าน ‘เซลล์’ ต่างๆ ได้​โดย​การ​สนทนา​ไม่​ขาดตอน ค.ศ. 1990 โทรศัพท์​เคลื่อนที่​เข้า​สู่​ยุค 2G โดย​สหรัฐอเมริกา​เริ่มใ​ช้​เครือ​ข่าย GSM เป็นค​ รั้งแ​ รก โดย​ชว่ ง​แรกๆ ระบบ 1G กับ 2G ใช้ค​ ลืน่ 900 MHz ร่วม​กนั และ​ตอ่ ม​ า​ระบบ 1G ซึง่ ​ : 12

Horizon08.indb 12

1/27/12 1:59:50 PM


เป็นอ​ ะ​นา​ลอ็ ก​กท​็ ยอย​ปดิ ต​ วั ล​ ง ใน​ขณะ​เดียวกันโ​ทรศัพท์​ เคลื่อนที่​ที่​มี​ขนาด​ใหญ่​เทอะทะ (บาง​คน​เปรียบ​เปรย ​ว่า​เวลา​คุย​โทรศัพท์​ที​เหมือน ‘หมา​แทะ​กระดูก’) ก็​เริ่ม​ มี​ขนาด​เล็ก​ลง​เรื่อยๆ จน​กลาย​เป็น ‘โทรศัพท์​มือ​ถือ’ ใน​ที่สุด ที่​เป็น​เช่น​นี้​ได้​เพราะ​การ​พัฒนา​เทคโนโลยี​ แบต​เต​อรี​และ​วงจร​ภายใน​เครื่อง​ที่​ใช้​พลังงาน​อย่าง​มี​ ประสิทธิภาพ ค.ศ. 1993 The Simon Personal Communicator ร่วม​กับ IBM9 และ BellSouth วาง​ตลาด​โทรศัพท์​มือ​ถือ​โฉม​ใหม่​ที่​ ผนวก PDA (Personal Digital Assistant) เข้าไป​ด้วย ทำให้​เกิด​อุปกรณ์​ที่​ทำ​หน้าที่​ทั้ง​โทรศัพท์ เพจ​เจอร์ เครื่อง​คิด​เลข สมุด​บันทึก​ที่​อยู่ โทรสาร และ​อีเมล โดย​ มี​น้ำ​หนัก​ประมาณ 500 กรัม ค.ศ. 1995 โนเกีย​ให้​บริการ​ส่ง​ข้อความ​ผ่าน​โทรศัพท์​มือ​ถือ​ใน​จีน​ และ​ญี่ปุ่น ค.ศ. 1996 โทรศัพท์​มือ​ถือ​เริ่ม​แปลง​โฉม​จาก​เน้น ‘ฟัง​กช์ น่ั ’ ไป​เน้น ‘แฟชัน่ ’ เช่น โม​โต​โร​ลา​ออก ​โทรศัพท์​มือ​ถือ​รุ่น Razr ซึ่ง​ม​ขี นาด​เล็ก น้ ำ หนั ก ​ไ ม่ ​ถึง 100 กรั ม มี​ฝา​พับ คล้าย​หอย(Clamshell Phone) และเหน็บ​เข้ากับเข็มขัด​ได้ ค.ศ. 1998 เทคโนโลยีบ​ ลูท​ ธู (Bluetooth) กำเนิดข​ นึ้ ด​ ว้ ย​ความ​ตงั้ ใจ​ จะ​ใ ช้ ​เ พื่ อ ​ท ดแทน​ก าร​ส่ ง ​สั ญ ญาณ​เ สี ย ง​แ ละ​ข้ อ มู ล​ ผ่าน​สาย แล้ว​บูล​ทูธ​ก็​มา​เป็น​เพื่อน​สนิท​กับ​โทร​ศัพท์​ มือ​ถือ ก่อน​จะ​เริ่ม​ไป​คบหา​กับ​อุปกรณ์​อิเล็กทรอนิกส์​ ชนิด​อื่นๆ ค.ศ. 1999 โทรศั พ ท์ ​มื อ ​ถื อ ​เ จ้ า ​เ สน่ ห์ ​น าม BlackBerry ของ Research in Motion (RIM) สัญชาติแ​ คนาดา ก็อ​ อก​มา ​ให้ย​ ล​โฉม พร้อมๆ กับล​ ูก​เล่นแ​ พรวพราว ได้แก่ อีเมล โทรศัพท์ ส่งข​ อ้ ความ ส่งแ​ ฟ็กซ์ผ​ า่ น​อนิ เทอร์เน็ต เข้าเ​ว็บ และ​ใช้​บริการ​ไร้​สา​ยอื่นๆ และ​แน่นอน...จาก​รุ่น​แรก​ที่​ หน้าจ​ อ​เป็น​ขาว-ดำ​ก็​เป็น​ล้าน​สี​ไป​เรียบร้อย ค.ศ. 2000 เริ่ม​พัฒนา​ระบบ 3G พร้อมๆ กับ​วาง​มาตรฐาน (เช่น การ​ส่ง​ถ่าย​ข้อมูล​ด้วย​ความเร็ว 2 Mbit/s ใน​อาคาร และ 384 kbit/s นอก​อาคาร เป็นต้น) แต่ก​ ่อน​จะ​ได้ 3G ก็ม​ ี 2.5G มา​ใช้​แก้ขัด​ก่อน เช่น CDMA2000-1X, GPRS และ EDGE ซึง่ พ​ ฒ ั นา​ตอ่ ย​อด​จาก 2G จน​กระทัง่ ​

ต้น​ศตวรรษ​ที่ 21 จึงม​ ี 3G ใช้ก​ ัน ค.ศ. 2001 จะ​มี​ใคร​รู้​บ้าง​ว่า ‘โทรศัพท์ช​ าญ​ฉลาด’ (Smart Phone) เครื่อง​แรก​คือ Kyocera รุ่น QCP6035 ออก​ตี​ตลาด​ พร้อมๆ กับร​ ะบบ​ปฏิบตั ก​ิ าร Palm-OS และ​หน่วย​ความ​จำ​ ถึง 8MB จัดเ​ป็น​อุปกรณ์ป​ ระเภท All-in-One เพราะ​ทำ​ หน้าที่​ทั้ง​โทรศัพท์ เพจ​เจอร์ PDA เฝ้าห​ ุ้น หา​โรง​และ​ รอบ​ชม​ภาพยนตร์ หา​ตาราง​บิน ฯลฯ นี่​คือ​หัว​หอก​ของ​ สมา​ร์ทโ​ฟน​ใน​ยุค​ต่อๆ มา ค.ศ. 2002 โทรศัพท์​มือ​ถือ​ติดก​ ล้อง​ตัว​แรก​คือ Sanyo SCP-5300 ออก​วาง​ตลาด​ใน​สหรัฐอเมริกา โดย​สามารถ​จับ​ภาพ​ ขนาด 640x480 พิกเซล​ได้ (อย่า​นำ​ไป​เปรียบ​เทียบ​กับ​ ทีเ​่ ราๆ ท่านๆ ใช้ก​ นั อ​ ยูใ​่ น​ปจั จุบนั ท​ ม​ี่ ค​ี วาม​ละเอียด​ของ​ ภาพ​ร่วม 10 ล้าน​พิกเซล) ค.ศ. 2005 โม​โต​โร​ลา​จับ​เอา​สิ่ง​ที่​ดี​ที่สุด 2 สิ่ง(ใน​ขณะ​นั้น)มา​ไว้​ ด้วย​กัน คือ​ดีไซน์​ของ​โทรศัพท์​มือ​ถือ​โม​โต​โร​ลา​และ​ เครือ่ ง​เล่นเ​พลง iTune ของ​แอปเปิล กลาย​เป็น Motorola Rokr ที่​วัย​โจ๋​และ​ไม่​โจ๋​ทั้ง​หลาย​ล้วน ‘โดน’ กัน​เป็น​ แถว เพราะ​ทำให้​เขา​เหล่า​นั้น​ฟัง​เพลง​ขณะ​เดิน​ทาง​ได้ (แต่​อาจ​ถูกค​ ั่น​โฆษณา​ด้วย​สาย​เรียก​เข้า) ค.ศ. 2007 แอปเปิลเ​ปิดต​ วั iPhone รุน่ แ​ รก​ทย​ี่ งั ใ​ช้เ​ทคโนโลยี 2.5G แต่​สามารถ​ส่ง​ข้อมูล​ผ่าน Wi-Fi ได้ ใน​ขณะ​เดียวกัน​ โทรศัพท์ม​ ือ​ถือท​ ี่​ใช้ 3G เริ่มแ​ พร่ห​ ลาย... ชาว​บ้าน​ติด​กันงอมแงม ค.ศ. 2008 เครือ​ข่าย​โทรศัพท์​เคลื่อนที่​แบ​บอะ​นา​ล็อก​ ปิด​ตัว​ลง ค.ศ. 2010 LG Optimus 2X เป็น​โทรศัพท์​มือ​ถือ​เครื่อง​แรก​ที่​ใช้ Processor แบบ Dual-core ค.ศ. 2011 แอปเปิล​เกทับ​ด้วย iPhone 4S ทีม่​ ี Processor Apple A5 แบบ Dual-core และ​มี​เสา​อากาศ​ทั้งส​ ำหรับ GSM และ CDMA ใน​ขณะ​ที่ LG Optimus 3D P920 เอา​ระบบ​ ภาพ​สาม​มิติ​แบบ​ไม่​ต้อง​ใส่​แว่น​มา​ดึงดูด​ผู้​ใช้ เทคโนโลยี ​โ ทรศั พ ท์ ​มื อ ​ถื อ​ยั ง ​ค ง​พั ฒนา​อ ย่ า ง​ ต่อ​เนื่อง แต่​มารยาท​ของ​ผู้​ใช้​โทรศัพท์​มือ​ถือ​เป็น​เรื่อง​ เฉพาะ​ตัว!!

ที่มา: ++ http://www.xtimeline.com/timeline/History-of-Mobile-Phones--Cell-Phones++ http://gizmodo.com/357895/the-analog-cellphone-timeline ++ http://www.dreamsrain.com/2011/10/17/evolution-of-cell-phone-since-last-38-years-infographic/

13 :

Horizon08.indb 13

1/27/12 1:59:54 PM


Q uestion area สุชาต อุดมโสภกิจ

คำถาม-คำตอบ เกี่ยวกับน้ำท่วม

Q: อย่างไร​จึง​จะ​เรียก​ว่า​น้ำ​ท่วม?

ใน​วัน​ที่​นนทบุรี​ไม่ใช่​เมือง​แห่ง​ ความ​รื่นเริง ปทุมธานี​ไม่มี​ดอกบัว ​ให้​เห็น กรุงเทพมหานคร​เกือบ​จะ​กลาย ​เป็ น ​ก รุ ง เทพ​ม หา​น ที และ​เรา​มี ​แ ม่ น้ ำ ​วิ ภ าวดี ​เป็ น ​แ ม่ น้ ำ ​ส าย​ใหม่ คำ​ว่ า ‘น้ ำ ​ท่ ว ม’ กลาย​เป็ น ​ค ำ​เขย่ า ​ข วั ญ ​สั่ น ​ป ระสาท​ค น​ไทย Q&A ฉบั บ ​นี้ ​ข อ​เสนอ​ค ำ​อ ธิ บ าย​บ าง​แ ง่ ​มุ ม​ เกี่ ย ว​กั บ ​น้ ำ ​ท่ ว ม ด้ ว ย​ค วาม​ห วั ง ​ว่ า ​ผู้ ​อ่ า น​จ ะ​คุ้ น ​เคย​แ ละ​มี ​ค วาม​เข้ า ใจ ‘น้อง​นำ้ ’ มากกว่าท​ ผ​ี่ า่ น​มา

A: น้ำ​ท่วม​เป็น​ปรากฏการณ์​ที่​น้ำ​ไหล​บ่า​ไป​สู่​พื้น​ดิน​ที่​เคย​แห้ง​มา​ก่อน อาจ​เกิด​ขึ้น​เมื่อ​มี​ฝน​ตกหนัก มี​คลื่น​ ใน​ทะเล​ซดั เ​ข้าส​ ช​ู่ ายฝัง่ อ​ ย่าง​รนุ แรง หิมะ​ละลาย​อย่าง​รวดเร็ว หรือเ​ขือ่ น/ฝาย​แตก น้ำท​ ว่ ม​อาจ​มร​ี ะดับน​ ำ้ เ​พียง​ ไม่​กี่​เซนติเมตร​ไป​จนถึง​มิด​หลังคา​บ้าน อย่างไร​ก็ตาม น้ำ​ท่วม​ที่​อันตราย​มาก​คือ ‘น้ำ​ท่วม​ฉับ​พลัน’ (Flash Flood) ซึ่ง​เกิด​ขึ้น​โดย​ไม่​สามารถ​เตือน​ภัย​หรือ​เตือน​ภัย​ได้​ใน​เวลา​กระชั้น​ชิด นอก​นั้น​เป็น​น้ำ​ท่วม​ที่​เกิด​ขึ้น​เป็น​ เวลา​ยาวนาน​หลาย​วัน หลาย​สัปดาห์ หรือ​หลาย​เดือน

Q: อย่างไร​จึง​จะ​เรียก​ว่า​น้ำ​ท่วม​จาก​แม่น้ำ (River Flood)?

A: น้ำ​ท่วม​จาก​แม่น้ำ​เกิด​ขึ้น​เมื่อ​ระดับ​น้ำ​ใน​แม่น้ำ​สูง​ขึ้น​เนื่องจาก​ฝน​ตก​บน​ผืน​แผ่น​ดิน​ใน​บริเวณ​หนึ่งๆ เป็น​ ปริมาณ​มาก (ฝน​ฟ้า​คะนอง) และ​เป็น​เวลา​นาน ใน​ต่าง​ประเทศ​อาจ​เกิด​จาก​หิมะ​จำนวน​มาก​ละลาย​อย่าง​ รวด​เร็ว​พร้อมๆ กัน

Q: อย่างไร​จึง​จะ​เรียก​ว่า​น้ำ​ท่วม​ชายฝั่ง (Coast Flood)?

A: น้ำ​ท่วม​ชายฝั่ง​เกิดข​ ึ้น​เมื่อ​มี​พายุ เช่น เฮ​อร์ร​ ิ​เคน พายุ​โซน​ร้อน ดีเปรสชั่น เป็นต้น ทำให้​ระดับน​ ้ำ​ใน​ทะเล​ สูง​ขึ้น (Storm Surge) จน​ท่วม​ชายฝั่ง ‘Storm Surge’ เป็น​ปรากฏการณ์​ทนี่​ ้ำใ​น​ทะเล​ถูกด​ ัน​เข้าไป​ยัง​ชายฝั่ง​ เนือ่ งจาก​อทิ ธิพล​ของ​ลม​ทห​ี่ มุนว​ น​อยูใ​่ น​พายุ และ​เมือ่ ร​ วม​กบั ค​ ลืน่ ใ​น​ทะเล​ทม​ี่ อ​ี ยูแ​่ ต่เ​ดิมท​ ำให้ร​ ะดับน​ ำ้ ท​ ะเล​สงู ​ ขึ้น​ถึง 4 เมตร​หรือเ​กิน​กว่า​นั้น ปรากฏการณ์ Strom Surge ใน​มล​รัฐเ​ท็กซัส สหรัฐอเมริกา เมื่อ​ปี ค.ศ. 1900 ทำให้ส​ ูญ​เสียช​ ีวิต​ผู้คน​ไป​อย่าง​น้อย 8,000 คน

Q: อย่างไร​จึง​จะ​เรียก​ว่า​น้ำ​ท่วม​ฉับ​พลัน (Flash Flood)?

A: น้ำท​ ว่ ม​ฉบั พ​ ลันเ​ป็นป​ รากฏการณ์ท​ น​ี่ ำ้ ใ​น​แม่นำ้ ห​ รือใ​น​พนื้ ทีล​่ มุ่ ต​ ำ่ ม​ ร​ี ะดับส​ งู ข​ นึ้ อ​ ย่าง​รวดเร็ว น้ำท​ ว่ ม​ฉบั พ​ ลัน​ มักเ​กิดข​ นึ้ ภ​ ายใน 6 ชัว่ โมง​เมือ่ ม​ ฝ​ี น​ตกหนักต​ ดิ ต่อก​ นั ซึง่ ม​ กั เ​ป็นผ​ ล​ของ​พายุห​ รือม​ ฝ​ี น​ฟา้ ค​ ะนอง​เป็นบ​ ริเวณ​กว้าง นอกจาก​นน​ี้ ำ้ ท​ ว่ ม​ฉบั พ​ ลันอ​ าจ​เกิดข​ นึ้ จ​ าก​เขือ่ น​หรือฝ​ าย​แตก หรือม​ ก​ี าร​ปล่อย​นำ้ ท​ เ​ี่ ก็บก​ กั ไ​ว้ใ​น​ปริม​ าณ​มากๆ ฝน​ที่​ตกหนัก​ใน​แถบ​ภูเขา​อาจ​ส่ง​ผล​ให้เ​กิด​น้ำ​ท่วม​ฉับ​พลันใ​น​บริเวณ​หุบเขา​เบื้อง​ล่าง​ได้ : 14

Horizon08.indb 14

1/27/12 1:59:55 PM


Q: เหตุ​ใด​น้ำ​ท่วม​ฉับ​พลัน​จึง​อันตราย​มาก?

A: น้ำ​ท่วม​ฉับ​พลันเ​กิด​ขึ้น​โดย​ไม่มี​การ​เตือน​ภัย​หรือ​มี​เวลา​เตือน​ภัย​น้อย น้ำ​ท่วม​ฉับ​พลัน​ทำลาย​ทรัพย์สิน​และ​ชีวิต​ ได้​อย่าง​รวดเร็ว โดย​เฉพาะ​เมื่อ​อยู่​ใน​บริเวณ​ริม​ตลิ่ง​หรือ​พื้นแ​ ม่น้ำค​ ู​คลอง​ที่​เคย​แห้ง​ผาก (Arroyo) มา​ก่อน น้ำ​ท่วม ​ฉับ​พลัน​มี​พลัง​มหาศาล สามารถ​ทำให้​หิน​ก้อน​ใหญ่ๆ กลิ้ง​ได้ ฉีก​ต้นไม้​ใหญ่​เป็น​ชิ้นๆ ได้ ทำลาย​อาคาร​ทั้งห​ ลัง​หรือ​ สะพาน​ได้ รวม​ทงั้ ส​ ามารถ​สร้าง​ทาง​นำ้ ส​ าย​ใหม่ไ​ด้ น้ำท​ ว่ ม​ฉบั พ​ ลันใ​น​พนื้ ทีท​่ ม​ี่ ค​ี วาม​ลาด​ชนั ส​ งู อ​ าจ​กอ่ ใ​ห้เ​กิดป​ ญ ั หา​ ซ้ำ​เติม​โดย​ทำให้​เกิด​โคลน​ถล่ม (Mud Slide) ที่​สร้าง​ความ​สูญ​เสีย​แก่​ชีวิตแ​ ละ​ทรัพย์สิน

Q: บริเวณ​ใด​บ้าง​ที่​มี​ความ​เสี่ยง​จาก​น้ำ​ท่วม​ฉับ​พลัน?

A: พื้นที่​ที่​มี​ประชากร​อาศัย​อยู่​หนา​แน่น เนื่องจาก​มี​การ​ก่อสร้าง​อาคาร ถนน ที่​จอด​รถ ทำให้​มี​พื้นที่​รองรับ​น้ำ​ น้อย​ลง ปริมาณ​น้ำ​ที่​ไหล​ผ่าน (Runoff) จึง​มาก​ขึ้น แล้ว​ทำให้​เกิด​น้ำ​ท่วม​ฉับ​พลัน​ใน​ที่สุด นอกจาก​นี้ ชั้น​ใต้​ดิ​น ข​อง​อาคาร ที่​จอด​รถ​ใต้ดิน และ​อุโมงค์​ทาง​ลอด ก็​จัด​เป็นพ​ ื้นทีท่​ ี่​มี​ความ​เสี่ยง​จาก​น้ำท​ ่วม​ฉับ​พลัน​เช่นก​ ัน พื้นที่​ที่​อยู่​ใกล้​แม่น้ำ โดย​เฉพาะ​ริม​ตลิ่ง​ที่​มี​คัน​กั้น​น้ำ (Embankment, Levee) ก็​มี​ความ​​เสี่ยง​จาก​ น้ำ​ท่วม​ฉับ​พลัน ดัง​ตัวอย่าง​ที่​แม่น้ำ​มิสซิสซิปปี​ไหล​บ่า​เข้า​ท่วม​เมือง​นิ​วอ​อร์​ลีนส์​เมื่อ​ปี ค.ศ. 2005 เนื่องจาก ​คัน​กั้น​น้ำ​พัง​ลง​จาก​แรง​ดัน​น้ำ​ที่​สูง​ขึ้น​จาก​อิทธิพล​ของ​พายุ​คา​ทรีน​ า หรือ​นครสวรรค์ป​ ระสบ​กับ​น้ำท​ ่วม​ฉับ​พลัน​เมื่อ​ ปลาย​เดือน​ตุลาคม​ที่​ผ่าน​มา​เพราะ​คัน​กั้น​น้ำ(ชั่วคราว)พัง​ลง ทำให้​น้ำ​ใน​แม่น้ำ​เจ้าพระยา​ทะลัก​เข้า​ท่วม​ตัว​เมือง​ อย่าง​รวดเร็ว เขื่อน​พัง​สามารถ​ส่ง​มวล​น้ำไ​ป​ทำลาย​สิ่ง​ที่​อยู่​ขวาง​หน้า​ได้​อย่าง​รวดเร็ว มักเ​กิดก​ ับ​เขื่อน​ดิน ใน​ปี ค.ศ. 1889 เขื่อน​ที่​อยู่​ตอน​เหนือ​ของ​จอห์นส​ทาวน์ มลรัฐ​เพนซิลวาเนีย สหรัฐอเมริกา ได้​พังล​ ง ทำให้​มผี​ ู้​เสียช​ ีวิต​ถึง 2,200 ราย​ภายใน​ไม่​กนี่​ าที​ด้วย​น้ำ​ที่มา​จาก​เขื่อน​และ​มี​ระดับ​ความ​สูง​ไม่​น้อย​กว่า 10 เมตร อย่า​เดิน​เล่น​ริม​แม่น้ำ​ขณะ​ที่​เกิด​ฝน​ฟ้า​คะนอง​ใน​แถบ​นั้น ฝน​ที่​ตกหนัก​ใน​แถบ​ภูเขา​เป็น​เวลา​นาน​อาจ​ทำให้​ ลำ​ธาร​เล็กๆ ที่​มี​ความ​กว้าง​เพียง 15 เซนติเมตร​กลาย​เป็นค​ ลอง​ที่​มี​ความ​กว้าง 3 เมตร​ได้​ภายใน​ไม่ถ​ ึง​ชั่วโมง สิ่งที่​ อันตราย​คือ​สายน้ำ​ที่​มี​ความ​เชี่ยว​กราก หินแ​ ละ​ดินโ​คลน​ที่​ถูก​ซัดม​ า​พร้อม​กับ​น้ำ

Q: ปัจจัย​ใด​บ้าง​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​น้ำ​ท่วม?

A: ปริมาณ​น้ำ​ฝน​เป็น​ปัจจัย​หลักท​ ี่​ทำให้​เกิด​น้ำ​ท่วม แต่​มี​ปัจจัย​อื่น​ที่​เกี่ยวข้อง​ด้วย ได้แก่ ความ​สามารถ​ใน​การ​เก็บ​ กัก​น้ำ (Catchment) ซึ่ง​ขึ้น​กับข​ นาด​หรือค​ วาม​จุ รูป​ร่าง และ​การ​ใช้ท​ ี่ดิน​ของ​แหล่ง​เก็บ​น้ำ น้ำฝ​ น​บาง​ส่วน​ถูกด​ ูดซับ​ โดย​พื้นที่​เพาะ​ปลูก ที่​เหลือ​จึง​ไป​ตาม​ทาง​น้ำ (Waterway) ด้วย​เหตุ​นี้ ของฝาก ขนาด​และ​รูป​ร่าง​ของ​แม่น้ำ พื้นที่​เพาะ​ปลูก และ​สิ่ง​ปลูก​สร้าง​ต่างๆ ที่​อยูใ่​น​บริเวณ​และ​ใกล้ๆ ทาง​น้ำจ​ ึง​ล้วน​มี​ผล​ต่อ​ระดับ​น้ำใ​น​ทาง​น้ำ 法 แปลว่ า ทาง (Way) มาจาก 2 คำคือ 水 (น้ำ) และ 去 (ไป)

Q: เรา​สามารถ​จัดการ​ความ​เสี่ยง​จาก​ น้ำ​ท่วม​ได้​อย่างไร?

‘น้ ำ ย่ อ มมี ห นทางที ่ ม ั น จะไป’ (Water goes the way it goes.)

A: ความ​เสี่ยง​จาก​น้ำ​ท่วม​ประกอบ​ด้วย​ปัจจัย 2 ประการ​คือ โอกาส​ ที่​จะ​เกิด​น้ำ​ท่วม และ​ผลก​ระ​ทบ​ที่​จะ​เกิด​ขึ้น การ​ลด​ความ​เสี่ยง​จาก า: ​น้ำ​ท่วม​ทำได้​โดย​การ​วางแผน​การ​ใช้​ที่ดิน (Land Use Planning) โดย​ ที• ่มhttp://www.nssl.noaa.gov/primer/flood/ ต้อง​พิจารณา​ข้อมูล​พื้นที่​ที่​เคย​ถูก​น้ำ​ท่วม (Floodplain) การ​จัดการ​ fld_basics.html http://www.chiefscientist.qld.gov.au/ ความ​เสี่ยง​จาก​น้ำ​ท่วม​ใน​พื้นที่​ที่​ได้​รับ​การ​พัฒนา​แล้ว​มี​ความ​ยุ่ง​ยาก​กว่า •publications/understanding-floods.aspx อย่างไร​ก็ตาม การ​สร้าง​เขื่อน​หรือ​คัน​กั้น​น้ำ​จะ​ช่วย​ปรับ ‘พฤติกรรม’ • Ick Hwan Ko (2011) Water resources and flood disaster mitigation ของ​น้ำ​ได้ การ​ปรับปรุง​สิ่ง​ปลูก​สร้าง​จะ​ช่วย​ป้องกัน​ความ​สูญ​เสีย​จาก​ development in Korea. Special Lecture for Science, น้ำ​ท่วม​ต่อ​ตัว​อาคาร​ได้ นอกจาก​นี้ ชุมชน​ควร​มี​มาตรการ​ตอบ​สนอง​ที่​ technology and Innovation Policy for GMS Cooperastion Learning Program, 9 November เหมาะ​สม​เพื่อ​ลด​ความ​เสี่ยง​จาก​น้ำ​ท่วม 2011, Seoul National University, Korea. 15 :

Horizon08.indb 15

1/27/12 1:59:56 PM


G en

nex t

[text] [photo]

ศรีศกั ดิ์ พิกลุ แก้ว อนุช ยนตมุติ

หมอดินอินเตอร์

“การ​เป็น​นักเรียน​ทุน​อา​นันท​มหิดล สำหรับผ ​ ม​ไม่เ​คย​รสู้ กึ เ​ครียด​หรือก​ ดดัน แต่​กลับ​รู้สึก​ว่า​เป็น​แรง​กระตุ้น และ​ บางที​ยงั ​ถอื ​เป็น​กำลัง​ใจเสีย​ดว้ ย​ซำ้ ​วา่ เรา​มหี น้า​ท่ี เรา​มา​เพือ่ ​อะไร​บาง​อย่าง”

อภิ​นิติ โชติ​สังกาศ อาจารย์​หนุ่ม​ลูก​เกษตร เจ้าของ​ประโยค​เด็ด​ ข้าง​ต้น เดิน​มา​รับ​ทีม​งาน​เรา​ที่​หน้า​ตึก​วิศวกรรม​โยธา​พร้อม​กับ​ ยิ้ม​เป็น​กันเอง “ตอน​เด็กๆ เรา​ก็​ฝัน​ว่า​อยาก​เป็น​หมอ เป็น​ตำรวจ เป็น​ ทหาร เหมือน​เด็ก​ทั่วไป จน​เมื่อ​ถึง​สมัย​เรียน​มัธยม​ปลาย ได้​ เรียน​วิชา​เกี่ยว​กับ​วิทยาศาสตร์​ด้าน​ต่างๆ มาก​ขึ้น จึง​เริ่ม​มี​ความ​ คิด​ว่า​วิทยาศาสตร์​มัน​มี​เหตุ​และ​ผล​จับ​ต้อง​ได้​จริง และ​คิด​ว่า​เป็น​ ศาสตร์​ที่​จะ​พิสูจน์​ความ​จริง​ได้​มากกว่า​ศาสตร์​ด้าน​อื่นๆ หาก​จะ​ บอก​ว่า​เหตุการณ์​ครั้ง​นั้น​เป็น​แรง​บันดาล​ใจ​ให้​มี​วัน​นี้​ก็​ไม่​เกิน​เลย​ เสีย​ที​เดียว”

: 16

Horizon08.indb 16

1/27/12 1:59:59 PM


16 ปี​ผ่าน​ไป​ไว​เหมือน​โกหก นับ​จาก​ปี 2538 เมื่อ​ครั้ง​ยัง​เป็น​น้อง​ปี 1 สู่​นัก​ปฐพีวิทยา​อัน​ดับ​ต้นๆ ของ​ประเทศไทย ถาม​ว่า ณ วันน​ ี้​มี​อะไร​เปลี่ยน​ไป​จาก​ เมื่อ​ครั้ง​อดีต​บ้าง ดอกเตอร์ห​ นุ่ม​นั่ง​ครุ่นคิด​อยู่​สักพ​ ัก “ส่วน​ตัว​คิด​ว่า​ไม่มี​อะไร​เปลี่ยน​ไป​นะ ไม่ใช่​ว่า​ เรียน​จบ​กจ​็ บ​กนั ส่วน​ตวั ย​ งั ค​ ดิ ว​ า่ ต​ นเอง​ตอ้ ง​เรียน​รู้ ต้อง​ ค้นหา​ช่อง​ทาง​ที่​จะ​พัฒนา​ตนเอง​ให้​ดี​ขึ้น โดย​เฉพาะ​ ใน​ฐานะ​นัก​วิจัย​จะ​หยุด​ไม่​ได้ ต้อง​คิด​เสมอ​ว่า​งาน​วิจัย​ ของ​เรา​ยัง​มี​ช่อง​ว่าง​ให้​ปรับปรุง ให้​ได้​พัฒนา​งาน​ให้​ดี​ ยิ่ง​ขึ้นไ​ป​เรื่อยๆ” เมื่อ​มี​โอกาส​พบ​เจอ​นัก​ปฐพีวิทยา​ตัว​เอ้​ของ​ ประเทศไทย อด​ถาม​ไม่ไ​ด้ว​ า่ จริงๆ แล้วง​ าน​ปฐพีวทิ ยา​ มี​ความ​สำคัญ​อย่างไร และ​ใน​ยุค​แห่ง​ภัย​พิบัติ​อย่าง​เช่น​ ทุก​วัน​นี้ นัก​ปฐพีวิทยา​จะ​มี​บทบาท​ต่อ​ของ​สังคม​ไทย​ อย่างไร​บ้าง “งาน​ข อง​วิ ศ วกร​ป ฐพี ​จ ะ​เ ป็ น ​เ รื่ อ ง​ข อง​ก าร​ ออกแบบ การ​วิเคราะห์​โครงสร้าง​ต่างๆ ที่​เกี่ยวข้อง​ กับค​ ณ ุ สมบัตขิ​ อง​ดนิ แ​ ละ​หนิ หรือว​ า่ จ​ ะ​เป็นใ​น​เรือ่ ง​การ​ ใช้​ดิน​มา​เป็น​ส่วน​หนึ่ง​ของ​โครงสร้าง เช่น การ​สร้าง​ เขื่อน​ดิน​จะ​ต้อง​มี​การ​วิ​เครา​ห์​ส่วน​ประกอบ​ต่างๆ ว่า​ กำแพง​ดินร​ ูปแ​ บบ​ใด​ที่​ดี​ที่สุด จะ​ออกแบบ​อย่างไร และ​ จะ​เกิด​อะไร​ขึ้น​กับ​โครงสร้าง​หาก​มี​แผ่น​ดิน​ไหว​หรือ​ อุทกภัยเ​กิด​ขึ้น “สำหรับ​ใน​ประเทศ ณ ตอน​นี้​คิด​ว่าอ​ งค์​ความ​รู้ เรื่อง​นี้​มี​ความ​จำเป็น​อย่าง​มาก โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​ใน​ ยุค​ที่​มี​ภัย​พิบัติ​เกิด​ขึ้น​มาก ไม่​ว่า​จะ​เป็น​น้ำ​ท่วม ดิน​ ถล่ม แผ่น​ดิน​ไหว แผ่น​ดิน​ยุบ เนื่องจาก​หลัง​เกิด​ภัย​ พิบัติ​แล้ว​เรา​ต้อง​อาศัย​องค์​ความ​รู้​นี้​มา​วิเคราะห์​ดู​ว่า​ โครงสร้าง​พื้น​ฐาน​ต่างๆ หรือ​ชุมชน​จะ​ได้​รับ​ผลก​ระ​ทบ อย่างไร​บ้าง” จังหวะ​นี้​อาจารย์​อภิ​นิติ​ได้​กล่าว​ถึง​การ​ทำงาน​ ของ​ภาค​รัฐ​ไว้​น่า​สนใจ​ที​เดียว​ว่า “จริงๆ แล้ว​เรื่อง​องค์​ความ​รู้​ด้าน​ปฐพีวิทยา​นี้​ หน่วย​งาน​ราชการ​กม​็ อ​ี ย่าง​พอ​เพียง แต่ท​ ม​ี่ นั ม​ ป​ี ญ ั หา​ขนึ้ ​ มา​กเ​็ นือ่ ง​มา​จาก​การ​ตดั สินใ​จ​และ​การ​ประสาน​งาน​ทไ​ี่ ม่​ ดีพ​ อ ถ้าจ​ ะ​พดู ใ​ห้ถ​ กู ก​ ค​็ อื บ​ า้ น​เรา​ไม่มป​ี ญ ั หา​เชิงเ​ทคนิค​

