“...เงินนี้ให้เธอน�ำไปท�ำการก่อสร้างเอง โดยไม่ต้องผ่านทางราชการ
ฉันไว้ใจเธอ...”
ค�ำแห่งชีวิตของหมอ ผู้ไม่อาจละจากเมืองน่าน
“...พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเจริญพระชนมายุมากกว่าผมถึงเจ็ดปี ท่านทรงงานมิได้หยุด พวกเรามักบ่นว่า เหนื่อย เหนื่อย พระองค์ท่านทรงงานไม่หยุดเลย แล้วพวกเราอายุน้อยกว่าท่านมาก จะบ่นเหนื่อยก็กระไร...” นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ผลงานภาพเขียน อาจารย์วินัย ปราบริปู หอศิลป์ริมน่าน จังหวัดน่าน
ค�ำน�ำในการจัดพิมพ์ครั้งที่ 2
นายแพทย์คณิต ตันติศิริวิทย์ ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลน่าน พ.ศ.2537-2551 หนังสือเล่มนีเ้ ป็นฉบับจัดพิมพ์ครัง้ ที่ 2 โดยทีฉ่ บับ แรกซึง่ เป็นฉบับปฐมฤกษ์นนั้ ไม่ได้จำ� หน่าย แต่ได้แจกจ่าย ไปหมดแล้วอย่างรวดเร็วในวันงานร�ำลึก 80 ปีของท่าน อาจารย์ผู้เป็นเจ้าของชื่อหนังสือเล่มนี้ ส�ำหรับเรื่องของ หนังสือนั้น บางท่านอาจชอบอ่านหนังสือชีวประวัติบุคคล ส�ำคัญ บางท่านอาจชอบอ่านหนังสือประเภทตื่นเต้น เร้าใจ ผจญภัย บางท่ า นอาจชอบอ่ า นหนั ง สื อ วรรณคดี ศิลปวัฒนธรรม หรือหนังสือ ธรรมะ บางท่านอาจชอบอ่านหนังสือประเภท สารคดี / บันเทิง หนังสือเล่มนี้ไม่ใช่ต�ำรา แต่เป็นต�ำนาน เป็น หนังสือชีวประวัติบุคคลที่เป็นต�ำนานของเมืองน่านและ ของกระทรวงสาธารณสุข ที่ชื่อว่า “บุญยงค์ วงศ์รกั มิตร” ท่ า นมี ชี วิ ต ที่ น ่ า สนใจ น่ า ศึ ก ษา ที่ เ ราสามารถสั ม ผั ส สามารถเรียนรู้และน�ำไปปรับใช้ได้ในชีวิตจริง ท่านเป็น คนรอบรู้ ใฝ่ศึกษา อ่านหนังสือมากไม่ว่าจะเป็นต�ำรา แพทย์หรือศาสตร์ด้านต่าง ๆ อ่านได้ไว จับใจความและ ประเด็นเก่ง ที่ส�ำคัญท่านเป็นคนมีเมตตาจิต รู้อะไรดี ๆ แล้ ว มั ก จะแบ่ ง ปั น ให้ ผู ้ อื่ น ท่ า นจึ ง เป็ น กั ล ยาณมิ ต ร
ผู้ทรงภูมิปัญญา และเป็นผู้ใหญ่ใจดีที่ให้ค�ำปรึกษากับ คนในทุก ๆ วงการ ไม่ว่าคน ๆ นั้นจะเป็นคนระดับใด โดยไม่เกี่ยงว่าเป็นเรื่องใหญ่หรือเรื่องเล็ก ขอให้เป็นเรื่อง ที่ท่านพอจะช่วยได้ ท่านก็จะให้ความช่วยเหลือโดยให้ ความเอาใจใส่เป็นอย่างดี ท่านเป็นคนทีม่ องกว้าง มองไกล ช่างคิดและคิดเป็นระบบ คิดอะไรดี ๆ ได้จะลงมือท�ำทันที เป็นผูท้ เี่ สียสละอย่างมาก โดยทุม่ เททัง้ ก�ำลังกาย ก�ำลังใจ รวมทั้งก�ำลังทรัพย์และความสุขส่วนตน แม้แต่เวลาที่ มีค่าของครอบครัว โดยมุ่งมั่นที่จะท�ำสิ่งต่าง ๆ ให้เกิด ประโยชน์ สุ ข สู ง สุ ด ให้ ชุ ม ชนสั ง คมและประเทศชาติ โดยยึดหลักปฏิบัติตามพระด�ำรัสของสมเด็จพระบรม ราชชนกและแนวพระราชด�ำริต่าง ๆ รวมทั้งหลักการ ทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งท่านมักจะ ได้ใช้อา้ งอิงในการชีแ้ นะและบรรยายในโอกาสต่าง ๆ ด้วย
ในช่วงชีวิตของการเป็นแพทย์ โดยเฉพาะเมื่อ ได้มาท�ำงานที่เมืองน่าน ทั้ง ๆ ที่เป็นเมืองที่อยู่ห่างไกล ความเจริญ ขาดทั้งเครื่องมือทางการแพทย์ที่ทันสมัย และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก แต่ด้วยฝีมือและความตั้งใจ เอาจริงเอาจัง บวกกับทีมงานที่เข้มแข็งภายใต้การน�ำ ของท่าน โรงพยาบาลน่านได้พัฒนางานบริการอย่าง ต่อเนือ่ ง จนเมือ่ ครัง้ ทีเ่ กิดสงครามการต่อสูก้ บั คอมมิวนิสต์ ที่เมืองน่าน มีผู้ได้รับบาดเจ็บจ�ำนวนมากที่ต้องได้รับ การผ่าตัด แม้งานค่อนข้างจะล้นมือ แต่ทีมงานก็ช่วยกัน อย่างแข็งขันและท�ำได้ดีปรากฏผลงานเป็นที่ยอมรับและ ชื่นชมจากทุกฝ่าย จนต่อมาได้รับพระราชกระแสรับสั่ง ชมเชยการปฏิบัติงานของโรงพยาบาลน่านจากพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรม ราชินนี าถฯ งานส�ำคัญอีกหลาย ๆ เรือ่ ง ทีป่ ระสบความส�ำเร็จ สมัยทีท่ า่ นด�ำรงต�ำแหน่งผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาล น่านนั้น ชอบมีคนพูดว่า “น่านท�ำได้สิ ก็น่านมีคนชื่อ บุญยงค์ วงศ์รกั มิตร” ส�ำหรับท่านแล้วท่านมีความเห็นว่า
การเป็ น ข้ า ราชการ จะต้ อ งด� ำ เนิ น งานตามนโยบาย ของกระทรวงฯ โดยเฉพาะนโยบายที่เป็นประโยชน์กับ ชาวบ้านแล้ว ท่านจะลงมือท�ำทันที ยกตัวอย่างกรณีของ โครงการบัตรสงเคราะห์ผู้ป่วยรายได้น้อย (บัตร สปน.) ที่เริ่มแรกนั้น สถานบริการหลาย ๆ แห่งยังไม่ทันได้ ตั้งตัวด�ำเนินการอย่างจริงจัง ท�ำให้มีชาวบ้านจ�ำนวนหนึ่ง จากจั ง หวั ด ใกล้ เ คี ย งพากั น เหมารถมาขอรั บ บริ ก ารที่ โรงพยาบาลน่าน อีกกรณีหนึ่งคือโครงการบัตรสุขภาพ 300 บาท ต่อครอบครัว สมัยที่ท่านอาจารย์หมออมร นนทสุต เป็น ปลัดกระทรวง ฯ เมื่อปี 2526 และต่อมาได้ปรับไปเป็น 500 บาท น่านก็ท�ำได้อย่างเป็นกอบเป็นก�ำและต่อเนื่อง โดยชาวบ้านจ�ำนวนมากเข้าร่วมโครงการโดยพร้อมใจกัน คืนบัตร สปน. ทั้งที่บางจังหวัดด�ำเนินการได้น้อยมาก จนเมือ่ เกิดโครงการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ชาวบ้าน ที่น่านจ�ำนวนไม่น้อย (ทั้ง ๆ ที่จังหวัดน่านเป็นจังหวัดที่ จัดอยู่ในกลุ่มที่มีรายได้ต่อหัวประชากรค่อนข้างตํ่า) นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ยังมีความต้องการให้คงบัตรสุขภาพเดิม ซึง่ เขาพอจะจ่าย ได้โดยจ่ายเพียงปีละครั้ง ไม่อยากเสียค่าบริการ 30 บาท เป็นครั้ง ๆ (บัตรสุขภาพเดิมนี้ เป็นการประกันสุขภาพหมู่ ของชุมชน ไม่ใช่การประกันเป็นรายบุคคล) เงินทีเ่ ก็บมาได้ มีการแบ่งสันปันส่วนให้สถานบริการในเครือข่ายและยังมี ส่วนหนึ่งที่กลับคืนให้ชาวบ้านเอง เพื่อเป็นกองทุนพัฒนา ของชุมชนเองด้วย ในความเป็นจริงวิธีการเช่นนี้น่าจะเป็นลักษณะ ของ co-payment ที่ชาวบ้านทั่วไปจะพอยอมรับได้และ การใช้บริการทางการแพทย์ น่าจะมีประสิทธิภาพดีกว่า ที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ในขณะเดียวกันกระทรวง ฯ เองก็ จะมีเอกภาพในการบริหารงาน ไม่เหมือนกับในปัจจุบัน ที่มีการบริหารอย่างแยกส่วนโดยนโยบายกับเม็ดเงินไป คนละทางกัน ท่านอาจารย์หมอเคยบอกให้ฟงั บ่อยครัง้ ว่า นโยบายที่ ผู ้ บ ริ ห ารตั้ ง ใจจะท� ำ จริ ง จั ง นั้ น จะต้ อ งให้ งบประมาณสนับสนุนด้วยเสมอ มิเช่นนั้นจะเป็นเพียง ความฝันมากว่า ท่านเป็นคนที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล มองอย่าง เป็นระบบ ไม่แยกส่วน เรือ่ งของสุขภาพนัน้ ’สร้างกับซ่อม’ ต้องไปด้วยกัน งานสาธารณสุขและงานการแพทย์ ต้ อ งไปด้ ว ยกั น ท่ า นจะให้ ค วามร่ ว มมื อ เป็ น อย่ า งดี กั บ ส� ำ นั ก งานสาธารณสุ ข เสมอ ท่ า นมี ค วามพอใจที่ ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่านอยู่ร่วมในพื้นที่เดียวกัน กับโรงพยาบาลน่าน ซึ่งไม่ค่อยจะได้เห็นในที่อื่น ๆ ท�ำให้ ได้ประสานงานกันอย่างใกล้ชิด ขณะเดียวกันท่านก็มอง โรงพยาบาลชุมชนว่าเป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายสถาน บริ ก ารทางการแพทย์ เ ดี ย วกั น เป็ น พี่ เ ห็ น น้ อ งกั น ร่วมทุกข์ร่วมสุขด้วยกัน ท่านจึงให้การสนับสนุนในทุก ๆ ด้านอย่างเต็มที่
ผ่านมาหลายปี กระทรวงฯ ได้มีนโยบายที่จะ พัฒนาระบบบริหารเพื่อการบริการสาธารณสุขในส่วน ภูมิภาค (พบส.) ในสมัยท่านปลัดกระทรวงฯ นายแพทย์ อุทัย สุดสุข เมื่อท่านปลัดฯ ได้มีโอกาสตรวจเยี่ยมที่ เมืองน่าน ได้มาเห็นระบบพี่ช่วยน้องของน่านที่ท่าน อาจารย์หมอท�ำมานานแล้ว ท่านได้กล่าวยกย่องชมเชย ว่าที่เมืองน่านท�ำอยู่นั้นเป็นต้นแบบของงานพบส.ได้เลย ลักษณะการท�ำงานที่ดีต่าง ๆ นี้เป็นที่ประทับใจ อย่ า งมากของแพทย์ ที่ ไ ด้ ร ่ ว มท� ำ งานด้ ว ย ท� ำ ให้ โรงพยาบาลน่านเป็นทีห่ มายตาของแพทย์ใช้ทนุ รุน่ ต่าง ๆ โดยเฉพาะผู้ที่ตั้งใจจะออกไปท�ำงานรับใช้คนชนบททีอ่ ยู่ ห่างไกล ทัง้ ทีร่ แู้ ล้วว่าทีน่ า่ นต้องท�ำงานหนัก แต่ทกุ คนมักจะ ไม่ผดิ หวังกับประสบการณ์ทดี่ ี ๆ ทัง้ ในด้านการเป็นแพทย์ และการด�ำเนินชีวิต ดังจะปรากฏในบทความต่าง ๆ ของ ศิษย์เก่าทั้งหลาย ส�ำหรับวิชาชีพต่าง ๆ ที่ได้ร่วมงานกับ
ท่านโดยเฉพาะสายงานพยาบาลจะได้รับการสอน การ ชี้แนะที่ยังคงทันสมัยและประทับใจไม่รู้ลืม ซึ่งเป็นที่มา ของชือ่ หนังสือเล่มนีท้ วี่ า่ “สอนให้จำ� ท�ำให้ดู อยูใ่ ห้เห็น” เรื่องราวต่าง ๆ นี้เป็นเพียงตัวอย่างความส�ำเร็จ บางประการที่หลาย ๆ แห่งบอกว่าท�ำได้ยาก ซึ่งตลอด ชีวิตรับราชการของท่านอาจารย์หมอยังมีเรื่องราวดี ๆ อีกมากมายที่ไม่อาจบันทึกได้หมด แต่ก็พอจะมีแทรกอยู่ ในเรือ่ งเล่าต่าง ๆ ในหนังสือเล่มนี้ และน่าจะมีตอ่ …………. เมื่อครั้งที่ท่านอายุครบ 60 ปี คุณหมอศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์ อดีตรองปลัดกระทรวง ฯ (ปัจจุบัน เป็ น ประธานบอร์ ด พรพ.) ได้ เ ป็ น หั ว เรื อ ใหญ่ ในการจัดท�ำหนังสือเพือ่ เป็นเกียรติแก่ทา่ น โดยใช้ชอื่ ว่า “สานความหวัง...สู่ความเป็นเลิศของโรงพยาบาลรัฐ” ซึ่ ง จั ด ท� ำ ขึ้ น ในนามของชมรมโรงพยาบาลศู น ย์ /
โรงพยาบาลทั่ ว ไป เป็ น หนั ง สื อ ที่ มี คุ ณ ค่ า อย่ า งยิ่ ง ต่อการพัฒนาการบริหารการบริการด้านการแพทย์และ สาธารณสุข โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนภูมิภาค โดยมี บทความต่าง ๆ ที่เป็นการรวบรวม ทัศนะและแนวคิดหลากหลายจากผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุขในยุคนั้น รวมทั้งบทความ และข้อคิดเห็นที่ท่านอาจารย์หมอได้แสดงไว้ในโอกาส ต่าง ๆ โดยมีบทสัมภาษณ์ชีวประวัติส่วนตัวของท่านที่จะ คล้ายกันกับทีป่ รากฏในหนังสือนี้ แต่เป็นคนละ version กัน
ในวันนีท้ ที่ า่ นอายุครบ 80 ปี ทางกองบรรณาธิการ ได้ เ ล็ ง เห็ น ว่ า ตลอด 20 ปี ห ลั ง ลาออกจากราชการ เมื่ อ อายุ ค รบ 60 ปี นั้ น ท่ า นยั ง คงแวะเวี ย นไปที่ โ รง พยาบาลแทบจะทุกวัน ในด้านหนึง่ ท่านได้แวะเยีย่ มพีส่ าว (ท่ า นอาจารย์ บุ ญ จั น ทร์ วงศ์ รั ก มิ ต ร อดี ต อธิ ก าร สถาบันราชภัฎเชียงใหม่ ที่เป็นทั้งพี่และเปรียบเสมือน แม่คนที่สอง ที่เป็นผู้สนับสนุนและผู้ชี้ทางการด�ำเนิน ชีวิต โดยที่คุณแม่ท่านได้เสียชีวิตไปตั้งแต่ท่านยังอายุ ยั ง น้ อ ย) อี ก ด้ า นหนึ่ ง นั้ น ท่ า นจะอยู ่ เ ป็ น ที่ ป รึ ก ษา ส� ำ คั ญ ทั้ ง งานบริ ห ารและงานด้ า นการแพทย์ ใ ห้ กั บ ผู้อ�ำนวยการทุกคนที่ตามหลังท่านมา รวมทั้งบรรดา แพทย์พยาบาลและเจ้าหน้าที่ต่าง ๆ ยามใดที่มีเหตุการณ์ ร้ายแรงไม่ว่าจะเป็นเวลาใด อย่างกรณีมีอุบัติเหตุหมู่ หลาย ๆ ครัง้ ทีเ่ กิดขึน้ นอกเวลาราชการ กรณีนาํ้ ท่วมใหญ่ เมืองน่านที่โรงพยาบาลน่านก็ถูกนํ้าท่วมด้วย หรือแม้แต่ กรณีของวิกฤตโรคโบทูลสิ ซึม่ ระบาดจากพิษหน่อไม้ปบ๊ี ที่มีผู้ป่วยจ�ำนวนมากและรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ โลก ท่านก็ได้มาให้ความช่วยเหลือและให้ค�ำปรึกษา อย่างเต็มที่จนพ้นเหตุการณ์วิกฤตนั้น ๆ ไปได้ด้วยดี ทีส่ ำ� คัญท่านได้เป็นหัวเรือใหญ่ในการก่อก�ำเนิดการท�ำงาน ภาคประชาคมที่ดึงเอาทุกภาคส่วนของสังคมมาท�ำงาน ร่วมกัน เพื่อให้สังคมน่านช่วยกันอนุรักษ์สิ่งที่ดีงามเอาไว้ พร้อม ๆ กับการพัฒนาไปในทิศทางทีค่ ำ� นึงถึงภาพรวมทัง้ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ที่ยั่งยืนและสามารถ ยืนอยู่ได้ด้วยล�ำแข้งของตนเอง นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
จึงไม่น่าแปลกใจที่ในปี 2556 นี้ที่ทางกระทรวง สาธารณสุ ข มี ก ารพิ จ ารณารางวั ล มู ล นิ ธิ ก รมพระยา ชัยนาทนเรนทร ฯ เป็นครั้งแรก ได้ประกาศให้ท่านเป็น ผู้ได้รับรางวัลสาขาผู้น�ำชุมชน ในช่วงเวลาไล่เลี่ยกันนั้น ทางมหาวิทยาลัยรังสิต ก็ได้ประกาศให้ท่านเป็นผู้ได้รับ ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาผู้น�ำ ทางสังคม ธุรกิจและการเมือง เป็นการยืนยันความเป็น ปราชญ์ ความรอบรู้ และความดีงามที่ท่านได้มอบให้กับ สังคม ในหนั ง สื อ เล่ ม นี้ จึ ง ได้ ร วบรวมบทความจาก คนนอกวงการแพทย์ มีทงั้ เรือ่ งราวทีม่ าทีไ่ ปของประชาคม น่าน จนเกิดเป็นวิสัยทัศน์ร่วมของคนน่านที่ต้องการให้ เมืองน่านพัฒนาไปในทิศทางที่ดีงามและยั่งยืน เรื่อง ของการก่ อ เกิ ด สถาบั น การศึ ก ษาในระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ที่ถึงแม้จะยังไปไม่ถึงมหาวิทยาลัยน่าน แต่ก็มีทั้งสถาบัน เทคโนโลยีขั้นสูงของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มจร. และ วิทยาลัยชุมชนน่าน นอกจากนี้ยังมีเรื่องเมืองเก่าน่านที่มี ชีวิตที่ได้รับการพัฒนาต่อยอดโดย อพท.(องค์การบริหาร เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวพื้นที่พิเศษอย่างยั่งยืน) และ เรื่องโครงการปิดทองหลังพระสืบสานแนวพระราชด�ำริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่เป็นความหวังที่เป็น จริงได้มากในการพัฒนาชาวบ้านให้อยูร่ อด มีคณ ุ ภาพชีวติ ที่ดีร่วมกับการอนุรักษ์แหล่งนํ้า ป่าไม้ และสิ่งแวดล้อม เมืองน่านให้สมบูรณ์และยั่งยืน
ซึง่ หลากหลายเรือ่ งราวเหล่านี้ (และยังมีเรือ่ งอืน่ ๆ อีกไม่น้อย) ที่คงส�ำเร็จได้ยากถ้าไม่มีตัวท่านเป็นตัวจักร ส�ำคัญที่คอยช่วยประสานงานหลาย ๆ เรื่องราวเหล่านี้ คล้ายจะไม่ได้เกี่ยวข้องกับการแพทย์การสาธารณสุข โดยตรง แต่แท้ทจี่ ริงแล้ว ทุกเรือ่ งราวหนีไม่พน้ ทีจ่ ะลงเอย ที่สุขภาพ ซึ่งจะดีได้องค์ประกอบของชีวิตทุกคนในด้าน ต่าง ๆ ต้องดีด้วย ที่ปรากฏในหนังสือนั้นก็เป็นเพียงบาง ส่วนของงานสังคมต่าง ๆ ในวัยเกษียณอายุราชการทีท่ า่ น ได้มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างมาก เอกสารที่เกี่ยวข้องนั้นท่าน ก็สนใจอ่านละเอียดยิ่งกว่าผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง ด้วยซํ้า ท่านยังคง “สอนให้จ�ำ ท�ำให้ดู อยู่ให้เห็น” แม้ ในวัย 80 ปี ท่านก็ยังคงปฏิบัติเสมอต้นเสมอไป โดยไม่ได้ เจาะจงเพียงวงการแพทย์การสาธารณสุข แต่ได้ขยายไป ถึงสังคมในวงกว้างด้วย ที่ส�ำคัญอาจารย์หมอท่านอยากน�ำเอาพระด�ำริ ของสมเด็จพระบรมราชชนกที่ว่า “TRUE SUCCESS IS NOT IN THE LEARNING. BUT IN ITS APPLICATION TO THE BENEFIT OF MANKIND.” จึ ง ไม่ น ่ า แปลกใจที่ ใ นการพิ จ ารณารางวั ล ชัยนาทนเรนทรให้กบั นักการสาธารณสุขดีเด่นเป็นครัง้ แรก ของกระทรวงสาธารณสุข ในปี 2556 นี้ คณะกรรมการ ได้ตัดสินให้ท่านเป็นผู้ได้รับสาขาผู้น�ำชุมชน และขณะ เดียวกันทางสภามหาวิทยาลัยรังสิต ก็ได้พิจารณามอบ ปริ ญ ญาศิ ล ปศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ สาขา ผู้น�ำทางสังคม ธุรกิจและการเมืองให้ท่านด้วย นับเป็น เกียรติประวัติที่มีบุคคลน้อยนักที่จะได้เหมือนเช่นท่านนี้
และประจวบเหมาะกับทีพ่ วกเราร่วมกันจัดงานร�ำลึกอายุ 80 ปีให้ท่าน ลองพิจารณากันว่า บุคคลคนหนึง่ ขณะทีป่ ฏิบตั ิ งานในฐานะแพทย์ ได้มีพระมหากรุณาธิคุณ มีพระราช กระแสรั บ สั่ ง ชมเชยการปฏิ บั ติ ง าน ได้ รั บ รางวั ล ต่ า ง ๆ อีกมากมาย ได้รับเลือกเป็นตัวแทนจากเพื่อนร่วม วิชาชีพแพทย์ให้เป็นสมาชิกวุฒิสภา และได้รับปริญญา แพทยศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ.2537 เมื่อออกจากราชการแล้ว ยังได้ทำ� งานเพือ่ สังคมอย่างต่อเนือ่ งจนได้รบั ปริญญาดุษฎี บัณฑิตกิตติมศักดิ์อีกสองครั้ง จากอีกสองมหาวิทยาลัย ได้แก่ ปริญญาพัฒนาชุมชนดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิ ท ยาลัย ธรรมศาสตร์ ปี พ.ศ.2547 และ ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาผู้น�ำ ทางสังคม ธุรกิจและการเมือง จากมหาวิทยาลัยรังสิต ปี พ.ศ.2557 โดยที่ครั้งหลังสุดนี้ได้รับเมื่ออายุ 80 ปี แล้วยังไม่แน่ว่าจะได้อะไรตามมาอีก หนังสือที่บันทึก เรือ่ งราวต่าง ๆ เกีย่ วกับชีวติ ของท่านนี้ จึงทรงคุณค่าให้กบั ทุก ๆ คนในสังคม ในตอนท้ายเล่มก็ยงั มีเรือ่ งราวดี ๆ จาก ผู้ที่อยู่เบื้องหลังที่อ่านสนุกและน่าประทับใจ ด้วยความตัง้ ใจของทีมงานทีจ่ ะให้หนังสือเสร็จทัน งานร�ำลึก 80 ปีของท่านอาจารย์หมอที่ใช้ช่ืองานชื่อ เดียวกันกับหนังสือเล่มนี้ ท�ำให้มีเวลาที่จะท�ำหนังสือนี้ ค่อนข้างน้อยมาก แต่ด้วยความที่ทุกท่านที่ได้ติดต่อ ประสานงานขอบทความนั้น เหมือนกับมีความในใจที่ อยากแบ่งปันให้คนอื่นรับรู้อยู่แล้ว จึงตอบรับและส่งงาน
กลับมาให้ทางทีมบรรณาธิการได้อย่างรวดเร็ว ท�ำให้คลอด Version แรกจ�ำนวน 500 เล่ม ที่ได้จ่ายแจกไปแล้วให้กับ ผูท้ ร่ี ว่ มงานร�ำลึกเมือ่ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2556 ทีผ่ า่ นมา แม้จะมีบางส่วนที่ยังไม่สมบูรณ์ อย่างเช่น เรื่องราวของ ชมรมโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป ทางทีมงาน ก็ได้รวบรวมและปรับปรุงเป็น Version 2 อย่างที่ท่าน ได้เห็นอยู่นี้ ต้องขอขอบคุณทุก ๆ ท่านที่ได้มีส่วนร่วมในการ ท�ำให้หนังสือนี้ส�ำเร็จลงได้ด้วยดี โดยเฉพาะทางชมรม โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ที่ให้การสนับสนุน ตั้งแต่หนังสือ ”สานความหวัง” เมื่อ 20 ปีก่อนหน้า จนมาถึงหนังสือ “สอนให้จ�ำ ท�ำให้ดู อยู่ให้เห็น...80 ปี นายแพทย์บญ ุ ยงค์ วงศ์รกั มิตร” ก้าวต่อไปทีเ่ ข้าสูย่ คุ ของ Digital ทางทีมงานจะท�ำ Version ทีไ่ ม่มจี ดุ สิน้ สุด จะได้ให้ โอกาสทุกท่านได้สง่ ข้อความ บทความ เพิม่ เติมในลักษณะ ของ Digital จะเป็น Website หรือ Facebook จะได้ แจ้งให้กลั ยาณมิตรทัง้ หลายได้ทราบและมีสว่ นร่วมต่อไป.
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
สารบัญ
หน้า Hippocratic Oath 1 สัตบุรุษ 2 เย็นศิระ เพราะพระบริบาล 4 ประวัติส่วนตัว ครอบครัว โดยย่อ 16 ครองตน ครองคน ครองงาน 17 ข้าราชการของแผ่นดิน ชีวิตของคนท�ำงาน...ที่ไม่มีวันเกษียณ 30 หมอใหญ่ในความทรงจ�ำของข้าพเจ้า : พระครูพิทักษ์นันทคุณ 60 รัก นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร : นายสุวัฒน์ โชคสุวัฒนสกุล 62 ด้วยความเคารพ และระลึกในพระคุณ : นายสมศักดิ์ สุวรรณสุจริต 63 หมอบุญยงค์ที่ผมรู้จัก : นพ.พันธุ์พิษณุ์ สาครพันธ์ 65 ร่มโพธิ์ร่มไทรของพวกเรา : นพ.เทียม อังสาชน 68 พัฒนาคน พัฒนางาน แบบอย่างของพี่บุญยงค์ : นพ.ดาวฤกษ์ สินธุวณิชย์ 72 คือพ่อ คือครู คือพี่ : นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล 80 พี่ยงค์ : ศ.คลินิก พญ.วินัดดา ปิยะศิลป์ 83 หนึ่งปีที่เปลี่ยนชีวิต : พญ.นิภาวรรณ งามปิยะสกุล (โกศัลวัฒน์) 85 ปลุก“ความเป็นหมอบุญยงค์”ในตัวเรา : นพ.ชาตรี เจริญศิริ 88 บันทึกความทรงจ�ำ..แด่อาจารย์บุญยงศ์ และอาจารย์ทุกท่านที่โรงเรียนแพทย์น่าน..2529 รองศาสตราจารย์นายแพทย์อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ 91 อาจารย์บุญยงค์ที่ผมรู้จัก : นพ.พิษณุ ขันติพงษ์ 94 อาจารย์ผู้เป็นพ่อพระของคนเมืองน่าน : พิกุล เฮงสนั่นกูล 104 ชมรมโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไปและมูลนิธินายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร 110 บ้านสวน ณ ที่แห่งนี้ รักและเข้าใจ จุดเริ่มต้นแห่งรัก : อ.พญ.พนิดา วงศ์รักมิตร 120 พ่อของผม : บุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร (สิงห์) 130 งานมุทิตาจิต ในวาระครบรอบ อายุ ๘๐ ปี 139 “สทร.” : ถอดความโดย นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล 144 “ ปิดทองหลังพระ ” 148 จากวันนี้...ถึงวันวาน สารจาก “คนกันเอง” 149 พลังแห่งศรัทธา : นพ.อุทัย สุภาพ 150 อาจารย์หมอบุญยงค์ เป็นมากกว่าผู้บังคับบัญชา : เภสัชกรนิคม ดีพอ 154 ท่านอาจารย์บุญยงค์ที่...ผมรัก ผมเคารพ และ ผมนับถือ : สุรพงษ์ ประคัลภากร 157 ไม่อาจจะลืมบุญคุณ : ไพบูลย์ ทนันไชย 159 เสาเอกแห่งการเป็นแพทย์ : ผศ.พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์ 161 “ ศิษย์น่าน ” : พญ.สิริยาภรณ์ เลาหคุณากร 163 รางวัล “ชัยนาทนเรนทร” 164 ปริญญาศิลปศาสตรดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาผู้น�ำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง 166 ค�ำจารึก อาจารย์บุญจันทร์ วงศ์รักมิตร 167 แก้ไขและเพิ่มเติมท้ายเล่ม 168 บทส่งท้ายบรรณาธิการ 171 กองบรรณาธิการ 172
Hippocratic Oath
I will apply dietetic measures for the benefit of the sick according to my ability and judgment; I will keep them from harm and injustice. I will neither give a deadly drug to anybody if asked for it, nor will I make a suggestion to this effect. Similarly I will not give to a woman an abortive remedy. In purity and holiness I will guard my life and my art. I will not use the knife, not even on sufferers from stone, but will withdraw in favor of such men as are engaged in this work. Whatever houses I may visit, I will come for the benefit of the sick, remaining free of all intentional injustice, of all mischief and in particular of sexual relations with both female and male persons, be they free or slaves. What I may see or hear in the course of the treatment or even outside of the treatment in regard to the life of men, which on no account one must spread abroad, I will keep to myself holding such things shameful to be spoken about. If I fulfill this path and do not violate it, may it be granted to me to enjoy life and art, being honored with fame among all men for all time to come; if I transgress it and swear falsely, may the opposite of all this be my lot.
เต็มความรู้ เต็มความสามารถ และเต็มไปด้วยความหวังดี -1-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
สัตบุรุษ กลิ่นบุปผาถึงหอมนวลสักเพียงไหน กลิ่นก็ไม่หอมหวนทวนลมได้ กลิ่น “สัตบุรุษ”หอมฟุ้งจรุงไกล ทวนลมได้ขจายกลิ่นทั่วถิ่นแคว้น อาจารย์ท่านนั้นคือ “สัตบุรุษ” พิเศษสุดเลิศล�้ำค่าน่าหวงแหน พระคุณท่านท่วมท้นล้นน่านแดน ทุกเขตแคว้นการแพทย์ไทยได้ชื่นบาน คติท่าน “ท�ำหน้าที่ให้ดีที่สุด” การแพทย์รุดก้าวไกลในทุกสถาน ท่านเป็นยอด “กัลยาณมิตร” ติดดวงมาลย์ ท่านสืบสานพระด�ำรัสพระราชบิดา โรงพยาบาลน่านเป็นต้นแบบงานส่งต่อ ท่านดุจพ่อแพทย์พยาบาลด้านรักษา งานบริหารเลิศล�้ำท่านน�ำพา ท่านรักษาช่วยชาวน่านสราญใจ แม้นเกษียณท่านยังห่วงคนเมืองน่าน ท่านช่วยสานงานประชาคมรื่นรมย์ใส งานอสม.ผู้สูงอายุลุล่วงไกล แหล่งโบราณได้อยู่คู่บ้านน่านเปรมปรีดิ์ พระคุณท่านมีมากมายเกินไขขาน ล้นดวงมาลย์ล�้ำค่าสง่าศรี ดุจประทีปส่องสว่างกลางฤดี เทิดคุณนี้เหนือเกล้าชาวประชา ขออ�ำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทุกแห่งหน โปรดช่วยดลบันดาลท่านหรรษา สุขภาพกายและใจไร้โรคา เป็นร่มฟ้าของชาวน่านนานนิรันดร์. ปริญญา แสงรัตนา ร้อยกรอง
-2-
“เย็นเพราะพระบริ ศิระ บาล”
-4-
โรงพยาบาลน่านได้เปิดบริการทางการแพทย์ เมื่อวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๙๙ และท�ำพิธีเปิด โรงพยาบาลอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๐๑ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมากว่า ๕๖ ปี คณะแพทย์และเจ้าหน้าทีโ่ รงพยาบาลน่าน ได้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จพระราชด�ำเนินโรงพยาบาลน่านหลายครั้ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจ้าฯ บรมราชินนี าถ เสด็จพระราชด�ำเนินโรงพยาบาลน่าน ครั้งแรกในวันที่ ๒๓ มีนาคม พ.ศ.๒๕๑๑ และอีกปีละครั้งใน ๒ ปีต่อมา คือในวันที่ ๑๐ มีนาคม พ.ศ.๒๕๑๒ และ วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๑๓ ตามล�ำดับ
สมเด็จพระพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จพระราชด�ำเนิน มาทรงเปิดอาคารผู้ป่วยใน “ตึก ๔๐ ปี” ในวัน ครบรอบเปิดท�ำการโรงพยาบาลน่าน ปีที่ ๔๒ วันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๔๑
-5-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชด�ำเนินโรงพยาบาลน่าน ๔ ครั้ง ครั้งที่ ๑ เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเปิดศูนย์การเรียนรู้ โรงพยาบาลน่าน เมื่อ วันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๘ ครั้งที่ ๒ เสด็จเยี่ยมชมกิจการโรงพยาบาลน่าน เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๔ ครั้งที่ ๓ เสด็จพระราชด�ำเนินพร้อมด้วยพระสหาย คณะกรรมการมูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล วันที่ ๒๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๕ ครั้งที่ ๔ เสด็จพระราชด�ำเนินเพื่อทรงเปิดอาคาร “สิริเวชรักษ์” อันเป็นนามซึ่งพระองค์พระราชทานนาม ในวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๖
ครั้งที่ ๑ เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเปิดศูนย์การเรียนรู้ โรงพยาบาลน่าน วันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๘
ครั้งที่ ๒ เสด็จเยี่ยมชมกิจการโรงพยาบาลน่าน วันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๔
ครั้งที่ ๓ เสด็จพระราชด�ำเนินพร้อมด้วยพระสหาย คณะกรรมการ มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล วันที่ ๒๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๕
ครั้งที่ ๔ เสด็จพระราชด�ำเนินเพื่อทรงเปิดอาคาร “สิริเวชรักษ์” วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๖
-6-
“
งานที่ดี ทีมที่ดีนั้น แต่ละสถาบัน สามารถผลิต บุคลากรที่ดีได้ ทัดเทียมกัน
”
ในความทรงจ�ำของ นพ.บุญยงค์ วงศ์รักมิตร อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลน่าน ได้ เ ล่ า ให้ ฟ ั ง ว่ า ในครั้ ง ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชด�ำเนินโรงพยาบาลน่านครั้งแรก ในวันที่ ๒๓ มีนาคม พ.ศ.๒๕๑๑ นั้น ล้นเกล้าฯ ทั้งสองพระองค์ได้เสด็จมาถึงโรงพยาบาลน่าน และเสด็จ พระราชด�ำเนินขึน้ บนตึกผูป้ ว่ ยนอก ครัน้ เมือ่ เสด็จขึน้ บนตึก ในการนีส้ มเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงรับสั่งถาม นพ.บุญยงค์ ถึงสถาบันที่แพทย์ทั้ง ๕ คน ว่าจบ การศึกษาจากที่ใดมาบ้าง นพ.บุญยงค์กราบบังคมทูลว่า แพทย์ที่อยู่ด้วยกันนั้น จบมา จากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ๒ คน จบมาจากคณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์ ๒ คน และ จบมาจากคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ๑ คน สมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ จึงทรงหันไปตรัสกับในหลวงว่า “เห็นไหมไม่ได้ขึ้น กับโรงเรียน” ท่านทรงให้ความเห็นว่า “งานทีด่ ี ทีมทีด่ นี นั้ แต่ละสถาบันสามารถผลิต บุคลากรที่ดีได้ทัดเทียมกัน”
เมื่อเจ้าหน้าที่ส�ำนักพระราชวัง ได้น�ำสิ่งของพระราชทานซึ่งประกอบด้วยอุปกรณ์ทางการแพทย์และครุภัณฑ์ ส�ำนักงาน ซึง่ เป็นไปตามทีท่ างโรงพยาบาลน่านได้กราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานไป เมือ่ เสด็จมาถึงตรงบริเวณ โต๊ะที่วางอุปกรณ์ทางการแพทย์และครุภัณฑ์ส�ำนักงานทั้งหมด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชทานกล่อง ที่ห่อด้วยกระดาษ แก่ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลน่าน แล้วทรงรับสั่งว่า
“เงิน 240,000 บาทที่หมอขอไปนั้น ฉันเอามาให้แล้ว” และรับสั่งต่อไปว่า
“เงินนี้ให้เธอน�ำไปท�ำการก่อสร้างเอง โดยไม่ต้องผ่านทางราชการ ฉันไว้ใจเธอ” และรับสั่งประโยคสุดท้ายว่า
“สร้างเสร็จ ขอให้บอกไป ฉันจะมาเปิด”
-7-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
จากนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชทานอุปกรณ์ทางการแพทย์และครุภัณฑ์ส�ำนักงาน ที่วาง บนโต๊ะแก่โรงพยาบาลน่าน และเสด็จพระราชด�ำเนินเพื่อทรงเยี่ยมผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บจากกระสุนปืนและกับระเบิด จากการปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ จ�ำนวน ๒๕ รายที่ตึกชยานันท์ ล้นเกล้าฯ ทั้ง ๒ พระองค์ ทรงมีพระราช ปฏิสนั ถารอย่างใกล้ชดิ โดยทรงซักถามรายละเอียดการบาดเจ็บด้วยความสนพระทัยเป็นอย่างยิง่ พร้อมกับพระราชทาน ถุงของขวัญให้แก่ผู้บาดเจ็บทุกราย โดยใช้เวลาในการเสด็จทรงเยี่ยมผู้ป่วยครั้งนี้ราวหนึ่งชั่วโมงครึ่ง
ก่อนเสด็จพระราชด�ำเนินกลับ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชเสาวนีย์รับสั่งให้ ข้าราชการและเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลน่านร่วมฉายพระรูปด้วย เชื่อว่าเป็นภาพถ่ายภาพแรกของประเทศไทย ที่ทั้งสองพระองค์ ทรงฉายพระบรมฉายาลักษณ์ร่วมกับคณะข้าราชการและเจ้าหน้าที่ ซึ่งยังความปลาบปลื้มปิติ แก่เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลน่าน อย่างหาที่สุดมิได้
-8-
ในการเสด็จพระราชด�ำเนินโรงพยาบาลน่านในครัง้ แรก นัน้ เนือ่ งจากก่อนหน้านี้ สมุหราชองครักษ์ พลเรือเอกหม่อมเจ้า กาฬวรรณดิศ ดิสกุล ทรงให้นายทหารราชองครักษ์ พันตรี ปัญญา สิงหศักดา น�ำหนังสือราชการแจ้งว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู ่ หั ว ทรงพอพระราชหฤทั ย ต่ อ การปฏิ บั ติ ร าชการของ คณะแพทย์และเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลน่าน ในการดูแลรักษา ทหาร ต�ำรวจ อาสาสมัครและประชาชน ที่ได้รับบาดเจ็บจาก เหตุการณ์ไม่สงบ ในการปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ และถามถึ ง ความต้ อ งการด้ า นอุ ป กรณ์ ก ารแพทย์ ข อง โรงพยาบาลน่าน ทั้งนี้เข้าใจเองว่าในครั้งที่ล้นเกล้าฯ ทั้งสองพระองค์ เสด็จกองทัพภาคที่ 3 ส่วนหน้า อ.เชียงกลาง จ.น่าน ขณะที่เริ่ม เสวยพระกระยาหารกลางวัน ทรงได้รับการถวายบังคมทูลจาก นายทหาร (พันโทส�ำเภา มัณฑจิตร) ว่ามีทหารได้รับบาดเจ็บ จากการโจมตีของผู้ก่อการร้ายในพื้นที่ อ.ทุ่งช้าง ล้นเกล้าฯ ทั้งสองพระองค์จึงเสด็จขึ้นเฮลิคอปเตอร์ พร้อมเฮลิคอปเตอร์ ติดตามรวม ๑๑ เครื่อง เพื่อไปช่วยเหลือแต่ไม่สามารถลงไป ช่วยเหลือได้ จึงโปรดเกล้าฯ ให้เฮลิคอปเตอร์ ๑ ล�ำ ซึ่งมีเครื่อง เวชภัณฑ์และมีนายทหารยศพันตรีเป็นเภสัชกรเป็นผูค้ วบคุม ซึง่ สามารถลงไปให้ความช่วยเหลือ ด้วยการน�ำของ ร้อยตรีมาโนช ศรีสบุ ตั ิ เป็นผูน้ ำ� พาตัวทหารผูบ้ าดเจ็บคือ พลทหารบิน การินตา ที่ ไ ด้ รั บ บาดเจ็ บ สาหั ส ถู ก ยิ ง เข้ า ช่ อ งท้ อ งใกล้ ข าหนี บ ซ้ า ย น�ำมาส่งที่โรงพยาบาลน่านและได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด จนปลอดภัยและน�ำส่งต่อโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ต่อมาภายหลังกระทรวงกลาโหมได้ส่งหนังสือแสดง ความชื่ น ชม ยกย่ อ งผลการท� ำ งานของโรงพยาบาลน่ า น แก่กระทรวงสาธารณสุข จนเป็นที่มาของการได้รับพิจารณา ความดีความชอบเลื่อนขั้นเงินเดือนกรณีพิเศษของเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลน่านทั้งหมด ๔๒ คน ในปีต่อมา
“
ตามที่ ท างกรมการแพทย์ ให้เสนอชือ่ เจ้าหน้าทีข่ องโรงพยาบาล ที่ ส มควรได้ รั บ พิ จ ารณาความดี ความชอบ เจ้าหน้าที่ทุกคนท�ำงาน หนักเสียสละ เหมาะสม สมควร ได้รับการพิจารณา
”
-9-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ คณะแพทย์ แ ละเจ้ า หน้ า ที่ โรงพยาบาลน่าน ได้มีโอกาสชื่นชมพระบารมีปกเกล้าของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถอีกครัง้ เมือ่ เสด็จพระราชด�ำเนินจังหวัดน่าน ในวันที่ ๑๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ ล้นเกล้าฯ ทั้งสองพระองค์ เสด็จโรงพยาบาลน่านเพื่อทรงเปิดอาคารพระราชทาน โดย ได้ทรงเจิม ทรงพระสุหร่าย แผ่นป้ายตึก “ตึกพิทักษ์ไทย” (นามพระราชทาน) เป็นตึกทีท่ รงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง ขึน้ โดยเงินพระราชทาน เมือ่ ทรงเสด็จพระราชด�ำเนินครัง้ แรก จากนั้นเสด็จพระราชด�ำเนินเพื่อทรงเยี่ยมและพระราชทาน ถุงของขวัญแก่ผู้ป่วยในอาคารตึกพิทักษ์ไทย
ต่อจากนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงลงพระปรมาภิไธยและพระนามาภิไธยในสมุดที่เตรียมถวายไว้ และทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทานเงินจ�ำนวน ๕๐,๐๐๐ บาท แก่ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลน่าน เพื่อใช้จ่ายในการดูแลผู้บาดเจ็บ ก่อนเสด็จพระราชด�ำเนินกลับ
-10-
ต่อมาใน วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๑๓ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินนี าถ เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเยีย่ มโรงพยาบาลน่านเป็นครัง้ ทีส่ าม ล้นเกล้าฯ ทัง้ สองพระองค์เสด็จพระราชด�ำเนิน ยังตึกพิทกั ษ์ไทย ซึ่งมีทหาร ต�ำรวจและอาสาสมัคร ที่ได้รับบาดเจ็บจาการสู้รบกับผู้ก่อการร้ายในเขตจังหวัดน่าน เข้ารับ การรักษาพยาบาลอยู่ จ�ำนวน ๑๓ ราย ซึ่ง ๓ รายสุดท้าย เพิ่งจะถูกยิงที่ด่านตรวจห้วยน�้ำอุ่น ถนนสายแพร่-น่าน ก่อนเสด็จพระราชด�ำเนินถึงเพียงหนึง่ ชัว่ โมงเท่านัน้ ในโอกาสนีไ้ ด้พระราชทานถุงของขวัญ พร้อมเงิน แก่ผบู้ าดเจ็บและ ครอบครัวผู้เสียชีวิตด้วย
-11-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
“กล่องกระดาษบรรจุเงินพระราชทาน ถึงปากกาและสมุดลงพระปรมาภิไธย” จากความทรงจ�ำของอาจารย์นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
-12-
“ศักยภาพการรักษาของโรงพยาบาลน่านในยุคนั้น ได้รับการพัฒนาเพื่อดูแลผู้บาดเจ็บจากการปราบปราม ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลน่านในสมัยนั้น ท�ำงานกันตลอด 24 ชั่วโมง ไม่มีวันหยุด เพราะมีทหาร ต�ำรวจ และอาสาสมัครได้รับบาดเจ็บจากการสู้รบ ถูกน�ำส่งเข้ามาตลอดเวลา ทุกคนปฏิบัติหน้าที่ด้วยใจทุ่มเท พร้อมที่จะดูแลรักษาเหล่านักรบ ผู้เสียสละ ที่เปรียบเสมือน
“ลูกของในหลวง”
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
เกร็ดข้อมูล ในการเสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น โรงพยาบาลน่ า น ในครั้งแรก กล่องที่บรรจุเงินสด ๒๔๐,๐๐๐ บาท ที่ทรง พระราชทานให้ โ รงพยาบาลน่ า น เป็ น กล่ อ งกระดาษ เหมือนกล่องรองเท้านัน้ หม่อมราชวงศ์คกึ ฤทธิ์ ปราโมช ประธานกรรมการบริหารธนาคารกรุงเทพพาณิชยการใน สมัยนั้น มาเยี่ยมโรงพยาบาลน่านพร้อมด้วยถ่ายภาพ การก่อสร้างอาคารพระราชทาน เล่าให้ฟังว่า ในหลวง รับสั่งว่า “จะไปน่านยังไม่มีเงินสด ๒๔๐,๐๐๐ บาท ไป ให้หมอบุญยงค์” อาจารย์คึกฤทธิ์ ปราโมช เล่าให้ฟัง ต่อว่า ท่านเป็นคนจัดการเปิดธนาคารในวันหยุดราชการ (ซึ่งเป็นข้อห้าม) เพื่อเบิกเอาเงินสดจ�ำนวนดังกล่าวมา ถวาย พร้อมกับบอกว่ากล่องกระดาษที่ใส่นั้นเป็น “กล่อง รองเท้า” จ�ำได้ว่าตอนรับพระราชทานกล่องเงิน ประโยค สุ ด ท้ า ยที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงตรั ส คื อ “สร้างเสร็จ ขอให้บอกไป ฉันจะมาเปิด” ได้ลางเลือน ไปแล้ว เพราะในความคิด เงินจ�ำนวนนีจ้ ะใช้ในการต่อเติม อาคารหลังเดิม เพื่อรับจ�ำนวนคนบาดเจ็บที่เพิ่มมากขึ้น โดยไม่มีการทาสี เพราะคิดว่าเป็นการเร่งด่วนและการ สู้รบคงจะยุติใน ๒ – ๓ ปี แต่ต่อมาลูกชายผู้ป่วยคนหนึ่ง ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการกรมโยธาธิการ ได้ออกปาก ว่า “มีอะไรจะให้ช่วยเหลือบ้างไหม ?” จึงเล่าให้ฟัง
ถึงเรื่องเงินพระราชทานสร้างตึกผู้ป่วย ซึ่งเขียนแบบแล้ว เงินไม่พอสร้าง ท่านรับปากว่าจะหาผู้รับเหมามาสร้างให้ เสร็จ ซึ่งลูกชายของผู้ป่วยคนนั้นคือ คุณทองจุณ สิงหกุล อดี ต อธิ บ ดี ก รมโยธาธิ ก าร ซึ่ ง มี ภู มิ ล� ำ เนาอยู ่ บ ้ า น ท่าลี่-ภูมินทร์ (ปัจจุบันถึงแก่กรรมแล้ว) ก่อนการเสด็จพระราชด�ำเนินจังหวัดน่าน เพื่อ เสด็ จ เปิ ด อาคารโรงเรี ย นราชานุ บ าลและศาลากลาง จังหวัดน่าน ในปีถัดมา กรมวังผู้ใหญ่ หม่อมหลวงปี มาลากุล ได้น�ำรับสั่งจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสอบถามถึ ง ความคื บ หน้ า ของการสร้ า งตึ ก ผู ้ ป ่ ว ย จากเงิ น ส่ ว นพระองค์ ที่ ท รงพระราชทานให้ ความว่ า “แล้วตึกของฉัน จะไม่ให้ฉันเปิดหรือ” ซึ่งในขณะนั้น โรงพยาบาลน่าน ไม่ได้เตรียมการส�ำหรับรับเสด็จ ทาง กรมวั ง ผู ้ ใ หญ่ จึ ง ได้ จั ด การพิ ธี ต ่ า ง ๆ ให้ โดยที่ ท าง โรงพยาบาลเตรียมเพียง “ป้ายตึกพิทักษ์ไทย” เพื่อทรง เจิมและทรงพระสุหร่ายป้ายตึก พร้อมพรมปูหน้าป้ายตึก เพื่อให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงประทับ กับ “ ส มุ ด ส� ำ ห รั บ ล ง น า ม พ ร ะ ป ร ม า ภิ ไ ธ ย แ ล ะ พระนามาภิไธย” ๑ เล่ม และแนะน�ำว่า“ปากกาส�ำหรับ ลงพระปรมาภิไธยและพระนามาภิไธย” (ปากกาหมึก ซึมแบบมีแท่นเสียบ) ให้ยืมจากศาลากลางจังหวัดน่าน
-13-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
คนดีศรีเมืองน่าน ค�ำร้อง ปริญญา แสงรัตนา ท�ำนอง ลักษณาพร ทัศนาวลัย ขับร้อง ลักษณาพร ทัศนาวลัย - เดชา จันทร์หาญ ดนตรี พิชิต ชัยพินิจ- สุรศักดิ์ มีรอด
โรงพยาบาลน่านนี้มีเรื่องขาน เป็นต�ำนานเล่าไว้ให้ลูกหลาน ถึงคนดีที่สถิตติดดวงมาลย์ ประชาชนชาวน่านสราญใจ นามท่านคือบุญยงค์ วงศ์รักมิตร ท่านอุทิศทั้งชีวาค่ายิ่งใหญ่ พัฒนาสาธารณสุขเจริญไกล ชาวน่านได้รักษาและพึ่งพิง ท่านเปรียบดั่งครูบาและอาจารย์ ของเหล่าแพทย์พยาบาลสืบสานสิ่ง โรงพยาบาลน่านก้าวไกลยิ่งใหญ่จริง สมค่ายิ่งคนไทยตัวอย่างศรัทธา
นามท่านนี้คงอยู่คู่เมืองน่าน เป็นต�ำนานควรค่าน่านศึกษา ท่านดุจดั่งบิดรและมารดา สมคุณค่าคนดีศรีเมืองน่าน.
-14-
ประวัติและผลงาน
ประวัติส่วนตัว ครอบครัว โดยย่อ
เกิดวันที่ 10 พฤศจิกายน 2476 ที่ต�ำบลหัวเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง เป็นบุตรคนที่ 9 ของนายตุ้ยและ นางลูกอินทร์ วงศ์ซัวหลี บิดาเสียชีวิตตั้งแต่ท่านอายุ 4 ขวบ มารดาเสียชีวิตเมื่อท่านอายุ 17 ปี
ประวัติการศึกษา
- ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนบุญญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดล�ำปาง - มัธยมศึกษาตอนปลายทีโ่ รงเรียนพิบลู ย์วทิ ยาลัย จังหวัดลพบุรี และเข้าเรียนต่อทีโ่ รงเรียนเตรียมอุดมศึกษากรุงเทพ - จบคณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2501
ประวัติครอบครัว
สมรสกับแพทย์หญิงพนิดา วงศ์รักมิตร มีบุตรธิดา 3 คน ได้แก่ 1. นางนาตยา วงศ์รักมิตร อาจารย์ภาควิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ 2. นายบุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร ผู้จัดการบริษัทอีเก็ทไดมอนด์เซอร์วิส จ�ำกัด, หัวหน้ากองวางแผนและประเมินผล สายงานผลิตไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 3. นายคงชัช วงศ์รักมิตร ท�ำงานในต�ำแหน่ง Regional technical sale specialist บริษัท Data color Asia-Pasific(HK) Ltd.
ต�ำแหน่งหน้าที่ และสถานที่ปฏิบัติงานปัจจุบัน
- ที่ปรึกษาสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชด�ำริ - ประธานมูลนิธิพระครูพุทธมนต์โชติคุณ - ประธานที่ปรึกษาคณะกรรมการพัฒนาโรงพยาบาลน่าน - ที่ปรึกษาศูนย์ประสานงานประชาคมจังหวัดน่าน สถานทีต่ งั้ เลขที่ 1 ถนนวรวิชยั ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน 55000 โทร.054-710138-9 ต่อ 3232
ประวัติการท�ำงานที่ส�ำคัญ
- พ.ศ. 2501 เป็นแพทย์ประจ�ำบ้านโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ - พ.ศ. 2502 นายแพทย์โท โรงพยาบาลสกลนคร กรมการแพทย์ - พ.ศ. 2504 ปฏิบัติงานที่ กรป.กลาง ต�ำบลนาคู อ�ำเภอกุสินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ - พ.ศ. 2505 เป็นผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลเลย จังหวัดเลย - พ.ศ. 2507 เป็นผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลน่าน จังหวัดน่าน จนกระทั่งลาออกจากราชการ เมื่อ 1 มกราคม พ.ศ.2537 ในต�ำแหน่งนายแพทย์ 9
-16-
ครองตน ครองคน ครองงาน
รวบรวมและเรียบเรียงโดย...กัญญารัช วงศ์ภูคา
ภายหลังจากจบคณะแพทยศาสตร์จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2501 ได้เข้าท�ำงานเป็นแพทย์ ประจ�ำบ้านทีแ่ ผนกอายุรกรรม โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 1 ปี จากนั้นท่านได้เลือกไปอยู่โรงพยาบาล ในภาคอีสาน จังหวัดสกลนครและปฏิบตั งิ านที่ กรป.กลาง ต�ำบลนาคู อ�ำเภอกุสินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ หลังจาก ท�ำงานที่สกลนครได้ 3 ปี 8 เดือน ได้ย้ายไปเป็นผู้อ�ำนวย การโรงพยาบาลจังหวัดเลย ท�ำงานได้ปเี ศษ ก็ได้รบั ค�ำสัง่ ไปเป็นผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลน่านเมื่อปี พ.ศ. 2507 จนกระทั่งลาออกราชการเป็นเวลา 30 ปี ตลอดระยะเวลาท� ำ รั บ ราชการท่ า นได้ ท� ำ คุณประโยชน์นานัปการให้แก่วงการแพทย์และสาธารณสุข โดยเฉพาะท้องถิ่นที่ห่างไกลความเจริญท่านเป็นแพทย์ ผู้ทุ่มเทกับงานบริการดูแลคนไข้ ผู้บุกเบิกพัฒนางาน สาธารณสุข การส่งเสริมป้องกันโรคควบคู่ไปกับการดูแล รักษา ท่านเป็นนักบริหารที่ครองตน ครองคน ครองงาน ได้อย่างดีเยีย่ ม ยึดหลักการบริหารทีเ่ ปีย่ มด้วยธรรมาภิบาล และแม้ว่าท่านจะเกษียณอายุไปแล้ว แต่ท่านก็ยังมุ่งมั่น ท�ำงานให้กับวงการแพทย์และเสียสละเวลาอุทิศตนให้ กับสังคมอยู่ตลอดเวลา เป็นบุคคลต้นแบบที่ดีงาม เป็น ที่เคารพนับถือแก่บุคคลในวงการแพทย์และสาธารณสุข ตลอดจนผู้คนสังคมโดยทั่วไป ใครที่ได้เข้ามาท�ำงานใน พื้นที่ก็มักเข้ามาขอค�ำแนะน�ำจากท่านอยู่เนือง ๆ และ ท่านก็เต็มใจให้ค�ำแนะน�ำพูดคุยแลกเปลี่ยนอยู่เสมอ ๆ ซึ่งมีเรื่องราว เหตุการณ์ที่เป็นรูปธรรมสนับสนุนให้เห็น ถึงจุดเด่นและผลงานของท่านอาจารย์ในแต่ละด้าน ดังนี้
เลิกคิดเลยว่าท�ำไม...” และได้มีคนไข้เด็กผู้ชายเป็น Urethral stone อุดตันที่ปลายท่อปัสสาวะ ร้องปวด ทรมานมาก เครื่องมือที่จะรักษาไม่มี ท่านจึงได้ดัดแปลง อุปกรณ์รกั ษาด้วยการน�ำเอาลวดมางอเป็น loop ใส่เข้าไป เพือ่ ดึงนิว่ ออกมา และอีกรายเศษหินเข้าหู ก็ใช้วธิ เี ดียวกัน นีร้ กั ษา แพทย์ฝรัง่ ทีไ่ ปด้วยประทับใจกันมากขนานนามให้ ท่านว่า “Doctor wire” ที่จังหวัดน่าน นายแพทย์บุญยงค์ เริ่มมาท�ำงาน เมื่อปี พ.ศ. 2507 น่านเป็นจังหวัดทุรกันดาร การเดิน ทางล�ำบาก ท่านได้บุกเบิกพัฒนางานการแพทย์และ สาธารณสุข ช่วยเหลือประชาชนในจังหวัด และพัฒนา โรงพยาบาลน่านตั้งแต่มีตึกผู้ป่วยเพียง 3 ตึก เป็นอาคาร ไม้ จ นเป็ น โรงพยาบาลที่ ไ ด้ รั บ ความไว้ ว างวางใจจาก ประชาชน และจังหวัดน่านสมัยนั้นเป็นพื้นที่สีแดงเป็น สมรภูมิรบระหว่าง ผกค.และทหารไทย ท่านเป็นแพทย์ ที่ยืนหยัด ทุ่มเท และเสียสละ อย่างยิ่งในการช่วยเหลือ พลเรือน ทหาร ต�ำรวจ ที่ได้รับบาดเจ็บจากการต่อสู้กับ ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ในพื้นที่ จังหวัดน่านและจังหวัด ใกล้เคียงมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2510 จนถึงปี พ.ศ. 2536 เหตุการณ์การปราบปรามผูก้ อ่ การร้ายคอมมิวนิสต์ ที่ยืดเยื้อมาหลายปีครั้งนั้นท�ำให้โรงพยาบาลน่านได้เรียน รู้และพัฒนามาตรฐานในการดูแลผู้ป่วยที่บาดเจ็บจาก สงครามเป็นอย่างมาก การจัดระบบการดูแลการรับและ ส่งต่อผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉินอย่างเหมาะสม และมีการ ผ่าตัดเกือบทุกวันตั้งแต่เช้าจรดเย็น พอตกเย็นก็จะมี
1. แพทย์ผู้ทุ่มเทกับงานบริการดูแลคนไข้
ในช่วงที่ท่านท�ำงานอยู่ในภาคอีสานนั้น เป็น ช่วงการฝึกประสบการณ์การดูแลรักษา จากที่เคยอยู่ใน แผนกอายุรกรรม ก็ต้องหัดท�ำศัลยกรรมและท�ำหัตถการ ที่หลากหลาย ณ ที่ต�ำบลนาคู อ�ำเภอกุสินารายณ์ จังหวัด กาฬสิ น ธุ ์ นั้ น ท่ า นได้ พ บเห็ น ความยากล� ำ บากของ ชาวบ้าน ความขัดสนและขาดแคลนทุกอย่าง ขาดโอกาส ในการเข้าถึงการบริการทางการแพทย์ ซึ่งท่านได้เปรย ไว้ว่า “เคยบ่นกันว่าไส้ติ่งอักเสบ ท�ำไมปล่อยเอาไว้ ตั้งนาน จนมันแตกมันเน่า พอได้เห็นสภาพความจริง ที่เขาใส่แคร่หามมา กว่าจะถึงเรา ตั้งแต่นั้นก็เลิกบ่น
-17-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
เฮลิคอปเตอร์นำ� คนบาดเจ็บมาส่งทีโ่ รงพยาบาล ทัง้ แพทย์ และพยาบาลโดยเฉพาะแผนกศัลยกรรมค่อนข้างหนัก ก็ ต้องท�ำงานกันต่อจนดึกดื่นค่อนคืนด้วยความเต็มใจ โดย ไม่มีค่าตอบแทนใดๆทั้งสิ้น แม้จะต้องให้การรักษาและ ผ่าตัดฉุกเฉินแก่ ทหาร ต�ำรวจ พลเรือน อาสาสมัคร พลเรือน จากการสู้รบเป็นประจ�ำ แต่นายแพทย์บุญยงค์ท่านก็ ไม่เคยย่อท้อหรือเหนื่อยหน่ายต่อหน้าที่ แต่กลับทุ่มเท ก� ำ ลั ง กายก� ำ ลั ง ใจในการผ่ า ตั ด รั ก ษาชี วิ ต และอวั ย วะ แก่คนเหล่านั้น เป็นที่อุ่นใจแก่ทหารต�ำรวจ จนได้รับ การกล่ า วขวั ญ ในหมู ่ ท หารต� ำ รวจโดยทั่ ว ไปว่ า เป็ น “ผู้พิทักษ์ยุทธภูมิ” คนแล้วคนเล่าท่านดูแลเอาใจ ใส่เป็นอย่างดี เป็นต้นว่า เคยมีทหารนายหนึ่งถูกยิง ไส้ทะลัก นายแพทย์บุญยงค์ได้ผ่าตัดรักษาชีวิตไว้ได้ และหลังผ่าตัดผู้ป่วยมีอาการช็อก ท่านก็อยู่คอยเฝ้าดู อาการตลอดเวลาด้ ว ยตั ว เอง จนผู ้ ป ่ ว ยอาการดี ขึ้ น ความทราบถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ว่าหมอ ที่ โ รงพยาบาลน่ า นสามารถช่ ว ยชี วิ ต ผู ้ ป ่ ว ยได้ โ ดย ไม่ต้องส่งตัวมายังกรุงเทพฯ จากผลการปฏิ บั ติ ง านอย่ า งหนั ก และเต็ ม ไป ด้ ว ยประสิ ท ธิ ภ าพของคณะแพทย์ แ ละเจ้ า หน้ า ที่ โรงพยาบาลน่านนี้เอง จึงมีหนังสือจากสมุหราชองครักษ์ น�ำราชกระแสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและ พระเสาวนียข์ องสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ รับสั่งชมเชยการปฏิบัติงานของโรงพยาบาลน่าน ในการ รักษาพยาบาลเจ้าหน้าที่ผู้บาดเจ็บจากการปราบปราม ผู้ก่อการร้าย รวมทั้งรับสั่งถามถึงอุปกรณ์การแพทย์และ สิง่ จ�ำเป็นต่าง ๆ และได้ทรงพระราชทานให้แก่โรงพยาบาล น่านตามที่ร้องขอทุกประการ
ในปี พ.ศ.2511 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เสด็ จ เยี่ ย มโรงพยาบาลน่ า น พระราชทาน สิ่งของและเงินจ�ำนวน 240,000 บาท ส�ำหรับ สร้ า งตึ ก ผู ้ ป ่ ว ยพิ ทั ก ษ์ ไ ทย ทรงรั บ สั่ ง กั บ นาย แพทย์บุญยงค์ ความตอนหนึ่งว่า “เงินนี้ให้เธอ น�ำไปท�ำการก่อสร้างเอง โดยไม่ต้องผ่านทาง ราชการ ฉันไว้ใจเธอ” สร้างความปลื้มปิติใน พระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น ตลอดเวลาช่ ว งสงครามสิ บ กว่ า ปี นั้ น โรงพยาบาลน่ า นได้ พั ฒ นาขี ด ความสามารถ และองค์ ค วามรู ้ ท างศั ล ยกรรมไปเป็ น อั น มาก เป็ น สถานที่ ใ ช้ ส� ำ หรั บ การค้ น คว้ า วิ จั ย ทางศั ล ยกรรม สงคราม นายแพทย์บุญยงค์ได้พัฒนาวิธีการรักษาต่าง ๆ เช่น การรัด Tourniquet เหนือบาดแผลทีข่ าส่วนปลายขาด เนือ่ งจากเหยียบกับระเบิด วิธกี ารดูแลบาดแผลในผูป้ ว่ ยที่ ถูกกับระเบิดหรือจากกระสุนปืน การดูแล stump ในผูป้ ว่ ย งานศัลยกรรมของจังหวัดน่านจึงเป็นที่เลื่องชื่อลือนาม แพทย์ที่เคยรับราชการที่นี่หลายต่อหลายคนถูกดึงตัวไป เป็นอาจารย์โรงเรียนแพทย์ และผลงานทางวิชาการที่ ออกมาจากจังหวัดน่านมักไม่ถูกปฏิเสธ มีหน่วยงานและ โรงพยาบาลต่าง ๆ มาศึกษาดูงานอยู่เสมอ ๆ มีเครื่องมือ การแพทย์ที่ทันสมัยที่บางอย่าง แม้แต่โรงเรียนแพทย์ ยังไม่มี ด้วยส�ำนึกของการบริการผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง นายแพทย์ บุ ญ ยงค์ ได้ เ ล็ ง เห็ น ความส� ำ คั ญ ของงาน เวชกรรมฟืน้ ฟู เนือ่ งจากมีผทู้ ตี่ อ้ งถูกตัดขาเป็นจ�ำนวนมาก เป็นการล�ำบากและสิน้ เปลืองหากจะต้องเดินทางไปรักษา ที่กรุงเทพฯ ท่านจึงได้ส่งคนไปอบรมงานด้านนี้ มีการจัด ตั้งหน่วยฟื้นฟูสภาพ ท�ำกายภาพบ�ำบัด ท�ำแขนขาเทียม ให้แก่คนไข้ ตลอดจนงานอาชีวบ�ำบัด ซึ่งได้มีการพัฒนา ปรับปรุงในเวลาต่อ ๆ มา
-18-
งานอุบัติเหตุฉุกเฉินนับแต่มีภาวะสงครามต่อเนื่องยาวนาน ก็ได้มีการพัฒนาให้มีศักยภาพอย่างต่อเนื่อง ตามนโยบายผู้อ�ำนวยการได้มอบไว้คือ “ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา” ระบบงานฉุกเฉินที่นี่เปรียบได้กับโรงพยาบาลเล็ก ในโรงพยาบาลใหญ่ มีแบบแผนการท�ำงานที่ครบถ้วนสมบูรณ์ อุปกรณ์ต้องพร้อม บุคลากรต้องเต็มไปด้วยความสามารถ ในการที่จะให้บริการผู้ป่วยฉุกเฉินอย่างมีประสิทธิภาพ มีห้องพักแพทย์อยู่ติดกับห้องอุบัติเหตุฉุกเฉินเสมอ สามารถตาม ตัวแพทย์ได้ตลอดเวลา ดังนั้นแผนรองรับอุบัติเหตุหมู่ จึงได้ถูกจัดวางไว้เพื่อการรองรับผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ จนหลายโรงพยาบาลที่มาดูงานได้น�ำไปเป็นแบบอย่าง การได้เห็นสภาพชีวิตความเจ็บป่วยของชาวชนบท ในท่ามกลางความล�ำบากขาดแคลน ท�ำให้นายแพทย์ บุญยงค์ มีแต่ส�ำนึกที่จะช่วยเหลือดูแลประชาชนทุกคนเป็นอย่างดี เต็มก�ำลังความสามารถ ไม่ว่าจะยาก ดีมีจน ท่านจะตั้งใจดูแลเอาใจใส่ผปู้ ว่ ยด้วยตัวเอง จดจ�ำคนไข้ในความดูแลได้หมดทุกคน และในฐานะผู้บังคับ บัญชาท่านจะตรวจงานตอนกลางคืน จะคอยไถ่ถามอาการของคนไข้ตลอดเวลา ท่านมักจะตรวจดูงานบนตึกคนไข้จนถึง
ตี 2-3 บางครัง้ ก็นอนบนรถเข็น หรือม้านัง่ ตามระเบียงก็มี ท่านได้ท�ำอย่างนี้มาโดยตลอด จนได้รับการยกย่องใน หมู่ประชาชนโดยทั่วไปว่าเป็น “พ่อพระของคนยากไร้”
2. นักบุกเบิกงานสาธารณสุข
นายแพทย์บุญยงค์ ได้ให้ความส�ำคัญในการ บริการแบบผสมสานทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชนงาน ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคได้ร่วมมือกับหน่วยงาน ต่าง ๆ ในจังหวัด กระตุน้ ให้มกี ารประสานงานกันระหว่าง สถานบริการต่าง ๆ แบบบูรณาการกัน โดยเฉพาะงานด้าน อนามัยแม่และเด็ก งานวางแผนครอบครัว งานเสริมสร้าง ภูมิคุ้มกันโรค จนมีผลงานทะลุเป้าหมายครอบคลุมพื้นที่ ทั่วจังหวัดน่าน แม้กระทั่งงานชันสูตรตลอดจนงานอื่น ๆ สามารถพัฒนายกระดับการท�ำงานให้บริการได้อย่าง ทั่วถึง ในเรื่องนี้ท่านได้เคยกล่าวไว้ว่า “งานส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค ชันสูตร รักษาพยาบาลและฟื้นฟู สมรรถภาพ เปรียบเสมือนนิ้วทั้งห้าของคน ขาดนิ้วใด
นิ้วหนึ่งก็จะท�ำให้ไม่สมบูรณ์ เรามักให้ความส�ำคัญกับ นิว้ นางส�ำหรับสวมแหวน (งานรักษาพยาบาล) แต่หาก ลองขาดนิ้วโป้ง (งานส่งเสริมสุขภาพ) มือเราก็เหมือน มือลิง หรือแม้แต่ขาดนิ้วก้อย (งานฟื้นฟูสมรรถภาพ) เราจะก�ำอะไรได้แน่น ? ” ท่านเห็นว่าคนทีท่ ำ� งานด้านสุขภาพ ควรรู้ เข้าใจ และมีความเห็นทีถ่ กู ต้องต่อค�ำนิยามของค�ำว่า “สุขภาพ” หมายถึง สุขภาวะที่สมบูรณ์ทั้ง 4 ด้าน ด้านร่างกาย (Physical) ด้านจิตใจ (Mental) ด้านสังคม (Social) และ ด้านจิตวิญญาณ (Spiritual) ที่องค์การอนามัยโลกให้ไว้ มิฉะนั้นเราจะทอดทิ้งค�ำนิยามนั้นแล้ว กลับมาสู่สิ่งที่เรา ก�ำหนดเองตามความต้องการของเรา และอาจจะให้ น�ำ้ หนักผิดไป ค�ำพูดทีว่ า่ การป้องกันดีกว่าการรักษานัน้ มีมานานแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่า ต้องมุ่งสร้าง มากกว่าซ่อม สร้างกับซ่อมต้องไปด้วยกัน น่าจะก้าวไป พร้อมกัน เพือ่ ไม่ให้เกิดความแตกต่างและแตกแยก
-19-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
นอกจากนี้ โรงพยาบาลน่านยังมีนโยบายทีเ่ ด่นชัด ในการสนั บ สนุ น งานสาธารณสุ ข โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง งานสาธารณสุขในเขตเมือง ส่งผลให้ฝ่ายเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลน่าน เป็นที่ยอมรับของทั่วประเทศ เป็นผู้มี ส่วนในการจัดท�ำเกณฑ์มาตรฐานการบริการเวชกรรม สั ง คมให้ เ ป็ น รู ป แบบและแนวทางในการด� ำ เนิ น งาน อย่างต่อเนื่องและเป็นองค์รวม ท�ำให้โรงพยาบาลต่าง ๆ เข้ามาศึกษาดูงานตลอดทัง้ ปี สนับสนุนให้มกี ารจัดตัง้ ศูนย์ สาธารณสุ ข มู ล ฐานชุ ม ชน (ศสมช.) เพื่ อ พั ฒ นางาน สาธารณสุขมูลฐานตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข และได้สนับสนุนเงินนอกงบประมาณเพื่อซื้อเครื่องวัด ความดันโลหิตและเครือ่ งชัง่ น�ำ้ หนักให้แก่ ศสมช. ทุกแห่ง ในเขตเทศบาล จนสามารถด�ำเนินการได้ครบทุกหมู่บ้าน เมื่อเดือนกรกฎาคม 2536 เป็นเทศบาลแห่งแรกใน ประเทศไทยที่มี ศสมช. ครบทุกหมู่บ้าน
การสร้างเครือข่ายระบบส่งต่อ โรงพยาบาลน่าน ถือได้ว่าเป็นโรงพยาบาลพี่เลี้ยงให้แก่โรงพยาบาลชุมชน มีนโยบายการสนับสนุนและให้ความช่วยเหลือแก่โรง พยาบาลชุมชนในจังหวัดน่านในทุก ๆ ด้าน ทั้งเรื่องเงิน ทอง วัสดุอุปกรณ์หรือแม้กระทั่งค�ำแนะน�ำ ให้ก�ำลังใจ ซึง่ กันและกัน นายแพทย์บญ ุ ยงค์เปรียบเสมือนเป็นพีใ่ หญ่ ของแพทย์ในจังหวัดน่านคอยดูแลทุกข์สุขของแพทย์ รุน่ น้อง ปัญหากระทบกระทัง่ กันระหว่างแพทย์ดว้ ยกันเอง จึงเกิดขึ้นน้อยมาก ความสัมพันธ์ที่ดีนี้เองส่งผลท�ำให้การ ประสานงาน ระบบการส่งต่อผู้ป่วยเป็นไปด้วยความ เรียบร้อย ไม่เกิดปัญหาความขัดแย้ง โรงพยาบาลไหนที่ ระบบการ Refer ล้มเหลว อาจต้องหันมามองโรงพยาบาล ในจังหวัดน่าน ซึง่ ใช้ ระบบโรงพยาบาลพีเ่ ลีย้ ง ทีส่ ว่ นหนึง่ อาศั ย ความผู ก พั น ฉั น พี่ น ้ อ งมาเป็ น สายใยเชื่ อ มโยง
เครือข่าย ตราบใดที่สายใยแห่งความผูกพัน ความ เคารพนับถือยังมีอยู่ ระบบก็ย่อมสามารถด�ำเนินงาน ต่อไปได้ ไม่มีที่สิ้นสุด
3.นักบริหารมืออาชีพ
ห้องท�ำงานผู้อ�ำนวยการมีป้ายแขวนติดไว้ว่า “เชิ ญ เข้ า พบได้ ” โต๊ ะ ท� ำ งานงานหั น ออกสู ่ ป ระตู นัน่ หมายถึง เป็นการเปิดประตูตอ้ นรับผูค้ นอยูต่ ลอดเวลา เชื้อเชิญให้ ให้คนสามารถเข้าหาผู้อ�ำนวยการได้ พร้อมที่ จะให้ค�ำปรึกษา และค�ำแนะน�ำตลอดจนแก้ไขปัญหา ต่าง ๆ นายแพทย์บุญยงค์ เป็นผู้ที่เอาจริงเอาจังกับงาน เป็นคนตรง ละเอียดถีถ่ ว้ น ยึดระเบียบการบริหารราชการ ที่เต็มเปี่ยมด้วยหลักธรรมาภิบาลเน้นการมีส่วนร่วมจาก ฝ่ายต่าง ๆ ใช้เหตุผลในการตัดสินปัญหาต่าง ๆ การประชุม ทุกครั้งที่นายแพทย์บุญยงค์เป็นประธานจะต้องกระชับ ตรงประเด็น มีการก�ำหนดวิธีการแนวทางและมอบหมาย แบ่งงานอย่างชัดเจน และติดตามงานที่ผู้ใต้บังคับบัญชา ได้รับมอบหมายไปจะต้องมีความก้าวหน้า ท่ า นเป็ นผู ้ ที่ ครองตน ครองคน ครองงาน ได้อย่างดีเยี่ยม นอกเหนือการยึดถูกความถูกต้องตาม กฎระเบี ย บการบริ ห ารราชการแล้ ว ท่ า นยั ง ใช้ ห ลั ก คุณธรรมและพรหมวิหารในการปกครอง มีเมตตา กรุณา ต่อผูใ้ ต้บงั คับบัญชา นับได้วา่ ท่านเป็นผูน้ ำ� ทีต่ ระหนักเห็น ถึงคุณค่าและศักยภาพของมนุษย์ เคยมีตัวอย่างครั้งหนึ่ง มีลูกน้องคนหนึ่งไปหยิบฉวยขโมยของ ท่านก็ผ่อนหนัก เป็นเบา ท่านเห็นว่า ครอบครัวเขายังต้องพึ่งพาเขาอยู่ สมมติว่าลงโทษเขา เอาไปจ�ำคุกอย่างนี้มันจะมีอะไรดีขึ้น สังคมจะดีขนึ้ ไหม ท่านถือว่าการจะเปลีย่ นคน ๆ หนึง่ ต้อง อาศัยความดี ซึ่ ง ในที่ สุ ด ท่ า นก็ ช นะ ปั จ จุ บั น บุ ค คลนี้ ยังท�ำงานเป็นประโยชน์อยู่ในโรงพยาบาลน่าน
-20-
โรงพยาบาลน่านประสบปัญหาขาดแคลนแพทย์ เช่ น เดี ย วกั บ โรงพยาบาลทั่ ว ประเทศ แต่ น ายแพทย์ บุญยงค์ไม่เคยเรียกร้องให้ใครเสียสละ แม้แต่แพทย์ บางคนรั บ ทุ น ของ โรงพยาบาลน่ า นไปแล้ ว กลั บ มา ท� ำ งานไม่ ก่ี วั น ก็ จ ากไปอยู ่ ที่ อื่ น ท่ า นก็ ไ ม่ เ คยต่ อ ว่ า อะไร “ผมไม่ว่าอะไร ไม่ว่าใครจะอยู่กับเรานานแค่ ไหน ผมถือว่าท�ำงาน ท�ำให้เรา 1 ปีเราก็ได้กำ� ไร 1 ปี ท�ำงานให้ 1 เดือน ก็ก�ำไร 1 เดือน ท�ำงานให้ 1 วัน โรงพยาบาลก็ก�ำไร 1 วัน เพราะเราเริ่มคิดจากศูนย์ ดังนั้นอย่างไรโรงพยาบาลก็ไม่ขาดทุน” ในบทบาทของผู้ใต้บังคับบัญชาท่าน ก็สามารถ วางตัวได้อย่างดี ท่านเคยได้กล่าวในทีป่ ระชุมรองผูอ้ ำ� นวยการ ฝ่ายการแพทย์โรงพยาบาลจังหวัดทั่วประเทศว่า “ไม่ว่า นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดจะเป็นใคร มาจากไหน จะดีไม่ดีอย่างไร ผมจะไม่มีวันไปทะเลาะกับท่านเป็น อันขาด เพราะผมถือว่า ถ้าหากผู้ใหญ่ ผู้บังคับบัญชา ทะเลาะกันผูใ้ ต้บงั คับบัญชาก็ทำ� งานไม่ได้” และท่านได้ ปฏิบัติตามนั้นมาจนตลอดชีวิตของการรับราชการ นอกจากจะมี ค วามสามารถในการเรี ย นรู ้ การท�ำงานจนเกิดความเชี่ยวชาญโดยเฉพาะทางด้าน การผ่าตัดและศัลยกรรม เมื่อมีปัญหาสามารถแก้ปัญหา หรือสอนงานให้แพทย์รุ่นน้องได้ ท่านยังเป็นผู้บริหารที่ สามารถจู ง ใจคน โน้ ม น้ า วคนให้ เ กิ ด การปรั บ เปลี่ ย น พฤติกรรม เพื่อให้งานที่ท�ำเกิดการบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ และสิง่ ทีส่ งิ่ ส�ำคัญยิง่ คือ มีความสามารถในการมองปัญหา มองภาพองค์กร ได้อย่างตรงจุดท�ำให้การแก้ไขปัญหา ต่าง ๆ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและลงเอยด้วยความ เข้าใจของทุกฝ่าย แสดงให้เห็นถึงทักษะความสามารถของ การเป็นผู้น�ำของท่าน ที่ประกอบด้วยคุณสมบัติ เก่งงาน เก่งคน และเก่งคิด ท่านให้ความส�ำคัญกับการบริหารจัดการเชิง ยุทธศาสตร์ ท่านมักจะถามผู้ร่วมประชุมว่า ยุทธศาสตร์ คืออะไร หน้าตาเป็นอย่างไร ถ้าหากมีใครถามเราจะตอบ ว่าอะไร ถ้าเราไม่รู้จักยุทธศาสตร์ เราลงไปท�ำยุทธศาสตร์ จะล�ำบากมาก ท่านได้อธิบายขยายความหมายด้วยค�ำ ง่ายๆ เช่นว่า “วิสัยทัศน์” เป็นสิ่งที่เราต้องการจะเป็น เป็นสิ่งที่เราต้องไปถึง ไปให้ได้ ดังนั้น วิสัยทัศน์ก็คือ ภาพที่เราต้องการจะเป็นในอนาคต “พันธกิจ” มาจาก ภาษาอังกฤษว่า Mission, มิชชันนารี (Missionary) นั้น เขาพันธกิจต่อพระผูเ้ ป็นเจ้า ของเรานัน้ มีพนั ธกิจต่อเพือ่ น
มนุษย์ด้วยกัน พันธกิจก็คือสิ่งที่เราจะต้องท�ำในฐานะที่ เป็นองค์กร เป็นสิง่ ทีเ่ ราต้องท�ำ เพือ่ ให้บรรลุวสิ ยั ทัศน์ของ องค์กร การจะคิดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ได้นั้นต้องมีปรัชญา ค่านิยมก�ำกับ ปรัชญา เป็นระบบความเชื่อที่มีผลต่อ พฤติกรรมของคน ในฐานะทีเ่ ป็นมนุษย์เราแสดงพฤติกรรม หรือการแสดงต่อบุคคลอื่น ด้วยการ คิด พูด ท�ำ โดยมี เจตนาอยูเ่ บือ้ งหลัง เจตนาเป็นตัวขับ ทัง้ หมดมาจากระบบ ความเชื่อเป็นตัวก�ำหนด ที่เราเรียกว่า ปรัชญา นั่นเอง ปรัชญา จึงหมายถึง ความเชื่อ ความศรัทธาที่คนใน องค์ ก รมี ต ่ อ สิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง ซึ่ ง ส่ ง ผลต่ อ พฤติ ก รรม การกระท�ำหรือวิถีปฏิบัติของคนในองค์กรนั้น เป็นต้น
-21-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
4. บุคคลต้นแบบและครูผู้ถ่ายทอด ความรู้ ความดี ความงาม
ด้วยความที่เป็นคนบ้านนอก ท�ำงานในชนบท มาตลอด นายแพทย์บญ ุ ยงค์ จึงเป็นบุคคลทีถ่ อ่ มตัว สมถะ และมีอุปนิสัยร่าเริง สนุกสนาน เมื่อเวลาเครียดมาก ๆ ท่านใช้วิธีอ่านหนังสือธรรมะ ท่านมักอ่านหนังสือของ ท่านพุทธทาส พระเทพเวที ท่านปัญญานันทะ ท่านพูด เสมอว่า ถ้าไม่ได้หนังสือทั้งสามท่าน ป่านนี้ท่านจะเป็น อย่างไรบ้างก็ไม่ทราบได้ และท่านได้จดจ�ำมาปฏิบัติ ในชีวิตประจ�ำวันตลอดมา เคยมีผู้มาติดต่อให้ท่านไปรับงานในต�ำแหน่งที่ สูงกว่าที่สะดวกสบายกว่าหลายครั้ง แต่ท่านก็ปฏิเสธไป ทุกครั้ง รุ่นน้องบางคนเติบโตก้าวหน้าในชีวิตราชการ กลับมาเป็นนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ท่านก็ยนิ ดีดว้ ย ท่านมีความพึงพอใจในจุดที่ตนเองเป็นอยู่ ซึ่งคุณสมบัติ ข้อนี้ถือเป็นความส�ำเร็จแห่งตน ในเรื่องการครองงาน ประการหนึ่ง คือ สามารถก�ำหนดขอบเขตของความ ต้องการของตนในเรื่อง ลาภ ยศ สรรเสริญและเกียรติ ท่านถือว่าการได้มีโอกาสรับใช้เพื่อมนุษย์ด้วยกันใน ด้านความเจ็บป่วยภายใต้อ�ำนาจ ความรู้ ความคิดที่มี อยู่ได้นั้น ก็ถือว่าเป็นความส�ำเร็จที่ได้รับในการ ท�ำหน้าที่แล้ว
นอกจากเป็ น ผู ้ ที่ มี ค วามสามารถในการพู ด การจูงใจผู้ร่วมงานแล้ว ยังเป็นผู้เสียสละ อุตสาหะ และ ซื่อสัตย์สุจริตต่อวิชาชีพและหน้าที่การงาน เป็นตัวอย่าง แก่ข้าราชการโดยทั่วไป ท่านได้เน้นย�้ำให้ความส�ำคัญกับ วิธีคิดที่ถูกต้อง “เราต้องให้ความส�ำคัญกับความรู้ ความเห็น และความเชื่อซึ่งมีผลต่อการกระท�ำ น�ำมายึดถือเป็น ปรัชญาในการด�ำเนินงานอย่างมั่นคง บทบาทหน้าที่ หลักของโรงพยาบาล คือ การรักษาและดูแลสุขภาพ ของประชาชน เป็นสิ่งที่ต้องอยู่ในหัวใจ ซึ่งผู้ประกอบ วิชาชีพต้องตระหนักถึงความไว้วางใจที่ประชาชนมี ต่อเรา น�ำชีวติ และร่างกายมาฝากไว้ในการดูแลของเรา ไม่มีอาชีพใดที่ได้รับความไว้วางใจมากเท่านี้ เราจึงต้อง ท�ำหน้าที่ให้สมกับที่ประชาชนไว้วางใจเรา ให้สมกับที่ -เขาถือว่า เป็นธนาคารชีวิตเขา” การที่โรงพยาบาลปฏิเสธที่จะรับผู้ป่วยไว้รักษา เช่น บอกว่าไส้ติ่งอักเสบแล้วไม่สามารถรับไว้รักษาได้ เนื่องจากไม่มีเตียง มองในสายตาปุถุชนถือว่าโหดเหี้ยม อย่างมาก เราควร ได้ทบทวนว่า เราบิดเบือนวิชาแพทย์ที่ เราเรียนมาอย่างไร มีสมั มาทิฐติ อ่ บทบาทของโรงพยาบาล อย่างไรกลายเป็นว่าโรงพยาบาลเป็นของเรา เงินเป็น ของเรา คนเป็นของเราแต่ผู้เดียว
-22-
ปัจจุบันความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพ กับผู้รับบริการได้เปลี่ยนแปลงไป จากความสัมพันธ์ที่ไว้ วางใจต่อกันมาเป็นความสัมพันธ์ทางกฎหมาย ซึง่ น่ากลัว มาก คาถาที่ผู้ให้บริการด้านสุขภาพในโรงพยาบาลทุก ระดับควรจะยึดถือ นั่นคือ ปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มความรู้ความสามารถ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวังไม่ประมาท ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความหวังดีตอ่ คนไข้และญาติ ถ้าท�ำสามอย่างนี้ ยังมองไม่ออกว่าจะเกิดการ ฟ้องร้องได้อย่างไร เราจะต้องสร้างความสัมพันธ์ให้ ผู้ป่วยชอบ เมื่อชอบแล้วจะเชื่อ เมื่อเชื่อแล้วจะท�ำตาม ดังนั้นเราควรได้ทบทวนพฤติกรรม สีหน้าท่าทาง และ วาจาทีพ่ วกเราใช้กนั อยูน่ นั้ ท�ำให้เขาชอบหรือไม่ หรือเป็น ไปในทางตรงกันข้าม ถ้าเขาไม่ชอบแล้วจะท�ำให้เขาเชื่อ และท�ำตามได้อย่างไร ปรัชญานี้โรงพยาบาลน่านก็ได้ ยึดถือและน�ำมาเป็นแนวทางปฏิบตั แิ ละสร้างเป็นค่านิยม ร่วมกันในการปฏิบัติหน้าที่ ทุกคนท�ำงานด้วยหัวใจ... “ท� ำ งานอย่ า งเต็ ม ความรู ้ ค วามสามารถ ด้วยความระมัดระวังและด้วยความปรารถนาดีตอ่ คนไข้ และญาติ” ที่ผ่านมาเราไม่ได้ให้เวลาที่เหมาะสมแก่คนไข้ เพื่อความไว้เนื้อเชื่อใจ เราต้องมองผู้ป่วยให้ “เป็นคน” “เป็นครู” มองว่าผูป้ ว่ ยเป็นคนเหมือนเรา มีความรูส้ กึ หิว รู้สึกโกรธ ดั่งธรรมบทที่ว่า “อัตตานัง อุปมัง กเร” เอาใจ เขามาใส่ใจเรา เขามนุษย์ เรามนุษย์ ถ้าเขาเป็นพ่อ เป็นพี่ เรา น้องเรา เราควรปฏิบัติต่อเขาอย่างไร เรามักมองเพื่อ มนุษย์เป็นคนป่วย เหมือนข้าราชการมองมนุษย์เป็น ประชาชน ท�ำให้ระดับของความเป็นมนุษย์แตกต่างกัน มนุษย์ไม่อยากถูกดูถูกดูแคลน ข่มเหงรังแกกัน อยากให้ เพื่อนมนุษย์มองเราในฐานะเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ถ้ามอง เขาเป็นคน ก็ได้ชัยชนะมาครึ่งหนึ่ง
“ถ้ามองเขาเป็นครูก็ได้ชัยชนะมาเต็ม ถ้าเรา มองเห็นผูป้ ว่ ยเป็นคน เป็นครู วิธกี ารมอง (Approach) ที่เคยมองแยกออกเป็นส่วน ๆ จะเปลี่ยนไปเป็นมอง อย่างเป็นองค์รวม (Holistic) มองอย่างเห็นคุณค่าความ เป็นมนุษย์” ด้วยสัมมาทิฐินี้ กอรปกับการท�ำหน้าที่ให้ดีท่ีสุด สมกับความไว้วางใจ ได้สร้างความสัมพันธ์ให้เกิดความ ชอบ เชื่อ และท�ำตาม หากผู้ประกอบวิชาชีพท�ำความ เข้าใจอย่างลึกซึง้ และน�ำไปสูก่ ารปฏิบตั ิ เราจะได้มากกว่า สิง่ ทีใ่ ห้มากมาย จะผ่อนบรรเทาเหตุการณ์ทเี่ ป็นข้อพิพาท อย่างมหาศาล จากการทีจ่ งั หวัดน่านเรามีแพทย์ทอี่ ทุ ศิ ตนมุง่ มัน่ ท�ำงานมานานปี เป็นปูชณียบุคคลที่เป็นแบบอย่างให้ แพทย์คนอื่น ๆ ประกอบกับการเล่าขานกันฟังจากปาก ต่อปาก จากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง จากเพื่อนถึงเพื่อน ก็ท�ำให้ แพทย์ใช้ทนุ เลือกทีจ่ ะมาอยูท่ นี่ ี่ เพือ่ ทีจ่ ะเรียนรูว้ ชิ าความ รู้ทางการแพทย์ การพัฒนาทักษะความสามารถ แล้วยัง ได้รับการเพาะบ่มทางจริยธรรมในการเป็นแพทย์ที่ดีอีก ด้วย นอกจากนี้อย่างได้รับรู้ถึงความสัมพันธ์อันดีระหว่าง แพทย์ด้วยกัน
-23-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
5. นักพัฒนาสังคม
แม้วา่ จะท�ำหน้าทีเ่ ป็นแพทย์ หน้าทีเ่ ป็นผูบ้ ริหาร ที่ดีเยี่ยมแล้ว ท่านยังได้อุทิศเวลาพัฒนาสร้างสรรค์ท้อง ถิ่นและขับเคลื่อนสังคมให้เข้มแข็ง ก่อให้เกิดการรวมตัว ของกลุม่ พลังมวลชนต่าง ๆ ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา จังหวัดน่านให้เจริญก้าวหน้า อาทิ เป็นผู้น�ำในการเรียก ร้องให้มกี ารจัดตัง้ สถาบันอุดมศึกษาให้เกิดขึน้ ในจังหวัด น่าน ตามนโยบายการขยายโอกาสทางการศึกษาไปสู่ ชนบทของรัฐบาล เป็นแกนน�ำในการจัดตั้งประชาคม จังหวัดน่าน เป็นต้น ในช่วงตั้งแต่ ปี 2540 เป็นต้นมา กระบวนการ ประชาคมได้มีการรวมตัวกันขับเคลื่อนทางสังคม สร้าง เครือข่ายการเรียนรู้และขยายผลไปสู่กลุ่มต่าง ๆ ทั้งใน และนอกพื้นที่ ขับเคลื่อนทั้งทางนโยบายและทางวิชาการ อย่างเป็นระบบมากขึน้ ศูนย์ประสานงานประชาคมจังหวัด น่าน ก็จึงได้ก่อตัวขึ้นมาเพื่อประสานการขับเคลื่อน ให้การด�ำเนินงานเกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน ด้วย การน�ำของนายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ท่านที่ได้ ชือ่ ว่าเป็นปราชญ์ในท้องถิน่ เป็นผูท้ คี่ นในท้องถิน่ ให้ความ เคารพนับถือ ในทางวิชาการได้ร่วมมือกับนักวิชาการ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ชุมชน อาทิ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นต้น
นอกจากนี้ ยั ง ได้ ใ ห้ ค วามร่ ว มมื อ กั บ โครงการ ต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ ในการเข้ามาพัฒนาและ ศึกษาวิจยั ในพืน้ ที่ เช่น SIF, โครงการวิจยั พัฒนาลุม่ น�ำ้ โขง เป็ น ต้ น ในแง่ ก ารขั บ เคลื่ อ นเชิ ง นโยบายสาธารณะ กระบวนการประชาคมจังหวัดน่านได้สร้างความสัมพันธ์ อันดีระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งหน่วยงานราชการใน จังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ องค์กรภาคธุรกิจ เอกชน เช่น หอการค้าจังหวัด องค์กรพัฒนาเอกชน โดย มีมลู นิธฮิ กั เมืองน่าน เป็นแกนน�ำเครือข่าย ความสัมพันธ์ ดั ง กล่ า วได้ เ กิ ด การเชื่ อ มประสานผลั ก ดั น นโยบาย สาธารณะที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนได้ถูกขยายผล น�ำไปสู่การการก�ำหนดเป็นวาระ มาตรการทางสังคม ข้อบัญญัติทางกฎหมาย ที่เกิดการปฏิบัติได้อย่างเป็น รู ป ธรรม เช่ น กรณี ก ารสร้ า งทางให้ ผู ้ ขั บ ขี่ จั ก รยาน การแข่งเรือปลอดแอลกอฮอล์ หรือมาตรการทางสังคม ในชุมชนต่าง ๆ เป็นต้น ท่ า นมองว่ า ประชาคมเป็ น กระบวนการ เคลื่อนไหวทางสังคมหนึ่ง ที่ได้หล่อหลอมผู้คนในสังคม ให้เกิดการรวมตัวกันด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุ เป้ า หมายทางสั ง คม นั่ น คื อ การแก้ ไ ขปั ญ หาและ การสร้างสรรค์พัฒนาสังคมให้ดีขึ้นและท่านเห็นว่า เรื่อง ของสุ ข ภาพไม่ ไ ด้ เ ป็ น เรื่ อ งแยกส่ ว นออกจากสั ง คม สิ่งแวดล้อม ท่านจึงได้ดูแลเอาใจใส่กับกิจการงานพัฒนา
-24-
สังคมควบคู่ไปด้วย และเน้นบูรณางานกับหน่วยงาน ต่าง ๆ ทัง้ ภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน ตลอดจนองค์กรพัฒนา เอกชน ท�ำให้เกิดการพัฒนาแบบบูรณาการ ท�ำให้การ ดูแลสุขภาพ งานส่งเสริมป้องกันจึงไม่ใช่เรื่องของหมอ พยาบาลเท่านัน้ แต่เป็นเรือ่ งของทุก ๆ คนทีต่ อ้ งตระหนัก รับผิดชอบร่วมกัน เปิดโอกาสให้องค์กรต่าง ๆ โดยเฉพาะ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ องค์กรพัฒนาเอกชนเข้ามามี บทบาทในการจัดการระบบสุขภาพของชุมชนร่วมกับ อสม. การขับเคลื่อนงานด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อม ด้านสังคม ตลอดจนด้ า นวั ฒ นธรรมได้ ถู ก บู ร ณาการเข้ า ด้ ว ยกั น การร้อยเชื่อมโยงใยจนเกิดเครือข่ายต่าง ๆ มากมาย เป็นที่สนใจแก่ นักวิชาการนักพัฒนาทั้งหลาย ตลอดจน องค์กรต่าง ๆ ได้เข้ามาเรียนรู้ศึกษาดูงาน ท่านเป็นผู้มีความรู้ความสามารถและผลงาน ทางวิชาการ พัฒนาชุมชน ด้านการพัฒนาประชาสังคม (Civil Society) และการสร้างธรรมาภิบาล ในการท�ำงาน (Good Governance Building) ในจังหวัดน่าน ซึ่งเป็น มิ ติ ส� ำ คั ญ ทางการพั ฒ นาชุ ม ชนในปั จ จุ บั น มี ผ ลงาน การคิดค้นแบบแผนทางทฤษฎีและการปฏิบัติ ในเรื่อง ประชาสังคม-ประชาคมในจังหวัดน่าน จนประสบความ ส�ำเร็จเป็นรูปธรรมอย่างต่อเนือ่ งมานานนับสิบปี จนปรากฏ ความส�ำเร็จอย่างสูงด้านการพัฒนา การมีส่วนร่วมของ จังหวัดน่านในรายงานการพัฒนาคนของประเทศไทย
พ.ศ. 2546 และได้กลายเป็นแบบแผนตัวอย่างส�ำหรับ การศึกษาวิจัย และการน�ำเอาไปปฏิบัติ งานพัฒนาใน จังหวัดอืน่ ๆ นอกจากนี้ ท่านยังมีคณ ุ สมบัตโิ ดดเด่นในด้าน การครองตน เป็ น แบบอย่ า ง ในฐานะผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ผูม้ คี ณ ุ ธรรมด้านความซือ่ สัตย์สจุ ริต และได้รบั การยอมรับ จากประชาชน และทุกภาคส่วนในจังหวัดน่าน รวมทั้ง สถาบัน การศึกษา องค์กรด้านวิชาการ องค์กรด้าน คุณธรรมที่ให้รางวัลแห่งความดีและรางวัล แห่งความ สามารถมากมายจนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้มอบ ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ พัฒนาชุมชน ในปี พ.ศ.2547 ปัจจุบันท่านได้ร่วมขับเคลื่อนโครงการปิดทอง หลังพระสืบสานแนวพระราชด�ำริ ในฐานะเป็นประธาน คณะท� ำ งานพื้ น ที่ จั ง หวั ด น่ าน มาตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.2552 มุ ่ ง มั่ น สานต่ อ พระราชปณิ ธ านในการพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ยกระดับคุณภาพชีวติ ให้กบั ชาวบ้าน มีหลักการพัฒนาคือ เข้ า ใจ เข้ า ถึ ง และพั ฒ นา เป็นบันไดสู่ความส�ำเร็จ นอกจากการลงพื้นที่เพื่อติดตามความก้าวหน้าของงาน แล้ว ท่านก็มานัง่ ท�ำงานทีห่ อ้ งประชาคมทุกวันเพือ่ ประชุม คณะท�ำงาน ประชุมกรรมการมูลนิธิ และพูดคุยแลก เปลี่ยนให้ค�ำแนะน�ำแก่แกนน�ำชุมชน NGO นักวิชาการ และผู้มาเยือนอื่น ๆ
-25-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่ได้รับ
๑. รัตนาภรณ์ ชั้น ๔ พ.ศ. ๒๕๑๓ ๒. ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ พ.ศ. ๒๕๒๖ ๓. ประถมาภรณ์ช้างเผือก พ.ศ. ๒๕๓๙ ๔. ทุติยจุลจอลเกล้า พ.ศ. ๒๕๔๑ ๕. มหาวชิรมงกุฏ พ.ศ. ๒๕๔๒
เกียรติคุณที่ได้รับ
๑. ได้รับรางวัลทุนสมเด็จพระวันรัต ของแพทยสมาคม แห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๑๖ ๒. ได้รับรางวัลแพทย์ชนบทดีเด่น ของคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล พ.ศ. ๒๕๑๗ ๓. ได้รับรางวัลคนไทยตัวอย่าง ของมูลนิธิธารน�้ำใจ พ.ศ. ๒๕๒๐ ๔. ได้รับเลือกเป็นกรรมการแพทยสภา ปี พ.ศ.๒๕๒๑ – ๒๕๒๕ และ พ.ศ.๒๕๓๒ - ๒๕๓๔ ๕. ได้รับปริญญาแพทยศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๓๗ ๖. เป็นประธานคณะท�ำงานการจัดตั้งมหาวิทยาลัย ในจังหวัดน่าน พ.ศ. ๒๕๓๗ ๗. ได้รับพระราชทานรางวัลมหิดลบี- บราวน์ พ.ศ. ๒๕๓๙ ๘. ได้รับรางวัลนิสิตเก่าดีเด่นของคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐ ๙. ได้รับโปรดเกล้า ฯ ให้ด�ำรงต�ำแหน่งวุฒิสภาสมาชิก พ.ศ. ๒๕๓๙ - ๒๕๔๒ ๑๐. เป็นประธานมูลนิธิจันทร์พงา (แอ๋ม) วาฤทธิ์ และจือกวาง-บุญปัญญ์ โคว้ตระกูล พ.ศ. ๒๕๔๕ ๑๑. ได้รับปริญญาพัฒนาชุมชนดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๔๗ ๑๒. ได้รับเข็มเกียรติคุณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ ราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๘ ๑๓. ได้รับประกาศนียบัตรยกย่องเป็นตัวอย่างที่ดี ระดับจังหวัด (ผู้ด�ำรงตนอยู่ในคุณธรรมจริยธรรม และบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ต่อสังคม) พ.ศ. ๒๕๔๘
-26-
-27-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ข้าราชการของแผ่นดิน
ชีวิตของคนท�ำงาน...ที่ไม่มีวันเกษียณ
ผลงานด้านประชาสังคม ในพื้นที่จังหวัดน่าน ข้าราชการของแผ่นดิน ความเป็นข้าราชการหมายถึงข้าของแผ่นดินทีร่ บั ใช้ ป ระชาชนเพื่ อ สนองเบื้ อ งพระยุ ค ลบาทที่ นั บ เป็ น เกียรติภมู อิ นั ยิง่ ใหญ่ ชีวติ หลังลาออกจากราชการ หลายคน ก็ได้หยุดพัก อยู่กับลูกกับหลาน อยู่ดูแลกิจการส่วนตัว ที่มีตามประสา วางมือจากภาระทางราชการ ทางสังคม เพราะคิดว่าเหน็ดเหนื่อยตรากตร�ำท�ำงานมาหลายปีแล้ว ควรทีจ่ ะหยุดพักผ่อนวางมือได้แล้ว แต่อาจารย์นายแพทย์ บุญยงค์ ยังคงไม่ทิ้งงานราชการ ยังคงวนเวียนอยู่ใน โรงพยาบาลน่ า น คอยให้ ค� ำ ปรึ ก ษากั บ น้ อ ง ๆ ทั้ ง ที่ โรงพยาบาลน่าน และเครือข่ายสาธารณสุขจังหวัดน่าน มาตลอด เรียกว่าชีวิตยังคงอยู่โรงพยาบาล อย่างกับคนที่ ไม่เกษียณอย่างนั้น อาจารย์ น ายแพทย์ บุ ญ ยงค์ ไ ด้ ค รองตนเป็ น ข้าราชการทีด่ ใี นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ มาตลอด ชีวิต อาจารย์นายแพทย์บุญยงค์พูดอยู่เสมอมาว่า “...ที่ พระเจ้าอยู่หัวฯ ตรัสว่า เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพือ่ ประโยชน์สขุ แห่งมหาชนชาวสยาม ซึง่ มหาชนชาว สยาม ทีพ่ ระองค์ทรงตรัสนัน้ ไม่ได้หมายถึงชาวสยามที่ อยูก่ รุงเทพฯ และรอบ ๆ เท่านัน้ หากแต่เป็นประชาชน ทุกหมู่เหล่า ในทุกหย่อมหญ้าบนผืนแผ่นดินไทย... โดยส่วนตัวมีความรักและเคารพในตัวพระองค์ท่าน และก็ยดึ ถือพระราชจริยวัตรของพระองค์ทา่ นเป็นหลัก ในการท� ำ งาน แล้ ว ท� ำ ไมจะเป็ น ไปไม่ ไ ด้ ว ่ า บรรดา ข้ า ราชการทั้ ง หลายว่ า เราจะท� ำ งานโดยธรรมเพื่ อ ประโยชน์สขุ ของประชาชนชาวสยาม...” และเมื่อครั้ง พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เสด็ จ เยี่ ย มผู ้ ป ่ ว ยที่ โรงพยาบาลน่าน มีอยู่ช่วงหนึ่งที่พระองค์ฯ ได้ตรัสกับ อาจารย์นายแพทย์บญ ุ ยงค์วา่ “...ฝากดูแลประชาชนของ ฉันด้วย...” นี่เป็นเสมือนสัญญาใจและปณิธานส่วนตัว ที่อาจารย์ได้น้อมน�ำมายึดถือปฏิบัติมาและยังคงท�ำงาน เพือ่ บ้านเพือ่ เมืองมาอย่างต่อเนือ่ ง ไม่เว้นวันหยุดราชการ ไม่เว้นหลังเกษียณอายุราชการ เพราะได้ถวายตัวเป็น ข้าของแผ่นดินไปแล้ว ด้วยความรักและศรัทธาท่านจึง ยังคงท�ำงานเพื่อคนน่าน เพื่อพระเจ้าอยู่หัว ฯ กฎเกณฑ์ อายุราชการอาจกีดกั้นต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล น่านไว้เพียงเท่านั้น แต่ไม่อาจกีดกั้นจิตวิญญาณการเป็น ข้าที่จะรับใช้แผ่นดินของอาจารย์นายแพทย์บุญยงค์ได้
-29-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
คนน่านต้องการมหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ.2537 ทบวงมหาวิทยาลัยได้มีแนวคิด จั ด ตั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสครองราชย์ ครบ ๕๐ ปี ในส่วน ภูมภิ าค กลุม่ คนต่าง ๆ ทัง้ ข้าราชการ เอกชน และประชาชน จึงได้รวมตัวกันเพื่อรณรงค์การจัดตั้งมหาวิทยาลัยเฉลิม พระเกียรติฯ ในจังหวัดน่าน โดยมีอาจารย์นายแพทย์ บุญยงค์ วงศ์รักมิตร เป็นหัวหน้าคณะท�ำงานประสาน การจัดตั้งมหาวิทยาลัยน่าน ในการจัดเตรียมข้อมูลน�ำ เสนอรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย และรณรงค์ให้ ชาวน่านออกมาสนับสนุนในการจัดตั้งมหาวิทยาลัยน่าน ซึ่งการเคลื่อนไหวครั้งนั้นถือว่าเป็นการเคลื่อนไหวที่เป็น ความสนใจและผลประโยชน์รว่ มกันของคนในจังหวัดน่าน ที่ร่วมแรง ร่วมใจ ร่วมบริจาคทรัพย์ จนน�ำไปสู่การจัดตั้ง เป็น “ศูนย์ประสานงานรณรงค์จดั ตัง้ มหาวิทยาลัย” ขึน้ ณ ห้องประชุม ๓ โรงพยาบาลน่าน เพือ่ เป็นทีพ่ บปะหารือ ประสานการท�ำงานของกลุ่มคนต่าง ๆ ในจังหวัดน่าน แม้ว่าการรณรงค์จัดตั้งมหาวิทยาลัยจะผ่านไป แต่กลุ่มคนที่เป็นแกนน�ำยังคงใช้ที่นี่เป็นศูนย์ประสาน งานพบปะหารื อ และขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น น่ า นสื บ มาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และเปลี่ ย นชื่ อ ศู น ย์ ฯ เป็ น “ศูนย์ประสานงานน่านสันติสุข” แกนน�ำหลากหลาย ทัง้ พระ ครู อาจารย์ หมอ พยาบาล เจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข ทนายความ นักพัฒนาเอกชน นักธุรกิจเอกชน แกนน�ำ ชาวบ้าน ปราชญ์ชาวบ้าน ฯลฯ ที่ยังคงแวะเวียนกันมา ช่วยกันคิดช่วยกันสร้างบ้านแปงเมืองน่านให้น่าอยู่ ต่าง พูดเป็นเสียงเดียวกันว่ามาด้วยความรักและศรัทธาในด้าน แนวคิดและวิถีปฏิบัติของอาจารย์บุญยงค์ และต้องการมี ส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองน่าน ดังทีแ่ กนน�ำกลุม่ ฮักเมือง น่านอย่างคุณส�ำรวย ผัดผล ได้กล่าวถึงการเข้ามาร่วม ท�ำงานกับอาจารย์นายแพทย์บุญยงค์ ว่า “...ความเป็น บุคคลอันเป็นที่รัก เป็นเรื่องคล้ายทุกคนจะไม่ปฏิเสธ ความร่วมไม้ร่วมมือ แต่ของอาจารย์หมอมีความเป็น วิชาการชัดเจน ของพระครูพิทักษ์นันทคุณ เติบโตมา จากรากฐานความเป็นชาวบ้าน สิ่งที่พระครูยึดถือหลัก ธรรมทางพุทธศาสนา อาจเป็นข้อจ�ำกัดในการเข้าถึง ต�ำรา จึงเอียงเข้ามาหาธรรมชาติ เข้าหาศาสนา ใช้ หลักอริยสัจ จึงมาพ้องกับอาจารย์หมอบุญยงค์ตรงนีเ้ อง ตรงหลักธรรมและคุณธรรม การสร้างบารมีจากความ รักที่คนไม่เคลือบแคลง มันก็เลยกลายเป็นจุดร่วม...” (ชาตรี เจริญศิริ และคณะ, ประชาคมน่านกับการจัดการ ความรู้, ๒๕๔๗)
-30-
ในขณะทีอ่ าจารย์นายแพทย์บญ ุ ยงค์มองกลุม่ คนทีม่ าร่วมท�ำงานประชาคมว่า “...น่าจะมองในเรือ่ งการสร้างคน ซึ่งแต่ละคนมาจากพื้นฐานต่างกัน แต่ละสาขา แต่เข้ามาสู่กระบวนการของฮักเมืองน่าน ซึ่งเป็นประชาคมน้อย ๆ กลุ่มหนึ่งมาคลุกคลีกับชาวบ้าน เหมือนเปลี่ยนจากการนั่งกินข้าวที่โต๊ะลงมานั่งกินบนเสื่อ น�ำสิ่งที่เรียนมาผนวก กับสิ่งที่พบใหม่ ๆ ท�ำให้เกิดสิ่งที่สาม คือ รักคน รักธรรมชาติ ผมเคยเรียนเรื่องความเจ็บป่วย เรื่องสังคมผมก็สนใจ แต่พอรู้ว่าสังคมประกอบขึ้นจากสรรพสิ่ง ผู้คน ธรรมชาติ ป่าเขา ก็สัมผัสกับความจริง...ความร่วมแรงร่วมใจให้ ได้มาซึ่งมหาวิทยาลัยที่น่าน ผมได้สัมผัสกับคนนอกวงการสาธารณสุข คนหลากหลายจาก สหสาขา ท�ำให้เราเกิด ความคิดใหม่ ซึง่ เป็นเรือ่ งส�ำคัญ ไม่เหมือนกับความคิดซึง่ เราได้จากการเรียนหนังสือ เป็นซาโตริ(สิน้ สงสัย) มันสว่าง วาบขึ้นมา...” นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร (ชาตรี เจริญศิริ และคณะ, ประชาคมน่านกับการจัดการความรู้, ๒๕๔๗)
ประชาคมน่าน ความเข้มแข็งของภาคประชาสังคม
จากกลุ ่ ม แกนน� ำ เรี ย กร้ อ งมหาวิ ท ยาลั ย และ พั ฒ นาเมื อ งน่ า น กระบวนการและวิ ธี คิ ด เช่ น นี้ ไ ป สอดคล้องกับกลุ่มความคิดแกนน�ำจัดท�ำประชาคมแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๘ ที่ได้มีการ หยิบเอาเรื่องประชาคมหรือประชาสังคม (Civil society) มาเป็นประเด็นหลักอันหนึ่งในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ซึ่งกลุ่มอาจารย์และนักพัฒนาอาวุโสที่มีบทบาทเข้าร่วม ในยุ ค นั้ น อาทิ เ ช่ น ดร.สุ เ มธ ตั น ติ เ วชกุ ล ไพบู ล ย์ วัฒนศิริธรรม, ศรีสว่าง พั่วพงศ์แพทย์, เดช พุ่มคชา, บ�ำรุง บุญปัญญา, พิภพ ธงไชย, เอนก นาคะบุตร, สงวน นิ ต ยารั ม ภ์ พ งศ์ , วิ ชั ย โชควิ วั ฒ น, ดร.เสรี พงศ์ พิ ช ญ์ ฯลฯ นอกจากนั้ น ยั ง มี อ าจารย์ ป ระเวศ วะสี, อาจารย์เสน่ห์ จามริก, คุณโสภณ สุภาพงษ์ ร่วมกระบวนการด้วย ต่อมาได้มีนักคิด นักวิชาการ ในกลุ่มแกนน�ำ ประชาคม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ ที่ 8 หลายคนได้เข้ามาจุดประกายแนวคิดประชาคมให้กบั ชาวจังหวัดน่าน อาทิเช่น อาจารย์ประเวศ วะสี, ดร.ชาติชาย ณ เชียงใหม่, ดร.อนุชาติ พวงส�ำลี, คุณเอนก นาคะบุตร, อ.ขวัญสรวง อติโพธิ ฯลฯ พร้อมกับเห็นความกลุม่ แกนน�ำ ห้องประชุม ๓ ทีด่ ำ� เนินการขับเคลือ่ นพัฒนาท้องถิน่ น่านนี้ มีความเป็นประชาคมอยูแ่ ล้ว เพราะเกิดจากการรวมกลุม่ ของคนหลากหลาย ที่มีจิตสาธารณะ มีเป้าหมายร่วมกัน ร่วมคิด ร่วมท�ำเพื่อเมืองน่านเหมือนกัน จึงน่าจะตั้งเป็น ประชาคมจังหวัดน่านได้ ในปี ๒๕๓๙ จึงได้รว่ มกันจัดเวที ประชาคมขึ้ น อย่ า งเป็ น ทางการและได้ ร ่ ว มกั น สร้ า ง วิ สั ย ทั ศ น์ ป ระชาคมน่ า นไว้ ว ่ า “เรารั ก เมื อ งน่ า น เราต้ อ งการให้ เ มื อ งน่ า น เป็ น เมื อ งที่ น ่ า อยู ่ ผู ้ ค นมี คุณภาพชีวิตที่ดี มีธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน มีวิถีชีวิตอยู่ในระบบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมและ กรอบของวัฒนธรรมอันดีงาม”
-31-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
พร้อมกับเปลีย่ นชือ่ จาก “ศูนย์ประสานงานน่าน สันติสุข” มาเป็น “ศูนย์ประสานงานประชาคมจังหวัด น่าน” นับแต่นั้นมา โดยมีอาจารย์นายแพทย์บุญยงค์ ผู้ที่ ชาวน่านทุกกลุม่ อาชีพศรัทธาในคุณธรรม ความดีงาม และ เป็นผูไ้ ด้รบั การยอมรับอย่างกว้างขวาง เป็นหัวหน้าศูนย์ฯ ในระยะแรก โดยมีบทบาทเป็นศูนย์ข้อมูลท้องถิ่น จัดเวที เสวนาเพื่อพัฒนาท้องถิ่นในด้านต่างๆ ให้ข้อมูลข่าวสาร การวิจัยเพื่อท้องถิ่น การพัฒนาเครือข่ายองค์กรชุมชน ต่าง ๆ การประสานทางด้านนโยบายกับภาครัฐ การ เคลื่อนไหวรณรงค์ผลักดันเรียกร้อง ไกล่เกลี่ยรับฟังกรณี พิพาทต่างๆ รวมทั้งการประสานงานกับเครือข่ายต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกจังหวัด อันที่จะน�ำพาสังคมไปสู่ สังคมแห่งการเรียนรู้และน่าอยู่ต่อไป นับว่าเป็นการเปิด พื้นที่สาธารณะเพื่อการเรียนรู้ (Public Space) ให้คน หลากหลายได้ ม าพบปะเสวนาแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ กันและกัน และน�ำไปสู่การจัดการปัญหาของตนเอง ของ กลุ่ม ขององค์กร ด้วยความเป็นคนที่ไม่ยึดติดกับต�ำแหน่ง และ ต้องการให้โอกาสแกนน�ำใหม่ ๆ เมื่อประชาคมน่านเริ่ม เข้ารูปเข้ารอย อาจารย์กไ็ ด้ขอลาออกจากต�ำแหน่งหัวหน้า ศูนย์ฯ และที่ประชาคมก็ได้คัดเลือกนายแพทย์คณิต ตันติศิริวิทย์ ขึ้นมาด�ำรงต�ำแหน่งหัวหน้าศูนย์ฯ แทนในปี ๒๕๔๐ แต่อาจารย์ก็ยังคอยให้ค�ำปรึกษาและเป็นส่วน ส�ำคัญในการพัฒนาประชาคมน่านอยู่เช่นเดิม แม้ค�ำว่าประชาคมจะมีรากฐานมาจากตะวันตก แต่การน�ำมาใช้ในบริบทแบบตะวันออกนั้นก็ต้องมี
ความเข้าใจทุนทางสังคมของไทยที่มีอยู่ ท่านพระครู พิทักษ์นันทคุณ ได้กล่าวความหมายของค�ำว่าประชา สังคมว่า “...ค�ำว่าประชา คือคนจ�ำนวนมาก สัง คือการ ท�ำคุณความดี คมะ คือการไปมาหาสู่กัน ประชาสังคม คือ การที่คนจ�ำนวนมากได้พากันไปท�ำความดี เมื่อใด คนพากันไปท�ำความดีก็จะมีความเป็นประชาสังคม แต่ถ้าไม่ท�ำความดี มีจิตอกุศลแอบแฝงก็ไม่ถือว่าเป็น ประชาสังคม...พูดง่ายๆ คือการที่ผู้คนหลากหลายมา ร่วมกันท�ำความดีเพือ่ บ้านเพือ่ เมืองนัน่ เอง...” เช่นเดียว กับ นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร กล่าวว่า “...ประชา สังคม เป็นการเมืองภาคสาธารณะ คือ การทีค่ นในสังคม ซึง่ มีจติ ส�ำนึกสาธารณะร่วมกัน มารวมตัวกันในลักษณะ ที่เป็นหุ้นส่วนกันในการกระท�ำ กิจกรรมต่าง ๆ ด้วย ความรัก ความเอือ้ อาทร ต่อกัน โดยมีระบบการจัดการ ให้เกิดความรู้ร่วมกัน...” “...ในส่วนตัวมองว่าประชาคมไม่ใช่องค์กร เป็นความเคลือ่ นไหวของกลุม่ คนทีต่ อ้ งการแก้ไขปัญหา ของตนเอง ตัวอย่างกลุ่มที่เข้มแข็งที่สุดในจังหวัดน่าน คือ กลุ่มฮักเมืองน่าน เริ่มจากกลุ่มคนในหมู่บ้านใน ชุมชนที่อยู่ร่วมกันด้วยความเป็นเพื่อนเป็นเครือญาติ เป็นเพื่อนร่วมโรงเรียนเดียวกัน วัดเดียวกัน ศิษย์ครู เดียวกัน เป็นความสัมพันธ์แบบญาติ แบบเพื่อน...แล้ว มาเกาะเกี่ยวกันเป็นเครือข่ายต�ำบล เครือข่ายลุ่มน�้ำ เครือข่ายป่าทีใ่ หญ่ขนึ้ ” นายแพทย์บญ ุ ยงค์ วงศ์รกั มิตร, ๒๕๔๔
-32-
“...คนที่ท�ำงานศูนย์ฯ นี้ (ศูนย์ประสานงานประชาคมน่าน) เป็นอาสาสมัคร เพราะเชื่อว่าความเป็นอิสระ ย่อมเป็นจุดสูงสุดของการท�ำงานด้วยปัญญา คนทีต่ อ้ งการท�ำงานด้วยปัญญา และก็ดว้ ยแรงกายของตนเอง จึงไม่นา่ จะมีขอ้ ผูกมัดอะไรทีท่ ำ� ให้กดดันในด้านความรูส้ กึ หรือกดดันทีไ่ ม่ทำ� ให้เกิดความคิด ความเห็นออกมา ลองคิดดูเถอะว่า ทุกองค์กร ถ้าน�ำกระบวนการที่เราท�ำอยู่ไปใช้ ไม่มีองค์กรไหนที่ล้มหายตายจาก ระบบราชการไทยที่ไม่ให้ ไม่ใช่ ระบบไม่ให้ คนที่ยึดระบบต่างหาก ระบบเขาไม่ได้ปิดกั้น คนที่ยึดระบบต่างหาก...” นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร (ชาตรี เจริญศิริ และคณะ, ประชาคมน่านกับการจัดการความรู้, ๒๕๔๗) การน�ำเอาแนวคิดรักถิ่นแผ่นดินเกิดที่กลุ่มฮักเมืองน่านขับเคลื่อนอยู่มาผสมผสานกับแนวคิดประชาสังคมนั้น นับว่าเป็นคุณูปการยิ่งส�ำหรับคนเมืองน่าน อาจารย์นายแพทย์บุญยงค์ นับเป็นคนส�ำคัญในการเชื่อมกลุ่มฮักเมืองน่าน ที่ท�ำงานแบบรากหญ้าได้ยกระดับการเรียนรู้ร่วมกับกลุ่มแกนน�ำประชาคมซึ่งส่วนใหญ่เป็นข้าราชการ ชนชั้นกลาง นักธุรกิจเอกชน ท�ำให้เกิดการประสานพลังการท�ำงานร่วมกัน เอาจุดเด่นของแต่ละภาคส่วนมาช่วยกันและกัน และท�ำให้ เครือข่ายประชาคมรากหญ้าได้ขยายตัวไปอย่างมาก
-33-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
หนุนเสริมรากฐานกลุ่มฮักเมืองน่านให้เติบใหญ่ ด้วยความคิดและแรงผลักส�ำคัญทีช่ ว่ ยอุม้ ชูกลุม่ ฮักเมืองน่าน ให้เติบใหญ่ ด้วยอาจารย์มองเห็นว่ากลุ่มฮักเมืองน่านซึ่งเป็น องค์กรชาวบ้านที่น�ำโดยพระครูพิทักษ์นันทคุณ และ นาย ส�ำรวย ผัดผล นัน้ เป็นกลุม่ องค์กรรากหญ้าทีท่ ำ� งานเพือ่ ท�ำงาน สร้างส�ำนึกรักบ้านเกิดมานาน เป็นตัวอย่างที่ควรอุ้มชูและ น�ำตัวอย่างดีดีไปขยายผล อาจารย์จึงชักชวนกลุ่มแกนน�ำฮัก เมืองน่านมาร่วมในการขับเคลื่อนประชาคมน่าน ข้าราชการ บางคนที่ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมความคิ ด กั บ ศู น ย์ ป ระสานงาน ประชาคมเป็นผูม้ บี ทบาทส�ำคัญในกลุม่ ฮักเมืองน่าน ความซ้อน เหลื่อมกันนี้ท�ำให้แนวคิด ทิศทาง และเนื้อหาสาระของศูนย์ ประสานงานประชาคมจึงสอดรับกับทิศทางของกลุ่มฮักเมือง น่านเป็นอย่างดี และให้โอกาสกับกลุม่ ฮักเมืองน่านในการแสดง ความคิดเห็น น�ำเสนอผลงาน การลงมือปฏิบัติการในด้าน ต่าง ๆ แม้แต่การจัดหาเป็นที่ปรึกษาชี้แนะแนวทางในการ ท�ำงานของเครือข่าย สนับสนุนด้านวิชาการองค์ความรูต้ า่ ง ๆ หรือ ประสานแหล่งทุนในการสนับสนุนขับเคลื่อนงานของเครือข่าย ฮักเมืองน่านมาอย่างต่อเนื่อง รวมไปถึง หากมองให้ลึกซึ้ง อาจารย์ช่วยเป็นเสาค�้ำยันให้เครือข่ายฮักเมืองน่านยืนหยัดใน กระแสการพัฒนาได้อย่างโดดเด่น ไม่ถูกมองเป็นอื่น จนเป็นที่ ยอมรับกันว่าพระครูพทิ กั ษ์นนั ทคุณเป็นเสาหลักฝ่ายพระสงฆ์ อาจารย์นายแพทย์บุญยงค์เป็นเสาหลักฝ่ายฆราวาส จากกระบวนการพัฒนาประชาคมน่าน และการขยาย เครือข่ายฮักเมืองน่าน ท�ำให้เกิดเครือข่ายประชาคมระดับพืน้ ที่ ขึ้นในพื้นที่ต่างๆ หลายพื้นที่ ที่เรียกกันว่าเครือข่ายตัว “ฮ” (กลุ่มฮักชุมชนท้องถิ่น) เช่น กลุ่มฮักนาน้อย กลุ่มฮักเมืองปอน ชมรมฮักบ้าน กลุ่มฮักถิ่นฮักไทย ชมรมคนบ่อว้า กลุ่มรักษ์ สันติสุข กลุ่มมิตรภาพภูเพียง กลุ่มฮักเจียงกลาง ฯลฯ
-34-
พระครูพทิ กั ษ์นนั ทคุณ ทีป่ รึกษามูลนิธฮิ กั เมืองน่าน ได้กล่าว ถึงบทบาทของอาจารย์นายแพทย์บุญยงค์ที่มีต่อการพัฒนาเครือข่าย ฮักเมืองน่าน และประชาคมน่าน ว่า “....อาตมารูจ้ กั คุณหมอบุญยงค์ มากว่า ๓๐ ปี ตัง้ แต่โยมพ่ออาตมาป่วยไปนอนรพ.น่าน......จนมาถึง ช่วงได้กอ่ ตัง้ กลุม่ ฮักเมืองน่าน ปี ๒๕๓๐ มาจนถึงปัจจุบนั หลังจาก เกษียณอายุราชการคุณหมอบุญยงค์ได้ช่วยเหลือสังคมมาอย่าง ต่อเนื่อง เป็นที่รู้จักของคนเป็นจ�ำนวนมาก เป็นที่รักของคนเมือง น่าน จึงปรึกษากันไปขอเชิญมาเป็นที่ปรึกษาให้กลุ่มฮักเมืองน่าน เวลามีปญ ั หาอะไร มีโครงการอะไรก็จะได้ขอค�ำชีแ้ นะ และโดยเฉพาะ ในช่วงที่เรามีโครงการฮักแม่น�้ำน่าน ปี ๒๕๓๕-๒๕๓๖ สืบชะตา แม่น�้ำน่าน ที่มีการเตรียมการส�ำรวจแม่น�้ำน่าน ท�ำพิธีสืบชะตา แม่น�้ำ บวชป่า ทุกครั้งที่เราไปบอกเชื้อเชิญ ก็ไปร่วมทุกครั้ง บางครัง้ ก็ไปบวชป่าในสถานทีไ่ กล ๆ ไปล�ำบาก ท่านก็ไปร่วมทุกครัง้ ที่มีพิธีกรรมเหล่านี้เกิดขึ้น ที่ผ่านมาเราก็ได้ก�ำลังใจ ได้สติจากการ ท�ำงาน ก็ได้อาศัยค�ำแนะน�ำ ค�ำชี้แนะ และทางออกจากท่านมา โดยตลอด เพราะท่านเป็นผูห้ ลักผูใ้ หญ่ทมี่ ปี ระสบการณ์ ถือว่าเป็น ปูชนียบุคคล เป็นภูมิปัญญา เป็นนักคิด นักค้นคว้า ที่ได้ไปศึกษา ประสบการณ์จากการท�ำงานจากผู้ที่ประสบความส�ำเร็จ ท่าน ก็ได้ยกเอาตัวอย่างมาเป็นกรณีตัวอย่างมาโดยตลอด หลังจากนั้น ก็มีการจัดตั้งประชาคมน่าน ซึ่งอาตมาก็ได้รับนิมนต์เข้าร่วมเป็น กรรมการ ได้เข้าร่วมประชุมหลายครั้ง ได้ให้ข้อเสนอแนะต่าง ๆ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันมาโดยตลอด นอกจากนั้นก็ได้ท่านให้การสนับสนุนงานต่างๆ ที่อาตมา ได้ด�ำเนินมา ไม่ว่าเป็นงานด้านอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม งานด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ไม่ว่าจะเป็นการออกเผยแผ่ ในชนบท ถิ่นทุรกันดาร งานพระธรรมทูตเฉพาะกิจ งานพระธรรม ทายาท งานพระธรรมจาริก ก็จะได้รับการสนับสนุนจากท่าน มาตลอด ซึ่งท่านก็ได้จัดสรรงบประมาณ ซึ่งเป็นดอกผลจาก มูลนิธิพระครูพุทธมนต์โชติคุณ ฯ ได้มาสนับสนุนอาตมาภาพทุกปี บางครัง้ ก็สนับสนุนในนามส่วนตัว บางปีกส็ นับสนุนในด้านกิจกรรม เช่นการบวชภาคฤดูรอ้ น ก็จดั งบมาสนับสนุน แม้กระทัง่ งานก่อร่าง สร้างสิ่งต่าง ๆ ของวัดในด้านต่างๆ ท่านก็สนับสนุนมาโดยตลอด ไม่ขาด นอกจากท่านจะสนับสนุนด้านความคิด ด้านสติปัญญา ด้านข้อเสนอแนะ ยังสนับสนุนเป็นทุนปัจจัยมาโดยตลอด ทุกปีที่ มูลนิธฮิ กั เมืองน่านได้จดั กิจกรรมประจ�ำปี ท่านก็ได้มาร่วมเวทีรว่ ม เป็นเกียรติ มาให้ก�ำลังใจทุกครั้ง นับว่าท่านเป็นทรัพยากรบุคคลที่ ทรงคุณค่า และเป็นปูชนียบุคคลที่มีค่าของเมืองน่าน...