แต่​จะ​มี​ปัญหา​เรื่อง​การ​จัดการ​มากกว่า” โลก​ทไ​ี่ ม่เ​หมือน​เดิม ชีวติ ท​ ไ​ี่ ม่เ​หมือน​เดิม แล้วเ​รา​ จะ​อยู่​กับ​โลก​นี้​อย่างไร “ผม​คิด​ว่า​หลัก​การทาง​วิทยาศาสตร์​ที่​จำ​เป็น​ มากๆ คือ การ​ตั้ง​สมมุติฐาน ทฤษฎี​อะไร​ต่างๆ แล้ว​ ก็​หา​หลัก​ฐาน​เชิง​ประจักษ์ หา​หลัก​ฐาน​จาก​พื้น​ที่​จริงๆ มา​เปรียบ​เทียบ จะ​แนะนำ​ใน​เชิง​วิชาการ​ก็​คง​ยาก​เกิน​ ไป หลักเ​บือ้ ง​ตน้ ท​ ช​ี่ าว​บา้ น​สามารถ​นำ​ไป​ใช้ได้ก​ ค​็ อื ต้อง​ ค้นหา​ปัจจัย​หรือ​สาเหตุ​ของ​การ​เกิดเ​หตุการณ์ “เช่น เรา​ต้อง​สังเกต​ว่า​เวลา​ฝน​ตก​ปริมาณ​น้ำ​ มาก​น้อย​เพียง​ใด ดิน​ถึง​จะ​เริ่ม​ถล่ม​ลง​มา พอ​หลายๆ กรณี​เข้า​ก็​จะ​พอ​ทราบ​ได้​ว่า​แรง​ดัน​น้ำ​ปริมาณ​เท่า​ไหร่​ ถึง​มี​ผล​ต่อ​การ​ถล่ม​ของ​ดิน เมื่อ​ชาว​บ้าน​ได้​ความ​รู้​จาก​ นัก​วิชาการ​ไป​แล้ว ชาว​บ้าน​ต้อง​รู้จัก​นำ​ความ​รู้​นั้น​ไป​ใช้​ ใน​การ​สังเกต​ปรากฏการณ์​ใน​พื้นที่​เอง​ด้วย” ที่ ​ส ำคั ญ ​ด อกเตอร์ ​ห นุ่ ม ​ไ ด้ ​ฝ าก​เ รื่ อ ง​ห นึ่ ง ​แ ก่ ​นัก​พัฒนา​ที่​มิ​ควร​มอง​ข้าม “การ​ที่​จะ​ทำให้​ชาว​บ้าน​เชื่อ​ หรือ​สร้าง​ความ​เข้าใจ​อะไร​ก็ตาม​ที เรา​ต้อง​ทำให้​เห็น พูด​อย่าง​เดียว​ไม่​ได้” มิใช่​เพียง​แต่​เป็น ​ผู้​ให้ ขณะ​เดียวกัน​ยัง​เป็น ​ผู้รับ​ ด้วย​ใน​ครา​เดียวกัน “มี​อีก​เรื่อง​ที่​ถือว่า​เป็น​เรื่อง​จำเป็น​มาก​ที​เดียว​ สำหรับ​นัก​วิจัย​ใน​เมือง​ไทย คือ เรา​จะ​นำ​เข้า​ความ​รู้​ สำเร็ จ รู ป ​จ าก​ต่ า ง​ป ระเทศ​เ พี ย ง​อ ย่ า ง​เ ดี ย ว​ไ ม่ ​ไ ด้ ภูมิปัญญา​ดั้งเดิม​ของ​ชาว​บ้าน​นี่​สำคัญ​มาก ตัวอย่าง​ เช่นพ​ ชื ช​ นิดไ​หน​จะ​ชว่ ย​รกั ษา​หน้าด​ นิ ไ​ด้ อันน​ ก​ี้ ต​็ อ้ ง​อาศัย​ ความ​รู้​ของ​ชาว​บ้าน “หรือ​การ​สังเกต​อะไร​ต่างๆ เช่น​ตาน้ำ​ว่า​มัน​มี​ ตรง​ไหน​บ้าง อัน​นี้​เป็น​เรื่อง​ทมี่​ อง​ข้าม​ไม่​ได้ ยิ่งใ​น​สาขา​ วิศวกรรม​ปฐพี​ความ​รู้​ใน​เรื่อง​​พื้นที่​ของ​ท้อง​ถิ่น​มี​ความ​ สำคัญ​มาก” ท้ า ย​สุ ด ​ด อกเตอร์ ​ค น​เ ก่ ง ​ก ล่ า ว “ใน​อ นาคต​ อยาก​ให้​นัก​วิชาการ​ลง​มา​สัมผัส​ชาว​บ้าน มา​ทำงาน​กับ ช​ าว​บา้ น ไม่ใช่อ​ ยูแ​่ ต่บ​ น​หอคอย​งาช้าง อันน​ ต​ี้ อ้ งหา​วธิ ก​ี าร ​ทำให้​ได้​ประโยชน์แ​ ละ​นำ​ไป​ใช้ได้​จริงท​ ั้งส​ อง​ฝ่าย” อัน​เรื่อง​นี้​ก็​คง​ต้องขึ้นกับ​จิตสำนึก​ของ​แต่ละ​ บุคคล​ล่ะ​ครับ เชิญต​ าม​อัธยาศัย 17 :

Horizon08.indb 17

1/27/12 2:00:00 PM


Fกองบรรณาธิ eatures การ

of Part 1: ทางข้างหน้า

สถาบันค​ ลังส​ มอง​แห่งช​ าติ ได้จ​ ดั ท​ ำ​โครงการ​ภาพ​อนาคต​เกษตร​ไทย 2563 ขึ้น เพื่อ​วิเคราะห์​แนว​โน้ม​ที่​จะ​เกิด​ขึ้น​กับ​ภาค​เกษตร​ไทย​ และ​จั ด ​ท ำ​ภ าพ​อ นาคต​ก ารเกษตร​ไทย​ปี พ.ศ. 2563 ด้ ว ย​ กระบวนการ​มอง​อนาคต (Foresight) เพื่อ​สร้าง​ความ​ตระหนัก​รู้​ ให้​กับ​สังคม​ใน​การเต​รี​ยม​รับมือ​กับ​อนาคต​ใน​มิติ​ใหม่​ได้​อย่าง​เท่า​ทัน

: 18

Horizon08.indb 18

1/27/12 2:00:04 PM


ภาพอนาคตการเกษตรไทย ปี 2563

ภาพ​อนาคต​เกษตร​ไทย​ให้​ความ​สำคัญ​กับ​ความ​ไม่​แน่นอน​ซึ่ง​เป็น​ทั้ง​ปัจจัย​ภายใน​ ประเทศ​และ​ความ​เปลี่ยนแปลง​ของ​สภาพ​ภูมิ​อากาศ นำ​มา​สู่​ภาพ​ใน​อนาคต 3 ภาพ ได้แก่ ‘ภาพ​ไม้ป​ ่า’ ‘ภาพ​ไม้เ​ลี้ยง’ และ ‘ภาพ​ไม้ล​ ้ม’

จาก​สถานการณ์​ความ​ผัน ผวน​ของ​สภาพ​ภูมิ​อากาศ​ โลก ทำให้​ผู้​ผลิตส​ ินค้า​เกษตร​และ​อาหาร​ทั่ว​โลก ได้​รับ​ ผลก​ระ​ทบ ผลผลิตท​ างการ​เกษตร​ลด​นอ้ ย​ลง สวน​ทาง​กบั ​ความ​ต้องการ​อาหาร​ที่​ยัง​คง​เพิ่ม​สูง​ขึ้น​อย่าง​ต่อ​เนื่อง สภาพ​ภมู อ​ิ ากาศ​ทเ​ี่ ปลีย่ นแปลง​ของ​โลก ยังท​ ำให้​ มี​การนำ​พื้นที่​ผลิต​พืช​อาหาร​ไป​ผลิต​พืช​พลังงาน เปิด​ โอกาส​ให้​ประเทศไทย​กลาย​เป็น ​ผู้​ผลิต​สินค้า​เกษตร​ และ​อาหาร​ราย​ใหญ่​ของ​โลก โดย​ประเทศไทย​จะ​มี​การ​ ขยาย​ตัว​ของ​จี​ดี​พี​เพิ่ม​สูง​ขึ้น เนื่อง​มา​จาก​การ​ส่ง​ออก​ สินค้า​เกษตร​และ​อาหาร​สตู่​ ลาด​โลก แต่ ​ผ ล​จ าก​ส ภาวะ​โ ลก​ร้ อ น​ผ ลั ก ​ดั น ​ใ ห้ ​เ กิ ด​ มาตรการ​กีดกัน​ทางการ​ค้า​ที่​ไม่ใช่​รูป​แบบ​ภาษี (NonTariff Barriers) อาทิ Water Footprint และ Carbon Footprint เป็นต้น ผล​จาก​สภาพ​ภมู อ​ิ ากาศ​เปลีย่ นแปลง​และ​สภาวะ​ โลก​ร้อน​ทำให้​มี​การ​คิดค้น และ​ประยุกต์​เทคโนโลยี​และ​ ภูมปิ ญ ั ญา​ใน​การ​ปรับเ​ปลีย่ น​วธิ กี​ าร​ผลิตท​ างการ​เกษตร อาทิ เทคโนโลยีโ​รง​เรือน​ระบบ​ปดิ เทคโนโลยี Precision Farming รวม​ถึง​ภูมิปัญญา​ท้อง​ถิ่น​ใน​การ​จัดการ​ฟาร์ม ความ​ก้าวหน้า​ทาง​เทคโนโลยี​ยัง​ทำให้​เกิด​การ​ พัฒนา​พันธุ์​พืช​สาย​พันธุ์​ใหม่ เช่น พืช​ที่​ใช้​น้ำ​น้อย ทน​ ต่อ​โรค​และ​แมลง​ได้ โดย​เฉพาะ​พืช​เศรษฐกิจ​ที่​สำคัญ อย่างไร​กต็ าม​ผล​จาก​การ​ใช้เ​ทคโนโลยีท​ าง​พนั ธุพ​์ ชื ทำให้​

ความ​หลาก​หลาย​ทาง​พันธุ์​พืช​อาหาร​ลด​ลง พืช​อาหาร​ บาง​สาย​พันธุเ์​ริ่ม​สูญหาย​ไป ด้วย​พฒ ั นาการ​และ​ความ​กา้ วหน้าข​ อง​เทคโนโลยี​ สารสนเทศ​และ​การ​สื่อสาร ทำให้​เกษตรกร​สามารถ​เข้า​ ถึงข​ อ้ มูลข​ า่ วสาร และ​ตดิ ต่อส​ อื่ สาร​กนั ไ​ด้ส​ ะดวก​มาก​ขนึ้ จึง​ทำให้​เกิด​เครือข​ ่าย มี​เกษตรกร​ครบ​วงจร หรือ​เกษตร​ เครือข​ า่ ย​แทน​รปู แ​ บบ​การ​ผลิตแ​ บบ​โดด​เดีย่ ว มีก​ าร​จดั ต​ งั้ ​ สหกรณ์​หรือ​วิสาหกิจ​ชุมชน​เพื่อ​สร้าง​อำนาจ​ต่อ​รอง​ กับ​พ่อค้า​คนกลาง ลด​บทบาท​ของ​พ่อค้า​คนกลาง​ลง เกิด Farmer Market เกษตรกร​บ าง​ส่ ว น​ย ก​ร ะดั บ ​เ ป็ น ​ผู้ ​ป ระกอบ​ การเกษตร มี​การนำ​ความ​รู้ เทคโนโลยี และ​การ​จัดการ​ ทีด่​ ี ประกอบ​กับ​การ​เข้า​ถึง​แหล่ง​เงิน​ทุน ทำให้เ​กิดค​ วาม​ ต้องการ​การ​บริการ​ดา้ น​การเกษตร​มาก​ขนึ้ รวม​ทงั้ ม​ ก​ี าร​ จัด​ตั้ง​โรงเรียน​เกษตร​เฉพาะ​ทาง เน้นเ​ฉพาะ​ผู้​สนใจ​เข้า​ มา​ศึกษา​และ​เน้น​การ​ปฏิบัติ​และ​เรียน​รู้​ใน​พื้นที่​จริง ผล​ สำเร็จจ​ าก​โรงเรียน​เฉพาะ​ทาง​มก​ี าร​พฒ ั นา​ไป​สก​ู่ าร​จดั ต​ งั้ ‘มหาวิทยาลัย​เกษตรกร’ ที่​มี​หลักสูตร​การ​เรียน​การ​สอน​ ด้าน​การเกษตร​ใน​สาขา​ต่างๆ ทุก​ระดับ​ปริญญา ผ่าน​ สื่อ​การ​สอน​ด้วย​เทคโนโลยี​ขั้น​สูง นอกจาก​นี้​เกษตรกร​ ราย​ย่อย​บาง​ส่วน​มี​ความ​ร่วม​มือ​กับ​ภาค​เอกชน และ​ บริษัท​ทผี่​ ลิต​สินค้า​ทางการ​เกษตร​ใน​รูปแ​ บบ Contract Farming 19 :

Horizon08.indb 19

1/27/12 2:00:05 PM


จาก​ภาวะ​โลก​รอ้ น ทำให้เ​กิดภ​ ยั พ​ บิ ตั ท​ิ ย​ี่ าก​จะ​คาด​การณ์ อี ก ​ทั้ ง ​เกิ ด ​โ รค​ร ะ​บ าด​ใ หม่ ๆ ส่ ง ​ผ ลก​ร ะ​ท บ​ต่ อ ​พื้ น ที่ ​ เกษตรกรรม ทั้ง​พื้นที่​นอก​เขต​ชลประทาน​และ​ใน​เขต​ ชลประทาน ส่ง​ผล​ให้​ปริมาณ​การ​ผลิต​ลด​ลง ผล​จาก​ สถานการณ์ร​ าคา​นำ้ มันท​ ส​ี่ งู และ​ความ​ตอ้ งการ​พลังงาน​ ยัง​คง​สูง​ขึ้น​อย่าง​ต่อ​เนื่อง ทำให้​เกษตรกร​หัน​ไป​ปลูกพ​ ืช​ พลังงาน​เพิ่ม​ขึ้น ซ้ำ​เติม​ให้​ผลผลิตท​ างการ​เกษตร​ที่​เป็น​ พืช​อาหาร​มี​ปริมาณ​น้อย​ลง จน​กระทบ​การ​ส่ง​ออก​ของ​ ไทย และ​เกิดส​ ถานการณ์​ขาดแคลน​อาหาร นอกจาก​นี้ สัตว์น​ ้ำ​ตาม​ธรรมชาติท​ ี่​มี​การ​อพยพ​ ย้าย​ถนิ่ ท​ อ​ี่ ยู่ ทำให้ว​ งจร​ชวี ติ เ​ปลีย่ นแปลง​ไป แหล่งอ​ นุบาล​ สัตว์​น้ำ​ใน​ทะเล​และ​แม่น้ำ​บาง​แห่ง​ถูก​ทำลาย ส่ง​ผล​ ให้​ราคา​ผลผลิต​ทรัพยากร​อาหาร​และ​การเกษตร​สูง​ขึ้น จาก​อุปทาน​ใน​ตลาด​โลก​และ​จาก​การ​ที่​เกษตรกร​มี​การ ​ปรับ​เปลี่ยน​การ​เพิ่ม​มูลค่า​ผลผลิต​ของ​ตนเอง จน​ทำให้​ เกษตรกร​มี ​ร าย​ไ ด้ ​เ พิ่ ม ​สู ง ​ขึ้ น ​เ ที ย บ​เ ท่ า ​ค น​ชั้ น ​ก ลาง เกษตรกร​กลาย​เป็นอ​ าชีพท​ ม​ี่ ค​ี วาม​มนั่ คง​ทาง​ราย​ได้แ​ ละ​ มี​ราย​ได้ข​ ั้น​ต่ำ​ที่​แน่นอน​สำหรับ​การ​ผลิตใ​น​แต่ละ​ชนิด ภาค​รฐั ม​ ค​ี วาม​เข้าใจ มีค​ วาม​จริงใจ​และ​มนี โ​ย​บาย ​ด้าน​การเกษตร​ที่​ชัดเจน มุ่ง​เน้น​การ​พัฒนา​ศักยภาพ​ และ​ประสิทธิภาพ​การ​ผลิตม​ ากกว่าก​ าร​เน้นผ​ ล​ระยะ​สนั้ โดย​มี ​แ ผนการ​เ กษตร​แ ห่ ง ​ช าติ ​ที่ ​มี ​เ ป้ า ​ห มาย​ชั ด เจน เปลี่ ย นแปลง​แ นว​น โยบาย​ที่ ​เ น้ น ​บ ทบาท​ใ น​ก าร​ สงเคราะห์​ช่วย​เหลือ​เกษตรกร​มา​เป็น​แนว​นโยบาย​ที่​ สนับสนุน​เกษตร​แบบ​​บูรณาการ มี​แนว​นโยบาย​ที่​มอง Supply Chain ทั้ง​ระบบ​เกษตร ซึ่ง​เป็นการ​ให้​ความ​ ช่วย​เหลือ​เกษตรกร​ตั้งแต่​เพาะ​ปลูก​จนถึง​การ​จำหน่าย อาทิ มี​การ​วางแผน​การ​ผลิต​ทางการ​เกษตร​โดย​อาศัย​ ข้อมูล สถิติ และ​สารสนเทศ​ทางการ​เกษตร มี​ระบบ​ สารสนเทศ​ใน​การ​เตือน​ภัย​พิบัติ ภัย​ธรรมชาติ รวม​ทั้ง​มี​ การ​ประกาศ​ราคา​เป้า​หมาย (ประกัน​ราคา) พืช​ผล​ทุก​ ประเภท​มี​ระบบ​ประกัน​ภัย​ผลผลิต​ทางการ​เกษตร​แบบ​ สมัคร​ใจ​ที่​เกษตรกร​ต้อง​ชำระ​เงิน​ประกัน​บาง​ส่วน ทั้ง​ ประกัน​ภัย​แล้ง​และ​ประกัน​น้ำ​ท่วม ซึ่ง​เป็น​ที่​นิยม​ของ​ เกษตรกร ภาค​รัฐ​เล็ง​เห็น​ถึง​ความ​มั่นคง​ทาง​อาหาร​ของ​ ประเทศ โดย​สร้าง​แรง​จูงใจ​ใน​การ​เข้าม​ า​ประกอบ​อาชีพ​ เกษตรกรรม อาทิ มี​ระบบ​สวัสดิการ​เกษตรกร มีก​ าร​จด​ ทะเบียน​เกษตรกร รวม​ทงั้ ส​ ร้าง​กลไก​การ​มส​ี ว่ น​รว่ ม​ของ​ เกษตรกร​ใน​การ​กำหนด​นโยบาย​ผา่ น​สภา​เกษตรกร​แห่ง​ ชาติ​และ​องค์กร​เกษตร​ที่​เข้ม​แข็ง บน​ฐาน​เครือ​ข่าย​ทาง​

สังคม​เกษตร แต่ใ​น​ภาค​การ​ส่ง​ออก​ยัง​คง​ประสบ​ปัญหา​ ขาดแคลน​สนิ ค้า อันเ​นือ่ ง​มา​จาก​ปริมาณ​ผลผลิตท​ ล​ี่ ด​ลง และ​การ​ปรับ​เปลี่ยน​ที่ดิน​ทางการ​เกษตร​ไป​เพาะ​ปลูก​ พืชพ​ ลังงาน อาชีพ​เกษตรกรรม​กลาย​มา​เป็น​หนึ่ง​ใน​อาชีพ​ ยอด​นิยม​ของ​คน​รุ่น​ใหม่ เนื่องจาก​การ​ส่ง​เสริม​การ​เรียน​ สาขา​เกษตร​โดย​ภาค​รฐั ซึง่ ก​ าร​เรียน​การ​สอน​ไม่เ​พียง​แต่​ ให้​ความ​รู้​ใน​การ​ประกอบ​การ​ทำ​ฟาร์ม แต่ร​ วม​ถึงค​ วาม​ รัก​ใน​อาชีพ นักเรียน​นักศึกษา​จะ​มา​ศึกษา​ฝึกงาน​กับ​ เกษตรกร​เป็น​เวลา​นาน ทำให้​เรียน​รู้​ระบบ​การเกษตร​ ที่แท้​จริง ใน​สายตา​นัก​ลงทุน สินค้า​เกษตร​จะ​กลาย​เป็น​ เครื่ อ ง​มื อ ​ใ น​ก าร​ล งทุ น ​ที่ ​มี ​ค วาม​มั่ น คง​เ ช่ น ​เ ดี ยว​กั บ​ ทอง​และ​น้ำมัน ใน​ยุค​นี้​อาชีพ​เกษตรกร​จะ​เปลี่ยน​เป็น ​ผู้​ประกอบ​การเกษตร​กรรม​มาก​ขึ้น มี​การ​ปรับ​เปลี่ยน​ จาก​รูป​แบบ​อาชีพ​การ​เพาะ​ปลูก​แบบ​ดั้งเดิม​มา​เป็นการ​ บริหาร​จัดการ​ฟาร์ม กระแส​ความ​นิยม​ของ​การ​ท่อง​เที่ยว​เชิง​เกษตร​ หรือ​เชิง​นิเวศ​เพิ่ม​ขึ้น ส่ง​ผล​ให้​พื้นที่​ทางการ​เกษตร​ที่​มี​ การ​บริหาร​จัดการ​น้ำ​ที่​ดี และ​พื้นที่​เกษตร​ทฤษฎี​ใหม่​ กลาย​เ ป็ น ​แ หล่ ง ​ร องรั บ ​นั ก ​ท่ อ ง​เ ที่ ย ว​แ ห่ ง ​ใ หม่ เกษตรกรสามารถ​​สร้าง​มูลค่า​เพิ่ม​และ​มี​การ​ส่ง​ผ่าน​ สู่ ​สั ง คม​ผู้ ​บ ริ โ ภค​ภ ายนอก​ด้ ว ย​ก าร​บ ริ ก าร​ด้ า น​ก าร​ ท่อง​เที่ยว และ​ผลิตภัณฑ์​อาหาร​ที่​มี​บาร์​โค้ด​บอก​เล่า​ เรือ่ ง​ราว​ความ​เป็นม​ า กลาย​เป็น Creative Agri-industry ทีม​่ เ​ี รือ่ ง​ราว​และ​มก​ี าร​คดั แ​ ยก​เกรด​ผลิตภัณฑ์เ​กษตร​ให้ม​ ​ี ความ​แตก​ตา่ งด้าน​ราคา มีส​ นิ ค้าเ​ฉพาะ​กลุม่ เช่น อาหาร​ สุขภาพ อาหาร​เด็ก อาหาร​ผู้​สูง​อายุ และ​เน้น​การ​ผลิต​ สินค้า​ที่​มี​คุณภาพ​ได้​มาตรฐาน​ตรง​ตาม​ความ​ต้องการ​ ของ​ผบู้​ ริโภค​และ​เน้น​ตลาด​ที่​ผบู้​ ริโภค​มกี​ ำลังก​ าร​ซื้อ​สูง

: 20

Horizon08.indb 20

1/27/12 2:00:06 PM


สภาพ​สงั คม​ยงั ค​ ง​ยงุ่ เหยิง และ​คง​สภาพ​สงคราม​หลาก​สี ผลก​ร ะ​ท บ​จ าก​ค วาม​ไ ม่ ​ส งบ​ภ ายใน​ป ระเทศ​ท ำให้ ​ การเมือง​มี​ความ​ผัน ผวน​ตลอด​เวลา และ​การ​มี​รัฐบาล​ ที่​ขาด​เสถียรภาพ ส่ง​ผล​ต่อ​ภาค​การเกษตร​จาก​นโยบาย​ ที่​ขาด​ความ​ต่อ​เนื่อง นโยบาย​ภาค​รัฐ​ยัง​คง​เน้น​ไป​ที่​การ​สงเคราะห์​ ช่วย​เหลือม​ ากกว่าก​ าร​สร้าง​ความ​เข้มแ​ ข็งใ​ห้ก​ บั เ​กษตรกร อาทิ นโยบาย​พัก​ชำระ​หนี้​เกษตรกร นโยบาย​แทรกแซง​ ราคา​เพื่อ​พยุง​ราคา​สินค้า​เกษตร เป็นต้น ใน​ขณะ​ที่​ โครงสร้าง​พื้น​ฐาน​ภาค​การเกษตร​ที่​มี​อยู่​แต่​เดิม​ไม่​ได้​ รับ​การ​พัฒนา ทั้ง​การ​บริหาร​จัดการ​ทรัพยากร​น้ำ และ​ ระบบ​เตือน​ภัย จน​ไม่​สามารถ​สร้าง​ความ​เข้ม​แข็ง​ให้​ ภาค​เกษตร​ได้ เกษตรกร​ราย​ย่อย​ซึ่ง​เป็น ​ผู้​สูง​วัย​ยัง​คง​ทำการ​ เกษตร​แ บบ​เ ดิ ม ​ใ น​พื้ น ที่ ​ข นาด​เ ล็ ก โดย​ป ราศจาก​ เทคโนโลยี​ที่​เหมาะ​สม ใน​ขณะ​ที่​บริษัท​เอกชน​เป็น​ผู้นำ​ ทาง​ด้าน​เทคโนโลยี​อุตสาหกรรม​การเกษตร​ที่​แข็ง​แรง และ​ผกู ขาด​การ​ขาย​ให้ร​ าย​ยอ่ ย การ​ลงทุนแ​ ละ​การ​สะสม​ ความ​รู้ รวม​ทั้ง​การ​ประยุกต์​ใช้​ความ​รู้​และ​เทคโนโลยี​ ทั้ง​ใน​และ​ต่าง​ประเทศ​ของ​บริษัท​ราย​ใหญ่​ที่​มี​การ​วิจัย​ และ​พัฒนา​ต่อ​เนื่อง ทำให้​ควบคุม​คุณภาพ​ของ​สินค้า​ ได้​ครบ​วงจร ใน​ขณะ​ที่​บุคลากร​การ​วิจัย​ด้าน​การเกษตร​ของ​ ภาค​รั ฐ ​ที่ ​มี ​ค วาม​รู้ ​ค วาม​เ ชี่ ยวชาญ​ส่ ว น​ห นึ่ ง ​เ กษี ย ณ​ อายุ ขาด​ระบบ​ถ่ายทอด​องค์​ความ​รู้​จาก​รุ่น​สู่​รุ่น ทำให้​ เกิด​ช่อง​ว่าง​สุญ​ญา​กาศ​ทาง​ความ​รู้​ที่​สะสม​ไว้ สวน​ทาง​ กับ​ภาค​เอกชน​หรือ​บริษัท​ขนาด​ใหญ่​ที่​ขยาย​การ​ลงทุน​ ครอบคลุม​ธุรกิจ​ที่​เกี่ยว​เนื่อง และ​มี​ความ​ต้องการ​กำลัง​ คนใน​การ​วิจัย​และ​พัฒนา​ที่​มี​คุณภาพ​เพิ่ม​มาก​ขึ้น นัก​ วิจัย​ภาค​รัฐ​ถูก​จูงใจ​ไป​ยัง​ภาค​เอกชน​ส่ง​ผล​ให้​ภาค​รัฐ​ ขาดแคลน​บุคลากร ความ​พยายาม​ใน​การ​ปฏิ​รูป​ระบบ​การ​วิจัย​ด้าน​ การเกษตร​ของ​รฐั ย​ งั ค​ ง​ลม้ เ​หลว และ​ไม่ส​ ามารถ​ปรับปรุง​ แก้ไข​กฎ​ระเบียบ​ให้​เอื้อ​ต่อ​การ​วิจัย​และ​พัฒนา​ได้ ส่ง​ ผล​ให้​ประเทศ​ต้อง​ประสบ​กับ​ภาวะ​ชะงัก​งัน​ทาง​องค์​ ความ​รู้​และ​เทคโนโลยี ขณะ​ที่​ประเทศ​เพื่อน​บ้าน​มี​การ​ พัฒนา​รุด​หน้า​อย่าง​ไม่​หยุดยั้ง โดย​เฉพาะ​การ​วิจัย​และ​ พัฒนา​ปรับปรุง​พืช​และ​สัตว์​ตัด​แต่ง​พันธุกรรม (GMO: Genetically Modified Organism) การ​ที่​ไทย​ไม่​สามารถ​ปรับปรุง​พันธุ์​พืช​และ​สัตว์​ ตาม​คุณลักษณะ​ที่​ตลาด​โลก​ต้องการ​ได้ ทำให้​ปริมาณ​

และ​คณ ุ ภาพ​ของ​สนิ ค้าภ​ าค​เกษ​ตร​ของ​ประเทศ​ลด​ระดับ​ ความ​สามารถ​ใน​การ​แข่งขัน​ใน​ตลาด​โลก​ลง โดย​เฉพาะ​ เมื่อ​เทียบ​กับ​ประเทศ​จีน​ซึ่ง​มี​การ​วิจัย​และ​พัฒนา​ด้าน GMO ทีก่​ ้าวหน้า​อย่าง​มาก จน​สามารถ​ส่ง​ไป​ทั่วโ​ลก ชาว​ต่าง​ชาติ​และ​นัก​ธุรกิจ​ไทย​ที่​มี​ความ​รู้​และ​มี​ เงิน​ทุน​เข้า​ถือ​ครอง​ที่ดิน​ทางการ​เกษตร​เพื่อ​ผลิต​สินค้า​ เกษตร​เพือ่ อ​ าหาร​และ​พลังงาน​เพิม่ ม​ าก​ขนึ้ โดย​มค​ี น​ไทย​ เป็น ​ผู้​ชักจูง​และ​จัดหา​ที่ดิน​ให้ ซึ่ง​นัก​ธุรกิจ​เหล่า​นี้​เป็น​ นัก​ลงทุน​ที่​มี​การ​ลงทุน​ด้าน​การเกษตร​อยู่​ทั่ว​โลก​ใน​เขต​ แอฟริกา และ​ใน​เอเชีย​ตะวันอ​ อก​เฉียง​ใต้ เกษตรกร​ราย​ ย่อย​จำนวน​มาก​ขาย​ที่ดิน​ทำ​กิน​เพื่อ​ลด​ความ​เสี่ยง​จาก​ ความ​ไม่​แน่นอน​และ​ไม่​มั่นคง หันส​ ู่​อาชีพ​ทมี่​ ี​ความ​เสี่ยง​ ต่ำ เช่น ทำงาน​ภาย​ใต้​องค์กร​หรือ​เป็น​เกษตรกร​รับจ้าง​ ใน​ที่ดินท​ ี่​ตนเอง​เคย​ถือ​ครอง นอกจาก​นก​ี้ าร​ทท​ี่ นุ ต​ า่ ง​ชาติเ​ข้าม​ า​ซอื้ ห​ รือค​ รอบ​ ครอง​ทดี่ นิ ท​ างการ​เกษตร​ซงึ่ เ​สมือน​ตน้ น้ำท​ างการ​เกษตร​ แล้ว ทุน​ต่าง​ชาติ​ยัง​รุก​คืบ​ใน​การ​เข้า​ซื้อ​หรือ​ควบคุม (Nominee) กิจการ​แปรรูป​ทางการ​เกษตร​ขั้น​ต้น​หรือ​ ขั้น​กลาง​โดย​เฉพาะ​ใน​ผลิตภัณฑ์​การเกษตร​ด้าน​อาหาร ทั้ง​ข้าว มัน​สำปะหลัง และ​อ้อย อาทิ โรงงาน​แปรรูป​ แป้ง​มัน​สำปะหลัง โรงงาน​หีบ​อ้อย เป็นต้น การ​ตลาด​ หรือก​ าร​ทำ​ธรุ กิจท​ เ​ี่ กีย่ ว​โยง​กบั ภ​ าค​การเกษตร​สว่ น​ใหญ่​ จึงเ​ป็นการ​ดำเนินธ​ รุ กิจร​ ะหว่าง​ภาค​ธรุ กิจท​ ถ​ี่ อื ค​ รอง​หรือ​ ควบคุมโ​ดย​ต่าง​ชาติ

21 :

Horizon08.indb 21

1/27/12 2:00:07 PM


Part 2: ทางเลือก จาก​ภาพ​อนาคต 3 ภาพ​ที่​สถาบัน​คลัง​สมอง​จัด​ทำ​ขึ้น เรา​จะ​พบ​ว่า​ใน 3 ภาพ​นั้น ประกอบ​ไป​ด้วย​ภาพ​ที่​ให้​ทั้ง ‘ความ​หวัง’ ‘แสง​สว่าง’ และ​ รวม​ถงึ ‘ความ​หดหู’่ แนว​โน้มท​ จ​ี่ ะ​เกิดข​ นึ้ จ​ ริงใ​น​อนาคต​ของ​ภาค​เกษตร​ ไทย​จะ​เป็น​เช่น​ไร ล้วน​ขึ้น​อยู่​กับป​ ัจจัย​ของ​ปัจจุบัน​ทั้ง​สิ้น แน่นอน​วา่ ไม่มใ​ี คร​อยาก​ให้การ​เกษตร​ไทย​เป็นไ​ป​อย่าง​ทป​ี่ ราก​ฏใ​น​ ภาพ ‘ไม้​ล้ม’ คำถาม​ก็​คือเ​รา​ได้เ​ตรียม​เครื่อง​ไม้​เครื่อง​มือ​หรือ​ออกแบบ​ แนวทาง​อะไร​ไว้บ​ ้าง​ใน​การ​หลีก​หนี ‘ไม้​ล้ม’ เพื่อ​ให้การ​เกษตร​ไทยดำ​เนิน​ ไป​อย่าง​ที่​ปราก​ฎ​ใน ‘ไม้​ป่า’ หรือ ‘ไม้​เลี้ยง’ ก็​ดี (ร่าง) กรอบ​นโยบาย​การ​พฒ ั นา​เทคโนโลยีช​ วี ภาพ​ของ​ประเทศไทย (พ.ศ. 2555-2564) และ (ร่าง) กรอบ​นโยบาย​การ​พฒ ั นา​นาโน​เทคโนโลยี​ ของ​ประเทศไทย (พ.ศ. 2555-2564) ถือเ​ป็นย​ ทุ ธศาสตร์ท​ ไ​ี่ ด้ว​ าง​ไว้เ​พือ่ ​ นำ​ไป​ปฏิบัติ​ให้​เกิด​เป็น​รูป​ธรรม​ใน​ส่วน​ของ​ภาค​การเกษตร​ไทย เป็น 2 กรอบ​นโยบาย​ทเี่​ป็น ‘ทาง​เลือก’ ที่​ให้ ‘ความ​หวัง’ และ​ยัง​ รอ​การ​ถูกน​ ำ​ไป​ปฏิบัติ​ใช้

: 22

Horizon08.indb 22

1/27/12 2:00:12 PM


เทคโนโลยี​ชีวภาพ การ​จัด​ทำ กรอบ​นโยบาย​การ​พัฒนา​เทคโนโลยี​ ชีวภาพ​ของ​ประเทศไทย (พ.ศ. 2555-2564) มี​แนวคิด​ พื้น​ฐาน​โดย​ใช้​ความ​ต้องการ​เป็น​ตัว​ตั้ง​โดย​เน้น​การ​ พัฒนา​เทคโนโลยี​ชีวภาพ​ที่​สอดคล้อง​กับ​ทิศทาง​การ​ พัฒนา​ของ​โลก ใช้ป​ ระโยชน์จ​ าก​ความ​รแ​ู้ ละ​วทิ ยาศาสตร์​ ของ​เทคโนโลยีช​ ีวภาพ​ใน​การ​สร้าง​ความ​เข้ม​แข็ง กรอบ​นโยบาย​การ​พัฒนา​เทคโนโลยี​ชีว​ภาพฯ (พ.ศ. 2555-2564) ให้ค​ วาม​สำคัญ​ใน​ภาค​การเกษตร​ ไทย เนื่องจาก​ประเทศไทย​มี​ความ​เชี่ยวชาญ​ใน​การ​ ผลิต​สินค้า​เกษตร​เป็น​เวลา​ช้า​นาน ดัง​เห็น​ได้​จาก​ไทย​ เป็น​ประเทศ​ผู้​ส่ง​ออก​สินค้า​เกษตร​และ​อาหาร​สำคัญ​ ของ​โลก และ​มี​สินค้า​เกษตร​และ​อาหาร​หลาย​รายการ​ ที่​ประเทศไทย​เป็น​ผู้​ส่ง​ออก​มาก​เป็น​อันดับ 1 ของ​โลก แรงงาน​ไทย​กว่า 16 ล้าน​คน หรือร​ ้อย​ละ 40 ทำงาน​ ใน​ภาค​เกษตร เป็นโ​อกาส​ทด​ี่ ข​ี อง​ประเทศไทย​ใน​การ​เพิม่ ร​ าย​ได้​ ให้​กับ​เกษตรกร​ด้วย​การ​ลด​ค่า​ใช้​จ่าย เพิ่ม​มูลค่า​ให้​กับ​ สินค้า​เกษตร​และ​อาหาร และ​เพิ่ม​การ​ส่ง​ออก​สินค้า​ เกษตร​และ​อาหาร​ได้ม​ าก​ยงิ่ ข​ นึ้ ต​ าม​จำนวน​ประชากร​โลก​ ทีม​่ แ​ี นว​โน้มเ​พิม่ ข​ นึ้ และ​ความ​ตอ้ งการ​ของ​อตุ สาหกรรม​ ใหม่​ที่​มี​ฐาน​จาก​การเกษตร เช่น พลังงาน​ชีวภาพ​และ​ วัสดุ​ชีวภาพ เพื่อ​ทดแทน​เชื้อ​เพลิงฟ​ อสซิลแ​ ละ​ลด​ภาวะ​ โลก​ร้อน

ทำไม-เทคโนโลยี​ชีวภาพ​ต้อง​สมรส​กับ​ ภาค​เกษตร​ไทย

ความ​ต้องการ​ใช้​วัตถุดิบ​ทางการ​เกษตร​ใน​ปี 2554 มี​ประมาณ 120 ล้าน​ตัน จาก​การ​ประเมิน​ใน​ ระยะ 10 ปี​ข้าง​หน้า ประเทศไทย​ต้องการ​ใช้​ผลผลิต​ ทางการ​เกษตร​โดย​เฉพาะ​มนั ส​ ำปะหลัง อ้อย และ​ปาล์ม​ น้ำมัน รวม​กนั ม​ ากกว่า 200 ล้าน​ตนั เพือ่ ใ​ห้เ​พียง​พอ​ตอ่ ​ อุตสาหกรรม​ตอ่ เ​นือ่ ง อุตสาหกรรม​พลังงาน​ชวี ภาพ และ​ รักษา​การ​ส่ง​ออก​หาก​ผลผลิตเ​ป็น​เช่น​ปัจจุบัน พืน้ ทีเ​่ กษตร​เสือ่ มโทรม​จาก​การ​ดแู ล​ไม่เ​หมาะ​สม​ เป็น​อุปสรรค​สำคัญ​ของ​การ​เพิ่ม​ผลผลิต​ทางการ​เกษตร โดย​ข้อมูล​จาก​การ​สำรวจ​ของ​กรม​พัฒนาที่ดิน ระบุ​ว่า​ ร้อย​ละ 92 ของ​ตัวอย่าง​ที่ดิน​ทั่ว​ประเทศ​ขาด​อินทรีย์​ วัตถุ ขณะ​ที่​ประเทศไทย​มี​วัตถุดิบ​สำหรับ​ผลิต​อินทรีย์​ วัตถุ​จำนวน​มาก โดย​ปี 2548 มี​เศษ​วัสดุ​เหลือ​ใช้​จาก​