-35-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
คุณส�ำรวย ผัดผล ประธานมูลนิธิฮักเมืองน่าน ข้าพเจ้าจ�ำได้วา่ พระปลัดสงวน จารุวณ ั โน (ปัจจุบนั พระครู พิทกั ษ์นนั ทคุณ) ผูก้ อ่ ตัง้ “กลุม่ ฮักเมืองน่านน่าน” แนะน�ำ ให้รจู้ กั กับ อดีตผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาลน่าน ณ ส�ำนักงาน หน้าวัดอรัญญาวาส ในโอกาสนี้อาจารย์หมอบุญยงค์ วงศ์รักมิตร ก�ำลังพ้นจากภาระราชการหมาด ๆ นั้น เป็นครัง้ แรกทีข่ า้ พเจ้าได้พบตัวจริงเสียงจริง แม้วา่ ส่วนตัว ข้าพเจ้าเคยท�ำหน้าที่เลขาธิการองค์กร กลางการเลือกตั้ง ที่มีคุณตะวัน สวนนันท์ เป็นประธาน และคุณตะวันก็ได้ รับค�ำแนะน�ำใกล้ชิดกับท่านอาจารย์หมอตลอด ข้าพเจ้า ได้เพียงแต่รู้จักชื่อเสียง แต่ไม่ได้ใกล้ชิดบุคลิกที่เปี่ยม ไปด้วยเมตตา และความเป็นผูร้ ู้ นักวิชาการ จึงเป็นความ ประทับใจ อบอุ่นใจนับจากนั้นเป็นต้นมา ข้าพเจ้า เดินตามพระครูพิทักษ์นันทคุณ เพื่อ บุกเบิกกลุม่ ฮักเมืองน่านด้วยความเคารพศรัทธา ในสาวก ขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้าที่ไม่ดูดายต่อปัญหาของสังคม ชุมชน โดยเฉพาะประเด็น คน กับ ดิน น�้ำ ป่าไม้ รวมถึง หลักธรรมในพุทธศาสนาทีม่ งุ่ สู่ ศรัทธาสาธุชน ให้ประพฤติดี ประพฤติชอบทัง้ ทีส่ ถานการณ์รอบข้างเลวร้ายลงแต่ละวัน (จนถึงปัจจุบันสถานการณ์ยิ่งหนักกว่าเดิม) ท่านพระครู พิทักษ์นันทคุณ กล้าบุกเบิกในเส้นทางสายคุณธรรมใหม่ ในนาม “ฮักเมืองน่าน” ปลุกเร้าให้ผู้คน “ฮักในแผ่นดิน ถิน่ เกิด” มีผลต่อปฏิบตั กิ ารคนเล็ก คนน้อย อาทิ การบวช ป่า การสืบชะตาแม่นำ�้ ผ้าป่าต้นไม้ การรวมกลุม่ ของชาว บ้านเพื่อพึ่งตนเองอีกหลายรูปแบบให้แก่การออมทรัพย์ การบุกเบิกระบบเกษตรกรรมยั่งยืน การอนุรักษ์และ พั ฒ นาพั น ธุ ์ พื ช พั น ธุ ์ สั ต ว์ น�้ ำ สั ต ว์ ป ่ า และสั ต ว์ เ ลี้ ย ง จน…กลุ่มฮักเมืองน่าน เป็นผู้ก่อกระแสของขบวนการ ประชาสังคมรากหญ้าของเมืองไทย การเป็นผู้ปฏิบัติโดยล�ำพังไม่สามารถก่อผลใน ทุกระดับที่ชุมชน จังหวัด และหมู่บ้านนักวิชาการหรือ แม้กระทัง่ นักพัฒนานโยบายสาธารณะระดับสูงได้ถา้ หาก ขาดมุมมองทางวิชาการ ก็คงวนกันอยู่ในอ่างน�้ำ ดังทีก่ ล่าวแล้วว่า “เสน่หข์ องอาจารย์หมอ อยูท่ ี่ ความเมตตา รับฟังและคอยชี้แนะ หรือแม้แต่การตั้ง ค� ำ ถาม ชวนคิ ด ให้ เ กิ ด วิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ที่ ร อบคอบ” ข้าพเจ้าจึงได้รับโอกาสทุก ๆ วันพุธ ณ ห้องประชุม ๓ โรงพยาบาลน่านให้ได้บอกเล่า เชือ่ มต่อกับกลุม่ กัลยาณมิตร อี ก หลากหลายกลุ ่ ม ในเวลาต่ อ ๆ มา จนกระทั่ ง ได้ กระบวนการรากหญ้าประชาชนได้พบกันและผนึกงาน ด้ ว ยกั น กั บ นั ก พั ฒ นาภาคประชาสั ง คมอื่ น ๆ ได้ แ ก่ มหาวิทยาลัย นักกฎหมาย นักวิจัย นักธุรกิจเอกชน และ นักสื่อสารสาธารณะ
-36-
ความจริง ความดี ความงาม ของชุมชนนักปฏิบัติ จึงถูกส่งต่อ ผ่านการส่งสารให้กับกัลยาณมิตรอื่น ๆ ที่มา พบปะกับอาจารย์หมอบุญยงค์ ขบวนการประชาสังคมรากหญ้า “ฮักเมืองน่าน” จึงเป็นที่รู้จัก เป็นประจักษ์ และ สาธารณะให้การสนับสนุน จนถึงปัจจุบัน และต่อ ๆ ไป
สังคมดีไม่มีขาย อยากได้ต้องร่วมสร้าง ในการสร้างเมืองน่านน่าอยู่นั้น หัวใจของการ เคลื่อนไหวประชาคมน่านอยู่ที่การจัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรูท้ เี่ รียกกันว่า “เวทีชาวบ้าน” โดยอาจารย์นายแพทย์ บุญยงค์ ให้ขอ้ คิดว่า “....ชุมชนทีม่ คี วามเข้มแข็งอยูแ่ ล้ว สามารถคิดเองได้แล้ว เราต้องไปจัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ให้เขาได้แสดงความคิดเห็นในการแก้ไขปัญหา และพั ฒ นาชุ ม ชน รวมทั้ ง ให้ เ ขาไปช่ ว ยชุ ม ชนที่ ยั ง อ่อนแอ ส่วนชุมชนทีย่ งั อ่อนแอเราต้องจัดเวทีเปิดโอกาส ให้เขาได้แสดงความคิดเห็น เรียนรู้ และรวมตัวกัน แก้ไขปัญหาของตนเอง....” (บุญยงค์ วงศ์รกั มิตร, ๒๕๔๓) และที่ ส� ำ คั ญ อาจารย์ ยั ง มองเห็ น ว่ า แกนน� ำ ประชาคม แกนน�ำฮักเมืองน่านที่มีอยู่ยังไม่พอ จ�ำเป็นต้องพัฒนา แกนน�ำรุน่ ใหม่ เสาะแสวงหาแกนน�ำใหม่ๆ เข้ามาเสริมการ ท�ำงานให้หลากหลายมากขึน้ จนน�ำไปสูก่ ารสร้าง วิทยากร
กระบวนการ (Facilitator) หรือ แกนน�ำการเปลีย่ นแปลง (Change Agent) ให้เกิดขึ้นอย่างหลากหลายจะช่วย เสริมทัพในการจัดเวทีและการขับเคลือ่ นสังคม ดึงเอาทุน ทางสั ง คมมาใช้ ไ ด้ อ ย่ า งเต็ ม ศั ก ยภาพ ซึ่ ง ก็ ไ ด้ รั บ การ หนุนเสริมจากอาจารย์ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์, ดร.ปาริชาติ สถาปิตานนท์ และอีกหลายคนได้มาช่วยอบรมสร้าง แกนน�ำประชาคมน่าน หลายรุ่น หลายหลักสูตร และ แกนน�ำเหล่านี้ก็ไปมีบทบาทส�ำคัญและใช้กระบวนการ ประชาคม กระบวนการจั ด ประชุ ม แบบสร้ า งสรรค์ กระบวนการสร้างการมีสว่ นร่วม การเขียนแผนทีค่ วามคิด (Mind Map) ในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น หน่วยงาน องค์ ก รของตนเองมาจวบจนทุ ก วั น นี้ จนกลายเป็ น วัฒนธรรมการเรียนรู้แบบน่าน เป็นเสน่ห์ที่ใคร ๆ ก็อยาก มาเรียนรู้
-37-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
และที่ส�ำคัญอาจารย์นายแพทย์บุญยงค์ยังให้ ความส�ำคัญกับการมีส่วนร่วมอย่างมาก ไม่ว่าการท�ำงาน การประชุมกลุม่ ย่อย การจัดเวทีประชาคม การจัดเวทีชาวบ้าน ต่าง ๆ ดังที่ท่านได้กล่าวไว้ในตอนหนึ่งของการประชุม คณะกรรมการพื้ น ที่ ชุ ่ ม น�้ ำ จั ง หวั ด น่ า น เมื่ อ วั น ที่ 31 กรกฎาคม 2551 ว่า “.... การมีส่วนร่วมของประชาชน มีความหมายอย่างไร เพราะอะไร เพราะว่าผู้บริหาร ผูป้ กครอง มีอยูก่ ระหยิบมือหนึง่ แต่ผกู้ นิ ผูใ้ ช้ ผูอ้ ยู่ ผูเ้ ป็น ผูต้ าย มีอยูม่ หาศาล อันนีต้ อ้ งห่วงประชาชน ท�ำอย่างไร ผูบ้ ริหารราชการก็ดี หรือองค์กรเอกชนก็ดี มองประชาชน เป็นประชาชนอย่ามองเขาเป็นอย่างอื่น ถ้าจะให้ดีมอง เขาเป็นมนุษย์ มนุษย์อย่างเรา มองว่าเขามีชวี ติ อย่างเรา มีหน้าที่จะต้องช่วยเหลือเขาให้ดี ให้เขาผ่านพ้นปัญหา ต่าง ๆ ด้วยความจริงใจถ้าหากขาดความจริงใจที่จะ ดูแลเขา หวังจะเอาผลประโยชน์จากเขานั้นก็คงจะ ท�ำให้การพัฒนานัน้ เป็นไปไม่ได้ ประการทีส่ องการรับรู้ ข้อมูลข่าวสาร ข้อมูลข่าวสารต้องเต็ม ต้องทันสมัย และ ทีส่ ำ� คัญต้องมีประโยชน์จริง ๆ บรรดาข้อมูลข่าวสารจะ เป็นแผนที่ก็ดี ถ้าไม่มีข้อมูลข่าวสารก็ไม่เพียงพอแต่ที่ ส�ำคัญต้องไม่ใช่ข่าวลวง ข้อมูลที่ส�ำคัญที่สุดคือข้อมูล เกี่ยวกับงบประมาณ อันที่สามก็คือการร่วมคิดพอได้ ข้ อ มู ล ก็ ม าร่ ว มคิ ด สิ่ ง ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด คื อ ร่ ว มตั ด สิ น ใจ เสร็ จ แล้ ว ต้ อ งลงมื อ ปฏิ บั ติ แ ละต้ อ งร่ ว มรั บ ผิ ด ชอบ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้จึงจะเรียกว่ามีส่วนร่วม นักวิชาการ ด้านการมีส่วนร่วมถือว่าการมีส่วนร่วมของประชาชน คือการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การใช้อ�ำนาจใน ทุกระดับ...” แม้แต่การประชุมเสวนาต่างๆ อาจารย์จะให้ ความส�ำคัญกับการมีส่วนร่วมของผู้เข้าร่วมประชุมค่อน ข้างมาก พวกเราที่ท�ำงานกับอาจารย์จะรู้ดีว่า ถ้าจะ ประชุมต้องเป็นประชุมโต๊ะกลม มีกระดาษปรู๊ฟติดบน กระดานส�ำหรับบันทึกสาระส�ำคัญ ซึ่งพวกเรามักบันทึก
แบบแผนที่ความคิด หากกลุ่มใหญ่ก็ต้องมีบัตรค�ำช่วย เขี ย น เพื่ อ ให้ ทุ ก คนได้ แ สดงความคิ ด เห็ น เต็ ม ที่ การ ออกแบบการประชุ ม และเตรี ย มความพร้ อ มของที ม วิทยากรกระบวนการจึงเป็นเหมือนบรรทัดฐานทีพ่ วกเรา ได้ถูกฝึกมา และมีอาจารย์คอยย�้ำเตือนอยู่เสมอในการที่ จะให้ ทุ ก คนได้ คิ ด ได้ แ สดงความคิ ด เห็ น นั่ น เท่ า กั บ เป็นการให้โอกาสเขาได้คดิ และเขาก็จะคิดได้ น�ำไปสูก่ าร จัดการปัญหาของตนเอง ของกลุ่ม ของชุมชนได้
อยากเห็นอ�ำนาจที่สาม ภาคประชาสังคมที่เข้มแข็ง
ด้วยความหวังที่อยากเห็นภาคประชาคมเข้ม แข็ง เป็นอ�ำนาจที่สาม นอกเหนือจากอ�ำนาจรัฐ อ�ำนาจ ธุรกิจ ที่ครอบง�ำสังคมมานาน แต่ประชาชนฐานรากยัง ขาดโอกาสในการพัฒนาตนเองอยู่มาก กระบวนการ ประชาคมจึงเป็นความมุ่งหวังในการสร้างการเมืองภาค พลเมือง สร้างโอกาสให้ภาคประชาคมได้มีทั้งอ�ำนาจ เงิน และปัญญา โดยที่มีภาครัฐ ภาคธุรกิจคอยหนุน เสริม อาจารย์นายแพทย์บุญยงค์จึงได้คิด “หมีแพนด้า โมเดล” ขึ้นมาอธิบายว่า “....ปรากฎการณ์หมีแพนด้า รูปหมีแพนด้านั้น ลูกตาซ้ายเปรียบเป็นภาครัฐ ลูกตา ขวาเป็นภาคธุรกิจ ซึ่งทั้งสองเป็นดวงตาที่ใหญ่มาก มี อ�ำนาจ มีเงิน มีปัญญา ภาคธุรกิจอาจมีอ�ำนาจน้อย กว่าภาครัฐ แต่มีอ�ำนาจเงินมาก แล้วก็เข้ามามีบทบาท ส�ำคัญต่อภาครัฐ ภาคการเมือง ส่วนปากทีอยู่ข้างล่าง เปรียบเป็นภาคประชาสังคม กลับเล็ก เหมือนปากจู๋ ใน สถานการณ์วิกฤตสังคมขณะนี้ เราต้องการให้มีอ�ำนาจ ที่สามหรือภาคประชาสังคมที่ใหญ่ข้ึน นอกเหนือจาก อ�ำนาจรัฐ ธุรกิจ นั่นคือมีปากที่กว้างขึ้น มีลูกตาเล็กลง มีหน้าทีส่ นองความต้องการของภาคประชาสังคมอย่าง แท้จริง...” นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร, เวทีสมัชชา สุขภาพจังหวัดน่าน, ๗ ตุลาคม ๒๕๕๖
โมเดลหมีแพนด้า -38-
ขับเคลื่อนสังคมด้วยปัญญา หลักการท�ำงานที่อาจารย์นายแพทย์บุญยงค์ ให้ไว้เป็น หลักส�ำคัญในการท�ำงาน ไม่ว่าเรื่องใดก็ตาม คือ การใช้หลักวิชาการ ใช้ข้อมูล ใช้ระเบียบกฎเกณฑ์ กฎหมายที่เกี่ยวข้องมาประกอบในการคิด การเสนอ การตั ด สิ น ใจเสมอ ไม่ ว ่ า จะเป็ น วงคุ ย กั น เรื่ อ งอะไร อาจารย์จะถามเพือ่ สร้างความเข้าใจก่อนเสมอว่า ค�ำ ๆ นัน้ ทีเ่ ราพูดกันมันมีความหมายว่าอย่างไร มีคนนิยามให้ความ หมายไว้วา่ อย่างไร มีองค์ประกอบอะไรบ้าง แล้วมีเอกสาร วิชาการ ข้อมูล ระเบียบ กฎหมายอะไรเกี่ยวข้องบ้าง มี ใครท�ำอะไรไว้เป็นบทเรียนเป็นกรณีศกึ ษาให้ได้ศกึ ษาไหม โดยเฉพาะตัวรัฐธรรมนูญที่กฎหมายสูงสุด อาจารย์จะให้ ความส�ำคัญมาก ถ้าไม่มีข้อมูลอาจารย์ก็มักจะไปหามาให้ อยูเ่ สมอ หรือเอามาคุยให้ฟงั ท�ำให้กลุม่ แกนน�ำประชาคม หรือผู้เข้าร่วมเวทีแลกเปลี่ยนรู้ได้เรียนรู้ไปด้วยกัน นี่เป็น วงประชาคมที่เคลื่อนด้วยปัญญาจริง ๆ ไม่ใช่ความรู้สึก ที่ส�ำคัญอาจารย์ให้ความส�ำคัญกับการวิจัยค่อน ข้างมาก โดยเฉพาะการสร้างนักวิจยั ชาวบ้าน จึงไม่แปลก ที่ จ ะเห็ น พั ฒ นาการของชาวบ้ า นที่ ก ้ า วเข้ า มาเป็ น นั ก วิจัยท้องถิ่น ได้รับทุนการวิจัยจากหลายที่ ไม่ว่าจะเป็น
ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) ส�ำนักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) หรือ แหล่งทุนอื่น ๆ ท�ำให้กระบวนการประชาคมน่านมีการ สร้างนักวิจยั สร้างประชาคมวิจยั และผลิตผลงานวิจยั ออก มาอย่างหลากหลายและต่อเนือ่ ง หรือแม้กระทัง่ นักศึกษา อาจารย์มหาวิทยาลัย นักวิจัยจากหน่วยงานต่าง ๆ ก็เข้า ปรึกษาหารือกับอาจารย์เพือ่ หาข้อมูลการวิจยั เก็บข้อมูล การวิจัย แม้กระทั่งมาน�ำเสนอผลการวิจัยให้อาจารย์ฟัง ท� ำ ให้ ก ระบวนการประชาคมน่ า นได้ เ รี ย นรู ้ ก ระบวน การวิจัย ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาชุมชน ท้องถิน่ น�ำไปสูก่ ารจัดการด้วยข้อมูลทางวิชาการ นีจ่ งึ เป็น จุดที่ช่วยให้ประชาคมน่านมีความน่าเชื่อถือ ท�ำให้หน่วย งานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษา จึงมักจะ ประสานขอความร่วมมือจากแกนน�ำประชาคมไปช่วยงาน ด้านวิชาการของจังหวัด ของหน่วยงานอยู่เสมอมา นอกจากนี้ อ าจารย์ ยั ง เป็ น นั ก วิ เ คราะห์ แ ละ สังเคราะห์ชนั้ ยอดด้วย ในวงเสวนาประชาคมหรือเวทีตา่ ง ๆ ถ้ามีอาจารย์มานั่งฟังหรือร่วมวงอยู่ด้วย ท่านจะเป็น นักฟังที่ดีมาก เรียกภาษาสมัยใหม่คือมี Deep listening ที่ดีมาก ๆ อาจารย์จะฟังทุกคนทุกเรื่องจนกระจ่างแจ้ง แล้วอาจารย์จะช่วยวิเคราะห์สงั เคราะห์ให้เห็นว่า
-39-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ทีค่ ยุ กันนั้นมันมีประเด็นส�ำคัญอะไร แล้วมันมีคุณค่าความหมายอะไร แล้วเราจะต้องขบคิดต่ออย่างไร ซึ่งอาจารย์มักจะ น�ำเอาศาสตร์ต่าง ๆ และหลักธรรมทางพุทธศาสนามาอธิบายให้เราเข้าใจแบบง่ายๆ แต่มีความลึกซึ้งกินใจ จนเรามักพูด กันเสมอมาว่าถ้าได้อาจารย์ช่วยเป่ากระหม่อม พวกเราก็บรรลุแจ้ง ถึงบางอ้อทุกทีไป จึงไม่แปลกที่เวลาจะจัดเวทีต่าง ๆ จะต้องเชิญอาจารย์มาช่วยเปิดกระหม่อมกระตุกความคิดอยู่เป็นเนือง ๆ ทีส่ ำ� คัญอาจารย์ยงั มีบทบาทส�ำคัญในการช่วยผลักดันให้เกิด “วิทยาลัยชุมชนน่าน” โดยมุง่ หวังว่าจะเป็นสถาบัน ระดับอุดมศึกษาที่จะช่วยสร้างปัญญาและการเรียนรู้ของน่านเพื่อคนน่าน ไปหนุนเสริมกระบวนการชาวบ้าน ศูนย์การ เรียนรู้ของชาวบ้าน ปราชญ์ชาวบ้านได้มีโอกาสในการพัฒนาตนเอง เป็นครูถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ชาวบ้านได้คิด ได้ท�ำ ได้พึ่งตนเอง พึ่งพากันเอง
คุ ณธรรมก�ำกับชีวิตน�ำการพัฒนา
ผู้น�ำที่แท้ (Authentic Leadership) ต้องมี จิตสงบ สะอาด สว่าง ซึง่ ต้องมีความเมตตาอยากช่วยเหลือ ผู้อื่น มองเห็นการเชื่อมโยงของตนเองกับโลก ในการ พัฒนาประชาคมให้มคี วามเข้มแข็งนัน้ อาจารย์นายแพทย์ บุญยงค์ ยังคงให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาด้านจิตใจ พั ฒ นาแกนน� ำ ให้ มี ค วามซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ลดละอั ต ตา ความเป็นตัวตน ความเป็นตัวกูของกู ไม่ยดึ ติดในต�ำแหน่ง ลาภยศ เพราะถ้าตัวแกนน�ำมีจิตละโมบ คิดฉ้อฉล มี ความผลประโยชน์แอบแฝง องค์กรก็ไปไม่รอด ความ เสื่อมศรั ท ธาก็ เ กิ ด ขึ้ น แล้ ว องค์ ก รนั้ น ก็ อ ยู ่ ไ ด้ ไ ม่ น าน และอาจารย์ ก็ เ ป็ น ตั ว อย่ า งที่ ดี ง ามของการไม่ ยึ ด ติ ด ดังจะเห็นการขอวางมือจากหัวหน้าศูนย์ประสานงาน ประชาคมโดยการมอบส่งต่อให้อาจารย์นายแพทย์คณิต ตันติศิริวิทย์ ในการด�ำเนินการต่อมา อาจารย์มักจะให้ ข้อคิดเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการท�ำงานเสมอ ๆ แม้ หลายคราจะใช้ภาษาบาลีที่หลายคนอาจไม่ค่อยคุ้นหู แต่ก็ท�ำให้พวกเราเข้าใจธรรมอันแก่นแท้ที่พระพุทธองค์ ทรงให้ ไ ว้ เ พื่ อ น� ำ มาปฏิ บั ติ จ ริ ง ในชี วิ ต ประจ� ำ วั น ดั ง ที่ ได้กล่าวไว้ในเวทีสมัชชาคุณธรรมจังหวัดน่าน เมื่อวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๐ ตอนหนึ่งว่า “....คุณธรรมเป็นเครื่องมือควบคุมจิตใจขั้นสูง ของคนเรา คุณธรรมเป็นเรื่องส�ำคัญของมนุษย์ เพราะ เราให้ความส�ำคัญกับเรื่องภายนอกมากเกินไป จนลืม เรื่องภายใน คือ จิตใจ หรือคุณธรรม ท�ำให้สังคมเกิด ปัญหาความวุ่นวายต่าง ๆ ตามมามากมาย หลายเรื่อง กฎหมาย กฎทางสังคมที่เป็นเครื่องควบคุมคนในระดับ ต�่ำ ก็ควบคุมไว้ไม่ได้...” และในเวที ส มั ช ชาสุ ข ภาพจั ง หวั ด น่ า น วั น ที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๖ ว่า “...การคิดจังหวัดจัดการตนเอง เราต้องมีวิธีการจัดการตนเองก่อน ที่จะน�ำพาตนเอง ดังพระราชด�ำรัส ครองตน คือมีความซื่อสัตย์สุจริต ครองคน คือ มีความยุติธรรม และครองงาน คือ ต้องมี สมรรถภาพ..”
-40-
หรือแม้กระทั่งในวงเสวนากลุ่มเล็ก ๆ อาจารย์ก็ยังให้ความส�ำคัญเรื่องคุณธรรมจริยธรรม เพราะการมีคุณธรรม จะช่วยก�ำกับชีวติ ให้อยูใ่ นหลัก อยูใ่ นกรอบแห่งความดีงาม และอาจารย์มกั บอกพวกเราอยูเ่ สมอ ๆ ว่า ธรรมะข้อทีส่ ำ� คัญ ที่สุด คือธรรมะข้อที่เรายึดถือแล้วเอามาปฏิบัติ เป็นประจ�ำ คือธรรมะข้อที่เรายึดถือในใจแล้วเอามาปฏิบัติเป็นประจ�ำ หากรูพ้ ระธรรมกีห่ มืน่ กีพ่ นั แต่ไม่นำ� มาปฏิบตั กิ ห็ ามีประโยชน์ไม่ การจัดการความรูท้ สี่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือการจัดการความรูเ้ ท่า ทันใจของเรานี่เอง เฉกเช่นเดียวกับท่านมหาตมะคานที ที่เคยกล่าวไว้ว่า “จะเปลี่ยนโลก ต้องเปลี่ยนตัวเองก่อน”
-41-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
สมาชิกวุฒิสภาโดยการสรรหา ด้วยผลงานทีเ่ ป็นประจักษ์ทวั่ ไปว่าอาจารย์บญุ ยงค์มคี วามรูค้ วามสามารถทัง้ ด้านความรู้ วิชาการ และการปฏิบตั งิ าน และการครองตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีความซื่อสัตย์สุจริต จึงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ด�ำรงต�ำแหน่งวุฒิสภาสมาชิก พ.ศ.๒๕๓๙ - ๒๕๔๓ นับว่าเป็นเกียรติประวัติของชาวจังหวัดน่านเป็นอย่างสูง และก็เป็นผลดีต่อกระบวนการพัฒนา ประชาคมน่านอย่างมาก เนื่องจากอาจารย์ก็จะเอาเรื่องราว เอกสาร สาระส�ำคัญ ระเบียบ ร่างกฎหมาย กฎหมาย ต่าง ๆ จากการประชุมสภา มาให้แกนน�ำประชาคมได้ศึกษาเรียนรู้ ขบคิดร่วมกัน หลายเรื่องก็น�ำไปสู่การด�ำเนินการ ในพื้นที่ หลายเรื่องก็ไปท�ำประชาคมรับฟังความคิดเห็นของชาวบ้าน แล้วน�ำมาสรุปให้อาจารย์ฟังเพื่อน�ำไปเสนอต่อ ในสภา นับเป็นโอกาสของคนเมืองน่านเป็นอย่างมาก และช่วงนีเ้ องได้มกี ารขยายแนวคิดไปสูก่ ารพัฒนาประชาคมอ�ำเภอ ประชาคมต�ำบล จนเกิดกลุ่มองค์กรต่างๆ อย่างหลากหลาย มีแกนน�ำรุ่นใหม่เข้ามาร่วมเรียนรู้มากขึ้น
เมืองเก่าน่าน
นอกจากการพบปะกันของแกนน�ำภาคประชาสังคมทุกวันพุธแล้ว ศูนย์ประสานงานประชาคมจังหวัดน่าน มีหน้าที่ในการจัดประชุม อ�ำนวยความสะดวกตามประเด็นของเครือข่ายต่าง ๆ เป็นประจ�ำเดือน ประจ�ำปี แล้วแต่ ความสนใจและความพร้อมของกลุ่มต่าง ๆ รวมทั้งการกระตุ้นจากสังคมด้วย หน่วยอนุรักษ์ฯ ซึ่งมี อาจารย์สมเจตน์ วิมลเกษม เป็นแกนน�ำหลัก และเป็นเครือข่ายหนึ่งได้น�ำผลการจัดการ สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมของจังหวัดน่าน มาเล่าในเวทีประชาคมใหญ่ประจ�ำปี ได้สร้างความตระหนักรู้ให้กับชุมชน หน่วยงานทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และงานสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมยังได้รับการเผยแพร่ขยายผลไปสู่ประชาชนน่านอย่าง กว้างขวาง เห็นได้จากการมีส่วนร่วมในการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น “น่านเมืองศิลปวัฒนธรรมน�ำสู่มรดกโลก”
เวทีสาธารณะ “แผนที่ชุมชนเมืองเก่าน่าน” และการการรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการประกาศ ขอบเขตพืน้ ทีเ่ มืองเก่าน่าน ถึง 3 ครัง้ ก่อนทีจ่ ะได้รบั การประกาศโดยคณะรัฐมนตรีให้เป็นเมืองเก่าน่าน อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2548 แนวคิดการ “เตรียมคน” และกระบวนการ “ร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมรับรับผลประโยชน์และรับผิดชอบ” เพื่อ ไปสูก่ ารพัฒนาอย่างมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ การอนุรกั ษ์มรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าของจังหวัดน่านให้ยงั่ ยืนนัน้ อาจารย์ สมเจตน์ วิมลเกษม กล่าวว่า “แนวคิดเยี่ยงนี้ ได้มาจากการเรียนรู้และรับฟังความคิดเห็นในเวทีประชาคมน่าน โดย พ่อหมอบุญยงค์ วงศ์รักมิตร จะกรุณาให้ข้อคิดและแนวทางในการปฏิบัติให้กระผมเสมอมา และเป็นเสาหลัก ทางปัญญาให้กับการด�ำเนินงานเมืองเก่าน่านจนถึงปัจจุบันนี้”
-43-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
การด�ำเนินงาน “เมืองเก่าน่าน” อย่างเป็นระบบและ บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ จนองค์การบริหารการพัฒนา พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (อพท.) ได้ก�ำหนด ให้จงั หวัดน่านเป็นพืน้ ทีพ่ เิ ศษ เพือ่ เข้ามาบริหารจัดการเมืองเก่า น่าน ให้เป็นไปตามแผนและผังแม่บทที่ชาวน่านก�ำหนดไว้ โดย ใช้ระยะเวลา 5 ปี เริ่มปีงบประมาณ 2557-2561 รวมทั้งสิ้น 73 โครงการ รวมงบประมาณ 2,404,277,450 บาท (สองพัน สี่ร้อยสี่ล้านสองแสนเจ็ดหมื่นเจ็ดพันสี่ร้อยห้าสิบบาท) ซึ่งเป็น ผลจากการให้แนวคิดและให้คำ� ปรึกษามาโดยตลอดของอาจารย์ นายแพทย์บุญยงค์ นอกจากเป็นเสาหลักให้กับนักวิชาการ หน่วยงาน และกลุ่มคนในน่านแล้ว อาจารย์นายแพทย์บุญยงค์ ยังได้ให้ ความเมตตากับนักวิชาการต่างถิ่นด้วยเช่น ศาสตราจารย์ สายั น ต์ ไพรชาญจิ ต ร์ คณะสั ง คมสงเคาระห์ ศ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการน�ำศึกษาจากคณะฯ มาฝึกงาน ทีบ่ า้ นบ่อสวก อ�ำเภอเมืองน่าน ซึง่ ได้รบั การสนับสนุนทัง้ ก�ำลังใจ ก�ำลังทรัพย์ การประสานงานต่างๆ และข้อคิดจนสามารถ น�ำไปสู่การจัดตั้งพิพิธภัณฑ์เตาโบราณและหนังสือโบราณคดี ชุมชน “การจัดการอดีตของชาวบ้านกับการพัฒนาชุมชน” (2546) อาจารย์นายแพทย์บุญยงค์ได้เขียนค�ำนิยม ในหนังสือ โบราณคดีชุมชน ตอนหนึ่งว่า “ผลงานของ ผศ.สายั น ต์ ไพรชาญจิตร์ นอกจากจะเป็นรายงานวิจัยเป็นเล่มแล้ว ท่าน ยังสร้างผลงานที่มองไม่เห็นแต่มีคุณค่า และกระจ่างชัดใน การรับรู้ของคนในชุมชน อาทิ แม่อุ้ยชื่น ผู้ดูแลและเป็น
-44-
มั ค คุ เ ทศน์ น� ำ ชมพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เ ฮื อ นบ้ า นสวกแสนชื่ น ด้วยความมีชีวิตชีวา และความภูมิใจในอดีตของตน ผ่านการเล่าเรื่องโดยมีโบราณวัตถุที่แสดงเป็นตัวน�ำ เรื่อง เช่นเดียวกับพระเจ้าไม้เมืองน่าน เป็นสื่อเชื่อม ความภูมิใจในอดีตของคนในชุมชนสู่บริบทปัจจุบัน ผลงานที่มองไม่เห็นเช่นนี้เป็นสิ่งที่มีคุณค่าและส�ำคัญ อย่างยิ่งยวด ในการปลูกฝังความรัก ความผูกพันต่อ วัฒนธรรมและประวัติความเป็นมาของชุมชน แนวคิด และกระบวนการวิจัย ยังให้ความ ส�ำคัญต่อการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน และองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ท�ำให้โบราณคดีชุมชนขยับเข้า ใกล้ชิดตัวคนในชุมชนจนเป็นกิจวัตร เป็นความผูกพัน มิได้เป็นสิง่ แปลกปลอมทีห่ า่ งเหินจากความเป็นจริงเช่น พิพิธภัณฑ์ทั่วไป” ผลจากการท�ำงานด้านการพัฒนาเมืองน่านมา อย่างต่อเนื่อง ทั้งด้าน ภาครัฐ ภาคประชาชน และภาค ภาคสังคม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จึงได้พิจารณา มอบปริ ญ ญาพั ฒ นาชุ ม ชนดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ ในปี พ.ศ.๒๕๔๗ ซึ่ ง อาจารย์ ไ ด้ ม อบปริ ญ ญาบั ต ร ให้เป็นสมบัตขิ องศูนย์ประสานงานประชาคมจังหวัดน่าน เป็นเครื่องยืนยันว่า การพัฒนาสังคมทั้งหมดนั้น เป็นการ ท�ำงานแบบมีส่วนร่วมของคณะท�ำงานและภาคีต่าง ๆ
“....ผมเป็นกรรมการคนหนึ่งในการพิจารณา คัดเลือกผู้เข้ารับปริญญากิตติมศักดิ์ของมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ การที่ จ ะมอบปริ ญ ญากิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ แ ก่ ผูใ้ ดนัน้ ไม่ได้ให้กนั ง่ายๆ ต้องเป็นผูม้ คี วามรูแ้ ละผลงาน เป็นที่ประจักษ์จริง ๆ มีครั้งหนึ่งรัฐบาลได้ขอปริญญา กิตติมศักดิ์ให้แก่ผู้น�ำต่างประเทศท่านหนึ่งที่มาเยือน ประเทศไทย มหาวิทยาลัยก็ไม่ได้ให้ เพราะไม่ประจักษ์ ยอมรับในผลงาน กรณีของอาจารย์นายแพทย์บุญยงค์ เป็นการให้ด้วยความภาคภูมิใจ ถือว่าเป็นเกียรติกับ ผูใ้ ห้ คือ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และผูร้ บั คืออาจารย์ นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร เป็นเกียรติทั้งผู้ให้ และผู้รับ....” มานิจ สุขสมจิตร, บรรณาธิการอาวุโส หนั ง สื อ พิ ม พ์ ไ ทยรั ฐ , เวที แ ลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ส มั ช ชา สุขภาพจังหวัดน่าน, ๓ ตุลาคม ๒๕๕๖
-45-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร หรือ คนน่านเรียกอย่างสนิทสนมว่า “พ่อหมอ” มักจะพูดในที่ประชุม ซึง่ องค์การบริหารการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษเพือ่ การท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. เป็นผูจ้ ดั ว่า “ผมไม่ชอบ ท่องเที่ยว ผมไม่ใช่นักท่องเที่ยว” แต่ไม่น่าเชื่อว่าท่านจะเป็นผู้รอบรู้การพัฒนาการท่องเที่ยวเป็นอย่างดี ซึ่งน่าจะเป็น เพราะท่านเป็นนายแพทย์นักพัฒนา และมีความลึกซึ้งในแนวทางการพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อันเป็น รากฐานส�ำคัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืน เมื่อมีโอกาสได้ร่วมประชุมหรือรับฟังสิ่งที่ท่านพูด เจ้าหน้าที่ของ อพท. จะได้ ข้อคิดที่สามารถน�ำมาใช้ในการพัฒนาพื้นที่ท่องเที่ยวในความรับผิดชอบอยู่เสมอ ท่านมักจะเสนอแนะด้วยภาษาที่ เข้าใจง่าย เช่น ครั้งหนึ่งท่านเคยให้น�ำอักษร ส. เสือ มาก�ำหนดเป็นมาตรการในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ได้แก่ ๑. สะอาด ไม่สกปรกรกรุงรัง จนเกิดภาพที่ไม่สวยงาม ไม่น่าประทับใจ ๒. สะดวก การเดินทาง การติดต่อสือ่ สาร การใช้บริการต่าง ๆ ต้องมีความสะดวก รวดเร็ว และทันต่อความต้องการ ๓. สบาย นักท่องเที่ยวมักต้องเดินทางมาไกล จึงต้องการความสบายในการพักผ่อน ไม่ใช่พบเจอแต่สิ่งที่เป็นปัญหา ๔. สงบ ชุมชนต้องมีความรักใคร่สามัคคี ไม่ทะเลาะเบาะแว้ง และมีความพร้อมที่จะเป็นเจ้าบ้านที่ดี ๕. สุขลักษณะ คือการได้รับประทานอาหารที่สะอาด ปลอดภัย รสชาติดี ถูกสุขอนามัย ๖. ส่งเสริม ให้ผู้ประกอบการพัฒนาการบริการให้มีมาตรฐาน ไม่ท�ำให้นักท่องเที่ยวรู้สึกว่าถูกเอารัดเอาเปรียบ ไม่คุ้มค่ากับเงินที่จ่ายไป ๗. สนับสนุน ให้ชุมชนท้องถิ่นได้มีการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และศิลปวัฒนธรรม เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว ๘. สร้างสรรค์ น�ำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสร้างสรรค์กิจกรรมการท่องเที่ยวและบริการ ให้เป็นเอกลักษณ์ ของท้องถิ่น ไม่ลอกเลียนแบบของคนอื่น ๙. สวัสดิภาพ ต้องช่วยกันดูแลความปลอดภัยและช่วยเหลือนักท่องเที่ยวที่เดือดร้อนหรือประสบภัยต่าง ๆ ให้การดูแลเหมือนญาติมิตร ๑๐. สันติสุข ชุมชนที่มีความสุข คือ ชุมชนที่น่าท่องเที่ยวมากที่สุด
-46-
ท่ า นเป็ น แบบอย่ า งของผู ้ ที่ เ ป็ น เจ้ า บ้ า นที่ ดี ให้เกียรติแก่ผู้มาเยือนเสมอไม่ว่าจะเป็นผู้ใหญ่หรือผู้น้อย เมือ่ พบว่ามีความไม่ถกู ไม่ตอ้ งท่านจะกรุณาติตงิ ด้วยความ สุภาพ และเมื่อท�ำดีท่านจะให้ก�ำลังใจด้วยการชื่นชม ต่อหน้าบุคคลอืน่ เมือ่ พบปัญหาอุปสรรคท่านจะให้กำ� ลังใจ ท่ า นสอนเสมอว่ า จะท� ำ อะไรต้ อ งอธิ บ ายให้ ชาวบ้านส่วนใหญ่เข้าใจว่าอะไรจะเกิดขึ้นกับชุมชนที่เขา อาศัยอยู่ มีผลดีผลเสียอย่างไร ต้องมีส่วนร่วมอย่างไร เมื่อชาวบ้านเข้าใจจะไม่เกิดการต่อต้านและจะให้ความ ร่วมมือเป็นอย่างดี การพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองน่าน อย่าเอาเงินน�ำหน้า ต้องพัฒนาด้านสังคมกับสิ่งแวดล้อม ก่ อ น เมื่ อ สองด้ า นนี้ ดี แ ล้ ว เศรษฐกิ จ จะตามมาเอง เจ้ า หน้ า ที่ ข อง อพท. คนหนึ่ ง ได้ จ ดบั น ทึ ก หลั ก การ พั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วชุ ม ชนให้ ป ระสบความส� ำ เร็ จ ที่ คุณหมอถ่ายทอดให้ว่า ๑. ต้องมีใจ เมื่อมีใจที่จะท�ำ ก็จะมุ่งมั่นพยายาม ที่จะด�ำเนินการให้เกิดความส�ำเร็จ ๒. ต้องมีความรู้ เพราะจะท�ำให้การด�ำเนินงาน ต่างๆ เป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการทีม่ กี ารทดสอบ วิจัยจนเห็นผลส�ำเร็จมาแล้ว ๓. ต้องมีประสบการณ์ มีความรู้เพียงอย่างเดียว อาจไม่ประสบความส�ำเร็จ เพราะพื้นที่แต่ละแห่งอาจมี ปัจจัยแตกต่างกัน ประสบการณ์จะช่วยให้ตัดสินใจแก้ไข ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
๔. มีความอดทน การงานอาจไม่สำ� เร็จได้งา่ ย ๆ บางเรื่องมีปัญหาอุปสรรคจ�ำนวนมาก คนท�ำงานบางครั้ง ถูกต่อว่า ถูกต�ำหนิ ทั้งจากชาวบ้านและผู้ที่เกี่ยวข้อง จึงต้องมีความอดทนที่จะท�ำความเข้าใจหรือรอเวลาที่จะ ท�ำให้ปัญหาอุปสรรคคลี่คลาย ๕. มีเวลา หากมีใจ มีความรู้ มีประสบการณ์ และ มีความอดทนแล้ว แต่ไม่มีเวลาที่จะท�ำการต่าง ๆ ก็เปล่า ประโยชน์ จึงต้องมีเวลาที่จะด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง จนกว่าจะประสบความส�ำเร็จ จากการทีม่ คี ณ ุ หมอเป็นหลักในการให้คำ� ปรึกษา ชี้แนะแนวทาง ท�ำให้การด�ำเนินงานเพื่อการพัฒนาการ ท่องเที่ยวในพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เมืองเก่าน่านของ อพท. และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เป็นไป ด้วยความเรียบร้อยเริ่มมีผลส�ำเร็จและได้รับการยอมรับ จากชุมชนในพื้นที่เพิ่มขึ้นเป็นล�ำดับ แม้จะยังมีปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ อยู่มาก แต่ด้วย ค�ำสอนที่ท่านเคยให้ไว้และก�ำลังใจที่มีให้เสมอมา ท�ำให้ นักพัฒนาการท่องเที่ยวรุ่นลูกรุ่นหลานยังคงทุ่มเทมุ่งมั่น ที่จะพัฒนาเมืองน่านให้เป็นแหล่งเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม วิถีชีวิตชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่น แห่งดินแดนล้านนา ตะวันออก ภายใต้วิสัยทัศน์ “น่าน เมืองเก่าที่มีชีวิต” ท�ำให้มรดกทางวัฒนธรรมของบรรพชนชาวน่าน เป็น มรดกน่าน มรดกไทย หรือ มรดกโลก (หากเขาต้องการ จะให้เป็น) ตามที่คุณหมอประสงค์ให้เกิดขึ้นต่อไป
-47-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ปิดทองหลังพระ
-48-
เห็นชอบให้ขยายเวลาถึงปี 2554 และอนุมัติงบประมาณ สนับสนุนปีละ 220 ล้านบาท รวมทัง้ แต่ตงั้ คณะกรรมการ อ�ำนวยการฯ ขึ้นโดยมี ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย องคมนตรี เป็นประธาน ซึง่ คณะกรรมการฯ ได้มมี ติ เมือ่ 29 ก.ค. 2551 เปลี่ยนชื่อเป็น “โครงการปิดทองหลังพระ สืบสานแนว พระราชด�ำริ” และมอบให้ ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล เป็น ประธานบริหารโครงการฯ
เป้าหมายของโครงการ
ปิดทองหลังพระ
“ปิดทองไปข้างหลังพระเรื่อยๆ แล้วทองก็จะ ล้นออกมาที่หน้าพระเอง” พระบรมราโชวาท พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ.2510 งานพระราชทาน เลีย้ งอาหารค�ำ่ นายต�ำรวจและนายทหารเรือ วังไกลกังวล ปิดทองหลังพระ หมายถึง การท�ำงานด้วยน�้ำใจ ให้ให้หวังผลงานเป็นส�ำคัญ แม้จะไม่มใี ครรูใ้ ครเห็น ก็ไม่นา่ วิตก เพราะผลส�ำเร็จนั้นจะเป็นประจักษ์พยานที่มั่นคง โครงการปิดทองหลังพระ หมายถึง Knowledge Management โดยการสังเคราะห์และบูรณาการความรู้ และการจั ด การโครงการตามแนวพระราชด� ำ ริ เพื่ อ ขยายผลสูป่ ระชาชน โดยผ่านรูปแบบทีค่ นทั่วไป สามารถ เข้าถึงและจับต้องได้ เพื่อน�ำ “ความรู้” ไปต่อยอดให้เกิด ประโยชน์แก่ประชาชนมากยิ่งขึ้น โดยน้อมน�ำหลักการ ทรงงาน 23 ข้อ มาเป็นหลักในการด�ำเนินโครงการ โครงการปิดทองหลังพระสืบสานแนวพระราชด�ำริ เดิมใช้ชื่อว่า “โครงการเปิดทองหลังพระ” มีขึ้นเพื่อ เฉลิ ม ฉลองในโอกาสที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา โดยรณรงค์ให้เกิด การท่องเที่ยวโครงการพระราชด�ำริ 19 แห่ง ที่ตั้งอยู่ใน เส้นทางการท่องเทีย่ ว ต่อมา ค.ร.ม.มีมติ เมือ่ 29 พ.ค. 2550
มีจ�ำนวน 1 ล้านกิจกรรมพัฒนาตนเองตามแนว พระราชด�ำริ เพื่อถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ (84 พรรษา) ในปี พ.ศ.2554 มีการปลูกป่า 80 แสนไร่ เพือ่ ถวายสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาส ทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษาในปี พ.ศ. 2555 กลุ่มประชาคมน่านร่วมประชุมปรึกษาหารือ กับหน่วยราชการ และมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2552 ณ ห้องประชุม กศน.จังหวัดน่าน เริ่มจากนายวีรวิทย์ วัฒนวณิช ผู้ว่าราชการจังหวัดน่าน ในขณะนั้น บรรยายสรุปปัญหาส�ำคัญในจังหวัดน่านว่า คนน่านเสียชีวิตประมาณปีละ 4,000 คนจากโรคหัวใจ โรคมะเร็ง ไตวาย ซึ่งมีสาเหตุจากสารเคมีทางการเกษตร ค้างในร่างกาย การใช้ยาฆ่าหญ้าเตรียมปลูกข้าวโพด ป่าไม้ถกู ท�ำลาย จนภูเขาหัวโล้น โดยเฉพาะอ�ำเภอสันติสขุ และบ่อเกลือ เกิดอุทกภัยดินถล่มเป็นประจ�ำปัญหาพืชผล ทางการเกษตรราคาตกต�่ำ คนน่านต้องซื้ออาหารจาก ต่างจังหวัดรวมทั้งเรื่องหนี้สินและที่ดิน ม.ร.ว.ดิ ศ นั ด ดา ดิ ศ กุ ล กล่ า วถึ ง ความเป็ น มาของโครงการปิ ด ทองหลั ง พระ สื บ สานแนวพระ ราชด�ำริ ว่ามีวัตถุประสงค์ เพื่อขยายผลโครงการและ แนวพระราชด�ำริสู่ชุมชนอย่างกว้างขวาง โดยยึดหลัก การทรงงานของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เป็ น แนวทางหลัก โดยมีเป้าหมายน้อมเกล้าฯ ถวายในโอกาส เฉลิมพระชนมพรรษาครบ 84 พรรษา พุทธศักราช 2554 ที่ผ่านมา ราชการ ท้องที่ ท้องถิ่น จังหวัดน่านน�ำโดย ผู้ว่าราชการจังหวัด นายสมศักดิ์ สุวรรณสุจริต ได้ไป ศึกษาดูงานจากโครงการพัฒนาดอยตุง จ.เชียงราย เพื่อ น�ำมาปรับใช้อย่างเหมาะสมกับภูมสิ งั คมจังหวัดน่าน ท�ำให้ ประชาชนอยู่ดีมีสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยไม่ต้องตัดไม้ ท�ำลายป่า
-49-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
เมื่ อ อาจารย์ น ายแพทย์ บุ ญ ยงค์ ไ ด้ เ ห็ น ภาพ ข้างบนนี้ เป็นภาพภาพหนึง่ ทีค่ ณะท�ำงานโครงการพัฒนา ดอยตุงน�ำเสนอซึ่งท่านเล่าว่า ประทับใจและตรงใจมาก ท่านได้แลกเปลี่ยนกับที่ประชุมว่า ผู้ที่มาประชุมในวันนี้ ควรท�ำความเข้าใจให้ตรงกันว่า จุดมุ่งหมายสูงสุดของ โครงการนี้ คือการท�ำสิง่ ทีม่ ปี ระโยชน์ทสี่ ดุ ต่อประชาชน เพื่อถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อให้ทรง ชื่ น พระหฤทั ย สั ก ครั้ ง หนึ่ ง ปั ญ หาความยากจนของ ประชาชนมี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ ประชาธิ ป ไตย เพราะ ประชาธิปไตยในเมืองไทยอยู่ที่สภาฯ และการเลือกตั้ง การที่ประชาชนยากจนท�ำให้ไม่มีอิสรภาพและเสรีภาพ ในการคิดและเลือกคนทีม่ คี ณ ุ ภาพ ไม่มอี สิ รภาพ เสรีภาพ ในการรักษาสิทธิของตนเอง จึงเลือกคนที่มีคุณภาพน้อย คุณธรรมต�่ำ เขาจึงเป็นประชาธิปไตยไม่ได้ 45 ปีที่ผ่านมา จังหวัดน่านเป็นพื้นที่น�ำร่องของหลายโครงการ แต่ก็ยังไม่เกิดผลอะไรในพื้นที่ การเข้ามาของโครงการ ปิดทองหลังพระฯ ซึง่ มีประสบการณ์ มีความรู้ และมีเวลา จึงเป็นความหวังว่าจะเห็นประชาชนน่านมีคุณภาพชีวิต ทีด่ ขี นึ้ แต่ยงั ขาดการประสานงานกับกระทรวงสาธารณสุข ซึ่ ง การพั ฒ นาคนต้ อ งเริ่ ม จากสุ ข ภาพและการศึ ก ษา มีอาชีพให้เลี้ยงตัวและอยู่รอดปลอดภัย
-50-
องคมนตรีพลากร สุวรรณรัฐ กล่าวว่า ในอดีต ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จเยี่ยมประชาชน ในพื้ น ที่ ทุ ร กั น ดาร จะมี ผู ้ ที่ ต ามเสด็ จ และคอยรั บ ใช้ ถวายงานติดตามไปด้วยทุกครั้ง ท่านเหล่านั้นได้ประมวล แนวความคิดของพระองค์ท่านในการทรงงานไว้ใน 63 ปี ที่ผ่านมาและถ่ายทอดให้เราได้ทราบ ซึ่งในปัจจุบันคงหา โอกาสได้ยากที่จะได้เข้าเฝ้าถวายงานอย่างใกล้ชิด ดังนั้น ขอให้ทุกท่านศึกษาหลักการทรงงานของท่าน และศึกษา วิธีคิดของพระองค์ที่ทรงช่วยเหลือประชาชน ก็จะท�ำให้ เกิดความรู้สึกว่า ได้ถวายงานให้พระองค์ ท่านองคมนตรีกำ� ธน สินธวานนท์ ได้ให้ขอ้ คิดว่า โครงการปิดทองหลังพระฯ เข้ามาด�ำเนินการในจังหวัด น่าน มีบทบาทเป็นผู้ประสานกับภาคีพัฒนาที่เกี่ยวข้อง ในการพัฒนาพื้นที่น�ำร่อง ซึ่งความตั้งใจในการท�ำงาน ที่เป็นประโยชน์ต่อพื้นที่ ลักษณะนี้เรียกว่า “ฉันทะ” โดยหวังผลในทางที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม ป่าและน�้ำ เป็นทรัพยากรธรรมชาติทตี่ อ้ งใช้อย่างระมัดระวัง รวมถึง ทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อส่งต่อถึงลูกหลานในอนาคตได้ใช้ เรื่องอาหารของจังหวัดน่าน ที่มีมูลค่าน�ำเข้าสูง ควรส่งเสริมให้ปลูกผัก และเลี้ยงสัตว์ เพื่อเป็นอาหาร ของคนในจังหวัด รวมถึงการตัง้ โรงอาหารสัตว์ เพือ่ รับซือ้ ข้าวโพดไปท�ำอาหารสัตว์ ไม่ตอ้ งส่งออกไปนอกพืน้ ที่ เพือ่ ลดค่าขนส่ง ซึง่ เป็นทีท่ ำ� ให้ตน้ ทุนสูง ลดการน�ำเข้า การลด
ปัญหาสารเคมี ควรสนับสนุนให้ใช้ปุ๋ยคอก การปรึกษา หารือต้องมีทิศทางและข้อสรุป เมื่อได้ข้อยุติถึงเวลาแล้ว ก็ต้องลงมือท�ำ ไม่ต้องรีรอให้สมบูรณ์ 100%
-51-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2552 เป็นเวลาเกือบ เดือนหลังจากพบปะกันในการประชุม 24 มิถนุ ายน 2552 หม่อมราชวงศ์ดิศนัดดา ดิศกุล ประธานคณะกรรมการ บริหารโครงการปิดทองหลังพระฯ (มติคณะรัฐมนตรี เมื่ อ 24 พฤศจิ ก ายน 2552 เห็ น ชอบให้ เ ป็ น มู ล นิ ธิ ปิดทองหลังพระสืบสานแนวพระราชด�ำริ) ได้แต่งตั้ง อาจารย์นายแพทย์บุญยงค์ เป็นประธานบริหารโครงการ ปิดทองหลังพระฯ จังหวัดน่าน ซึ่งก่อนหน้านี้ คุณชาย ท่านได้มาขอให้อาจารย์นายแพทย์บุญยงค์ รับหน้าที่นี้ ด้ ว ยตนเอง ณ ศู น ย์ ป ระสานงานประชาคม จ.น่ า น โรงพยาบาลน่ า น และแต่ ง ตั้ ง คณะท� ำ งานโครงการฯ ภาคประชาสังคม โดยมีอาจารย์นายแพทย์บุญยงค์เป็น ประธานคณะท�ำงาน นับแต่วันนั้นเป็นต้นมา อาจารย์ นายแพทย์บญ ุ ยงค์ ก็ได้ทำ� หน้าทีน่ ชี้ ว่ ยบริหารโครงการฯ ในพื้นที่ต้นแบบ 3 อ�ำเภอ 21 หมู่บ้านจนประชาชน ในพื้นที่ต้นแบบ มีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น ด้วยความเชือ่ และศรัทธาในศาสตร์ของพระราชา ว่าสามารถแปรสู่การปฏิบัติ สร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน แก้ไขปัญหาและความต้องการของประชาชนน่านได้จริง อาจารย์ น ายแพทย์ บุ ญ ยงค์ ท่ า นได้ อ อกแบบคณะ ท�ำงานที่มาจากภาคราชการ และประชาคม ในนาม แกนน�ำปฏิบตั กิ ารโครงการปิดทองหลังพระฯ จังหวัดน่าน แต่งตั้งโดยผู้ว่าราชการ (นายเสนีย์ จิตตเกษม) เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2553 ท�ำหน้าที่เชื่อม สนับสนุนการท�ำงาน ทั้งในพื้นที่โครงการต้นแบบ 3 อ�ำเภอและพื้นที่ขยายผล ของ ของราชการ (จังหวัดน่าน) 15 อ�ำเภอ เพื่อบรรลุ
เป้าหมายในการแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคุณภาพ ชีวิต และอนุรักษ์ป่าและน�้ำอย่างยั่งยืน เมื่ออาจารย์นายแพทย์บุญยงค์ เห็นว่า กิจกรรม ของโครงการปิดทองหลังพระฯ ในจังหวัดน่านสามารถ พัฒนาพื้นที่ต้นแบบและพื้นที่ขยายผลได้ผลส�ำเร็จตาม วัตถุประสงค์อยูใ่ นระดับทีน่ า่ พอใจ แต่ดว้ ยปัญหาสุขภาพ ของท่านอาจารย์นายแพทย์บุญยงค์ และคณะท�ำงาน ส่วนใหญ่มีภารกิจงานประจ�ำและค่อนข้างรัดตัว ท่านจึง ขอยุติบทบาทตัวท่านและคณะท�ำงานฯ ภาคประชาคม ลงเมื่ อ 1 มกราคม 2555 แต่ ท างสถาบั น ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นากิ จ กรรมปิ ด ทองหลั ง พระสื บ สานแนว พระราชด�ำริ ได้แต่งตั้งให้เป็นที่ปรึกษาของสถาบันต่อ
-52-
ผลการประเมินจากนัก วิชาการมหาวิท ยาลั ย มหิดลและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (รายงานประจ�ำ ปี 2555) ชาวบ้านในพื้นที่โครงการปิดทองหลังพระ ฯ สามารถเพิ่ ม รายได้ ลดรายจ่ า ย ช� ำ ระหนี้ สิ น มี เ งิ น ออมเพิ่มขึ้น และรวมตัวกันบริหารจัดการกองทุนด้วย ตนเองอย่างเข้มแข็ง มั่นคง จนขยายผลสู่ระบบราชการ 4 หน่วยงานหลัก ได้แก่ ส�ำนักปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม น�ำปรัชญา และวิธีการของปิดทองหลังพระฯ บรรจุเป็นแผนบริหาร ราชการแผ่นดิน ปี 2555-2558 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2554 ภายใต้ชื่อแผนพัฒนาชนบท เชิงพื้นที่ประยุกต์ตามแนวพระราชด�ำริ นับเป็นปีเริม่ ต้นของการการขับเคลือ่ นการพัฒนา ตามแนวพระราชด�ำริ โดยภาคราชการ ที่มีแผนบริหาร ราชการแผ่นดินรองรับหน่วยราชการ เริ่มจัดท�ำแผนงาน และแผนงบประมาณภายใต้โครงการดังกล่าว ด้วยจังหวัด น่านเป็นพื้นที่ต้นแบบ จึงเป็นพื้นที่ศึกษาดูงานของหลาย จังหวัด ท�ำให้ทางสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรม ปิดทองหลังพระฯ มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนว พระราชด�ำริ แต่งตั้งอาจารย์นายแพทย์บุญยงค์ เป็นที่ ปรึกษาสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชด�ำริ เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2555 ในต�ำแหน่งใหม่นี้ อาจารย์ท�ำหน้าที่บรรยายสร้างแรง บันดาลใจให้กับพื้นที่ขยายผลที่มาดูงาน ในการบรรยาย แต่ ล ะหลั ก สู ต รนั้ น อาจารย์ จ ะปรั บ เนื้ อ หา รู ป ภาพ
รายละเอียดต่างๆอย่างใส่ใจอยูเ่ สมอแม้จะเป็นเรือ่ งเดิม ๆ ก็ตาม ท�ำให้การบรรยายในแต่ละครั้งสะกดคนให้คิด และคล้อยตามโดยเฉพาะภาพพิมพ์ใจของท่าน เป็นภาพ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ทรงงานตามทีต่ า่ ง ๆ และ มักจะเป็นภาพที่ในหลวง ประทับนั่งกับพื้นดิน ใกล้ชิดกับ ราษฎรโดยไม่ถือพระองค์ แล้วท่านจะกล่าวในตอนท้าย ของการบรรยายว่า เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระธิดาเสด็จกลับแล้ว คนที่จะมานั่งแทน ท�ำหน้าที่ ต่อจากพระองค์ท่านและพระธิดา คือคนทุกคนที่มีหน้าที่ เกี่ยวข้องที่อาศัยอยู่บนแผ่นดินสยามแห่งนี้ไม่ว่าราชการ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น นั ก พั ฒ นาเอกชนและ นักธุรกิจทั้งหลายที่ท�ำมาหากินในประเทศนี้ องคมนตรี ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย ประธานมูลนิธิ ปิดทองหลังพระฯ กล่าวว่าแนวทางการพัฒนาของปิด ทองหลังพระฯ สามารถแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชนได้จริง โดยเริ่มที่จุดเล็ก ๆ แล้วค่อย ๆ ขยายให้กว้างขึ้น นี่คือ ผลส� ำ เร็ จ จากการสร้ า งต้ น แบบการพั ฒ นาตามแนว พระราชด� ำ ริ ไ ด้ ป ระจั ก ษ์ เพื่ อ น� ำ ความอยู ่ ดี มี สุ ข มาสู ่ ประชาชน และเป็นการสืบสานแนวพระราชด�ำริตามเบือ้ ง พระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ และพระบรมวงศานุวงศ์ ทุกพระองค์ที่ทรงอุตสาหะ ทรงงานเพื่อประโยชน์สุขของ ชาวไทยมาเป็นเวลานาน เมือ่ สิงหาคม 2555 ตัวแทนจากมูลนิธแิ ม่ฟา้ หลวงฯ และมู ล นิ ธิ ป ิ ด ทองหลั ง พระฯ ได้ ม าปรึ ก ษาหารื อ กั บ อาจารย์นายแพทย์บญุ ยงค์ ร่วมกับศูนย์ประสานงาน
-53-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ประชาคม จ.น่าน ส�ำนักกิจการพิเศษ โรงพยาบาลน่าน เพื่อขยายผลโครงการไปยังกลุ่มประชาคมผู้ดูแลป่าไม้ ที่มีผล งานในการดูแลป่าชุมชนเป็นการตอบแทนในความดีที่กลุ่มป่าชุมชนได้อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ 7 อ�ำเภอต้นน�ำ้ โดยไม่ซำ�้ กับพืน้ ทีต่ น้ แบบ และพืน้ ทีข่ ยายผลของจังหวัดน่าน เป็นรูปแบบที่ 3 และเป็นรูปแบบทีท่ า่ นอาจารย์ นายแพทย์บญ ุ ยงค์ ได้รว่ มคิด ร่วมท�ำอย่างใกล้ชดิ ส่งผลให้หมูบ่ า้ นเครือข่ายป่าชุมชน จังหวัดมีความหวังกับโครงการนีม้ าก ดังประโยคทองเหล่านี้ “ถ้าหมดทีมนี้แล้ว ผมคิดว่าคงไม่มีใครแล้วที่จะมาช่วยชาวบ้าน” (ผู้ใหญ่บ้านซาววา นายช�ำนาญ) “ผมประทับใจโครงการนี้มากเพราะมีความจริงใจ” (ผู้เฒ่าวัย 80 บ้านสลี) “รอมา 15 ปี พอทีมนี้มาท�ำระบบน�้ำให้แค่ 2 อาทิตย์เหมือนเทวาดามาโปรด” (แกนน�ำบ้านตึ๊ด) “เคยติดนิสัยว่าเขาจะเอาเงินมาให้ แต่ทีมนี้เอาความรู้และวัสดุอุปกรณ์มาให้ ก็ต้องท�ำ ถ้าไม่ท�ำก็ไม่ได้กิน ข้าว ก็แล้งอย่างนั้นไม่มีน�้ำมาใส่นา ถ้าได้น�้ำจะได้ปลูกพืชหลังนาด้วย” (นายฝาย บ้านป่าเลา) “ฟังแล้วเข้าใจแนวทางของโครงการนี้ อยากได้เพราะรอมาตลอดชีวิต” (สอ.บต.หญิงบ้านกิ่วม่วง) “ตัง้ แต่อา่ นภาษาไทยได้เพิง่ มีโครงการนีท้ ใี่ ห้โอกาสประชาชนมีสว่ นร่วมอย่างแท้จริงรับรูต้ งั้ แต่ตน้ โครงการ อื่นสร้างเสร็จแล้วมารู้ทีหลัง และทิ้งไปเลย ไม่ต่อเนื่อง” (เกษตรกรบ้านไฮหลวง) “ดีใจ ฟ้ามาโปรดพวกเรา” (เกษตรกรลุ่มน�้ำหุย) นี่เป็นความรู้สึกบางส่วนจากพี่น้องประชาชนในพื้นที่ขยายผลโครงการของภาคประชาสังคมได้สะท้อนกับทีม งานของอาจารย์นายแพทย์บุญยงค์ ที่มี่ท่านเป็นหัวเรือใหญ่น�ำพาให้อาสาสมัครประชาคมน่านได้ท�ำหน้าที่ของตนเอง รับใช้ประชาชนอย่างสมศักดิ์ศรีของข้าราชการและของมนุษย์ได้อย่างสมบูรณ์ อาจารย์เคยเปรย ๆ ว่าจะเกษียณตัวเองจากงานต่างเมื่ออายุ ๗๒ ปี แต่มาจนวันนี้จะครบ ๘๐ ปี อาจารย์ยัง คงท�ำงาน เพื่อคนเมืองน่าน เพื่อรับใช้แผ่นดิน อย่างไม่มีวันหยุด ภาพของชาวบ้าน ผู้เฒ่าผู้แก่ ที่ได้มีโอกาสพบอาจารย์ นายแพทย์บุญยงค์ ตามเวทีชุมชนต่าง ๆ ต่างดีอกดีใจขอจับไม้จับมือ และแซวกันเล่น ๆ ตามประสาว่า
-54-
“..โอ ยังแข็งแรงดีน้อ...” หลายคนก็ถือโอกาสให้พร มัดมือสูข่ วัญก็มี พวกเราถามผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ ชาวบ้านหลายคน หลายคราว่ารู้สึกอย่างไรกับอาจารย์หมอ ทุกเสียงที่ตอบ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เหมือนกับพ่ออุ้ยบ้านฮวกคน หนึ่งที่พูดในคราที่อาจารย์ดั้นด้นเดินทางไปดูเหมืองฝาย ของชาวบ้านฮวกว่า “...เปิ้นตึ้งดีแต้ล่ะ ท�ำงานเพื่อบ้าน เพื่อเมืองแต้ บ่อล่ะอะทิ้ง คนเมืองน่านโจคดีได้เปิ้นมาดู แลจ่วยเหลือ...” พร้อมกับปั๋นปอน (ให้พร) ให้อาจารย์ มีอายุมั่นขวัญยืน ภาพอย่างนี้พวกเราเห็นจนชินตา มิใช่ เรื่องเสแสร้ง แต่เป็นความรู้สึกจากก้นบึ้งของหัวใจของ ชาวบ้ า นที่ รั ก และเคารพอาจารย์ น ายแพทย์ บุ ญ ยงค์ จนยากที่จะอธิบายด้วยค�ำพูดใดใด พระครูพิทักษ์นันทคุณ ที่ปรึกษามูลนิธิฮักเมืองน่าน “....ถึงแม้ท่านจะอายุมากแล้วแต่ก็ยังมุ่งมั่นที่ จะท�ำงานจะช่วยทุกกลุ่มทุกด้าน ด้านวัดวาอาราม ด้าน พระพุทธศาสนา ด้านขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมประเพณี ท่านก็จะไปร่วมทุกครั้งทุกที่ที่สามารถไปได้ ด้านสุขภาพ สภาผู้สูงอายุ ก็ได้รับการสนับสนุนจากท่านมาโดยตลอด โดยอาศัยวันคล้ายวันเกิดจัดกิจกรรมจัดผ้าป่าสามัคคีเพือ่ หาทุนช่วยเหลือกิจกรรมของผู้สูงอายุ นอกจากนั้นก็กลุ่ม อสม. กลุ่มเครือข่ายต่างๆ ก็ได้อาศัยท่าน เป็นที่ปรึกษา ให้ค�ำแนะน�ำ โดยเฉพาะมูลนิธิปิดทองหลังพระ หรือ โครงการปิดทองหลังพระฯ ทีเ่ ข้ามาจังหวัดน่าน ก็ได้รบั ค�ำ
แนะน�ำได้รับการสนับสนุนจากท่านเป็นแกนหลักเป็น แกนน�ำ ถึงแม้ท่านจะไม่ได้ไปลุยไม่ได้ลงไปท�ำเต็มที่ แต่ก็ ไปให้กำ� ลังใจ ให้คำ� แนะน�ำ ชีแ้ นะ ติดตามก�ำกับประเมินผล มาตลอด เครือข่ายต่าง ๆ องค์กรต่าง ๆ ที่ท�ำกิจกรรมที่ เป็นประโยชน์ด้านสาธารณะ ท่านก็จะเข้าไปสนับสนุน ช่วยเหลือมาตลอด อันนี้ก็เป็นสิ่งที่น�ำมาของการเคารพ เชื่อถือ นับถือ เชื่อมั่นในตัวท่าน เพราะว่าท่านเป็นคน เสมอต้นเสมอปลาย เป็นปูชนียบุคคลที่มหาชนทั่วไป ให้การเคารพนับถือ ถือว่าเป็นความโชคดีของคนเมืองน่าน ทีไ่ ด้บคุ ลากรในลักษณะนี้ ทีผ่ า่ นมาก็ได้ทำ� ตนเป็นตัวอย่าง ให้บุคคลอื่น ๆ ที่ต้องควรเอาท่านเป็นต้นแบบของการ ด�ำเนินชีวติ โดยเฉพาะข้าราชการทีเ่ กษียณราชการ แทนที่ จะอยูเ่ ฉย ๆ หรือไปท�ำนอกลูน่ อกทาง ก็ให้เอาท่านเป็นต้น แบบเป็นตัวอย่าง .....”
-55-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
พ่อหมอบุญยงค์ วงศ์รักษ์มิตร เบื้องหลังความส�ำเร็จ “เมืองเก่าน่าน” อาจารย์สมเจตน์ วิมลเกษม
ผู้เชี่ยวชาญด้านศิลปวัฒนธรรม อพท.น่าน เมื่ อ จั ง หวั ด น่ า นมี ก ารรวมกลุ ่ ม กั น ของภาค ประชาชน ที่มีความเข้มแข็ง เป็นเวทีที่คนน่านสามารถ น�ำความคิดเห็นมาแลกเปลีย่ น เรียนรู้ ร่วมกันเพือ่ ป้องกัน และแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นของสังคมเมืองน่าน เวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้นั้นพวกเราเรียกว่า “ประชาคมน่าน” เริ่ ม ต้ น จากการรณรงค์ ใ ห้ มี ก ารจั ด ตั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๗ สมัยที่นายประวิทย์ สีหโสภณ ได้ด�ำรง ต�ำแหน่งเป็นผูว้ า่ ราชการจังหวัดน่าน ได้มปี ระกาศจังหวัด น่าน แต่งตั้งคณะท�ำงานเพื่อการนี้ โดยมีพ่อหมอบุญยงค์ วงศ์รักมิตร เป็นประธานคณะท�ำงาน การท�ำงานและ บริหารงานนั้น เป็นการระดมพลังสมองจากทุกภาคส่วน ที่เกี่ยวข้องมารวมกันจากการรวมตัวครั้งนั้นก่อให้เกิด พลังแห่งการขับเคลือ่ นในทางสร้างสรรค์ของทุกภาคส่วน ทัง้ ภาครัฐ เอกชน ประชาชน พระสงฆ์ และองค์กรต่าง ๆ ท�ำให้เกิด “การมีส่วนร่วม” อย่างแท้จริง และค�ำสอน ที่พ่อหมอบุญยงค์ วงศ์รักมิตร ให้ไว้แก่คณะท�ำงานและ ผูเ้ ขียนโดยส่วนตัวได้ยดึ เป็นสรณะในการปฏิบตั งิ านตราบ ทุกวันนี้คือ “ต้องมีเมตตา และไม่โลภ” จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ประชาคมน่าน จึงเกิดขึ้น อย่างเป็นทางการ โดยมีนายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร เป็นหัวหน้าคณะท�ำงาน และมีนายแพทย์คณิต ตันติศริ วิ ทิ ย์ เป็นรองหัวหน้าคณะท�ำงาน คุณนิคม ดีพอ เภสัชกร เป็นเลขานุการ โดยใช้ห้องประชุม ๓ โรงพยาบาลน่าน เป็นศูนย์ประสานงาน ต่อมานายแพทย์ชาตรี เจริญศิริ ได้เข้ามาปฏิบัติหน้าที่เป็นเลขานุการ จากการที่มีเวที ประชาคมน่าน ซึ่งหน่วยอนุรักษ์ฯ เป็นภาคีเครือข่าย หนึ่งที่น�ำเสนอในด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ของจังหวัดน่าน ในที่ประชุมของประชาคมน่าน จึงท�ำให้ เกิดเครือข่ายและความเข้าใจเรื่องสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม ขยายผลไปสูป่ ระชาชนชาวจังหวัดน่าน ได้อย่างแพร่หลาย กว้างขวาง มีสว่ นร่วมในการจัดเวทีรบั ฟังความคิดเห็นของ ประชาชนชาวน่านเช่นเรื่อง “น่านเมืองศิลปวัฒนธรรม น�ำสู่มรดกโลก” การจัดเวทีสาธารณะเรื่อง “แผนที่ ชุมชนเมืองเก่าน่าน” และการรับฟังความคิดเห็นของ
ผู้มีส่วนได้เสียในการประกาศขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าน่าน ถึง ๓ ครั้ง ก่อนที่จะได้รับการประกาศโดยคณะรัฐมนตรี ให้เป็นเมืองเก่าน่าน อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๔๘ ผลจากการด�ำเนินงานอย่างต่อเนือ่ งตามแผนงาน โครงการของหน่วยอนุรักษ์ฯ ในการจัดประชุมสร้างเครือ ข่ายสร้างความตระหนักรู้ให้กับชุมชน และทุกภาคส่วนที่ เกี่ยวข้อง จึงท�ำให้หน่วยรักษ์ฯเกิดกัลยาณมิตร เกิดการ มีส่วนร่วมอย่างกว้างขวาง และเกิดการเรียนรู้และเข้าใจ ค�ำว่า “เตรียมคน” เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนา อย่างมีจุดมุ่ง หมายเพื่อการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่า ของจังหวัดน่านให้ยั่งยืนต่อไปให้ได้นั้น ถือว่ามีความ ส�ำคัญยิ่ง เพราะท�ำให้เราได้เรียนรู้วิธีที่จะปฏิบัติงาน ควร จะเริ่มต้นจากไหน ใครหรือหน่วยงานใดจะเป็นผู้ปฏิบัติ และจะมีวิธีบริหารจัดการอย่างไร ให้แผนงานโครงการ ต่าง ๆ ที่ก�ำหนดไว้บรรลุผลส�ำเร็จ แนวคิดเยี่ยงนี้ ได้มา จากการเรียนรู้และรับฟังความคิดเห็นในเวทีประชาคม น่าน โดยพ่อหมอบุญยงค์ วงศ์รักมิตร จะกรุณาให้ข้อคิด และแนวทางในการปฏิบัติให้ผู้เขียนเสมอมาและเป็นเสา หลักทางปัญญาให้กับการด�ำเนินงานเมืองเก่าน่านจนถึง ปัจจุบันนี้
-56-
หน่วยอนุรกั ษ์ฯ ได้กำ� หนดแนวทางในการด�ำเนิน งานไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ คือ “ต้องมีส่วนร่วมของทุก ภาคส่วนในจังหวัดน่าน” โดยใช้กระบวนการ “ร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมรับผลประโยชน์และรับผิดชอบ” เริ่มจาก การจัดประชุมสัมมนาทางวิชาการให้แก่กลุ่มเป้าหมาย คือพระสังฆาธิการ ผู้น�ำชุมชน นักเรียน นักศึกษาและ ประชาชนทั่วไป ให้มีความตระหนักรู้ต่อคุณค่าของแหล่ง ศิลปกรรม และความรู้ด้านวิชาการต่าง ๆ ที่จ�ำเป็นต่อ การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมของจังหวัด น่าน อันน�ำไปสูข่ บวนการ ขัน้ ตอน การด�ำเนินงาน “เมือง เก่าน่าน” อย่างเป็นระบบและเป็นรูปธรรมน�ำไปสู่ความ ส�ำเร็จ หรือบรรลุตามแผนงานโครงการทีก่ ำ� หนดไว้ในทีส่ ดุ ดังพี่น้องชาวน่านได้เห็นเป็นประจักษ์ และได้รับอานิสงค์ จากการทีไ่ ด้รบั ยกย่องให้เป็นเมืองเก่าน่านในปัจจุบนั คือ
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน (อพท.) ได้ก�ำหนดให้จังหวัดน่านเป็นพื้นที่ พิเศษ เพื่อเข้ามาบริหารจัดการเมืองเก่าน่านให้เป็นไป ตามผังและแผนแม่บทที่ชาวน่านก�ำหนดไว้ โดยใช้ระยะ เวลา ๕ ปี เริม่ ปีงบประมาณ ๒๕๒๗ – ๒๕๖๑ รวมทัง้ สิน้ ๗๓ โครงการ รวมงบประมาณ ๒,๔๐๔,๒๗๗,๔๕๐ บาท (สองพันสีร่ อ้ ยสีล่ า้ นสองแสนเจ็ดหมืน่ เจ็ดพันสีร่ อ้ ยห้าสิบ บาท) อีกหนึ่งผลงานของพ่อหมอบุญยงค์ วงศ์รักมิตร ที่ให้แนวคิดและให้ค�ำปรึกษาและให้ก�ำลังใจคณะท�ำงาน ของพวกเราตลอดมา บทพิสูจน์ความส�ำเร็จจากการมี ส่วนร่วมของพี่น้องชาวน่าน จึงท�ำให้เกิดต้นทุนเพื่อการ ท่องเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนที่ครอบคลุมถึง มิติทั้งสามด้านคือด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม คือ “น่านเมืองเก่าที่มีชีวิตเมืองเศรษฐกิจสร้างสรรค์”
-57-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
-58-
เรื่องเล่าผ่านความทรงจ�ำ แด่...อาจารย์บุญยงค์
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร หมอใหญ่ในความทรงจ�ำของข้าพเจ้า มุทิตา เจริญอายุวัฒนมงคล ครบ 80 ปี นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร หมอผู้สร้างโลก สร้างสังคม ให้สงบ สันติสุข สันติภาพ ผู้มีเมตตา และมี ขันติบารมี เนือ่ งจาก วันที่ 10 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2556 นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร จะเจริญอายุวัฒนมงคล ครบ 80 ปี บรรดาลูกศิษย์ลกู หา คนทีม่ คี วามเคารพนับถือ ต่างทีเ่ ตรียมพร้อมในการทีจ่ ะร่วมใจกันจัดกิจกรรม จัดพิธี เฉลิม ฉลองอายุวัฒนมงคลให้กับท่าน เพื่อเป็นการเสริม ขวัญและก�ำลังใจ ให้กบั ท่านเพือ่ จะได้เจริญอายุให้ยนื ยาว ตลอดไป อาตมาภาพรู้จัก นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร มาไม่น้อยกว่า 30 ปี อาตมาประทับใจในความรับผิด ชอบ ความมีน�้ำใจของท่าน สมัยที่อาตมาด�ำรงต�ำแหน่ง รักษาการเจ้าอาวาส วัดอรัญญาวาส ในปีพุทธศักราช 2525 ขณะนั้น นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ท่านด�ำรง ต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลน่าน มีเรื่องที่ท�ำให้ จดจ�ำเกิดขึน้ ขณะทีโ่ ยมพ่ออาตมา ก�ำลังเกีย่ วข้าวอยูใ่ นไร่ โดนลูกหลง ที่ชาวบ้านเขาไปล่าสัตว์ป่า ไปดักยิงกระรอก กระแตทีล่ งจากต้นไม้มากินข้าวริมป่า โยมพ่อร้องขอความ ช่วยเหลือจากชาวบ้านทีท่ ำ� ไร่อยูใ่ กล้กนั ก็ได้รบั ความช่วย เหลือจากชาวบ้านช่วยพยุงร่างอันโชกเลือดของโยมพ่อมา สู่ถนนใหญ่ เป็นระยะทางร่วม 2 กิโลเมตร รออยู่ข้างถนน ประมาณ 20 นาที พอดีมีรถยนต์คันหนึ่งวิ่งมาจากอ�ำเภอ สันติสุข ก�ำลังจะเข้าในเมืองผ่านมาพอดี จึงโบกรถ ขอ โดยสารเพื่อน�ำคนป่วยส่งโรงพยาบาลน่าน พอมาถึงโรงพยาบาลน่าน ญาติกม็ าแจ้งให้อาตมา ทราบ อาตมาก็รีบไปที่โรงพยาบาลน่านทันที พอไปถึง พบโยมพ่อยังนอนอยู่บนเปล คนไข้ทุรนทุรายด้วยความ เจ็บปวด เห็นเลือดอาบเต็มหน้าท้อง อาตมารีบไปถาม พยาบาลคนหนึง่ “ท�ำไมไม่รบี ช่วยเหลือโยมพ่ออาตมา” ได้รับค�ำตอบจากพยาบาลท่านนั้นว่า “ช่วยไม่ได้เพราะ คนไข้เป็นคนอยู่นอกเขตรับผิดชอบ ต้องน�ำกลับไปที่ โรงพยาบาลอ�ำเภอสันติสุข เพราะเป็นคนอ�ำเภอสันติสุข เขาแบ่งเขตรับผิดชอบกันแล้ว” อาตมาไม่รวู้ า่ จะท�ำอย่างไร เพราะเวลาก็เย็นมากแล้ว รถโดยสารประจ�ำทางสายน่าน สันติสขุ ก็กลับหมดแล้ว กว่าจะหารถเพือ่ ว่าจ้างน�ำคนป่วย กลับก็คงเสียเวลามาก อาการโยมพ่อก็หนักมาก อาตมา รสู้ กึ ใจไม่ดกี ไ็ ปปรึกษาพนักงานโรงพยาบาลคนหนึง่
ที่เข้าเวรอยู่หน้าตึก ก็ได้รับค�ำแนะน�ำว่า ท่านลองขึ้นไป พบหมอใหญ่ดู (หมายถึงผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลน่าน) อาจจะได้รับความช่วยเหลือก็ได้ อาตมาก็รีบขึ้นไปพบ หมอใหญ่ตามค�ำแนะน�ำ พอดีหมอใหญ่ท่านยังนั่งท�ำงาน อยู่ในห้อง จึงขอเข้าพบ เล่าเรื่องโยมพ่อให้ฟัง พอหมอ ใหญ่ทราบเรื่อง ท่านก็รีบลงมาจากที่ท�ำงาน มาเยี่ยม อาการของโยมพ่ออาตมาทันที พอมาเห็นอาการของคนไข้ ท่านก็รบี สัง่ ให้พนักงาน น�ำรถเข็นมายกเอาโยมพ่อเข้าห้อง ผ่าตัดทันที พร้อมกับเรียกหมอ พยาบาลมาช่วย อาตมาก็ เดินตามไปส่งโยมพ่อถึงหน้าห้องผ่าตัด อาตมาได้ยินหมอ ใหญ่ตอ่ ว่าเจ้าหน้าทีพ่ ยาบาลว่า “คนจะตายอยูแ่ ล้วท�ำไม ไม่รีบช่วยเหลือ รีบช่วยเหลือไปก่อน ผิดถูกค่อยว่ากัน ทีหลัง” อาตมาเห็นทั้งหมอ พยาบาลวิ่งกุลีกุจอ เข้าห้อง ผ่าตัด อาตมาก็โล่งใจไปเปลาะหนึ่ง
-60-
จากนัน้ อาตมาก็นงั่ รอจนกว่าหมอจะท�ำการผ่าตัด โยมพ่อเสร็จ ใช้เวลาเกือบ 3 ชั่วโมง พนักงานเข็นรถออก มา โยมพ่อยังนอนอยูบ่ นรถเข็น พยาบาลถือถุงลูกปืนออก มาให้ดู ปรากฏว่า มีอยู่ 3 เม็ด ดีที่เป็นลูกปลาย พยาบาล บอกว่า ลูกปืนเข้าตรงหน้าท้อง กระสุนฝังใน ดีที่ไม่ตัด ล�ำไส้ใหญ่ แต่มีเลือดตกใน หมอได้สูบออกให้หมดแล้ว ตอนนี้คนไข้ปลอดภัยแล้ว จากนั้นก็ส่งโยมพ่อเข้าห้อง พักฟืน้ ซึง่ เป็นตึกคนไข้รวม อาตมาก็เทีย่ วไปเยีย่ มโยมพ่อ ทุกวัน ก็จะเห็นหมอใหญ่ลงมาเยี่ยมไข้ติดตามอาการของ โยมพ่อทุกวัน เช่นกัน โยมพ่อนอนพักรักษาตัวอยู่ที่โรง พยาบาลน่านเป็นเวลา 1 อาทิตย์ ก็ได้รับอนุญาตให้กลับ เพื่อไปรักษาตัวที่บ้านจนหายเป็นปกติ จึงท�ำให้อาตมามี ความประทับใจหมอใหญ่ท่านนี้ จนมาถึงปัจจุบัน
เจ้าหน้าทีม่ ลู นิธแิ บ่งมาสนับสนุนกิจกรรมทัง้ ทีเ่ ป็นของวัด และมูลนิธิฮักเมืองน่านมาโดยตลอด ติดต่อกันมาอย่าง ยาวนาน ณ วั น นี้ หมอใหญ่ ท ่ า นก็ ยั ง ท� ำ งานใช้ ส มอง ใช้ความคิด ท�ำงานรับใช้สังคม เป็นร่มโพธิ์ ร่มไทรให้กับ บรรดาลูก ๆ หลาน ๆ เหลน ๆ ที่ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียน กันมารบกวนเวลาพักผ่อนของท่านอยูต่ ลอดเวลา เท่านัน้ ยังไม่พอ ยังตามมาพยุงท่านออกไปร่วมกิจกรรม เป็น วิทยากร ให้ขอ้ คิด นัง่ เป็นประธานทีน่ นั่ ทีน่ ตี่ ลอด แต่ทา่ นก็ ดูมคี วามสุขกับการท�ำงาน บางครัง้ ข้าพเจ้าท�ำงานมีปญ ั หา อุปสรรค บ่อยครั้งที่ท้อ แต่ก็ได้หมอใหญ่ท่านนี้เป็นก�ำลัง ใจ นึกถึงการท�ำงานของท่านแล้ว ท�ำให้ขา้ พเจ้าต้องลุกขึน้ มาท�ำงานต่อ เพราะอายุท่านปูนนี้แล้ว แทนที่จะพักผ่อน อยู่เฉย ๆ แต่ท่านกลับทุ่มเททั้งร่างกาย จิตใจ สติ ปัญญา ความรู้ความสามารถที่มีอยู่เพื่อสาธารณะ ท่านเกษียณ จากราชการแต่ทา่ นไม่เคยเกษียณจากสังคม ไม่เคยทอดทิง้ สังคมจนบั้นปลายชีวิต ปีนี้ พุทธศักราช 2556 หมอใหญ่ที่ข้าพเจ้านับถือ และศรัทธา ท่านเจริญอายุวฒ ั นมงคลครบ 80 ปี คุม้ ค่ากับ การเกิดมามีชวี ติ อยูบ่ นโลกใบนี้ ท่านเป็นทรัพยากรบุคคล ที่ทรงคุณค่าของประเทศชาติบ้านเมืองจริง ๆ ขอท่าน จงมีพลานามัยทีแ่ ข็งแรง อยูเ่ ป็นร่มเงาของสังคมตลอดไป พระครูพิทักษ์นันทคุณ วัดอรัญญาวาส
ต่อมา ปีพทุ ธศักราช 2526 อาตมาภาพได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาส วัดอรัญญาวาส เห็นว่ายังมีเวลาเหลือพอทีจ่ ะ ออกไปท�ำงานรับใช้พระศาสนา และพัฒนาสังคม จึงอาสา ไปเป็นพระธรรมทูต พระธรรมจาริก พระธรรมทายาท พระ ธรรมทูตเฉพาะกิจ ออกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา ตามป่า ตามเขามาโดยตลอด จนมาก่อตัง้ กลุม่ ฮักเมืองน่าน จนมา เป็นมูลนิธิฮักเมืองน่าน ก็ได้อาศัยหมอใหญ่ทา่ นนี้ให้การ สนับสนุนมาโดยตลอด ทัง้ ให้คำ� แนะน�ำ ให้คำ� ปรึกษา เสนอ แนะ ส่งทีมมาร่วมงานทุกครัง้ ทีจ่ ดั กิจกรรม พิธกี รรม ไม่วา่ จะเป็นพิธบี วชป่า สืบชะตาแม่นำ�้ จัดเวทีเสวนา เมือ่ ทราบ ข่าวหมอใหญ่ท่านนี้ก็จะตามไปร่วมงาน ไปให้ก�ำลังใจ ไปสนับสนุน ทั้งก�ำลังคนและก�ำลังทรัพย์ เมื่อมีผู้หลัก ผูใ้ หญ่ หรือคนต่างบ้านต่างเมืองมาพบท่าน มาขอค�ำแนะน�ำ ค�ำปรึกษา ท่านก็จะแนะน�ำมาให้พบมูลนิธิฮักเมืองน่าน ทุกครัง้ ทุกปีทดี่ อกผลจากมูลนิธพิ ระครูพทุ ธมนต์โชติคณ ุ โรงพยาบาลน่าน ที่ท่านเป็นผู้ก่อตั้งออกมา ท่านก็จะให้
-61-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
รัก นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร เป็นช้างเผือก อยู่ป่า พญาช้าง อยู่เคียงข้าง ราชา สง่าแสน ดั่งจอมปราชญ์ ราชบัณฑิต ติดชายแดน ทั่วเขตแคว้น ยินยล คนยินดี ชื่อบุญยงค์ คงอยู่ คู่เมืองน่าน คนกล่าวขาน นับถือ คือศักดิ์ศรี เป็นพ่อพระ เกื้อกูล หนุนชีวี แปดสิบปี อายุยืน หมื่นปีเทอญ จากระยะเวลาสามปีที่ผมได้มาปฏิบัติราชการ ที่จังหวัดน่าน ผมปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรู้สึกอิ่มสุขและ ประทับใจในความดีงามของคนน่าน คุณธรรมจริยธรรม ที่ฝังรากอยู่ในคนน่าน รวมทั้งวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม และธรรมชาติที่บริสุทธิ์งดงาม แม้วันนี้ผมจะเกษียณอายุ ราชการล่วงมานานถึง 8-9 ปีแล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างยังอยู่ใน ความทรงจ�ำไม่มีวันลืม เมื่อกล่าวถึงเมืองน่านและคนน่าน บุคคลที่ผมจะ ระลึกถึงเสมอ คือนายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ผู้เป็น ปราชญ์ในทุกด้าน ทั้งในเชิงวิชาการด้านทฤษฎีและการ ปฏิบัติงาน จนเป็นที่ยอมรับของสังคมเมืองน่านและ ในทุก ๆ วงการของประเทศ รวมทั้งท่านเป็นแพทย์ ผูเ้ พียบพร้อมไปด้วยประสบการณ์หลากหลาย ซึง่ สามารถ น�ำความรูค้ วามสามารถมาประยุกต์ใช้ได้ในทุกแขนง และ พร้อมที่จะเป็นผู้ให้ด้วยอัธยาศัยไมตรีและใจดีที่สุด ในการพัฒนาจังหวัดน่านทุกด้าน ในขณะที่ผม นายแพทย์บญ ุ ยงค์ วงศ์รกั มิตร ได้มาปฏิบตั หิ น้าที่ ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดในช่วง ปี 2545-2548 ทีจ่ งั หวัดน่านตัง้ แต่ปี 2507 จนกระทัง่ เกษียณอายุนนั้ มิใช่ นัน้ ท่านเป็นคลังสมองและเป็นผูใ้ ห้แนวคิดทีม่ คี ณ ุ ค่าและ แต่จะสร้างความมั่นคงในเรื่องสุขภาพให้กับประชาชน เป็นประโยชน์แก่ผมอย่างสม�่ำเสมอ ซึ่งผมได้น�ำไปใช้จน เท่านัน้ ท่านยังได้สร้างความมัน่ คงให้กบั ประเทศชาติโดย ประสบผลส�ำเร็จและเป็นที่พึงพอใจของประชาชน จน ส่วนรวมด้วย เพราะระหว่าง นั้นคนไทยมีความแตกแยก ท�ำให้จังหวัดน่านได้รับการประเมินในเชิงการบริหาร ทางความคิด และน่านเป็นเขตพื้นที่สีแดง แต่ท่านไม่มี การจัดการ และความพึงพอใจของประชาชน เป็น 1 ความแตกแยกกับฝ่ายใด ไม่แบ่งว่าชาวเขาหรือชาวเรา ใน 5 ของประเทศ รวมทั้งโครงการ 1669 ซึ่งเป็นแนวคิด ท่านให้บริการอย่างเสมอภาคซึ่งน�ำมาสู่ความสงบสุขใน ในการบริการประชาชนในรูปแบบใหม่ โดยมุ่งเน้นให้การ ที่สุด จากการปฏิบัติหน้าที่อย่างเข้มแข็งและเสียสละ บริการและให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นโดยปรึกษาแพทย์ ของท่านในปี 2513 จึงได้รับพระราชทานเครื่องราช หรือบุคลากรผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์จากโรงพยาบาล อิสริยาภรณ์รัตนาภรณ์ ชั้นที่ 4 และได้รับพระราชทาน น่านทางโทรศัพท์หมายเลข 1669 และ 054 771 669 พระสมเด็จจิตรลดาเลี่ยมทอง 1 องค์จากพระบาท เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวกมากขึ้นและสามารถ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงรับสั่งว่าเป็นองค์สุดท้าย ปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้อย่างถูกวิธีและทันท่วงที ท่าน ที่เหลืออยู่ นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณ และเป็นเกียรติ เป็นผู้ผลักดันหลักที่ท�ำให้โครงการประสบความส�ำเร็จ ต่อวงศ์ตระกูลของท่าน นับได้ว่าท่านเป็นคนไทยตัวอย่าง ท�ำให้โรงพยาบาลน่านสามารถบริการประชาชนได้อย่าง เป็นที่ยอมรับของคนในวงการแพทย์และประชาชนทั่วไป ทั่ ว ถึ ง จนเป็ น ที่ ป ระทั บ ใจยิ่ ง สร้ า งความอบอุ ่ น ให้ กั บ แปดสิบปีทผี่ า่ นมาท่านยังมีความคิดทีก่ า้ วไกลและ ประชาชนทั่วไป ต่อมากระทรวงสาธารณสุขได้มองเห็น สุขภาพที่แข็งแรง อยู่ต่อไปให้ครบ 120 ปีนะครับ ความส�ำคัญของโครงการนี้ จึงได้ท�ำให้โครงการนี้ขยาย ไปทั่วประเทศ นายสุวัฒน์ โชคสุวัฒนสกุล อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดน่าน
-62-
ด้วยความเคารพ และระลึกในพระคุณ เมืองน่านเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีอัตลักษณ์โดดเด่นเฉพาะตัวในหลายด้าน ทั้งความงาม ของธรรมชาติ การอนุรกั ษ์ศลิ ปวัฒนธรรมท้องถิน่ บริเวณ ตัวเมืองและเมืองเก่ามีวดั และพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิห์ ลาย แห่ง ภายในเขตเมืองเก่ายังคงอนุรกั ษ์สภาพแวดล้อม และ บรรยากาศดั้งเดิมไว้ได้เป็นอย่างดี บวกกับอัธยาศัยไมตรี อันดีงามของคนเมืองน่าน เป็นเสน่ห์ที่ผู้คนประทับใจ ประการส�ำคัญเมืองน่านได้รบั การยอมรับถึงการเป็นเมือง ที่มีความเข้มแข็งของชุมชน และองค์กรภาคประชาชน เนือ่ งจากมีผอู้ าวุโส และมีจติ อาสา จิตสาธารณะจ�ำนวนมาก ผมคิดว่าผมโชคดี ที่ช่วงหนึ่งของชีวิตราชการ ได้ มี โ อกาสมาปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ที่ เ มื อ งน่ า น (ในต� ำ แหน่ ง ผู้ว่าราชการจังหวัดน่าน) ได้มาอยู่เมืองน่าอยู่ ที่ผู้คน มีน�้ำใจ ผู้อาวุโสในพื้นที่เมตตากรุณาให้ก�ำลังใจ และ ค� ำ ชี้ แ นะในการปฏิ บั ติ ง าน และหนึ่ ง ในผู ้ มี พ ระคุ ณ ... ผมได้รับความเมตตาอย่างมากจาก อาจารย์หมอบุญยงค์ วงศ์รักมิตร ทั้งการให้ค�ำแนะน�ำ ข้อเสนอแนะในสิ่งที่ควร จะชวนกันท�ำ เพื่อพัฒนาเมืองน่าน พัฒนาคุณภาพชีวิต ของคนเมืองน่าน บ่อยครั้งที่ผมรู้สึกไม่แน่ใจ ไม่มั่นใจ ในแนวทางการปฏิ บั ติ ง าน ก็ จ ะได้ รั บ ค� ำ แนะน� ำ ที่ ดี รวมถึงก�ำลังใจจากอาจารย์หมอบุญยงค์ ซึ่งจะถูกแปร ไปเป็นก�ำลังใจในการแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการท�ำงาน ต่อ ไป ดั ง นั้ น ส� ำ หรั บ ผมแล้ ว อาจารย์ ห มอบุ ญ ยงค์ เป็นทั้งผู้มีพระคุณ และต้นแบบของคนที่มุ่งมั่นท�ำงาน เพื่อประโยชน์ของชุมชนส่วนรวมโดยแท้
ในโอกาสที่ อ าจารย์ ห มอบุ ญ ยงค์ วงศ์ รั ก มิ ต ร จะมีอายุครบ 80 ปี ในวันที่ 10 พฤศจิกายน 2556 นี้ ผมขอกราบขอบพระคุณ และระลึกถึงพระคุณในความ เมตตาทีไ่ ด้รบั จากอาจารย์หมอบุญยงค์ และขออาราธนา คุณพระศรีรัตนตรัย สิ่งศักดิ์ทั้งหลาย และพระบารมีของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ ได้โปรดอ�ำนวยพรให้อาจารย์หมอบุญยงค์ วงศ์รักมิตร มีสขุ ภาพพลานามัยแข็งแรง เพือ่ เป็นทีพ่ งึ่ เป็นหลักยึดของ ภาคส่วนต่าง ๆ ในการพัฒนาเมืองน่าน นานเท่านาน ตลอดไป
-63-
นายสมศักดิ์ สุวรรณสุจริต ผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดน่าน
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
-64-
หมอบุญยงค์ที่ผมรู้จัก ผมพบหมอบุ ญ ยงค์ แ ละภรรยาคื อ หมอพนิ ด า ครั้งแรก ที่โรงพยาบาลประจ�ำจังหวัดสกลนคร เมื่อท่าน เพิ่งจบจากการเป็น Senior house officer in Medicine ที่ โ รงพยาบาลจุ ฬ าลงกรณ์ ข องคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้าใจว่าประมาณปลายปี 2001 หรือต้นปี 2002 ขณะนั้นผมเป็นแพทย์ที่โรงพยาบาล สกลนครนี้ ตอนที่พบกันผมเพิ่งได้ทราบว่าผมสอบทุน บริตชิ เคาน์ซลิ ได้แล้ว และก�ำลังจะไปเรียนต่อทางศัลยกรรม ทีป่ ระเทศอังกฤษ แม้ว่าผมจะมีเวลาที่พบกับหมอบุญยงค์ในระยะ เวลาไม่ กี่ เ ดื อ นก่ อ นผมจะต้ อ งเดิ น ทางไปอั ง กฤษใน ประมาณเดือนสิงหาคม แต่ผมประทับใจท่านมากในความ สุภาพเรียบร้อย และพร้อมที่จะเรียนรู้วิชาทางศัลยกรรม ในภูมิภาคที่ท่านไม่คุ้นมาก่อน อยากเล่าให้ฟังถึงชีวิต แพทย์ของโรงพยาบาลในช่วงเวลานั้น การเดินทางมา โรงพยาบาลสกลนคร นัน้ จะมาได้โดยนัง่ รถไฟค้างคืนจาก หัวล�ำโพงมาลงทีจ่ งั หวัดอุดรธานีเช้า และต้องนัง่ รถกระบะ ตัดคลื่นถนนและฝุ่น จากถนนลูกรังมาอีก 164 กิโลเมตร เวลาเช้าเราดูผู้ป่วย 2 wards ซึ่งมีชายและหญิงอย่างละ 25 เตียงด้วยกัน และรีบมาออกตรวจผูป้ ว่ ยนอก และตอน บ่ายท�ำผ่าตัด บางครั้งเราก็ต้องท�ำผ่าตัดทั้งเช้าและบ่าย ที่โรงพยาบาลขณะกลางคืนเกินหนึ่งทุ่มไปแล้วไฟฟ้าไม่มี เราต้องจุดตะเกียงเจ้าพายุเพื่อส่องผ่าตัด เห็นแสงสว่างจากตะเกียงนอกห้องผ่าตัด เราไม่ สามารถน�ำตะเกียงเข้าห้องผ่าตัดได้ เนื่องจากเราดมยา ผู้ป่วยโดย วิธี open drop with ether & chloroform ซึ่ ง ติ ด ไฟ ระเบิ ด ได้ ผ่ า ตั ด นั้ น มี เ กื อ บทุ ก คื น ผู ้ ป ่ ว ย ส่วนใหญ่เป็นผู้ได้รับบาดแผลจากถูกยิงหรือถูกแทงหรือ รถคว�่ำ กลางวันนั้นเราผ่าตัดได้ทุกชนิด ที่ท�ำบ่อย คือ นิ่วในกระเพาะปัสสาวะและกรวยไต และไธรอยด์คอโต และ explore lap caesarean section ตัดมดลูก รวม ทัง้ คลอดธรรมดาด้วย ผ่าตัดอื่นๆที่ท�ำกันรองลงมาได้แก่ Total gastrectomy for CA stomach, right half colectomy for right sided CA colon และ prostatectomy คนดมยาให้เรา เขาจบมัธยมหก เราฝึก เขาได้ เวลาที่ไม่มีผ่าตัดเขาท�ำการถ่ายภาพเอกเรย์ด้วย ภรรยาเขาท�ำหน้าที่ตรวจเลือดด้วย เราใช้เลือดสองหมู่ ตรวจแทนธนาคารเลือด เลือดของผมทีเ่ ป็นหมู่ A และเรา เอาเลือดหมู่ B มาจากกรุงเทพฯ เป็น มาตรฐาน ท�ำให้เรา สามารถทราบหมู่เลือดผู้ป่วยและญาติที่เราจะเจาะมาใช้ ในการผ่าตัดใหญ่ได้ทันทีด้วย
ทีเ่ ล่าให้ฟงั เพือ่ จะได้เห็นภาพของการปฏิบตั งิ าน ซึ่ ง หมอบุ ญ ยงค์ เ รี ย นรู ้ เ ร็ ว และสามารถท� ำ ได้ อ ย่ า งดี โดยนิ สั ย ส่ ว นตั ว หมอบุ ญ ยงค์ เ ข้ า กั บ ผู ้ ร ่ ว มงานและ ข้าราชการจังหวัดได้ดีมาก สมัยก่อนนั้นกรมการแพทย์นั้นใหญ่จริง เพราะ รวมทัง้ กองภูมภิ าคซึง่ รวมโรงพยาบาลต่างจังหวัดทัง้ หมด และยังมีกรมอนามัยสังกัดกับเราด้วย ส่วนมหาวิทยาลัย แพทยศาสตร์ขนึ้ กับกระทรวงสาธารณสุข เมือ่ ผมกลับจาก ต่างประเทศ ผู้ใหญ่ของกรมการแพทย์ ท่านเล่าให้ผมฟัง ด้วยความประทับใจในตัวหมอบุญยงค์วา ่ หมอบุญยงค์นนั้ รอบรู้ พูดภาษาอังกฤษดีมาก เมือ่ มีแพทย์ตา่ งประเทศ เช่น Dr. Ben Eiseman ซึง่ มาช่วยทัง้ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย และ รพ.ต่างจังหวัดด้วย เมือ่ มาที่ รพ.สกลนคร เขาประทับใจ ในงานของโรงพยาบาล และประทับใจกับหมอบุญยงค์ ซึ่งพูดภาษาอังกฤษได้คล่องแคล่ว หมอบุ ญ ยงค์ ป ฏิ บั ติ ง านสร้ า งชื่ อ เสี ย งให้ โรงพยาบาลสกลนครหลายปีและย้ายมาเป็นผูอ้ ำ� นวยการ โรงพยาบาลประจ�ำจังหวัดน่าน และได้อยู่ที่นี่จนกระทั่ง เกษียณอายุราชการ และก็ยังเป็นที่ปรึกษาต่อไปของ โรงพยาบาลน่าน หลังเกษียณจนปัจจุบัน ผมมีโอกาสได้พบกับหมอบุญยงค์อีกหลายครั้ง หลังกลับจากต่างประเทศและปฏิบัติงานที่โรงพยาบาล หญิง (ต่อมาได้รบั พระราชทานนามว่าโรงพยาบาลราชวิถ)ี ผมและคณะนิเทศงานศัลยกรรมกรมการแพทย์ ก็ยังแวะ มาเยีย่ มเยียนให้ความรูก้ บั แพทย์ทางศัลยกรรมเกือบทุกปี แม้หลังจากหมอบุญยงค์เกษียณอายุราชการแล้ว ในคณะ นิเทศงานทางศัลยกรรมมี อาจารย์หมอนิพนธ์ สุวัฒนา ซึ่งเป็นอธิบดีกรมการแพทย์เป็นหัวหน้าคณะ
-65-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
“..ท่านยึดหลักว่า ต้องเป็นคนดี และงานต้องมาก่อน ไม่จ�ำเป็นต้องได้ต�ำแหน่ง ใหญ่โต อยู่ที่ไหนก็ท�ำได้ สร้างชื่อได้ คนนั้นส�ำคัญกว่าเก้าอี้ เพชรอยู่ที่ไหนก็เป็น เพชรอยู่ดี..” และอาจารย์จ�ำลอง มุ่งการดี ซึ่งเคยเป็นทั้งผู้อ�ำนวยการ โรงพยาบาลขอนแก่นเก่า และต่อมาได้เป็นเลขาธิการ อาหารและยา และเป็นรองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ทั้ ง สองคนปั จ จุ บั น ถึ ง แก่ ก รรม ในคณะนิ เ ทศงานนั้ น ผมเป็นวิทยากรคนหนึง่ คนอืน่ ๆ อาทิเช่น นายแพทย์วฒ ุ กิ จิ ธนะภู มิ ทาง neurosurgery ส่ ว นศั ล ยกรรมทั่ ว ไป มีหลายคนสลับกันมาได้แก่ นายแพทย์ชาตรี บานชื่น นายแพทย์ก�ำธร สุขพันธ์โพธราม นายแพทย์ ประวิทย์ ลิม้ ควรสุวรรณ และทางโรคกระดูก นายแพทย์ พงษ์ศกั ดิ์ วัฒนา เป็นต้น ทุกคนประทับใจ ในความเป็นผู้น�ำของ หมอบุ ญ ยงค์ แต่ ล ะครั้ ง ที่ ม าท่ า นได้ ห าผู ้ ป ่ ว ยที่ มี ปั ญ หาแปลก ๆ มาแสดงและอภิ ป รายอี ก หลั ง จาก ได้ ท� ำ งานภาคกลางวั น และหลั ง อาหารเย็ น แล้ ว โดย ได้ จั ด โต๊ ะ กั น เป็ น วงล้ อ มมี ที่ ส ่ อ งเอกซ์ เ รย์ ดู ฟ ี ล ์ ม ด้ ว ย เมื่อเลิกแล้ว ก็ร่วมกันกินข้าวต้มรอบดึกเมื่อสองยาม ปฏิ บั ติ เ ช่ น นี้ ทุ ก ครั้ ง ที่ ค ณะเราไป แม้ ว ่ า หลั ง ท่ า น เกษียณอายุราชการไปแล้ว ก็ยังได้มีโอกาสพบกับ หมอบุญยงค์และคณะที่โรงพยาบาล
การปฏิบตั งิ านเช่นนีไ้ ด้แสดง ความสามารถของท่าน ในฐานะนักวิชาการ และผูน้ ำ� หน่วยงาน ในการกระตุน้ และ สร้างความเข้มแข็งให้หน่วยงาน ในสมัยนัน้ หมอดาวฤกษ์ ยังปฏิบตั หิ น้าทีท่ างศัลยกรรมทีน่ า่ น ก่อนทีท่ า่ นจะย้ายไป เป็นผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลสมุทรปราการ และจันทบุรี หมอบุ ญ ยงค์ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น นั ก บริ ห าร สร้ า งความ ก้าวหน้าให้โรงพยาบาลอย่างเดียว มีแผนกต่าง ๆ เกิด ขึ้นในโรงพยาบาลอย่างมีประสิทธิภาพ ที่ส�ำคัญคือท่าน ได้สร้างคนเป็นนักบริหาร เป็นผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล และสร้างนักวิชาการด้วย ผมประทับใจที่น่านนั้นอยู่ ห่างไกลมาก และก็เป็นโรงพยาบาลขนาดยังไม่ใหญ่ แต่ ก็มี Newborn unit เกิดขึน้ สมัยแรก ๆ ตอนนัน้ มี คุณหมอ วราภรณ์เป็นหัวหน้าและยังได้เคยส่งผู้ป่วยหัวใจมาให้ผม ท�ำผ่าตัดที่กรุงเทพฯ หลายราย ด้วยพฤติปฏิบัติส่วนตัว ความเป็นผู้มีน�้ำใจดีงาม ท่านนั้นมีพร้อม เป็นผู้มีน�้ำใจ เห็นใจ เข้าใจ ให้อภัย และ อดทน ท่านจึงไม่เพียงได้รบั ความเคารพในฐานะผูอ้ ำ� นวยการ
-66-