ภาค​การเกษตร เช่น ฟาง​ข้าว​และ​วัสดุ​ตอ​ซัง​ประมาณ 50 ล้าน​ตนั ต​ อ่ ป​ ี ซึง่ ส​ ามารถ​เพิม่ อ​ นิ ทรียว​์ ตั ถุส​ ำหรับช​ ว่ ย​ ฟืน้ ฟูโ​ครงสร้าง​ดนิ 800 กิโลกรัมต​ อ่ ไ​ร่ แต่ก​ าร​ยอ่ ย​สลาย​ ตาม​ธรรมชาติ​ใช้เ​วลา​อย่าง​น้อย 15-30 วัน เกษตรกร​ จึง​นิยม​เผา​ตอ​ซัง​เพื่อ​ความ​สะดวก​ใน​การ​ไถ​เตรียม​ดิน​ หรือ​กำจัด​ศัตรู​พืช การ​ขาดแคลน​ทรัพยากร​น้ำ รวม​ถึง​การ​กีดกัน​ ทางการ​คา้ ร​ ปู แ​ บบ​ใหม่ก​ ำลังเ​ข้มข​ น้ ข​ นึ้ การ​เปิดเ​สรีก​ าร​คา้ ​ เปิด​ประตู​ให้​สินค้า​จาก​ประเทศ​ที่​มี​ความ​ได้​เปรียบ​ด้าน​ ต้นทุน​การ​ผลิต​ทะลัก​เข้า​มา​จำหน่าย​ใน​ประเทศไทย​ ได้​สะดวก​ขึ้น และ​สภาวะ​ไร้​พรมแดน​ทาง​ความ​รู้​ก็​เปิด​ โอกาส​ให้​ประ​เทศ​ที่​มี​ความ​ได้​เปรียบ​ทาง​เทคโนโลยี​เข้า​ มา​ใช้​ประโยชน์​จาก​ความ​หลาก​หลาย​ทาง​ชีวภาพ​ของ​ ประเทศไทย เป็น​แรง​ผลัก​ให้​ประเทศไทย​ต้อง​เร่งรัด​ พัฒนา​ความ​สามารถ​ดา้ น​เทคโนโลยีช​ วี ภาพ​สาขา​เกษตร​ และ​อาหาร แนวทาง​ใน​การ​พัฒนา​สาขา​เกษตร​และ​อาหาร ถูกว​ าง​ไว้บ​ น​ฐาน​เศรษฐกิจแ​ ละ​สงั คม เทคโนโลยีช​ วี ภาพ​ เป็น​เครื่อง​มือ​สำคัญ​ใน​การ​ยก​ระดับ​ประสิทธิภาพ​การ​ ผลิต และ​โอกาส​ทเ​ี่ อกชน​จะ​เป็นผ​ ล​ู้ งทุนว​ จิ ยั แ​ ละ​พฒ ั นา​ เทคโนโลยี​ชีวภาพ​เพิ่ม​ขึ้น การ​กำหนด​ทศิ ทาง​การ​พฒ ั นา​เทคโนโลยีช​ วี ภาพ​ ของ​สาขา​เกษตร​และ​อาหาร​พิจารณา​จาก​สินค้า​เกษตร​ และ​อาหาร​ที่​มี​ความ​สำคัญ​สูง​ตาม​ยุทธศาสตร์​สินค้า​ เกษตร​ของ​กระทรวง​เกษตร​และ​สหกรณ์​จำนวน 26 รายการ 23 :

Horizon08.indb 23

1/27/12 2:00:13 PM


สินค้า 26 ชนิด​ที่​สำคัญ​ของ​กระ​ทร​วง​เกษตรฯ พืช​ไร่: ข้าว มัน​สำปะหลัง อ้อย กาแฟ ข้าวโพด​เลี้ยง​สัตว์ ถั่ว​เหลือง ปาล์ม​น้ำมัน ยางพารา สับปะรด พืช​สวน: ไม้​ผล (ทุเรียน มังคุด เงาะ ลองกอง มะม่วง ลำไย) ไม้​ดอก: กล้วยไม้ ปศุสัตว์: ไก่เ​นื้อ ไก่​ไข่ โคนม โค​เนื้อ กระบือ สุกร แพะ สัตว์​น้ำ: กุ้ง ปลา​นิล อื่นๆ: หม่อน​ไทย

เมื่อ​พิจารณา​มูลค่า​เพิ่ม​ของ​สินค้า​เกษตร​และ​ อาหาร​ของ​ประเทศ​ตลอด​ห่วง​โซ่​มูลค่า พบ​ว่า ใน​ส่วน​ ของ​ต้นน้ำ​สร้าง​มูลค่า​เพิ่ม​ประมาณ​ร้อย​ละ 60 ส่วน​ ปลาย​น้ำ​สร้าง​มูลค่า​เพิ่ม​ร้อย​ละ 30 ตัวเลข​นี้​ชี้​ให้​เห็น​ ว่าส​ นิ ค้าเ​กษตร​และ​อาหาร​ทส​ี่ ง่ อ​ อก​สว่ น​ใหญ่เ​ป็นส​ นิ ค้า​ แปรรูปข​ นั้ ต​ น้ อย่างไร​กด​็ ม​ี ค​ี วาม​เป็นไ​ป​ได้ทจ​ี่ ะ​เพิม่ ม​ ลู ค่า​ เพิ่ม​ให้ผ​ ลผลิตท​ างการ​เกษตร​อย่าง​น้อย 1 เท่าต​ ัว โดย​ ใน​ส่วน​ต้นน้ำ การ​พัฒนา​พันธุ์​พืช พันธุส์​ ัตว์ และ​ปัจจัย​ การ​ผลิต​เพื่อ​เพิ่ม​ประสิทธิภาพ​การ​ผลิต​จะ​เป็น​แนวทาง​ สำคัญ​ใน​การ​สร้าง​มูลค่า​เพิ่ม​ขึ้น​ร้อย​ละ 70-100 ใน​ส่วน​ปลาย​น้ำ การ​เพิ่ม​มูลค่า​ทำได้​ด้วย​การ​ ควบคุ ม ​คุ ณ ภาพ ความ​ป ลอดภั ย การ​มี ​ข้ อ มู ล ​ด้ า น​ โภชนาการ และ​การ​พัฒนา​ผลิตภัณฑ์​ให้​มี​ความ​หลาก​ หลาย​และ​มี​ขั้น​นวัตกรรม​ที่​สูง​ขึ้น​ไป จะ​สร้าง​มูลค่า​เพิ่ม​ อีก​ร้อย​ละ 50-200 จาก​มูลค่า​ปัจจุบัน

ความ​พร้อม​ดา้ น​เทคโนโลยีช​ วี ภาพ​สาขา​ เกษตร​และ​อาหาร

ประเทศไทย​มจ​ี ำนวน​ผล​งาน​ตพ​ี มิ พ์ง​ าน​วจิ ยั แ​ ละ​ พัฒนา​เทคโนโลยีช​ วี ภาพ​ใน​วารสาร​วชิ าการ​ตา่ ง​ประเทศ ​สูงสุด​ใน​อาเซียน มี​โครงสร้าง​พื้น​ฐาน​สำคัญ เช่น ศูนย์​ เทคโนโลยี ​ชี ว ภาพ​เ กษตร หน่ ว ย​ป ฏิ บั ติ ​ก าร​ค้ น หา​ และ​ใช้​ประโยชน์​ยีน​ข้าว หน่วย​วิจัย​เพื่อ​ความ​เป็น​เลิศ​ ทางเทคโนโลยีช​ วี ภาพ​กงุ้ ศูนย์เ​ชีย่ วชาญ​เฉพาะ​ทาง​ดา้ น​ เทคโนโลยี​ชีวภาพ​ทาง​ทะเล เป็นต้น สำหรับ​กำลัง​คน​ด้าน​เทคโนโลยี​ชีวภาพ​สาขา​ เกษตร​และ​อาหาร​มไี​ม่​น้อย​กว่า 1,000 คน จาก​จำนวน​ บุคลากร​ดา้ น​เทคโนโลยีช​ วี ภาพ​เป็นการ​เฉพาะ​ใน​สถาบัน​ เครือ​ข่าย​ของ​ศูนย์​ความ​เป็น​เลิศ​ด้าน​เทคโนโลยี​ชีวภาพ​ เกษตร ภาค​เอกชน​ไทย​ก็​มี​การ​ลงทุน​ด้าน​เทคโนโลยี​ ชีวภาพ​เพิ่ม​ขึ้น เช่น บริษัท เครือ​เจริญโ​ภคภัณฑ์ จำกัด บริษัท เบ​ทา​โกร จำกัด บริษัท มิตร​ผล จำกัด บริษัท สเป​เชียล​ ​ตี้ จำกัด บริษัท เอเชีย สตาร์ แอน​นิ​มัล เฮลธ์ จำกัด เป็นต้น และ​มบ​ี ริษทั ท​ งั้ ใ​น​และ​ตา่ ง​ประเทศ​พร้อม​ จะ​ลงทุนด​ า้ น​เทคโนโลยีช​ วี ภาพ​หาก​ประเทศไทย​มค​ี วาม​ ชัดเจน​เกี่ยว​กับ​นโยบาย​จีเอ็มโอ

ผล​งาน​วิจัย​ที่​สำเร็จ​พร้อม​ใช้​งาน : ข้าว​หอม​สิน​เหล็ก พันธุ์​ข้าว​ขาว​ดอก​มะลิ​ต้านทาน​เพลี้ย​ กระโดด​สี​น้ำตาล ข้าว​เหนียว กข6 ต้านทาน​โรค​ไหม้ มะเขือเ​ทศ​ตา้ นทาน​โรค ถัว่ เ​หลือง​ตา้ นทาน​โรค​สนิมเ​หล็ก ถั่ว​เขียว​และ​ยู​คา​ลิปตัส​ทน​ดิน​ด่าง

: 24

Horizon08.indb 24

1/27/12 2:00:14 PM


ประเทศไทย​มี​โรงงาน​ต้นแบบ​เพื่อ​การ​ผลิต​สาร​ ชีว​ภัณฑ์​ใน​เชิง​พาณิชย์ มี​การ​ผลิต​หัว​เชื้อ​จุลินทรีย์​เพื่อ​ ปรับปรุงด​ นิ ท​ งั้ ใ​น​ระดับช​ มุ ชน​และ​พาณิชย์ และ​การ​ผลิต​ อาหาร​เสริมสุขภ​ าพ​สตั ว์ใ​น​ระดับอ​ ตุ สาหกรรม​และ​ระ​ดบั ​ห้อง​ปฏิบัติ​การ อย่างไร​ก็​ดี​ประเทศไทย​ควร​พัฒนา​ เทคโนโลยี​เพิ่ม​เติม​โดย​เฉพาะ​เทคโนโลยี​ฐาน​ด้าน​การ​ หมักใ​น​ระดับอ​ ตุ สาหกรรม​เพือ่ เ​พิม่ ป​ ระสิทธิภาพ​และ​ลด​ ต้นทุน​การ​ผลิต​ผลิตภัณฑ์อ​ าหาร​เสริมสุข​ภาพ

เป้า​หมาย​และ​ทิศทาง​การ​พัฒนา

แม้ ​ป ระเทศไทย​จ ะ​มี ​ค วาม​ส ามารถ​ด้ า น​ เทคโนโลยี​ชีวภาพ​ด้าน​เกษตร​และ​อาหาร​ที่​ก้าวหน้า​ ระดับ​ผู้นำ​อาเซียน เช่น การ​พัฒนา​สาย​พันธุ์​พืช/สัตว์ เช่น ข้าว​และ​กุ้ง​กุลาดำ การ​พัฒนา​ชุด​ตรวจ​วินิจฉัย​ โรค การ​ให้​บริการ​วิเคราะห์​ทดสอบ​ด้วย​การ​ใช้​ดีเอ็นเอ​ เทคโนโลยี เป็นต้น แต่​ประเทศไทย​ยัง​มี​ความ​จำเป็น​ที่​ จะ​ต้อง​เร่งรัดก​ าร​วิจัยแ​ ละ​พัฒนา​ด้าน​เทคโนโลยีช​ ีวภาพ​ ด้าน​เกษตร​และ​อาหาร​เพิ่ม​เติม เพื่อ​การ​เป็น ​ผู้นำ​ด้าน​ การ​ส่ง​ออก​สินค้า​อาหาร​ใน​ตลาด​โลก การ​มี​ผลผลิตพ​ อ​ เพียง​ทั้ง​การ​ผลิต​พืช​อาหาร​และ​พลังงาน​ใน​ระดับ​หนึ่ง โดย​เฉพาะ​การ​วจิ ยั แ​ ละ​พฒ ั นา​แหล่งพ​ ลังงาน​ชวี ภาพ​จาก​ แห​ล่ง​อื่นๆ เช่น สาหร่าย เมื่อ​เป้า​หมาย​ใน​การ​ใช้​เทคโนโลยี​ชีวภาพ​ด้าน​ เกษตร​และ​อาหาร อยู่​ที่​การ​ยก​ระดับ​ความ​สามารถ​ใน​ การ​แข่งขันแ​ ละ​เสริมส​ ร้าง​ความ​เข้มแ​ ข็งข​ อง​เกษตร​อย่าง​ ยัง่ ยืน ใช้ว​ ทิ ยาการ​ดา้ น​เทคโนโลยีเ​พิม่ ป​ ระสิทธิภาพ​การ​ ผลิต ลด​ต้นทุน​เพิ่ม​คุณภาพ​ผลผลิต พัฒนา​นวัตกรรม​ ด้าน​เกษตร​และ​อาหาร และ​รับมือ​ต่อ​การ​เปลี่ยนแปลง​ สภาพ​ภูมิ​อากาศ​โลก

ทิศทาง​การ​พัฒนา​จึง​ต้อง​ประยุกต์​ใช้​เทคโนโลยี​ จีโ​นม พันธุว​ ศิ วกรรม ใช้เ​ซลล์เ​ป็นเ​สมือน​โรงงาน​รว่ ม​กบั ​ เทคโนโลยี​ใน​สา​ขา​อื่นๆ เช่น การ​ปรับปรุง​พันธุ์​แบบ​ ดั้งเดิม และพันธุว​ ิศวกรรมเพื่อก​ าร​พัฒนา​ใน 3 ด้าน 1.ปรับปรุงพ​ นั ธุพ​์ ชื -สัตว์ ให้ม​ ผ​ี ลผลิตส​ งู ต้านทาน​ โรค​และ​ศัตรู​พืชท​ ี่​สำคัญ 2.พัฒนา​ปัจจัย​การ​ผลิต ทั้งใ​น​ การ​เพิ่ม​ประสิทธิภาพ ความ​หลาก​หลาย​ของ​หัว​เชื้อ​ จุลินทรีย์​เพื่อ​การ​ปรับปรุง​บำรุง​ดิน สาร​ชีวภาพ​กำจัด​ ศัตรู​พืช การ​พัฒนา​วัคซีน​สัตว์ เป็นต้น และ 3.การ​ สร้าง​มูลค่า​เพิ่ม​ให้​กับ​สินค้า​เกษตร รวม​ถึง​ของ​เหลือ​ ทิ้ง​จาก​การเกษตร​และ​อุตสาหกรรม​อาหาร​เพื่อ​เป็น​ ผลิตภัณฑ์​ใน​กลุ่ม​อุตสาห​กร​รม​อื่นๆ เช่น สาร​ให้​ความ​ หวาน พลังงาน​ชีวภาพ โพลิเมอร์​ชีวภาพ ผลิตภัณฑ์​ อาหาร​สุขภาพ เป็นต้น

มาตรการ​เร่งรัด​การ​พัฒนา

พั ฒนา​แ ละ​ป รั บ ​แ ต่ ง ​ผ ล​ง าน​วิ จั ย ​แ ละ​พั ฒนา​ เทคโนโลยี​ที่​เหมาะ​สม และ​กระจาย​เทคโนโลยี​ชีวภาพ​ สู่​ชุมชน​ผ่าน​กลไก​การ​จัด​แปลง​สาธิต​เทคโนโลยี​ใน​พื้นที่​ ชุมชน​โดย​กระบวนการ​มี​ส่วน​ร่วม​ของ​ชุมชน เร่งรัด​การ​วิจัย​และ​พัฒนา​เทคโนโลยี​ชีวภาพ​ทั้ง​ ใน​ด้าน​การ​พัฒนา​สาย​พันธุ์​พืช​และ​สัตว์​ที่​มี​คุณสมบัติ​ที่​ ดี ด้าน​ปจั จัยก​ าร​ผลิต เช่นห​ วั เ​ชือ้ จ​ ลุ นิ ทรียป​์ ระสิทธิภาพ​ สูงเ​พือ่ ก​ าร​ผลิตป​ ยุ๋ ช​ วี ภาพ สาร​ชวี ภ​ ณ ั ฑ์แ​ ละ​อาหาร​เสริม​ สำหรับ​สัตว์ เป็นต้น รั ฐ ​มี น ​โ ย​บ าย​ส่ ง ​เ สริ ม ​ก าร​วิ จั ย ​แ ละ​ก าร​ผ ลิ ต​ จีเอ็มโอ​ใน​เชิงพ​ าณิชย์ ควบคูก่​ ับ​การ​สร้าง​ความ​เข้ม​แข็ง​ ด้าน​การ​ประเมินค​ วาม​ปลอดภัย​ทาง​ชีวภาพ

25 :

Horizon08.indb 25

1/27/12 2:00:16 PM


นาโน​เทคโนโลยี สำนั ก งาน​ค ณะ​ก รรมการ​น โยบาย​วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ​นวัตกรรม​แห่ง​ชาติ​ (สวทน.) ได้​ร่วม​กับ​ ศูนย์​นาโน​เทคโนโลยีแ​ ห่ง​ชาติ (นาโนเทค) จัด​ทำ ‘กรอบ​ นโยบาย​การ​พัฒนา​นาโน​เทคโนโลยี​ของ​ประเทศไทย พ.ศ. 2555-2564’ เพือ่ ก​ ำหนด​ยทุ ธศาสตร์ กลยุทธ์ และ​ มาตรการ แนวทาง​การ​ปฏิบัติ​ให้​เกิด​ผล​ใน​ทาง​ปฏิบัติ ภาค​เกษตร​และ​อาหาร ก็​เป็น​หนึ่ง​สาขา​ที่​ต้อง​ อาศัย​นาโน​เทคโนโลยี​ใน​การ​ปรับปรุง​และ​พัฒนา​เพื่อ​ เพิ่ม​ประสิทธิภาพ​ใน​การ​ผลิต​รวม​ถึง​เพิ่ม​มูลค่า​ให้​กับ​ สินค้า​เกษตร​และ​อาหาร

แนว​โน้มน​ าโน​เทคโนโลยี​ของ​โลก

จาก​ข้ อ มู ล ​ข อง​มู ล นิ ธิ ​วิ ท ยาศาสตร์ ​แ ห่ ง​ สหรัฐอเมริกา (National Science Foundation: NSF) พบ​ว่า​ตั้งแต่​ช่วง​ปี พ.ศ. 2544-2551 มี​จำนวน​การ​ ค้นคว้าว​ จิ ยั สิง่ ป​ ระดิษฐ์ บุคลากร เงินท​ นุ ว​ จิ ยั และ​ตลาด​ ของ​นาโน​เทคโนโลยี​เพิ่มข​ ึ้น​เฉลี่ย​ร้อย​ละ 25 ต่อ​ปี นาโน​เ ทคโนโลยี ​เ ป็ น ​เ ทคโนโลยี ​ที่ ​มี ​บ ทบาท​ สำคัญ​ใน​การ​เกื้อ​หนุน​อุตสาหกรรม​แขนง​ต่างๆ ให้​ พัฒนา​ก้าวหน้า เช่น ใน​อุตสาหกรรม​อิเล็กทรอนิกส์​ ระบบ​การ​ผลิต​ไมโคร​ชิพ​ใน​ปัจจุบัน​เริ่ม​พบ​ข้อ​จำกัด​จน​ ไม่​สามารถ​ลด​ขนาด​ลง​ไป​ได้​อีก กล่าว​คือ​การ​จะ​เพิ่ม​ จำนวน​ทรานซิสเตอร์ล​ ง​ไป​บน​ไมโคร​ชพิ จ​ ะ​ถกู จ​ ำกัดด​ ว้ ย​ ขนาด​ของ​ทรานซิสเตอร์ท​ เ​ี่ ล็กล​ ง​จน​กฎ​ทาง​ฟสิ กิ ส์ส​ ำหรับ​ ใช้​ใน​ระดับ​ไมโคร​เมตริก​เริ่ม​ไม่​สามารถ​อธิบาย​ได้ วิธี​ การ​เอาชนะ​ปัญหา​นี้​ก็​คือ​การ​พัฒนา​เทคโนโลยี​ใน​กลุ่ม ‘นาโน​อิเล็กทรอนิกส์’ สำหรับ​มูลค่า​ผลิตภัณฑ์​นาโน​เทคโนโลยี​ทั่ว​โลก​ มี​มูลค่า 254 พัน​ล้าน​เหรียญ​สหรัฐ ใน​ปี พ.ศ. 2552 โดย​ร้อย​ละ 55 เป็นก​ลุ่ม​อุตสาหกรรม​การ​ผลิต​และ​ วัสดุ​ซึ่ง​ประกอบ​ไป​ด้วย​อุตสาหกรรม​เคมี รถยนต์ และ​ ก่ อ สร้ า ง ร้ อ ย​ล ะ 30 เป็ น ก​ลุ่ ม ​อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ​แ ละ​ เทคโนโลยี​สารสนเทศ ร้อย​ละ 13 เป็นก​ลุ่มส​ ุขภาพ​และ​ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ​ซึ่ง​ประกอบ​ไป​ด้วย​ยา ตัวนำ​ส่ง​ยา และ​เครื่อง​มือ​ทางการ​แพทย์ และ​ร้อย​ละ 2 เป็นก​ลุ่ม​ พลังงาน​และ​สิ่ง​แวดล้อม สถาบัน Roco&Bainbridge ประมาณ​มูลค่า​ ตลาด​นาโน​เทคโนโลยี​ของ​โลก คาด​ว่า มูลค่า​ตลาด​ นาโน​เทคโนโลยี​ใน​ปี 2563 จะ​สูง​ถึง 3 ล้าน​ล้าน​ เหรียญ​สหรัฐ

ประเทศ​เอเชีย​กับ​นาโน​เทคโนโลยี

จี น : ใน​ช่ ว ง​ปี 2549-2553 ประเทศ​จี น ​ใช้ งบ​ประมาณ​ใน​การ​วิจัย​และ​พัฒนา​ทาง​ด้าน​นาโน​ เทคโนโลยี 760 ล้าน​เหรียญ​สหรัฐ โดย​เพิ่ม​ขึ้น 3 เท่า​จากช่วง​ปี 2544-2548 สิงคโปร์: ลงทุน​สร้าง​ห้อง​ทดลอง​คุณภาพ​สูง โดย​ใน​ปี 2553 Nanostart Asia Pte Ltd ซึ่ง​ เป็น​บริษัท​เอกชน​ของ​เยอรมัน​ที่มา​ลงทุน​ใน​ประเทศ​ สิงคโปร์ ให้​งบ​ลงทุน​ด้าน​วิจัย​และ​พัฒนา​รวม 20 ล้าน​เหรียญ​สหรัฐ เน้น​ทาง​ด้าน​เทคโนโลยี​ชีวภาพ​ นาโน​และ​การ​แพทย์​นาโน เวียดนาม: ตั้ง​ห้อง​ปฎิบัติ​การ​นาโน​เทคโนโลยี โดย​ ได้​รับ​การ​สนับสนุนจ​ าก​มหาวิทยาลัย​เป็น​เงิน 4.5 ล้าน​ เหรียญ​สหรัฐ เพื่อ​มุ่ง​เน้น​การ​เชื่อม​โยง​และ​ถ่ายทอด​ เทคโนโลยีไ​ป​สู่​อุตสาหกรรม​โดยตรง

: 26

Horizon08.indb 26

1/27/12 2:00:17 PM


เพิ่ม​ขีด​ความ​สามารถ​ภาค​เกษตร​ไทย​ ด้วย​นาโน​เทคโนโลยี

นาโน​เทคโนโลยี​ใน​ไทย

ตาม ‘กรอบ​นโยบาย​การ​พัฒนา​นาโน​เทคโนโลยี​ ของ​ประเทศไทย พ.ศ. 2555-2564’ มี​การ​กำหนด​ให้​ นาโน​เทคโนโลยีเ​ข้าม​ า​ชว่ ย​เพิม่ ม​ ลู ค่าใ​น 7 อุตสาหกรรม ได้ แ ก่ อุ ต สาหกรรม​เ กษตร​แ ละ​อ าหาร ยาน​ย นต์ อิเล็กทรอนิกส์ สิ่ง​ทอ/เคมี/ปิโตรเคมี OTOP พลังงาน​ และ​สิ่ง​แวดล้อม สุขภาพ​และ​การ​แพทย์ เพื่อ​ให้การ​ดำเนิน​งาน​ของ​ภาค​รัฐ เอกชน และ​ ภาค​ประชาชน ไป​ใน​ทิศทาง​เดียวกัน การ​ใช้​ทรัพยากร​ ของ​ประเทศ​ที่​มี​อยู่​อย่าง​จำกัด ให้​เกิด​ประโยชน์​สูงสุด​ ทั้ง​ใน​ระยะ​สั้น​และ​ระยะ​ยาว ประเทศไทย​จำเป็น​ต้อง​ กำหนด​ล ำดั บ ​ค วาม​ส ำคั ญ ​ห รื อ ​เ ลื อ ก​ล งทุ น ​ใ น​ส าขา เป้า​หมาย​ที่​ประเทศไทย​มี​ศักยภาพ​ความ​ได้​เปรียบ​และ​ มี​โอกาส​สูง​ใน​การ​พัฒนา ภาค​เกษตร​และ​อาหาร​เป็น 1 ใน​นั้น ประเทศไทย​เป็น​ประเทศ​ที่​มี​พื้น​ฐาน​การเกษตร​ เป็นห​ ลัก สินค้าเ​กษตร​และ​อตุ สาหกรรม​ทเ​ี่ กีย่ วข้อง​สร้าง​ ราย​ได้​เข้า​ประเทศ​อย่าง​ต่อ​เนื่อง แต่​ยัง​มี​ส่วน​หนึ่ง​ที่​ไม่​ สามารถ​สร้าง​ราย​ได้​ให้​กับ​ผู้​ผลิต เนื่องจาก​คุณภาพ​ไม่​ ตรง​กบั ค​ วาม​ตอ้ งการ​ของ​ตลาด​หรือไ​ม่ไ​ด้ม​ าตรฐาน ทัง้ นี​้ อาจ​มา​จาก​หลาย​ปัจจัย เช่น มี​สาร​ปน​เปื้อน​หรือ​โลหะ​ หนัก​แฝง​อยู่ ผลิตภัณฑ์ไ​ม่มี​คุณภาพ เป็นต้น กระบวนการ​เพาะ​ปลูก​ที่​ไม่มี​การ​พัฒนา​อาจ​ ทำให้ ​ผ ลผลิ ต ​มี ​ป ริ ม าณ​น้ อ ยห​รื อ ​ล ด​ล ง​ไ ม่ ​คุ้ ม ​ค่ า ​กั บ​ การ​ลงทุน ปัญหา​ดัง​กล่าว​ก่อ​ให้​เกิด​อุปสรรค​การ​เพิ่ม​ ขี ด ​ค วาม​ส ามารถ​ใ น​ก าร​แ ข่ ง ขั น ​ข อง​ป ระเทศ นาโน​ เทคโนโลยี​เป็น​เครื่อง​มือ​หนึ่ง​ที่​จะ​ช่วย​ลด​ปัญหา​อุ​สรร​ค ดัง​กล่าว​ได้ ใน​ช่ ว ง​แ ผน​พั ฒ นา​เ ศรษฐกิ จ ​แ ละ​สั ง คม​แ ห่ ง​ ชาติ​ฉบับ​ที่ 11 นาโน​เทคโนโลยี​จะ​มี​บทบาท​สำคัญ​ ต่อ​การ​พัฒนา​ใน​ด้าน​ต่างๆ ซึ่ง​รวม​ทั้ง​การเกษตร​และ​ อุตสาหกรรม​การ​ผลิต เช่น สามารถ​ตรวจ​วิเคราะห์​เพื่อ​ ลด​ปริมาณ​สาร​ปน​เปื้อน​หรือ​โลหะ​หนัก สามารถ​ผลิต​ ปุ๋ย​เพื่อ​ลด​ค่า​ใช้​จ่าย​หรือเ​พิ่ม​ผลผลิตต​ ่อ​ไร่ จึง​เป็น​ความ​ ท้าทาย​ใน​การ​พฒ ั นา​ซงึ่ ป​ ระเทศ​ทพ​ี่ ฒ ั นา​เทคโนโลยีช​ า้ จ​ ะ​ กลาย​เป็นผ​ ซ​ู้ อื้ แ​ ละ​มผ​ี ลิตภ​ าพ​ตำ่ ก​ ว่าป​ ระ​เท​ศอืน่ ๆ และ​ ไม่​สามารถ​แข่งขัน​กับป​ ระเทศ​คคู่​ ้า​ได้

การ​เพิ่ม​ขีด​ความ​สามารถ​ของ​ภาค​เกษตร​ด้วย​ นาโน​เทคโนโลยี ถือ​เป็น 1 ใน​หลาย​ยุทธศาสตร์​ของ ‘กรอ​บน​โย​บายฯ’ ที่​วาง​ไว้ นาโน​เทคโนโลยีถ​ กู พ​ ฒ ั นา​และ​ประยุกต์ใ​ช้ใ​น​การ​ เพิ่ม​ขีด​ความ​สามารถ​ใน​ภาค​เกษตร​และ​อุตสาหกรรม​ การ​ผลิต​ใน​หลาย​ส่วน​ตลอด​ห่วง​โซ่​มูลค่า อาทิ การ​ พั ฒนา​ปุ๋ ย วั ส ดุ ​ป รั บ ปรุ ง ​ดิ น อุ ป กรณ์ ​ต รวจ​จั บ ​แ ละ​ ป้องกัน​โรค​แมลง การ​ใช้​นาโน​เซนเซอร์​ใน​การ​ตรวจ​วัด​ สิง่ แ​ วดล้อม (อุณหภูมิ ความชืน้ สาร​ตกค้าง​หรือส​ าร​พษิ โลหะ​หนัก รวม​ทั้ง​ธาตุ​อาหาร​ใน​ดิน) แผ่น​ฟิล์ม​ที่​ใช้​ใน​ การ​เพาะ​ปลูก​หรือ​โรง​เรือน ​การ​ตรวจ​สอบ​เชื้อ​โรค​ใน​อาหาร การ​พัฒนา​ ด้ า น​บ รรจุ ​ภั ณ ฑ์ ​โ ดย​ใ ช้ ​ฟิ ล์ ม ​บ าง​ซึ่ ง ​ช่ ว ย​ก าร​ค วบคุ ม​ การ​ซึ ม ​ผ่ า น​ข อง​น้ ำ ​แ ละ​อ ากาศ​ไ ด้ ​ใ น​ช่ ว ง​ห ลั ง ​ก าร เก็บ​เกี่ยว​ของ​ภาค​เกษตร

27 :

Horizon08.indb 27

1/27/12 2:00:18 PM


เป้า​หมาย​ของ​ยุทธศาสตร์ เพิ่ม​ขีด​ความ​สามารถ​ภาค​เกษตร​ไทย​ ด้วย​นาโน​เทคโนโลยี หนึ่ง: มี​การ​ลงทุน​ด้าน​นาโน​เทคโนโลยี​ใน​ภาค​ เกษตร และ​อุตสาหกรรม​การ​ผลิต เพิ่มข​ ึ้น สอง: มี ​จ ำนวน​ผ ล​ง านการ​วิ จั ย ​ด้ า น​น าโน​ เทคโนโลยีท​ ี่​ภาค​การเกษตร และ​อุตสาหกรรม​การ​ผลิต ที่​สามารถ​นำ​ไป​ใช้​ประโยชน์​เชิง​พาณิชย์​เพิ่มม​ าก​ขึ้น สาม: ภาค​เกษตร และ​อุตสาหกรรม​การ​ผลิต มี​ อัตรา​จ้าง​งาน​ด้าน​นาโน​เทคโนโลยี​เพิ่ม​ขึ้น

กลยุทธ์​

• ส่ ง ​เ สริ ม ​ก าร​ส ร้ า ง​อ งค์ ​ค วาม​รู้ ​ด้ า น​น าโน​ เทคโนโลยี​ใน​กระบวนการ​ผลิต​และ​สร้าง​มูลค่า​เพิ่ม​ ตลอด​ห่วง​โซ่​คุณค่า ด้วยการ​กำหนด​ทศิ ทาง​งาน​วจิ ยั น​ าโน​เทคโนโลยี​ และ​เทคโนโลยีส​ ำหรับภ​ าค​การเกษตร​และ อุตสาหกรรม​ การ​ผลิต การ​สนับสนุน​การ​พัฒนา​และ​ต่อย​อด​งาน​วิจัย​ นาโน​เทคโนโลยีฐ​ าน และ​จดั ใ​ห้ม​ ก​ี าร​เข้าถ​ งึ ข​ อ้ มูลพ​ นื้ ฐ​ าน ข้อมูลผ​ ล​การ​วิจัยแ​ ละ​พัฒนา​ของ​ภาค​รัฐ และ​ข้อมูลจ​ าก​ ภาค​เอกชน • ส่ ง ​เ สริ ม ​ก ลไก​เ ชื่ อ ม​โ ยง​ด้ า น​ก าร​วิ จั ย ​แ ละ​ พัฒนา​และ​การ​ประยุกต์​ใช้ ระหว่าง​ภาค​การ​วิจัย​กับ​ ภาค​เอกชน ด้ ว ยการ​ส ร้ า ง​เ ครื อ ​ข่ า ย​ก าร​วิ จั ย ​แ ละ​พั ฒนา​ นาโน​เทคโนโลยี​ระหว่าง​ภาค​การ​วิจัย​และ​ภาค เอกชน​ ใน​ระดับ​ประเทศ​และ​ใน​ระดับ​นานาชาติ การ​สนับสนุน​ การ​สร้าง​กลไก/องค์กร​ที่​ทำ​หน้าที่​เชื่อม​โยง​ความ​รู้​และ​ ความ​ร่วม​มือ ระหว่าง​ภาค​รัฐ​และ​เอกชน • ผลั ก ​ดั น ​ใ ห้ ​มี ​ก ารนำ​ง าน​วิ จั ย ​ด้ า น​น าโน​ เทคโนโลยีไ​ป​ประยุกต์​ใช้​ใน​เชิง​พาณิชย์ ด้วยการ​สร้าง​แรง​จูงใจ​เพื่อ​กระตุ้น​ให้​เกิด​การ​ ลงทุน​ของ​ภาค​เอกชน และ​การก​ระ​ตุ้น​ให้​เกิด​การ​วิจัย​ และ​พั ฒนา​ร่ ว ม​กั น ​ร ะหว่ า ง​ห น่ ว ย​ง าน​ภ าค​รั ฐ ภาค​ การ​ศกึ ษา​และ​ภาค​เอกชน และ​มก​ี าร​ผลักด​ นั ใ​ห้ม​ ก​ี ารนำ​ ผล​งาน​วิจัย​ไป​ประยุกต์​ใช้​ใน​เชิง​พาณิชย์