โรงพยาบาลเท่านั้น ท่านได้รับความรักจากผู้ร่วมงาน ระดับต่าง ๆ ทีเ่ คยท�ำงานอยูก่ บั ท่าน ผูท้ เี่ คยท�ำงานกับท่าน ยังถึงกับแนะน�ำคนให้มาอยู่โรงพยาบาลน่าน แม้จะเป็น แค่แพทย์ใช้ทุน ซึ่งหมุนเวียนมาอยู่กับท่านแค่หนึ่งปี แต่ ก็ประทับใจ และส่งรุ่นลูกหลานให้มาเป็นแพทย์ใช้ทุนที่นี่ ก็มีหลายคน อาทิเช่น หมอวิเชาว์ กอจรัญจิต ซึ่งปัจจุบัน เป็นศัลยแพทย์ผา่ ตัดหัวใจและเป็นหัวหน้าศัลยกรรมหัวใจ โรงพยาบาลเด็ก ประทับใจในความมีนำ�้ ใจและการท�ำงาน ของหมอบุญยงค์ ได้ส่งบุตรสาวมาใช้ทุนอยู่กับท่านที่ โรงพยาบาลน่านด้วย ก่อนจะไปเป็นแพทย์ประจ�ำบ้าน ที่อื่น คนมีน�้ำใจและความประพฤติเช่นหมอบุญยงค์นั้น ใคร ๆ ก็อยากมาหา มารับใช้ มาเรียนรู้ ท่านนั้นเป็น Mentor ให้กับคนมากมาย นี่เท่ากับท่านสร้างคนดีด้วย ไม่ใช่แต่สร้างโรงพยาบาลดี ๆ เท่านั้น ที่จังหวัดน่าน สมัยหนึ่งคือประมาณ พ.ศ. 25252526 มีการสู้รบของฝ่ายทหารกับ ผกค. ที่ชายแดน ห้วยโก๋น ทุง่ ช้าง และปัว แพทย์ทหารเมือ่ รักษาปฐมพยาบาล ขั้นต้น จ�ำเป็นต้องส่งทหารบาดเจ็บผ่านตามล�ำดับ มาที่ โรงพยาบาลน่าน ซึ่งมีเครื่องมือและแพทย์ที่พร้อมกว่า จนกระทั่งทางโรงพยาบาลน่านนั้นมี ward รับทหาร บาดเจ็บด้วย หมอบุญยงค์จึงได้รับค�ำยกย่อง กล่าวขวัญ จากทหาร และระดับสูงเหนือนั้น ว่าเป็นผู้ร่วมมือให้ การรักษาแก่ทหารผู้บาดเจ็บดีมาก นี่ก็เป็นการปฏิบัติ เป็นตัวอย่างของท่าน เพือ่ ให้ผรู้ ว่ มงานได้ตระหนักถึงความ ส�ำคัญ จนถือว่าเป็นหน้าที่ ซึง่ ก็ตอ้ งเหน็ดเหนือ่ ยนอกเหนือ ไปจากงานประจ�ำ หมอบุญยงค์นั้นเป็นที่ รัก เคารพ ยกย่อง ของ คนทั่วไป ทั้งวงการ ในราชการของกระทรวงมหาดไทย กลาโหม และกระทรวงสาธารณสุข ท่านได้รับเสนอ ต�ำแหน่งใหญ่ ๆ ในกระทรางสาธารณสุข แต่ทา่ นปฏิเสธหมด
ถ้ า ท่ า นสมั ค รรั บ เลื อ กตั้ ง เป็ น ส.ส. ก็ ค งได้ แต่ ท ่ า น ปฏิเสธหมด ท่านมีความเป็นกลางไม่เลือกข้าง ท่านเลือก อยู่ข้างเดียวคือเลือกผู้ป่วย ว่าท�ำอย่างไรท่านจึงจะให้ บริการทีป่ ลอดภัยดีทสี่ ดุ จึงได้สร้างทัง้ คนและการบริหาร งานตามนั้น ท่านยึดหลักว่า ต้องเป็นคนดี และงานต้อง มาก่อน ไม่จ�ำเป็นต้องได้ต�ำแหน่งใหญ่โต อยู่ที่ไหนก็ ท�ำได้ สร้างชือ่ ได้ คนนั้นส�ำคัญกว่าเก้าอี้ เพชรอยู่ที่ไหน ก็เป็นเพชรอยู่ดี ผมมองหมอบุญยงค์มานานปีด้วยความ ยกย่อง และนับถือความตรงไปตรงมาของท่าน เป็นผู้ มีนำ�้ ใจเข้าได้กบั ทุกกลุม่ คนดีมนี ำ�้ ใจนัน้ ทัง้ ผูบ้ งั คับบัญชา ก็ชอบ เพื่อนก็ชอบ และผู้ใต้บังคับบัญชาก็ชอบ อันนี้ จึงดีจริง ไม่ใช่วา่ เป็นทีเ่ คารพ รัก ของคนกลุม่ เดียวเท่านัน้ เป็นคนเก่งด้วย ที่ว่าเก่งนั้นคือท�ำสิ่งที่ยากซับซ้อนให้ง่าย เป็นคนที่สร้าง Simplicity from complexity อันนี้ เป็น ความสามารถเฉพาะจริง ๆ ซึ่งได้ประทับใจ ผู้ร่วมงาน ผมอยากให้ คนอืน่ ๆ ได้มโี อกาสศึกษาประวัตขิ องท่านด้วย จะได้น�ำรูปแบบของ การคิด การกระท�ำ ไปใช้ต่อไป อนึง่ ผมต้องขอกล่าวถึงคูช่ วี ติ คือ หมอพนิดาด้วย คงไม่ผดิ ทีก่ ล่าวกันว่า “Behind a great man a great woman” ท่านต้องเก่งด้วยจริง ๆ เพราะได้อยูร่ ว่ มกันมา มากกว่า 50 ปีแล้ว เวลานั้นเป็นเครื่องพิสูจน์แล้ว ในวาระวั น ครบรอบ วั น เกิ ด ของหมอบุ ญ ยงค์ ในวันที่ 9 พฤศจิกายนนี้ ผมขออวยพรให้ หมอบุญยงค์ ที่ผม รัก เคารพ และนับถือ มีสุขภาพแข็งแรง และได้ให้ ความคิดดี ๆ กับคนรุ่นหลังต่อไป จาก พี่พันธุ์พิษณุ์ (นายแพทย์ พันธุ์พิษณุ์ สาครพันธ์ อดีตผู้ทรงคุณวุฒิ ระดับ 11 ทางเวชกรรม สาขาศัลยกรรมหัวใจ)
-67-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
“ร่มโพธิ์ ร่มไทร ของพวกเรา” ในช่วงเดือนเมษายนของทุกปี จะมีการจัดสรร บั ณ ฑิ ต แพทย์ ที่ จ บใหม่ เพื่ อ ไปปฏิ บั ติ ง านชดใช้ ทุ น ในส่วนต่าง ๆ ของประเทศ ซึง่ ส่วนใหญ่กต็ อ้ งอาศัยระบบ การจับฉลากเลือก เมื่อมีผู้สมัครเลือกสถานที่เกินกว่า ที่ก�ำหนด ย้อนหลังไป 40 ปีเมื่อปี พ.ศ. 2517 ผมซึ่งเป็น แพทย์ใช้ทุนรุ่นที่ 3 ก็ได้เข้าร่วมจับฉลาก เนื่องจากมี ผู้สมัครเลือกโรงพยาบาลน่านเกินที่ก�ำหนดไว้เพียง 2 คน ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าแปลกใจมาก ๆ ส�ำหรับคนนอกวงการ แพทย์ในขณะนั้น จั ง หวั ด น่ า นเป็ น จั ง หวั ด ชายแดน ที่ เ ดิ น ทาง ไปล�ำบาก และเป็นพื้นที่ที่มีการสู้รบกันระหว่างทหาร เจ้าหน้าที่ของรัฐกับ ผกค. การติดต่อสื่อสารโดยโทรศัพท์ กั บ จั ง หวั ด อื่ น ยั ง ไม่ มี ซึ่ ง ต้ อ งอาศั ย วิ ท ยุ สื่ อ สารของ กรมไปรษณียโ์ ทรเลขเพียงแห่งเดียวหรืออาศัยการโทรเลข และเมื่อวันเดินทางไปน่าน กลับมีแพทย์เดินทางเพิ่ม เป็น 3 คนโดยมี นพ.พิวัฒน์ โปษยานนท์ ซึ่งไม่ได้ชดใช้ ทุนใด ๆ กลับขอสมัครเป็นลูกจ้าง โรงพยาบาลน่าน เมื่อ รวมกับแพทย์ใช้ทุนอีก 2 คน คือผมกับ นพ.สมสิทธิ์ ตันศุภสวัสดิกลุ พวกเราทัง้ สามตัง้ ใจและมุง่ มัน่ ทีเ่ ลือกไป โรงพยาบาลน่ า น เพราะความศรัท ธาที่มีต่อคุ ณ หมอ บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ผู้อ�ำนวยการ โรงพยาบาลน่าน ซึ่งพวกเราเรียก “พี่ยงค์” ตลอดต่อเนื่องมาจนปัจจุบัน ผลพวงจากการได้มโี อกาสไปฝึกงานทีโ่ รงพยาบาล น่านเมื่อช่วงปิดภาคเรียนปลายปีที่ 3 ของนิสิตแพทย์ ในปี พ.ศ. 2515 ระยะเวลาหนึ่งเดือน ซึ่งมีโอกาสได้พบ ทั้งพี่บุญยงค์ พี่พนิดา พี่วิชัย และพี่เจริญ (รพ.ปัว) หมอ การ์แลน แบร์ ภาพของหมอบ้านนอก (เป็นค�ำที่พี่ยงค์ เรียกแทนหมอภูธรประจ�ำจังหวัด) ท�ำงานดูแลรักษา พยาบาลคนไข้ด้วยความเมตตากรุณา ภาพการน�ำทีมงานในโรงพยาบาลท�ำงานด้วย ความมุ ่ ง มั่ น ในภาวะวิ ก ฤติ ต ่ า ง ๆ ภายใต้ ข ้ อ จ� ำ กั ด นานัปการ ภาพของรุ่นพี่ที่คอยดูแลน้อง ๆ ที่ไปอยู่ด้วย ภาพของครูที่มีความตั้งใจในการถ่ายทอดวิชาความรู้ ประสบการณ์ให้กบั น้อง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเล่าเรือ่ ง ราวต่าง ๆ อย่างมีศิลปะ ทั้งพฤติกรรมของบุคคล วิธีการ ท�ำงาน เทคนิคการแก้ปัญหา ความวิริยะอุตสาหะของ บุคคลทีบ่ กุ เบิกในด้านต่าง ๆ ทัง้ ทีป่ ระสบความส�ำเร็จและ ล้มเหลว ทั้งหมดคือเหตุและปัจจัยที่พวกเราอยากไป ท�ำงานหาประสบการณ์ด้วย
ปี พ.ศ. 2517 โรงพยาบาลน่านมีหมออยู่ 8 คน ประกอบด้วยพี่บุญยงค์ พี่พนิดา พี่ชูศักดิ์ พี่สมพงษ์ (พีว่ ชิ ยั ขอไป Train ต่อทีอ่ เมริกา) ทีเ่ หลือเป็นแพทย์ใช้ทนุ ซึ่งมีพี่อรพินท์ พี่ทศพร (พี่ทั้งสองก�ำลังจะย้าย) พี่อุทัย ในปี นั้ น ทางโรงพยาบาลน่ า นรั บ พวกเราไป 3 คน โรงพยาบาลมีอาคารต่าง ๆ ประกอบด้วย อาคารตึกอ�ำนวยการ (ทรง Classic ของโรงพยาบาลในภูมภิ าค) อาคารชยานันท์ อาคารพิทักษ์ไทย อาคารรัฐรังสรรค์ อาคารสูติ อาคาร ธนาคารกสิ ก ร อาคารพิ เ ศษ อาคารอุ บั ติ เ หตุ ฉุ ก เฉิ น อาคารห้องผ่าตัดและเอกซเรย์ รวมแล้วมีเตียงผู้ป่วยใน ประมาณ 250 เตียง อาคารต่าง ๆ จะเชื่อมต่อกันโดย ทางเดินเชือ่ มระหว่างตึกซึง่ ยกสูงพอประมาณ ใต้ทางเดิน เชื่อมจะมีร้านค้าบ้าง มีญาติของผู้ป่วยบางส่วนมาก่อเตา ผิงไฟบรรเทาหนาว และ/หรือ ท�ำครัวที่น�ำมาจากบ้าน สร้างบรรยากาศเฉพาะไปอีกแบบ ช่วงนัน้ โรงพยาบาลน่าน มีบา้ นพักจ�ำนวนจ�ำกัด (ก�ำลังสร้างเพิม่ ) พวกพีอ่ ทุ ยั , สมสิทธิ์ และ พิวัฒน์ ซึ่งยังโสด ก็ได้อาศัยอยู่บ้านหลังเดียวกัน (เป็นหลังที่แพทย์ใช้ทุนรุ่นต่อ ๆ มาได้ใช้เป็นแหล่งพัก รวมกันมากที่สุด)
-68-
ส�ำหรับผมที่มีครอบครัวได้อาศัยใต้ถุนบ้านพี่ยงค์ เป็นที่พักในระหว่างรอบ้านพักใหม่ ซึ่งได้รับความรัก ความเมตตาจากทัง้ พีย่ งค์ พีพ่ นิดา และคุณยาย เป็นอย่างยิง่ ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2518 นพ.พิวฒ ั น์ ขอกลับไป Train เด็ก ได้ นพ.พรรคพร, นพ.ประเสริฐ และ พญ.ชลลดา มา ร่วมงาน ปีนนั้ ทางค่ายสุรยิ พงษ์ซงึ่ มีรวั้ ติดกับโรงพยาบาล น่าน ได้แพทย์ทหารมาประจ�ำค่ายคือ รอ.นพ.สาคร คงมัน่ ซึง่ ก็มาท�ำงานทีโ่ รงพยาบาลน่านเป็นส่วนใหญ่ กลางปีนนั้ ได้ นพ.ดาวฤกษ์ สินธุวณิชย์ มาร่วมงาน ซึ่งรายนี้มาอยู่ โรงพยาบาลน่านเหมือน นพ.พิวฒ ั น์ คือขอมาเป็นลูกจ้าง ก่อน และตั้งใจว่าจะอยู่ไม่นาน ท้ายสุดกลับกลายเป็นอยู่ 18 ปี ต่อมาในเดือนเมษายน พ.ศ. 2519 นพ.สมสิทธิ์ และ นพ.พรรคพร ซึ่งใช้ทุนครบ ขอกลับไป Train Med ทั้งคู่ โรงพยาบาลน่านช่วงนั้นเป็นช่วงที่มีการพัฒนา ด้านการแพทย์เป็นหลัก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้านศัลยกรรม สงครามและอุบตั เิ หตุ ผมอยูโ่ รงพยาบาลน่านต่อได้อกี 1 ปี ก็มเี หตุจำ� เป็นต้องย้าย และด้วยบารมีของพีย่ งค์ ทีช่ ว่ ยให้ ผมได้ย้ายไปที่โรงพยาบาลศูนย์สระบุรี ความประทับใจ ต่าง ๆ ของโรงพยาบาลน่านยังจดจ�ำ และพอจะถ่ายทอด แลกเปลี่ยนเรียนรู้ดังนี้ เรื่องแรก เรื่องห้องสมุดและห้องพักแพทย์ พวก เราถูกสอนว่า จุดวิกฤติการดูแลรักษาพยาบาลในโรง พยาบาลมีอยู่ 3 แห่งด้วยกันได้แก่ ER / LR และ ICU ส�ำหรับเรื่องชอง ER การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน “เราต้อง เคลือ่ นย้ายสัพพละก�ำลังทัง้ คนและเครือ่ งมืออุปกรณ์ไป หาผู้ป่วย (Portable) เพราะการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย แต่ละที ผู้ป่วยย่อมเจ็บปวดจึงควรหลีกเลี่ยง” และ “ท�ำอย่างไรจะให้มีหมอมาอยู่ที่ ER หรืออยู่ใกล้ ER ?”
ที่โรงพยาบาลน่านในปี พ.ศ. 2517 นั้นห้อง ER อยู ่ ที่ ชั้ น ล่ า งของตึ ก รั ฐ รั ง สรรค์ และใช้ ห ้ อ งสมุ ด เป็ น ห้องนอนแพทย์เวร ซึ่งอยู่ที่อาคารอ�ำนวยการเดิมและอยู่ ห่างจากห้อง ER ประมาณ 50 เมตร เก้าอี้โซฟาที่ใช้นั่งใน ห้องสมุดจะถูกปรับสภาพโดยการกางที่พับออกเป็นเตียง นอนของแพทย์เวร โดยจะมีเจ้าหน้าทีม่ าเตรียมทีน่ อนและ กางมุง้ ให้ ภายหลังเมือ่ ได้อาคารอุบตั เิ หตุใหม่จงึ ได้กำ� หนด ให้ห้องสมุด (ห้องแพทย์เวร) อยู่ติดกับห้อง ER และอีก ซีกหนึ่งของ ER ได้จัดเป็นหอสังเกตอาการผู้ป่วย ที่ห้อง ER ได้ถูกใช้เป็นห้องตรวจผู้ป่วยนอกเวลาราชการด้วย และเนื่องจากไข้มาลาเรียมีมาก โรงพยาบาลจึงได้จัดให้ มีการเจาะเลือดตรวจผู้ป่วยที่เป็นไข้และมีการ Smear เลือดลง Slide ย้อม Wright’s Stain กันที่ ER เลย ที่ ER จึงมีหอ้ ง Lab เล็ก ๆ เกิดขึน้ มีกล้องจุลทรรศน์ มีอปุ กรณ์ การย้อม Slide พร้อมกล่องไฟตาก Slide เรียกว่าแพทย์ ดูสไลด์กันเองเลย เมื่อสามสิ่งมาอยู่ด้วยกันคือห้อง ER ห้องสมุด (ห้องพักแพทย์) โดยมีเจ้าหน้าที่ ER ช่วยดูแลเรือ่ งอาหาร การกินให้ ห้องสมุดจึงกลายเป็นห้อง Common Room ที่นัดพบ นัดพูดคุยกันของแพทย์ ถือเป็นจุดเด่นของ โรงพยาบาลน่าน ท�ำให้คนไข้ ER มีแพทย์ (ประจ�ำ) ดูแล และแพทย์ก็มีต�ำราในห้องสมุดเป็นที่ปรึกษาอีกทางหนึ่ง นอกเหนือจากแพทย์รนุ่ พี่ ๆ ห้องสมุดจึงถูกใช้อย่างคุม้ ค่ามาก (ต่างจากในหลาย ๆ แห่งที่ห้องสมุดอยู่บนตึกอ�ำนวยการ แต่ไม่มผี ขู้ นึ้ ไปใช้) ห้องสมุดโรงพยาบาลน่านจึงเป็นทีส่ งิ สถิต และเป็นแหล่งเรียนรู้ของแพทย์ใช้ทุน เรือ่ งการบริหารจัดการการดูแลผูบ้ าดเจ็บจากการ สูร้ บ เมือ่ เสียงเฮลิคอปเตอร์ดงั ขึน้ ทีเ่ หนือโรงพยาบาลน่าน เฮลิคอปเตอร์ก�ำลังจะลงจอดที่หลังโรงพยาบาล ถ้าเป็น นอกเวลาราชการจะเห็นเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลเดินออก จากบ้านพักขึน้ ไปอาคารของโรงพยาบาลอย่างเป็นระเบียบ และบนทางเดิ น เชื่ อ มที่ ไ ปสู ่ ห ้ อ งผ่ า ตั ด จะมี เ จ้ า หน้ า ที่ สารวัตรทหารและยามของโรงพยาบาลมาช่วยกันปิดกั้น พื้นที่ ผู้บาดเจ็บที่ลงจากเฮลิคอปเตอร์ก็ได้แต่ขอให้หาม ตรงมาที่ห้องผ่าตัด เพราะหากเลี้ยวซ้ายก็หมายถึงไปสู่ ที่เก็บศพ เมือ่ ผูบ้ าดเจ็บมาถึงลานหน้าห้องผ่าตัดทัง้ หมดแล้ว ทุกราย ก็จะได้รับการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติที่ได้ ก�ำหนดไว้ การเปลี่ยนเสื้อผ้ารองเท้าลงถุงพลาสติกใหญ่ การตรวจประเมินอาการผู้บาดเจ็บ การเปิดเส้นเพื่อให้ IV Fluid พร้อมกับการเจาะเลือดขอเลือด การใส่สายสวน ปั ส สาวะ การเคลื่ อ นย้ า ย Portable X-ray
-69-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ไปถ่ายภาพรังสีผปู้ ว่ ยทีล่ านหน้า ห้องผ่าตัด การปิดป้ายชือ่ ผูป้ ว่ ย ทีข่ อ้ มือและถุงเก็บของ ผูบ้ าดเจ็บ จะได้ รั บ การคั ด แยกหนั ก เบา ก่อนหลัง (Triage) จากแพทย์ ผู้ป่วยที่ไม่ต้องผ่าตัดก็ย้ายเข้า หอผูป้ ว่ ยพิทกั ษ์ไทย ขณะทีห่ อ้ ง เลือดก็มีการเตรียมเลือด และมี การหาแหล่งบริจาคเลือดเพิม่ เติม ทางหอผูป้ ว่ ยพิทกั ษ์ไทยก็เตรียม เตียงเพือ่ รับผูป้ ว่ ย เมือ่ ต้องผ่าตัด รักษาก็นำ� เข้าห้องผ่าตัด ห้องผ่าตัด ซึ่งมี 2 ห้องเจ้าหน้าที่ก็พร้อมที่ จะเปิดได้ทั้ง 2 ห้อง หมอและ พยาบาลก็ผลัดเปลี่ยนกันเข้าช่วยผ่าตัด ห้องยาก็เตรียม น�้ ำ เกลื อ และยาไว้ ใ ห้ ห ้ อ งผ่ า ตั ด และหอผู ้ ป ่ ว ย ฝ่ า ย โภชนาการจะเตรียมเสบียงอาหารส�ำรองให้ทั้งเจ้าหน้าที่ ที่ปฏิบัติงานและผู้ป่วยใหม่ที่หอผู้ป่วย เจ้าหน้าที่ทุกคน จะท�ำตามบทบาทหน้าทีข่ องตนเองอย่างเต็มใจ ในกรณี ของการบาดเจ็บหมู่ก็เช่นกันก็จะท�ำตามแนวทางนี้และ ช่วยเหลือกันแบบนี้ เรือ่ งของการท�ำงานในวันหยุดนักขัตฤกษ์ เมือ่ ใด ก็ ต ามที่ มี ก ารหยุ ด ราชการต่ อ เนื่ อ งเกิ น กว่ า 2 วั น โรงพยาบาลน่านจะขอให้เจ้าหน้าที่ในทุกหน่วยบริการ ช่วยขึน้ ท�ำการเหมือนราชการปกติอย่างน้อยครึง่ วันในช่วง วันหยุดต่อเนื่องนั้น เพื่อให้การบริการดูแลรักษาผู้ป่วย ได้รบั การสนับสนุนอย่างต่อเนือ่ งจากหน่วย LAB, X-Ray, OR ห้องยา จ่ายกลาง ฯลฯ และผู้ป่วยหนักไม่ต้องรออีก 3 วันจนถึงวันราชการ ทีส่ ำ� คัญคือในยุคนัน้ ยังไม่มี OT ครับ เรือ่ งงาน 3 ด้านทีไ่ ด้มโี อกาสเห็นการพัฒนาเกิดขึน้ ใหม่ในช่วงนั้น เริ่มจากงานกายภาพบ�ำบัดโดยอาจารย์ นพ.คง สุวรรณรัต ซึง่ เป็นนายกสมาคมออร์โธปิดคิ ส์ โดย ได้จัดส่งทีมทาง โรงพยาบาลเลิดสินมาช่วยพัฒนางาน กายภาพบ�ำบัดให้กบั โรงพยาบาลน่าน และต่อมาได้จดั หา อุปกรณ์ครุภัณฑ์ให้กับทางโรงพยาบาลน่าน และเมื่อมี นักกายภาพบ�ำบัดทีจ่ บมาเป็นคนน่านด้วยคือ คุณสุรพงษ์ ซึ่ ง ก็ ไ ด้ ช ่ ว ยท� ำ งานด้ า นกายภาพบ� ำ บั ด ให้ แ ก่ ผู ้ ป ่ ว ยที่ โรงพยาบาลน่านจวบจนเกษียณราชการ งานด้านเทคนิค การแพทย์ได้มีการพัฒนาอย่างมากโดยอาจารย์เฉลิม เมฆสุต อยูท่ กี่ รมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (ยศเส) ได้จดั สรร งบประมาณการจัดตั้งห้องปฏิบัติการสมบูรณ์แบบ ซึ่ง ไม่แน่ใจว่าเป็นการโอนมาจากที่อื่นที่ไม่อยากได้
มาให้โรงพยาบาลน่านหรือไม่ ช่วงนั้นได้ นพ.สมสิทธิ์ ตันศุภสวัสดิกุล ซึ่งท�ำงานอายุรกรรม ได้มีส่วนช่วย set Lab ต่าง ๆ ให้และสนุกกับการดูแลผู้ป่วยอายุรกรรมเป็น อย่างมาก และมีนกั เทคนิคการแพทย์เป็นคนน่านคนแรก ชื่อคุณนวลน้อย ซึ่งอยู่ไม่นานก็ขอย้าย ซึ่งต่อมาก็ได้ คุณไพบูลย์ ทนันไชย มาช่วยงานก็ทำ� งานทีโ่ รงพยาบาลน่าน จนเกษี ย ณราชการ งานด้ า นเวชกรรมสั ง คมเริ่ ม โดย พยาบาลพิกลุ เฮงสนัน่ กูล ซึ่งเดิมเป็นพยาบาลวิสัญญี ได้ไปเรียนสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต จบกลับมา ท�ำให้โรงพยาบาลน่านเริ่มมีหน่วยงานเวชกรรมสังคม รับผิดชอบงานส่งเสริมป้องกันและงานด้านสาธารณสุข ชุมชนตามมาภายหลัง ผมกับหมอดาวฤกษ์ได้ไปช่วยงาน Well baby clinic เพื่อช่วยให้งาน Immunization ให้มี ครบถ้วน งานทุกอย่างที่เกิดขึ้นและพัฒนา ทุกคนท�ำ ด้วยความสนุก มีสุข และร่วมมือกันอย่างดียิ่ง โดยมี พีย่ งค์ให้การสนับสนุน ให้ขอ้ คิดเห็น ชีน้ ำ� ทิศทาง ให้กำ� ลังใจ และมักน�ำเรือ่ งการพัฒนาและความส�ำเร็จของงานเหล่านี้ ไปเล่าขานในโอกาสต่าง ๆ น�ำความปลาบปลื้มมาให้กับ ทีมงานทุกคน ผมได้รับการถ่ายทอดความรู้ทักษะต่าง ๆ ด้าน ศัลยกรรมจากพี่ ๆ ทัง้ พีย่ งค์ พีอ่ ทุ ยั พีส่ มพงษ์ จดจ�ำเทคนิค การท�ำผ่าตัดเหล่านัน้ ได้ด ี การผ่าตัด Herniorhaphy / การเจาะคอทีต่ อ้ งให้เห็น Ring ของ Trachea และการเย็บ Stent Trachea ก่อนจะกรีด Trachea / การผ่าตัด ไทรอยด์ ทีห่ ลีกเลีย่ งเสียงแหบ (ทีต่ อ้ ง Identified ให้เห็น Recurrent Laryngeal Nerve) / การผ่าตัด Hysterectomy ที่หลีกเลี่ยงการตัด Ureter ที่เน้นเรื่องการต้องแยกตัว Uterus ออกจาก Retroperitoneal เพื่อดัน Ureter ให้ออกไป / การผ่าตัดเอานิ่วออกจากกระเพาะปัสสาวะ
-70-
โดยไม่ให้เข้าช่องท้อง และทีส่ ำ� คัญคือภาพการพัฒนาการ รักษาผูป้ ว่ ย Liver Injury ได้มโี อกาสเห็นการผ่าตัดรักษา ด้วยเทคนิคต่าง ๆ ตั้งแต่การ Suture ด้วยเทคนิคการใช้ Alligator forceps การ Pack ด้วย Swab และหรือร่วม ด้วยการ Pack Gel foam ชุบ Tincture Benzoid แล้ว เย็บปิดช่องท้องแล้วค่อยมาเปิดเพือ่ Remove ออกในภาย หลัง ต่อมามีการพัฒนาไปท�ำ Selective Hepatic Artery Ligation และสุดท้ายการใช้ Tien-Yu-lin Liver Clamp โดยการสั่งซื้อ Clamp ดังกล่าวผ่านทางผู้แทนยา ในยุค นัน้ ไม่แน่ใจว่าเครือ่ งมือดังกล่าวอาจมีใช้เพียงทีน่ า่ นทีเดียว ด้านคลินกิ อืน่ ๆ ทีย่ งั จ�ำได้ เรือ่ งการวินจิ ฉัยผูป้ ว่ ย ที่รูปร่างผอมที่มาด้วยอาการ Gut Obstruction ที่ไม่มี แผลผ่าตัดหน้าท้อง และมีประวัตไิ อเรือ้ รังหรือ COPD ให้ นึกถึง Obturator Hernia / เรือ่ งผูป้ ว่ ยทีม่ อี าการท้องมาน (Ascites) และมี BP ต�ำ่ และหากมีประวัตทิ านเนือ้ สัตว์ดบิ ต้องนึกถึง Gastric Anthrax เป็นต้น เรือ่ งของถังตะแกรง ท�ำแผล ซึ่งในภายหลังมีใช้กันแพร่หลาย ในเกือบทุก โรงพยาบาล ทีก่ ล่าวคือภาพในอดีตทีน่ กึ ถึงทีไรก็มคี วามสุขทุกที ผมและครอบครัวย้ายจากโรงพยาบาลน่านมาตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2520 แต่ยงั เฝ้าติดตามข่าวคราวของโรงพยาบาลน่าน และเห็นการก้าวหน้าของโรงพยาบาลน่านในด้านต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง มีแพทย์หมุนเวียนไปท�ำงาน หลายคนก็ อยูจ่ นเกษียณราชการเช่น คุณหมอคณิต คุณหมอนิวตั ชิ ยั
ความรักความศรัทธาที่ครอบครัวผมมีต่อพี่ยงค์ และพีพ่ นิดาไม่เคยเสือ่ มคลาย พีเ่ ป็นเสมือนครูเสมือนญาติ ผู้ใหญ่ของผม เป็นต้นแบบที่ใคร่เจริญรอยตาม และเป็น ก�ำลังใจให้ผมยามท้อต่องาน และเป็นสิ่งเตือนใจไม่ให้ กระท�ำในสิง่ ไม่ดงี าม โรงพยาบาลน่านเป็นเสมือนสถาบัน ตักศิลาส�ำหรับผม ที่ภาคภูมิใจเมื่อกล่าวถึงว่าเคยผ่าน สถาบันแห่งนี้ และดีใจเมือ่ พบน้อง ๆ ทีเ่ คยผ่านสถาบันแห่งนี้ และมีความปรารถนาอยากสานต่องานการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพให้มีคุณภาพเป็นที่พึ่งของประชาชนตาม เจตนารมณ์ของพี่สืบไป ในโอกาสทีพ่ ยี่ งค์มอี ายุครบ 80 ปี ผมขออาราธนา คุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสากลโลกได้โปรด ดลบันดาลให้พี่และพี่พนิดามีสุขภาพแข็งแรง อยู่เป็น ร่มโพธิ์ร่มไทรของพวกเรานานเท่านาน ให้ผมได้มีโอกาส กลั บ ไปเยี่ ย มคารวะพี่ ทั้ ง สองที่ น ่ า นปี ล ะครั้ ง อี ก ซั ก อย่างน้อย 20 ครั้งครับ
-71-
นพ. เทียม อังสาชน ผู้อ�ำนวยการ ศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย ชั้น 3 อาคารสุขภาพแห่งชาติ 88/39 ถนนติวานนท์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
พัฒนาคน พัฒนางาน แบบอย่างของพี่บุญยงค์ ผมหิ้วกระเป๋าเดินทางใบใหญ่ มาสมัครท�ำงาน เป็นในต�ำแหน่งลูกจ้าง ทีโ่ รงพยาบาลน่าน เมือ่ พฤษภาคม 2518 พี่บุญยงค์ ซึ่งเพิ่งฟื้นจากอาการป่วยโรคตับอักเสบ จากไวรัสเมือ่ ต้นปี กรุณาเดินน�ำผมไปทีต่ กึ รัฐรังสรรค์ลา่ ง ซึ่งเป็นหอผู้ป่วยศัลยกรรมชายรวมทุกชนิด ทั้งศัลยกรรม ทั่วไป ระบบทางเดินปัสสาวะ กระดูกหักและอื่น ๆ ผม เรียนกับท่านว่า ต้องการฝึกท�ำผ่าตัดฉุกเฉิน สัก 1 ปี เป็น ความรูต้ ดิ ตัว ก่อนทีจ่ ะตัดสินใจไปเรียนต่อ หรือไปท�ำงานต่อ ที่ไหนสักแห่ง ในยุคนั้นโรงพยาบาลต่างจังหวัดส่วนใหญ่ มี 2 แผนกหลัก ๆ คือ แผนกผ่าตัด และไม่ผ่าตัด แผนกผ่าตัดจะท�ำงานในห้องผ่าตัดทั้งหมด ตั้งแต่ การท�ำหมันชาย หญิง ผ่าตัดไส้ติ่ง กระเพาะทะลุ ไส้เลื่อน นิว่ ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบทางเดินน�ำ้ ดี ผ่าตัดคลอด อุบัติเหตุ บาดเจ็บ กระดูกหัก ถูกยิงถูกแทงทุกชนิด ส่วน แผนกไม่ผ่าตัด ก็ดูแลการเจ็บป่วยที่รักษาทางยา ทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ เวลาอยู่เวรนอกเวลาราชการ ก็จะต้องจัดการ ทั้งหมด ทั้งโรงพยาบาลทั้งเรื่องฉุกเฉิน และ ปัญหาผู้ป่วย ในทุกราย พี่บุญยงค์ จบแพทย์จุฬา รุ่น 8 (รับปริญญา ปี 2501) เป็นแพทย์ประจ�ำบ้านอายุรศาสตร์ โรงพยาบาล
จุฬาฯ 1 ปี แล้วสมัครเข้าท�ำงานกรมการแพทย์ กระทรวง สาธารณสุข เลือกไปท�ำงานทีโ่ รงพยาบาลสกลนคร ต่อมา ได้รบั การแต่งตัง้ ไปเป็นผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาลเลย และ ย้ายมาเป็นผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลน่านเมื่อปี 2508 ท่านชอบให้ผู้ร่วมงาน เรียกว่า “พี่” มากกว่าอาจารย์ หรือท่านผู้อ�ำนวยการ ท่านเคยได้รับทุนไปศึกษาต่อ วิชา ศัลยศาสตร์ ทีป่ ระเทศแคนาดา ท่านไปท�ำงานที่ Toronto General Hospital แต่อยู่เพียง 6 เดือน ก็ขอลากลับมา ประเทศไทย ให้เหตุผลว่าคิดถึงครอบครัว แต่ความจริง ก็คือ ช่วงนั้นโรงพยาบาลน่านเริ่มรับผู้ป่วยจากเหตุการณ์ ความไม่สงบชายแดน มีปญั หาขาดผูน้ ำ� และท่านเองเห็นว่า การศึกษาที่แคนาดาคงไม่เป็นประโยชน์ในการท�ำงาน ของท่านมากนัก
-72-
การท�ำงานในโรงพยาบาลน่าน ปี 2518 เริ่มจาก ตอนเช้า ตรวจผูป้ ว่ ยทีน่ อนรักษาในโรงพยาบาล ช่วงสาย สลับเปลีย่ นกันออกตรวจผูป้ ว่ ยนอก ซึง่ มีพบี่ ญ ุ ยงค์ และพี่ พนิดาเป็นก�ำลังหลัก ทีมผ่าตัด ยึดห้องผ่าตัด 3 ห้อง ทีต่ กึ ผ่าตัด ช่วงบ่ายผูป้ ว่ ยนอกเริม่ ซา แพทย์จะมารวมตัวกันที่ อาคาร 2 ชั้น ถัดจากอาคารผู้ป่วยนอก ซึ่งถูกดัดแปลงให้ เป็นห้องฉุกเฉิน ไอซียู 8 เตียง และห้องพักแพทย์ซึ่งเป็น ห้องสมุดต�ำราแพทย์ในห้องเดียวกัน พี่บุญยงค์ดูแลแพทย์ที่ท�ำงานด้วยเหมือนน้อง ๆ หรือลูก ตอนกลางวันกินก๋วยเตี๋ยวด้วยกันที่ร้านริมรั้ว โรงพยาบาล ตอนบ่ายในห้องพักแพทย์ เอาฟิล์มเอกซเรย์ ผู้ป่วยที่มีปัญหามาดูด้วยกัน นั่งปรึกษา case ร่วมกัน วางแผนการรักษา เล่าประสบการณ์ เทคนิคการผ่าตัด บางทีก็เดินไปดูผู้ป่วยด้วยกันที่วอร์ด ถึงเวลาเย็นหรือค�่ำ ประมาณทุ่มหรือเกือบสองทุ่ม พี่บุญยงค์จะขับรถฟอร์ด คันเก่าไปรับพีพ่ นิดา ซึง่ ไปเปิดคลินกิ ทีห่ วั ถนนสุมนเทวราช และกลับมารับประทานอาหารเย็นพร้อมกันที่บ้านพัก พี่บุญยงค์ ผมโชคดีทไี่ ด้มโี อกาสช่วยพีบ่ ญ ุ ยงค์ผา่ ตัด ได้เรียน รูเ้ ทคนิคของศัลยแพทย์ทมี่ ปี ระสบการณ์มาอย่างล้นเหลือ พี่ บุ ญ ยงค์ จ ะอยู ่ ใ นชุ ด ผ่ า ตั ด ใส่ ผ ้ า พลาสติ ก กั น เปื ้ อ น สวมรองเท้าบู๊ท ผ่าตัดเร็วและแม่นย�ำ หยุดในจังหวะ ที่ควรจะหยุด
เมื่อเลือดออกท่วมทั้งก๊อซผืนเล็กและผืนใหญ่จะ ถูกล�ำเลียงมาPack อย่างรวดเร็ว เร่งให้นำ�้ เกลือ และเลือด ทดแทนจนความดันโลหิตขึ้นเป็นปกติ จึงค่อยแง้มดูจุด เลือดออก และก็จะสามารถห้ามเลือดได้แทบทุกครั้ง นอกจากการสอนประสบการณ์ ยังมีต�ำราหลายเล่ม ที่พี่บุญยงค์ได้อ่านและขีดเส้นใต้ข้อความส�ำคัญเอาไว้ ต�ำราที่เป็นหลักส�ำหรับศัลยกรรมบาดแผลบาดเจ็บจาก สงคราม คือ Management of War Wounds ในหนังสือ Advances in Surgery Volume 3 ปี 1968 เป็นการ รวบรวมประสบการณ์ ที่ได้จากสงครามเวียดนามมาตี พิมพ์ไว้ พีบ่ ญ ุ ยงค์ได้คดิ วิธกี ารห้ามเลือดกรณีทเี่ หยียบกับ ระเบิด ซึง่ มักจะมีบาดแผลทีม่ ลี กั ษณะจ�ำเพาะ คือ ขาข้าง ที่เหยียบถูกกับระเบิดจะถูกตัดขาดหรือเป็นบาดแผล กระดูกหักรุนแรง ทัง้ เนือ้ เยือ่ ผิวหนังกล้ามเนือ้ จะขาดห้อย ร่องแร่ง ส่วนขาอีกข้างจะบาดเจ็บน้อยกว่าเป็นแผลฉีก ขาดจากแรงระเบิดหรือเศษสะเก็ดระเบิด เหตุสำ� คัญทีจ่ ะ ท�ำให้เสียชีวิตคือการเสียเลือดอย่างต่อเนื่องระหว่างการ รอเคลื่อนย้ายไปโรงพยาบาล จ�ำเป็นต้องมีการห้ามเลือด ทีไ่ ด้ผลโดยเฉพาะขาข้างทีบ่ าดเจ็บรุนแรง การใช้สายยาง รั ด ห้ า มเลื อ ด โดยดั ด แปลงจากสายยางสี เ หลื อ งที่ ศัลยแพทย์ใช้ทำ� เป็นท่อระบายหลังการผ่าตัดในช่องท้อง หรือช่องอก
-73-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
แพทย์ทหารทีม่ าประจ�ำทีโ่ รงพยาบาลค่ายสุรยิ พงษ์ ตั้งแต่รุ่นหมอสาคร คงมั่น, หมอภานุวิชญ์ พุ่มหิรัญ, หมอทวีศกั ดิ์ นพเกษร ต่างก็นำ� สิง่ นีไ้ ปฝึกสอนภาคปฏิบตั ิ ให้กับนายสิบเสนารักษ์ และทหารที่ต้องออกปฏิบัติการ ในพื้นที่ จนเป็นที่ยอมรับและใช้เป็นอุปกรณ์ประจ�ำกาย ที่ส�ำคัญ นอกจากต�ำรา Atlas ที่พวกเราใช้เป็นคู่มือส�ำคัญ พีบ่ ญ ุ ยงค์ยงั อนุญาตให้บอกรับวารสารแพทย์ตา่ งประเทศ ส�ำหรับศัลยกรรมเรามีครบเกือบทุกเล่ม เล่มสีเหลือง Annals of Surgery, เล่มสีส้ม American Journal of Surgery, Archives of Surgery, เล่มสีฟ้า Surgery, Gynecology & Obstetrics, Surgical Clinics of North America และ Journal of Trauma เวลามีวารสารออก เล่มใหม่สง่ มาทีห่ อ้ งสมุด พีบ่ ญ ุ ยงค์มกั จะเปิดดูผา่ น ๆ และ หยิบติดมือลงไป เมื่อถึงเวลาขับรถไปรับพี่พนิดาและ ระหว่างรับประทานอาหารเย็น จะมาเล่าย่อ ๆ ให้ฟงั ว่า บทไหนน่ า อ่ า น บทไหนเป็ น ประโยชน์ พร้ อ มกั บ คะยั้นคะยอ ให้พวกเราช่วยเอาไปอ่านต่อ มี ป ั ญ หาเรื่ อ งบาดแผลตั บ แตกทุ ก คนพยายาม ค้ น หาอ่ า น วิ ธี ก ารห้ า มเลื อ ดต่ า ง ๆ มี ร ายงานของ ศัลยแพทย์ชาวไต้หวัน ชื่อ Tien Yu Lin คิด Clamp ส� ำ หรั บ หนี บ ตั บ เพื่ อ ห้ า มเลื อ ด พี่ บุ ญ ยงค์ ก็ ฝ ากให้ ผู ้ แ ทนบริ ษั ท ยา ส.เจริ ญ เภสั ช ซึ่ ง เดิ น ทางไปไต้ ห วั น เป็นประจ�ำช่วยซื้อกลับมาให้ เมื่อได้เครื่องมือมา ได้มา ทดลองใช้อยู่ระยะหนึ่ง ไม่ประทับใจเพราะตัว Clamp มีขนาดใหญ่ เราสรุปผลว่าใช้กับกรณีบาดแผลบาดเจ็บ
ได้ ไ ม่ ดี นั ก คงเหมาะส� ำ หรั บ ใช้ ตั ด ตั บ ในกรณี Elective Surgery เช่น การตัด เนือ้ งอกหรือมะเร็งตับมากกว่า ทีค่ ณะแพทย์ ศิริราชได้ทราบข่าวว่าที่โรงพยาบาลน่าน มีเครือ่ งมือนี้ ก็ขอยืมไปทดลอง ก็ได้ขอ้ สรุป อย่างเดียวกัน พี่บุญยงค์เล่าให้ฟังเรื่องอาจารย์ชญ ั โญ เพ็ญชาติ อาจารย์ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ไปศึกษาต่อ ต่างประเทศ ขากลับได้ส�ำเนาเอกสารต�ำรา และวารสารกลับมาเมืองไทยเป็นจ�ำนวน 3-4 ลังใหญ่ ท�ำให้ผมได้แนวคิดเรื่องการ พัฒนาห้องสมุดโรงพยาบาลน่าน เมื่อกลับ กรุงเทพคราวใดผมจะใช้เวลาที่ห้องสมุด โรงเรียนแพทย์ และโรงพยาบาลต่าง ๆ ไปค้นหาต�ำราหรือเอกสารที่ช่วย ในการผ่าตัด รักษาผูป้ ว่ ย ส�ำเนารวบรวมไว้เป็นชุด ๆ บาง รายการก็ได้อาศัยแพทย์ทมี่ าฝึกงานช่วยหาส่งมาให้ ท�ำให้ ห้องสมุดโรงพยาบาลน่านมีหนังสือที่จ�ำเป็นในการรักษา ผู้ป่วยครบสมบูรณ์ เรียกได้ว่าผู้ป่วยอย่างไหนเข้ามา ก็ สามารถมีวธิ กี ารรักษาทีค่ น้ มาจากต�ำราอ้างอิงได้ครบหมด การสอนด้ า นประสบการณ์ มี ก ารซื้ อ ไส้ ห มู ตับหมู ม้าม มาให้ฝึกตัด เย็บ นักศึกษาแพทย์ และ แพทย์ ฝ ึ ก หั ด ชอบมาก เพราะเมื่ อ เจอในผู ้ ป ่ ว ยจริ ง ก็ สามารถท�ำได้คล่องแคล่ว นอกจากนั้นได้ขออนุญาต จากญาติ ผ่าพิสจู น์ศพผูป้ ว่ ยและได้ฝกึ หัตถการทีจ่ ำ� เป็น ในการช่วยชีวิต รวมทั้งหัตถการผ่าตัดที่ค่อนข้างยาก หลาย ๆ อย่างประสบการณ์เหล่านี้ ท�ำให้สามารถผ่าตัด ช่วยชีวติ ผูป้ ว่ ยรายต่อ ๆ มา ได้เป็นจ�ำนวนมาก ปัจจุบนั คณะแพทยศาสตร์จุฬาฯ ก็มีการใช้ Soft Cadaver ซึ่งมี การฉีดน�ำ้ ยารักษาศพทีค่ ดิ ค้นขึน้ ใหม่ ท�ำให้สามารถรักษา สภาพศพไว้ได้ระยะเวลาหนึ่ง ท�ำให้ศพมีสภาพคล้ายเพิ่ง เสียชีวิตไม่นาน ใช้ส�ำหรับฝึกสอนการผ่าตัด ซึ่งต่างจาก การฝึกในศพที่มีการดองด้วยน�้ำยามาตรฐาน ศพจะแห้ง และมีสภาพไม่เหมือนที่จะต้องพบในการผ่าตัดจริง การรักษาผูป้ ว่ ยบาดเจ็บทีศ่ รี ษะ ในยุคนัน้ เป็นเรือ่ ง ยุ่งยาก ตั้งแต่การสังเกตอาการ ซึ่งยังไม่มี Glasgow Coma Scale เป็นมาตรฐาน การตรวจเอกซเรย์สมองด้วย คอมพิวเตอร์ยงั เป็นเรือ่ งใหม่และมีราคาสูงมาก ต้องอาศัย การฉีดสีเข้าเส้นเลือดแดงที่คอ แล้วถ่ายเอกซเรย์ให้ตรง
-74-
ช่วงเวลาที่สีทึบแสงเข้าไปกระจายอยู่ในช่องกะโหลก ศีรษะทันที เป็นเรื่องยากที่มักต้องลุกขึ้นมาท�ำกลางดึก และถูกรังสีบ่อยครั้ง จนผมเกิดความท้อใจ พี่บุญยงค์ให้ ก�ำลังใจ โดยการเล่าความเป็นมาของการฉีดสีเอกซเรย์สมอง แบบนี้ ครั้งแรกในประเทศไทย ตั้งแต่ยุคอาจารย์นาย แพทย์สมาน มันตาภรณ์ ที่ต้องลงมีดผ่าคอเข้าไปหา เส้ น เลื อ ดก่ อ น จนมาถึ ง ยุ ค อาจารย์นายแพทย์หทัย ชิตานนท์ ที่สามารถฉีดสีเข้าเส้นเลือดโดยตรงโดยการใช้ มือคล�ำหาและกดเส้นเลือดให้อยู่นิ่ง ซึ่งหัตถการทุกอย่าง ล้วนแต่มีวิวัฒนาการ และต้องใช้ความพากเพียรความ อดทนในการฝึกฝนทั้งสิ้น อีกครั้งหนึ่งที่ผมท�ำการผ่าตัดท�ำหมันชายแล้ว เกิ ด ปั ญ หาแทรกซ้ อ น มี เ ลื อ ดออกอั ณ ฑะบวมใหญ่ พี่บุญยงค์ปลอบใจ โดยเล่าว่าเลือดออกหลังผ่าตัดเป็น ปัญหาแทรกซ้อนพื้นฐานที่ศัลยแพทย์มือใหม่ทุกคนต้อง เคยเจอ ไม่เว้นแม้แต่ตัวท่านหรือศัลยแพทย์มือหนึ่งของ เมืองไทยระดับศาสตราจารย์ขณะนั้น เมื่อครั้งเริ่มเป็น ศัลยแพทย์ใหม่ ๆ ก็เจอเลือดออกอัณฑะบวมเช่นเดียว กับผม ศัลยแพทย์ทุกคนต้องให้ความส�ำคัญกับการฝึกให้ ช�ำนาญ และประณีตในขั้นตอนที่ส�ำคัญ จึงจะท�ำให้การ ผ่าตัดส�ำเร็จและปลอดภัย
ในปี แ รกที่ ผ มท� ำ งานที่ โ รงพยาบาลน่ า น มีเหตุการณ์สำ� คัญครัง้ หนึง่ ซึง่ มีผลต่อการเปลีย่ นแปลง การท�ำงานของโรงพยาบาลน่านในเวลาต่อมา เหตุการณ์ นั้ น คื อ มี จ ดหมายตอบใบส่ ง ตั ว จากโรงเรี ย นแพทย์ แห่ ง หนึ่ ง โดยหั ว หน้ า แพทย์ ป ระจ� ำ บ้ า นซึ่ ง เพิ่ ง ได้ รั บ ต� ำ แหน่ ง เป็ น อาจารย์ ใ หม่ ใ นโรงเรี ย นแพทย์ แ ห่ ง นั้ น สด ๆ ร้อน ๆ ในจดหมายต�ำหนิการท�ำงานของแพทย์ โรงพยาบาลน่ า นที่ ส ่ ง ตั วผู ้ ป่ วยไปรั ก ษาต่ อ ที่ โ รงเรี ยน แพทย์แห่งนั้น ด้วยถ้อยค�ำรุนแรง พี่บุญยงค์ เป็นคนเห็น จดหมายนี้เป็นคนแรก และได้น�ำมาอ่านให้ฟังกันในห้อง พักแพทย์ พี่บุญยงค์กล่าวด้วยอารมณ์โกรธว่าครั้งนี้ไม่ใช่ ครัง้ แรก แต่กอ่ นหน้านีส้ ว่ นใหญ่เป็นค�ำต�ำหนิจากอาจารย์ แพทย์อาวุโส ซึง่ ท่านยอมรับฟัง โดยถือว่าเป็นการสัง่ สอน ของอาจารย์ แต่ครั้งนี้ท่านถือเป็นการดูถูก แต่ในที่สุด ท่านก็แปรเปลี่ยนความโกรธ เป็นค�ำสอนว่า พวกเราจะ เป็นหมอบ้านนอก ที่ด้อยวิชาความรู้ ให้อาจารย์โรงเรียน แพทย์ ดูถูกอย่างนี้ต่อไปไม่ได้อีกแล้ว ทุกคนจะต้อง พยายามสร้างตัวเองให้เกิดความรูค้ วามช�ำนาญ สามารถ ท�ำการรักษาผู้ป่วยได้โดยพึ่งโรงเรียนแพทย์ให้น้อยที่สุด โรงพยาบาลน่านจึงเริม่ มีการแบ่งสาขาย่อยของศัลยกรรม และก�ำหนดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบลึกลงไปในแต่ละสาขา
-75-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
“
พวกเราจะเป็นหมอบ้านนอก ที่ด้อยวิชาความรู้ ให้อาจารย์ โรงเรี ย นแพทย์ ดู ถู ก อย่ า งนี้ ต่อไปไม่ได้อีกแล้ว ทุกคนจะต้อง พยายามสร้ า งตั ว เองให้ เ กิ ด ความรู้ ความช�ำนาญ สามารถ ท�ำการรักษาผู้ป่วยได้ โดยพึ่ง โรงเรียนแพทย์ให้น้อยที่สุด
“
ใกล้เทีย่ งวันหนึง่ ผมอยูป่ ระจ�ำทีห่ อ้ งฉุกเฉิน ได้รบั โทรศัพท์จากพี่บุญยงค์ว่าส่งผู้ป่วยมาให้ดูรายหนึ่ง ผมนั่ง รอครู่ใหญ่ก็ไม่เห็นมีผู้ป่วย จึงเดินออกไปดูบริเวณที่นั่งรอ คอยหน้าห้องฉุกเฉิน พบชายหนุม่ วัยสามสิบต้น ๆ คนหนึง่ นั่งอยู่ ผมเดินเข้าไปถามได้ความว่า แพทย์ที่ห้องตรวจ ผู้ป่วยนอกส่งมา แต่บอกว่าสบายดี มาส่งญาติ ไม่ได้ป่วย อะไร ผมโทรศัพท์กลับไปเรียนถามพี่บุญยงค์ ได้ยินเสียง
หัวเราะมาจากปลายสาย พร้อมกับบอกผมว่า ผู้ป่วยที่ส่ง มาให้ดู เคยเป็น Cleft lip หมอลองไปดูและซักประวัติ ให้ดี ผมกลับไปดูผู้ป่วย สังเกตเห็นรอยเย็บริมฝีปากบน ซักถามได้ความว่า มีหมอถีบจักรยานเข้าไปในหมู่บ้าน ไปเย็บให้เมื่อสิบกว่าปีก่อน ตอนนี้ก็ดูดีไม่น่าเกลียดอะไร หมอที่ห้องตรวจผู้ป่วยนอกส่งมาให้หมอที่ห้องฉุกเฉินดู ก็มาตามที่หมอบอก ไม่ได้ต้องการให้ท�ำอะไรอีก ช่วงพัก รับประทานอาหารกลางวัน พี่บุญยงค์เล่าว่าอยากให้ดู Case นี้เป็นกรณีศึกษา เข้าใจว่าหมอที่ถีบจักรยานเข้าไป เย็บให้ที่หมู่บ้าน คือ หมอเถื่อน หรือ หมอเสนารักษ์ คง ไม่ใช่แพทย์ปริญญา ฝีมือก็ใช้ได้ ผู้ป่วยพอใจเย็บเสร็จ แล้วถ้าไม่สังเกตก็แทบจะมองไม่ออก แล้วพวกเราซึ่งเป็น หมอปริญญา หมอไม่เถื่อนท�ำอะไร Cleft Lip นี่ยากมาก ไหม ผมได้ฟงั แล้วก็ไปค้นหาต�ำราในห้องสมุด พบหนังสือ Plastic and Reconstructive Surgery ของ Converse ชุด 5 เล่มใหญ่ มีวิธีเย็บซ่อมปากแหว่งอยู่ 3 - 4 วิธี วันรุง่ ขึน้ พีบ่ ญ ุ ยงค์เอาแผ่นฟองน�ำ้ มาตัดตามรูปทีป่ รากฏ ในต�ำรา และ ลองดึงส่วนทีต่ ดั มาเข้ามุมตามวิธี หลังจากนัน้ ผูป้ ว่ ย Cleft lip ทีม่ ารพ.น่าน ก็ได้รบั การผ่าตัดรายแรก ๆ เป็นผู้ป่วยชายที่อายุมากหน่อย ต�ำรา Plastic and Reconstructive Surgery Edition ใหม่ ชุด 7 เล่ม
-76-
ถูกซื้อเข้าห้องสมุด หลังจากหมอวิชัย ศรีมุนินทร์นิมิต ไปเรียนต่อเป็นแพทย์ประจ�ำบ้านที่รามาธิบดี ได้ส่งต�ำรา Cleft Lip and Cleft Palate ของ Millard มาให้ผมอ่าน รวดเดียวจบ เพราะ Professor Millard เขียนได้สนุกมาก เหมือนเล่าต�ำนานประวัติศาสตร์กับเทคนิคการผ่าตัดไป พร้อม ๆ กัน เมื่อความรู้กล้าแข็งความช�ำนาญมีมากขึ้น ผมก็เริ่มผ่าตัด Cleft Lip ในเด็ก พร้อม ๆ กับการท�ำ ผ่าตัด Reconstructive Surgery ในผู้ป่วย Trauma เช่น การท�ำ Skin Graft, Skin Flap, Myocutaneous Flap , Fasciocutaneous Flap มีเรื่องเล่าแทรกอีกเรื่องคือ ผมพยายาม Set Up Microsurgery พี่บุญยงค์ยอมซื้อกล้อง Microscope ส�ำหรับผ่าตัด เป็นกล้องราคาค่อนข้างถูกของโปแลนด์ ราคาสีห่ มืน่ บาทและเครือ่ งมือผ่าตัดชุดหนึง่ ได้ทดลองต่อ เส้นเลือดหนูขาว และต่อเส้นเลือดใบหูกระต่าย แต่สดุ ท้าย โครงการนีก้ ไ็ ม่สำ� เร็จ กล้องนีไ้ ด้เปลีย่ นไปใช้ในการผ่าตัดตา
ช่วงแรก ๆ ต่อมาเมื่อได้กล้องผ่าตัดตาที่มีสมรรถนะสูง ก็ปลดระวางไปเป็นกล้องส�ำหรับตรวจดู Plate และ Screw ที่ใช้แล้วเพื่อเลือกเอาชิ้นที่ยังดี ไม่มีรอยช�ำรุดมากนัก น�ำกลับมาใช้ใหม่ ตอนปี 2523 กระทรวงสาธารณสุ ข ร่ ว มกั บ องค์การอนามัยโลก และคณะแพทยศาสตร์รามาธิบดี คณะแพทยศาสคร์ ศิ ริ ร าช จั ด การอบรมจั ก ษุ แ พทย์ หลักสูตรเร่งรัด เรียนจบใน 6 เดือน พี่บุญยงค์หนุนให้ ผมไปเข้ารับการอบรม เพราะเห็นผมชอบตรวจผู้ป่วยตา หู คอ จมูก ผมเข้าอบรม โดยเรียนภาคทฤษฎีและฝึกหัด เบือ้ งต้น เป็นเวลา 4 เดือน ทีร่ ามาฯ และศิรริ าช ไปฝึกงาน ที่โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา และโรงพยาบาล สรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี แห่งละ 1 เดือน และ ได้ไปดูงานที่ประเทศอินเดียอีก 1 เดือน หมอศัลย์เมือง ไทยที่ว่างานหนัก เจอหมอตาที่อินเดีย อาจต้องชิดซ้าย
-77-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
โรงพยาบาลในประเทศอินเดียแต่ละแห่ง เฉพาะ ผู้ป่วยตา ทั้งตรวจ ทั้งผ่าตัด เหมือนโรงงานอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ ท�ำงานกันตั้งแต่เช้าจดค�่ำ ก็ยังไม่มีทีท่าจะ จบสิน้ เช้าวันใหม่ขนึ้ มาก็เริม่ วงจรงานหนักต่อไปใหม่ ผม เห็นการท�ำงานของหมอในประเทศอินเดียแล้วคิดในใจว่า กลับมาต้องขยันกว่าเดิมอีกหลายเท่า ผมมาเปิดการผ่าตัดตาที่โรงพยาบาลน่าน ผ่าตัด ต้อกระจก ต้อหิน กระทรวงฯ ให้เงินซื้อเครื่องมือมา จ�ำนวนหนึง่ ผมเลือกซือ้ เครือ่ งมือตรวจราคาถูก มีเงินเหลือ ซื้อเครื่องมือผ่าตัดได้หลายชุด ผ่าตัดได้วันละ 10-15 ราย จนกระทัง่ หมอตาตัวจริง คือ หมออภิชาต สวนศิลป์พงศ์ ซึ่งจบวุฒิบัตรจักษุวิทยามาปฏิบัติงาน จึงได้ส่งมอบงาน ให้หมออภิชาติต่อ เมือ่ ผมต้องย้ายไปท�ำงานด้านบริหารทีโ่ รงพยาบาล เชียงค�ำ ท่านก็ให้คำ� แนะน�ำ ให้โทรศัพท์สายด่วนทีส่ ามารถ โทรมาปรึกษาได้ตลอดเวลา ให้ยมื เครือ่ งมือ ผ่าตัดกระดูก ผ่าตัดกะโหลกศีรษะ ผ่าตัดช่องทรวงอก สามารถเปิด บริการให้การผ่าตัดที่โรงพยาบาลเชียงค�ำได้ทันที เรียก ศรัทธาจากผู้รับบริการและผู้ร่วมงานได้มาก
การพั ฒ นาคนของพี่ บุ ญ ยงค์ ใช้ ห ลั ก การครบ ทั้งการให้ความรู้ การฝึกประสบการณ์ให้ช�ำนาญ ปรับ ทัศนคติให้ใช้ความรู้ให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยและสังคม ส่วนรวม สิง่ ส�ำคัญคือท่านมีคำ� พูดและการปฏิบตั ิ ทีส่ ร้าง แรงบันดาลใจ ให้เกิดศรัทธาในการท�ำสิง่ ทีด่ งี าม เทคนิควิธี การสอน ท้าทายความสามารถ ให้ใช้ศกั ยภาพสูงสุดทีท่ กุ คนมีอยูใ่ นตัว โครงการบางอย่างแม้ไม่เห็นด้วยก็ให้โอกาส ให้ทดลองท�ำ แนะน�ำสอบถามติดตามด้วยความห่วงใย เมื่อเกิดความผิดพลาดก็ไม่ต�ำหนิแต่ให้ก�ำลังใจ ให้สติใน การไตร่ตรองหาสาเหตุ และเรียนรู้หาวิธีการแก้ไขข้อผิด พลาดนั้น ๆ ในโอกาสวาระพี่ บุ ญ ยงค์ ค รบรอบอายุ 80 ปี ผมและครอบครัวขอกราบอวยพร ในวาระเจริญอายุ และเจริญในธรรม และขอร�ำลึกในพระคุณที่ท่านได้ให้ ความเมตตาแก่ผมและครอบครัวตลอดมา นพ. ดาวฤกษ์ สินธุวณิชย์ ที่ปรึกษาศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
-78-
-79-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
คือพ่อ ผูป้ กป้องมิให้อนั ตรายมากรายกล�ำ้ แก่ผอู้ อ่ นด้อยประสบการณ์ คือครู ผู้สอนสั่งด้วยเรื่องเล่า ข้อคิด การกระท�ำ และความสุข คือพี่ ที่คอยใส่ใจดูแลสุขทุกข์ทุกเวลา อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล ผู้อ�ำนวยการสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (พรพ.)