ดัชนี​ชี้​วัด​ความ​สำเร็จ​ความ​สามารถ​ ภาค​เกษตร​โดย​นาโน​เทคโนโลยี

หนึ่ง: จำนวน​ผลิตภัณฑ์​สินค้า​ที่​มี​ส่วน​ประกอบ​ ที่​เกิด​จาก​นาโน​เทคโนโลยี หรือ​ใช้​นาโน​เทคโนโลยี​ช่วย​ ใน​การ​ผลิต สอง: มูลค่าข​ อง​สนิ ค้าแ​ ละ​บริการ​ทใ​ี่ ช้ค​ วาม​รด​ู้ า้ น​ นาโน​เทคโนโลยี​ต่อ​ผลิตภัณฑ์ม​ วล​รวม​ของ​ประเทศ​ชาติ สาม: จำนวน​เครือ​ข่าย​วิสาหกิจ​ใน​อุตสาหกรรม​ หลัก​ทมี่​ ี​การ​ประยุกต์ใ​ช้​เทคโนโลยี​นาโน สี่: อัตรา​การ​จ้าง​งาน​ใน​ด้าน​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​นาโน​ เทคโนโลยี นาโน​เ ทคโนโลยี ​จ ะ​มี ​ส่ ว น​ส นั บ สนุ น ​ใ ห้ ​ ประเทศไทย​เป็นผ​ ส​ู้ ง่ อ​ อก​สนิ ค้าเ​กษตร​และ​อาหาร​ลำ​ดบั ​ ต้นๆ ของ​โลก เช่น มี​วิธกี​ าร​ตรวจ​สอบ​ที่​มี​ประสิทธิภาพ​ สูง สามารถ​ให้​ผล​ตรวจ​ที่​รวด​เร็ว​มา​ใช้​ใน​การ​วิเคราะห์​ ปัญหา​โรค​ใน​ฟาร์ม​และ​ไร่​นา เช่น การ​เพาะ​เลี้ยง​กุ้ง การนำ​เทคโนโลยี​ฟิล์ม​บาง​ที่​มี​ความ​พรุน​ขนาด​นาโน (Nanoporous thin film) มา​ใช้​ห่อ​หุ้ม​ผลิตภัณฑ์ จะ​ ช่วย​เก็บ​รักษา​และ​แสดง​ผล​เมื่อ​หมด​อายุ​ของ​ผลิตภัณฑ์​ จาก​สวน​ผล​ไม้​และ​ไม้​ตัด​ดอก ที่​มี​มูลค่า​การ​ส่ง​ออก​ ประมาณ 6,000 ล้าน​บาท รวม​ทั้ง​การ​นำ​เอา​ไบ​โอ​ เซนเซอร์​มา​ใช้ใ​น​การ​ตรวจ​วัดส​ ภาพ​อากาศ น้ำ และ​ดิน เพื่อ​ติดตาม​สภาพ​แวดล้อม​ใน​กระบวนการ​ผลิต​และ​ ปรับปรุงค​ ุณภาพ​ของ​ผลผลิต​ทางการ​เกษตร

: 28

Horizon08.indb 28

1/27/12 2:00:18 PM


เมื่อ​มอง​ภาพ​อนาคต​ของ​ภาค​เกษตร​ไทย​ทั้ง 3 ภาพ ได้แก่ ‘ไม้​ป่า’ ‘ไม้​เลี้ยง’ และ ‘ไม้​ล้ม’ เรา​จะ​พบ​ว่า​ความ​เสี่ยง​ทั้ง​จาก​ปัจจัย​ภายใน​และ​ ปัจจัย​ภายนอก​ประเทศ​ทปี่​ ราก​ฏ​ใน 3 ภาพ สามารถ​เกิด​ได้​ทั้งส​ ิ้น ภาพ​ ความ​สำเร็จ​ของ​เกษตรกร​ทั้ง​แง่​ราย​ได้​และ​สถานะ​ทาง​สังคม​ใน ‘ไม้​ป่า’ ภาพ​ที่​ภาค​รัฐ​ให้การ​สนับสนุน​ภาค​เกษตร​แบบ​บูรณ​า​การ​มิใช่​แค่​หวัง​ คะแนน​เสียง​เหมือน​ปจั จุบนั ใ​น ‘ไม้เ​ลีย้ ง’ หรือภ​ าพ​ชวน​หดหูท​่ ท​ี่ ดี่ นิ ท​ ำ​กนิ ​ของ​เกษตรกร​ต่าง​หลุด​มือ​ไป​อยู่​ใน​การ​ครอบ​ครอง​ของ​นายทุน​ต่าง​ชาติ​ ใน ‘ไม้ล​ ้ม’ ความ​ไม่​แน่นอน​ของ​อนาคต​เปิด​โอกาส​ให้​มัน​เป็นไ​ป​ได้ท​ ั้ง​นั้น แต่ท​ แี่​ น่นอน​กค็​ ือค​ ง​ไม่มใี​คร​อยาก​เห็นภ​ าค​เกษตร​และ​สังคม​ไทย​ เป็นเ​ช่น​ที่​ปราก​ฏ​ใน​ภาพ ‘ไม้ล​ ้ม’ ปัจจุบัน เรา​มี​ความ​พยายาม​ที่​จะ​นำ​เอา​เทคโนโลยี​มา​ประยุกต์​ และ​พัฒนา​ภาค​เกษตร​และ​อาหาร​อย่าง ‘นาโน​เทคโนโลยี’ และ​มี (ร่าง) กรอบ​นโยบาย​การ​พฒ ั นา​นาโน​เทคโนโลยีข​ อง​ประเทศไทย (พ.ศ. 25552564) เป็นก​รอบ​และ​แนวทาง​ใน​การ​ใช้​นาโน​เทคโนโลยี​กับ​ภาค​ส่วน​ ต่างๆ โดย​เฉพาะ​ภาค​เกษตร​และ​อาหาร เรา​มี ‘เทคโนโลยีช​ ีวภาพ’ และ​มี (ร่าง) กรอบ​นโยบาย​การ​พัฒนา​ เทคโนโลยีช​ ีวภาพ​ของ​ประเทศไทย พ.ศ. 2555-2564 เป็นก​รอบ​และ​ แนวทาง​ใน​การ​ใช้​เทค​โนโลยี​ชีวภาพ​กับ​ภาค​ส่วน​ต่างๆ โดย​เฉพาะ​ภาค​ เกษตร​และ​อาหาร นอกจาก​เทคโนโลยี 2 ตัวน​ ี้ และ​กรอบ​นโยบาย​ของ​เทคโนโลยีท​ งั้ 2 ฉบับ ทีไ​่ ด้น​ ำ​เสนอ​ไป​บาง​สว่ น​นนั้ สังคม​​ของ​เรา​ยงั ม​ ค​ี วาม​พยายาม​ทจ​ี่ ะ​ มอง​ปัญหา​ใน​ภาค​เกษตร เพื่อช​ ่วย​กันแ​ ก้ไข​และ​พัฒนา​ให้​เป็นไ​ป​ใน​ทาง​ ทีด​่ ข​ี นึ้ เช่น ข้อเ​สนอ​แนว​ทา​งการปฏิร​ ปู ป​ ระเทศไทย โดย คณะ​กรรมการ​ ปฏิ รู ป ที่​พ ยายาม​เสนอ​แ นวคิ ด​ใ ห้ ​พ รรคการเมื อ ง​ม อง​เห็ น ​ปั ญ หา ภ​ าค​เกษตร​และ​นำ​ไป​ปฏิบตั ใ​ิ ห้เ​กิดผ​ ล เป็นข​ อ้ เ​สนอ​เชิงเ​รียก​รอ้ ง​ให้ม​ อบ​ อำนาจ​และ​สิทธิแ​ ก่​ชาวนา เป็​นข้อ​ เส​นอ​ใน​มิติ​การเมือง​และ​สังคม ทั้ง​มิติ​ของ​เทคโนโลยี เช่น เทคโนโลยี​ชีวภาพ นาโน​เทคโนโลยี หรือจ​ ะ​เป็นม​ ติ ท​ิ าง​สงั คม​โดย​คณะ​กร​รม​การ​ปฏิร​ ปู ก็ล​ ว้ น​แต่ท​ ำให้เ​รา​ไม่​ ต้อง​หวาด​กลัวจ​ น​เกินไ​ป​นกั ก​ บั อ​ นาคต​ทก​ี่ ำลังจ​ ะ​เกิดข​ นึ้ เหล่าน​ ล​ี้ ว้ น​แต่ เ​ป็นข​ อ้ เ​สนอ​ทร​ี่ อ​การ​นำ​ไป​ปฏิบตั ิ เป็นข​ อ้ มูล ความ​รท​ู้ ร​ี่ อ​การ​นำ​ไป​สร้าง​ ความ​เปลี่ยนแปลง

29 :

Horizon08.indb 29

1/27/12 2:00:21 PM


V ision

[text] [photo]

กองบรรณาธิการ อนุช ยนตมุติ

คลังสมองแห่งการเกษตรไทย ใน​ฐานะ​ผู้​จัด​ทำ ‘ภาพ​อนาคต​การเกษตร​ไทย 2563’ โดย​ มี​หมุด​หมาย​อยู่​ที่​การ​สร้าง​แนวทาง​การ​ปรับ​ตัว​ใน​ภาค​ เกษตร บน​โลก​ทม​ี่ แี นว​โน้มท​ จ​ี่ ะ​เปลีย่ นแปลง​ทงั้ ใ​น​กฎ​กติกา​ การ​ค้า​และ​ทรัพยากร​ที่​มี​อยู่​อย่าง​จำกัด ศ.ดร.ปิยะ​วตั ิ บุญ-หลง รศ.ดร.สม​พร อิศ​ วิล​ า​นนท์ และ​คณ ุ ณ​รา​พร ธีรก​ ลั ยาณ​พนั ธุ์ เป็นต​ วั แทน​จาก​สถาบัน​ คลัง​สมอง​ของ​ชาติ จะ​มา​ให้​มุม​มอง​ต่อ​ที่มา​ที่​ไป​ของ​ภาพ​ อนาคต​การเกษตร​ไทย 2563 และ​มมุ ม​ อง​สว่ น​ตวั ต​ อ่ เ​รือ่ ง​

ดัง​กล่าว ใน​มุม​มอง​ของ ‘เจ้า​ภาพ’ เพื่อ​ถ่วง​น้ำ​หนัก รศ.ดร.พงศ์​เทพ อัคร​ธน​กุล แห่ง ศูนย์ค​ วามเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีช​ วี ภาพ​เกษตร เป็น ‘แขก​รับ​เชิญ’ ใน​การ​เติม​เต็ม​มุม​มอง​ต่อ​ประเด็น​เดียวกัน แม้แต่ล​ ะ​มมุ ม​ อง​จะ​มร​ี อ่ ง​รอย​ของ​ความ​กงั วล แต่​ การเต​รี​ยม​พร้อม​เผชิญ​เหตุ ก็​เป็น​อาวุธ​ใน​การเต​รี​ยม​ รับมือ​กับ​ความ​กังวล​นั้น​ได้​เป็น​อย่าง​ดี

: 30

Horizon08.indb 30

1/27/12 2:00:23 PM


รศ.ดร.พงศ์เทพ อัครธนกุล

ผู้อำนวยการศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร

ความ​กั ง วล​ที่ ​ผ ม​มี ​ต่ อ ​อ นาคต​ข อง​ภ าค​ การเกษตร​ของ​ไทย คือ ใน​ขณะ​ที่​เรา​เป็น​ผู้นำ​

เพิ่ม​งาน​วิจัย​ก็​ไม่​เพิ่ม​งาน​วิจัย การ​สนับสนุน​ขนาด​ย่อย ขนาด​กลาง ขนาด​ใหญ่ มัน​เป็น​เรื่อง​ของ​การ​ตัดสิน​ใจ​ ทางการ​เมือง​ทั้งส​ ิ้น แล้ว​ถ้า​สมาชิก​ผู้​มี​เกียรติ​ทนี่​ ั่งอ​ ยู่​ใน​ รัฐสภา​ไม่​เข้าใจ​ปัญหา​นี้ เรา​ก็​คง​พัฒนา​อะไร​ไม่​ได้ เรา​ ใช้เ​งิน​ใน​การ​วิจัย​ใน​ภาค​การเกษตร​ไม่​ถึง 1 เปอร์เซ็นต์​ ของ​จีดีพี ขณะ​ที่​​ทางการ​ทหาร​ใช้งบ​ประมาณ 1.42 เปอร์เซ็นต์ เรา​เป็น​ผู้นำ​เข้า​อันดับ​ที่ 19 ของ​โลก จะ​เอา​ไป​ ซื้อ​เครื่อง​บิน รถ​ถัง...อะไร​ก็​ว่า​ไป ความ​สามารถ​ทาง​ เศรษฐกิจข​ อง​เรา​อยูอ​่ นั ดับท​ ี่ 30 ของ​โลก ความ​สามารถ​ ทาง​วทิ ยาศาสตร์เ​ทคโนโลยีอ​ ยูอ​่ นั ดับท​ ี่ 70 เรา​ตรวจ​สอบ ต​ วั เ​อง​หรือเ​ปล่า กลัน่ ก​ รอง สังเคราะห์ วิเคราะห์ แล้วท​ ำ​ อย่าง​มเ​ี หตุม​ ผ​ี ลอ​ยไ​ู่ หม เรา​ไม่ค​ อ่ ย​คดิ ว​ า่ ภ​ าค​การเกษตร​ เป็น​เรื่อง​ของ​วิทยาศาสตร์ มอง​ว่า​ภาค​เกษตร​เป็น​เรื่อง​ ของ​ไสยศาสตร์​หรือ​เปล่า​ก็​ไม่รู้ คือ​ถาม​พ่อ​โค​อยาก​กิน​ อะไร จะ​ต้อง​ไป​แห่​นาง​แมว​ให้​ฝน​ตก ที่​สำคัญ​เรา​มัก​ มอง​เกษตรกร​ต่ำต้อย ผม​ดีใจ​ที่ สว​ทน. มอง​อะไร​ที่​เป็น​ ระบบ​และ​เห็นค​ วาม​สำคัญข​ อง​เทคโนโลยีใ​น​ภาค​เกษตร เพราะ​ความ​สามารถ​ของ​ภาค​เกษตร​อย่าง​ทเ​ี่ รียน​ไป​แล้ว​ ว่า​มา​จาก​วิทยาศาสตร์​เทคโนโลยี​เป็น​สำคัญ

โลก​ใน​การ​ผลิตเ​พื่อ​ส่ง​ออก แต่​เรา​กลับเ​ป็น​ผู้​ตาม​ใน​กฎ​ กติกา เรา​ไม่ค​ วร​เป็นผ​ ต​ู้ าม เรา​ควร​ตอ้ ง​ไป​ปฏิสมั พันธ์ก​ บั ​ สิ่ง​ต่างๆ เหล่า​นี้​ให้​มาก​ขึ้น ผม​คิด​ว่า​เรา​ไม่​ได้​วางตัว​ ใน​ฐานะ​ผู้นำ และ​ใน​การ​วิจัย​เรา​ก็​ไม่​ได้​วางตัว​ใน​ฐานะ​ ผู้ น ำ​ด้ ว ย​เ ช่ น ​กั น เรา​ค วร​เ ป็ น ​ผู้ น ำ​ท าง​เ ทคโนโลยี ความ​ส ามารถ​ท างด้ า น​เทคโนโลยี​วิ ท ยาศาสตร์​ข อง​ ประเทศไทย​อยูป่​ ระมาณ​อนั ดับท​ ี่ 70 ของ​โลก แต่เ​รา​สง่ ​สินค้า​เกษตร​เป็น​อันดับ 10 ของ​โลก ตัวเลข​อันดับ​ มัน​ไม่​ไป​ทาง​เดียวกัน ขณะ​ทป​ี่ จั จัยภ​ ายใน​กน​็ า่ เ​ป็นห​ ว่ ง​อกี ด​ ว้ ย​ขอ้ จ​ ำกัด​ ทาง​ด้าน​กายภาพ พื้นที่​ใน​ประเทศ​มี​จำกัด พื้นทีเ่​กษตร​ ค่อน​ขา้ ง​จำกัด การ​ควบคุมท​ รัพยากร​นำ้ ก​ ท​็ ำ​ไม่ไ​ด้ พืน้ ที​่ ชลประทาน​ของ​เรา​มี​น้อย มี​ข้อ​จำกัด​ทาง​ด้าน​พลังงาน​ เพราะ​เรา​เป็น​ประเทศ​ผู้นำ​เข้า​พลังงาน แต่​ยัง​คง​มี​แสง​ สว่าง​เพราะ​เรา​มี​ศักยภาพ​ด้าน​ชีวภาพ มี​หลาย​คน​เป็น​ ห่วง​ว่า​เอา​พืช​อาหาร​ไป​เป็น​พลังงาน​มัน​จะ​เป็น​เรื่อง​ วิบัติ เรา​วิเคราะห์​แล้ว​ว่า​ประเทศไทย​มี​คาร์โบไฮเดรต​ มากกว่า​ความ​ต้องการ​ภายใน​ประเทศ ค่อน​ข้าง​ที่​เกิน​ จาก​ความ​ต้องการ​ใน​ประเทศ ทำไม​เรา​ไม่ห​ ันม​ า​เอา​จริง​ เรื่อง​พลังงาน​ชีวภาพ หรือ​ไบ​โอ​ดีเซล เรา​กค็​ วร​ให้​ความ​ สิ่ง​ที่​น่า​ห่วง​มากกว่า​นั้น คือ ผล​การ​สำรวจ​อายุ​ ของ​เกษตรกร เกษตรกร​ส่วน​ใหญ่​จะ​อายุ​เกิน 50 ปี สำคัญ​ใน​ตรง​นั้น​ด้วย เพราะ​ฉะนั้น​เรา​ต้อง​สร้าง​เกษตรกร​รุ่น​ใหม่ แล้ว​เกษตร​ ใน​ส่วน​ของ​ภาค​การเมือง ใน​สังคม​ที่​เรา​เรียก​ อายุ 50-60 ปี ที่​มี​ความ​รู้​และ​ทักษะ​ติดตัวก​ ็​จะ​หาย​ไป​ ว่า​ประชาธิปไตย การ​ตัดสิน​ใจ​ทุก​อย่าง​ก็​จะ​ต้อง​ผ่าน​ ตาม​เขา แล้ว​ถ้า​ไม่มี​รุ่น​ใหม่​เข้า​มา มัน​จะ​เป็น​อย่างไร กระบวนการ​ทางการ​เมือง มี​เรื่อง​ของ​งบ​ประมาณ การ​ ที่ ​ผ่ า น​ม า ความ​ส ำเร็ จ ​ข อง​ภ าค​ก ารเกษตร ตัดสิน​ใจ​ที่​ควร​จะ​เพิ่ม​กำลัง​คน​ก็​ไม่​เพิ่ม​กำลัง​คน ควร​ อย่าไ​ป​คดิ ว​ า่ เ​รา​มท​ี รัพยากร​มหาศาล​นะ​ครับ เพราะ​การ​ 31 :

Horizon08.indb 31

1/27/12 2:00:24 PM


ศึกษา​สอน​กัน​มา​ผิดๆ ว่า​ประเทศไทย​ มี ​ท รั พ ยากร ความ​จ ริ ง ​ก็ ​คื อ ​เ รา​มี ​ ทรัพยากร​น้อย​กว่า​ที่​คิด ดิน​เรา​ก็​ไม่​ ดี แสง​เรา​ก็​ไม่​ดี มี​เมฆ​หมอก​บดบัง​ บ้าง​อะไร​บ้าง ฝน​ก็​ตก​บ้าง​ไม่​ตก​บ้าง พื้นที่​ชลประทาน​ก็​มี​น้อย เรา​ไม่​ได้​ สมบูรณ์​อย่าง​ที่​คิด แต่​ความ​สำเร็จ​ ของ​ประเทศไทย​ใน​อดีต​ต้อง​ยก​ความ​ สามารถ​ให้เ​กษตรกร​ทม​ี่ ค​ี วาม​สามารถ​ ใช้ ​ท รั พ ยากร​ใ น​ก าร​ผ ลิ ต คื อ ​ค วาม​ สามารถ​ท าง​วิ ช าการ การ​วิ จั ย ​ก าร​ ค้นคว้า การ​เผย​แพร่​การ​ส่ง​เสริม​ให้​ เกษตรกร มี​การ​ถ่ายทอด​เทคโนโลยี​ จาก​สว่ น​ราชการ​และ​สถาบันก​ าร​ศกึ ษา รวม​ถึง​ภาค​เอกชน

ประเทศไทย​ค วร​เตรี ย ม​ตั ว ​ที่ ​จ ะ​เ ป็ น ​ฐ าน​ก าร​ผ ลิ ต​ อ า ห า ร ​ใ น ​อี ก 1 0 ปี ​ ข้าง​หน้า การเกษตร​เป็น​ทั้ง​ศาสตร์​

และ​ศิลป์ เป็นการ​ผสม​ผสาน​กัน​ของ​ วิทยาการ​ใน​สาขา​ตา่ งๆ ต้อง​ปฏิส​ นธิ... ผม​ใช้ค​ ำ​วา่ ป​ ฏิสนธิเ​พราะ​เป็นการ​ผสม​ ข้าม งาน​วทิ ยาการ​ดา้ น​เกษตร​ทเ​ี่ ข้มแ​ ข็ง​ คือ​การ​ผสม​สาขา​วิชา​ที่​หลาก​หลาย อะไร​กต็ าม​แต่ท​ ม​ี่ นั เ​ป็นผ​ ลผลิตอ​ อก​มา ไม่​ว่า​จะ​ทาง​ด้าน​วิศวกรรม​หรือ​ทาง​ ด้าน​คอมพิวเตอร์ไ​ฟฟ้าอ​ เิ ล็กทรอนิกส์ ต้อง​มี​การ​ข้าม​สาขา​วิชา การเกษตร​ ก็ ​เช่ น ​กั น ​ต้ อ ง​ใ ช้ ​เทคโนโลยี ​ก้ า วหน้ า​ มา​ปรับ​ใช้​ใน​สภาพ​พื้นที่​จริง ตัวอย่าง​ การ​ปรับปรุง​พันธุ์ ทำให้​ดี​กว่าของ​เดิม​ มี ​ศั ก ยภาพ​ม าก​ขึ้ น เกษตรกร​ต้ อ ง​ สามารถ​รั บ ​เ อา​เ ทคโนโลยี ​นั้ น ​ม า​ใ ช้ โดย​การ​ถ่ายทอด​เทคโนโลยี​นั้น​ไม่​ว่า​ จะ​เป็น โดย​รัฐ​หรือ​เอกชน นัก​วิชาการ​ เกษตร นั ก ​วิ ท ยาศาสตร์ และ​นั ก​ เทคโนโลยี เกษตรกร​รุ่ น ​ใ หม่ ​เ ป็ น ​ส มบั ติ ​ อย่าง​หนึ่ง​นะ ผม​คิด​ว่า​เกษตรกร​ไทย​ และ​ผู้​เกี่ยวข้อง ต้อง​ทำตัว​เป็น​สมาชิก​ ของ​เศรษฐกิจ ต้อง​พร้อม​ที่​จะ​เรียน​รู้ ต้อง​เรียก​ร้อง​ที่​จะ​เรียน​รู้

ศ.ดร.ปิยะวัติ บุญ-หลง

ผู้อำนวยการสถาบันคลังสมองของชาติ

ที่มา​ที่​ไป​ของ​การ​จัด​ทำ​ภาพ​อนาคต​การเกษตร​ไทย

เป็น​เรื่อง​ต่อ​เนื่อง​มา​จาก​การ​ทำ​ภาพ​อนาคต​ประเทศไทย จน​กระทั่ง​ สืบเ​นือ่ ง​มา​เป็นการ​ทำ​ภาพ​อนาคต​ใน​ระดับภ​ มู ภิ าค 3 ภูมภิ าค เพือ่ ต​ อ่ ​ เป็น​ภาพ​ของ​ประเทศไทย สิ่งท​ ี่​คลัง​สมองฯ ​สนใจ​ก็​คือ​ว่า​ภาพ​อนาคต​ ภาค​การเกษตร​ไทย​ที่​เรา​ทำ​ออก​มา​นี้​มัน​จะ​วก​กลับ​มา​สู่​มหาวิทยาลัย​ อย่างไร​ใน​เรื่อง​การเต​รี​ยม​กำลัง​คน เมื่อเ​ห็น​ภาพ​อย่าง​นี้​แล้ว​ต่อ​ไป​เรา​ จะ​จดั การ​อย่างไร​กบั เ​รือ่ ง​กำลังค​ น เพราะ​ตอน​นท​ี้ กุ ค​ น​ไป​ตาม​นโยบาย​ ของ​รัฐ​ที่​เป็น Short Run ใกล้ๆ แต่ Long Term Policy ทีเ่​รา​ทำ ​มันไ​ม่มี​เลย​นะ​ครับ แม้แต่ใ​น​มหาวิทยาลัย​กพ็​ ูด​กัน​น้อย​มาก

ผม​คำนวณ​วา่ เ​รา​อาจ​จะ​ตอ้ ง​ใช้เ​วลา​ถงึ 10 ปี ถ้าม​ อง​โจทย์​ ระยะ​ยาว​ใน​การ​ดำเนินน​ โยบาย​หรือก​ จิ กรรม​ตา่ งๆ ให้เ​ป็นไ​ป​ตาม​ภาพ​ อนาคต​ที่​เรา​วาง เรา​ต้อง​ผลัก​ดัน​เรื่อง​นี้​ผ่าน​มหาวิทยาลัย ซึ่ง​ใช้​เวลา​ เป็น 10 ปี แต่​ถ้า​จะ​เอา​ระยะ​สั้น ต้อง​ใช้ Social Movement ขณะ​ที่​ การ​เดิน​เข้าไป​เสนอ​ไอ​เดีย​ให้​รัฐบาล​ผม​มอง​ว่า​มัน​ไม่​ยั่งยืน เรา​อาจ​จะ​ต้อง​แยก​ตั้งแต่ต​ ้น​เลย​นะ​ครับ มัน​มี​สอง​ส่วน​น่ะ​ครับ คือ​การเกษตร​ที่​เป็น​ภาค​ธุรกิจ​กับ​ราย​ย่อย ถ้า​ไม่​แยก​ตั้งแต่​ต้น​มัน​ จะ​ยุ่ง ฉะนั้น​มหาวิทยาลัย​ต้อง​ผลิต​คน​เพื่อ​ภาค​การเกษตร​สมัย​ใหม่

: 32

Horizon08.indb 32

1/27/12 2:00:26 PM


คุณณราพร ธีรกัลยาณพันธุ์

ผู้ช่วยนักวิจัยแห่งสถาบันคลังสมองของชาติ

จาก​การ​ศึกษา​ของ​สถาบั น​คลั ง ​สมอง​ของ​ชาติ​พบ​ว่ า​

ทัง้ 3 ภูมภิ าค ปัญหา​ของ​ภาค​การเกษตร​เป็นเ​รือ่ ง​ความ​เหลือ่ ม​ลำ้ ท​ าง​สงั คม รวม​ถึง​ประเด็น​การ​รักษา​อัต​ลักษณ์​ของ​พื้นที่ เรื่อง​คุณภาพ​อาหาร การ​ ปรับ​ตัว​ใน​ประเด็น Creative Economy เรื่อง​ของ​ต่างด้าว​ที่​เข้า​มา​ใช้​ แรงงาน​ใน​ประเทศ รวม​ทงั้ ค​ วาม​กลัวเ​รือ่ ง​ของ​การ​ผสม​ขา้ ม​วฒ ั นธรรม เช่น การ​แต่งงาน​ระหว่าง​ชาว​ตา่ ง​ชาติก​ บั ผ​ ห​ู้ ญิงไ​ทย เรือ่ ง​ของ​วฒ ั นธรรม​ทต​ี่ า่ ง​ไป​ จากเดิม เรือ่ ง​ของ​นวัตกรรม​พลังง​ าน​ใหม่ๆ เรือ่ ง​ของ​อตุ สาหกรรม​หนักท​ จ​ี่ ะ​ เข้าไป​ใน​พื้นที่​มากกว่า​เรื่อง​ของ​อุตสาหกรรม​เกษตร​และ​อาหาร คื อ ​ต้ อ ง​มี ​ค น​ส่ ว น​ห นึ่ ง ​ที่ ​ล ง​ไ ป​ ทำงาน​กับ​เกษตรกร เป็น​งาน​เชิง​ สาธารณะ อีก​ส่วน​หนึ่ง​ต้อง​ลง​ลึก​ ทาง​งาน​วิจัย​ค้นคว้า คน​รนุ่ ใ​หม่ต​ อ้ ง​เป็นนักจ​ ดั การ ​ฟ าร์ ม (Farm Management) แต่ ​ด้ ว ย​ห ลั ก สู ต ร​ก าร​ศึ ก ษา​ข อง​ ไทย​เ มื่ อ ​เ วลา​ผ่ า น​ไ ป​มี ​ก าร​ตั ด Core ที่​สำคัญ​ออก​ไป เป็นการ​ ผลิ ต ​ค น​แ บบ​แ ท่ ง ดั ง ​นั้ น ​ค วร​มี ​ การ​ผลิต​ทั้ง​แบบ​แท่ง​และ​แนว​ราบ ​ใ ห้ ​เ กิ ด ​ค วาม​ส มดุ ล และ​มี ​ก าร​ แข่ ง ขั น ​ร ะหว่ า ง​รั ฐ ​แ ละ​เ อกชน​ที่ ​ เปิด​โอกาส​ให้​เอกชน​สามารถ​เลือก​ บุคลากร​ภาค​การเกษตร​ได้​

ภาค​การเกษตร​ไม่​ได้​อยู​่อย่าง​โดด​เดีย่ ว แต่​ม​คี วาม​เชือ่ ม​โยง ​ไ ป​ยัง ​ภ าค​อุต สาหกรรม​ท่ี​ต่อ ​เ นื่อ ง เนื่อ งจาก​ภ าค​ก ารเกษตร​เ ป็ น​ ภาพ​ใหญ่ จึง​ไม่​ได้​อยู่​แต่​เฉพาะภาค​การ​ผลิต แต่​มัน​เกี่ยว​โยง​ไป​ ถึง​การ​ผลิต​ท้ัง​ต้น​และ​ปลาย​น้ำ​ด้วย จาก​ภาพ​น้ี​ท่ี​เรา​ทำ​ไว้​มัน​จะ​ มี ​ก ลไก​ต่ อ ​เ นื่ อ ง​ไ ป​สู่ ​ก าร​พั ฒนา​ก ำลั ง ​ค น​ร ะดั บ ​อุ ด มศึ ก ษา ที่ ​เ รา​ กำลั ง ​พ ยายาม​พั ฒ นา​อ ยู่ ​คื อ ​ภ าพ​อ นาคต​ใ น​ส่ ว น​ก ำลั ง ​ค น​ร ะดั บ​ อุ​ดม​ศึกษา​สาขา​เกษตร โดย​คณะ​เกษตร(มก.) ที่​อยาก​จะ​ได้​ภาพ​ท่​ีลง​ ราย​ละเอียดมาก​ขน้ึ เนื่องจาก​ภาพ​อนาคต​ทางการ​เกษตร​มัน​เป็น​ภาพ​ท่ี​ใหญ่ แล้ว​ ภาพ​ท่​ีเรา​อยาก​ลง​ราย​ละเอียด​​เจาะ​ลึก​ก็​คือ​เรื่อง​ของ​การเกษตรระดับ​ อุ​ดม​ศึกษา เพราะ​ตอน​แรก​ท่ีทาง​สถาบัน​อุดมศึกษา​สาขา​เกษตร​ เห็น​ภาพ​อนาคต​ท่ีทาง​คลัง​สมองฯจัด​ทำ​ก็​ตกใจ เพราะ​เขา​ไม่​เชื่อ ​ว่า​จะ​มี​มหาวิทยาลัย​เกษตรกร หมาย​ถึงว่า​ใน​เมื่อมีมหาวิทยาลัยที่รัฐ​ ให้การ​สนับสนุน​อยู่​แล้ว เขา​มอง​ว่า​ถ้า​เกิด​มหาวิทยาลัย​เกษตรกร​ ขึ้น​มา​จริงๆ แล้ว​บทบาท​เขา​จะ​อยู่​ตรง​ไหน จะ​ผลิต​อะไร​ออก​มา ​ใน​เมือ่ ​เกษตรกร​ไป​ตง้ั ​มหาวิทยาลัย​ของ​ตวั ​เอง แต่​ก​ต็ อ้ ง​มา​มอง​กนั ​และ​ ลง​ราย​ละเอียด​อกี ท​ ห​ี นึง่ ว​ า่ ม​ หาวิทยาลัยเ​ดิมจ​ ะ​สาน​ตอ่ ป​ ระเด็นน​ อ​้ี ย่างไร เป็นการ​ตอ่ ย​อด 33 :

Horizon08.indb 33

1/27/12 2:00:27 PM


รศ.สม​พร อิ​ศวิ​ลา​นนท์

นัก​วิชาการ​อาวุโส​แห่ง​สถาบัน​คลัง​สมอง​ของ​ชาติ

ผม​ม อง​ว่ า ​ม หาวิ ท ยาลั ย ​ต้ อ ง​เปลี่ ย น​ก ระบวน​ทั ศ น์ (Paradigm) มี 2 ทาง​เลือก ด้าน​หนึ่ง​มหาวิทยาลัย​ต้อง​ผลิต​คน

ป​ ้อน​ลง​สู่​ชุมชน​ให้​ได้ ซึ่งต​ ้อง​ปรับ​หลักสูตร​เข้า​มา อีก​ทาง​ป้อน​คน​เป็น ​นัก​วิทยาศาสตร์ แต่​ผม​มอง​ว่า​เรา​ต้อง​ปั้น​นัก​จัดการ​ฟาร์ม ตอน​นี้​ มหาวิทยาลัย​กำลัง​ปั้น​นัก​วิทยาศาสตร์​ทาง​ฟาร์ม​แต่​ไม่​ใช่นัก​จัดการ​ ฟาร์ม

เรา​ต้ อ งหา​เทคโนโลยี ​ไป​ใส่ ​ให้ ​เกษตรกร​ร าย​ย่ อ ย

เพื่อ​ให้​คน​กลุ่ม​นี้​สามารถ​แข่งขัน​ได้​ใน​ระดับ​หนึ่ง และ​สามารถ​อยู่​ได้ รัฐบาล​ควร Subsidize การ​ผลิต​ที่​ใส่ใจ​สิ่ง​แวดล้อม​มากกว่า​เน้น​การ Subsidizeให้เ​กษตรกร​ทผ​ี่ ลิตเ​น้นป​ ริมาณ (Mass) เช่นป​ จั จุบนั ให้การ​ สนับสนุน​ตลาด​สินค้า​ที่​เป็น​มิตร​ต่อ​สิ่ง​แวดล้อม ผม​คิด​ว่า​ตรง​นี้​เป็น ​จุด​สำคัญ​สำหรับ​แต่ละ​ท้อง​ถิ่น​แต่ละ​พื้นที่ ทำให้เ​กิด Niche Market ช่วย​ให้​เกษตรกร​ราย​ย่อย​มี​วิถี​ชีวิต​อยู่​ได้​ด้วย​การ​ผลิต​สินค้า​ที่​เชื่อม​ต่อ : 34

Horizon08.indb 34

1/27/12 2:00:28 PM


​กั บ ​ต ลาด​โ ลก​ไ ด้​เลย ผม​ย ก​ตั ว อย่ า ง ข้ า ว​ห อม​ม ะลิ ​ คุณธรรม ที่​ปลูก​ใน​จังหวัด​สกลนคร ถ้า​คุณ​พูด​เป็น​ ภาษา​อังกฤษ​มัน​เพราะ​มาก ‘Moral Organic Jasmine Rice’ มี​พ่อค้า​ที่​พา​รา​กอน​เห็น​ทิศทาง​ตลาด​จับ​ไป​ทำ Packaging เขียน​เล่า​เรื่อง​ราว ยี่ห้อ​นี้​ปลูก​โดยคน​ถือศีล ถาม​ว่า​รัฐ​สนับสนุน​อะไร….ข้าว​พื้น​เมือง ‘ข้าว​ลืม ​ผัว’ (ข้าว​เหนียว​ดำ​ซึ่ง​ปลูก​ใน​แถบ​ภูเขา​สูง) รสชาติ​ดี​มาก ปลูกแ​ ถบ​เพชรบูรณ์ นีค​่ อื ค​ วาม​จำเพาะระดับพืน้ ที่ (Area Specific) ท​ เ​ี่ กิดข​ นึ้ ถ้าเ​รา​ทำ​แบบ​นก​ี้ บั ส​ นิ ค้าเ​กษตร​อนื่ ๆ ก็​สามารถ​ทำให้​ราคา​สินค้า​เกษตร​สูง​ขึ้น​ได้ แทนที่​เรา​ จะ​เป็น​ศูนย์กลาง​การ​ค้า​ข้าว​ของ​โลก เรา​ต้อง​กลับ​มา ​คิด​ว่า ใน​ขณะ​ที่​สิงคโปร์​ไม่​ได้​ปลูก​ข้าว​แต่​สามารถทำ Future Market สำหรับข​ ้าว​ได้ สิ่ง​ที่​รัฐ​ต้อง​ทำ​ทันที คือ การ​หา​มาตรการ​มา ดู แ ล เพื่ อ ​ใ ห้ ​เ กษตรกร​ส ามารถ​มี ​พั น ธุ์ ​แ ท้ ​ใ น​ก าร​ เพาะ​ป ลู ก เพราะ​ปั จ จุ บั น ​เ กษตรกร​ป ระสบ​ปั ญ หา​ พันธุ์​ข้าว​ปน เพราะ​พ่อค้า​เมล็ด​พันธุ์​ไม่มี​การ​คัด​พันธุ์​ เก็บ​เกี่ยว​อย่างไร​ก็​เอา​มา​ขาย ซึ่ง​สำนักงาน​กองทุน​ สนั บ สนุ น ​ก าร​วิ จั ย (สกว.) เคย​พ ยายาม​ที่ ​จ ะ​ผ ลิ ต ​เมล็ด​พันธุ์​ที่​ชัยนาท​ที่​ให้​มี​มาตรฐาน​แต่​ทำได้​ยาก​มาก เพราะ​ไม่มี​มาตรการ​มา​ควบคุม​เพื่อ​ให้​เป็น​มาตรฐาน​ เดียวกัน ใน​ขณะ​ที่​ต่าง​ประเทศ​มี​การ​ควบคุม​ให้​อยู่​ใน​ มาตรฐาน รัฐ​มอง​ว่า​เมื่อ​เรา​รวม​เป็น​ประชาคม​เศรษฐกิจ​ อาเซียน (AEC) แล้ว​เรา​จะ​ส่ง​ออก​ข้าว​เป็น​อันดับ 1 ของ​โลก ตอน​นี้​ผม​หวั่น​ใจ​ว่า​ใน​อีก 10 ปี​ข้าง​หน้า​มัน​จะ​ ไม่ใช่ ถึง​แม้​ตอน​นี้​เรา​จะ​เป็น​อันดับ 1 อยู่​ก็ตาม ​มอง​ ให้​ดี​ประเทศไทย​มี​อุตสาหกรรม​ต่อ​เนื่อง​ที่​ดี ปลาย​น้ำ​ ของ​เรา​ดี เรา​มี​อาหาร​กระป๋อง​ที่​ทำ​มา​ยาวนาน พัฒนา ​ล้ำ​หน้า​อาเซียน​ใน​เชิง​ส่ง​ออก​สินค้า​เกษตร​และ​อาหาร ซึ่ง​เรา​ยัง​สามารถ​ไป​ได้​ดี​ใน​ตลาด​อาเซียน ใน​ขณะ​ที่​ เวี ย ดนาม​เ อง​ก็ ​มี ​ก าร​ล งทุ น ​ด้ า น​นี้ ​ม าก​ขึ้ น ​เ พราะ​ เทคโนโลยีอ​ าหาร​แปรรูปส​ ามารถ​ตาม​กันไ​ด้​ทัน ใน 5 ปี

10 ปี ฉะนั้นต​ ่อ​ไป​อาจ​จะ​สู้​เวียดนาม​ลำบาก เมื่ อ ​พู ด ​ถึ ง ​ป ระชาคม​เศรษฐกิ จ ​อ าเซี ย น การ​ บริหาร​จัดการ​ของ​ประเทศ​เป็น​ไป​ใน​ลักษณะ​ที่​อาจ​จะ​ เป็นการ​ขัด​ขวาง​ประโยชน์​ที่​ประเทศ​ควร​จะ​ได้​รับ​จาก​ การ​เป็น​ประชาคม​เศรษฐกิจ​อาเซียน เช่น เรื่อง​ข้าว ยกเว้น​เรื่อง​การ​ส่ง​ออก​และ​การ​ท่อง​เที่ยว เนื่องจาก​ บริบท​นี้​ประเทศไทย​มี​ความ​เข้ม​แข็ง​กว่า​ประ​เท​ศอื่นๆ ใน​ก ลุ่ ม อาเซี ย น ฉะนั้ น​ที่ ​บ อก​ว่ า ​เรา​ส่ ง ​อ อก​เกิ น ​ดุ ล​ อาเซียน คือ​เรา​ส่ง​ออก​รถยนต์​เป็น​อันดับ 1 และ​สินค้า​ อิเล็กทรอนิกส์ไ​ด้เ​ป็นอ​ นั ด​ บั ต​ น้ ๆ ซึง่ ร​ าย​ได้น​ เ​ี้ ป็นส​ ดั ส่วน​ ทีน่​ ้อย​มาก​เมื่อ​เทียบ​กับ​ราย​ได้​รวม​ทั้งหมด​ของ​ประเทศ

เกษตร​อิ น ทรี ย์ ​จ ะ​เ ป็ น ​ท าง​เ ลื อ ก​ห รื อ​ ข้อ​จำกัด​สำหรับ​เกษตรกร? การ​ท่ี​เรา​บอก​

ว่า​ตอ้ ง​เป็น​เกษตร​อนิ ทรีย์ แต่​ตอ้ ง​มอง​ขอ้ ​จำกัด​ของ​ สภาพ​ดนิ น้ำ ความ​เหมาะ​สม​ของ​พน้ื ที่ ผม​กลับ​มอง​ ว่า​เกษตร​อินทรีย์​สามารถ​ทำได้​แต่​ต้อง​ไม่ใช่​การ​ผลิต​ ที่​เน้น​ปริ​มาณ​มากๆ แต่​รัฐ​ต้อง​ให้การ​สนับสนุน​ใน​ เรื่อง​ของ​ตลาด​สำหรับ​สินค้า​อินทรีย์​แยก​จาก​สินค้า​ แบ​บอื่นๆ เร่ง​ให้​ผ้​ูบริโภค​เห็น​ความ​สำคัญ เพื่อ​ให้​มี​ ้ ง​เข้าใจ​วา่ แ​ นวคิด​ ความ​แตก​ตา่ ง​ดา้ น​ราคา และ​ตอ

เกษตร​พอ​เพียง​เป็น​คนละ​เรื่อง​กับ​แนวคิด​ เกษตร​อินทรีย์ ซึ่ง​แนวคิด​เกษตร​พอ​เพียง​มี​ เรื่อง​การ​จัดการ​ฟาร์ม​ซึ่ง​เป็น​เรื่อง​ที่​ดี​มาก​ สำหรับ​การ​ทำการ​เกษตร ประเทศไทย​ค วร​ภ าค​ภู มิ ​ใจ​ใน​ก าร​เป็ น​ ผู้​ส่ง​ออก​ข้าว​อันดับ 1 หรือ​ไม่ เพราะ​จาก​

ปัญหา​ภัย​น้ำ​ท่วม​ท่​ีผ่าน​มา พบ​ว่า ประเทศไทย​เป็น​ ผูส​้ ง่ อ​ อก​ขา้ ว​ทส​่ี ำคัญข​ อง​โลก แต่ร​ าคา​ขา้ ว​ใน​ตลาด​โลก​ ไม่ส​ ะท้อน​ถงึ ป​ ญ ั หา​ดงั ก​ ล่าว ประเทศไทย​ตอ้ ง​หนั ก​ ลับ​ มา​มอง​ว่า​เรา​ยัง​คง​เป็น​ผ้นู ำ​ใน​การ​ส่ง​ออก​ข้าว​อยู่​จริง​ หรือ​ไม่ 35 :

Horizon08.indb 35

1/27/12 2:00:29 PM


I nterview

[text]

กองบรรณาธิการ อนุช ยนตมุติ

6 คำถาม [photo]

กับอนาคตภาคเกษตรไทย รศ.ดร.ปริทรรศน์ พันธุบ​ รรยง​ค์ ข้อเ​ท็จจ​ ริงห​ นึง่ ก​ ค​็ อื เรา​เป็นผ​ ส​ู้ ง่ อ​ อก ​ข้ า ว​ร าย​ใหญ่ ​ข อง​โลก และ​สั่ ง สม​ ภูมิปัญญา​ใน​การ​ทำการ​เกษตร​มา​ ช้า​นาน สภาพ​ดิน​ฟ้า​อากาศ​ก็​เอื้อ​ อำนวย อีก​ขอ้ ​เท็จจ​ ริงห​ นึง่ ก​ ค​็ อื โลก​ม​ี แนว​โน้มเ​ปิดก​ ว้าง​มาก​ขึ้น เสรี​มาก​ขึ้น ใกล้ ​ตั ว ​เรา​เข้ า ​ม า​ห น่ อ ย​ก็ ​คื อ ​ก าร​ เป็ น ​ป ระชาคม​เศรษฐกิ จ ​อ าเซี ย น​ใน​ ปี 2558 บน​ขอ้ เ​ท็จจ​ ริงท​ เ​ี่ รา​เป็นป​ ระเทศ​ อูข่​ ้าว​อู่น้ำ เรา​จะ​ปรับ​ตัวอย่าง​ไร ยั ง ​ไม่ ​นั บ ​ข้ อ ​ต กลง​ท างการ​ ค้า​ระหว่าง​ประเทศ​ที่​ถูก​ออกแบบ​มา​ ภาย​ใต้​แนว​โน้ม​ที่​โลก​มี​ทรัพยากร​ให้​ ใช้สอย​อย่าง​จำกัด สภาพ​ภูมิ​อากาศ​ เปลี่ยนแปลง​ทำให้​กฎ​กติกา​ทางการ​ ค้าเ​ปลี่ยน​ไป​ด้วย เรา​เดินท​ าง​ไป​ยงั ส​ ถาน​ทต​ี่ า่ งๆ เพือ่ พ​ บ​บคุ คล​ทงั้ 6 ท่าน เพือ่ ข​ อ​ความ​ คิดเ​ห็น​ของ​แต่ละ​ท่าน​ใน​ประเด็น​ทเี่​กี่ยว​ เนื่อง​กับ​ภาค​การเกษตร บาง​คน​เป็น​ นั ก ​วิ ช าการ บาง​ค น​เป็ น ​ผู้ ​ส่ ง ​อ อก​ สินค้า​เกษตร บาง​คน​เป็น​เกษตรกร เรา​มา​นงั่ ล​ ง​พดู ค​ ยุ ก​ นั เ​พือ่ ห​ า​ขอ้ ต​ กลง​ ร่วม​กัน ​ว่า​เรา​คือ ​ใคร และ​จะ​เดิน ​ไป​ ด้ ว ย​ท่ า ที​อ ย่ า งไร​บ น​โลก​แห่ ง​ค วาม​ เปลี่ยนแปลง – อย่าง​แรง

ผูเ​้ ชีย่ วชาญ​และ​สนใจ​ใน​ดา้ น​วศิ วกรรม​ โลหการ และ​วิศวกรรม​อุตสาห​การ มี​ ผล​งาน​วจิ ยั ผล​งาน​วชิ าการ ตำรา และ​ หนังสือ​แปล​จำนวน​มาก ปัจจุบัน​ดำรง​ ตำแหน่ง​ผู้อำนวยการสมาคมส่งเสริม เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)

หาก​เรา​เลือก​แล้ว​ว่า ภาค​การเกษตร​ จะ​เป็น​ตัว​หลัก​ใน​การ​ขับ​เคลื่อน​ประเทศ อาจารย์ม​ อง​วา่ ภาค​การเกษตร​ไทย​ควร​ จะ​เดิน​ไป​ใน​ทิศทาง​ไหน ผลิตภ​ าพ​ของ​ภาค​การเกษตร ผม​มอง​ว่า​พื้น​ฐาน​คือ​ไบ​โอ​เทคโนโลยี ผม​ว่า​เรา​ หนีไ​ม่พ​ น้ ส่วน​หนึง่ อ​ าจ​จะ​ทำ​ใน​เรือ่ ง​ของ​การ​ตดั ต​ อ่ พ​ นั ธุกรรม โดย​เปิดเ​ผย​หรือ​ แบบ​ลบั ...ก็แ​ ล้วแ​ ต่ เรา​สามารถ​ทำได้โ​ดย​เฉพาะ​พชื ผ​ ล​ทไ​ี่ ม่ใช่พ​ ชื อ​ าหาร เป็นพ​ ชื ​ พลังงาน​หรือเ​ส้นใย​สิ่ง​ทอ ตรง​นี้​สามารถ​ทำได้ แต่ส​ งั คม​ไทยไม่เ​ป็นเ​ช่นน​ นั้ ฝ่าย​หนึง่ บ​ อก​วา่ ใ​น​เมือ่ ย​ งั ไ​ม่มห​ี ลักฐ​ าน​เรือ่ ง​ อันตราย​ทำไม​ยงั ไ​ม่ท​ ำ ขณะ​ทอ​ี่ กี ข​ า้ ง​บอก​วา่ ก​ ใ​็ น​เมือ่ ไ​ม่มห​ี ลักฐ​ าน​เรือ่ ง​อนั ตราย​ ก็จ​ ง​อย่าท​ ำ​ดก​ี ว่า...แล้วใ​คร​ชนะ เหมือน​ประเด็นพ​ ลังงาน​นวิ เคลียร์ เรือ่ ง​เหล่าน​ ​ี้ เป็น​จุด​อ่อนข​อง​บ้าน​เรา เรื่อง​ใด​ที่​ต้องการ​การ​ตัดสิน​ใจ​เพื่อ​เห็น ​ผล​ใน​ระยะ​ ยาว​มัก​ไม่​เกิด เพราะ​ผู้​มี​อำนาจ​ใน​การ​ตัดสิน​ใจ​คือ​รัฐบาล ซึ่ง​เขา​มัก​คำนึง​ถึง​ คะแนน​เสียง​เป็น​หลัก เมื่อ​ตัดสิน​ใจ​อะไร​ไป​แล้ว​ไม่​ได้​คะแนน​เสียง​เพิ่ม​ขึ้น เขา​ ก็​ไม่​ตัดสิน​ใจ ประเทศไทย​ใน​อีก 3-4 ปี​ข้าง​หน้า​กำลัง​จะ​เข้า​สู่​ประชาคม​เศรษฐกิจ​ อาเซียน จะ​เกิดเ​สรี​ใน​การ​เคลื่อน​ย้าย​เรื่อง​เงิน​ทุน แรงงาน ความ​เปลี่ยนแปลง​ ทาง​วิชาการ เป็นต้น เมื่อ​มอง​จาก​บท​เรียน​ของ​สหภาพ​ยุโรป​มัน​คง​ไม่​ง่าย​และ​ คล่อง​ตวั อย่าง​สภาพ​ยโุ รป ปัญหา​อปุ สรรค​อาจ​จะ​มากกว่าน​ นั้ ผม​มอง​วา่ ช​ อ่ ง​วา่ ง​ ระหว่าง​ประเทศ​ใน​กลุ่ม​อาเซียน​มี​มากกว่า​กลุ่ม​ยุโรป โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​ผม​ กลัว​ว่า​คน​ไทย​จะ​เสีย​เปรียบ​กว่า​เขา​เยอะ เรา​ไม่​ให้​ความ​สำคัญ​กับ​ภาษา​ของ​ ประเทศ​เพื่อน​บ้าน​สัก​เท่าไร เรา​ไป​สนใจ​แต่​ภาษา​อังกฤษ จำเป็น​ที่​ต้อง​ให้​คน​ของ​เรา​เรียน​รู้​ภาษา​ของ​คน​ชา​ติ​อื่นๆ หรือ ​ไม่​ คุณ​ก็​ใช้​เทคโนโลยี​ช่วย​แปล​ภาษา เหมือน​กู​เกิล มัน​ยาก​นะ แต่... Difficult

: 36

Horizon08.indb 36

1/27/12 2:00:30 PM


ชัชวาล เตละ​วาณิชย์ เป็น​กรรมการ​ผู้​จัดการ บริษัท​ ชัชวาล​ออร์​คิด จำกัด ผูส้​ ่ง​ออก​กล้วยไม้​ ตั ด ​ด อก​แ ละ​ส่ ง ​อ อก​ผ ลิ ต ผล​ท างการ​เ กษตร เช่ น กระเจี๊ ย บ​เ ขี ยว, หน่อ​ไม้​ฝรั่ง และ​ผล​ไม้​ตาม​ฤดูกาล​ทั้ง​สด​และ​ผ่าน​การ​ตัด​แต่ง ภาย​ใต้​ แบรนด์ ‘Quality Green’

ตลาดส่งออกสินค้าเกษตรสบายดีไหม

but Impossible ก็​ต้อง​ทำ ก็​ต้อง​ชั่ง​น้ำ​ หนัก ​แล้ว ​เลือก ว่า ​ระหว่าง​สอน​ภาษา​ เหล่า​นี้​ให้​คน​ไทย หรือ​จะ​เอา​เทคโนโลยี​ มา​ช่ ว ย อย่ า ​ลื ม ​น ะ​ว่ า ​ค น​พ ม่ า ลาว เวียดนาม​พูด​ไทย​ได้​นะ​ครับ คน 9 แสน​ คน​ที่​เป็น​แรงงาน​ต่างด้าว​พูด​ไทย​ได้​หมด​ เลย แล้ ว ​ใ คร​จ ะ​รู้ ​ป่ า น​นี้ ​ค น​เ หล่ า ​นั้ น​ อาจ​นั่ ง ​อ่ า น​แ ผน​พั ฒนา​เศรษฐกิ จ ​แ ละ​ สังคม​แห่ง​ชาติ ฉบับ​ที่ 11 กัน​หมด​แล้ว ขณะ​ที่​แผน​สภาพัฒน์ข​ อง​ลาว เขมร พม่า​ คุณ​ไม่รู้​จักเ​ลย แล้ว​จะ​เอา​อะไร​ไป​สู้​เขา เรา​ต้อง​รู้​ภาษา​เขา​ด้วย เพราะ​ ถ้า​ไม่รู้​ภาษา​ของ​เขา​มัน​ไป​ไม่​ได้ สิ่ง​ที่​อยู่​ เบื้อง​หลัง​ภาษา​ทุก​ภาษา​คือ​วัฒนธรรม​ ที่​จะ​ทำให้​คุณ​เข้าใจ​เขา​ว่า​เขา​คิด​อะไร ภาษา​คือ​หัวใจ​ที่​จะ​ทำให้​คุณ​ก้าว​ไป​ถึง​ วัฒนธรรม​ของ​เขา ท้าย​ที่สุด​ผม​มอง​ว่า​สิ่ง​ที่​เป็น​จุด​ แข็ง​คือ​เรื่อง​อาหาร​หรือ​เกษตร ถ้า​เรา​ให้​ ความ​สำคัญ​เรื่อง​อาหาร​และ​เกษตร​มัน​ก็​ โยง​ไป​สู่ 4 F ได้แก่ Food Feel Fuel Fiber ได้ ผม​ว่า​เรา​จะ​แก้​ปัญหา​ได้​พอ​สมควร

ปัจจุบัน เรา​ทำ​ธุรกิจอ​ ยู่ 3 ตัวห​ ลัก ดอกไม้ ผัก และ​ผล​ไม้ เกษตรกร​ใน​ กลุม่ เ​รา​จะ​มท​ี งั้ แ​ บบ​ทเ​ี่ ขา​สามารถ​ขาย​ให้ก​ บั ผ​ ส​ู้ ง่ อ​ อก​ราย​อนื่ ไ​ด้ ไม่จ​ ำเป็น​ ต้อง​ขาย​ให้​เรา​คน​เดียว ความ​แตก​ต่าง​ของ​เรา​คือเ​น้น​ความ​หลาก​หลาย​ เรา​ไม่​เน้นป​ ริมาณ เรา​เน้นค​ วาม​หลาก​หลาย ลูกค้า​ของ​เรา​อาจ​จะ​ซื้อ​ไม่​ เยอะ แต่​เรา​ทำ​ราคา​ที่​สูง​ขึ้น​มา​นิด​หนึ่ง ใน​สว่ น​ของ​ผกั เรา​เน้นก​ ระเจีย๊ บ​เขียว​เป็นห​ ลัก เรา​จะ​มี Contract Farming ของ​เรา​เอง ก็​คือ​ประกัน​ราคา​ไป​เลย องค์​ความ​รู้​ต่างๆ เรา​ สนับสนุน เรา​มี​ทีม​สวน​ไป​ดู ตั้งแต่พ​ ื้นที่ เมล็ดพ​ ันธุ์ การ​ใช้​สาร​เคมี การ​ ป้องกัน​ศัตรู​พืช การ​เก็บ​เกี่ยว การ​แนะนำ​ทุก​อย่าง​อยู่​ใน​สายตา​ของ​ บริษัท​หมด เรา​จะ​เข้าไป​หา​เกษตรกร​ที่​มี​ความ​พร้อม เพราะ​ปัจจุบัน​กฎ​ ระเบียบ​การ​ส่ง​ออก​ค่อน​ข้าง​เข้ม​งวด เรา​จะ​เข้าไป​ดู​ว่า​เกษตรกร​ราย​นี้ ​ยินดี​ที่​จะ​ทำ​ใน​ลักษณะ Contract Farming กับ​เรา เพราะ​ทุก​อย่าง​ จะ​ถกู ค​ วบคุมห​ มด เพราะ​ถา้ เ​รา​จะ​มล​ี สิ ต์ร​ าย​ชอื่ ย​ า​กำจัดศ​ ตั รูพ​ ชื ใ​ห้เ​ขา​ใช้ แต่​ถ้า​เขา​ใช้​ยา​กำจัด​ศัตรู​พืชน​ อก​เหนือ​จา​กลิสต์​ของ​เรา แล้ว​บังเอิญ​เกิด​ การ​ปน​เปือ้ น​จน​มก​ี าร​ตก​ี ลับส​ นิ ค้าห​ รือแ​ บน​สนิ ค้าก​ จ​็ ะ​เกิดค​ วาม​เสียห​ าย เรา​จึ ง ​ต้ อ ง​ต รวจ​ส อบ​เ กษตรกร​ก่ อ น​ว่ า ​พ ร้ อ ม​ที่ ​จ ะ​อ ยู่ ​ใ น​ข้ อ ​ต กลง​ แบบ​นี้​ไหม หาก​ถาม​ว่า​พบ​ปัญหา​อะไร​ใน​การ​ทำงาน​ร่วม​กับ​เกษตรกร ประการ​แรก ธรรมชาติ​ของ​เกษตรกร​คือ​ไม่​ชอบ​ความ​วุ่นวาย ถ้า​เขา​มี​ ความ​สัมพันธ์​ทดี่​ ี​กับ​บริษัท​หนึ่ง​เขา​ก็​จับ​มือ​กันอ​ ยู่​แล้ว บาง​ครั้งก​ ็​ไม่​ขาย​ ให้​คน​อื่น พืช​บาง​พันธุ์...ถ้า​เรา​สนิท​กับ​เขา​จริง เขา​ก็​ไม่​ขาย​ให้​คน​อื่น ปัญหา​ประการ​ต่อ​มา​คือ​ศักยภาพ​ของ​เกษตรกร เกษตรกร​ปลูก​ตะไคร้​ ก็อ​ ยาก​จะ​ปลูก​แต่​ตะไคร้ เขา​ไม่​อยาก​เปลี่ยนแปลง เกษตรกร​บาง​ท่าน​ ขาด​การ​ศึกษา​ใน​เรื่อง​สภาพ​ดิน​หรือ​สภาพ​ตลาด บาง​ครั้ง​เรา​ไป​แนะนำ​แล้ว แต่​เขา​ไม่​เชื่อ​หรือ​ไม่​อยาก​จะ​เปลี่ยน แม้​กระทั่ง​เกษตรกร​บาง​ราย ถ้า​เรา​เข้าไป​คุย​กับ​บาง​ราย​ที่​มี​หนี้​สิน​อยู่ เรา​อยาก​จะ​พัฒนา​เขา บางที​เขา​กไ็​ม่​รับ แม้เ​ป็น Contract Farming ก็​ มี​ทั้ง​สำเร็จ​และ​ไม่​สำเร็จ เกษตรกร​บางที​ก็​ขาด​การ​เชื่อม​โยง ขาด​การ​เปิด​โลก​ทัศน์ มัน​ จึง​เกิด​การ​ทำ​เกษตร​แบบ​พี่​บอก​มา พี่​บอก​ให้​ทำ​แบบ​นี้ โลก​ปัจจุบัน​ วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี​เข้า​มา​มี​บทบาท​ต่อ​เรื่อง​เกษตร​เยอะ​ครับ โลก​เรา​มก​ี าร​เปลีย่ นแปลง​ตลอด​เวลา แล้วเ​รา​จะ​ไป​แข่งใ​น​ระดับส​ ากล​ได้ เรา​ต้อง​มี​ความ​พร้อม ทั้ง Knowledge และ Know-how ก็ต​ ้อง​อาศัย​ วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี​มา​ช่วย​เติม​องค์​ความ​รู้ ถ้า​เรา​ขาด​ความ​รู้​ ขาด​การ​พฒ ั นา​เรือ่ ง​วทิ ยาศาสตร์เ​ทคโนโลยี ก็จ​ ะ​ทำให้เ​รา​หลุดจ​ าก​ความ​ สามารถ​ใน​การ​แข่งขัน​บน​เวที​สากล​ได้ 37 :

Horizon08.indb 37

1/27/12 2:00:31 PM


นง​นภัส รุ่งอรุณ​ขจร​เดช จบ​ด้าน​การเกษตร​จาก ‘สถาบัน​เทคโนโลยี​ราช​มงคล วิทยาเขต​ พระนครศรีอยุธยา หันตรา’ ประกอบ​อาชีพ​เกษตรกร และ​เป็น​ที่​ ปรึกษา​โครงการ​ยวุ ชน​เกษตร​กำแพงแสน โครงการ​ทไ​ี่ ด้ร​ บั ก​ าร​สง่ เ​สริม​ จาก​กรม​ส่ง​เสริมก​ ารเกษตร กระ​ทร​วง​เกษตรฯ เพื่อใ​ห้​มี​การ​สืบทอด​ ภาค​การเกษตร​ต่อ​ไป โครงการ​ยุวชน​เกษตร​เริ่ม​โครงการ​อย่าง​เป็น​ ทางการ​ใน​ปี 2548

ใน​ฐานะ​ที่​คลุกคลี​ทำ​กิจกรรม​ร่วม​กับ​เกษตรกร รวม​ถึง​ลูก​หลาน​ของ​เกษตรกร พบ​ปัญหา​อะไร​บ้าง​ไหม แล้ว​วิกฤติ​การ​ขาดแคลน​เกษตรกร​รุ่นใ​หม่​น่าต​ กใจ​ขนาด​ไหน ดิฉัน​มี​ความ​คิด​ว่า​อายุ​เฉลี่ย​ของ​เกษตรกร​เพิ่ม​ขึ้น​มาก​ทุก​ปี ก็​เลย​มี มุมม​ อง​วา่ ถ้าเ​รา​ไม่ป​ ลูกฝ​ งั เ​ยาวชน​ให้ม​ ท​ี ศั นคติท​ ด​ี่ ต​ี อ่ ภ​ าค​การเกษตร มัน​จะ​หาย​ไป​เฉยๆ จึง​รวบรวม​เด็ก​ที่​มี​ความ​สนใจ​ภาค​การเกษตร​ เข้าม​ า​รวม​กลุม่ ก​ นั เ​รียน​รเ​ู้ รือ่ ง​การเกษตร แต่ป​ จั จุบนั จ​ ะ​สนใจ​แต่ภ​ าค​ การเกษตร​อย่าง​เดียว​ไม่​ได้ เพราะ​มี​คู่​แข่ง​ทางการ​ตลาด​มาก​ขึ้น เกิด​ การ​ค้า​เสรี นอกจาก​ฝึก​เยาวชน​เรียน​รู้​การเกษตร เลี้ยง​สัตว์ ทำ​นา เรา​ต้อง​สอน​ภาษา​เขา​ด้วย ก็​เลย​มี​การ​ดึง​เอา​อาจารย์​ที่​มี​ความ​รู้​ด้าน​ ภาษา​มา​สอน​ภาษา​จีน ญี่ปุ่น อังกฤษ เรา​จะ​มี​การ​สัมภาษณ์​เด็ก​ก่อน​ที่​เขา​จะ​เข้า​มา​ร่วม​โครงการ ช่วง​หลังผ​ ปู้​ กครอง​จะ​บังคับใ​ห้เ​ด็กม​ า​เข้าร​ ่วม​กับเ​รา​เพราะ​ผปู้​ กครอง​ เห็นเ​ด็กใ​น​โครงการ​เรียน​ดข​ี นึ้ จาก​การ​สมั ภาษณ์ก​ พ​็ บ​วา่ เด็กส​ ว่ น​หนึง่ ​ บอก​ว่า พ่อ​แม่​เขา​ยัง​ยากจน​อยู่​แล้ว​ทำไม​ตัว​เขา​ต้อง​เป็น​เกษตรกร​ ด้วย เรา​ก็​พูด​กับ​เด็ก​อย่าง​คน​ที่​มี​ความ​หวัง ว่า​แล้ว​ทำไม​หนู​ไม่​เป็น​ เกษตรกร​รนุ่ แ​ รก​ทเ​ี่ ป็นเ​กษตรกร​แล้วร​ วย เขา​กง​็ ง เมือ่ เ​กิดค​ วาม​สงสัย​ ก็​เข้า​กลุ่ม​มา​เรียน​รู้ ก็​มา​เรียน​รู้​ว่า​เกษตรกร​ไม่​จำเป็น​ต้อง​นั่ง​หลัง​ขด​ หลังแ​ ข็งเ​หมือน​เมือ่ ก​ อ่ น มีเ​ทคโนโลยีท​ ช​ี่ ว่ ย​ใน​การ​ผลิต เครือข​ า่ ย​ของ​ เรา​กม​็ ก​ี าร​แบ่งป​ นั ค​ วาม​รท​ู้ างการ​เกษตร เพราะ​การเกษตร​จำเป็นต​ อ้ ง​ อาศัยค​ วาม​รู้​และ​ประสบการณ์ การ​ลอง​ผิดล​ อง​ถูก ตอน​นี้​เขา​ยัง​มอง​ไม่​เห็น​ทางออก​จาก​วงจร​รุ่น​พ่อ​รุ่น​แม่ เขา​ มอง​ว่า​เข้า​โรงงาน​มี​เงิน​เดือน​แน่ๆ แต่​เขา​ไม่​มอง​ว่า​ถ้า​โรงงาน​เจ๊ง​ จะ​อยู่​อย่างไร ทัศนคติ​ของ​เด็ก​แต่ละ​คน​มัน​ขึ้น​อยู่​กับ​พื้น​ฐาน​ของ​ ครอบครัว​เด็ก​แต่ละ​คน​ด้วย ใน​กลุม่ ย​ วุ เ​กษตร ดิฉนั จ​ ะ​แบ่งเ​ด็กเ​ป็น 4 กลุม่ ขึน้ อ​ ยูก​่ บั ค​ วาม​ สมัคร​ใจ​ของ​เด็ก​ว่า​อยาก​ทำ​อะไร กลุ่ม​ปลูกผ​ ัก กลุ่ม​ปลูกข​ ้าว กลุ่ม​ ธนาคาร​สุกร และ​กลุ่ม​ไบ​โอ​ดีเซล

มี​เด็ก​หลาย​คน​ที่​เข้า​ร่วม​ โครงการ​กับ​เรา​แล้ว​ได้​ไป​เรียน​ ต่อ​ที่​ญี่ปุ่น เพราะ​เรา​ได้​รับ​การ​ สนั บ สนุ น ​จ าก​ม หาวิ ท ยาลั ย​ เกษตรศาสตร์​และ​มหาวิทยาลัย​ ธรรมศาสตร์ ซึ่ง​เมื่อ​มี​โครงการ​ ลักษณะ​นี้​เกิด​ขึ้น เด็ก​ของ​เรา​ก็​ มี​คุณสมบัติ​เพราะ​ได้​ฝึก​ทำ​เอง​ ทุก​อย่าง เรา​จ ะ​ส ร้ า ง​ค รั ว ​เ ล็ ก ๆ ของ​เรา เป็นจ​ ุดท​ ี่​จะ​สร้าง​อาหาร​ ให้​คนใน​ประเทศ ไม่​ต้อง​ขนาด​ เป็น​ครัว​โลก​หรอก บางที​เด็ก​ก็​ บอก​เรา​ว่า ถ้า​เรา​ไม่​ปลูก​ผัก ที่​ ตลาด​ก็​มี​ขาย ดิฉัน​ก็ได้​แต่​บอก​ เด็ก​ว่า​แล้ว​ถ้า​เกษตรกร​ใน​วัน​นี้​ เขา​ตาย​ไป​ใคร​จะ​มา​ขาย​ให้​เรา แล้ว​ต่อ​ไป​จะ​เหมือน​ใน​หนัง​ฝรั่ง ม​ ยั้ ท​ แ​ี่ ย่งข​ อง​กนั ก​ นิ ดิฉนั พ​ ยายาม​ จะ​ปลูก​ฝัง อย่าง​น้อย​ให้​เขา​มอง​ เกษตรกร​ดว้ ย​สายตา​ทด​ี่ ข​ี นึ้ ไม่ใช่​ มอง​ว่า ‘ก็​แค่​ชาวนา’ เด็ก​ของ​ ดิฉัน​จะ​ไม่มี​ใคร​พูด​คำ​นี้

: 38

Horizon08.indb 38

1/27/12 2:00:32 PM


ดร.กฤษณ​พงศ์ กีรติ​กร เข้าม​ า​รบั ห​ น้าทีเ​่ ป็นค​ ณะ​กรรมการ​ปฏิรปู ป​ ระเทศ​ใน​ชว่ ง​เดือน​กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เคยดำรงตำแหน่ ง รอง​ผู้ ​อ ำนวย​ก าร​ศู น ย์ ​เ ทคโนโลยี ​ อิเล็กทรอนิกส์แ​ ละ​คอมพิวเตอร์แ​ ห่งช​ าติ (พ.ศ. 2529 - 2541) ทีป​่ รึกษา​ รัฐมนตรี​ว่าการ​กระทรวง​วิทยาศาสตร์​เทคโนโลยี​และ​สิ่ง​แวดล้อม เลขาธิการ​คณะ​กรรมการ​การ​อุดมศึกษา อธิการบดีมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ปัจจุบัน​ดำรง​ตำแหน่ง​นายก​สภา​ มหาวิทยาลัย​เทคโนโลยี​ราช​มงคล​ล้าน​นา และ​กรรมการ​ผู้ทรง​คุณวุฒิ​ ใน​ค ณะ​ก รร​ร ม​ก าร​บ ริ ห าร​ส ถาบั น ​ส ารสนเทศ​ท รั พ ยากร​น้ ำ ​แ ละ​ การเกษตร

ใน​ส่วน​ของ​เรื่อง​การ​ศึกษา ทำ​อย่างไร​จึง​จะ​ดึง​เอา​เกษตรกร ​ซึ่ง​ถือ​เป็น​ชาย​ขอบ​ของ​ระบบ​การ​ศึกษา​มา​โดย​ตลอด​เข้า​มา​ได้ ผม​มอง​ว่า​โจทย์​การ​ศึกษา​ไทย​จะ​เปลี่ยน​ ไป เมื่อก​ ่อน​เรา​มอง​กลุ่ม​คน​วัย​เรียน​ประถม​ ศึ ก ษา มั ธ ยมศึ ก ษา สาย​อ าชี ว ศึ ก ษา มหาวิทยาลัย แล้ว​จึง​ออก​ไป​ทำงาน แต่​สิ่ง​ ที่​เรา​ลืม​ไป​ก็​คือ​ว่า​เวลา​นี้​งาน​มัน​เปลี่ยน​เร็ว​ มาก คน​ออก​ไป​ทำงาน​ตั้งแต่​อายุ​ระหว่าง 15-22 ปี แล้ว​ต้อง​ทำงาน​ไป​อีก 40 ปี แล้ว​ ถาม​ว่า​เวลา 40 กว่า​ปี​ใน​การ​ทำงาน การ​ ศึกษา​ดำรง​ตน​อยู่​ตรง​ไหน​ใน​ช่วง​เวลา​นี้ ผม​ คิด​ว่า​ต่อ​ไป​นี้​โจทย์​การ​ศึกษา​จะ​เป็น Non Age-group มากกว่า Age-group Non Age-group คือ​คน​วัย​ทำงาน มี​ประมาณ 40 ล้าน​คน เรา​ไม่​เคย​ให้​ความ​ สนใจ​กบั ค​ น 40 ล้าน​คน ผม​เปรียบ​เทียบ​การ​ ศึกษา​เป็นท​ อ่ น​ ำ้ เรา​ดแู ล​แต่น​ ำ้ ใ​น​ทอ่ เรา​ไม่ไ​ด้​ ดูแล​น้ำ​นอก​ท่อ​เลย น้ำ​ที่​อยู่​นอก​ท่อ​เป็น​ น้ำ​ที่​ขับ​เคลื่อน​เศรษฐกิจ​และ​สังคม​ไทย สิ่ง​ ที่​เรา​กำลัง​พูด​กัน​ว่า​เรา​ไม่​สามารถ​แข่งขัน​ กับเ​ขา​ได้ ก็เ​พราะ​คณ ุ ภาพ​แรงงาน​ของ​เรา​ตำ่ ซึ่ง​ใน​ต่าง​ประเทศ​เขา​ดูแล​น้ำ​นอก​ท่อ​ตลอด​ เวลา ระบบ​ของ​เขา​จะ​ป้อน​การ​ศึกษา​ให้​ คนนอก​ระบบ​การ​ศึกษา​ตลอด​เวลา แล้ ว ​ต่ อ ​ไ ป​ค น​ที่ ​เ ป็ น ​น้ ำ ​ใ น​ท่ อ ​จ ะ​ น้อย​ลง เมื่อ​สัก 10 ปี​ที่​แล้ว คน​เกิด​ปี​ละ