จังหวัดน่านทีไ่ ปใช้ทนุ ถือว่าเป็นสถาบันการศึกษา ต่อเนื่องส�ำหรับแพทย์จบใหม่ จังหวัดน่านในที่นี้รวม รพ.น่านซึง่ เป็น รพ.จังหวัด และ รพ.ชุมชนอีกสองแห่ง คือ รพ.สา และ รพ.ปัว อย่างแยกกันไม่ออก ด้วยแนวคิดของ ท่านอาจารย์นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร หรือพี่ยงค์ ของน้อง ๆ ท่านบอกชัดเจนว่าท่านจะไม่ยอมปล่อยให้ แพทย์จบใหม่ต้องไปเผชิญกับสภาวะต่างๆ ที่ไม่คุ้นเคย และมี ค วามเสี่ ย งต่ อ การที่ จ ะท� ำ อะไรผิ ด พลาดลงไป สิง่ แวดล้อมทีจ่ งั หวัดน่าน จึงเป็นสิง่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการพัฒนาและเติบโตภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิดของ รุ่นพี่ แพทย์ใช้ทุนสี่คนจะหมุนเวียนกันปฏิบัติงานรอบละ 3 เดือน สลับระหว่าง รพ.น่าน กับ รพ.ชุมชน รพ.ปัว นั้น มีพี่เจริญ บุญชัย เป็นผู้อ�ำนวยการอยู่แล้ว การไปอยู่ที่ รพ.ปัว จึงท�ำหน้าที่แพทย์ที่ตรวจรักษาอย่างเดียว ขณะที่
อยู่ รพ.สา นั้นจะต้องท�ำหน้าที่เป็นผู้อ�ำนวยการไปด้วย รพ.น่ า น จะรั บ ภาระและรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ทุ ก เรื่ อ งของ รพ.ชุมชน ไม่ว่าจะเป็นการส่งต่อผู้ป่วย การให้ยืมยาและ เวชภัณฑ์แล้วจดบัญชีไว้ มีเมื่อไรค่อยจ่าย ไม่มีก็ไม่ต้อง จ่าย บ้านของพี่ดาวฤกษ์ชั้นล่างถูกดัดแปลงเป็นห้อง โถงใหญ่ มีเตียงนอนให้นักศึกษาแพทย์ชายนอนกันได้ไม่ น้อยกว่า 15 คน พวกเราที่เป็นแพทย์จบใหม่ก็ถือโอกาส ไม่ไปนอนบ้านพักของตัวเอง แต่นอนร่วมกับน้อง ๆ นักศึกษาที่มาฝึกงาน เทีย่ งวันเสาร์เป็นวันนัดพบของพวกเราและแพทย์ รุ่นพี่ที่ไม่มีภาระทางครอบครัว พี่บุญยงค์จะพาเราไปกิน ข้าวกลางวันกันในตลาด แล้วก็เดิน shopping กันพอเป็น พิธีเพราะว่าไม่มีอะไรให้ shop มากนัก
-80-
พี่ บุ ญ ยงค์ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ ห้ อ งฉุ ก เฉิ น ของ โรงพยาบาลมาก ถือว่าเป็นจุดส�ำคัญที่สุดที่จะช่วยเหลือ ผู้ป่วยและท�ำให้ รพ.ได้รับความเชื่อมั่นจากประชาชน ตึ ก ฉุ ก เฉิ น ตึ ก แรกที่ พ วกเราไปท� ำ งานนั้ น เป็ น ตึ ก ที่ ดัดแปลงมาจากหอผู้ป่วยธรรมดาในสมัยนั้น ที่พิเศษก็คือ ติดกับห้องฉุกเฉินจะมีหอ้ งพักแพทย์ และอุปกรณ์อำ� นวย ความสะดวกต่าง ๆ ให้เป็นที่มั่วสุมของแพทย์ เป็นทั้ง ห้องสมุด ห้องกินข้าว ห้องสันทนาการ แพทย์คนไหน ไม่ได้ท�ำอะไรก็จะมาขลุกกันอยู่ที่ห้องนี้ คุยกันในเรื่อง ทัว่ ไปบ้าง ปรึกษาเรือ่ งวิชาการบ้าง พีด่ าวฤกษ์ สินธุวณิชย์ เป็นผูท้ ี่ช่างสะสม case แปลกๆ ไว้สอนและทดสอบความ รูข้ องน้อง ๆ ทัง้ น้องนักศึกษาแพทย์ทมี่ าฝึกงาน และแพทย์ ใช้ทุนที่มาปฏิบัติงาน เมื่อมีการสร้างตึกอุบัติเหตุขึ้นใหม่ ท่านก็สร้าง สิ่งที่เป็นความฝันของท่าน ห้องผู้อ�ำนวยการ ห้องพัก แพทย์ อยู่ตรงหน้าห้องฉุกเฉิน เรียกว่าผู้ป่วยอุบัติเหตุ ฉุกเฉินที่เข้ามา จะต้องถูกเข็นผ่านห้องผู้อ�ำนวยการและ ห้องพักแพทย์ แล้วพวกเราก็จะกระโดดเข้ามะรุมมะตุ้ม กันอย่างรวดเร็ว ห้องเอกซเรย์อยู่ตรงนั้น กล้องจุลทัศน์ และน�้ำยาย้อมเพื่อตรวจทางห้องปฏิบัติการอยู่ตรงนั้น ไม่ต้องยุ่งยากที่จะต้องเดินไปที่อื่นแล้วเป็นเหตุผลที่จะ ไม่ตรวจหรือส่งให้หอ้ งปฏิบตั กิ ารตรวจโดยแพทย์ไม่ได้เป็น ผู้ดูด้วยตนเอง พีบ่ ญ ุ ยงค์ใช้การเล่าเรือ่ ง การชืน่ ชม และการสร้าง ความสนใจในการสอนพวกเรา ท่านเล่าเรือ่ งของพีส่ มสิทธิ์ ซึ่งเป็นรุ่นพี่รามาฯ ที่เคยไปปฏิบัติงานว่าในคืนหนึ่งท่าน เห็นพี่สมสิทธิ์เดินลงมาจากหอผู้ป่วยอายุรกรรมซึ่งอยู่บน ชัน้ สอง สองมือถือ slide และขวดปัสสาวะของคนไข้ เวลา
นั้นเป็นเวลาประมาณตีหนึ่ง ท่านเล่าถึงความประทับใจ ในตัวพีส่ มสิทธิท์ ใี่ ส่ใจดูแลคนไข้อย่างจริงจังไม่วา่ จะดึกดืน่ แค่ไหน ท่านเล่าเรือ่ งนีใ้ นบรรยากาศทีเ่ รานัง่ คุยกันสบาย ๆ ช่วงรับประทานอาหารเย็น มิใช่เล่าอย่างเป็นทางการใน ห้องประชุม ทุกเย็นช่วงที่พวกเราอยู่ รพ.น่าน เราจะไป กินข้าวเย็นกันที่ชั้นล่างของบ้านพี่บุญยงค์ ซึ่งพี่บุญยงค์ เป็ น ผู ้ ผู ก ปิ ่ น โตให้ พ วกเรา การได้ ฟ ั ง เรื่ อ งอย่ า งนี้ ใ น บรรยากาศอย่างนี้ก่อให้เกิดผลหลายประการ ประการ แรก ท�ำให้เราต้องบอกกับตัวเองว่าอย่าท�ำเสียชื่อ อย่า ท�ำให้ด้อยกว่าที่พี่สมสิทธิ์ท�ำไว้ ประการต่อมา ได้เห็น คุณค่าที่พี่บุญยงค์ให้กับการปฏิบัติที่เราเคยท�ำมาสมัยที่ เป็นนักศึกษา ท�ำให้เราบอกกับตัวเองว่าสิ่งใดที่อาจารย์ สอนเราไว้ เราไม่ควรจะละทิ้งด้วยความมักง่าย เมือ่ มีความผิดพลาดเกิดขึน้ พีบ่ ญ ุ ยงค์ไม่เคยกล่าว ต�ำหนิพวกเราเลยแม้แต่ครั้งเดียว แต่เมื่อไรที่ท่านเห็น โอกาส ท่านจะกล่าวชืน่ ชมทันที ผมท�ำโครงการทีจ่ ะขยาย การให้ภูมิคุ้มกันแก่เด็กก่อนวัยเรียนร่วมกันส�ำนักงาน สาธารณสุขอ�ำเภอ แล้วก็ใส่ชื่อสาธารณสุขอ�ำเภอไว้เป็น ชือ่ แรก ส่วนชือ่ ผมเป็นชือ่ หลัง ตอนนัน้ ท่านคงจะรักษาการ นายแพทย์ ส าธารณสุ ข จั ง หวั ด ท่ า นได้ เ ห็ น เอกสาร โครงการ ท่านก็เอาไปเล่าในวงกินข้าวชื่นชมว่าเราเป็น แพทย์แล้วรู้จักให้เกียรติคนอื่น ไม่เอาตัวเราเองเป็นเบอร์ หนึง่ เสมอไป ค�ำชืน่ ชมในลักษณะนีส้ ง่ ผลตอกย�ำ้ ให้เราเกิด ความเชื่อมั่นในคุณค่าดังกล่าว และฝังอยู่ยาวนาน ช่วงแรก ๆ ที่เราไปอยู่ รพ.น่านนั้น พี่บุญยงค์จะ เล่าถึงโรคแปลก ๆ ที่มีโอกาสพบ เช่น antrax และ obturator hernia ซึง่ พวกเราก็ตนื่ เต้นมากทีไ่ ด้รบั รู้ แล้ว เราก็ได้ใช้ประโยชน์จริง ๆ ในการวินิจฉัยโรค obturator hernia ซึ่งท่านบอกว่าถ้ามีผู้หญิงอายุ 40 ปีขึ้นไป ผอม มาด้วยอาการ gut obstruction ให้เตรียมวินิจฉัยไว้เลย ว่าเป็น obturator hernia เพื่อว่าเมื่อผ่าตัดเข้าไปจะได้ มุง่ ไปหาทีจ่ ดุ นัน้ การรูอ้ ย่างนีท้ ำ� ให้เราเปิดช่องท้องเข้าไป ด้วยความระมัดระวัง และมุ่งตรงไปดูที่จุดนั้นก่อนอื่น นอกจากนั้น เมื่อไรก็ตามที่ท่านไปบรรยายตามที่ ต่างๆ มา ท่านจะมาสรุปให้พวกเราฟังว่า concept ส�ำคัญ ทีท่ า่ นไปบรรยายมานัน้ คืออะไร เช่น การจ�ำแนก skill ใน การท�ำงานเป็น technical skill, human skill และ conceptual skill และผู้ที่ท�ำงานในแต่ละระดับต้องการ skill mix อย่ า งไร ก็ ช วนให้ พ วกเราสนใจในเรื่ อ ง การบริหารไปโดยไม่รู้ตัว
-81-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ในช่วงท้ายๆ ก่อนที่พวกเราจะกลับมาเป็นแพทย์ประจ�ำบ้าน ผมถามพี่บุญยงค์ว่าถ้าเราไปอยู่ในสภาพแวดล้อม ที่ไม่เอื้อต่อการที่จะมีบทบาทดังเช่นที่นี่ ควรจะปฏิบัติตัวอย่างไร ท่านบอกสั้นๆ ว่า “ให้หมอท�ำหน้าที่ของหมอให้ดี ที่สุด” ขยายความก็คือว่าถ้าไม่มีโอกาสที่จะเข้าไปช่วยในการบริหารงานของโรงพยาบาลเหมือนกับที่แพทย์ รพ.น่าน หลายท่านท�ำอยู่ ก็ให้ดูแลคนไข้ของตนเองไปให้ดีที่สุด
สิง่ แวดล้อมทีด่ เี ป็นตัวหล่อหลอมพฤติกรรมของแพทย์ ซึง่ จะเป็นเกราะป้องกันตัวทีส่ ำ� คัญ แม้วา่ สิง่ แวดล้อมทีจ่ งั หวัดน่านในสมัยทีผ่ มไปใช้ทนุ จะเป็นเรือ่ งยากทีจ่ ะเกิดขึน้ ในสมัยปัจจุบนั แต่สาระส�ำคัญ อยู่ที่ท่าทีและความใส่ใจของแพทย์รุ่นพี่ต่อแพทย์รุ่นน้อง แน่นอนว่าช่องว่างของความคิดระหว่างรุ่น ย่อมมีอยูแ่ น่นอน แต่พบี่ ญ ุ ยงค์ พีด่ าวฤกษ์ พีค่ ณิต ไม่เคยท�ำให้พวกเรารูส้ กึ ว่ามีความแตกต่างระหว่างวัย แพทย์จบใหม่ทไี่ ปปฏิบตั งิ านในต่างจังหวัด บางครัง้ ก็เหงา บางครัง้ ก็คบั ข้องใจ บางครัง้ ก็ฟงุ้ ซ่าน. การมีรนุ่ พีเ่ ป็นคูค่ ดิ ค่อยให้กำ� ลังใจ ค่อยให้ความช่วยเหลือในด้านต่างๆ ทัง้ ด้านสังคมและวิชาการอาจ จะช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันในการอยู่กับภาวะเหล่านี้อย่างมีคุณค่า (จาก “ภูมิคุ้มกันส�ำหรับวิชาชีพเวชกรรม” เล่าในการประชุมวิชาการประจ�ำปี 2556 คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี 3 พฤษภาคม 2556)
-82-
พี่ยงค์
ศ.คลินิก พญ.วินัดดา ปิยะศิลป์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
ถ้าจะนึกถึงพีย่ งค์หรือคุณหมอบุญยงค์ วงศ์รกั มิตร แห่ง รพ.น่าน ก็มักเห็นภาพพี่ยงค์ออกตรวจคนไข้นอก ตั้งแต่เช้าก่อนคนอื่นตั้งแต่ 8 โมง ท�ำงานรวมอยู่กับพวก เราที่ ER ดึก ๆ ดื่น ๆ ทั้งเสาร์ อาทิตย์ ไม่ได้เรียกร้อง กับเจ้ า หน้ า ที่ ว ่ า คนไข้ห นัก จึงจะดูห รือต้องเป็น คนไข้ ผู้ใหญ่เท่านั้น ไม่ค�ำนึงว่าคนไข้จะยากดีมีจน รู้จักหรือ ไม่รู้จัก เป็นคนเมืองหรืออยู่อ�ำเภออื่น ถ้าอยู่ใกล้ชิดก็จะ เห็นความรื่นรมย์ของพี่ในการท�ำงาน มักจะผิวปากไป พร้อม ๆ กับท�ำความสะอาดแผลคนไข้อยู่กลางดึก ท่าที สบาย ๆ เรือ่ ย ๆ แต่พร้อมรับกับภาวะฉุกเฉินได้ทกุ รูปแบบ พี่ยงค์ไม่เรียกร้องกับว่าน้องว่าจะต้องท�ำตาม แบบที่พี่ยงค์ท�ำงาน คือ ท�ำงานทุกวันไม่มีค�ำว่าเสาร์หรือ อาทิตย์ กลางวันเทียบเท่ากลางคืน ไม่มีเส้นกั้นว่าเป็น ผู้อ�ำนวยการหรือหมอใหม่ จะบอกสั้น ๆ ว่า หมอเราน้อย คนไข้จนและล�ำบาก ตอนที่ตัวเองมาเป็นแพทย์ใช้ทุนรุ่นที่ 6 ในปี พ.ศ.2522 นั้น ก็แค่อยากมาใช้ชีวิตอิสระให้ไกลจากทาง บ้านมากทีส่ ดุ แต่กม็ ไิ ด้คาดว่าจะเจอกับสภาพการท�ำงาน ของแพทย์ในระดับอุดมคติขนั้ เทพที่ รพ.น่านแบบนี้ staff มีเพียง 7 คน คล้าย ๆ กันหมดคือดีจนละลานตา ได้เห็นชัด ๆ เต็มตาเต็มหัวใจว่า การเป็นหมอทีด่ นี นั้ ท�ำได้จริง ท�ำดีได้ ง่าย ๆ เป็นธรรมชาติ ไม่ต้องท�ำตัวแบบพระ เพียงแค่ ท�ำให้พอดี ครอบครัวไม่เดือนร้อน ท�ำงานไปด้วยสนุก ไปด้วย ใกล้ชิด ช่วยเหลือ เป็นที่ปรึกษา ห่วงหาอาทร และสั่งสอนแบบนิ่ม ๆ ในหลายเทคนิค หลายรูปแบบ หลายสถานที่ หลายจังหวะ ไม่ใช่เฉพาะกับแพทย์รุ่นน้อง แต่ท�ำกับทุกคนเท่าเทียมกัน สภาพสั ง คมของแพทย์ ที่ รพ.น่ า นโดยเฉพาะ พฤติกรรมของพี่ยงค์ พี่ใหญ่ของน้อง เจ้านายของทุกคน ท�ำให้หมอใหม่อย่างพวกเราต้องตะเกียกตะกาย พัฒนาตัว เองปัจจุบันทันด่วนขึ้นมาทันที ขอแค่เพียงให้ได้เศษเสี้ยว ของความดีขอพวกพี่ ๆ บ้าง
พีย่ งค์เคยบอกเราอย่าทีเล่นทีจริงว่าการทีพ่ วกเรา หมอผู้หญิง 3 คน (แอ๊ว จิ๋ว เหมียว) มาท�ำงานที่ รพ.น่าน ท�ำให้พี่รู้สึกยุ่งยากใจเล็กน้อย(เพราะในสมัยนั้น สภาพ แวดล้อมยังอันตรายและล�ำบาก ท�ำงานได้มีขีดจ�ำกัด ขนาดตัวก็กระจิดริด แรงน้อย แถมท�ำตัวไม่เชิงฉลาดนัก เอาแต่สนุกสนาน เฮฮา) พี่ยงค์จึงต้องเปลี่ยน Strategy ในการบริหารจัดการพวกเรา โดยท�ำตัวเป็นทั้งพ่อและพี่ ไปพร้อมกัน ตอนที่พี่ยงค์พูดค�ำพูดนี้ พวกเราก็มิได้ส�ำนึก เอาแต่หัวเราะไร้สาระ แต่เมื่อเวลาผ่านไปจึงได้เรียนรู้ว่า พี่ยงค์ท�ำตัวแบบนั้นจริง ๆ คือ เป็นเสมือนทั้งพ่อและพี่ สอนเราเยอะมากทั้งด้านการแพทย์และด้านอื่น ๆ เช่น ด้านบริหาร พีย่ งค์จะมาพูดให้เราฟังก่อนทีพ่ จี่ ะไปพูดตาม ทีต่ า่ ง ๆ เกีย่ วกับเรือ่ งการบริหารคน งาน เครือ่ งมือ แม้แต่ ด้านส่วนตัวที่ไม่ได้เกี่ยวข้องก็ยังสอนได้อีก คือ ในช่วง 5 วันแรกหลังจากการรายงานตัวมาท�ำงานที่ รพ.น่าน พี่ยงค์จะเรียกแพทย์ใช้ทุนแต่ละคนเข้าพบ
-83-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
เพื่อถามว่าแผนชีวิตคืออะไร สนใจอยากท�ำอะไร ใน ความหมายของพี่ยงค์ตั้งใจจะถามว่าสนใจสูติ ศัลย์ Med หรือเด็ก ตัวเองก็บอกพีย่ งค์ไปว่าอยากเรียนท�ำกับข้าว จะ เตรียมตัวเป็นแม่บา้ น พีถ่ ามกลับมาทันทีวา่ แล้วมีแฟนรึยงั เราก็บอกว่ายังไม่แน่ใจแต่ก็อยากเตรียมตัวไว้ก่อน หลัง จากนั้นพอเวลา 5 โมงเย็น แม่บ้านของพี่ยงค์จะโทรตาม ให้มาหัดท�ำกับข้าวทุกวัน ถ้าคุณยาย (คุณแม่พี่พนิดา) มาก็จะถูกเรียกให้มาหัดท�ำขนม ท�ำกับข้าวไม่ใช่ว่าจะให้ ท�ำงานเพียงอย่างเดียวในโรงพยาบาลหรือให้อยูแ่ ต่ในครัว พี่ยงค์จะสนับสนุนให้พวกเราออกงานสังคม ให้ รูจ้ กั คนในจังหวัด เรียนรูใ้ นการสร้างเครือข่ายทัง้ ในระบบ และนอกระบบ จึงได้เห็นท่าทีของพีย่ งค์ทสี่ ภุ าพ ให้เกียรติ แก่คนทุก ๆ คน แม้ว่าพี่ยงค์จะได้รับรางวัลอะไรมากมาย ดูราวกับว่าของรางวัลชีวิตเหล่านั้นมิได้กล�้ำกลายท�ำให้ พีย่ งค์เปลีย่ นแปลงทัง้ ภายในภายนอก ยังรักษาความดีงาม ไว้ให้น้อง ๆ ที่ตามหลังได้ทึ่ง ได้เรียนรู้ เลียนแบบ และ ด�ำเนินรอยตามไปนานแสนนาน จนหลายคนทักว่า ศิษย์ เก่าที่มาจากน่าน มักมีลักษณะบางอย่างที่คล้าย ๆ กัน
การกลับไปทีน่ า่ นทุกครัง้ จึงพบความสุขทุกครัง้ เสมือนราวกับว่าได้กลับบ้าน ได้กลับมายืนอยู่ในจุดที่ เป็นรากฐานความเป็นหมออย่างแท้จริง รู้สึกถึงความโชคดีของตนเองที่ได้มาใช้ชีวิตที่นี่ และที่ส�ำคัญคือได้กลับไปเจอคนที่ท�ำหน้าที่พ่อและพี่ ที่ดีที่สุดแก่ชีวิตของเรา......พี่ยงค์ ศ.คลินิก พญ.วินัดดา ปิยะศิลป์ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิระดับ 11 สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี ประธานชมรมจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่นแห่งประเทศไทย รองประธานราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย อุปนายกสมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย 23 ตุลาคม 2556
“..การเป็นหมอที่ดีนั้นท�ำได้จริง ท�ำดีได้ง่าย ๆ เป็นธรรมชาติ ไม่ต้องท�ำตัวแบบพระ เพียงแค่ท�ำให้พอดี ..”
-84-
หนึ่งปีที่เปลี่ยนชีวิต เกือบ 35 ปีที่จากน่านมา ฉันยังแวะเวียนกลับไป เยี่ยมน่านอีกหลายครั้ง จนผู้คนสงสัยว่ามีความหลังอะไร กับที่นั่น หรือที่นั่นมีอะไรดี ? เคยไปอยู่ใช้ทุนแค่ปีเดียว ประทับใจอะไร ? คงไม่ใช่เป็นเพราะมีแอ๊วเพื่อนรักอยู่ที่ นัน่ เพียงอย่างเดียวหรอกนะ ถ้าจะบรรยายเป็นค�ำพูดออก มาคงบอกไม่ถูก แต่สรุปได้ใจความสั้น ๆ ว่าเป็น “1 ปี ที่ เปลี่ยนชีวิต” เดือนเมษายน ปี 2522 ฉันกับเพื่อนอีกหลายคน ได้เดินทางไปจังหวัดน่าน เพื่อเป็นแพทย์ใช้ทุนตามที่ จับสลากได้ สารภาพว่าตอนนั้นเลือกตามเพื่อนรักทั้ง สองคนคือเหมียวกับแอ๊วเพื่อไปใช้ทุนในจังหวัดบ้านเกิด ของแอ๊ว โดยไม่ได้สนใจว่าโรงพยาบาลน่านเป็นอย่างไร โรงพยาบาลอ�ำเภอที่เราต้องออกไปอยู่มีที่ไหนบ้าง และ แพทย์ที่อยู่ที่น่านเป็นใครกันบ้าง แต่ชื่อหนึ่งที่ได้ยินจาก ปากแอ๊วบ่อยๆคือ “พี่ยงค์” ถึงแม้พยี่ งค์จะอายุ 48 ปีในขณะทีพ่ วกเราเพิง่ 25 แต่ท่านก็อนุญาตให้เราเรียกว่าเป็น “พี่” ได้ ซึ่งท�ำให้เรา กล้าที่จะปรึกษาปัญหาทุกอย่าง และเคารพรักประหนึ่ง เป็นพี่ชายจริงๆ ตลอดเวลา 1 ปีทอี่ ยู่ ฉันได้รบั ความรูม้ ากมายจาก พีย่ งค์ทงั้ ทางวิชาการและแนวทางในการท�ำงานตลอดจน ทัศนคติในการเป็นแพทย์ทดี่ ี ซึง่ ไม่เคยมีอาจารย์แพทย์คน ไหนเคยให้มาก่อน บางเรือ่ งพีย่ งค์ไม่จำ� เป็นต้องออกปาก สอน แต่ท�ำให้ดูเป็นตัวอย่าง สิ่งเหล่านี้ค่อยๆ ซึมซับ เข้าไปโดยไม่รู้ตัว และติดมาจนตลอดชีวิตการท�ำงาน จนกระทั่งบัดนี้ เคยเห็นพี่ยงค์เรียกเจ้าหน้าที่มาบอกว่าให้เฝ้า คนไข้ที่อาการไม่ค่อยดีแต่ถูกทิ้งให้นอนอยู่บนเปลเข็น คนเดียว เคยเห็นว่าท่านเซ็นชื่อมาท�ำงานตามเวลาจริง เช่น 08.31 น.ซึ่งแทบจะไม่มีข้าราชการคนไหนกล้าท�ำ อย่างนั้น ปฏิบัติงานตามปกติในวันเสาร์ และอยู่เฝ้าห้อง ฉุกเฉินจน 21.00 น. ทุกวัน ท�ำให้เราสนุกกับการท�ำงานที่ มีพี่ๆอยู่ครบทีมไปด้วย หลัง 21 นาฬิกา ก็ยกขบวนกันไป รับประทานอาหารเย็นที่บ้านพี่ยงค์ (ซึ่งแสนเอร็ดอร่อย จนจ�ำได้ไม่รลู้ มื ) ตลอดทัง้ ปี โดยไม่เกรงอกเกรงใจเจ้าของ บ้าน แต่ยอมรับว่าช่วงเวลานั้นเป็นเวลาอีกช่วงหนึ่ง ของชีวิตที่มีความสุขมากที่สุด
เราไม่ได้ท�ำตัวเป็นแพทย์ที่ดีนัก บางทีก็อู้งาน มีขี้เกียจบ้าง เวลาอยู่โรงพยาบาลอ�ำเภอก็จะเข้าเมือง สัปดาห์ละครั้งในวันอาทิตย์ตอนสาย ๆ หลังจากราวนด์ วอร์ดเสร็จ เนื่องจากความเหงาที่อยู่โรงพยาบาลเล็ก ๆ ที่ไม่มีสิ่งบันเทิงอะไรเลย พี่ยงค์ไม่เคยต�ำหนิ ไม่เคยว่าที่ เราทิ้งโรงพยาบาลมา แต่เรา “รู้สึก”ได้เองว่าเป็นสิ่งที่ ไม่ควรท�ำ เช่นเดียวกับทีพ่ ยี่ งค์จะไม่ตเิ ตียนว่ากล่าวแพทย์ ในโรงพยาบาลทีท่ ำ� ไม่ถกู ต้อง แต่ใช้วธิ ที ำ� ให้ดเู ป็นตัวอย่าง และให้รู้สึกส�ำนึกตัวได้เอง ถ้าคนที่ไม่คิดได้เองก็คงไม่มี ประโยชน์อะไรที่จะไปว่ากล่าวจะท�ำให้ขุ่นเคืองกันไป เปล่า ๆ ฉันเองเพิ่งมารู้ตัวว่าอันที่จริงไม่ได้ชอบการเป็น แพทย์ ไม่ชอบการออกโอพีดี ไม่ชอบราวนด์วอร์ด ชอบแต่ การผ่าตัด พี่ยงค์คงดูออกจึงได้พยายามหาเคสผ่าตัดป้อน ให้ แต่กระนั้นก็ยังไม่รู้สึกว่ามัน “ใช่” และพี่ยงค์อาจจะมี ความเชือ่ ว่าโลกนีไ้ ม่มคี นขีเ้ กียจ มีแต่คนทีย่ งั ไม่ได้ทำ� สิง่ ที่ ตัวเองชอบ จึงคอยสังเกตสังกาอยูว่ า่ ฉันชอบอะไร ในทีส่ ดุ วันหนึง่ พีย่ งค์กย็ นื่ จดหมายจากแพทย์สภาให้ มีขอ้ ความว่า วิชารังสีวทิ ยาเป็นสาขาวิชาทีข่ าดแคลน ให้แพทย์สามารถ ไปเรียนได้โดยไม่ต้องใช้ทุนจนครบ ตอนนั้นก็ยังงง ๆ อยู่ ว่าตัวเองชอบหรือเปล่า แต่เมื่อมาเรียนและจบมา
-85-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
“..บางเรื่องพี่ยงค์ไม่จ�ำเป็นต้องออกปากสอน แต่ท�ำให้ดูเป็นตัวอย่าง สิ่งเหล่านี้ค่อยๆ ซึมซับเข้าไปโดยไม่รู้ตัว และติดมาจนตลอดชีวิตการท�ำงาน จนกระทั่งบัดนี้..” ท�ำงานแล้วจึงรูว้ า่ สิง่ นีแ้ หละคือสิง่ ทีพ่ ยี่ งค์เลือกให้และถูก กับนิสัยเป็นที่สุด ทุกวันนี้จึงท�ำงานด้วยความสุข พอใจ ในอาชีพของตัวเองอย่างยิ่ง และเชื่อมั่นว่าตัวเองเป็น รังสีแพทย์ทดี่ คี นหนึง่ ยังยึดหลักในการท�ำงานทีพ่ ยี่ งค์เคย ท�ำตัวอย่างให้ดูเสมอมา ถ้าไม่มี 1 ปีนั้น ฉันคงค้นตัวเอง ไม่พบและคงท�ำงานซังกระตายไปวัน ๆ กับงานที่ตัวเอง ไม่รัก จึงเรียกได้ว่าเป็น “1 ปี ที่เปลี่ยนชีวิต” จริง ๆ วันนี้มาท�ำงานห่างไกลถึงจันทบุรีแต่ยังร�ำลึกถึง พระคุณของท่านเสมอ ท่านเป็นผูใ้ ห้ชวี ติ ใหม่และทัศนคติ ใหม่ในการเป็นแพทย์อย่างแท้จริง ก่ อ นหน้ า นี้ ต อนที่ ท ่ า นได้ รั บ ต� ำ แหน่ ง สมาชิ ก วุ ฒิ ส ภา เมื่ อ ใดเห็ น ท่ า นในโทรทั ศ น์ ที่ ถ ่ า ยทอดการ ประชุมสภา ยังต้องลุกขึ้นมานั่งเรียบร้อยพนมมือไหว้
ซึ่งได้เล่าให้แอ๊วฟัง แอ๊วก็บอกว่าเธอจะบ้าเหรอมานั่ง ไหว้ทีวี แต่มันเป็นความรู้สึกที่เคารพเทิดทูนจริง ๆ จน ต้องแสดงออกแบบนั้น ปัจจุบนั พีน่ ดิ ภรรยาของพีย่ งค์ซงึ่ ได้เล่นเฟสบุค๊ อยู่ ได้โพสต์ภาพของพีย่ งค์ลงเป็นครัง้ คราว เห็นคราวใดก็รสู้ กึ ตกใจเหมือนนักเรียนเจอครู และเหมือนพีย่ งค์มาเตือนว่า จิ๋ว,วันนี้เธอเป็นหมอที่ดีแล้วหรือยัง ? ได้แต่ตอบในใจว่า หนูจะพยายามค่ะ แม้ยังไม่ได้เศษเสี้ยวของพี่ยงค์ ก็ตาม จากหมอจิ๋ว - นิภาวรรณ งามปิยะสกุล (โกศัลวัฒน์) รังสีแพทย์ โรงพยาบาลกรุงเทพจันทบุรี
-86-
-87-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ปลุก “ความเป็นหมอบุญยงค์” ในตัวเรา ในโอกาสที่ลูกหลาน ลูกศิษย์ กัลยาณมิตรร่วมกันจัดงานร�ำลึกคุณงาม ความดีของอาจารย์หมอบุญยงค์ วงศ์รักมิตร ซึ่งมีอายุ ๘๐ ปีเต็มใน วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นวาระส�ำคัญที่เราท่านผู้มาร่วมงานจะมีโอกาส ทบทวนแรงบันดาลใจเจิดจ้าจากการที่ได้ร่วมท�ำงานกับอาจารย์หมอบุญยงค์ และแลกเปลี่ยนความทรงจ�ำอันแจ่มชัด ผ่านการเสวนา สนทนา ข้อคิด บทความ ต่างๆ ผมขอขอบคุณทีมงานผู้จัดงานนี้ที่ได้เกียรติเป็นคนหนึ่งที่จะร่วมทบทวน และสะท้อนความทรงจ�ำอันแสนทรงคุณค่าจากการได้ร่วมท�ำงานกับ อาจารย์ หมอบุญยงค์ วงศ์รักมิตร และได้มีโอกาสตอบแทนพระคุณที่ทา่ นอาจารย์หมอ ได้มอบโอกาสและสิ่งดีงามต่อตัวผมเสมอมา ในแวดวงสาธารณสุข นพ.บุญยงค์ วงศ์รกั มิตร ได้ รับการยกย่องนับถือ และถูกกล่าวขานปากต่อปากอย่าง กว้ า งขวางถึ ง ความมุ ่ ง มั่ น ตั้ ง ใจ ความสามารถในการ บริหาร และคุณูปการต่อระบบบริการสาธารณสุขในยุค ที่มีความขาดแคลนหมอซึ่งมีฝีมือ เครื่องมืออันมีคุณภาพ โดยเฉพาะในจังหวัดน่าน พืน้ ทีช่ ายแดนห่างไกลจนหลาย คนไม่ รู ้ ว ่ า อยู ่ ต รงไหนบนแผนที่ แต่ ท ่ า นได้ ท� ำ หน้ า ที่ข้าราชการในพระเจ้าอยู่หัวต่อเนื่องนานกว่า ๓๐ ปี ที่ โรงพยาบาลน่าน โดยปฏิเสธความปรารถนาดีจากผูบ้ งั คับ บั ญ ชาที่ จ ะแต่ ง ตั้ ง ท่ า นไปเป็ น ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ใน กระทรวงสาธารณสุข ในต�ำแหน่งซึ่งเป็นที่ปรารถนาของ ข้าราชการทั่วไป ท่านปฏิเสธโอกาสงามๆ หลายครั้ง ด้วย เหตุผลเฉพาะตัวว่าท่านไม่เหมาะกับหน้าที่ในกระทรวง สาธารณสุข และขอท�ำหน้าที่ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล น่านต่อไปจวบจนอายุครบหกสิบปีบริบรู ณ์ ท่านได้ลาออก จากราชการมาใช้ชีวิตอย่างสมถะร่วมกับอาจารย์หมอ พนิดา วงศ์รักมิตร คู่ชีวิตของท่าน ณ บ้านสวน ชีวติ ช่วงทีเ่ ลยวัยหกสิบนัน้ ท่านอาจารย์หมอตัง้ ใจ จะศึกษาแก่นธรรมและประวัติศาสตร์ล้านนา ด้วยความ ทีท่ า่ นมีสำ� นึกความเป็นพลเมืองสูง ท�ำให้ทา่ นมิอาจดูดาย กับการมีสว่ นร่วมสนับสนุนให้ประชาชนชาวน่าน นักธุรกิจ ข้าราชการ ท้องถิ่น นักวิชาการ และสถาบันศาสนาร่วม กันส่งเสริมให้น่านเป็นจังหวัดน่าอยู่ มีการพัฒนาอย่าง ยัง่ ยืน ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและใช้ประโยชน์อย่างรูค้ ณ ุ ค่า มีสว่ นในการบริหารจัดการบ้านเมืองหรือประชาธิปไตย อย่ า งมี ส ่ ว นร่ ว ม ฯลฯ สั ง คมน่ า นได้ พึ่ ง ท่ า นในฐานะ พลเมืองอย่างเข้มข้นและต่อเนื่อง ท่านมา
โรงพยาบาลน่านทุกวันราชการ เพือ่ มาดูแลพีส่ าวผูเ้ ปรียบ ดั่งมารดาคนที่สอง และมาที่ศูนย์ประสานงานประชาคม จังหวัดน่าน ซึ่งตั้งอยู่ที่โรงพยาบาลน่าน เพื่อเป็นก�ำลังใจ ให้แก่ทีมงานศูนย์ฯ ซึ่งท�ำหน้าที่กึ่งอาสาสมัคร คือ มี ต�ำแหน่งเงินเดือนทางราชการ แต่ท�ำงานทั้งราชการและ สังคมควบคู่กัน ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดมีหลายท่าน อาทิ นพ.คณิต ตันติศริ วิ ทิ ย์ อดีตผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาลน่าน เมื่อเกษียณอายุราชการ ก็มาท�ำหน้าที่ “กึ่งอาสาสมัคร” คือ รับบ�ำนาญแต่ท�ำงานเพื่อสังคมเป็นหลัก
-88-
ผลงานเชิ ง ประจั ก ษ์ ข องโรงพยาบาลน่ า นนั้ น นับได้วา่ เป็นตัวอย่างเลิศ (Best Practice) ในหลาย ๆ ด้าน อาจารย์ ห มอบุ ญ ยงค์ เล่ า ให้ ฟ ั ง ว่ า ผู ้ บ ริ ห าร โรงพยาบาลจังหวัดหลาย ๆ ท่านออกตัวอย่างถ่อมตนว่า ...โรงพยาบาลอื่นคงท�ำอย่างโรงพยาบาลน่านไม่ได้ เพราะน่านมีหมอบุญยงค์... ค�ำกล่าวในท�ำนองนี้ผมยัง ได้ยินเสมอ ในปีนี้ พ.ศ. ๒๕๕๖ แม้อาจารย์หมอบุญยงค์ ได้เกษียณอายุราชการไปยีส่ บิ ปีเต็มแล้ว ผมยังได้ยนิ ค�ำพูด ท�ำนองนี้อยู่ อาจารย์หมอบุญยงค์ท่านมิได้ยินดีกับความคิด และความเชื่อของผู้คน ตัวท่านในฐานะมนุษย์ชื่อบุญยงค์ ไม่มอี ทิ ธิฤทธิห์ รือปาฏิหาริยท์ ำ� ให้ผลงานของโรงพยาบาล น่านดีเลิศเหนือโรงพยาบาลอื่น ความเชื่อที่ว่า...เพราะ น่านมีหมอบุญยงค์...ได้ปดิ กัน้ โอกาสทีผ่ อู้ นื่ หน่วยงานอืน่ จังหวัดอืน่ จะพัฒนาและปรับปรุงจากเนือ้ นาบุญ (หรือทุน ปัญญา ทุนสังคม ทุนความสัมพันธ์ ฯลฯ) ของตน อาจารย์ หมอบุญยงค์จงึ ย�ำ้ เตือนให้เรามองให้ไกลกว่า...เพราะน่านมี หมอบุญยงค์... จ�ำเป็นต้องก้าวให้พน้ ค�ำนีอ้ ย่างผูม้ ปี ญ ั ญา ผมประจักษใน “ความเป็นหมอบุญยงค์” ซึ่ง งอกงามผ่านลูกศิษย์ที่ผมคุ้นเคยและมีโอกาสคลุกคลี ท�ำงานร่วมกับหลาย ๆ ท่าน ผู้ได้ส�ำแดงให้ปรากฏทั้งทาง วิธีคิด วิธีพูด และวิธีท�ำอยู่เป็นนิจ หล่อหลอมเป็นบารมี หรือ charisma เปล่งรัศมีแห่งความน่าคบหา น่าท�ำงาน ด้วย ความคิดความเชื่อของอาจารย์หมอบุญยงค์ที่ได้ งอกงามในใจผ่านสูว่ าจาและการกระท�ำ ได้แก่ “...ปัญหา ใหญ่ของโลก คือ คนไม่ชอบหน้ากัน ไม่ร่วมมือกัน...” อาจารย์หมอให้มองด้านดีของผู้อื่น ฝึกให้ผัสสะ สีหน้า ท่าที วาจา ของเรายอมรับยกย่องให้เกียรติและหยิบยื่น ไมตรีความร่วมมือกับผู้อื่นอย่างจริงใจ ท่านกล่าวอีกว่า “...คนเรานั้น เขาชอบเราจึงเชื่อเรา เมื่อชอบและเชื่อ เราแล้ว เขาถึงท�ำตาม...” คือ เราต้องท�ำดีต่อเขาก่อน อาจารย์หมอไม่ศรัทธาระบบอุปถัมภ์หรือระบบ เจ้าพ่อ “...ผมไม่ใช่เจ้าพ่อจึงไม่มลี กู น้อง มีแต่เพือ่ นร่วม งาน...” ท่านไม่เคยเอาเปรียบหรือเบียดเบียนผู้ใต้บังคับ บัญชาหรือผู้มีวัยวุฒิน้อยกว่า ทุกครั้งที่น้อง ๆ จัดหาข้าว ของมาใช้นั้น ท่านจะถามเสมอ ๆ ว่า “...ของนี้หนูได้มา อย่างไร เดีย๋ วมาเอาเงินจากลุงหมอไปให้เขานะ...” ช่าง แตกต่ า งจากสั ง คมอื่ น ใดที่ ย อมสยบแก่ ต� ำ แหน่ ง หรื อ อ�ำนาจ ซึ่งผู้เป็นใหญ่มีบริวารล้อมหน้าล้อมหลัง และถือ เป็นธรรมเนียมปฏิบัติว่าผู้น้อยต้องมีของก�ำนัลเล็ก ๆ น้อย ๆ มาฝากลูกพี่เสมอ!!!
-89-
อาจารย์หมอบุญยงค์ วงศ์รักมิตร ได้ปฏิบัติ หน้ า ที่ ต ่ อ ประเทศชาติ ด ้ ว ยความมุ ่ ง มั่ น เสี ย สละ ความทราบถึงเบื้องพระยุคลบาท พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าพระราชทาน เครื่ อ งราชอิ ส ริ ย าภรณ์ ในตระกู ล เครื่ อ งราช อิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า คือ ชั้นตติยจุลจอมเกล้า ต.จ. และต่ อ มาทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า พระราชทาน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้ นทุ ติ ย จุ ล จอมเกล้ า วิ เ ศษ ท.จ.ว. ถ้ า เป็ น สมั ย ราชาธิปไตยท่านผู้ได้รับพระมหากรุณาธิคุณมักมี บรรดาศักดิ์เป็นพระยา ชาวบ้านเรียกว่า “พระยา พานทอง” ภาพอาจารย์หมอใส่เสื้อครุยปัก จ.จ.จ. พร้อมพานหมากทองค�ำลายสลักเครือ่ งพร้อมคนโท น�้ำลายสลักพร้อมพานรอง กาน�้ำทองค�ำลายสลัก พร้อมโต๊ะทองค�ำ กระโถนทองลายสลัก มาตั้ง ประกอบการถ่ายภาพอันเป็นเกียรติยศสูงสุดนั้น ท่านอาจารย์หมอเทิดทูนไว้เหนือเกล้า ภาพนีอ้ ยูใ่ น ห้องพระ น้อยคนนักจะได้เห็น เพราะท่านมิได้โหย หาลาภ ยศ สรรเสริญ และไม่ยึดติดในมายาค�ำว่า “พระยาพานทอง” มี แ ต่ ค วามส� ำ นึ ก ในพระ มหากรุณาธิคุณและพระราชวิริยะแห่งพระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และพระบรมวงศานุ ว งศ์ ทุกพระองค์ซงึ่ ท่านน้อมน�ำใส่ใจจวบจนชีวติ จะหาไม่ นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ท่ า นกล่ า วเสมอว่ า “...พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงเจริ ญ พระชนมายุ ม ากกว่ า ผมถึ ง เจ็ดปี ท่านทรงงานมิได้หยุด พวกเรามักบ่นว่า เหนื่อย เหนื่อย พระองค์ท่านทรงงานไม่หยุดเลย แล้วพวกเรา อายุน้อยกว่าท่านมาก จะบ่นเหนื่อยก็กระไร...” เชื่ อ ว่ า ทุ ก ท่ า นได้ สั ม ผั ส ถึ ง ภาวะผู ้ น� ำ ซึ่ ง ท่ า น อาจารย์หมอเปล่งให้ปรากฏแก่ตา ประจักษ์แก่ใจเพื่อน ร่วมงานและผูใ้ ต้บงั คับบัญชาเสมอ ๆ “...สนับสนุนให้เขา คิดได้-ท�ำได้ จากนั้นให้โอกาสเขาได้คิด-ได้ท�ำ...” ท่าน น�ำโดยท�ำให้เขาเห็น แล้วท่านถอยมาอยู่เคียงข้าง พอเขา มั่นใจท�ำได้แล้ว ท่านก็ถอยมาตามหนุนจากเบื้องหลัง ไม่ ทอดทิ้งให้พื่อนร่วมงานและผู้ใต้บังคับบัญชาต้องท�ำงาน โดยปราศจากการสนับสนุนที่เพียงพอและทันการ “...เราต้องจ�ำใส่ใจเสมอว่า ผู้ปฏิบัติเขาเดือด ร้อนเขาจึงขึน้ มาหาทีฝ่ า่ ยอ�ำนวยการ หน้าทีเ่ ราคือต้อง ช่วยแก้ปัญหาให้เขามิใช่ปฏิเสธอย่างโน้นอย่างนี้ว่าไม่ ได้หรือไม่ให้ ต้องหาทางช่วยเขาจนสุดก�ำลัง ถ้าสุดวิสยั ท�ำไม่ได้หรือจ�ำเป็นต้องบอกว่าท�ำให้ไม่ได้จริงๆ ก็ให้ หมอเป็นคนบอกเขาเองนะ...” สรุปเป็นหลักว่า ฝ่าย อ�ำนวยการมีหน้าที่ตอบ Yes ถ้า Yes,if หรือ No,but ผู้อ�ำนวยการจะอธิบายด้วยตนเอง
ยามเราเผลอท่านก็มักยิงค�ำถาม ถามพวกเราว่า หลั ก การของเรื่ อ งนี้ ว ่ า อย่ า งไร บางครั้ ง เราท� ำ หน้ า เหรอหรา ท่านจึงส�ำทับย�้ำเตือนว่า “...หลักการซึ่งเรา ศรัทธาว่าดี ว่าใช่ ต้องแปะติดไว้ที่สมองน�ำออกมาใช้ เสมอๆ มิใช่เก็บง�ำไว้...” ในวัยแปดสิบปีบริบูรณ์ของอาจารย์หมอบุญยงค์ วงศ์รกั มิตร พวกเราพร้อมจะถนอมรักษา “ความเป็นหมอ บุญยงค์” ให้งอกงามในความคิด ค�ำพูด และการกระท�ำ ของพวกเราได้จริงจังสักเพียงใด ถ้าเราต่างคนต่างมีจิตใจ มั่นคง พูดจริงท�ำจริง ไม่โลเลเหลาะแหละ ท�ำได้ดังนี้ “ความเป็นหมอบุญยงค์” อย่างน้อยก็จะสืบทอดและยัง ประโยชน์ตอ่ ชีวติ การงานและครอบครัวของเราไปอีกหนึง่ รุ่น หรือ หนึ่ง Generation ผู้เป็นบัณฑิตได้พานพบคุรุ ย่อมไม่เสียทีที่เกิดมา โชคดีที่ในชีวิตของเรานั้นได้เข้าถึง “ความเป็น หมอบุญยงค์” ที่แท้จริง
-90-
นายแพทย์ชาตรี เจริญศิริ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักสนับสนุนและประสานงานเขต ส�ำนักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา กทม.