1,200,000 ตอน​นี้​คน​เกิด​ปี​ละ 900,000 โรงเรียน​มัน​จะ​เริ่ม​ร้าง วิทยาลัย​จะ​เริ่ม​ร้าง โครงสร้าง​พื้น​ฐาน​ทางการ​ศึกษา​ที่​เรา​วาง​ไว้ เรา​ วาง​ไว้​เพื่อ Age-group ต้องหา​วิธี​เอา Non Age-group เข้าม​ า​ใช้​ โครงสร้าง​พื้นฐ​ าน​ให้​ได้ เรา​กำลัง​พูด​ถึง​การ​เรียน​ตลอด​ชีวิต มัน​จะ​ต้อง​มี​ระบบ​การ​ เรียน​ที่​หลาก​หลาย​เพราะ​คน​มัน​อยู่​คนละ​สถาน​ที่​คนละ​อาชีพ ผม​ขอ​ ใช้​คำ​ว่า Education on Demand คือค​ ุณต​ ้อง​สามารถ​เลือก​เรียน​ได้​ ด้วย​วธิ ท​ี ค​ี่ ณ ุ ต​ อ้ งการ เวลา​ทต​ี่ อ้ งการ เวลา​ทว​ี่ า่ ง การ​ศกึ ษา​ตอ้ ง​ไป​หา​ เขา ไม่ใช่เ​ขา​มา​หา​การ​ศกึ ษา จะ​ใช้ร​ ะบบ​ขนึ้ อ​ นิ เทอร์เน็ต หรือบ​ ท​เรียน​ ที่​ไป​กับซ​ ีดี หรือ​จะ​เป็น​แบบ Interactive ก็จ​ ะ​เป็นร​ ะบบ​ที่ Learning on Demand ส่วน​จะ​เรียน​ที่ไหน​ก็​ต้อง​ว่า​กัน แบบ​หนึ่ง​ก็​เรียน​ด้วย​ ตัว​เอง​ได้ แบบ​หนึ่ง​ก็​ต้องการ​การ​พัฒนา​ทักษะ​ใหม่ เช่น​การ​เข้า​ถึง​ เทคโนโลยี​เพื่อ​การ​ศึกษา ตอน​นี้​ผม​คิดว​ ่า​อะไร​เป็น​เงื่อนไข​ของ​การ​ศึกษา การ​ศึกษา​ใน​ ความ​หมายก​วา้ ง ผม​มอง​วา่ ร​ ฐั ไ​ม่ต​ อ้ ง​ทำ​เอง​ทงั้ หมด รัฐต​ อ้ ง​ดงึ เ​อกชน​ เข้า​มา รัฐ​ต้อง​ดึง​ผปู้​ ระกอบ​การ​เข้า​มา รัฐ​ต้อง​ให้ อบจ. อบต. ทำ รัฐ​ ต้อง​ให้ภ​ าค​ประชา​สังคม​ทำ แล้วแ​ ต่ว​ ่า​เรา​กำลัง​พูด​ถึงค​ น​กลุ่ม​ไหน การ​ศึ ก ษา​ต้ อ ง​อ อก​ไ ป​ห า​ผู้ ​เรี ย น ไม่ ใ ช่ ​ผู้ ​เรี ย น​ม า​ห า​ก าร​ ศึกษา โดย​ผ่าน​เครื่อง​ไม้​เครื่อง​มือ​ทาง​เทคโนโลยี​ที่​มี​อยู่​มากมาย มหาวิทยาลัย​ก็​อาจ​จะ​เปิด 7 วัน 24 ชม. เพราะ​มี​ลูกค้า​ทตี่​ ้องการ​ เรียน​อีก 40 ล้าน​คน ซึ่ง​เป็น​คน​ทำงาน การ​เรียน​ไม่ใช่​แค่​เพียง​ไป​ โรงเรียน แต่เ​ป็นการ​เรียน​รตู้​ ลอด​ชี​วิตก​ าร​ทำงาน​อีก 40 ปี นับ​จาก​ วัย 15 ปี​ของ​เขา เรา​ลืม​คน 40 ล้าน​คน​ไป​หมด อย่า​ลืม​ว่า​เกษตรกร​ ก็​เป็น 1 ใน 40 ล้าน​คน​นี้ 39 :

Horizon08.indb 39

1/27/12 2:00:33 PM


พิชิต เกียรติ​สม​พร เกษตรกร​ผู้​ปลูก​ข้าว​ตำบล​สวน​แตง อำเภอ​เมือง จังหวัด​ สุพรรณบุรี ได้​รับ​คัด​เลือก​จาก​สำนักงาน​เกษตร​จังหวัด​ สุพรรณบุรี ให้เ​ป็นช​ าวนา​ตน้ แบบ​การ​ลด​ตน้ ทุนก​ าร​ผลิตข​ า้ ว (ครู​ติด​แผ่นดิน) ซึ่ง​ประสบ​ความ​สำเร็จ​ใน​การ​ใช้​ปุ๋ย​เพื่อ​ลด​ ต้นทุน​การ​ผลิตม​ า​นาน​กว่า 5 ปี

ใน​ฐานะ​เกษตรกร​ยุคใ​หม่ วิถี​การ​ทำ​นา​ของ​คุณ​เปลี่ยน​ไป​อย่างไร แล้ว​ชีวิต​คุณ​ดี​ขึ้น​หรือ​ไม่ ผม​เริ่ม​ทำ​นา​ตั้งแต่​อายุ​ประมาณ 21 ปี พ่อ​แม่​แบ่ง​มรดก​ให้ ช่วง​แรก ​ก็​ทำ​ตาม​แบบ​ที่​พ่อ​แม่​พี่​น้อง​เขา​ทำ​กัน​มา ทำ​แบบ​เคมี​มา​ตลอด ทำ​อย่างไร ลงทุน​อย่างไร​ให้​ได้​ผลผลิต​มาก​ที่สุด...เข้าใจ​แบบ​นั้น จน​เมื่อ​ได้​พบ​กับ ดร.ประ​ทีบ วีระพัฒนนิรันดร์ กับ ดร.ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ มา​แนะนำ​ชาว​บ้าน​ละแวก​นี้ ว่า​ทาง​รอด​ของ​ชาวนา​ ไม่​ได้​อยู่​ที่​ผลผลิต​สูง​แต่​อยู่​ที่​ทำ​อย่างไร​ก็​แล้ว​แต่​ให้​ต้นทุน​ต่ำ​แล้ว​ ได้​กำไร นั่น​แหละ​เรา​ถึง​จะ​อยู่​รอด​ได้ จาก​ที่​ไม่​เคย​รู้​เรื่อง​ดิน เรื่อง​แมลง เรื่อง​สาร​เคมี เมื่อ​มี​โอกาส​ เข้าไป​อบรม​กไ็ ด้เ​รียน​รเ​ู้ รือ่ ง​ปยุ๋ ว่าใ​น​ดนิ ข​ อง​เรา​มธ​ี าตุอ​ าหาร​อะไร​บา้ ง ไม่จ​ ำเป็นต​ อ้ ง​ใส่ป​ ยุ๋ ต​ าม​ความ​เคยชินอ​ ย่าง​ทเ​ี่ รา​ใส่ก​ นั ม​ า เป็นการ​เอา​ ดิน​ขึ้น​มา​ดู​มา​วิเคราะห์​ว่า​มี​ธาตุ​อาหาร​มาก​น้อย​เท่าไร จาก​นน้ั ท​ าง​นกั ว​ ชิ าการ​มา​ทำ​โครงการ โดย​ให้น​ ำ​ทน​่ี า​มาท​ดล​อง เรา​กค​็ ดิ ว​ า่ ถ​ า้ จ​ ะ​ทดลอง​กต​็ อ้ ง​ลงทุน...ก็เ​ลย​ลงทุน เขา​ให้ท​ ำ​เป็นแ​ ป​ลง ​เล็กๆ ประมาณ 16 แปลง ทดลอง​ปุ๋ย​แต่ละ​สูตร เช่น ตั้งแต่​ไม่​ใส่​เลย ใส่ 5 กิโลกรัมต​ อ่ แ​ ปลง หรือใ​ส่ 10 กิโลกรัมต​ อ่ แ​ ปลง เพือ่ ด​ ว​ู า่ ผ​ ลผลิต​ มัน​จะ​ต่าง​กัน​แค่​ไหน ผม​เริ่ม​เปลี่ยน​วิธี​การ​ทำ​นา​แบบ​เดิมๆ ปี 2549 ผลผลิต ท​ กุ ว​ นั น​ ก​ี้ อ​็ ยูป​่ ระมาณ 1 ตันต​ อ่ ไ​ร่ ด้าน​การ​ลงทุนต​ อ่ ไ​ร่ เมือ่ ช​ ว่ ง​กอ่ น​ปี 2548 เรา​ลงทุน​อยู่​ที่​ประมาณ 4,000 บาท​ต่อ​ไร่ ตอน​นั้น​ต้นทุน​ยัง​ ไม่ส​ งู เ​ท่าไร​นะ แต่พ​ อ​เรา​เปลีย่ นแปลง​การ​ผลิต ต้นทุนเ​หลือป​ ระมาณ​ แค่ 2,000 กว่า​บาท ลด​ลง​มา​แต่​ผลผลิตก​ ็​มาก​ขึ้น ทุก​อย่าง​เรา​เปลี่ยน​หมด จาก​เดิม​ฟาง​ข้าว​ที่​เรา​ได้​มา​ผม​ เห็นเ​ป็นข​ ยะ​กเ​็ ผา​ทงิ้ ห​ มด​เลย เพราะ​มนั ร​ ก​เกะกะ​ใน​การ​ทำ​นาค​รงั้ ต​ อ่ ​ ไป ก็เ​ผา​ทิ้งอ​ ย่าง​เดียว จาก​เดิมท​ ำ 3 ฤดูต​ ่อป​ กี​ จ็​ ะ​ต้อง​เผา​ฟาง​ทิ้งเ​ลย แต่พ​ อ​มา​ตอน​นเ​ี้ รา​กร​็ ว​ู้ า่ ฟ​ าง​กม​็ ป​ี ระโยชน์ มันม​ ธ​ี าตุอ​ าหาร​ทเ​ี่ รา​ใส่ล​ ง​ ไป ปุ๋ย​ที่​อยูใ่​น​นา​เรา​ก็​มี​ที่​ติด​อยู่​กับฟ​ าง เรา​ก็​เอา​ฟาง​ตัว​นี้​มา​หมัก​ให้​ กลาย​เป็น​ปุ๋ย​อีก พอ​รเู้​รื่อง​ฟาง​ข้าว​แล้ว​ก็​มา​เรื่อง​เมล็ด​พันธุ์ เรา​ก็​รู้​ว่า​ จาก​เดิม​ที่​เรา​ใส่อ​ ัตรา 40 กิโลกรัม​ต่อ​ไร่ เขา​ก็​แนะนำ​ให้​เรา​รู้​ว่า​เมื่อ​ เรา​ใส่ 40 กิโลกรัม​มัน​เกิดค​ วาม​หนา​แน่น แล้ว​พอ​หนา​แน่น​พอ​ข้าว​

โต​ขนึ้ ม​ า คล้ายๆ ว่าม​ นั ไ​ม่โ​ปร่งม​ นั เ​ป็นท​ ส​ี่ ะสม​ ของ​โรค​และ​แมลง และ​ก็​ทำให้​ข้าว​ไม่​แตก​กอ เรา​เลย​ลด​อัตรา​ลง​จาก 4 ถังเ​ป็น​เหลือ 2 ถัง ถ้า​ถาม​ว่า​เรา​มี​ช่อง​ว่าง​กับ​นัก​วิชาการ​ ไหม...ก็ม​ บ​ี า้ ง ถ้าน​ กั ว​ ชิ าการ​เข้าม​ า​จะ​จำกัดเ​ลย​ ว่าเ​ท่าน​ น​ี้ ะ แบบ​นส​ี้ ิ ต้อง​อย่าง​นี้ เดิมทีช​ าว​บา้ น​ ก็ท​ ำ​ไม่ไ​ด้ แต่ก​ ไ​็ ม่ไ​ด้ถ​ งึ ก​ บั ข​ ดั แ​ ย้งจ​ น​เกินไ​ป แต่​ มี​โต้​เถียง​กันบ​ ้าง บาง​ครั้ง​มัน​ต้อง​ดู​ตัว​ชาว​บ้าน​ว่า​พร้อม​ ทีจ​่ ะ​เปลีย่ น​หรือเ​ปล่า แต่ช​ าว​บา้ น​ทน​ี่ ส​ี่ ว่ น​ใหญ่​ จะ​เป็น​คน​สูง​อายุ​ทั้ง​นั้น คน​รุ่น​ใหม่​จะ​น้อย คน​ รุ่น​ใหม่​ไป​เรียน​มา​แล้ว​ส่วน​มาก​ทำงาน​ที่​อื่น ก็​ มี​แต่​พวก​พ่อแ​ ม่​ทำ​ไร่​ทำ​นา คราว​นี้​พวก​รุ่น​เก่า​ ก็เ​ปลี่ยนแปลง​ยาก คล้ายๆ ว่า​เขา​ทำ​มา​แล้ว​กี่​ สิบป​ จ​ี ะ​ให้ม​ า​เปลีย่ น...ไม่ไ​ด้ห​ รอก คน​รนุ่ ใ​หม่ไ​ป​ บอก​คน​รุ่น​เก่า บอก​ไป​เขา​กไ็​ม่​ค่อย​ฟัง ผม​มี​ลูก 3 คน คน​โต​อายุ 18 ถ้า​เขา​มี​ เวลา​ว่าง​ผม​จะ​ชวน​ลงนา​ตลอด บาง​อย่าง​ทำ​ คน​เดียว​มัน​ไม่ทัน​จะ​ได้​ช่วย​กัน​ทำ ลูกๆ ของ​ ผม​ทำ​นา​เป็น​หมด​แต่​ถ้า​ปล่อย​ให้​ทำ​คน​เดียว​ ก็ ​ค ง​ไ ม่ ​ร อด​เ หมื อ น​กั น ผม​ก็ ​เ ฝ้ า ​ม อง​ว่ า ​ลู ก ค​ น​ไหน​มแ​ี วว​มค​ี วาม​สนใจ​ทจ​ี่ ะ​เป็นเ​กษตรกร ก็​ มี​เจ้า​คนกลาง​ที่​รู้สึก​ว่า​สนใจ​เรื่อง​ไร่​เรื่อง​นา​อยู่ ก็​จะ​เอา​คน​นี้​มา​สาน​ต่อ​ ส่วน​คน​โต​หรือ​ว่า ​คน​เล็ก​จะ​เรียน​กป็​ ล่อย​เขา​ไป เรา​กม็​ อง​แล้ว​ว่า​ ใคร​จะ​มา​ตอ่ อ​ าชีพจ​ าก​เรา เจ้าค​ นกลาง​ไม่ช​ อบ​ เรียน ชอบ​ลง​ไร่​ลงนา​มากกว่า

: 40

Horizon08.indb 40

1/27/12 2:00:34 PM


พร​ศิลป์ พัชร​ ิ​นทร์​ตนะ​กุล ประธานคณะกรรมการธุรกิจเกษตรและอาหาร สภาหอการค้า แห่ ง ประเทศไทย เคย​ดู แ ล​ง าน​ที่ ​เ กี่ ย ว​กั บ ​ก ฎ​ร ะเบี ย บ​ การ​ค้ า ​ร ะหว่ า ง​ป ระเทศ ปั จ จุ บั น เป็ น รองประธานกรรมการ หอการค้าไทย นายกสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย และ​เป็น​ ประธาน AEC Prompt หน่ ว ย​ง าน​ส ร้ า ง​ค วาม​พ ร้ อ ม​ใ ห้ ​กั บ ​ผปู้​ ระกอบ​การ SMEs ใน​การ​เป็น​ประชาคม​เศรษฐกิจ​อาเซียน​ใน​ ปี 2558

มองเห็นปัญหาในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองที่ส่งผลต่อ ภาคเกษตรอย่างไร และภาคการเกษตรต้องปรับเปลี่ยนอะไร ปัจจุบัน เรา​มี​พื้นที่​การเกษตร 135 ล้าน​ไร่ 58 ล้าน​ ไร่​เป็น​พื้นที่​ข้าว ขณะ​ที่ 20 เปอร์เซ็นต์​เป็น​พื้นที่ ชลประทาน​ที่​ไม่​สมบูรณ์​ด้วย​นะ ใน​สภาพ​ปัจจุบัน​ แบบ​นี้​ด้วย​แรง​กดดัน​ของ​พืช​พลังงาน ถาม​ว่า​วัน​นี้ 135 ล้ า น​ไ ร่ ​กั บ ​มิ ติ ​ใ หม่ ​ข อง​พ ลั ง งาน​ท ดแทน กั บ ​ก ระแส​ค วาม​มั่ น คง​ท าง​อ าหาร ผม​ยื น ยั น​ว่ า​ ประเทศไทย​ต้อง​เปลี่ยน ด้วย​พื้นทีก่​ ารเกษตร​เท่าน​ ี้ เรา​ต้อง​มา​แบ่งใ​ห้​ ชัดเจน​ว่า​พื้นที่​ทั้งหมด​นี้​เรา​จะ​ทำ​อะไร​กัน​บ้าง...ให้​ ชัดเจน เรื่อง​แรก​เลย การ​บริหาร​ประเทศ​คุณต​ ้อง​มา​ พูด​ต้องหา​รือ เอา​ยางพารา​ไหม เอา​ปาล์ม​ไหม ต้อง​ เลือก​ได้​แล้ว ต้อง​เลือก​อย่าง​ชาญ​ฉลาด​ด้วย​นะ ต้อง​ สมดุล​ระหว่าง​ความ​มั่นคง​พลังงาน​กับ​ความ​มั่นคง​ อาหาร เวลา​นี้​เรา​ผลิต​พลังงาน​ไม่​ได้...ต้อง​นำ​เข้า เรา​ทำ​ไม่​ได้​ทั้งหมด เอา​สัก 20 เปอร์เซ็นต์​เป็น​ อย่างไร อาหาร​เรา​จะ​เอา​อะไร​นอกจาก​ขา้ ว ผัก ผล​ไม้ พื้นทีต่​ ้อง​มา​แบ่ง​ให้ช​ ัดเจน​ได้​แล้ว ด้วย​ทรัพยากร​น้ำ ​ทมี่​ ี​อยู่ โอเค​ถ้า​เรา​เลือก​ข้าว แล้ว​มัน​จะ​เชื่อม​โยง​กับ​ อุตสาหกรรม​ต่อ​เนื่อง​ได้​อย่างไร แล้ว​ก็​มา​ถึง​การ​ แข่งขัน​เรื่อง​มาตรฐาน​หรือ​อะไร​ก็​แล้ว​แต่ แต่​ทั้งหมด​มัน​เป็น​เรื่อง​การ​แบ่ง​ทรัพยากร​ที่​ มี​อยู่​ให้​สมดุล สุดท้าย​การ​ผลิต​ก็​จะ​เริ่ม​ต้น ต่าง​คน ​ต่าง​ผลิต​ก็​ไม่​ได้​อีก ต้อง​ช่วย​เหลือ​กัน​และ​ต้อง​ได้​ มาตรฐาน​ทั้งหมด ได้​ความ​ยั่งยืน​ต่อ​สิ่ง​แวดล้อม ได้ค​ วาม​ปลอดภัยท​ าง​อาหาร อาหาร GM(Genetically Modified) ต้อง​เข้า​มา ปฏิเสธ​ต่อ​ไป​ไม่​ได้​แล้ว เรา​ ต้อง​พงึ่ พา​เทคโนโลยีเ​พราะ​ทรัพยากร​เรา​นอ้ ย​ลง แต่​ เรา​ตอ้ งการ​ประสิทธิภาพ​ทส​ี่ งู ได้ม​ าตรฐาน​สากล เรา​ หนี​ไม่​พ้น​หรอก​ครับ ภาพ​มัน​จะ​ปรากฏ​ชัดเจน​มาก

ถ้า​เรา​นั่ง​เฉยๆ ก็ห​ มด​สิทธิ์ เทคโนโลยี​จะ​เป็น​ตัวเ​สริม​สำคัญ​ทำให้​มัน​เกิด​ขึ้น​จริง ก่อน​อื่น​เลย​ผม​มอง​ว่า​จะ​ต้อง​เกิด​การก​ระ​จาย​ทรัพยากร​ ที่ดิน​ก่อน ไม่ใช่​คนละ 50 ไร่ด​ ้วย​นะ มันต​ ้อง​รวม​เป็น​นา​ผืน​ใหญ่ 5,000 ไร่ มี 100 ครอบครัวอ​ ยูใ​่ น​นนั้ จะ​รวม​เป็นบ​ ริษทั ก​ ไ็ ด้ ต้อง​คดิ ​ แล้วค​ รับ 5 ปีต​ ้อง​เกิด ถ้าเ​ป็นแ​ บบ​ทผี่​ ม​เล่า จักร​กล​กเ็​ข้า การ​กเู้​งิน ​ก็​เกิด​ขึ้น วัน​นี้​ที่​เขา​ดิ้นรน​กัน​อยู่​เขา​จ้าง​รถ​มา​ไถ ไม่​เป็น​ระบบ การ​จัดการ​น้ำเ​ขา​ก็​ทำ​กันเอง​ไม่​ได้ เวลา​เรา​พดู ถ​ งึ ม​ าตรฐาน​มนั ก​ ม​็ โ​ี จทย์ อะไร​คอื ม​ าตรฐาน เรา​ ต้อง​ไป​ดโ​ู ลก​วา่ เ​ขา​ทำ​อะไร มาตรฐาน​สากล​คอื อ​ ะไร ทีนม​ี้ าตรฐาน​ การ​พฒ ั นา​ยงั ต​ า่ ง​กนั ม​ าก ฝรัง่ เ​ป็นค​ น​เขียน​อยูแ​่ ล้ว เขียน​มา​แล้วเ​รา​ ทำได้​หรือ​เปล่า เรา​บอก​เรา​ไม่​เอา ถ้า​ไม่​เอา​กอ็​ ย่า​ไป​ค้า​กับ​เขา ก็​ ตอบ​งา่ ยๆ ใน​อดีตเ​รา​กร​็ บั เ​ขา​มา​ตลอด วันน​ เ​ี้ รา​รบั อ​ ยูเ​่ รือ่ ยๆ แล้ว​ เรา​จะ​ไหว​ไหม​ใน​รุ่น​ต่อ​ไป...ไม่​ได้ เพราะ​ภาพ​ที่​ปรากฏ ผม​ใช้ค​ ำ​ว่า One World One Law One Market โลกา​ภว​ิ ตั น​ ค​์ อื ท​ กุ อ​ ย่าง​เท่าก​ นั ผม​จำกัดค​ วาม​แค่น​ ี้ เพราะ​ทกุ ค​ น​เป็นเ​พือ่ น​บา้ น​เปิดป​ ระตูก​ นั ห​ มด​ แล้วค​ ณ ุ แ​ ต่งต​ วั ส​ กปรก​เข้าบ​ า้ น​เขา​ได้ไ​หม...ไม่ไ​ด้ เขา​แต่งต​ วั ส​ ะอาด​ แล้ว​คุณ​จะ​ปฏิเสธ​ไม่​ให้​เขา​เข้า​บ้าน​ได้​หรือ ผม​อยาก​ฝาก​อีก​อย่าง การ​ใช้​เทคโนโลยี​ภาย​ใต้​เงื่อนไข​ ทรัพยากร​ทจ​ี่ ำกัด มันย​ งั ไ​ม่เ​พียง​พอ​ตอ่ ก​ าร​แข่งขันน​ ะ​ครับ มันไ​ม่ไ​ด้​ ทำให้​เรา​ดี​ขึ้น โอเค...ทุก​คน Green-eco กัน ถ้า​เรา​มอง​ไป​ให้​ไกล​ ใน​ฐานะ​ประเทศไทย ถ้าจ​ ะ​แข่งผ​ ม​ก็​ต้อง​บอก​ว่า Beyond Green เรา​ต้อง​คิด​ตรง​นี้ เวลา​เรา​จะ​ไป​ใน​โลก​ที่​มี​การ​แข่งขัน​กัน พวก​ สิ่ง​แวดล้อม​มัน​จะ​เข้า​มา​สมทบ​มา​กำหนด​เงื่อนไข​ใน​การ​แข่งขัน เรา​ต้อง​ทำให้​เก่ง​กว่า​คน​อื่น สมมุติ​เขา​ทำ​เขียว​แบบ​นี้​คุณ​ต้อง​ทำ​ เขียว​กว่า​เขา เทคโนโลยี​ต้อง​ทำให้​ดี​กว่า​ไม่ใช่​เสมอ ต่อ​ไป​ถ้า​ถาม​ ผม​เรา​ต้อง Beyond Green ไม่​ใช่​กรี​น​เฉยๆ ถ้า​คุณ​กรี​น​เฉยๆ คุณ​ก็​เหมือน​คน​อื่น 41 :

Horizon08.indb 41

1/27/12 2:00:35 PM


Gดร.ภlobal Warming รณี ธนภรรคภวิน

สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)

เดีย๋ วท่วมเดีย๋ วแล้ง… มีเทคโนโลยีอะไรจะช่วยรับมือ? สถานการณ์​น้ำ​ที่​เปลี่ยน​ไป: ผลก​ระ​ทบ​ จาก​การ​เปลี่ยนแปลง​ภูมิ​อากาศ

ปี 2554 ประเทศไทย​ย่าง​เข้าส​ ู่​หน้าฝ​ น​ตั้งแต่​กลาง​ เดือน​มีนาคม ใคร​จะ​คาด​คิด​ว่า​พอ​สิ้น​เดือน​มีนาคม​ภาค​ใต้​ จะ​มี​ฝน​ตกหนัก​หลง​ฤดู​จน​น้ำ​ท่วม​ใหญ่ เพียง​ต้น​เดือน​ สิงหาคม​เขื่อน​ภูมิพล​และ​เขื่อน​สิ​ริกิ​ติ์​มี​ปริมาณ​น้ำ​ไหล​ลง​ อ่าง​สะสม​ตั้งแต่​ต้น​ปี​สูงสุด​เป็น​ประวัติการณ์ นับ​ตั้งแต่​มี​ การ​กอ่ สร้าง​เขือ่ น ใน​ขณะ​ทป​ี่ ี 2553 เกิดส​ ภาวะ​ฝน​แล้งใ​น​ ช่วง​ฤดู​ร้อน และ​ฤดู​ฝน​มา​ช้า​กว่า​ปกติ ทั้ง​เขื่อน​ภูมิพล​และ​ เขื่อน​สิ​ริกิ​ติ์​มี​น้ำ​ไหล​ลง​อ่าง​น้อย​มาก​และ​พร่อง​น้ำ​ไป​ใช้​จน​ เกือบ​หมด​อา่ ง พีน​่ อ้ ง​เกษตรกร​ได้ร​ บั ผ​ ลก​ระ​ทบ​จาก​ภยั แ​ ล้ง​ อย่าง​หนัก สถานการณ์​ต่าง​กับ​ปี​นี้​โดย​สิ้นเ​ชิง ตัวอย่าง​ข้าง​ต้น​แสดง​ถึง​สภาพ​อากาศ​โดย​เฉพาะ​ สภาพ​ฝน​มี​ความ​แปรปรวน​สูง​ขึ้น​เมื่อ​เทียบ​กับ​ใน​อดีต ทั้ง​ ช่วง​เวลา ปริมาณ และ​พื้นที่​ที่​ตก เช่น ฤดู​ฝน​ใน​บาง​ปี​มา​ เร็วใ​น​บาง​ปล​ี า่ ช้า ฝน​กระจุกต​ วั ม​ าก​ขนึ้ บาง​ครัง้ ฝ​ น​ตก​เหนือ​ เขื่อน บาง​ครั้ง​ตก​ท้าย​เขื่อน นี่เอง​คือ​ผลก​ระ​ทบ​ของ​การ​ เปลี่ยนแปลง​ภูมิ​อากาศ (Climate Change) หลาย​พื้นที่​ ประสบ​ทั้ง​ภัย​น้ำ​ท่วม​และ​น้ำ​แล้งใ​น​พื้นทีเ่​ดียวกัน บาง​ครั้ง​ ใน​ปเ​ี ดียวกัน ดังน​ นั้ ส​ ถิตแ​ิ ละ​คา่ เ​ฉลีย่ ไ​ม่ส​ ามารถ​ใช้ว​ เิ คราะห์​ สถานการณ์​ได้​อีก​ต่อ​ไป เพราะ​การ​เปลี่ยนแปลง​สภาพ​ภูมิ​ อากาศ​ก็​คือ​การ​ที่​สิ่ง​ต่างๆ ไม่​เป็น​ไป​ตาม ‘ปกติ’ และ​ใน​ อนาคต​แนว​โน้ม​ความ​แปรปรวน​จะ​ยิ่ง​สูง​ขึ้น

วิกฤติ​หรือ​โอกาส?

ประเทศไทย​ถือเ​ป็น​หนึ่ง​ใน​กลุ่มป​ ระเทศ​ที่​ได้​รับ​ผล ก​ระ​ทบ​จาก​การ​เปลี่ยนแปลง​ภูมิ​อากาศ​น้อย​ที่สุด ซึ่ง​ถ้า​มี​ การ​ใช้​เทคโนโลยี​และ​การ​บริหาร​จัดการ​ที่​ดี​เพื่อ​ลด​ความ​ เสีย่ ง​และ​ผลก​ระ​ทบ​จาก​ภยั พ​ บิ ตั ิ เรา​จะ​มค​ี วาม​มนั่ คง​ดา้ น​นำ้ และ​ได้​เปรียบ​ใน​การ​แข่งขัน​กับ​ประเทศ​เพื่อน​บ้าน เพราะ​ ภาค​การ​ผลิตต​ า่ งๆ จำเป็นต​ อ้ ง​ใช้น​ ำ้ ท​ งั้ ส​ นิ้ ยก​ตวั อย่าง​เช่น ปี 2553 ไทย​ยัง​รักษา​แชมป์​ส่ง​ออก​ข้าว​อันดับ 1 ของ​โลก​ ไว้​ได้ ใน​ขณะ​ที่​คู่​แข่ง​หลัก​เช่นอ​ ินเดีย​ประสบ​ปัญหา​ภัย​แล้ง​ รุนแรง​จน​ต้อง​งด​ส่ง​ออก​ชั่วคราว และ​ประ​เท​ศอื่นๆ เช่น บังคลาเทศ ศรี​ลังกา และ​ฟิลิปปินส์​จำเป็น​ต้อง​ซื้อ​ข้าว​ เพิ่ม​ขึ้น​เพื่อ​ชดเชย​การ​ขาดแคลน​ใน​ประเทศ​จาก​วิกฤติ​ภัย​ แล้งแ​ ละ​น้ำ​ท่วม

เรา​ต้องการ​เทคโนโลยีอ​ ะไร​มา​ช่วย​บริหาร​จัดการ​น้ำ?

เทคโนโลยี​ระบบ​ตรวจ​จับ​และ​ติดตาม​ภัย​น้ำ​ท่วม​

และ​ดิน​ถล่ม การ​คาด​การณ์​สภาพ​อากาศ​ระยะ​ยาว และ​ การ​เชื่อม​โยง​การ​บริหาร​โครงสร้าง​น้ำ เป็น​เทคโนโลยี​ อัน​ดับ​ต้นๆ ที่​ประเทศไทย​ยัง​ขาด​และ​จำเป็น​ต้อง​ขอรับ​ การ​ถา่ ยทอด​เทคโนโลยีจ​ าก​ตา่ ง​ประเทศ​ทงั้ ด​ า้ น​องค์ค​ วาม​รู้ ​และ​การ​สร้าง​บุคลากร ซึ่ง​เทคโนโลยี​ทั้ง​สาม​ด้าน​นี้​จะ​ช่วย​ เพิ่ม​ประสิทธิภาพ​การ​บริหาร​จัดการ​อุปทาน​น้ำ​ใน​ระดับ​ มหภาค (Macro) เช่น ระบบ​ตรวจ​จบั แ​ ละ​ตดิ ตาม​ภยั น​ ำ้ ท​ ว่ ม ​และ​ดิน​ถล่ม​ทำให้​เรา​คาด​การณ์​และ​เตือน​ภัย​ได้​ล่วง​หน้า 3-7 วัน​ว่า​จะ​เกิด​ภัย​น้ำ​ท่วม​หรือ​ดิน​ถล่ม​ที่ไหน จะ​ได้​ เตรียม​การ​อพยพ​ให้​ทัน​ท่วงที และ​เตรียม​รับ​สัญญาณ​ ข้อมูลด​ าวเทียม​เพือ่ ต​ ดิ ตาม​และ​ประเมินค​ วาม​เสียห​ าย​จาก​ อุทกภัยแ​ ละ​ดนิ ถ​ ล่ม การ​คาด​การณ์ส​ ภาพ​อากาศ​ระยะ​ยาว​ ช่วย​ให้​ทราบ​ว่า ฤดู​ฝน​จะ​มา​เร็ว​หรือ​ช้า และ​จะ​เกิด​ฝน​ทิ้ง​ ช่วง​หรือ​ไม่ เป็น​ประโยชน์​ต่อ​การ​บริหาร​เขื่อน​เพื่อ​กัก​เก็บ​ น้ำ​และ​การ​วางแผน​การ​เพาะ​ปลูก​หรือ​การ​เก็บ​เกี่ยว ส่วน​ การ​เชือ่ ม​โยง​การ​บริหาร​โครงสร้าง​นำ้ ช​ ว่ ย​ให้ม​ ค​ี วาม​ยดื หยุน่ ​ สูงข​ นึ้ ใ​น​การ​บริหาร​จดั การ เช่น การ​สร้าง​เครือข​ า่ ย​อา่ ง​เก็บ​ น้ำ (อ่าง​พวง) ผันน​ ำ้ จ​ าก​อา่ ง​ทม​ี่ ป​ี ริมาณ​นำ้ ม​ าก มา​สอ​ู่ า่ ง​ท​ี่ มีป​ ริมาณ​นำ้ น​ อ้ ย​กว่า ก็จ​ ะ​ชว่ ย​ลด​ความ​เสีย่ ง​นำ้ ท​ ว่ ม​สำหรับ​ อ่าง​ทม​ี่ ป​ี ริมาณ​นำ้ ม​ าก และ​ชว่ ย​แก้ภ​ ยั แ​ ล้งแ​ ก่พ​ นื้ ทีท​่ า้ ย​อา่ ง​ ที่​มี​ปริมาณ​น้ำน​ ้อย เป็นต้น ส่วน​เทคโนโลยีท​ เ​ี่ รา​มค​ี วาม​พร้อม​ใน​การ​พฒ ั นา​และ​ ประยุกต์​ใช้​เอง​ใน​ประเทศ เพื่อ​บริหาร​จัดการ​น้ำ​ใน​ระดับ​ จุลภาค (Micro) ได้แก่ เทคโนโลยีก​ าร​จัดการ​ทรัพยากร​น้ำ​ ระดับ​ชุมชน ซึ่ง​มุ่ง​เน้น​การนำ​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี​ สมัยใ​หม่ม​ า​ผนวก​เข้าก​ ับก​ าร​ใช้ภ​ ูมิปัญญา​ท้อง​ถิ่น และ​การ​ น้อมนำ​แนว​พระ​ราชดำริ มา​วิเคราะห์​ปัญหา​และ​วางแผน​ จัดการ​แก้​ปัญหา​น้ำ​ของ​ชุมชน​อย่าง​เป็น​รูป​ธรรม โดย​ยึด​ การ​พึ่ง​ตนเอง​ของ​ชุมชน​เป็น​หลัก ตัวอย่าง​เช่น การ​ใช้​ แผนทีภ​่ าพถ่าย​จาก​ดาวเทียม​เพือ่ ส​ ำรวจ​พนื้ ทีเ​่ หมาะ​สมใน​ การ​พฒ ั นา​เป็นแ​ หล่งน​ ำ้ และ​การ​ปรับป​ ฏิทนิ เ​พาะ​ปลูกเ​พือ่ ​ ควบคุมก​ าร​ผลิต​ให้​เหมาะ​สม​กับ​ปริมาณ​น้ำ​ที่​มี เป็นต้น ใน​ดา้ น​การ​บริหาร​จดั การ​อปุ สงค์น​ ำ้ เทคโนโลยี 4R ได้แก่ การ​ลด (Reduce) การ​ใช้ซ​ ำ้ (Reuse) การนำ​กลับม​ า​ ใช้​ใหม่ (Recycle) และ​การ​ซ่อม​บำรุง (Repair) เป็นห​ ัวใจ​ ใน​การ​เพิ่ม​ประสิทธิภาพ​การ​ใช้น​ ้ำ​ของ​ทุกภ​ าค​ส่วน กล่าว​โดย​สรุป​คือ เทคโนโลยี​ที่​เรา​ต้องการ​ทั้ง​ด้าน​ การ​จัดการ​อุปทาน​น้ำ​หรือ​อุปสงค์​น้ำ​มี​เป้า​หมาย​หลัก​คือ​ เพิ่ม​ความ​มั่นคง​ด้าน​ต้นทุน​น้ำ สร้าง​ความ​ยืดหยุ่น​ใน​การ​ จัดการ​ภาย​ใต้​ทุก​สถานการณ์ ลด​ความ​เสีย​หาย​จาก​ภัย​ พิบตั ิ เพิม่ ป​ ระสิทธิภาพ​การ​ใช้น​ ำ้ และ​ทส​ี่ ำคัญใ​น​การนำ​ไป​ ใช้ง​ าน​คอื ทุกภ​ าค​สว่ น​ตอ้ ง​มส​ี ว่ น​รว่ ม​ใน​การ​จดั การ เพือ่ ใ​ห้ ‘เทคโนโลยี’ เป็น​อาวุธ​ที่​มี​ประสิทธิภาพ​สำหรับ​การ​รับมือ​ ภัย​ทั้ง​น้ำ​ท่วม​และ​น้ำ​แล้ง และ​เป็น​เครื่อง​มือ​ใน​การ​สร้าง​ องค์ค​ วาม​รู้​และ​บุคลากร

: 42

Horizon08.indb 42

1/27/12 2:00:36 PM


Thai

ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของเกษตรกรไทย

[text] [photo]

สังกัด​ภาค​วิชา​พืช​ไร่​นา คณะ​เกษตร มหาวิทยาลัย​เกษตรศาสตร์ แต่ อาจารย์ปาริชาติ พรม​โชติ ไม่ไ​ด้ส​ นใจ​แต่เ​ฉพาะ​พชื ไ​ร่น​ า​เท่านัน้ เธอ​ยงั ส​ นใจ​ วิถช​ี วี ติ ข​ อง​เกษตรกร​ดว้ ย นีค​่ อื เ​รือ่ ง​ราว​ของ​เกษตรกร​ไทย​จาก​อดีตจ​ นถึง​ ปัจจุบัน​ใน​กระดาษ​หน้า​เดียว

point

กองบรรณาธิการ อนุช ยนตมุติ

01 ถ้า​เรา​มอง​ย้อน​ตั้งแต่​สมัย​สุโขทัย​มา​ถึง​สมัย​กรุงรัตนโกสินทร์​ตอน​ต้น

สิง่ ท​ เ​ี่ รา​รบั ม​ า​คอื เ​ทคโนโลยีท​ มี่ า​จาก​การ​ตดิ ต่อค​ า้ ขาย​กบั บ​ คุ คล​ภายนอก แต่เ​ดิม​ เรา​ปลูกข​ า้ ว​ใน​ทล​ี่ มุ่ ต่อม​ า​เรา​สามารถ​ปลูกบ​ น​ทด​ี่ อน จาก​ทเ​ี่ รา​ปลูกข​ า้ ว​นาหว่าน​ ก็ส​ ามารถ​ปลูกข​ า้ ว​นาดำ มีร​ ะบบ​การ​จดั การ​การ​ชลประทาน เมือ่ พ​ อ่ ค้าเ​ข้าม​ า​ก​็ มี​ความ​ต้องการ​ข้าว​มาก​ขึ้น จึง​มี​การ​ขยาย​พื้นที่​ปลูก​ข้าว​เพื่อ​เพิ่ม​ผลผลิต จุด​เปลี่ยน​ที่​สอง เมื่อ​เกิด​การ​ค้าขาย จึง​เกิด​สถาบัน​การ​เงิน มัน​ก็​ ทำให้​เกิด​ธนาคาร​เพื่อ​การเกษตร​ขึ้น ธนาคาร​พาณิชย์​เกิด​ขึ้น ตั้งแต่​สมัย​ อยุธยา​ทเ​ี่ น้นก​ าร​คา้ ขาย​เน้นก​ าร​ผลิต มันไ​ป​กระทบ​กบั ส​ ถาบันก​ าร​เงินท​ ต​ี่ อ้ ง​ ใน​ส่ ว น​ข อง​เ กษตรกร​ก ลุ่ ม ​ที่ ตัง้ ข​ นึ้ ไป​กระทบ​การ​ขยาย​การ​ผลิตท​ ต​ี่ อ้ ง​เพิม่ ข​ นึ้ ไป​กระทบ​การ​ขาย​พนื้ ทีก​่ าร​ ช​ ่วย​เหลือ​ตัว​เอง​ได้ ดิฉันก​ ็​ขอ​แบ่ง​ออก​เป็น เพาะ​ปลูก มันจ​ งึ เ​กีย่ วข้อง​กบั ก​ าร​แผ้วถ​ าง​ปา่ อ​ กี แต่ม​ มุ ด​ ก​ี ค​็ อื จ​ าก​จดุ น​ นั้ ท​ ำให้​ 2 กลุ่ม​อีก กลุ่ม​ที่​ทำ​ฟาร์ม​แบบ Sustain เรา​ขึ้น​สู่​การ​เป็น​ผู้​ส่ง​ออก​อันดับ 1 ของ​โลก คือ​เน้น​การ​ใช้​ทรัพยากร​ใน​ฟาร์ม แม้​จะ​ ใช้​สาร​เคมี​บ้าง แต่​เน้น​ทำ​เอง เขา​ก็​อยู่​ได้ การ​เข้าส​ ป​ู่ ระชาคม​เศรษฐกิจอ​ าเซียน​ทก​่ี ำลังจ​ ะ​เกิดข​ นึ้ ใ​น​ปี 2558 คำถาม​ สามารถ​ควบคุม​ต้นทุน​การ​ผลิต​ได้ ขณะ​ที่​ ก็​คือ​เมื่อ​เป็น​ประชาคม​เศรษฐกิจ​อาเซียน ภาค​การเกษตร​ของ​เรา​จะ​มี​การ​ อีก​กลุ่มฉ​ ีกแ​ หวก​แนว​ไป​เลย เป็น​เกษตรกร​ เปลี่ยนแปลง​อะไร​หรือ​ไม่ นี่​คือ​คำถาม เมื่อ​มี​การ​เคลื่อน​ย้าย​คน​จาก​หลายๆ ที่​ผลิตส​ ินค้า​คุณภาพ​ดี เกษตร​อินทรีย์ เขา​ ประเทศ​เข้า​มา แน่นอน​มัน​ย่อม​นำ​เอา​วัฒนธรรม​หรือ​เทคโนโลยี​การเกษตร​ อยู่​ได้เ​พราะ​เขา​รวม​กลุ่ม ใน​กลุ่มจ​ ะ​มี​คน​ที่​ เข้า​มา ช่วย​จัดการ​ธุรกิจ​การเกษตร แล้ว​เกษตรกร​ แต่​ถ้า​เรา​มอง​ย้อน​ไป​ใน​อดีต​การ​แลก​เปลี่ยน​ใน​ลักษณะ​นี้​มัน​นำ​ไป​สู่​ ภายใน​กลุ่ม​ก็​ผลิต​ให้​ได้​ตาม​ความ​ต้องการ​ การ​ครอบ​ครอง​กจิ การ​ของ​ชาวต่าง​ชาติม​ าก​ขนึ้ จะ​เห็นว​ า่ ใ​น​อดีตเ​มือ่ ช​ าว​จนี ของ​ตลาด ข้อจ​ ำกัดข​ อง​เกษตรกร​กลุม่ น​ ค​ี้ อื ​ ​ชาว​ยุโรป​เข้าม​ า เกิด​ธุรกิจท​ างการ​เกษตร​ขึ้น​แต่​ธุรกิจเ​หล่า​นี้​ไม่​ได้​อยู่​ภาย​ใต้​ เขา​มี​ข้อ​จำกัด​ใน​การ​จัดการ​ธุรกิจ ก็​ต้อง​มี​ ความ​เป็น​เจ้าของ​ของ​คน​ไทย​เลย ทีน​ี้มอง​ไป​ใน​อนาคต​ถ้า​เกิด​มี​การ​ยอม​ให้​ คน​ช่วย​เข้าไป​จัดการ​การ​ตลาด มี​การ​ใช้​พื้นที่​การ​ผลิต​ระหว่าง​อาเซียน แล้ว​ต่อ​ไป​พื้นที่​การเกษตร​ของ​ไทย​ จะ​ยงั อ​ ยูใ​่ น​มอื คน​ไทย​ไหม ซึง่ ก​ เ​็ กีย่ ว​กบั ก​ ฎหมาย​และ​นโยบาย​ของ​รฐั ด​ ว้ ย​ซงึ่ ​ ความ​หวัง​ของ​ภาค​เกษตรกร​ไทย​ใน​ เขา​ก็​ทำ​กัน​อยู่ แต่​ถาม​ว่าการ​ปกป้อง​ใน​เชิง​นิตินัย​มัน​โอเค แต่​ใน​เชิงพ​ ฤตินัย​ อนาคต ดิฉัน​คิด​ว่า​น่า​จะ​เกิด​เจ​เนอ​เรชั่น​ ทำได้​หรือ​เปล่า ใหม่ ​ข อง​ภ าค​เ กษตร มี ​พื้ น ​ฐ าน​ก าร​ ศึกษา มี​เทคโนโลยี ซึ่ง​ไม่​ได้​หมายความ​ จาก​การ​ลงพื้น ​ที่​เข้าไป​ใน​ชุมชน ดิฉัน ​ขอ​แบ่ง​กลุ่ม​อย่าง​กว้าง​ของ ถึ ง ​เ ทคโนโลยี ​ก าร​ผ ลิ ต ​อ ย่ า ง​เ ดี ย ว​น ะ ​เกษตรกร​เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม​เกษตรกร​ที่​สามารถ​ช่วย​เหลือต​ ัว​เอง​ได้ใ​น​ระดับ​ เทคโนโลยี​ใน​การ​สื่อสาร การ​จัดการ​เรื่อง​ ทีด่​ ี​และ​ผลิต​โดย​ใช้​ทฤษฎีใ​หม่ กับ กลุ่ม​เกษตรกร​ที่​ยัง​คง​ผลิตบ​ น​วิถเี​ดิม กลุ่ม​ ตลาด ตรง​นน​ี้ า่ จ​ ะ​ทำให้เ​กิดเ​จ​เนอ​เรชัน่ ใ​หม่​ แรก​เขา​จะ​เกาะ​กลุ่ม​กัน​แล้ว​เรียน​รู้​จาก​ประสบการณ์ข​ อง​เขา​เอง ส่วน​กลุ่มห​ ลัง​ ของ​ภาค​การเกษตร​ได้ เหมือน​ใน​ประเทศ​ท​ี่ สิ่ง​ที่​เขา​เรียก​ร้อง​คือ​ความ​ช่วย​เหลือ​ทั่วไป เช่น ราคา ทำ​อย่างไร​จะ​มี​ราย​ได้​ พัฒนา​แล้ว คือ​คน​ที่​ไป​ทำ​เกษตร​คือ​คน​ที่​ มาก​ขึ้น ถ้า​บอก​ว่า​แล้ว​ทำไม​ไม่​นำ​ข้อมูล​จาก​เกษตรกร​กลุ่ม​ที่​สามารถ​จัดการ​ มี​ความ​รัก​ที่​จะ​ทำ มี​ความ​รู้ ถ้า​ไป​คุย​กับ​ ตนเอง​ได้​ใน​ระดับ​ที่​ดี​ไป​สู่​กลุ่ม​เกษตรกร​ที่​ยัง​คง​ดำเนิน​การ​ผลิต​บน​วิถี​แบบ​เก่า เกษตร​ยุโรป ขอ​ข้อมูลเ​ขา เขา​จะ​คียข์​ ้อมูล​ คำ​ตอบ​อาจ​อยู่​ทวี่​ ิถี​ชีวิต แล้ว​ปริ​นท์​ออก​มา​ให้​เรา​เลย แต่​เกษตรกร​ แม้​ใน​หมู่บ้าน​นั้น​จะ​มี​เกษตรกร​ตัวอย่าง ประสบ​ความ​สำเร็จ ลด​ ไทย​แ ค่ ​ก าร​บั น ทึ ก ​มั น ​ก็ ​ยั ง ​ไ ม่ ​ถึ ง ​ต รง​นั้ น ต้นทุน​การ​ผลิต แต่​คนใน​หมู่บ้าน​ก็​ยัง​ไม่​ปฏิบัติ​ตาม ถ้า​เรา​เข้าไป​ใน​ชุมชน​ เรา​ต้อง​ยอมรับ​ข้อ​จำกัด​เกษตรกร​เรา​ด้วย มัน​มี​มิติ​ที่​ซับ​ซ้อน​มาก​ใน​การ​ถ่ายทอด​เทคโนโลยี ถ้า​เรา​มอง​ว่า​เทค​โน​โลยี​ เกษตรกร​ใน​เจ​เนอ​เรชัน่ น​ ย​ี้ งั ไ​ม่ไ​ด้ร​ บั โ​อกาส​ ตัวน​ ด​ี้ ี เดินเ​ข้าไป​ถา่ ยทอด​ใน​ชมุ ชน พอ​เรา​ออก​มา​เขา​กล​็ มื แ​ ล้ว การ​ถา่ ยทอด​ ทางการ​ศึกษา​อย่าง​นั้น​เพื่อ​มา​ทำ​ธุร กิจ​ เทคโนโลยี​ลง​ชุมชน​มัน​ยาก​มาก ถ้าไ​ม่​สอดคล้อง​กับต​ ัว​เขา เขา​จะ​ไม่​รับ การเกษตร

04

02

05

03

43 :

Horizon08.indb 43

1/27/12 2:00:37 PM


C ulturalสุชscience าต อุดมโสภกิจ

การวิจัยพื้นฐาน-การวิจัยมุ่งเป้า

จะเลือกทางไหนดี?*

ช่วง​กอ่ น​คริสต์ท​ ศวรรษ 2000 เจ้าห​ น้าทีภ​่ าค​รฐั ข​ อง​สหรัฐอเมริกา​ทท​ี่ ำงาน​เกีย่ ว​กบั น​ โยบาย​ ด้าน​วิทยาศาสตร์​ได้​สื่อสาร​คำ​พูด 4-5 คำ​กับ​สาธารณะ ได้แก่ การ​ปรับ​กระบวน​ทัศน์ (Paradigm Shift) พื้นที่/สาขา​เชิงย​ ุทธศาสตร์ (Strategic Areas) ลำดับค​ วาม​สำคัญ (Priorities) และ​ขี ด ​ค วาม​ส ามารถ​ใ น​ก าร​แ ข่ ง ขั น ​ข อง​ป ระเทศ (National Competitiveness) โดย​มแ​ี นวคิดใ​น​การ​จดั ท​ ำ​นโยบาย​ทจ​่ี ะ​เปลีย่ น​รปู แ​ บบ​การ​จดั สรร​ทนุ ว​ จิ ยั แ​ ละ​พฒ ั นา​ดา้ น​ วิทยาศาสตร์ข​ อง​ประเทศ ทัง้ นี้ มีแ​รง​จงู ใจ​ทจ​่ี ะ​สนับสนุนง​ าน​วจิ ยั ท​ ส​่ี อดคล้อง​กบั แ​ ผน​งาน​ใหญ่ๆ (Program) เช่น การ​สร้าง​ความ​เข้มแ​ ข็งใ​ห้​แก่​เศรษฐกิจ การ​ปรับปรุง​สิ่ง​แวดล้อม เป็นต้น มากกว่า​จะ​เป็น​งาน​วิจัย​ราย​โครงการ และ​นี่​คือ​มุม​มอง​หรือ​ความ​คิด​เห็น​ของ​หลายๆ ฝ่าย​ ที่​มี​ต่อ​ประเด็น​ดัง​กล่าว มุม​มอง​ของ​นัก​วิทยาศาสตร์

ประชาคม​วิทยาศาสตร์​ได้​ตั้ง​คำถาม​ต่อ​แนวคิด​ ข้าง​ต้น​หลาย​ข้อ เช่น กระบวน​ทัศน์​นั้น ‘ใหม่’ จริงห​ รือ? ใคร​เป็น ​ผู้​กำหนด​และ​จัด​ลำดับ​ความ​สำคัญ​ของ​สาขา​ ยุทธศาสตร์? นักว​ ทิ ยาศาสตร์ต​ อ้ ง​ยอม​เสียส​ ละ​การ​วจิ ยั ​ พื้น​ฐาน​ที่​เป็น​ไป​ตาม​ความ ‘อยาก​รู้’ มาก​แค่ไ​หน? นัก​วิทยาศาสตร์​ได้​แสดง​ความ​เห็น​ว่า​มี​การ​ให้​ ทุน​วิจัย​ใน​สาขา​ยุทธศาสตร์​มา​หลาย​ปี​แล้ว NSF เอง ​ก็​ให้​ทุน​สำหรับ​โปรแกรม​วิจัย​ร่วม​ระหว่าง​มหาวิทยาลัย​ และ​อุตสาหกรรม​มา​โดย​ตลอด เพราะ​เห็น​ความ​สำคัญ​ ใน​การ​ถ่ายทอด​เทคโนโลยี​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​อุตสาหกรรม​ จาก​มหาวิทยาลัยไ​ป​สก​ู่ าร​ใช้ง​ าน​อย่าง​แท้จริง โดย​มอ​ี ตั รา​ ความ​สำเร็จ​สูง​มาก นอกจาก​นี้ การ​ทำ​วิจัย​ตาม​ความ​ ต้องการ​ของ​ประเทศ​ก็​ไม่ใช่​ของ​ใหม่ สิ่ง​ที่​น่า​จะ​เป็นข​ อง​ ใหม่ค​ อื การ​จำกัดง​ บ​ประมาณ​วจิ ยั พ​ นื้ ฐ​ าน​ใน​ระดับห​ นึง่ ​ เพื่อ​สนับสนุน​การ​วิจัย​ที่​ตอบ​สนอง​ความ​ต้องการ​ของ​ ประเทศ ซึ่ง​สร้าง​ความ​วิตก​กังวล​แก่​นัก​วิทยาศาสตร์​ ใน​ระดับ​หนึ่ง

ค​วอน​ตัม ต้อง​ใช้​เวลา​พอ​สมควร​ก่อน​จะ​เติบโต​ไป​สู่​การ​ ปฏิวตั ด​ิ า้ น​การ​สอื่ สาร หรือก​ าร​คน้ พ​ บ​ผลึกเ​หลว (Liquid Crystal) ของ Friedrich Reinitzer ต้อง​ใช้​เวลา​ร่วม 80 ปีกว​ า่ จ​ ะ​นำ​สก​ู่ าร​พฒ ั นา​เป็นจ​ อ​แอล​ซดี ท​ี เ​ี่ รา​ใช้ก​ นั เ​กลือ่ น​ ใน​ปัจจุบัน เป็นต้น การ​วิจัยพ​ ื้น​ฐาน​จึง​เป็น ‘บ่อน้ำ’ ที่​ นำ​ไป​สู่​การ​ประยุกต์​ใช้ ซึ่ง​หาก​การ​วิจัย​พื้น​ฐาน​หยุด​ ชะงัก​ไป​ย่อม​ทำให้ ‘น้ำ’ แห้ง​เหือด และ​โอกาส​ใน​การ​ เกิด​เทคโนโลยี​ใหม่ๆ พลอย​ลด​น้อย​ลง​ไป​ด้วย รัฐ​จึง​ ควร​ให้การ​สนับสนุน​การ​วิจัย​พื้น​ฐาน​และ​สนับสนุน​การ​ ถ่ายทอด​แนว​ความ​คิด​และ​การ​ค้น​พบ​ไป​สู่​การ​ประยุกต์​ เพื่อ​สร้าง​ผลิต​ภัณฑ์​ใหม่ๆ มากกว่า​การ​สนับสนุน​การ​ วิจัย​แบบ​มุ่ง​เป้าแต่เพียงอย่างเดียว แม้​จะ​ยอมรับ​ว่า​ใน​ ผลก​ระ​ทบ​ของ​การ​วิจัย​พื้น​ฐาน สภาพ​ที่​ทรัพยากร​ของ​ประเทศ​มี​จำกัด การ​สนับสนุน​ นัก​วิทยาศาสตร์​หลาย​กลุ่ม​ได้​ให้​ทัศ​นะ​ว่าการ​ การ​วจิ ยั แ​ บบ​มงุ่ เ​ป้าย่อม​มโ​ี อกาส​ทจ​ี่ ะ​ได้ร​ บั ผ​ ล​ตอบแทน​ วิจัย​พื้น​ฐาน​นำ​ไป​สู่​การ​พัฒนา​สังคม​ที่​สำคัญ​หลาย​เรื่อง ดีก​ ว่า แต่ก​ าร​สนับสนุนก​ าร​วจิ ยั ท​ ไ​ี่ ม่ต​ อ้ ง​มงุ่ เ​ป้าไ​ด้ร​ บั ก​ าร​ เช่น ความ​รู้​พื้น​ฐาน​เกี่ยว​กับ​แก้ว แสง และ​กล​ศาสตร์​ พิสูจน์​แล้ว​ว่า​เป็นการ​ลงทุนท​ ี่​ดี​ไม่​แพ้​กัน : 44

Horizon08.indb 44

1/27/12 2:00:38 PM


เทคโนโลยี

Prof. Karle ให้ ​ทั ศ นะ​ว่ า ​เ ทคโนโลยี ​คื อ​ วิทยาศาสตร์​อุตสาหกรรม และ​เกี่ยวข้อง​กับ​กิจ​กร​รม​ หลักๆ ได้แก่ การ​ผลิต การขนส่ง และ​การ​สื่อสาร อัน​ที่​จริง​เทคโนโลยี​มี​ความ​สัมพันธ์​อย่าง​ใกล้​ชิด​กับ​ วิวฒ ั นาการ​ของ​มนุษย์ ทัง้ ใ​น​เรือ่ ง​เครือ่ ง​มอื เครือ่ ง​นงุ่ ห​ ม่ ไฟ ที่พัก​อาศัย และ​เครื่อง​ยัง​ชี​พอื่นๆ วิทยาศาสตร์​ พื้ น ​ฐ าน​เ ป็ น ​ส่ ว น​ส ำคั ญ​ที่ ​ท ำให้ ​สั ง คม​กั บ ​เ ทคโนโลยี ​ มี​วิวัฒนาการ​ไป​ด้วย​กัน (Co-evolution) คำถาม​คือ การ​ค้น​พบ​ของ​วิทยาศาสตร์​พื้น​ฐาน​นำ​ไป​สู่​การ​ก่อ​เกิด​ เทคโนโลยี​ใหม่​ได้​อย่างไร กระบวนการ​ทเ​ี่ ริม่ จ​ าก​การ​วจิ ยั พ​ นื้ ฐ​ าน​ไป​สค​ู่ วาม​ สำเร็จ​ใน​เชิง​เศรษฐศาสตร์​ของ​เทคโนโลยี​นั้น​มี​ความ​ ไม่ ​แ น่ น อน​สู ง ​ม าก ความ​ส ำเร็ จ ​จ าก​ก าร​วิ จั ย ​ที่ ​ไ ด้ ​ เทคโนโลยี​ใหม่​ไม่ใช่​หลัก​ประกัน​ว่า​จะ​ประสบ​ผล​สำเร็จ​ ใน​ท าง​เ ศรษฐศาสตร์ เพราะ​มี ​ปั จ จั ย ​อื่ น ๆ เข้ า ​ม า​ เกี่ยวข้อง การ​สร้าง​นวัตกรรม​ทสี่​ ำคัญๆ กระตุ้น​ให้เ​กิด​ นวัตกรรม​อื่นๆ ตาม​มา ทั้งนี้​ขึ้น​กับ​การ​ระบุ​ประเภท​ ความ​ต้องการ​ของ​ผู้คน​ได้​ถูก​ต้อง​เพียง​ใด

บท​สรุป

1. ด้วย​ตระหนัก​ว่า​ความ​สำเร็จ​จาก​การ​พัฒนา​ เทคโนโลยี​ใหม่ๆ จะ​สร้าง​ผลก​ระ​ทบ​ทาง​เศรษฐกิจ​ได้ รัฐบาล​จึง​พยายาม​กำหนด​ทิศทาง​การ​วิจัย​โดย​ผ่าน​การ​ ใช้ท​ นุ ส​ นับสนุนก​ าร​วจิ ยั ใ​ห้เ​ป็นไ​ป​ตาม​ความ​ตอ้ งการ​ของ​ ประเทศ ซึ่ง​ดู​เหมือน​ว่า​ขัด​แย้ง​กับ​การ​วิจัย​พื้น​ฐาน​ของ​ นัก​วิทยาศาสตร์

ที่มา: 1. MLA style: “The Role of Science and Technology in Future Design”. Nobelprize.org. 2 Dec 2011 (http:// www.nobelprize.org/nobel_prizes/chemistry/articles/ karle/) 2. Deborah L. Illman (1994) NSF Celebrates 20 Years of Industry-University Cooperative Research: Development, transfer of industrially relevant technologies from university into practice is goal of more than 50 research centers. Chem. Eng. News, 72 (4), pp 25–30

2. นั ก​วิ ท ยาศาสตร์ นั ก ​เ ศรษฐศาสตร์ ​ชั้ น ​น ำ ผูน้ ำ​ใน​วงการ​อตุ สาหกรรม และ​บรรณาธิการ​ใน​วารสาร​ วิทยาศาสตร์ช​ นั้ น​ ำ ได้ช​ ว​ี้ า่ การ​บริหาร​การ​วจิ ยั แ​ บบ​มงุ่ เ​ป้า​ ของ​รัฐบาล​เต็ม​ไป​ด้วย​ความ​ไม่​แน่นอน​และ​หลุม​พราง รวม​ทงั้ อ​ าจ​สร้าง​ความ​เสียห​ าย​แก่ว​ งการ​วทิ ยาศาสตร์ไ​ด้ รวม​ทงั้ ต​ อ้ ง​ไม่ล​ มื ว​ า่ วิทยาศาสตร์ก​ บั ส​ งั คม​มว​ี วิ ฒ ั นาการ​ ร่วม​กัน​มา​โดย​ตลอด 3. มี​การ​สนับสนุน​อย่าง​แข็ง​ขัน​จาก​บุคคล​และ​ คณะ​บุคคล​ต่อ​ระบบ​การ​ให้​ทุน​ที่​มี​อยู่​เดิม ซึ่ง​เป็นการ​ สนับสนุน​วงการ​วิทยาศาสตร์​อย่าง​กว้าง​ขวาง และ​เห็น​ ว่า​มี​ความ​เหมาะ​สม​กับ​แนวทาง​ที่​ตอบ​สนอง​ต่อ​ความ​ ต้องการ​ของ​ประเทศ​เท่าท​ จ​ี่ ะ​เป็นไ​ป​ได้อ​ ยูแ​่ ล้ว นอกจาก​ นี้ ไม่มี​ใคร​คาด​คะเน​ได้​ว่า​ความ​สำเร็จ​ของ​การ​พัฒนา​ เทคโนโลยี​และ​นวัตกรรม​ที่​เกิด​ขึ้น​ใน​อนาคต​จะ​เป็น​ อย่างไร 4. การ​วิจัย​พื้น​ฐาน​มี​ความ​หมาย​ต่อ​การ​พัฒนา​ เทคโนโลยี และ​ก าร​ต อบ​ส นอง​ค วาม​ต้ อ งการ​ข อง​ ประเทศ ความ​เชื่อม​โยง​ระหว่าง​การ​วิจัย​พื้น​ฐาน​กับ​การ​ พัฒนา​เทคโนโลยี​กม็​ ี​สถานภาพ​ทเี่​หมาะ​สมอ​ยู่​แล้ว นั่นค​ ือ​มุม​มอง​ของ Prof. Karle ทีม่​ ี​ต่อ​ระบบ​การ​ จัดสรร​ทุน​วิจัย​ของ​สหรัฐอเมริกา หาก​หัน​กลับ​มา​มอง​ ประเทศไทย​ซงึ่ ม​ ง​ี บ​ประมาณ​ดา้ น​การ​วจิ ยั ท​ จ​ี่ ำกัดจ​ ำ​เขีย่ คำ​ตอบ​อาจ​ไม่ใช่ก​ าร​ทต​ี่ อ้ ง​เลือก​ระหว่าง​การ​วจิ ยั พ​ นื้ ฐ​ าน​ กับ​การ​วิจยั ม​ ุ่ง​เป้า การ​เพิม่ ส​ ัดส่วน​งบ​ประมาณ​การ​วิจยั ​ แต่เ​พียง​อย่าง​เดียว​กอ​็ าจ​ไม่ใช่ค​ ำ​ตอบ​สดุ ท้าย​เช่นก​ นั ถ้า​ เช่นน​ นั้ การ​จดั สรร​งบ​ประมาณ​การ​วจิ ยั ข​ อง​ประเทศไทย​ ที่​เหมาะ​สมควร​เป็น​เช่น​ใด?

*บทความ​นี้​ถอด​ความ​งาน​เขียน​ของ Prof. Jerome Karle

(นัก​วิทยาศาสตร์​รางวัล​โน​เบล​สาขา​เคมี ใน​ปี ค.ศ. 1985 จาก​ การ​วจิ ยั เ​กีย่ ว​กบั ก​ าร​วเิ คราะห์โ​ครงสร้าง​ของ​ผลึกด​ ว้ ย​เทคนิคก​ าร ก​ระ​เจิงข​ อง​เอกซเรย์ (X-ray Scattering Technique)) ทีม​่ ต​ี อ่ ​ ประเด็นก​ าร​จดั สรร​งบ​ประมาณ​สำหรับก​ าร​วจิ ยั ข​ อง​สหรัฐอเมริกา ซึ่ง​ควร​แก่​การ​รับ​ฟัง​และ​นำ​มา​วิเคราะห์​ต่อ​ไป (ภาพ​ประกอบ: Prof. Jerome Karle (ซ้าย) และ Prof. Herbert A. Hauptman (ขวา) ได้​รับ​ราง​วัลโน​เบล​สา​ขาเคมี​ ใน​ปี ค.ศ. 1985) 45 :

Horizon08.indb 45

1/27/12 2:00:39 PM


M yth & สุSชาตcience อุดมโสภกิจ

ภัย​พิบัติ​มัก​สร้าง​ความ​สูญ​เสีย​แก่​ชีวิต​ และ​ทรัพย์สิน สร้าง​ผลก​ระ​ทบ​ใน​มิติ​ ต่างๆ ทั้งด​ ้าน​เศรษฐกิจแ​ ละ​สังคม ชีวิต​ ความ​เป็น​อยู่​ของ​บาง​คน​อาจ​เปลี่ยน​ไป​ จาก​เดิมอ​ ย่าง​สนิ้ เ​ชิง ปัญหา​ตา่ งๆ เกิดข​ นึ้ ​ทั้ง​ใน​ช่วง​ที่​เกิด​ภัย​พิบัติ​และ​ภาย​หลัง ​ภัย​พิบัติ​ผ่าน​พ้น​ไป​แล้ว อย่างไร​ก็ตาม มี ​ค วาม​เ ชื่ อ ​บ าง​อ ย่ า ง​ที่ ​เ กี่ ย วข้ อ ง​กั บ​ ภัยพ​ บิ ตั ท​ิ น​ี่ า่ ส​ นใจ และ​ทน​ี่ า่ ส​ นใจ​ยงิ่ ก​ ว่า​ คือ ความ​จริงน​ ั้น​เป็น​อย่างไร​กัน​แน่

ความ​เชือ่ : สิง่ ต​ า่ งๆ จะ​กลับส​ ส​ู่ ภาวะ​ปกติ​

ภายใน 2-3 สัปดาห์ ความ​จริง: โดย​ทั่วไป​ผลก​ระ​ทบ​ของ​ภัย​ พิบัติ​มัก​จะ​กิน​เวลา​ยาวนาน ประเทศ​ที่​เผชิญ​ กับภ​ ยั พ​ บิ ตั ม​ิ กั ป​ ระสบ​ปญ ั หา​ดา้ น​การ​คลังแ​ ละ​ วัสดุ​อย่าง​มาก​หลัง​วิกฤต​กา​รณ์ใ​หม่ๆ

ความ​ เ ชื อ ่ ​ และ ​ความ​จริง ใน

​สถานการณ์​ภัย​พิบัติ

ความ​เชื่อ: ประชาชน​ที่​ได้​รับ​ผลก​ระ​ทบ​ มัก​ตก​อยู่​ใน​สภาวะ​ช็อก​เกิน​กว่า​จะ​เอา​ชีวิต​ รอด​ได้ ความ​จริง: ใน​ท าง​ต รง​กั น ​ข้ า ม มี ​ผู้​ ประสบ​ภัย​หลาย​ราย​ค้น​พบ​ความ​แข็งแกร่ง​ ของ​ตนเอง​ใน​สถานการณ์ว​ ิกฤติ ความ​เชื่อ: เมื่อ​เกิด​ภัย​พิบัติ​แต่ละ​ครั้ง

เชื้อ​โรค​และ​โรค​ระบาด​เป็น​สิ่ง​ที่​ไม่​สามารถ​ หลีก​เลี่ยง​ได้ ความ​จริง: โรค​ระบาด​ไม่​ได้​เกิด​ขึ้น​โดย​ อัตโนมัติ​ตาม​หลัง​ภัย​พิบัติ และ​ซากศพ​ไม่ใช่​ สาเหตุท​ ท​ี่ ำให้เ​กิดก​ าร​ระบาด​ของ​โรค​แปลกๆ (หรืออ​ กี น​ ยั ห​ นึง่ ค​ อื ซากศพ​ไม่ไ​ด้ม​ ค​ี วาม​เสีย่ ง​ ความ​เชื่อ: เมื่อ​เกิด​ภัย​พิบัติ แพทย์​อาสา​ชาว​ต่าง​ชาติ​มี​ความ​จำเป็น​ ต่อ​การ​เป็น​สาเหตุ​ของ​โรค​ระบาด​ไป​มากกว่า​ มาก ไม่​ว่า​จะ​เชี่ยวชาญ​ด้าน​ไหน​ก็ตาม คน​ที่​ยัง​มี​ชีวิต​อยู่) สิ่ง​สำคัญ​ใน​การ​ป้องกัน​ ความ​จริง: แต่ละ​ประเทศ​ม​ีแพทย์​ผ​้เู ชีย่ วชาญ​ใน​สาขา​ตา่ งๆ มาก​ โรค​คือ​การ​ดูแล​สุข​อนามัย​และ​การ​ให้​ความ​รู้​ เพียง​พอที​่จะ​ให้​ความ​ชว่ ย​เหลือ​เพือ่ ​รกั ษา​ชวี ติ ​คน​เจ็บ​ปว่ ย​ใน​ภาวะ​เร่ง​ดว่ น​ แก่​สาธารณชน ได้ อย่างไร​กต็ าม อาจ​ตอ้ งการ​ความ​ชว่ ย​เหลือ​จาก​แพทย์​ผ​เู้ ชีย่ วชาญ​ใน​สา​ขา​ อืน่ ๆ ที​ไ่ ม่ม​ใี น​ประเทศ​ท​ป่ี ระสบ​ภยั ​พบิ ตั ิ

: 46

Horizon08.indb 46

1/27/12 2:00:46 PM


ความ​เชื่อ: เป็น​ไป​ไม่​ได้ที่​จะ​ระบุ​ตัวผู้​เสีย​ชีวิต​จำนวน​มาก​หลัง​เกิด​ภัย​พิบัติ ความ​จริง: เทคโนโลยี​ดีเอ็นเอ (DNA Technology) ใช้​เพื่อ​การ​พิสูจน์​เอกลักษณ์​ของ​ผู้​เสีย​ชีวิต​ได้ และ​

เป็นเ​ทคโนโลยีท​ ม​ี่ อ​ี ยูใ​่ น​แทบ​ทกุ ป​ ระเทศ อย่างไร​กต็ าม แม้ป​ ระเทศ​ทป​ี่ ระสบ​ภยั พ​ บิ ตั จ​ิ ะ​ไม่มเ​ี ทคโนโลยีด​ งั ก​ ล่าว ก็​สามารถ​ขอรับ​ความ​ช่วย​เหลือ​ทั้ง​ด้าน​เทคนิค​และ​การ​เงิน​จาก​ประเทศ​อื่น​ได้