บันทึกความทรงจ�ำ..แด่อาจารย์บุญยงศ์ และอาจารย์ทุกท่านที่โรงเรียนแพทย์น่าน..2529 รองศาสตราจารย์นายแพทย์อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยเพื่อสร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ผมเติบโตในกรุงเทพ จบโรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย ขณะเป็นนักเรียนไม่ได้สนใจจะเป็นหมอเลย แต่ พ่อกับแม่อยากให้เรียนเพราะเห็นลูกลุงเขาเรียนกันตัง้ สอง คน เราเองก็ไม่แน่ใจตัวเองว่าอยากเป็นอะไร พอเข้าเรียน ปีหนึง่ แม้เป็นยุคเริม่ เสือ่ มถอยของขบวนการนักศึกษา แต่ ก็ยงั มีพลังระดับหาง ๆ หลงเหลืออยูบ่ า้ ง ผมถูกกล่อมด้วย รุ่นพี่ๆที่อยู่ในชมรมต่างๆ ตึกกิจกรรม สโมสรนักศึกษาให้ เห็นถึงบทบาทของแพทย์ต่อประชาชน ยุคนั้นก็ยังมีเอียง ซ้าย มีบทพูดกล่อมเกลาที่คัดลอกจากหนังสือประธาน เหมาอยูบ่ า้ ง อาจารย์แพทย์ทงั้ หมดก็สอนให้นกั ศึกษาเป็น แพทย์ที่ดี แต่อาจารย์แพทย์ที่มีประสบการณ์จริง พูดได้ เต็มปาก บอกเนียน ๆ กับนักศึกษาให้เห็นถึงปัญหาของ ประชาชน ปัญหาชนบทได้นั้นเห็นจะมีไม่มาก จะมีบ้างก็ อาจารย์เวชศาสตร์ชุมชน และอาจารย์อาวุโสบางคน นอกนั้นสมัยนั้นอาจารย์หนุ่ม ๆ กลาง ๆ คนมัก จะจบแล้วไปเมืองนอกเลยแล้วก็กลับมาสอน เน้นคุณภาพ มาตรฐานสูงของการบริการทางการแพทย์ ซึ่งก็เป็นสิ่งที่ ดีมาก แต่เราก็รู้สึกว่า มันแตกต่างกันมากนะ ระหว่างโรง พยาบาลโรงเรียนแพทย์กบั โรงพยาบาลชนบท 10 เตียงที่ เราเห็นขณะไปเยี่ยมเยียนรุ่นพี่ตอนปิดเทอม เราเองก็ อยากจะท�ำงานบุกเบิกในชนบท แต่ก็รู้สึกไม่แน่ใจ “คงมี แพทย์ไม่กคี่ นหรอกทีจ่ ะท�ำแบบนี้ จะมีใครยอมท�ำงานใน ชนบทนานๆ เป็นหมอชั้นสอง low tech ไม่รวย” ผมมาถึงเมืองน่านผ่านถนนพันโค้งรุน่ เก่าปี 2529 ได้ฟงั เรือ่ งราวของอาจารย์บญ ุ ยงค์ ของอาจารย์ดาวฤกษ์ จากรุ่นพี่ก่อนมา ผมได้รู้ว่าอาจารย์บุญยงค์ เป็นผู้อ�ำนวย การที่นี่ก่อนผมมากว่ายี่สิบปี อาจารย์อยู่ตั้งแต่กลิ่นไอ สงครามการเมืองยังคุกรุ่น ผู้คนยังยากจน การเดินทาง ยากล�ำบาก (กว่าตอนผมมาอีกหลายเท่า) ผมได้รับการ บอกกล่าวว่าอาจารย์เป็นทัง้ ครูแพทย์ ผูบ้ ริหาร ศัลยแพทย์ ที่ยอดเยี่ยมและดูแลน้อง ๆ แพทย์ใหม่อย่างดี
เมื่อมาถึงก็ได้พบว่าสิ่งที่ได้ยินมานั้นเป็นสิ่งที่เรา สั ม ผั ส ได้ จ ริ ง ตั้ ง แต่ ก ้ า วแรกที่ เ ราได้ มี โ อกาสมาเป็ น ส่วนหนึ่งของ รพ.น่าน ความรู้สึกที่เราสัมผัสได้บอกว่าที่ รพ.น่านแห่งนีม้ คี วามอบอุน่ ของการดูแลเอาใจใส่กนั อย่าง จริงใจทัง้ แบบครูกบั ศิษย์ แบบพีก่ บั น้อง และแบบเพือ่ นๆ มีระบบบริการที่ค�ำนึงถึงผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางที่สัมผัสได้ มี ร ะบบบริ ห ารจั ด การที่ ใ ห้ เ กิ ด คุ ณ ภาพการบริ ก าร มาตรฐานวิ ช าการที่ จ ริ ง จั ง ตั้ ง แต่ ยั ง ไม่ มี ก ารประกั น คุ ณ ภาพ และที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด คื อ เรารู ้ สึ ก ได้ ว ่ า คนที่ โรงพยาบาลนี้ เมือ่ เขาพูดถึงทีน่ ี่ เขาแสดงออกถึงความรัก ต่อโรงพยาบาล ต่อผู้บริหาร แสดงความรัก ความภูมิใจ ต่องานที่ท�ำ เรารู้สึกได้ในคนท�ำงานทุกระดับ ทั้งหมดนี้ ไม่มที างทีเ่ กิดขึน้ เองได้ ต้องเกิดภายใต้การบริหารจัดการ ที่ดีเท่านั้น ผมปฏิ บั ติ ง านโรงพยาบาลค่ า ยสุ ริ ย พงษ์ ตึ ก พิ ทั ก ษ์ ไ ทยซึ่ ง เป็ น ตึ ก ทหารและพระสงฆ์ และวอร์ ด ศัลยกรรมโรงพยาบาลน่าน
-91-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ได้เรียนรูก้ ารผ่าตัดจากพีส่ มพงศ์ พีด่ าวฤกษ์ พีว่ ชิ ยั พีว่ ชิ ยั ยังประจ�ำ ER ตลอดเวลาเรียกว่าเป็น emergency physician คนแรกของประเทศไทยก็ว่าได้ แปลกมากที่ เมืองน่านยังมี American board ด้านอายุรกรรมจาก สหรัฐอเมริกาคือพี่คณิต ซึ่งเป็นคนกรุงเทพแท้ ๆ แต่ไม่ ยอมกลับกรุงเทพและมี cardiologist คือพีน่ วิ ตั ชิ ยั ทีย่ า้ ย ไป รพ.ทรวงอก แล้วยังขอย้ายกลับมา รวมทัง้ พีแ่ อ๊วกุมาร แพทย์ทนี่ า่ รัก 6 ขุนพลของอาจารย์บญ ุ ยงค์ทที่ ำ� ให้ผมเลิก คิดไปเลยว่า “คงมีแพทย์ไม่กี่คนหรอกที่จะท�ำแบบนี้ได้ จะมีใครยอมท�ำงานในชนบทนาน ๆ” ผมเห็นพี่ทุกคนท�ำงานอย่างมีความสุข ได้ฟัง ได้ เรียนเรื่องราวมากมายเกี่ยวกับอาจารย์บุญยงค์จากพี่ ๆ รู ้ สึ ก ได้ เ ลยว่ า พละก� ำ ลั ง เหล่ า นี้ เ กิ ด ขึ้ น ได้ ด ้ ว ยรั ก และ ศรัทธาต่ออาจารย์บุญยงค์ สั่งสมมาเป็นความรักและ ศรั ท ธาต่ อ ภารกิ จ ในการดู แ ลประชาชนน่ า นและการ พัฒนาเมืองน่าน ผมได้เรียนรู้เลยว่าผู้น�ำที่ดีต้องสร้าง “ศรัทธา” ให้ได้จงึ จะสร้างพลังมหาศาลให้เกิดกับองค์กร แต่ ก็ รู ้ เ ช่ น เดี ย วกั น ว่ า คงมี ผู ้ น� ำ น้ อ ยคนนั ก ที่ จ ะสร้ า ง “ศรัทธา” ได้เช่นนี้ พอผมผ่าตัดได้เองก็เริ่มเซทเคสเอง แต่เคสที่เรา เซทผ่าเองต้องเอาแฟ้มมาวางไว้ที่ห้องพักแพทย์เพื่อรอ การตรวจสอบก่อนว่าเรียบร้อยหรือไม่ เวลาเราผ่าตัด คนไข้จะนอกหรือในเวลาก็ตาม ถูกก�ำชับว่าหากท�ำไม่ได้ ให้ตามเลย ผมเองโทรตามรุ่นพี่ให้มาช่วยบ่อย ไม่เคย ผิดหวัง รุ่นพี่อาวุโสทั้งหลายยุคนั้นไม่เคยมีวัฒนธรรมว่า ต้องคนอยูเ่ วรเท่านัน้ ทีม่ าช่วย ทุกคนมาช่วยอย่างรวดเร็ว และเต็มใจ รุน่ พีเ่ หล่านีไ้ ม่วา่ จะเป็นพีด่ าวฤกษ์ พีส่ มพงศ์ พี่ วิ ชั ย ได้ ร ่ ว มปฏิ บั ติ ง านกั บ อาจารย์ บุ ญ ยงค์ ด้ า น ศัลยกรรมสงครามอย่างหนักหน่วงในยุคสมัยซึง่ รัฐบาลไทย และพรรคคอมมิวนิสต์ยงั เผชิญหน้ากันด้วยอาวุธ
ผมมาปลายยุคหลัง 66/23แล้ว แต่ยังต้องตัดขา ทหารเกือบ 20 ขา อาจารย์สั่งเสมอเรื่องห้ามเย็บปิด stump ครั้งหนึ่งได้เห็นอาจารย์บุญยงค์ สั่งการที่ห้อง ฉุกเฉิน หลังได้รับรายงานจากวิทยุว่ามีทหารถูกลอบยิง 4 คน หลังรถปิคอัพ ได้เห็นเฮลิคอปเตอร์ลงหลัง รพ. ได้ เห็นทีมแพทย์พยาบาลใส่ถุงมือยืนรอ ได้เห็นการ triage resuscitation ได้เห็นเจ้าหน้าที่ lab มายืนรอเตรียมรับ ตัวอย่างเลือดไปจัดหาเลือดทีจ่ ะให้ ได้เห็นการเคลือ่ นย้าย จากห้องฉุกเฉินสู่ห้องผ่าตัดซึ่งออกแบบมาให้อยู่ติดกัน เพียงแค่เดินทะลุ จริงๆแล้วห้อง x-ray ก็ท�ำได้รวดเร็ว เช่นกัน เพราะถูกออกแบบมาให้อยู่ในพื้นที่ห้องฉุกเฉิน ด้วย ทัง้ หมดนีม้ าเห็นอีกครัง้ อีกสิบกว่าปีตอ่ มาเมือ่ เดิน ทางไปดูงาน emergency medicine ที่ Canada และ ที่ Ohio ที่น่าแปลกกว่านั้นคือได้เห็น วารสารการแพทย์ (medical journal) ตีพิมพ์กันใหญ่เลยว่า มีความคุ้มทุน มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการให้แพทย์เวชศาสตร์ ฉุกเฉิน (emergency physician) ท�ำ ultrasound ใน ห้องฉุกเฉิน เกิดความรู้ใหม่ในการฝึกแพทย์สาขาใหม่ใน ห้องฉุกเฉิน เกิดการลงทุนให้ซื้อเครื่อง ultrasound ไว้ ER เกิดการอบรมเป็นเรื่องเป็นราวในการท�ำ ultrasound ส�ำหรับแพทย์ฉกุ เฉิน จ�ำได้วา ่ 10 กว่าปีกอ่ น ตอน โรงพยาบาลน่าน ได้เครือ่ ง ultrasound เครือ่ งแรกมาถึง โรงพยาบาล อาจารย์บุญยงค์ สั่งให้ไปตั้งไว้ที่พื้นที่ห้อง ฉุกเฉิน ไม่ให้ลอ๊ คห้องล๊อคเครือ่ ง ให้แพทย์ทกุ คนใช้ได้ ใช้ ฉุกเฉินได้ ถ้าผู้ป่วยไม่มีก�ำลังจ่าย ไม่ต้องคิดเงิน เพื่อให้ แพทย์ได้ใช้เครื่องให้เป็นประโยชน์สูงสุด และมีโอกาส สร้ า งความเชี่ ย วชาญด้ ว ย ถ้ า พวกเราเขี ย น paper ไปตีพิมพ์เรื่องการใช้ ultrasound โดยแพทย์ฉุกเฉิน เราก็กลายเป็น pioneer ไปแล้ว เมื่อผมเป็นแพทย์ใช้ทุน จ�ำได้ว่าเรามีประชุม วิชาการของโรงพยาบาลเกือบทุกเดือน แต่ทกุ สุดสัปดาห์ จะพบปะกับผู้อ�ำนวยการ อาจารย์บุญยงค์ จะพาเราไป ในเมือง กินอาหารกลางวันและสอบถาม สารทุกข์สุขดิบ กัน เรามีหอ้ งพักแพทย์อยูท่ หี่ อ้ งฉุกเฉิน ส่วนตัวแล้วห้อง พักแพทย์โรงพยาบาลน่านเป็นสิง่ สุดยอดสิง่ หนึง่ ในชีวติ ผม หลายครั้งผมไม่ได้กลับหอ มาอาศัยหลับนอนอยู่ใน นั้นเป็นประจ�ำ ไม่ใช่แต่ผม แต่บรรดาหมอ ๆ ที่ไม่กลับ บ้านทัง้ ชายและหญิงก็มอี กี หลายคน ในนัน้ มีขา้ วเช้า มีทวี ี มีหนังสือเป็นห้องสมุดชัน้ หนึง่ เลย แต่ไม่ตอ้ งยืม นอนอ่าน ได้ด้วย มีเกมส์ให้เล่น เวลาเพื่อนที่อยู่เวรยุ่งมาก หรือไม่
-92-
ชอบผ่าตัด เราก็จะไปช่วยดูคนไข้บ้าง ไปแย่งกันผ่าตัด คนไข้ฉุกเฉินบ้าง ไปช่วยดูคนไข้วอร์ดบ้าง ดึก ๆ อาจารย์ บุญยงค์ พี่ดาว และพี่อื่น ๆ ก็เดินมานั่งคุย ให้ความรู้ ให้ ค�ำปรึกษาเป็นประจ�ำ ผมจ�ำได้หลายเรือ่ งราวทีพ่ วกเรามีความสุข มานัง่ หัวเราะกัน มีทุกข์ก็มาคุยกัน บางคนก็ร้องไห้กันในห้องนี้ ผมโชคดี ที่ ไ ด้ เ ริ่ ม ชี วิ ต แพทย์ ท่ี โ รงพยาบาลน่ า นแห่ ง นี้ บทเรียนในโรงเรียนแพทย์มนั น้อยนิดมากเทียบกับบทชีวติ จริงทีเ่ ราได้เรียนรูจ้ ากโรงพยาบาลแห่งนี้ ผมคิดว่าทีน่ ไี่ ม่ใช่ โรงพยาบาลน่านแต่ที่นี่คือโรงเรียนแพทย์น่าน ผมร�ำลึก เสมอว่าอาจารย์บุญยงค์และพี่ทุกคนคือครูแพทย์ของ พวกเรา ในวั น นี้ ผ มเห็ น เมื อ งน่ า นทั้ ง เมื อ งเจริ ญ ขึ้ น ทั้ ง โครงสร้างและสังคม ผมยังเห็นอาจารย์บุญยงค์ อาจารย์ คณิต มีบทบาทในภาคประชาชน ไม่ควรตั้งค�ำถามที่ผม เคยถามตัวเองเมื่อเกือบ 30 ปีก่อนว่า “จะมีใครยอม ท�ำงานในชนบทนานๆ เป็นหมอชั้นสอง low tech ไม่รวย” แต่ต้องตั้งค�ำถามใหม่ว่า “ท�ำไมถึงไม่เลือกที่จะ ใช้ชวี ติ แพทย์ของตนเองและให้โอกาสกับครอบครัวในการ เติบโตในเมืองทีป่ ระชาชนมีความรักความผูกพัน พยายาม
ด�ำรงวัฒนธรรม ไม่ยอมเสือ่ มถอยตามกระแสโลกาภิวฒ ั น์ รักษาคุณค่าและจิตวิญญาณของเมือง” ผมได้ฟังเรื่อง นโยบายวัคซีนหัดของอาจารย์บุญยงค์ เมื่อมาเริ่มใช้ใน จังหวัดน่านตั้งแต่สมัยที่ยังต้องซื้อเอง ท�ำให้เข้าใจว่าไม่มี ค�ำว่า low tech มีแต่ค�ำว่าการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม คุ้มค่า และเสมอภาค เทคโนโลยีสูงแต่ใช้ได้เฉพาะกลุ่มที่ จ่ายได้ คือเทคโนโลยีทไี่ ม่เป็นธรรมก่อให้เกิดความขัดแย้ง ในสังคม ผมได้เห็นชีวิตหลังราชการของอาจารย์บุญยงค์ และรุ่นพี่แพทย์ เข้าใจได้เลยว่าความรวยทางวัตถุนั้น ไม่อาจเปรียบได้เลยกับความร�่ำรวยด้วยความรัก ความ เคารพจากคนอืน่ ๆ ทัง้ เมือง ความร�ำ่ รวยเหล่านีไ้ ด้มาจาก การท� ำ ความดี การเสี ย สละ การท� ำ งานที่ ห นั ก จน ก่อเกิดศรัทธาประชาชน สุดท้ายนี้ ผมขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยได้ ปกป้องคุ้มครองอาจารย์บุญยงค์ให้สุขสมบูรณ์ทั้งกาย ใจ และจิตวิญญาณ อาจารย์บุญยงค์ เป็นครูแพทย์ที่พวก เราจะยึดถือเป็นแบบอย่างในการด�ำเนินชีวิตตลอดไป
-93-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
อาจารย์บุญยงค์...ที่ผมรู้จัก
-94-
อาจารย์บญ ุ ยงค์...ทีผ ่ มรูจ้ กั นพ.พิษณุ ขันติพงษ์ ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลน่าน ในราวปลายปี พ.ศ.2520 ขณะนั้ น ผมเป็ น นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 5 ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เลือกมาฝึกงานที่ โรงพยาบาลน่านเป็นเวลา 3 สัปดาห์ ในวิชา preventive medicine จ�ำได้ว่าต้องเดินทาง ทั้งวัน ออกจากเชียงใหม่ตั้งแต่เช้าตรู่โดยรถเมล์เขียว ถึงน่านตอนค�่ำ เส้นทางคดเคี้ยวผ่านผืนป่าและภูเขา นับไม่ถว้ น ผูโ้ ดยสารหลายคนอาเจียนตลอดทาง เป็นการ เดินทางที่ยาวนานมาก ไกลเหลือเกิน แต่เลือกมาน่าน เนื่องจากรุ่นพี่ ๆ บอกว่าได้ความรู้ดี ได้ท�ำอะไรมากมาย ตอนนั้นทางโรงพยาบาลจัดให้ผมนอนที่บ้านพักอาจารย์ ดาวฤกษ์
วันรุ่งขึ้น อาจารย์บุญยงค์ เรียกไปพบและบอก ให้ไปฝึกท�ำหมันหนึ่งสัปดาห์ ผมจ�ำได้ว่าช่วงเวลานั้นได้ ท�ำหมันทุกวัน แต่ละวันไม่ต�่ำกว่า 5 ราย ท�ำกับพยาบาล ผูช้ ว่ ยจนเกิดความช�ำนาญพอสมควร สัปดาห์ที่ 2 อาจารย์ เรียกไปพบถามผมว่าเป็นไงท�ำหมันคล่องแล้วยัง ผมตอบ อาจารย์ไปว่าหลับตาท�ำได้เลยครับ อาจารย์จึงถามกลับ
-95-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ว่าไหนลองบอกให้ฟงั ซิวา ่ peritoneum ปกติเป็นอย่างไร รังไข่ลักษณะเช่นไร ovarian ligament เกาะอยู่ตรง ไหน ท่อน�ำไข่ปกติลักษณะอย่างไร ผมนึกภาพไม่ออก ตอบอาจารย์ไม่ได้ เพราะเวลาท�ำหมันหลังคลอดลงแผล เล็ก ๆ ใต้สะดือจนเข้าช่องท้อง จึงใช้ forceps ควานหา ท่อน�ำไข่ แล้วใช้ Babcock จับท่อน�ำไข่ผูกแล้วตัดเป็นอัน เสร็จ ไม่เคยได้สังเกตเลยว่าสิ่งต่าง ๆ ที่อาจารย์ถามเป็น อย่างไร อาจารย์สอนว่าเราเป็น surgeon ไม่ใช่ butcher (คนขายเนือ้ ) ต้องสังเกตดูอวัยวะต่าง ๆ ด้วย จะได้รวู้ า่ บาง รายผิดปกติ การท�ำหมันเช่นนีถ้ อื เป็น mini-exploratory laparotomy อย่างหนึ่ง ซึ่งสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ใน การรักษาคนไข้ได้ เช่น กรณีที่สงสัยว่าจะภาวะเลือดออก ในช่องท้อง ผมจึงกลับไปท�ำหมันใหม่ คราวนีไ้ ม่ตอ้ งเร่งรีบ สังเกตสิ่งต่าง ๆ ไปด้วย และสิ่งที่อาจารย์สอนก็เกิดประโยชน์จริง ๆ ที่ผม ได้น�ำไปใช้ในการดูแลคนไข้ได้ เมื่อผมไปเป็นแพทย์ใช้ทุน อยูท่ โี่ รงพยาบาลเบตง มีเด็กถูกรถชนมานอนโรงพยาบาล ในช่วงปลาย ๆ เวรบ่าย ผมสงสัยว่าจะมีมา้ มแตกแต่อาการ ยังไม่ชัดเจน จะสังเกตอาการและเจาะ Hct. เป็นระยะ ๆ ก็ใช้เวลานาน จึงได้ท�ำ mini-exploratory lap. แล้วใช้ proctoscope ตัวเล็กสอดในแผลผ่าตัด ใช้ไฟฉายส่อง เห็นเลือดเคลือบบริเวณล�ำไส้บางส่วน จึงขยายแผลผ่าตัด ท�ำ exploratory lap. ต่อ พบว่ามีม้ามแตกจริงเป็นแบบ ปริ เลือดซึมออกมาเรื่อย ๆ ท�ำให้เด็กปลอดภัยได้รับการ ตัดม้ามเร็วไม่ต้องเติมเลือด ผมได้เข้าใจถึงการเป็น surgeon ที่แท้จริง ที่ต่าง จาก butcher ที่ท�ำผ่าตัดไปตามหน้าที่ บางครั้งให้การ วินจิ ฉัยล่าช้าเป็นเหตุให้ถงึ แก่ชวี ติ บางครัง้ ไม่ได้เตรียมตัว ในการค้นคว้าหาความรู้ให้ดีก่อนที่จะท�ำการผ่าตัดท�ำให้ เกิดความผิดพลาด โรงพยาบาลหลายแห่งจึงได้ชื่อว่าเป็น โรงฆ่าสัตว์ ท�ำให้ผมสนุกกับการท�ำผ่าตัด เพราะผู้ป่วย แต่ละรายแม้จะเป็นโรคเดียวกัน ได้รับการรักษาโดยการ ผ่าตัดเช่นกัน แต่รายละเอียดจะแตกต่างกัน และเข้าใจ ในการเป็นศัลยแพทย์ที่ดีว่าควรมีหน้าที่เช่นไร ผมต้องขอ ขอบคุณอาจารย์ที่ได้ให้ข้อคิดที่ดีแก่ผมในวันนั้น มีอยูค่ นื หนึง่ อาจารย์อทุ ยั อยูเ่ วร โทรศัพท์ชวนผม กลางดึกว่ามีเคส Upper GI hemorrhage สงสัยgastritis มีข้อบ่งชี้ต้องผ่าตัด อยากเข้าช่วยไหม ผมรีบไปทันที และเข้าช่วยผ่าตัดด้วย เมื่อผ่าเปิดกระเพาะอาหารพบว่า สะอาดดี ไม่มี bleeding แต่อย่างได อาจารย์อุทัยใช้มือ คล� ำ ไปข้ า งบน คล� ำ ได้ ก ้ อ นสงสั ย ว่ า จะเป็ น
CA Esophagus จึงให้ตามอาจารย์บุญยงค์ ผมจ�ำได้ว่า อาจารย์มาถึงห้องผ่าตัดราว ๆ ตี 3 ไม่มีท่าทีว่าอารมณ์ เสีย แต่พูดจาไต่ถามรายละเอียด พร้อมสอนวิธีที่จะท�ำ ผ่าตัดต่อไปอย่างไร แล้วเริ่มผ่าตัดจนสามารถเอาก้อน ออกหมดพร้อมกับต่อหลอดอาหารกับกระเพาะอาหาร เรียบร้อย ผมจ�ำได้ว่ารู้สึกประทับใจในฝีมือการผ่าตัด ของอาจารย์มากถึงขนาดตั้งใจที่จะเป็นศัลยแพทย์ให้เก่ง เหมือนอาจารย์ ก่อนออกจากเคสอาจารย์บอกว่า เย็บปิด เสร็จแล้วไปทานกาแฟที่บ้านขณะนั้นใกล้ ๆ 6 โมงเช้า หลังผ่าตัดเสร็จผมกับอาจารย์อทุ ยั ได้ไปแวะบ้านอาจารย์ ที่มีอาหารเช้าเตรียมพร้อมอย่างเรียบร้อย ผมจ�ำได้วา่ ในขณะนัน้ ห้อง ER อยูต่ ดิ ห้องพักแพทย์ ทีใ่ ช้เป็นห้องสมุดด้วย เมือ่ เลิกงานแล้วอาจารย์บญุ ยงค์จะมา สอนพวกเราโดยเฉพาะเมื่อมีเคสผู้ป่วยฉุกเฉินจะมีการท�ำ
-96-
conference นอกรอบกันแบบพี่ ๆ น้อง ๆ มีการเปิดต�ำรา แพทย์ที่มีอยู่อย่างมากมายมาอ้างอิง บางครั้งอาจารย์ จะอยู่กับเราจนทุ่มสองทุ่ม บ่อยครั้งที่อาจารย์พนิดา โทรศัพท์ตามให้ไปตรวจคนไข้ทคี่ ลินกิ อาจารย์จะบอกให้ อาจารย์พนิดาตรวจไปเลย แต่อาจารย์พนิดาจะตอบกลับ มาบอกว่าคนไข้ไม่ยอม จะรอตรวจกับอาจารย์บุญยงค์ ซึ่งผมมีความรู้สึกประทับใจในบรรยากาศนี้มาก ผมจ�ำได้ว่าในขณะนั้นเมื่อแพทย์ที่โรงพยาบาล ชุมชนมาส่งคนไข้จะมาเรียนรู้ด้วยกันตลอด เหมือนอยู่ ในโรงพยาบาลเดียวกัน เป็นความรู้สึกที่อบอุ่นมาก ๆ ผมจึงพยายามที่จะท�ำให้ความรู้สึกนี้ยังคงอยู่ตลอดไป ระหว่างโรงพยาบาลชุมชนกับโรงพยาบาลน่านเสมือนเป็น โรงพยาบาลเดียวกัน โดยไม่ค�ำนึงถึงเรื่องเงินที่เข้ามา รบกวนจิ ต ใจพวกเรา ท� ำ ให้ เ กิ ด ความแตกร้ า วกั น ได้ โดยง่าย ทั้งนี้เราควรค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของคนไข้ เป็นสิ่งส�ำคัญที่สุด ในช่ ว งที่ ผ มอยู ่ โ รงพยาบาลน่ า น เป็ น เวลาที่ อาจารย์บุญยงค์ได้รับรางวัล “คนไทยตัวอย่าง” จาก มู ล นิ ธิ ธ ารน�้ ำ ใจประจ� ำ ปี 2520 ผมจ� ำ ได้ ว ่ า ในวั น ที่ อาจารย์กลับมาจากการรับรางวัลที่กรุงเทพฯ เจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลน่านทุกคนในขณะนั้น พากันมายืนรอรับ อาจารย์ที่หน้าตึกอุบัติเหตุ ทุกคนมีความรู้สึกภูมิใจกับ รางวัลที่อาจารย์ได้รับ ผมยังจ�ำค�ำพูดของอาจารย์ได้ว่า
“ผมไปรับรางวัลครั้งนี้ ผมรับในนามของ โรงพยาบาล น่าน ไม่ได้รับในนาม นพ.บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ถ้าไม่มี ทุกคนช่วยกันท�ำงาน ผมคงไม่สามารถท�ำงานคนเดียว ให้ ส� ำ เร็ จ ได้ และผมขออนุ ญ าตมอบเงิ น รางวั ล ที่ ได้รับส่วนหนึ่ง ให้กับคณะแพทย์มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร์ เ นื่ อ งจากยั ง ขาดต� ำ ราแพทย์ ใ นห้ อ งสมุ ด ส่วนทีเ่ หลือทัง้ หมดผมขอมอบให้กบั โรงพยาบาลน่าน” หลาย ๆ คน หลัง่ น�ำ้ ตาด้วยความปิติ และเงินก้อนนีแ้ หล่ะ ที่เป็นจุดเริ่มต้นของกองทุนสวัสดิการโรงพยาบาลน่าน ให้เจ้าหน้าทีโ่ รงพยาบาลกูย้ มื ในอัตราดอกเบีย้ ต�ำ่ และใน คืนนัน้ จังหวัดน่านได้จดั งานแสดงความยินดีให้กบั อาจารย์ ทีม่ คี นมาร่วมงานกันอย่างมากมายแทบจะทัว่ ทัง้ เมืองน่าน แสดงถึงความเป็นคนดีจริง ๆ ที่ชาวน่านยอมรับ ในขณะ นั้นอาจารย์อายุเพียง 44 ปี แต่ถือได้ว่าอาจารย์ประสบ ความส�ำเร็จสูงสุดในชีวติ การท�ำงานแล้ว เพราะอยูใ่ นหัวใจ ของชาวน่านทุกคน โดยเฉพาะเหล่าทหารหาญทีไ่ ด้รบั บาด เจ็บจากการปะทะกับผู้ก่อการร้าย ทุกคนปฏิเสธที่จะไป รักษาที่โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า เนื่องจากไว้วางใจ ในตัวอาจารย์และโรงพยาบาลน่าน สมกับทีอ่ าจารย์ได้ให้ ค่านิยมร่วมของชาวโรงพยาบาลน่านว่า “จะรักษาอย่างเต็มความสามารถ ด้วยความ ระมัดระวัง และปรารถนาดีต่อผู้ป่วยและญาติ” ซึ่งพวกเราได้ยึดถือ จวบจนปัจจุบัน
-97-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
“
ผมไปรั บ รางวั ล ครั้ ง นี้ ผมรับในนามของ โรงพยาบาลน่าน ไม่ ไ ด้ รั บ ในนาม นพ.บุ ญ ยงค์ วงศ์รักมิตร ถ้าไม่มีทุกคนช่วยกัน ท�ำงาน ผมคงไม่สามารถท�ำงานคน เดียวให้ส�ำเร็จได้
ผมมีความรูส้ กึ เสียดายทีไ่ ม่ได้อยูโ่ รงพยาบาลน่าน กับอาจารย์ให้นานกว่านี้ ไม่งั้นคงได้เรียนรู้สิ่งดี ๆ จาก อาจารย์อีกมากมาย อย่างไรก็ตามผมรู้สึกดีใจและภูมิใจ ที่ได้มารับต�ำแหน่งเป็นผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลน่านต่อ จากอาจารย์นิวัตชัย เนื่องจากมีโอกาสที่จะได้มาพบ อาจารย์บญ ุ ยงค์และอาจารย์พนิดาอีกครัง้ หนึง่ ผมมีความ รู ้ สึ ก ตื่ น เต้ น เหมื อ นกั บ เจ้ า หน้ า ที่ โ รงพยาบาลน่ า น เนื่องจากโรงพยาบาลน่านไม่เคยมีผู้อ�ำนวยการที่มาจาก ที่อื่น แต่ก็ไม่ได้รู้สึกกังวลอะไรเนื่องจากมีความตั้งใจ ที่จะมาท�ำงานที่ได้รับมอบหมายให้ดีที่สุด และชื่อเสียง โรงพยาบาลน่านก็ดเี ด่นอยูแ่ ล้วในแง่ของการมีวฒ ั นธรรม องค์กรที่เข้มแข็งและดีงาม ผมถือเป็นโอกาสอันดีที่จะได้ เรียนรูก้ ารท�ำงานจากอาจารย์บญ ุ ยงค์อกี โดยเฉพาะความรู้ ทางการบริหาร เนือ่ งจากอาจารย์เป็นนักบริหารอันดับต้น ๆ ของ สธ. ที่ได้รับการกล่าวขานมานานจนเป็นต�ำนาน อาจารย์บอกผมว่าไม่เคยเรียน นบส. หรือวิชาการ บริหารใด ๆ แต่อาจารย์ได้รับเชิญให้เป็นวิทยากรสอนที่ วิทยาลัยนักบริหารสาธารณสุข และการสอนของอาจารย์ สร้างความประทับใจให้กับผู้บริหารทุกระดับ ซึ่งผมรู้ว่า เกิดจากประสบการณ์ที่อาจารย์ได้ปฏิบัติสะสมมาก่อน แล้วนัน่ เอง อาจารย์บอกว่าการบริหารทีด่ ตี อ้ งเป็น MBWA คือ Management by walking around จะได้รบั รูป้ ญ ั หา ด้วยตนเองได้พบปะกับบุคลากรทุก ๆ ระดับ อาจารย์จะ นั่งในห้องท�ำงานเฉพาะเซ็นต์หนังสือเท่านั้น อาจารย์ บ อกว่ า หลั ก การบริ ห ารนั้ น ที่ ส� ำ คั ญ ผูบ้ ริหารต้องไม่โลภ อาจารย์เคยเล่าให้ผมฟังว่า ในขณะที่ อาจารย์ เ ป็ น ผู ้ อ� ำ นวยการยั ง ได้ ซี 8 ทางกระทรวง สาธารณสุขให้ตำ� แหน่งซี 9 มา 1 ต�ำแหน่ง แก่ผอู้ ำ� นวยการ แต่ อ าจารย์ เ ห็ น ว่ า อาจารย์ ส มพงษ์ ศั ล ยแพทย์ โรงพยาบาลน่ า นท� ำ งานหนั ก มาตลอดสมควรที่ จ ะได้ มากกว่า อาจารย์จงึ ท�ำเรือ่ งให้อาจารย์สมพงษ์ได้กอ่ น แต่ ส�ำหรับตัวอาจารย์กว่าจะได้กใ็ กล้ทจี่ ะเกษียณอายุราชการ ซึ่งอาจารย์ไม่ได้เห็นถึงความส�ำคัญแต่อย่างใด อาจารย์สอนให้ผมได้เรียนรูว้ า่ ผูบ้ ริหารทีด่ จี ะต้อง สนับสนุนผูร้ ว่ มงานก่อนเสมอ ค�ำว่าไม่โลภของอาจารย์คอื ไม่โลภยศ ไม่โลภทรัพย์สินเงินทอง ไม่โลภชื่อเสียง จะ ท�ำให้เราเป็นผู้บริหารที่ประสบความส�ำเร็จเป็นที่รักของ ทุ ก ๆ คนและน� ำ พาองค์ ก รไปสู ่ เ ป้ า หมายสู ง สุ ด เพื่ อ ประโยชน์สุขของประชาชน ในส่วนตัวผมเห็นด้วยกับ อาจารย์เป็นอย่างมาก และได้เคยปรึกษากับประธาน
-98-
“
ชมรม รพศ./รพท. ทัง้ 2 ท่าน ต่างเห็นด้วยว่าผูอ้ ำ� นวยการ ไม่ควรไปแย่งต�ำแหน่งวิชาการระดับ 10 เนื่องจากเราไม่ ได้ทำ� งานบริการแล้ว จะไปเบียดบังเอาผลงานของน้อง ๆ คงเป็นเรือ่ งไม่ถกู ต้อง เรามีตำ� แหน่งเป็นผูบ้ ริหารระดับสูง ถือว่าสูงที่สุดในองค์กรน่าจะเพียงพอแล้ว อาจารย์เป็นตัวอย่างที่ดีส�ำหรับผู้บริหารในการ ปกครองคน โดยเฉพาะคนที่อยู่ใกล้ตัว คืออาจารย์พนิดา ตัง้ แต่อาจารย์เป็นผู้อำ� นวยการแล้วอาจารย์พนิดาจะต้อง ท�ำงานหนักขึน้ ออกโอพีดที กุ เช้าตรงเวลา บ่ายก็ตอ้ งออก ตรวจตรงเวลาเช่นกันจนกว่าคนไข้จะหมด เพือ่ ทีจ่ ะให้เป็น ตัวอย่างทีด่ ใี ห้ทกุ ๆ คนเห็น ไม่ใช่วา่ เป็นภรรยาผูอ้ ำ� นวยการ แล้วจะได้รับอภิสิทธิ์ท�ำงานน้อยกว่าคนอื่น หรือได้รับ โอกาสที่เป็นการได้เปรียบผู้อื่น จะเป็นเหตุให้เกิดความ อยุติธรรมในองค์กร ท�ำให้เสียการปกครองได้ อาจารย์เคยเล่าให้ผมฟังว่า ไม่เคยขอสองขั้นให้ อาจารย์ พ นิ ด าเลย จนกระทั่ ง ผวจ.น่ า น ต้ อ งขอให้ เนื่องจากเห็นในการเป็นตัวอย่างของผู้บริหารองค์กรที่ดี และอาจารย์พนิดาก็ท�ำงานดีสมควรที่จะได้รับความดี ความชอบ ผมเห็นว่าสิง่ ทีอ่ าจารย์ทำ� นีผ้ บู้ ริหารทุกคนควร เอาเป็นแบบอย่าง เหมือนดังทีอ่ าจารย์สอนว่าในการครอง คนนัน้ สิง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือความยุตธิ รรม ส่วนการครองตน นั้นด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและการครองงานนั้นด้วย สมรรถภาพ อาจารย์บอกว่าน�ำมาจากพระบรมราโชวาท ของในหลวง
ผมมีความประทับใจโรงพยาบาลน่านในการจัด งานรับแพทย์ใช้ทุนใหม่ เนื่องจากแพทย์รุ่นพี่ ๆ จัดได้มี ความหมายมาก ไม่ใช่แค่จัดงานเลี้ยงแล้วมีการแสดง ต่าง ๆ ก็จบ แต่ทโี่ รงพยาบาลน่านหลังงานเลีย้ งแล้ว มีการ รับขวัญหมอใหม่ โดยการทีพ่ ี่ ๆ จะจัดห้องให้มบี รรยากาศ ที่ดูศักดิ์สิทธิ์ โดยการปิดไฟในห้องขณะที่พี่ ๆ ยืนเข้าแถว สองข้างพร้อมจุดเทียนและร้องเพลงให้กำ� ลังใจน้อง ทีเ่ ดิน เข้าแถวมาให้ผู้อ�ำนวยการผูกข้อมือทีละคน ผมมีโอกาสได้ซักถามแพทย์ที่มาใช้ทุนรุ่นใหม่ว่า ท�ำไมจึงเลือกมาท�ำงานที่โรงพยาบาลน่าน ปรากฏว่าทุก คนตอบเป็ น เสี ย งเดี ย วกั น ว่ า ที่ เ ลื อ กโรงพยาบาลน่ า น เนื่องจากรู้มาก่อนว่างานหนัก ได้ท�ำมากและพี่ ๆ สอนดี ฯลฯ ซึ่งผิดจากบางแห่ง ที่เราจะได้รับค�ำตอบว่ารายได้ดี เป็นส่วนใหญ่ หลังจากนั้นจะมีการสนทนาแบบสุนทรีย สนทนา เป็นการเปิดใจน้องโดยการจัดเก้าอี้นั่งเป็นรูป วงกลมพีน่ งั่ สลับกันกับน้อง และเปิดโอกาสให้นอ้ งพูดเกีย่ ว กับตัวเองไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งครอบครัว อุปนิสยั ใจคอ เหตุผล ที่เลือกเรียนแพทย์ หรือเลือกมาท�ำงานที่น่านแบบไม่ จ�ำกัดเวลา แล้วพี่ ๆ หรือ น้อง ๆ คนอื่นก็จะซักถาม บาง ครัง้ พี่ ๆ ก็จะให้แง่คดิ ต่าง ๆ ปรากฏว่าปีนแี้ ล้วเสร็จ 9 โมง เช้า ทั้งพี่ทั้งน้องไม่ได้นอนเลยทั้งคืน ถือเป็นวัฒนธรรมที่ ดีมาก ท�ำให้น้อง ๆ เข้าใจพื้นฐานของกันและกัน และ พี่ ๆ ได้รู้จักน้อง ๆ ดีขึ้น ท�ำให้การท�ำงานราบรื่นขึ้น ผมทราบว่ า การรั บน้ อ งแบบนี้ มี ม านานแล้ ว
-99-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ผมพิจารณาดูแล้วรูเ้ ลยว่าวัฒนธรรมดีงามทีไ่ ด้รบั การปลูก ฝังมาตัง้ แต่สมัยอาจารย์บญ ุ ยงค์ยงั คงสืบทอดกันมาตลอด หลายสิบปีที่ผ่านมา อาจารย์จะพร�่ำสอนอยู่เสมอ ๆ ว่า “สอนให้จ�ำ ท�ำให้ดู อยู่ให้เห็น” ซึ่งมีความหมายชัดเจน อยู่ในตัวเอง และลูกหม้อของโรงพยาบาลน่านทุกคนจะ ปฏิบัติตามโดยตลอด จึงยังคงท�ำให้แพทย์รุ่นใหม่ ๆ ที่ ต้องการท�ำงานเป็นแพทย์ที่ดีงาม เลือกที่จะมาท�ำงานอยู่ ที่โรงพยาบาลน่าน จึงท�ำให้โรงพยาบาลน่านได้แพทย์ที่มี ความเป็นแพทย์ที่ดี มีอุดมการณ์ มาท�ำงานอยู่อย่าง ต่อเนื่อง นอกเหนือจากความเป็นแพทย์และผูบ้ ริหารทีด่ ี ที่ เก่งแล้ว อาจารย์ยังเป็นตัวอย่างที่ดี ในการเป็น family man เป็นหัวหน้าครอบครัวที่ดีสร้างครอบครัวที่อบอุ่น เพียงแต่อาจารย์ได้ทุ่มเทท�ำงานให้กับโรงพยาบาลจน ท�ำให้ไม่มีเวลา ขาดโอกาสในการอบรมเลี้ยงดูลูก ๆ ด้วย ตนเอง ต้องฝากให้เป็นหน้าที่ของพี่สาว ซึ่งลูก ๆ ทั้งสาม คนของอาจารย์ ก็ประสบความส�ำเร็จเป็นคนดีประกอบ สัมมาชีพและร่วมสร้างคุณค่าให้สังคม ในช่วงเทศกาล
วาเลนไทน์ปนี ี้ ผมยังจ�ำได้วา่ มีรปู ลุงหมอป้าหมอ (อาจารย์ บุญยงค์และอาจารย์พนิดา) ที่ถ่ายคู่กันเป็นพรีเซ็นเตอร์ ติดอยูท่ วั่ ไปในเมืองน่าน เสมือนเป็นตัวอย่างของความรัก ที่ยิ่งใหญ่ให้คนรุ่นหลังได้เห็นเป็นแบบอย่าง ปัจจุบัน อาจารย์จะกลับไปทานกลางวันที่บ้านทุกวัน เรียกได้ว่า อาจารย์ทั้งสองท่านทานข้าวร่วมกันทุกมื้อตลอดระยะ เวลาหลายสิบปีที่ผ่านมา เป็นตัวอย่างที่ดีส�ำหรับพวกเรา ทีค่ วรเอาเป็นแบบอย่าง เคยมีความรักต่อกันทีห่ วานซึง้ ใน วัยหนุม่ สาวอย่างไร ก็ยงั คงรักษาความรักทีม่ ตี อ่ กันจนแก่ เฒ่าอย่างนัน้ ทุกครัง้ ถ้าอาจารย์ตดิ ธุระไม่สามารถกลับไป ทานกลางวันที่บ้าน อาจารย์จะต้องโทรศัพท์ไปบอก อาจารย์พนิดาก่อน เพื่อจะได้ไม่ต้องรอหรือเป็นห่วง ผมและหมอพัชรีได้เห็นอาจารย์ทงั้ สองหยอกเย้า กั น ด้ ว ยค� ำ พู ด กระเซ้ า เย้ า แหย่ กั น อย่ า งมี ค วามสุ ข อยู ่ บ่อย ๆ เวลาที่มีโอกาสทานอาหารกลางวันในวันอาทิตย์ ที่บ้านผมสัญญากับตัวเองว่าจะเอาเป็นแบบอย่างจะได้ ท�ำให้การอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขแม้อยู่ในวัยสูงอายุ เมือ่ ครอบครัวอบอุน่ ย่อมส่งผลให้สงั คมอบอุน่ และเข้มแข็ง
-100-
ทุกวันเวลา 9 โมงเช้า อาจารย์จะต้องแวะไปเยีย่ ม คุณป้า (พี่สาวอาจารย์ ซึ่งเป็นผู้อุปถัมภ์น้อง 3 คนรวมทั้ง อาจารย์ให้ได้รับการศึกษาสูงสุดในวิชาชีพของตนเอง) อดีตอธิการสถาบันราชภัฏเชียงใหม่ ซึ่งนอนโรงพยาบาล ด้วยอาการไม่รู้สึกตัวมาหลายปีแล้ว อยู่ที่ ICU ศัลยกรรม เป็นประจ�ำ ไม่ว่าดินฟ้าอากาศจะเป็นเช่นไร อาจารย์จะ ใช้เวลาอยู่กับคุณป้าราว 1 ชั่วโมง แล้วจึงไปนั่งอยู่ที่ห้อง กิจการพิเศษซึ่งเป็นห้องท�ำงานของอาจารย์จนถึงเที่ยง จึงจะกลับเข้าบ้าน เป็นกิจวัตรที่ท�ำต่อเนื่องมาโดยตลอด พวกเราทุกคนจะเห็นอาจารย์ทำ� เช่นนีเ้ ป็นประจ�ำ ไม่มีท่าทีที่เบื่อหน่ายหรือท�ำไปตามหน้าที่ แต่ถ้าสังเกต ให้ดีแล้วจะเห็นว่าอาจารย์ท�ำไปด้วยความสุข จึงเป็น ตัวอย่างอันดีส�ำหรับพวกเราที่ได้เห็นถึงความกตัญญูที่มี ต่อผู้มีพระคุณ ที่พวกเราพึงเอาเป็นแบบอย่าง แม้อาจารย์จะเกษียณอายุแล้ว แต่ไม่เคยหยุดนิ่ง ยังคงท�ำประโยชน์ให้สังคมอยู่ตลอดเวลา สมกับค�ำที่ว่า “โรงพยาบาลน่าน โรงพยาบาลคุณภาพ เพื่อบริการ สั ง คม” อาจารย์ เ ป็ น ที่ เ คารพรั ก ของชาวน่ า นทุ ก คน เปรียบเสมือนเสาหลักของน่านก็วา่ ได้ เมือ่ อาจารย์พดู ทุก คนจะเงียบน้อมรับฟัง เนื่องจากตลอดชีวิตของอาจารย์ แสดงให้ชาวน่านได้เห็นแล้วว่า มีแต่ความปรารถนาดีต่อ เมืองน่าน อาจารย์จงึ มีบทบาทมากมายในคณะกรรมการ ต่าง ๆ ของน่าน เป็นต้นว่า ร่วมเป็นที่ปรึกษาคณะ อนุกรรมการอนุรักษ์เมืองเก่าน่าน ซึ่งมีบทบาทเป็นอย่าง มากที่จะอนุรักษ์ผังเมือง และสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ในเขต เมืองเก่าให้คงอยู่ตลอดไป ท�ำให้สิ่งปลูกสร้างจากความ เจริญสมัยใหม่ไม่สามารถที่จะบดบังความงดงามในอดีต ได้ อาจารย์เป็นผูท้ มี่ บี ทบาทส�ำคัญในโครงการปิดทองหลัง พระฯ ซึ่งมาท�ำโครงการที่น่านตั้งแต่เริ่มเเรก นอกจากนี้ อาจารย์ยงั เป็นทีป่ รึกษาให้กบั โครงการต่าง ๆ และรวมทัง้ บุ ค คล ที ม งานมากมาย โดยเฉพาะที่ ท� ำ เกี่ ย วกั บ สิ่ ง แวดล้อมหรือผลกระทบต่าง ๆ ที่จะเกิดกับเมืองน่าน อาจารย์ยังเป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล ในฐานะประธาน มูลนิธิพระครูพุทธมนต์โชติคุณ อาจารย์ได้สนับสนุนคนดี ๆ เพื่อสร้างสิ่งดี ๆ ให้ เกิดขึน้ ทีเ่ มืองน่าน เป็นต้นว่า ให้การสนับสนุนศิลปินน่าน อาจารย์วินัย ปราบริปู ตั้งแต่เริ่มแรก ในการจัดตั้ง “หอศิลป์ริมน่าน” ในปี พ.ศ.2547 เพื่อจัดนิทรรศการ ทางศิลปะของอาจารย์วินัยหรือศิลปินท่านอื่น ๆ เพื่อให้
ชาวน่านได้รับความสุขจากการเสพงานศิลปะพร้อมกับ รับฟังค�ำชี้แนะเกี่ยวกับงานศิลป์ ผมถือว่าเป็นโอกาสอันดี ของชาวน่านเป็นอย่างมาก อาจารย์จะเดินทางไปร่วมให้ ก�ำลังใจในวันเปิดงานทุกครัง้ ถ้าไม่ตดิ ภารกิจจ�ำเป็นจริง ๆ ท�ำให้อาจารย์วนิ ยั ซึง่ ผมถือว่าเป็นศิลปินทีแ่ ท้จริงคนหนึง่ ทีส่ ร้างสรรผลงานมากมายเพือ่ ให้ผอู้ น่ื มีความสุขชืน่ ชมกับ สิ่งที่อาจารย์สร้างสรร ไม่ได้หวังเพียงเพื่อขายรูปเท่านั้น อาจารย์วินัยให้ความเคารพนับถืออาจารย์บุญยงค์มาก ในโอกาสที่โรงพยาบาลน่านเตรียมเปิดอาคาร สิริเวชรักษ์ ผมได้ไปพบอาจารย์วินัยและเล่าให้อาจารย์ ฟังถึงความคิดที่อยากให้โรงพยาบาลน่านเป็นบ้านหลัง ใหญ่ของชาวน่านที่จะเข้ามารักษายามเจ็บป่วย ต้องการ สร้างให้โรงพยาบาลมีบรรยากาศที่ดี จึงเรียนปรึกษา อาจารย์เพือ่ พิจารณาน�ำภาพวาดของอาจารย์ไปประดับที่ โรงพยาบาล อาจารย์ได้ไปเดินดูอาคารสถานทีด่ ว้ ยตนเอง และน�ำภาพขนาดใหญ่ 4 ภาพ (แต่ละภาพราคาหลายแสนบาท) มาติดให้บริเวณผนังด้านหน้าห้องประชุมพุทธมนต์โชติคุณ
-101-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
นอกจากนี้อาจารย์ยังน�ำภาพเขียนอีก 2 ภาพ ประดับทีผ่ นังภายในห้องประทับสมเด็จพระเทพฯ รวมทัง้ เครื่องประดับต่าง ๆ ที่อาจารย์ได้สะสมไว้ด้วย นอกจาก นี้อาจารย์ยังน�ำภาพวาดอีก 4 ภาพประดับในห้องภูฟ้า ที่ ใช้เป็นห้องเสวยพระกระยาหารอีกด้วย และในวันทีส่ มเด็จ พระเทพฯ เสด็จเปิดอาคารสิริเวชรักษ์ อาจารย์วินัยได้ ถวายภาพทั้ง 4 ภาพที่หน้าห้องประชุม เพื่อพระราชทาน ให้โรงพยาบาลน่าน และในโอกาสที่อาจารย์บุญยงค์อายุ ครบ 80 ปี อาจารย์วนิ ยั ได้แสดงความจ�ำนงทีจ่ ะมอบภาพ ทั้ง 4 ภาพที่ห้องภูฟ้าให้โรงพยาบาลน่านด้วย ผมรู้สึกปิติ เป็นอย่างมากที่ได้เห็นผู้ที่อาจารย์บุญยงค์สนับสนุน มี ความกตัญญูและเดินตามรอยของอาจารย์ นอกจากนีผ้ มยังมีโอกาสได้พบกับคุณหน่าและคุณ โจ แห่งคณะหุ่น “โจ-หน่า” ผู้ซึ่งอาจารย์บุญยงค์และ มูลนิธิพระครูพุทธมนต์ฯ ให้การสนับสนุนตั้งแต่ต้น ทั้ง ๆ ที่ยังไม่มีใครรู้จัก แต่อาจารย์มีความเชื่อมั่นในบุคคล ทั้งสอง ในการน�ำเอา “หุ่นวังหน้า” ที่สูญหายไปนาน มาสร้างตัวหุ่นขึ้นใหม่ด้วยตนเอง โดยอาศัยรูปภาพที่ ปรากฏในหนังสือ พร้อมเสริมอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ให้เคลือ่ นไหว เวลาเชิดอย่างงดงาม เป็นการอนุรักษ์ศิลปะดั้งเดิมไม่ให้ สูญหาย จนปัจจุบันหุ่นคณะ “โจ-หน่า” ประสบความ ส�ำเร็จได้รับรางวัลชนะเลิศระดับโลก ในงานแสดงหุ่น โลกทีก่ รุงปร้าก สาธารณเช็ค ทัง้ คูจ่ ะเดินทางมาเชิดหุน่ ให้อาจารย์บุญยงค์ดูทุกปี เพื่อแสดงความกตัญญูที่ อาจารย์สนับสนุนตั้งแต่เเรก ผมมีโอกาสได้พบทัง้ คูแ่ ละสัมผัสหุน่ วังหน้าทีไ่ ด้สร้าง ขึน้ ด้วยฝีมอื อันประณีตบรรจงทรงคุณค่ามาก ๆ และฝีมอื การเชิดหุ่นที่สวยงามเป็นที่สุด ทั้งคู่พูดชื่นชมอาจารย์ บุ ญ ยงค์ ต ลอดเวลา เนื่ อ งจากคุ ณ หน่ า เป็ น คนอ� ำ เภอ ท่าวังผา จึงได้น�ำหุ่นมาแสดงที่ โรงเรียนบ้าน
ท่ า วั ง ผา ซึ่ ง เป็ น โรงเรี ย นแห่ ง แรกของคุ ณ หน่ า เพื่ อ เป็นการสร้างแรงบันดาลใจให้เด็ก ๆ ในชนบท ให้กล้าที่ จะฝันในสิง่ ทีอ่ ยูไ่ กลตัว และเพียรพยายามให้เป็นจริงตาม รอยรุน่ พีท่ ปี่ ระสบความส�ำเร็จแล้ว ในวันนัน้ อาจารย์คณิต และภรรยาได้ไปร่วมชมการแสดงหุน่ ด้วย ซึง่ คุณหน่าและ คุณโจได้ตงั้ ใจแสดงอย่างเต็มที่ อาจารย์ได้แสดงให้ผมเห็น อีกครัง้ ในบทบาททีส่ ร้างคนดี ๆ สิง่ ดี ๆ ให้สงั คมทีพ่ วกเรา ทุกคนควรเอาเป็นแบบอย่าง ในฐานะที่ เ ป็ น ผู ้ อ� ำ นวยการโรงพยาบาลน่ า น ผมรู้สึกอบอุ่นเป็นอย่างมากที่ทุก ๆ วันจะมีผู้อ�ำนวยการ อยูใ่ นโรงพยาบาลถึง 4 คน (อาจารย์บญ ุ ยงค์ อาจารย์คณิต อาจารย์นวิ ตั ชัยและผมเอง) แต่ละท่านต่างก็ทำ� หน้าทีข่ อง ตนเองให้เป็นประโยชน์ตอ่ โรงพยาบาลน่านและสังคมน่าน ทั้งสามท่านมีความผูกพัน ความรัก ความปรารถนาดีต่อ โรงพยาบาลอย่างที่สุด พลอยท�ำให้ผมได้รับความเมตตา จากอดีตผู้อ�ำนวยการทั้งสาม ไม่ว่าจะมีปัญหาอะไรใน เวลาใด ผมสามารถทีจ่ ะขอค�ำปรึกษาได้ทนั ที แสดงให้เห็น ถึงวัฒนธรรมองค์กรที่ดีงาม ยากที่จะพบเห็นในที่อื่น ใน วันที่ 17-18 ตุลาคม 2556 ที่ผ่านมา โรงพยาบาลได้รับ การตรวจเยี่ ย มเพื่ อ Re-accredit HA ผมและชาว โรงพยาบาลน่านทุกคน รู้สึกอบอุ่นใจเป็นที่สุดที่ได้เห็น อาจารย์บุญยงค์ อาจารย์นิวัตชัย ภก.นิคม (อดีตรองผู้ อ�ำนวยการ) และคุณพิกลุ (อดีตหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล) ที่เกษียณไปแล้ว มาร่วมเป็นก�ำลังใจ และเป็นสักขีพยาน ทั้งในการน�ำเสนอข้อมูลในเช้าวันแรก และช่วงเวลา exit ในเย็นวันทีส่ อง ทีท่ มี อาจารย์ผเู้ ยีย่ มสรุปผล ช่างเป็นความ งดงามอย่างที่สุด ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นได้จากการมีผู้น�ำที่ดี ในทุก ๆ ด้าน ของอาจารย์นพ.บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ท�ำให้ เกิดความรักและความปรารถนาดีตอ่ องค์กรไม่เสือ่ มคลาย
-102-
ผมพบว่าตัวเองมีความสุขทุกครัง้ ทีไ่ ด้อยูเ่ คียงข้าง อาจารย์ ได้รับฟังสิ่งดี ๆ งาม ๆ จากอาจารย์ และผมถือ เป็ น บุ ญ อย่ างที่ สุ ด ที่ ไ ด้ มาด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ผู ้ อ� ำ นวยการ โรงพยาบาลน่าน ที่อาจารย์ได้สรรสร้างสิ่งดีงาม จนเกิด เป็นวัฒนธรรมองค์กร ซึง่ ผมจะพยายามรักษาและเผยแพร่ ให้ขจรขจายเพื่อสร้างเครือข่ายแนวร่วมในงานบริการ คนไข้และประชาชนอย่างดีทสี่ ดุ สมกับทีอ่ าจารย์ได้ทมุ่ เท ท� ำ มาโดยตลอด ผมเชื่ อ ว่ า สิ่ ง ดี ง ามเหล่ า นี้ จ ะไม่ มี วั น สูญหายเพราะอาจารย์ได้เพาะเมล็ดพันธ์ทุ ดี่ งี ามให้งอกเงย อย่างมีคุณค่ามากมาย กระจายกันสร้างสรรความเจริญ และสิง่ ดีงามไปทัว่ ประเทศ จนหลายคนกล้ารับประกันว่า ใครก็ตามทีผ่ า่ นโรงพยาบาลน่านมาแล้วจะไม่ทำ� ให้ผดิ หวัง อย่างแน่นอน เนื่องในโอกาสที่อาจารย์มีอายุครบ 80 ปี ผมและ หมอพัชรีขออาราธนาอ�ำนาจคุณพระศรีรัตนตรัย บารมี ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ได้โปรดดลบันดาลให้อาจารย์มสี ขุ ภาพพลานามัย อยูเ่ ป็น ร่มโพธิ์ร่มไทรให้ชาวโรงพยาบาลน่านและชาวน่าน ให้ นาน....น้าน....น่าน
ปล. วันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ.2556 ที่ผ่านมา โรงพยาบาลน่านจัดงานวันพยาบาลแห่งชาติ ที่ห้องประชุมพุทธมนต์โชติคุณ ผมมีโอกาส ถามเคล็ดลับของอาจารย์ทที่ ำ� ให้มคี วามสุขอยู่ ตลอดเวลา อาจารย์ บ อกผมว่ า มี ค วามสุ ข ตลอด เวลาตั้งแต่ได้พบเพื่อนสนิท ... มีใครพอจะทราบไหมครับว่าเพือ่ นสนิท ของอาจารย์คนนั้นเป็นใคร ? จึงท�ำให้ชีวิต อาจารย์มีความสุขอยู่ทุก ๆ เวลา
-103-
ถ้าไม่ทราบดูเฉลยได้ที่ท้ายเล่ม ! นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
อาจารย์ผู้เป็นพ่อพระ ของ...คนเมืองน่าน
-104-
อาจารย์ผู้เป็นพ่อพระ ของ...คนเมืองน่าน เวลาจาก พ.ศ. ๒๕๐๘-๒๕๕๐ เป็นระยะเวลานาน ที่ทรงคุณค่าต่อการจดจ�ำ เป็นความโชคดีที่ได้มีโอกาส ได้ เ กิ ด มาพบและอยู ่ ภ ายใต้ ค วามกรุ ณ าของอาจารย์ นพ.บุญยงค์ วงศ์รักมิตร และป้าหมอพนิดา จากชีวิตเด็ก นักเรียน มศ.๕ รุน่ แรก โรงเรียนศรีสวัสดิว์ ทิ ยาคาร ทีใ่ ฝ่ฝนั จะเป็นพยาบาล มาขอสอบเรียนพยาบาลทั้ง ๆ ที่สมัยนั้น การจะได้เรียนพยาบาล โรงพยาบาลน่านจะใช้วธิ คี ดั เลือก ผู ้ ฝ ึ ก งานในโรงพยาบาลส่ ง ไปเรี ย น คงเป็ น นั ก เรี ย น พยาบาลรุ่นแรกที่โรงพยาบาลน่านประกาศสอบคัดเลือก เป็นการเปิดกว้างและสร้างโอกาส เป็นความรู้สึกที่ ประทับใจและส�ำนึกในบุญคุณของอาจารย์ที่ต้องจดจ�ำ ตลอดชีวติ เพราะสมัยนัน้ การจะได้ไปเรียนพยาบาลไม่งา่ ย เหมือนปัจจุบัน โรงพยาบาลน่านจะได้รับโควตาเรียน พยาบาลเพียงปีละ ๑ คนเท่านั้น