ความ​เชื่อ: ประเทศ​ท​ป่ี ระสบ​ภยั ​พบิ ตั ต​ิ อ้ งการ​ความ​ชว่ ย​เหลือ​จาก​นานาชาติ และ​ตอ้ งการ​แบบ​ทนั ทีท​ นั ใด ความ​จริง: การ​สนอง​ตอบ​ความ​ตอ้ งการ​ความ​ชว่ ย​เหลือท​ ไ​ี่ ม่ไ​ด้ผ​ า่ น​การ​ประเมินแ​ ละ​จดั ล​ ำดับค​ วาม​สำคัญ​

มีแ​ ต่จ​ ะ​ทำให้เ​กิดค​ วาม​โกลาหล ดังน​ นั้ ทาง​ทด​ี่ ค​ี วร​จะ​ใช้เ​วลา​สกั ร​ ะยะ​หนึง่ เ​พือ่ ป​ ระเมินห​ าความ​ตอ้ งการ​ทแี่ ท้จ​ ริง​ ก่อน​ขอ​ความ​ช่วย​เหลือ

ความ​เชื่อ: ความ​เสียห​ าย​จาก​ภัย​พิบัติ​มักถ​ ูก​ซ้ำเ​ติม​ด้วย​พฤติกรรม​ของ​คน ความ​จริง: อาจ​พบ​พฤติกรรม ‘ภัยส​ งั คม’ บ้าง​ใน​สถานการณ์ภ​ ยั พ​ บิ ตั ิ แต่โ​ดย​ภาพ​รวม​แล้วก​ลบั พ​ บ​วา่ ผ​ คู้ น​ ตอบ​สนอง​ต่อ​สถานการณ์ไ​ด้​อย่าง​เหมาะ​สม มี​น้ำใจ เอื้อเฟื้อ​เผื่อ​แผ่ และ​ช่วย​กัน​ฝ่าฟัน​ความ​ทุกข์​ยาก​ไป​ได้

ความ​เชื่อ: คน​ที่​อดอยาก​สามารถ​กินท​ ุก​อย่าง​ที่​ขวาง​หน้า ความ​จริง: แม้​คน​ที่​หิว​มากๆ ก็ไ​ม่​สามารถ​รับ​ประทาน​อาหาร​ที่​ซ้ำซาก​และ​ไม่​คุ้น​เคย​เป็น​เวลา​นานๆ ที่​ สำคัญ​คือ ผู้​ที่​อดอยาก​มัก​มี​อาการ​เจ็บ​ป่วย​จน​สูญเ​สีย​ความ​อยาก​อาหาร

ความ​เชื่อ: ไม่​ควร​ให้​อาหาร​แก่เ​ด็ก​ที่​มี​อาการ​ท้อง​ร่วง ความ​จริง: การ​งด​อาหาร​ใน​เด็กท​ ม​ี่ อ​ี าการ​ทอ้ ง​รว่ ง​เป็นห​ ลักก​ าร​ทไ​ี่ ม่ถ​ กู ต​ อ้ ง และ​อาจ​เป็นอ​ นั ตราย​ถงึ ช​ วี ติ ​ ใน​กรณีเ​ด็กข​ าด​อาหาร อันท​ จ​ี่ ริงค​ วร​ให้อ​ าหาร​เหลว​แก่เ​ด็กท​ อ้ ง​รว่ ง (อาจ​ให้ท​ าง​สาย​ยาง​หรือ Nasogastric Tube ใน​กรณี​ที่​จำเป็น) พร้อมๆ กับ​การ​รักษา​อาการ​ขาด​น้ำ การ​ให้​อาหาร​หลัง​รักษา​อาการ​ขาด​น้ำ​อาจ​สาย​เกิน​ไป

ความ​เชื่อ: เรา​สามารถ​ให้ค​ วาม​ช่วย​เหลือ​ผู้​อพยพ​ใน​สัดส่วน​ที่​น้อย​กว่าป​ กติ ความ​จริง: ผู้​อพยพ​ยัง​มี​สิทธิ์​ขั้น​พื้น​ฐาน​ใน​การ​ได้​รับ​อาหาร ที่พัก​พิง และ​การ​ดูแล ที่​ไม่​น้อย​ไป​กว่าส​ ิทธิ์​

ขั้น​พื้น​ฐาน​ของ​คน​ทั่วไป อัน​ที่​จริง​ผู้​อพยพ​บาง​ราย​ที่​ขาด​อาหาร​และ​เจ็บ​ป่วย​ก่อน​มา​ถึงที่​พักพิง​กลับ​ต้องการ​ อาหาร​และ​การ​ดูแล​มากกว่าป​ กติ​ด้วย​ซ้ำ

ความ​เชื่อ: ภัย​พิบัติ​ทำให้ม​ ี​ผู้​เสีย​ชีวิต​กระจัดกระจาย​แบบ​สุ่ม ความ​จริง: ภัย​พิบัติ​มี​แนว​โน้ม​ทำให้ม​ ี​ผู้​เสียช​ ีวิตส​ ูง​ใน​พื้นทีเ่​สี่ยง​สูง ซึ่งม​ ัก​เป็น​แหล่ง​อาศัย​ของ​คน​ยากจน ความ​เชื่อ: เป็นการ​ดี​ที่สุด​ที่​จะ​จำกัด​การ​ให้​ข้อมูล​ความ​รุนแรง​ของ​ภัย​พิบัติ ความ​จริง: การ​จำกัดก​ าร​เข้าถ​ งึ ข​ อ้ มูลท​ ำให้เ​กิดค​ วาม​ไม่เ​ชือ่ ม​ นั่ ใ​น​หมูป​่ ระชาชน ซึง่ อ​ าจ​นำ​ไป​สพ​ู่ ฤติก​ ร​รม​

ผิดๆ หรือ​อาจ​ก่อ​ให้เ​กิด​การ​จลาจล

ที่มา:

• http://www.21stcenturychallenges.org/60-seconds/myths-andrealities-in-disaster-situations/ • http://www.who.int/hac/techguidance/ems/myths/en/index.html 47 :

Horizon08.indb 47

1/27/12 2:00:51 PM


S mart

life

ดร.นำชัย ชีววิวรรธน์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

อวัยวะซ่อมเสริมเติมสร้าง (Artificial Organ)

รูป​ที่ 1 หลอดลม​สร้าง​จาก​ส​เต็ม​เซลล์​ซึ่ง​นำ​มา​จาก​ไขสันหลัง​ของ ​ผู้​ป่วย​เอง(2)

รูปท​ ี่ 2 Sarcos Exoskeleton จาก​โครงการวิจยั ช​ นั้ ส​ งู ด​ า้ น​กลาโหม​ ของ​สหรัฐอเมริกา(5)

ความ​กา้ วหน้าด​ า้ น​วทิ ยาศาสตร์ก​ าร​แพทย์ใ​น​ปจั จุบนั ไ​ด้​ ช่วย​ให้​มนุษย์​มีอายุ​ยืน​มาก​ขึ้น อย่างไร​ก็ตาม​ผู้​สูง​อายุ ผูป​้ ว่ ย และ​ผพ​ู้ กิ าร ก็ม​ กั ม​ ค​ี วาม​เสือ่ ม​ถอย​หรือก​ าร​สญ ู เ​สีย​ ของ​อวัยวะ​ต่างๆ และ​ต้องการ​เทคโนโลยี​จำเพาะ​เพื่อ​ สนับสนุน​และ​เพิ่มค​ ุณภาพ​ชีวิต ดังน​ ั้น นัก​วิทยาศาสตร์​ จึง​มี​ความ​พยายาม​สร้าง​อวัยวะ​ซ่อม​เสริม​เติม​สร้าง​หรือ​ อวัยวะ​เทียม (Artificial Organ) ขึ้น เพื่อ​แก้​ปัญหา ​ดังก​ ล่าว ซึ่ง​มี​การ​คาด​การณ์ว​ ่า​อวัยวะ​เทียม​อาจ​มี​มูลค่า​ ตลาด​ทั่ว​โลก​สูง​ถึง 1.54 หมื่น​ล้าน​เหรียญ​สหรัฐ ใน​ปี 2015(1) การ​สร้าง​อวัยวะ​เทียม​มี 3 แนวทาง​คือ ทาง​หนึง่ ค​ อื การ​สร้าง​อวัยวะ​เทียม​จาก​สา​รอ​นน​ิ ท​รยี ์ เช่น หัวใจ​เทียม​รนุ่ Jarvik-7 ซึง่ ​ม​กี าร​ผา่ ตัด​ฝงั ​ใน​รา่ งกาย​ มนุษย์เ​ป็นค​ รัง้ แ​ รก​ตอ้ ง​อาศัยพ​ ลังงาน​ภายนอก​ใน​การ​สบู ฉ​ ดี ​ เลือด หรือม​ อื เ​ทียม​รนุ่ ใ​หม่ๆ​อย่าง i-LIMB ซึง่ อ​ าศัยส​ ญ ั ญาณ​ จาก​กล้าม​เนือ้ ​ใน​การก​ระ​ต​นุ้ การ​เคลือ่ นไหว โดย​สามารถ​ ทำงาน​ละเอียด​ออ่ น​ได้​ดี เช่น การ​หยิบ​เล​โก้ เป็นต้น แนวทาง​ท่​สี อง​คือ การ​ปลูก​เซลล์​ต้น​กำเนิด​หรือ​ ส​เต็ม​เซลล์ (Stem Cell) บน​โครง​ของ​วสั ดุ​สงั เคราะห์​พเิ ศษ​ ที​จ่ ะ​สลาย​ตวั ​ไป​ได้​ใน​ภาย​หลัง วิธน​ี ​ไ้ี ด้​กลาย​แนวทาง​ใหม่​ใน​ การ​สร้าง​อวัยวะ​เทียม เช่น การ​สร้าง​จมูก​และ​ห​เู ทียม​จาก ส​ เต็มเ​ซลล์ แต่ไ​ป​ไกล​กว่าน​ น้ั ก​ ค​็ อื การ​สร้าง​และ​ควบคุมอ​ วัยวะ​ ให้ม​ ล​ี กั ษณะ​โครงสร้าง​แบบ​เดียว​กบั ท​ พ​่ี บ​ตาม​ธรรมชาติ เช่น การ​เพาะ​เลีย้ ง​เซลล์​กระเพาะ​ปสั สาวะ เป็นต้น ความ​กา้ วหน้าล​ า่ สุดใ​น​วทิ ยาการ​ดงั ก​ ล่าว​นไ​้ี ด้เ​กิดข​ น้ึ ​ ใน​เดือน​กรกฎาคม​ท​ผ่ี า่ น​มา(2) โดย​คณะ​แพทย์​ใน​ประเทศ​ สวีเดน​ประสบ​ความ​สำเร็จเ​ป็นค​ รัง้ แ​ รก​ของ​โลก​ใน​การ​ผา่ ตัด​ นำ ‘หลอดลม’ (Trachea) ที​ใ่ ช้​ส​เต็ม​เซลล์ (รูป​ท่ี 1) ซึง่ ส​ กัด​ มา​จาก​เซลล์​ใน​ไขสันหลัง​ของ​ผ​ปู้ ว่ ย​และ​นำ​มา​เลีย้ ง​อยู​่บน​

: 48

Horizon08.indb 48

1/27/12 2:00:53 PM


โครง​หลอดลม​เทียม​ให้​กบั ​ผ​้ปู ว่ ย​ราย​หนึง่ โดย​ไม่ม​ีการ​ ปฏิเสธ​อวัยวะ​เป็น​ผล​ขา้ ง​เคียง​หลัง​การ​ผา่ ตัด เนือ่ งจาก​ใช้​ เซลล์​จาก​ผ​ปู้ ว่ ย​เอง ซึง่ ​จาก​ความ​สำเร็จ​ดงั ​กล่าว​ทำให้​เกิด​ ความ​หวัง​วา่ ​นา่ ​จะ​ทำได้​กบั ​อวัยวะ​อกี ​หลาย​แบบ นอกจาก​นไ​้ี ด้ม​ ง​ี าน​วจิ ยั ท​ ส​่ี า​มา​รถ​สร้าง​สเ​ต็มเ​ซลล์​ ผู​ป้ ว่ ย​ขน้ึ ​ใหม่​จาก​เซลล์​อน่ื ๆ เช่น เซลล์​ผวิ หนัง โดย​อาศัย​ การ​ใส่ DNA เพียง 4 ชิน้ ​เข้าไป​ใน​เซลล์เ​ท่านัน้ (3) แม้​ความ​ สำเร็จด​ งั ก​ ล่าว​ยงั เ​ป็นร​ ะดับก​ าร​ทดลอง แต่ก​ ค​็ าด​หวังก​ นั ว​ า่ ​ ใน​อนาคต​อาจ​กลาย​เป็นว​ ธิ ห​ี ลักใ​น​กา​รนำส​เต็มเ​ซลล์ผ​ ป​ู้ ว่ ย​ มา​ใช้​ก​เ็ ป็น​ได้ เพราะ​เซลล์​ผวิ หนัง​เป็น​เซลล์​ท​ห่ี า​งา่ ย​เมือ่ ​ เทียบ​กบั ​การ​คดั ​แยก​ส​เต็ม​เซลล์​จาก​ไขสันหลัง นอกจาก​การ​ทดแทน​ดว้ ย​อวัยวะ​จริงแ​ ล้ว อุปกรณ์​ ไฮเทค​ทม​่ี จ​ี ดุ ห​ มาย​เริม่ ต​ น้ ใ​น​ทาง​ทหาร ก็อ​ าจ​จะ​กลาย​เป็น ‘อวัยวะ’ ทดแทน​ได้​เช่น​กนั เช่น อุปกรณ์​จำพวก โครง​ กระดูกภ​ ายนอก (Exoskeleton) ทีป​่ ระกอบ​ดว้ ย​โครงสร้าง​ โลหะ​หรือ​วัสดุ​ผสม ระบบ​อิเล็กทรอนิกส์ และ​ระบบ ​ไฮ​ดร​อ​ลกิ ก็​ชว่ ย​ให้​คน​สามารถ​ทำ​สง่ิ ​ท​ค่ี น​ปกติ​ทำ​ไม่​ได้ เช่น ซาร์​คอส (Sarcos)(4) (รูป​ท่ี 2) ซึง่ ​เป็น exoskeleton ที่​ก้าวหน้า​ท่สี ุด​ของ​สำนักงาน​โครงการ​วิจัย​ช้นั ​สูง​ด้าน​ กลาโหม​ของ​สหรัฐอเมริกา (DARPA) สามารถ​ทำให้ท​ หาร​ ยก​นำ้ ​หนัก​ราว 100 กิโลกรัม โดย​ใช้​ความ​พยายาม​นอ้ ย​ มาก อีก​ทง้ั ​ม​คี วาม​ยดื หยุน่ ​ของ​การ​เคลือ่ นไหว​สงู ​มาก นัก​วจิ ยั ​ญป่ี นุ่ ​ก​ส็ น​ใน​เรือ่ งนี​เ้ ป็น​อย่าง​มาก​เช่น​กนั ชุด​สทู ​หนุ่ ​ยนต์​ฮลั (HAL, Hybrid Assistive Limb)(6) ของ ดร.ซัง​ไค โย​ช​ยิ กุ ิ (Sakai Yoshiyuki) แห่ง​มหา​ว​ทิ ยา​ลยั ​ ซึ​คบุ ะ​ท​่อี อกแบบ​ให้​ผ​้มู ​ีปญ ั หา​เกีย่ ว​กบั ​แขน​ขา​ได้​ใช้​งาน รุน่ ​ลา่ สุด HAL5 (รูปที่ 3) สามารถยกน้ำหนักได้ถงึ 150 กิโลกรัม โดยรับคำสัง่ ตรงจากกล้ามเนือ้ ของผูใ้ ช้

รูป​ที่ 3 Hal-5 ชุด​สูท​หุ่น​ยนต์​ของ​ญี่ปุ่น​ช่วย​การ​ทำงาน​ของ​ผู้​ที่​ มี​ปัญหา​เกี่ยว​กับ​แขน​ขา(7) ที่มา: 1.http://www.prweb.com/releases/2011/1/ prweb8052236.htm 2.http://www.bbc.co.uk/news/health-14047670 3.http://circ.ahajournals.org/content/122/5/517.full 4.http://www.youtube.com/watch?v=IYWd2C3XVIk 5.http://wearetopsecret.com/2009/12/sarcos/ 6.http://www.youtube.com/watch?v=G4evlxq34ogl 7.http://www.techcom21.com/hitech/?p=5139

49 :

Horizon08.indb 49

1/27/12 2:00:53 PM


Sสลิลcience media ทิพย์ ทิพยางค์

Food, Inc. ภาพยนตร์เ​รื่อง​นี้​เหมาะ​สำหรับผ​ ู้​บริโภค (ไม่) นิยม

Food, Inc. เป็น​ภาพยนตร์​ที่​ได้​รับ​การ​วิพากษ์​วิจารณ์​ ค่อน​ข้าง​มาก เพราะ​เนื้อหา​ท้าทาย​บริษัท​ยักษ์​ใหญ่​ หลาย​บ ริ ษั ท ​ที่ ​ค วบคุ ม ​ตั้ ง แต่ ​เ มล็ ด ​พั น ธุ์ ​อ าหาร​สั ต ว์ ​ จนถึง​การ​จำหน่าย​เนื้อ​สัตว์​ใน​ซู​เปอร์​มาร์เก็ต บริษัท​ที่​ ถูก​พาดพิง ได้แก่ Tyson Food (บริษัทเ​ลี้ยง ชำแหละ และ​จำหน่าย​เนื้อ​สัตว์​ที่​ใหญ่​ที่สุด​ใน​โลก) Monsanto Company (บริษทั อ​ เมริกนั ท​ เ​ี่ ป็นผ​ นู้ ำ​ใน​เรือ่ ง​เมล็ดพ​ นั ธุ​์ ดัดแปลง​ทาง​พันธุกรรม) Smithfield Foods (บริษัท​ที่​ จำหน่าย​เนือ้ ส​ กุ ร​และ​ผลิตภัณฑ์จ​ าก​เนือ้ ส​ กุ ร​ทใ​ี่ หญ่ท​ สี่ ดุ ​ ใน​โลก และ Perdue Farms (บริษัท​ที่​เลี้ยง ผลิต และ​ จำหน่าย​เนื้อ​ไก่ ไข่​ไก่ และ​ผลิตภัณฑ์จ​ าก​ไก่​ที่​ใหญ่​ที่สุด​ ใน​สหรัฐอเมริกา) เมือ่ เ​รา​ตงั้ ค​ ำถาม​วา่ อ​ าหาร​ทเ​ี่ รา​บริโภค​นม​ี้ า​จาก​ ไหน ใคร​เป็นเ​จ้าของ และ​มนั ถ​ กู ผ​ ลิตม​ า​อย่างไร เรา​กต​็ อ้ ง​ ไป​แกะรอย​ทมี่ า​ของ​อาหาร ซึง่ อ​ าหาร​แปรรูปห​ ลาย​อย่าง ที่​คน​ไทย​บริโภค​อยูท่​ ุก​วัน​นี้ โดย​เฉพาะ​อาหาร​สำเร็จรูป​ และ​น้ ำ ​อั ด ลม​ห ลาย​ช นิ ด ​ที่ ​ผ ลิ ต ​โ ดย​บ ริ ษั ท ​ยั ก ษ์ ​ใ หญ่ ​ สัญชาติ​อเมริกัน มี​ส่วน​ผสม​ที่​ได้​มา​จาก​การนำ​ข้าวโพด​ มา​แปรรูป​อย่าง​ชาญ​ฉลาด ข้าวโพด​จัด​เป็น​อาหาร​ที่​สำคัญ​อย่าง​ยิ่ง​ของ​โลก เพราะ​เป็ น ​แ หล่ ง ​ค าร์ โ บไฮเดรต​แ ละ​โ ปรตี น ​ที่ ​ส ำคั ญ สามารถ​เก็บ​ไว้​ได้​นาน นำ​มาส​กัด​เป็น​แป้ง​และ​เป็น​ วัตถุดิบ​ใน​การ​สกัด​สาร​ปรุง​แต่ง​อาหาร​ได้​หลาก​หลาย​ ชนิด ที่ดิน 30 เปอร์เซ็นต์​ของ​สหรัฐอเมริกา​ถูก​ใช้​ไป​ ใน​การ​ปลูก​ข้าวโพด ซึ่ง​เป็น​นโยบาย​ของ​รัฐบาล​สหรัฐ อเมริกา​ที่​กำหนด​ราคา​ข้าวโพด​ใน​ท้อง​ตลาด​ถูก​กว่า ต้นทุน​การ​ผลิต​จริง แต่​ก็​ยัง​สามารถ​ทำให้​เกษตรกร อยู่​รอด​ได้ บริษัท​ใหญ่​ใน​วงจร​ธุรกิจ​อาหาร​ของ​สหรัฐ อเมริกา​มก​ี ำไร​จาก​การ​ซอื้ ข​ า้ วโพด​ใน​ราคา​ถกู ก​ ว่าต​ น้ ทุน​ การ​ผลิต ข้าวโพด​เป็น​วัตถุดิบ​ของ​อาหาร​เลี้ยง​สัตว์​และ​ การ​สกัด​แปรรูป​อาหาร​ต่างๆ ที่​สามารถ​กักตุนไ​ด้ การ​ทข​ี่ า้ วโพด​มร​ี าคา​ถกู ท​ ำให้เ​นือ้ ส​ ตั ว์ม​ ร​ี าคา​ถกู ​ ลง คน​อเมริกนั โ​ดย​ทวั่ ไป 1 คน บริโภค​เนือ้ ส​ ตั ว์ม​ ากกว่า 200 ปอนด์​ต่อ​ปี ซึ่ง​จะ​เป็น​เช่น​นี้​ไม่​ได้​เลย​หาก​ไม่มี​ ธัญพืช​ราคา​ถูก​ไว้​เลี้ยง​สัตว์ ใน​สหรัฐอเมริกา​ข้าวโพด​ที่​ขาย​ต่ำ​กว่า​ราคา​ทุน​ จาก​ฟาร์ม​จะ​ต้อง​ถูก​ลำเลียง​โดย​รถไฟ​ไป​ยัง​ทุ่ง​ปศุสัตว์ ที่ ​มี ​ก ระบวนการ​ใ ห้ ​อ าหาร​แ บบ​เ ข้ ม ​ข้ น (CAFO – Concentrated Animal Feeding Operations) ธรรมชาติ ของ​วัว​นั้น​กิน​หญ้า แต่​คน​เลี้ยง​วัว​ด้วย​ข้าวโพด​เพราะ​ ข้าวโพด​มี​ราคา​ถูก​และ​ทำให้ว​ ัว​อ้วน​เร็ว​กว่าก​ ิน​หญ้า : 50

Horizon08.indb 50

ภาพยนตร์​เรื่อง​นี้​ตั้ง​สมมุติฐาน​ว่าการ​ให้​วัว​กิน​ ข้าวโพด​ใน​ปริ​มาณ​มากๆ อาจ​ทำให้​แบคทีเรีย​อี​โคไล (Escherichia coli, E. coli) ใน​ววั ก​ ลาย​พนั ธุเ​์ ป็นเ​ชือ้ ส​ าย​ พันธุท์​ ี่​มี​อันตราย​มาก​ขึ้น ใน​ที่​นี้​คือ E. coli 0157:H7 การ​ให้​อาหาร​แบบ​ราง​ที่​เท้า​วัว​จม​อยู่​ใน​กอง​มูล​ทั้ง​วัน ถ้า​วัวต​ ัวใ​ด​ได้​รับ​เชื้อ ตัวอ​ ื่นๆ ก็จ​ ะ​ติด​ไป​ด้วย เมื่อ​วัว​ถูก​ นำ​ไป​ยัง​โรง​ฆ่า​สัตว์ ผิวหนังข​ อง​วัว​กจ็​ ะ​เปรอะ​ไป​ด้วย​มูล เชือ้ จ​ งึ ถ​ กู แ​ พร่ไ​ป​เรือ่ ยๆ มีก​ าร​เรียก​เก็บเ​นือ้ ว​ วั บ​ ด​สำหรับ​ ทำ​แฮมเบอร์เกอร์​จาก​ผู้​ผลิต​ใน​สหรัฐอเมริกา​หลาย​ครั้ง​ เนือ่ งจาก​มี E. coli 0157:H7 ปน​เปือ้ น และ​มผ​ี เ​ู้ สียช​ วี ติ ​ จาก​การ​บริโภค​เนื้อที่​ปน​เปื้อน​ด้วย​เชื้อ​นี้​แล้ว​หลาย​ราย ประเทศไทย​มพ​ี นื้ ทีป​่ ลูกข​ า้ วโพด​ทใ​ี่ ช้ใ​น​การ​เลีย้ ง​ สัตว์​กว่า 7 ล้าน​ไร่​ใน​ปี 2553 และ​ส่วน​ใหญ่​เป็น​วิธี​ การ​ปลูก​แบบ​หนา​แน่น (Intense Farming) ซึ่งต​ ้อง​พึ่ง​ สาร​เคมี ปุ๋ยเ​คมี ยา​ฆ่า​แมลง​และ​วัชพืช หาก​ภาพยนตร์​ เรื่อง​นี้​จะ​ทำให้​ผู้​บริโภค​หัน​มา​สนใจ​ซื้อ​อาหาร​ที่​ได้​มา​ จาก​การ​ทำ ‘การเกษตร​และ​การ​เลี้ยง​สัตว์​แบบ​อินทรีย์’ (Organic) มาก​ขนึ้ ก​ อ​็ าจ​จะ​เป็นผ​ ลพลอยได้ท​ ด​ี่ ี แนว​โน้ม การ​เติบโต​ของ​สินค้า​เกษตร​อินทรีย์​มี​มาก​ขึ้น​เรื่อยๆ เพราะ​สอด​รับ​กับ​กระแส​โลก​ที่​มี​การ​ตื่น​ตัว​เรื่อง​สุขภาพ​ และ​สงิ่ แ​ วดล้อม​มาก​ขนึ้ มูลค่าก​ าร​ตลาด​ของ​อาหาร​และ​ เครื่อง​ดื่ม Organic ทั่ว​โลก​ใน​ปี 2553 อยู่​ที่ 27.1 พัน​ ล้าน​เหรียญ​สหรัฐ เพิ่ม​ขึ้น 4 เปอร์เซ็นต์ จาก​ปี 2552 ใน​ปี 2551 ประเทศไทย​มม​ี ลู ค่าก​ าร​สง่ อ​ อก​สนิ ค้าเ​กษตร​ อินทรีย์​ประมาณ 36 ล้าน​เหรียญ​สหรัฐ โดย​เป็นการ ส่งอ​ อก​ข้าว​อินทรีย์​เป็นส​ ่วน​ใหญ่ แง่​คิด​อีก​มุม​หนึ่ง​ที่​ได้​จาก​ภาพยนตร์​เรื่อง​นี้​คือ ทุกว​ นั น​ อ​ี้ าหาร​ทม​ี่ แ​ี คลอรีส​่ งู แ​ ต่ค​ ณ ุ ค่าท​ าง​โภชนาการ​ตำ่ ​ มีร​ าคา​ต่ำ (แฮมเบอร์เกอร์ห​ นึง่ ช​ ิ้น​ราคา 0.99 ดอลลาร์) ใน​ทาง​กลับ​กัน อาหาร​ทใี่​ห้​แคลอรี่​ต่ำ และ​มี​คุณค่าท​ าง​ โภชนาการ​สูง เช่น มี​ไฟเบอร์​หรือ​วิตามิน​สูง กลับ​มี​ ราคา​ค่อน​ข้าง​สูง (ผัก​บร็อค​โค​ลี​หนึ่ง​หัว​มี​ราคา​สูง​เท่า​ แฮมเบอร์เกอร์ 3 ชิ้น) ครอบครัว​ที่​มี​ฐานะ​ยากจน​จึง​ เลือก​กิน​อาหาร​ที่​มี​แคลอรี​สูง ก่อ​ให้​เกิด​ปัญหา​โรค​อ้วน​ และ​โรค​เบา​หวาน​ใน​ประชากร​ทั้ง​เด็ก​และ​ผู้ใหญ่ ที่​เป็น​ เช่นน​ เี้​พราะ​การ​ผลิตอ​ าหาร​ประเภท​แป้งแ​ ละ​น้ำตาล​ผูก​ ติด​กับ​นโยบาย​อาหาร​และ​การเกษตร​ของ​สหรัฐอเมริกา ทีส​่ นับสนุนผ​ ลิตภัณฑ์ท​ มี่ า​จาก​พชื ผ​ ล​หลักๆ คือ ข้าวโพด​ สาลี ข้าวโพด และ​ถวั่ เ​หลือง ทำให้ต​ น้ ทุนก​ าร​ผลิตอ​ าหาร​ เหล่า​นี้​มี​ราคา​ถูก​กว่าผ​ ัก​และ​ผล​ไม้ จาก​ภาพยนตร์​เรื่อง Food, Inc. ประเทศไทย​ ควร​หัน​มา​ขบคิด เช่น​การ​ผลิต​อาหาร​ทั้ง​ใน​ภาค​เกษตร​ และ​อตุ สาหกรรม​ของ​เรา​นนั้ ก​ ำลังด​ ำเนินไ​ป​ใน​ทศิ ใ​ด เรา​ มี​ความ​มั่นคง​เรื่อง​อาหาร​มาก​น้อย​เพียง​ใด แม้แต่​ใน​แง่​ ของ​ราย​บุคคล ก็ม​ ี​คำถาม​ที่​ว่า​อาหาร​ที่​คุณ​กำลังบ​ ริโภค​ อยูน​่ ม​ี้ ท​ี มี่ า​และ​ขนั้ ต​ อน​การ​ผลิตอ​ ย่างไร ทัง้ ใ​น​ดา้ น​ความ​ ปลอดภัย คุณค่า​ทาง​โภชนาการ และ​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ สิ่ง​แวดล้อม จะ​ดี​หรือ​ไม่​หาก​คน​ไทย​หัน​มา​ดูแล​ตัว​เอง​ มาก​ขึ้น และ​หา​คำ​ตอบ​ให้​กับ​คำถาม​เหล่า​นี้ 1/27/12 2:01:02 PM


สมัครสมาชิก ใบสมัครสมาชิก  สมาชิกใหม่ เริ่มฉบับที่ ......................  ต่ออายุ ฉบับที่ ........................ อัตราค่าสมาชิก  1 ปี (4 ฉบับ 200 บาท)  2 ปี (8 ฉบับ 400 บาท) สถานที่จัดส่งวารสาร ชื่อ-นามสกุล................................................................. ตำแหน่ง.................................... ฝ่าย/แผนก......................... ชื่อหน่วยงาน............................................................................... ที่อยู่............................................................................ ........................................................................................................................... รหัสไปรษณีย์...................................... โทรศัพท์.....................................ต่อ............... โทรสาร............................................ อีเมล............................................ จัดส่งใบเสร็จรับเงินที่  ที่เดียวกับที่ส่งวารสาร  ตามที่อยู่ด้านล่าง ชื่อ..................................................................................................................................................................................... ที่อยู่.................................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................... วิธีการชำระเงิน โอนเงินเข้าบัญชีธนาคาร ชื่อบัญชี สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ธนาคารกรุงไทย สาขาถนนกรุงศรีอยุธยา บัญชีออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 013-0-16014-8 และส่งใบสมัครพร้อมสำเนาหลักฐานการโอนเงินไปที่ คุณอภิชชยา บุญเจริญ ทางโทรสาร 0 2160 5438 ส่งใบสมัครมาที่ วารสาร Horizon สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ เลขที่ 319 อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 14 ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์ 0 2160 5432 โทรสาร 0 2160 5438 อีเมล horizon@sti.or.th

51 :

Horizon08.indb 51

1/27/12 2:01:03 PM


2 N Vol. o. 4

¡ÒÃÊÓÃǨà´Å¿‚

08

(Delphi Survey) ´Ã.Êتҵ ÍØ´ÁâÊÀ¡Ô¨

The 3 Futures of Thai Agriculture Vol. 2 Issue 8

เปนกระบวนการที่ถูกออกแบบมาเพื่อการศึกษาปญหาที่มีความซับซอน เปนวิธีหนึ่งในกระบวนการ มองอนาคตซึ่งพัฒนาโดย Olaf Helmer และ Norman Dalkey แหง RAND Corporation ในคริสต ทศวรรษที่ 1950 การสำรวจเดลฟเปนการสำรวจความเห็นจากผูเชี่ยวชาญในสาขาที่เกี่ยวของกับประเด็นที่ทำการศึกษา เพื่อใหไดคำตอบที่นาเชื่อถือมากที่สุด โดยใหผูเชี่ยวชาญตอบแบบสอบถามชุดเดียวกันหลายครั้ง ในการสำรวจรอบที่หนึ่ง ผูตอบแบบสอบถามจะตอบคำถามพรอมขอคิดเห็นสวนตัวเกี่ยวกับคำถาม จากนั้นจึงคำนวณหาคาควอไทล (Quartile) ของคำตอบและรวบรวมขอคิดเห็นเพิ่มเติมของผูตอบเพิ่ม ลงในชุดแบบสอบถามรอบที่สอง พรอมสงคำตอบที่ไดในรอบแรกคืนใหผูตอบ ผู  ต อบจะเปรี ย บเที ย บ คำตอบของตนกับผูเชี่ยวชาญทานอื่นและขอคิดเห็นเพิ่มเติม เพื่อตัดสินใจใหมวาจะยืนยันความคิดเดิม หรือจะเปลี่ยนใจ โดยมิตองเผชิญหนากับผูเชี่ยวชาญทานอื่น ความเห็นที่แตกตางจากความเห็นของคน สวนใหญมีความสำคัญไมยิ่งหยอนกวาความเห็นของคนสวนใหญ ผลการศึกษาหลายชิ้นระบุวาความเห็น ของสมาชิกที่ดีที่สุดของกลุมอาจไมตรงกับความเห็นของคนสวนใหญ ขอดีของการสำรวจเดลฟ ไดแก ผูตอบแบบสำรวจไมตองเปดเผยตนเอง (Anonymity) มีการปอน กลับการตอบแบบสำรวจโดยมีการควบคุม (Controlled Feedback) และสามารถตอบแบบสำรวจซ้ำได (Iteration) สวนขอจำกัด ไดแก เปนการยากที่จะกระตุนใหกลุมผูเชี่ยวชาญกระตือรือรนที่จะตอบแบบสำรวจ ไมมีปฏิสัมพันธโดยตรงระหวางกลุมผูเชี่ยวชาญ ใชเวลาและทรัพยากรตางๆ มากมาย การสำรวจเดลฟมีหลายประเภท เชน การสำรวจเพื่อศึกษาแนวโนมในอนาคต (Trend Delphi) การ สำรวจเพื่อแกปญหา (Problem Solving Delphi) การสำรวจเพื่อจัดทำนโยบาย (Policy Delphi) เปนตน ขั้นตอนในการสำรวจเดลฟประกอบดวย 1. เลือกประเด็นที่จะศึกษา 2. สรางชุดคำถามสำหรับแบบสำรวจ 3. เลือกกลุมผูเชี่ยวชาญที่จะมาตอบแบบสำรวจ 4. ใหกลุมผูเชี่ยวชาญตอบแบบสำรวจ 5. สรุปคำตอบและความเห็นจากทุกคนแลวสงผลกลับไปยังกลุมผูเชี่ยวชาญ 6. ใหผูเชี่ยวชาญไดทบทวนคำตอบของตนโดยพิจารณาคำตอบของผูเชี่ยวชาญทานอื่น 7. จัดทำสรุปจากคำตอบในรอบที่สอง 8. อาจมีการใหผูเชี่ยวชาญทำแบบสำรวจซ้ำ   Real-time Delphi Survey เปนการสำรวจเดลฟที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยใชประโยชนจากอินเทอรเน็ต เพื่อชวยใหกระบวนการมีความรวดเร็วขึ้น สามารถสงแบบสำรวจไดในวงกวาง และอำนวยความสะดวก แกผูตอบแบบสำรวจ  ·ÕèÁÒ : 1. ¾Å¾ÔºØŠʵҧ¤ ¾Ø²Ô (2552) ẺÊÓÃǨà´Å¿‚ (Delphi Surveys) ÈÙ¹¹Â ¤Ò´¡Òó à·¤â¹âÅÂÕàÍ໤ 2. Prctices: Delphi survey. FORwiki: bee a visionary. (available online at http://www.forwiki.ro/wiki/Practices:Delphi_survey)

ÃÒ¤Ò 50 ºÒ·


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.