ระยะที่เรียน ๔ ปี ช่วงปิดเทอมอาจารย์จะให้มา ฝึกท�ำงานในโรงพยาบาลทุกแผนก สิง่ ทีไ่ ด้คอื ได้คนุ้ เคยทัง้ สถานที่ และบุคลากรของโรงพยาบาล เป็นการเริม่ ต้นของ การเรียนรู้ที่โรงพยาบาลน่าน โดยมีอาจารย์ นพ.บุญยงค์ วงศ์รักมิตร เป็นอาจารย์ เมื่อส�ำเร็จวิชาการพยาบาล กลับมาท�ำงานที่ห้อง ผ่าตัด ซึ่งเป็นช่วงที่จังหวัดน่านอยู่ในภาวะสู้รบ ปราบ ปรามคอมมิวนิสต์ มีการผ่าตัดทหารจากการปะทะกัน ทุกวัน ภาพที่เห็นทุกวันคือ อาจารย์จะดูแลกระบวนการ ช่วยเหลือผูบ้ าดเจ็บเองทุกครัง้ ทีเ่ ฮลิคอปเตอร์นำ� ส่งผูป้ ว่ ย มารอรับผู้บาดเจ็บพร้อม ๆ กับเจ้าหน้าที่ ลงมือผ่าตัดเอง พร้ อ ม ๆ กั บ การสอนแพทย์ รุ ่ น น้ อ ง เช่ น นพ.วิ ชั ย สุตันไชยนนท์ (ปัจจุบันอยู่อเมริกา) และอีกหลาย ๆ คน รวมทั้งสอนการระงับความรู้สึก จ�ำได้ว่าขณะนั้นมีพยาบาลระงับความรู้สึก ๒ คน คือ คุณพี่ดวงจันทร์ ธราวรรณ และคุณพี่จารุนันท์ สายสูง ทั้งสองท่านต้องไปเรียนวิสัญญีพยาบาล ต้องมี พยาบาลมาท�ำหน้าทีแ่ ทน อาจารย์สง่ หนังสือ Anasthesia
-105-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ให้ ๑ เล่ม เป็นภาษาอังกฤษ บอกให้เอาไปอ่าน และ ในแต่ละวันก็ต้องหัดใช้ยาระงับความรู้สึกกับพี่ทั้งสอง เพราะถูกก�ำหนดให้ท�ำให้เป็นใน ๑ เดือน เย็นมาต้องส่ง รายงานผล ถูกประเมินและซักถามทุกวัน จึงเป็นพยาบาล ระงับความรูส้ กึ ทีส่ อนโดยโรงพยาบาลน่าน มีอาจารย์เป็น ครูใหญ่ learning by doing ก็ท�ำได้ อยู่ห้องผ่าตัดได้ ๔ ปี จากการที่ต้องตื่นตีหนึ่ง ตีสองมาเจาะคอผู้ป่วยเด็ก diphtheria เป็นประจ�ำ เมื่อมีหนังสือเวียนประกาศ รับสมัครหลักสูตรพยาบาลสาธารณสุข โดยการสนับสนุน ของครอบครัว และอาจารย์อนุญาตให้ไปสอบเรียนต่อ จึง เป็นโอกาสที่สองได้เรียนรู้การสาธารณสุขมาแก้ปัญหา โรคติดต่อในจังหวัดน่านขณะนั้น โดยตั้งฝ่ายเวชกรรม สังคม ขึ้นเมื่อ ๓ มี.ค ๒๕๑๙ เป็นแห่งที่สองของประเทศ (แห่งแรกคือล�ำปาง) สิ่ ง ที่ สั ม ผั ส ได้ คื อ อาจารย์ เ ป็ น นั ก สาธารณสุ ข ตั ว จริ ง จากศั ล ยแพทย์ อาจารย์ ใ ห้ ค วามสนใจงาน สาธารณสุข โดยระยะแรกขณะทีไ่ ปเรียนคณะสาธารณสุข ต้ อ งเขี ย นรายงานทุก เดือนว่าเรียนรู้อะไร เมื่อ จบมา อาจารย์ถามว่าจะท�ำอะไร ให้เสนอมา อาจารย์จะซักถาม เหตุผลและชีแ้ นะล�ำดับการท�ำงานถูกฝึกจนเป็นนิสยั เมือ่ เสนอโครงการระยะแรกตัง้ ฝ่าย คือ โครงการท�ำ Campaign ฉีดวัคซีนให้เด็ก ๐-๕ ปี จากทีผ่ ปู้ กครอง เคยพาเด็กมารับ บริการที่โรงพยาบาล เป็นการออกฉีดวัคซีนให้เด็กใน
ชุมชนและออกหน่วยเคลื่อนที่ ในหมู่บ้านไกล ๆ ทุก วันศุกร์ ขยายผลร่วมกับสถานีอนามัยขยายการให้วัคซีน จนปี พ.ศ. ๒๕๓๖ จังหวัดน่านได้รับการยกย่องว่าเป็น จังหวัดที่เด็กได้รับวัคซีนครอบคลุมสูงสุดของประเทศ หลักการท�ำงานเวชกรรมสังคมอาจารย์สอนว่า เราจะต้องไม่ทะเลาะกับ สสจ. จะเห็นได้ว่าโรงพยาบาล น่านและโรงพยาบาลชุมชนเราอยู่กันอย่างพี่อย่างน้อง โรงพยาบาลน่านเป็นพีค่ อยดูแลน้องทัง้ ด�ำเนินการบริหาร จัดการ รวมทั้งสนับสนุนงบประมาณ อาจารย์สอนให้ ท�ำงานส่งเสริม ป้องกัน ชันสูตร รักษาและฟืน้ ฟูไปพร้อม ๆ กัน ด้วยหลักมือห้านิว้ มีขอ้ มือเป็นตัวก�ำกับ (หมายถึงคณะ กรรมการ) ทุกคนต้องท�ำแทนกันได้ทุกงานเป็น multi purpose ใช้ ค นน้ อ ยแต่ ไ ด้ ง านมาก ทั้ ง ในและนอก โรงพยาบาล การท�ำงานกับชุมชน ได้สร้างเครือข่าย สุขภาพทั้งอบรม อสม. ตั้งชมรมผู้สูงอายุ ชมรมหัวหน้า บ้าน แกนน�ำครอบครัว เกิดองค์กรชุมชนทีเ่ ข้มแข็งในเขต เทศบาลน่าน โดยโรงพยาบาลน่านเป็นศูนย์ประสานงาน ทั้งชมรม อสม. และสาขาสภาผู้สูงอายุ แห่งประเทศไทย ประจ�ำจังหวัด ฯลฯ อาจารย์เป็นตัวอย่างที่ท�ำให้พวกเราท�ำตามโดย ไม่รู้ตัว คือการสร้างความเป็นพวกเดียวกัน นอกจากนั้น อาจารย์ยังออกไปเยี่ยมชุมชน เป็นประธานเปิดศูนย์ สาธารณมูลฐานทุกแห่ง เมื่อมีกิจกรรมในชุมชน ไม่ว่า
-106-
งานราชการหรืองานบุญ งานศพ พวกเราจะเห็นอาจารย์ ไปร่วมงานอย่างสม�่ำเสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งญาติหรือ ตัวเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลทุกระดับ ประดุจทุกคนคือ ญาติของท่าน ผลท�ำให้พวกเรารักกันและชาวบ้านก็ รั ก ท่ า นและชาวเวชกรรมสั ง คมเป็ น เสมื อ นญาติ ข อง อสม. และชุมชน เวชกรรมสังคมทั้งประเทศต้องมาศึกษา ดูงานที่ รพ.น่าน รวมทั้งอาจารย์ต้องเดินทางไปบรรยาย งานสาธารณสุข งานสุขศึกษาตลอด แสดงถึงการเป็น ผู้น�ำทางสาธารณสุขอย่างแท้จริงและผลพวงท�ำให้พื้นที่ ในชุมชน เขตเทศบาลน่านชุมชนได้รับการประกาศเป็น ชุมชนสุขภาพดีถ้วนหน้าใน พ.ศ. ๒๕๓๗ เป็นแห่งแรก ของประเทศ ในการบรรยายของอาจารย์สมัยนัน้ ต้องใช้แผ่นใส และสไลด์ ยังไม่มีการน�ำเสนอโดย Power point อย่าง ปัจจุบนั สิง่ ทีเ่ รียนรูแ้ ละถูกฝึกโดยไม่รตู้ วั คือ การต้องอ่าน เอกสารแล้วจับใจความให้ได้เร็ว เพราะบางครั้งอาจารย์ จะให้เตรียมเอกสารที่ใช้บรรยาย มีอยู่ครั้งหนึ่งอาจารย์ ยื่นเอกสารให้ ๑๕๐ หน้า เวลา ๑๐.๐๐ น. “ช่วยอ่าน และสรุปเขียนแผ่นใสให้ดว้ ย หมอจะขึน้ เครือ่ งบ่ายโมง” ก็ต้องท�ำให้ได้จึงท�ำให้ตัวเองเป็นคนที่ท�ำอะไร คิดเร็ว ท�ำเร็ว จนลูกน้องตามไม่ทันและต้องท�ำทันที และจริงจัง กับงาน เพราะถ้าอาจารย์ถามอะไรแล้วตอบไม่ได้จะมี ความรูส้ กึ ว่า เรายังไม่รู้ ต้องศึกษาเพิม่ เติมตลอด อาจารย์
สอนให้เป็นคนเรียนรู้ตลอดเวลาโดยไม่รู้ตัว สอนให้มอง ทุกอย่างเป็นองค์รวมเป็นระบบ ท�ำต่อเนื่อง รู้จักการ วางแผน การติดตามงาน และการประเมินผล เมือ่ ได้รบั เลือกจากน้อง ๆ พยาบาลให้เป็นหัวหน้า พยาบาล (คงเป็ น พยาบาลชุ ม ชนคนแรกที่ มี โ อกาส) การบริหารงานการพยาบาล จึงเน้นทั้งการพยาบาลใน โรงพยาบาลในชุมชน ไปพร้อม ๆ กัน สามารถน�ำองค์กร พยาบาลร่ ว มกั บ องค์ ก รอื่ น ผ่ า นการรั บ รองคุ ณ ภาพ จากสถาบันรับรองคุณภาพ และได้รับการรับรองเป็น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ในปี ๒๕๔๙ ตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน เป็นผู้ใต้บังคับบัญชา ของอาจารย์ อาจารย์เป็นทั้งผู้บังคับบัญชาเป็นทั้งครู และเปรียบเสมือนพ่อ ให้การดูแลในยามที่มีความทุกข์ ให้ข้อแนะน�ำ ให้ความช่วยเหลือ โดยไม่เลือกว่า คนนั้น จะเป็นใคร ทุกคนทั้งแพทย์ พยาบาล พนักงาน ท่านจะ ดูแลประดุจเป็นลูกหลานของท่านเอง ท่านสร้างสมความ รักองค์กรให้กับทุกคน สิ่งหนึ่งที่ไม่เคยได้ยินจากปากของ ท่านคือ การต�ำหนิผอู้ นื่ ทัง้ ๆ ทีบ่ างคนจะมีอะไรทีไ่ ม่เหมาะ สม ท่านสอนเสมอว่า “เอาแต่ส่วนที่ดีของเขามาใช้” รวมทั้งข้อคิดอื่น ๆ มากมาย ซึ่งล้วนเป็นธรรมะที่ท่านน�ำ มาสอนพวกเราในการประชุมวาระต่างๆอยูเ่ ป็นเนือ่ งนิตย์ ในปี ๒๕๔๙ ที่เกิดโรคโบทูลิซึม ภาพที่อาจารย์มาเยี่ยมไถ่ ถามข้อมูลผูป้ ว่ ย ให้ขอ้ แนะน�ำกับแพทย์พยาบาล มาเยีย่ ม
-107-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ผู้ป่วย เป็นภาพที่ยืนยันได้ว่า อาจารย์รักและห่วงใย พวกเราชาวโรงพยาบาลน่านและคนเมืองน่าน อย่างเสมอ ต้นเสมอปลาย แม้กระทั่งผู้สูงอายุ อาจารย์สั่งว่าอย่าทิ้ง ผูส้ งู อายุ แพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าทีท่ ผี่ า่ นการท�ำงาน ในโรงพยาบาลน่านกับท่าน ล้วนเป็นคนดี มีคุณธรรม ได้รับการยกย่องจากสังคม และทุกคนก็ระลึกถึงอาจารย์ และเวียนมาเยี่ยมเยียนตลอด หากจะกล่าวว่า อาจารย์คือผู้ให้ ผู้สร้างคน สร้าง สังคมเมืองน่าน เมืองไทย ให้มคี วามสุข ทุกคนคงเห็นด้วย เพราะท่านเปรียบประดุจพ่อและพระที่คอยดูแล ปกป้อง อบรม สั่งสอนพวกเราให้ท�ำแต่ความดี ท�ำสิ่งที่ถูกต้อง ตลอดมา ในวาระทีอ่ าจารย์อายุครบ ๘๐ ปี พวกเราทุกคน ล้วนมีความสุข ขออาจารย์มีอายุมั่นขวัญยืน อยู่เป็น ร่มโพธิ์ ร่มไทร พวกเราตลอดไป พิกุล เฮงสนั่นกูล เลขานุการสาขาสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทยฯ ประจ�ำจังหวัดน่าน อดีตหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลน่าน ๒๕๔๘-๒๕๕๐
-108-
-109-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
มูลนิธินายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ชมรมโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป
-110-
ชมรมโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และมูลนิธินายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ชพร. หรือ ชรพ. ? ความร่วมมือในการพัฒนาโรงพยาบาลของกลุ่มโรงพยาบาลประจ�ำจังหวัด ได้เกิดมานานแล้ว นายแพทย์จรัล ใจแพทย์ 1 อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลพุทธชินราช ได้ให้ข้อมูลว่า ในการประชุมครั้งหนึ่งที่จังหวัดพะเยาเมื่อปี พ.ศ. 2527 ซึ่งมีนายแพทย์สุจินต์ ผลากรกุล 2 ต�ำแหน่งแพทย์ใหญ่ส�ำนักงานปลัดกระทรวง ซึ่งเป็นอดีตผู้อ�ำนวยการ โรงพยาบาลชลบุรี กับกลุ่มผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลในขณะนั้นกลุ่มหนึ่ง เช่น นายแพทย์สมบัติ อินทรลาวัณย์ 3 ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลน่าน นายแพทย์จรัล ใจแพทย์ ผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาลเชียงค�ำ นายแพทย์ครี ี สินธุประมา 4 ผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาลพะเยา นายแพทย์อ�ำพน ศิริบุญมา 5 ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลนครพิงค์ นายแพทย์อาวุธ ภมะราภา 6 ผู้อ�ำนวยการ โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ นายแพทย์เอี้ยม มุนินทร์นิมิตต์ 7 ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลเพชรบูรณ์ นายแพทย์ถนอม เหล่ารักพงษ์ 8 ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลก�ำแพงเพชร นายแพทย์โสรัตน์ แสนศิริพันธ์ 9 ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลแพร่ นายแพทย์จริ ศักดิ์ เนตราคม 10 ผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาลพุทธชินราช นายแพทย์พจนารถ จันทโรจวงศ์ 11 ผูอ้ ำ� นวยการ โรงพยาบาลสุโขทัย นายแพทย์ไพทูรย์ อารยางค์กูร 12 ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลล�ำพูน ฯลฯ ได้เห็นชอบร่วมกันที่ จะให้ความร่วมมือในการพัฒนาของโรงพยาบาลที่ท�ำกันอยู่ ก่อเป็นรูปเป็นร่างในรูปแบบของชมรม เพื่อร่วมกันพัฒนา โรงพยาบาลฯ และเป็นผู้แทนของกลุ่มโรงพยาบาลจังหวัด กระทั่งปี พ.ศ. 2530 จึงได้มีได้มีการประชุมรับรองร่างธรรมนูญและกฎข้อบังคับต่าง ๆ ของชมรม ฯ ที่โรงแรม เวียงใต้ กทม. พร้อมตั้งชื่อว่า “ชมรมพัฒนาโรงพยาบาลศูนย์โรงพยาบาลทั่วไป” มีชื่อย่อว่า “ชพร.” พร้อมกับตรา สัญลักษณ์ของชมรม และได้มมี ติให้ นายแพทย์สพุ าศน์ บุรพัฒน์ 13 ผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช เป็นประธานคนแรก และมีนายแพทย์จรัล ใจแพทย์ ผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาลพุทธชินราช นายแพทย์บรรพต บูรณสิน 14 ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา นายแพทย์จรัล ตฤณวุฒิพงษ์ 15 ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลขอนแก่น เป็นประธานชมรมฯ ล�ำดับต่อ ๆ มา ซึ่งต่อมาภายหลังชื่อของชมรมฯ ได้เปลี่ยนไปเป็นชื่อว่า “ชมรมโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป” ชื่อย่อว่า “ชรพ” โดยยังยึดมั่นในหลักการที่จะร่วมมือกันพัฒนาโรงพยาบาลและสนับสนุนงาน ของกองโรงพยาบาลส่วนภูมภิ าค (กระทรวงสาธารณสุข) เชิดชูศกั ดิศ์ รีและสนับสนุนงานของสมาชิกชมรมฯ (โรงพยาบาล ศูนย์โรงพยาบาลทั่วไป) โดยไม่ยุ่งเกี่ยวกับการเมือง 1 นายแพทย์จรัล ใจแพทย์ อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลพุทธชินราช (16 กันยายน 2528 - 30 กันยายน 2544) 2 นายแพทย์สจุ นิ ต์ ผลากรกุล อดีตอธิบดีกรมการแพทย์ (1 ตุลาคม 2534 – 30 กันยายน 2534) และอดีตรองปลัดกระทรวง สาธารณสุข 3 นายแพทย์สมบัติ อินทรลาวัณย์ อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ 4 นายแพทย์คีรี สินธุประมา อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลพะเยา 5 นายแพทย์อ�ำพน ศิริบุญมา อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลนครพิงค์ (พ.ศ. 2523 – กุมภาพันธ์ 2533) 6 นายแพทย์อาวุธ ภมะราภา อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลอุตรดิตถ์ (พ.ศ. 2521 – พ.ศ. 2533) 7 นายแพทย์เอี้ยม มุนินทร์นิมิตต์ อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลเพชรบูรณ์ 8 นายแพทย์ถนอม เหล่ารักพงษ์ อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลก�ำแพงเพชร (3 กันยายน 2513 – 30 กันยายน 2534) 9 นายแพทย์โสรัตน์ แสนศิริพันธ์ อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลแพร่ (พ.ศ. 2519 – พ.ศ. 2530) 10 นายแพทย์จิรศักดิ์ เนตราคม อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลพุทธชินราช (1 ตุลาคม 2524 - 1 กันยายน 2528) 11 นายแพทย์พจนารถ จันทโรจวงศ์ อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลสุโขทัย (พ.ศ. 2526 – พ.ศ. 2528) 12 นายแพทย์ไพทูรย์ อารยางค์กูร อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลล�ำพูน (เมษายน 2522 – สิงหาคม 2527) 13 นายแพทย์สุพาศน์ บุรพัฒน์ อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช (พ.ศ. 2525 – พ.ศ. 2533) 14 นายแพทย์บรรพต บูรณสิน อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา 15 นายแพทย์จรัล ตฤณวุฒิพงษ์ อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลขอนแก่น อดีตปลัดกระทรวงสาธารณสุข
และอดีตประธานชมรมพัฒนาโรงพยาบาลศูนย์โรงพยาบาลทั่วไป 16 นพ.ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์ คณบดีบริหารกลุ่มวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยรังสิต อดีตผู้อ�ำนวยการกองโรงพยาบาลภูมิภาค
-111-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
มูลนิธินายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร นายแพทย์จรัล ตฤณวุฒิพงศ์ อดีตปลัดกระทรวงสาธารณสุข และอดีตประธานชมรมพัฒนาโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป ได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่าในยุคนั้นแม้ นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร หรือ พี่ยงค์ จะเป็นเพียงผู้อ�ำนวย การโรงพยาบาลน่าน แต่กเ็ ป็นทีร่ บั รูใ้ นหมูข่ องโรงพยาบาลจังหวัดต่าง ๆ และกระทรวงสาธารณสุขว่า นายแพทย์บญ ุ ยงค์ เป็นผูอ้ ำ� นวยการทีม่ บี ารมี และเป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนางานด้านการแพทย์การสาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสุข และงานของชมรมฯ ไม่ว่าจะเป็นงานด้านวิชาการ บริการหรือบริหาร แม้กระทั่งงานเลี้ยงสังสรรค์ต่าง ๆ ของชมรมฯ พีย่ งค์กส็ ร้างความสนุกสนานเป็นทีถ่ กู อกถูกใจของทุกคนทีร่ ว่ มในงาน และเมือ่ ประมาณปี พ.ศ. 2535 ก่อน พีย่ งค์ลาออก จากราชการ ทางชมรมฯ และกองโรงพยาบาลภูมิภาคในขณะนั้น ที่มี นพ.ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์ เป็นผู้อ�ำนวยการกอง โรงพยาบาลภูมภิ าค จึงมีความคิดจัดตัง้ มูลนิธนิ ายแพทย์บญ ุ ยงค์ วงศ์รกั มิตร ขึน้ เพือ่ เป็นทีร่ ำ� ลึกถึงคุณงามความดีตา่ ง ๆ ที่พ่ียงค์ได้สร้างไว้ให้กับวงการแพทย์และการสาธารณสุข และเพื่อให้มีแหล่งทุนในการพัฒนาโรงพยาบาลในมิติต่าง ๆ และเป็นที่มาของ รางวัลมูลนิธินายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ที่มอบให้กับเจ้าหน้าที่ รพศ./รพท. เพื่อเชิดชูเกียรติที่ มีผลงานดีเด่นในด้านต่าง ๆ ต่อมาภายหลังทางชมรมฯ ร่วมกับมูลนิธิฯ ได้จัดให้มีกิจกรรมเพิ่มเติม โดยจัดให้มีปาฐกถา นายแพทย์บุญยงค์ วงศั์รักมิตร ในเวทีวิชาการของชมรมฯ การจัดตั้ง มูลนิธินายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2539 ด้วยการริเริ่ม ของ คณะกรรมการด�ำเนินงาน ดังรายนามต่อไปนี้ 1. นายแพทย์คณิต ตันติศิริวิทย์ ประธานกรรมการ 2. นายแพทย์ดาวฤกษ์ สินธุวณิชย์ รองประธานกรรมการ 3. นายแพทย์ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์ กรรมการ 4. นายแพทย์จรัล ใจแพทย์ กรรมการ 5. นายแพทย์เทียม อังสาชน กรรมการ 6. นางนิรชรา โลหะโชติ กรรมการและเหรัญญิก 7. เภสัชกรนิคม ดีพอ กรรมการและเลขานุการ
-112-
ทั้งนี้กรรมการของมูลนิธิฯ จะด�ำรงต�ำแหน่งคราวละ 4 ปี และมีการเลือกตั้งใหม่ คณะกรรมการชุดปัจจุบัน (27 กันยายน 2553) ประกอบด้วย 1. นายแพทย์คณิต ตันติศิริวิทย์ ประธานกรรมการ 2. นายแพทย์นิวัตชัย สุจริตจันทร์ รองประธานกรรมการ 3. นายแพทย์เทียม อังสาชน กรรมการ 4. นายแพทย์ดาวฤกษ์ สินธุวณิชย์ กรรมการ 5. เภสัชกรนิคม ดีพอ กรรมการ 6. นางพวงเพชร สุริยะพรหม กรรมการ 7. ทันตแพทย์ช่อฉัตร เส็งพานิช กรรมการ 8. นางนิรชรา โลหะโชติ กรรมการและเหรัญญิก 9. นางทิพยทิวา ศรีโสภา กรรมการและเลขานุการ เครื่องหมายของมูลนิธิฯ เครือ่ งหมายของมูลนิธฯิ คือ รูปมืออุม้ ชูสนับสนุนงูพนั คบเพลิง มีอกั ษรภาษาไทย ค�ำว่า “บริหาร บริการ วิชาการ” อยู่เหนืองูพันคบเพลิง และอักษรภาษาไทยค�ำว่า “มูลนิธินายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร” อยู่ด้านล่าง ส�ำนักงาน ส�ำนักงานของมูลนิธิฯ ตั้งอยู่ที่ โรงพยาบาลน่าน เลขที่ 1 ถนนวรวิชัย ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน 55000 วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของมูลนิธิ ฯ คือ 1. สนับสนุนการพัฒนางานบริหาร บริการ และวิชาการของโรงพยาบาลต่างๆ ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไป 2. สนับสนุนการพัฒนาระบบการแพทย์และสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค 3. ส่งเสริมการปฏิบัติงานของบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข 4. ด�ำเนินการเพื่อสาธารณประโยชน์ หรือร่วมมือกับองค์กรการกุศลอื่นๆ เพื่อสาธารณประโยชน์ ทรัพย์สิน ทรัพย์สินของมูลนิธิ ฯ เริ่มแรกคือ เงินสดจ�ำนวน 1,019,900.86 บาท (หนึ่งล้านหนึ่งหมื่นเก้าพันเก้าร้อยบาท แปดสิบหกสตางค์) ปัจจุบัน (ข้อมูลจากงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555) มีสินทรัพย์จ�ำนวน 7,062,220.70 บาท (เจ็ดล้านหกหมื่นสองพันสองร้อยยี่สิบบาทเจ็ดสิบสตางค์)
-113-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
นายแพทย์คณิต ตันติศิริวิทย์ ประธานกรรมการ
นายแพทย์เทียม อังสาชน
นายแพทย์นิวัตชัย สุจริตจันทร์
นายแพทย์ดาวฤกษ์ สินธุวณิชย์
นางพวงเพชร สุริยะพรหม
เภสัชกรนิคม ดีพอ
ทันตแพทย์ช่อฉัตร เส็งพานิช
กรรมการ
กรรมการ
รองประธานกรรมการ
กรรมการ
นางนิรชรา โลหะโชติ
กรรมการและเหรัญญิก
กรรมการ
กรรมการ
นางทิพยทิวา ศรีโสภา
-114-
กรรมการและเลขานุการ
สืบสานเจตนารมณ์ “สอนให้จ�ำ ท�ำให้ดู อยู่ให้เห็น” เป็นแนวทางที่พี่ยงค์ใช้ในการหล่อหลอมน้อง ๆ ที่เคยไปร่วมท�ำงานด้วย เสียดาย ที่พี่ยงค์ไม่ชอบเขียนหนังสือ ท�ำให้แนวความคิดและจริยวัตร จริยธรรมทางการแพทย์ ไม่ได้ถูกเผยแพร่ในแนวกว้าง สู่วงการแพทย์มากเท่าที่ควร นายแพทย์คณิต ตันติศิริวิทย์ 17 อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลน่าน ได้เคยพยายามอัด เสียงค�ำบรรยายในโอกาสต่าง ๆ กันและแนวคิดของพี่ยงค์ แล้วแจกจ่าย วัตถุประสงค์หนึ่งของมูลนิธินายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร คือการสนับสนุนและการเชิดชูเกียรติเจ้าหน้าที่ของสมาชิก การมอบรางวัลมูลนิธิฯ ของชมรมฯ ประจ�ำปี การจัดปาฐกถา เป็นหนึ่งในกิจกรรมที่มูลนิธิฯ ได้ร่วมกับทางชมรมฯ แต่ส�ำหรับความดีและความงามที่พี่ยงค์ได้สร้าง สมไว้เป็นบทเรียนทีด่ ี จึงเป็นอีกสิง่ หนึง่ ทีม่ ลู นิธฯิ และพวกเราน้อง ๆ ทีม่ ศี กั ยภาพและโอกาส น่าจะช่วยสืบสานถ่ายทอด ให้กับรุ่นน้อง ๆ ในระบบ ได้รับรู้และเรียนรู้ เพื่อสืบทอดเจตนารมณ์ ที่ปรารถนาให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพที่มี คุณภาพ อย่างครอบคลุมต่อเนื่อง เป็นธรรมและมีประสิทธิภาพต่อไป นายแพทย์เทียม อังสาชน ผู้อ�ำนวยการศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย อดีตประธานชมรมโรงพยาบาลศูนย์ / โรงพยาบาลทั่วไป
17 นพ.คณิต ตันติศิริวิทย์ อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลน่าน (พ.ศ. 2537 – พ.ศ. 2551)
-115-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ชมรมโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และมูลนิธินายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ชมรมโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทัว่ ไป ก่อตัง้ ขึน้ โดยการรวมตัวของผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาล ทัว่ ไป ย้อนกลับไปในอดีต โรงพยาบาลในกระทรวงสาธารณสุขทัง้ ในกรุงเทพและส่วนภูมภิ าค สังกัดกรมการแพทย์ ส่วน สถานีอนามัย สังกัดกรมอนามัย สถานีอนามัยถูกแบ่งออกเป็นสถานีอนามัยชั้น 1 มีแพทย์ประจ�ำ 1 ท่าน และสถานี อนามัยชั้น 2 ไม่มีแพทย์ประจ�ำมีแต่ ผดุงครรภ์ และพนักงานอนามัย เมื่อมีนโยบายรัฐบาลก�ำหนดให้แพทย์ที่จบการศึกษาใหม่ต้องออกไปปฏิบัติงานในชนบท ตั้งแต่ปีพศ. 2515 ประกอบกับมีการจัดองค์กรบริหารราชการกระทรวงสาธารณสุขใหม่ ก็เริ่มมีการพัฒนาสถานีอนามัยชั้น 1 และเปลี่ยน ชื่อเป็นศูนย์การแพทย์และอนามัย (ศพอ.) และต่อมาเป็นโรงพยาบาลอ�ำเภอ (รพอ.) โรงพยาบาลในส่วนภูมิภาคทั้งหมด ตั้งแต่ระดับจังหวัดและอ�ำเภอ ปรับเปลี่ยนไปสังกัด ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยมีกองโรงพยาบาลภูมิภาค ดูแลโรงพยาบาลระดับจังหวัด และกองสาธารณสุขภูมิภาค ดูแลโรงพยาบาลอ�ำเภอ ส่วนโรงพยาบาลในกรุงเทพ คือ โรงพยาบาลหญิง (ปัจจุบันคือโรงพยาบาลราชวิถี) โรงพยาบาลเด็ก ( ปัจจุบันคือสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี) โรงพยาบาลเลิดสิน โรงพยาบาลสงฆ์ และโรงพยาบาลจิตเวชต่าง ๆ สังกัดกรมการแพทย์ ประมาณปีพศ. 2520 กระทรวงสาธารณสุข เริ่มมีโครงการปรับปรุงโรงพยาบาลในจังหวัดใหญ่ เป็นโรงพยาบาล ศูนย์ (รพศ.) โดยเพิม่ ขีดความสามารถในการรักษาพยาบาล ให้มคี วามก้าวหน้าเทียบเท่าโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลในระดับจังหวัด เปลีย่ นชือ่ เรียกเป็นโรงพยาบาลทัว่ ไป (รพท.) ส่วนโรงพยาบาลระดับอ�ำเภอ เปลีย่ นชือ่ เรียก เป็นโรงพยาบาลชุมชน (รพช.) มีการปรับปรุงการบริหารงาน ให้มีความเข้มแข็งตั้งแต่ยุคของนายแพทย์ไพโรจน์ นิงสานนท์ นายแพทย์สมศักดิ์ วรคามิน นายแพทย์อุทัย สุดสุข ด�ำรงต�ำแหน่งปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยล�ำดับ มีการประชุม ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล เพื่อชี้แจง ท�ำความเข้าใจและจัดท�ำแผนพัฒนา บ่อยครั้งขึ้น
-116-
การประชุมผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลระดับจังหวัด ส่วนใหญ่ ใช้ห้องประชุมโรงพยาบาลสงฆ์ และห้องประชุม โรงแรมเวียงใต้ บางล�ำพู เนือ่ งจากในยุคนัน้ กระทรวงสาธารณสุขยังตัง้ อยูท่ วี่ งั เทวะเวสม์ กลุม่ ผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาล ได้รว่ มกันจัดตัง้ ชมรมพัฒนาโรงพยาบาล (ชพร.) มีนายแพทย์สพุ าศน์ บุรพัฒน์ ผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาลนครศรีธรรมราช เป็นประธานชมรมท่านแรก ต่อมาเมื่อโรงพยาบาลในจังหวัดใหญ่พัฒนาขึ้นเต็มรูปแบบ และเป็นที่รู้จักในฐานะของโรง พยาบาลศูนย์ จึงมีการเปลี่ยนชื่อเป็น ชมรมพัฒนาโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และเปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็นชมรม โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป (ชรพ.) ในส่วนของโรงพยาบาลชุมชนมีการตั้งสหพันธ์แพทย์ชนบท และ เปลี่ยนชื่อ เป็นชมรมแพทย์ชนบท ก่อนหน้านั้น กิจกรรมของชมรมโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป มีการจัดประชุมวิชาการ ครั้งแรกที่ โรงพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ในปีถัดมาจัดที่โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก ซึ่งต่อมากระทรวง สาธารณสุข ได้จัดประชุมวิชาการใหญ่ ในลักษณะนี้ คล้ายคลึงกัน งานประชุมวิชาการจัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปีและขยายเป็นการจัดงานเกษียณอายุราชการ ซึ่งจัดขึ้นในช่วง ประมาณเดือนสิงหาคม กันยายนของทุกปี โดยหมุนเวียน ไปในจังหวัดใหญ่ๆ ซึง่ มีหอ้ งประชุมและโรงแรมทีพ่ กั สามารถ รองรับผู้เข้าร่วมประชุมจ�ำนวนมากได้เพียงพอ เมื่อนายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลน่าน ลาออกจากราชการเมื่อพฤศจิกายน พศ.2536 ในวาระอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ ผู้อ�ำนวยการกองโรงพยาบาลภูมิภาค ในยุคนั้น คือนายแพทย์ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์ ได้เป็นหัวเรือใหญ่ร่วมกับนายแพทย์คณิต ตันติศิริวิทย์ ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลน่านคนต่อมา และ ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลอีกหลายท่าน ในการก่อตั้งมูลนิธินายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร เพื่อเชิดชูเกียรตินายแพทย์ บุญยงค์ วงศ์รกั มิตร ได้จดั ให้มกี ารมอบรางวัลบุคคลดีเด่นของโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทัว่ ไป ในงานประชุมวิชาการ ประจ�ำปีของชมรมโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โดยการมอบรางวัลครั้งแรก เริ่มขึ้นใน ปี พศ. 2539 นายแพทย์อุทัย สุภาพ ศัลยแพทย์ฝีมือดี ที่เคยปฏิบัติงานในโรงพยาบาลน่าน และต่อมาย้ายไปปฏิบัติงานที่ โรงพยาบาลพระนัง่ เกล้า ได้รบั รางวัลนีใ้ นปี พศ.2544 และต่อมาท่านได้รบั ต�ำแหน่งผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาลชลประทาน นายแพทย์นิวัตชัย สุจริตจันทร์ เมื่อครั้งเป็นหัวหน้ากลุ่มงานอายุรกรรม และรองผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลน่าน ได้รับรางวัลนี้เมื่อปี พศ.2547 ทันตแพทย์ช่อฉัตร เส็งพานิช ทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญของโรงพยาบาลน่าน ได้รับรางวัลนี้เมื่อปี พศ.2546 นายแพทย์พิษณุ ขันติพงษ์ เมื่อครั้งเป็นหัวหน้ากลุ่มงานสูตินรีเวช โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ได้รับ รางวัลนี้เมื่อปี พศ.2551 และปัจจุบันท่านด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลน่าน นายแพทย์ดาวฤกษ์ สินธุวณิชย์
-117-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
-118-
บ้านสวน
ณ ที่แห่งนี้ รักและเข้าใจ
จุดเริ่มต้นแห่งรัก
Love Not Just Click but …
อ.พญ.พนิดา วงศ์รักมิตร
พี่นิดนิ่งคิด แล้วเล่าย้อนเวลาไปขณะเรียนอยู่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 2 ส่วน พีย่ งค์เป็นรุน่ พีเ่ รียนอยูป่ ที ี่ 4 แรก ๆ พีน่ ดิ ก็ไม่ทราบระแคะ ระคายมาก่อนว่ามีคนมาแอบชอบ มารูท้ หี ลังว่าในตอนนัน้ พีย่ งค์เปรยในกลุม่ เพือ่ นสนิทว่า “ต้องมีแฟนซักคนแล้ว” (รักในวัยเรียน แต่ก็เลยวัยรุ่นไปแล้ว) แล้วก็มาบอกกับ เพื่อนในกลุ่มพี่นิดว่าแอบชอบรุ่นพี่นิดอยู่คน แต่ก็ไม่ได้ แสดงออกอะไรให้เป็นที่สังเกต จนวันหนึ่งขณะที่พี่นิดนั่ง รับประทานอาหารอยู่ในโรงอาหารกับเพื่อนสนิท พี่ยงค์ กับกลุ่มเพื่อน 5-6 คน เดินเข้ามาในโรงอาหาร เป็นครั้ง แรกที่พี่ยงค์เผลอแอบมองมาทางกลุ่มพี่นิด จนเผยให้ เพื่อนพี่ยงค์สังเกตเห็น
“เฮ้ยยงค์ชั้นรู้แล้วว่าลื้อชอบคนไหน”
-120-
เผยความในใจ ในสนามฟุตบอล Planned not Unplanned
ในการแข่งขันฟุตบอลครั้งหนึ่ง พี่นิดไปชมการ แข่งขันกับรุ่นพี่ผู้หญิง (รุ่นเดียวกับพี่ยงค์) พี่ยงค์นั่งอยู่ ที่นั่ ง แถวหลั ง ติ ด กับที่นั่งพี่นิด ขณะนั่งชมการแข่ ง ขั น พีย่ งค์กส็ ง่ น�ำ้ อัดลม น�ำ้ ส้มมิรนิ ดาให้พนี่ ดิ (พีน่ ดิ ชอบน�ำ้ ส้ม มิรนิ ดา และพีน่ ดิ ก็ชอบฟุตบอล ขนาดว่าจดจ�ำ ชือ่ นักบอล ได้มากมาย โดยเฉพาะสโมสรลิเวอร์พูล) พี่นิดเริ่มรับรู้ว่า พี่ ย งค์ ค อยตามดู แ ลเอาใจใส่ ด้ ว ยพี่ ย งค์ เ ป็ น คนเก่ ง
เรียนเก่ง ก็จะมาติวหนังสือพี่นิดและเพื่อน ๆ ให้ที่หอ ช่วงคบกันเป็นแฟนตอนเรียน พี่ยงค์ชอบซื้อกระเป๋าถือ ให้พี่นิด ภาพยนตร์เรื่องแรกที่ดูด้วยกัน An Affair to Remember (เป็นหนังเพลง ถูกจัดว่าเป็นหนังที่ romantic ที่สุดตลอดกาลโดยสถาบันภาพยนตร์อเมริกา) ส่วนใหญ่ พี่ นิ ด จะเป็ น คนเลื อ กว่ า จะดู เ รื่ อ งอะไรไม่ ค ่ อ ยได้ ดู ภาพยนตร์ action
-121-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
เข้าตามตรอก ออกตามประตู ฝ่าด่านอรหันต์ พี่นิดเติบโตมาในครอบครัวที่ถือว่าเจ้าระเบียบ คุณตา (พ่อของพี่นิด) ดุมาก เวลาอยู่ในบ้าน ท่านเพียง กระแอม ทุกคนในบ้านต้องเงียบหมด ถึงขนาดที่เคยบอก กับพี่นิดว่า “ถ้าเธอเรียนหมอไม่จบ ไม่ต้องเข้าบ้าน” ส่วนคุณยาย (แม่ของพี่นิด) ก็เป็นคนเจ้าระเบียบมาก ๆ ในการมาเที่ ย วบ้ า นพี่ นิ ด ครั้ ง หนึ่ ง คุ ณ ตาชวนพี่ ย งค์ เดินเท้าไปบ้านสวน ผ่านทางที่ไกลมาก ทั้งยังต้องผ่าน
สะพานไม้แคบ จนพี่ยงค์แอบบอกกับพี่นิดว่า “เฮ้ย ฉัน ไม่ ม าบ่ อ ยแล้ ว นะเธอ” แต่ พี่ ย งค์ ก็ ส ามารถผ่ า นบท ทดสอบชนะใจได้รับการยอมรับจากทั้ง คุณตาคุณยาย ขนาดคุณตาออกปากกับพี่นิดว่า “ดีนะนิด เธอเรียน แพทย์ แล้วได้แพทย์เพิ่มมาอีกคน” ทั้งคุณยายก็รัก ลูกเขยมาก ถึงกับบอกกับพี่ยงค์ให้ดุพี่นิดในบางคราว
พี่นิด พนิดา บ้านทรายทอง “ครอบครัวลุงหมอน่าสงสารมากคุณพ่อเสียเมือ่ 5 ขวบ คุณแม่เสียเมื่ออายุ 15 ปี ป้าบุญจันทร์ซึ่งเป็น พี่สาวคนที่ 2 เป็นคนส่งเสียมาตลอด ลุงหมอท่านจึง ปณิธานว่าจะเป็นคนดี พี่สาวหวงลุงหมอมาก อยากได้ น้องสะใภ้ที่เป็นอาจารย์ ตอนแต่งงานท่านอยู่อุดร และ
ค่อนข้างหมั่นไส้น้องสะใภ้อยู่บ้าง แต่ลุงหมอเองก็คอย ประคับประคองมาตลอดจึงไม่มีปัญหาอะไร” “ตระกู ล ของลุ ง หมอเป็ น ตระกู ล ที่ เ จ้ า ยศ เจ้าอย่างมาก ถ้าอยู่ร่วมบ้านกันน่าจะมีปัญหามาก โชคดีที่อยู่ต่างจังหวัด”
-122-
พี่นิดพูดถึงพี่ยงค์ “พี่ยงค์เป็นคนเก่ง เป็นรุ่นพี่ที่เก่ง เรียนหนังสือ ไม่เคยจดเลย และที่ส�ำคัญเป็นคนดี อยู่กันมาเรื่อย ๆ เนื่องจากลุงหมอเจ้าระเบียบ มีกฎเกณฑ์ในชีวิต เช่น ค�ำหยาบ ห้ามพูด ห้ามไปว่าใคร ถ้ายังไม่รู้ว่าเขาไม่ดี ให้ มองโลกในแง่ดี และท�ำให้เห็นเป็นตัวอย่างด้วย ความดี ของเขาซึมซับมาที่ป้าหมอซึ่งเดิมเป็นคนดื้อ ขี้งอน เวลา ท�ำท่าจะโกรธก็จะถูกต่อว่าว่า “โกรธท�ำไม มีความสุขนัก หรือ” เขาเป็นคนประนีประนอมมาก เราก็ไม่ท�ำผิดอีก ถ้าท�ำผิดเขาก็จะเอ็ด ถึงเดี๋ยวนี้ก็ยังเอ็ดอยู่ หันขวับมา ต่อว่าเลยนะ ป้าหมอต้องรับสารภาพผิดกก่อน” “เขาอ่านธรรมะ ทุกวันตอนเช้าต้องลงมาเดิน 40 นาทีเพื่อพิจารณาธรรมะ ท่องเหมือนพระเลยตลอด 40
นาทีนั้น ลุงหมออ่านธรรมะมาตั้งแต่อยู่โรงเรียนเตรียม ท่านเคารพท่านพุทธทาส และท่านประยุทธ์ ปยุตโฺ ต นอก นั้นท่านก็อ่านหมดที่ดี ๆ อ่านจนถึงเดี๋ยวนี้ สรุปป้าหมอ อยู่กับลุงหมอเหมือนสาวใช้ เขาบอกให้ท�ำ เราก็บอกค่า ถ้าไม่ท�ำเขาจะน้อยใจ แต่เขาเป็นคนดี ไม่เคยพูดอะไรให้ ระคายหู พูดดีท�ำดี” “เขาเป็นคนที่มีอะไรบวกลบในตัว ดื้อมาก ตอน ปี 4 เค้าเคย present หน้าห้องจนอาจารย์ชมว่าดีมาก เทียบเท่าที่เมืองนอกท�ำ เขาเก่งมาก เวลามีชาวต่างชาติ มา อาจารย์ ที่ อ ยู ่ ด ้ ว ยกั น ก็ จ ะขอให้ present แทน เนื่องจากภาษาอังกฤษดีมากตอนอยู่สกลนครมี lecture tour ลุงหมอเป็นหมอเพียงคนเดียวที่ลุกขึ้นเถียงกับฝรั่ง จนอธิบดีประทับใจว่าหมอกล้าพูดเถียงกับฝรั่ง สมัยนั้น หมอก็มีน้อยจึงเป็นที่สนใจของผู้ใหญ่สมัยนั้น”
“เขาเป็นคนที่มีอะไรบวกลบในตัว” “สมัยเรียนพฤติกรรมเยอะมาก เคยส่งกระดาษ เปล่าในการสอบเนือ่ งด้วยเหตุผลว่าข้อสอบนีค้ วามรูร้ ะดับ พยาบาลเอามาสอบพวกเราท�ำไม อย่างนี้เป็นการดูถูก กัน” “อีกข้อลุงหมอสอบตกน่าจะเป็นวิชา neurology อาจารย์เรียกพบได้ค�ำตอบจากลุงหมอว่า “อาจารย์สอน ไม่รู้เรื่อง” จากนั้นลุงหมอซื้อหนังสือมาอ่านเองจนได้ A จนอาจารย์ต้องเรียกพบอีกครั้งเพื่อขอดูตัว”
“สมัยท�ำงานใหม่ ๆ ลุงหมอเล่นทั้งบิลเลียด รัมมี่ กินเหล้า สังคมจัด เป็นพิธีกรงานเลี้ยง ต้องเมา ต้องร้อง เพลงอยู่สกลนคร 3 ปีครึ่งจากนั้นย้ายไปจังหวัดเลยและ มาจังหวัดน่าน ลุงหมอก็เป็นอย่างนัน้ มาตลอดจนตอนหลัง ถึงได้น้อยลง”
-123-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
‘Did you ever know that you’re my hero, and everything I would like to be? I can f ly higher than an eagle, ‘cause you are the wind beneath my wings.’
-124-
Behind every successful man, There is a strong, wise and hardworking woman.
“พี่ยงค์ได้ดิบได้ดีเพราะมีพี่พนิดาอยู่เบื้องหลัง” นายแพทย์สงวน นิตยารัมภ์พงศ์ หลั ง จบแพทย์ อาจารย์พ นิดาได้ตามอาจารย์ บุญยงค์ไปเป็นแพทย์ปฏิบัติงานที่โรงพยาบาลสกลนคร ย้ายติดตามไปจังหวัดเลย และย้ายมาจังหวัดน่าน ในปี พ.ศ. 2507 “ป้าหมอมาอยูน่ า่ นปี 2507 หลังจากอยูจ่ งั หวัด เลยมา 1 ปี สมัยนั้นไม่มีเรื่องเรียนต่อ ต้องเรียนรู้จาก รุ ่ น พี่ มี พี่ ห มอพั น ธ์ุ พิ ษ ณุ ์ ที่ อ ยู ่ ด ้ ว ยขณะไปประจ� ำ ที่ จังหวัดสกลนครช่วยสอนผ่าตัดให้ ซึง่ ดุมากถึงขนาดเอา มีดจิ้มพยาบาล” “ในสมัยนั้นทุกวันอาทิตย์ ต้องไปออก OPD ที่
เวียงสาเพือ่ โฆษณาว่าโรงพยาบาลมีหมอแล้ว มีปา้ คนหนึง่ มาหา พอถามว่าป้าเป็นอะไรมาป้าบอกว่า “บ่มีหยังคะ มาผ่อหน้าหมอบ่อดาย บ่อหันมาเป็นสิบปีแล้ว” ดังนั้น ทุกวันอาทิตย์ลุงหมอ ป้าหมอ และทีมเจ้าหน้าที่จาก โรงพยาบาลน่ า น จึง พากั นไปเปิ ด OPD ที่ เวี ยงสาที่ สุขศาลาเพือ่ เป็นการโฆษณาตัวเอง นับว่าเป็นรุน่ ทีบ่ กุ เบิก มาก ช่วงนัน้ เตียงนอนในโรงพยาบาลน่าน 60 เตียงมีคนไข้ นอน 6 คน แต่เตียงคนไข้เป็นเพียงที่นอนม้วนๆ ไว้เอามา ปูพนื้ สมัยนัน้ มี 6 ตึก มีหอ้ งผ่าตัดเล็กๆ เครือ่ งมือไม่มตี อ้ ง ดัดแปลงขึ้นมา”
พรหมวิหารสี่ ที่นาคู “ที่นาคู จังหวัดกาฬสินธ์ุ ขอแพทย์ไปอยู่หน่วย แพทย์เคลื่อนที่ ถนนไม่ดีวิ่ง ได้ 20 กม./ชม. ลุงหมอช่วย เข็ น รถ ช่ ว ยกางเต็ น ท์ ในหมู ่ บ ้ า นมี ค นป่ ว ย ตาย ด้วยมาลาเรียมาก ลุงหมอก็เอายาไปแจกจนไม่มีคนตาย เพราะมาลาเรีย จากนั้นมีคนไข้ปวดท้องแต่ไม่คลอดต้อง ติดต่อ ฮ. ส่งตัวไปผ่าตัด คนไข้มาด้วยสภาพใส่แคร่หาม ข้ามภูเขามา ประโยคที่เคยบอกว่าท�ำไมไม่รีบมาจึงต้อง เลิกพูด อีกเรือ่ งมีคนไข้เป็นฝีทคี่ าง ลุงหมอใช้ใบมีดกรีดฝีออก
ได้หนองเป็นกะละมัง อีกรายเป็นนิ่วค้างที่ท่อปัสสาวะ เห็นลวดรัดเต็นท์น�ำมาขดเป็น loop สอดนิ่วออกมาจน เด็กปัสสาวะออก อีกรายหินเข้าหูก็ใช้ลวดแบบเดิม remove หินออกมา ฝรั่ง จึงเรียกลุงหมอว่า Dr. Wire มัน โหดแต่ได้ผล ตั้งแต่นั้นชาวบ้านเอาข้าวเอาอาหารมาให้ เพื่อขอบคุณ เป็นประสบการณ์ที่มาของ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ครบเลย”
-125-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
กว่า 25 ปีแห่งการท�ำงาน ได้ 2 ขั้น แค่ 2 ครั้ง
ในช่วงเหตุการณ์ไม่สงบ civilian war เวลามี ผู้ได้รับบาดเจ็บ ต้องการแพทย์เข้าให้การดูแลรักษาใน พืน้ ทีท่ มี่ กี ารปะทะกัน อาจารย์บญ ุ ยงค์มกั จะชวนอาจารย์ พนิดา ขึ้น ฮ. เพื่อเดินทางเข้าพื้นที่ เพื่อให้การรักษา พยาบาลผูไ้ ด้รบั บาดเจ็บ มักจะไม่ยอมให้แพทย์ทา่ นอืน่ ไป เนือ่ งจากเสีย่ งอันตราย โดยท่านอาจารย์ให้เหตุผลว่า “ถ้า เราเป็นอะไรไป ก็ยังมีป้า ๆ กับยาย คอยดูแลส่งเสีย ลูกๆ ของเราได้ หากเกิดกับหมอคนอื่น ทีมีภาระดูแล ลูกเล็กจะล�ำบาก”
ลุงหมอบอกป้าหมอว่า ถ้าป้าหมอตอบปฏิเสธ บอกว่ามีแฟนแล้ว จะไม่แต่งงานเลยตลอดชีวติ
-126-
ลุงหมอและป้าหมอมีบุตร ธิดา รวม 3 คน ด้วยภาระหน้าที่งาน อาจารย์พนิดาก็ต้องอยู่เคียงข้างอาจารย์บุญยงค์ รองรับงานทั้งทางด้านการแพทย์ ดูแลรักษาผู้ป่วย อีกทั้ง งานด้านสังคม “ลูก 3 คนเกิดคนละจังหวัด พี่แมวเกิดที่สกลนคร พี่สิงห์เกิดที่เลย ตอนมีลูกคุณยายมาอยู่ช่วยเลี้ยงด้วยจน ป้าหมอไม่มสี ทิ ธิอมุ้ เธออย่ามาอุม้ นะเดีย๋ วหลานฉันตก เวลาอาบน�ำ้ ลูกแกก็มายืนดู พอแล้วนะไม่ตอ้ งแล้วเดีย๋ วหลาน ฉันจมน�้ำ ว่าไปแล้วพ่อ แม่ ไม่ค่อยมีส่วนเท่าไหร่คุณยายจัดการหมดค่ะ” ลุงหมอไม่ค่อยมีเวลาดูแลลูก ๆ จนลูกเคยต่อว่า ว่า “พ่อเวลาอยู่กับหมอนี่หัวเราะ คุยสนุกสนาน ทีกับลูกไม่มี เวลา” จนพ่อนั่งนิ่งลูกจึงถามว่า “ท�ำไมพ่อนิ่ง ท�ำไมไม่ต่อว่าลูก” พ่อจึงตอบว่า “พ่อจะว่าลูกได้อย่างไรในเมื่อสิ่ง ที่ลูกพูดเป็นความจริงทุกอย่าง” แต่เมื่อคิดย้อนไปว่า ถ้ามัวแต่ดูแลลูก ใครจะดูแลคนเจ็บคนป่วยที่ ฮ.ล�ำเลียงมาส่งเล่า ในด้านครอบครัวยอมรับว่าขาดเรื่องการดูแลลูก แต่ลูก ๆ ก็ใช้วิธีดูการท�ำงานของพ่อแม่เป็นตัวอย่าง พี่แมวคุณป้าเทียน ซึ่งเป็นพี่สาวรองจากป้าจันทร์เอาไปเลี้ยงตั้งแต่อายุ 3 ขวบ เป็นคุณหนูมาก
อาจารย์บุญยงค์ อาจารย์พนิดา และบุตรชายคนสุดท้องน้องหมู (เด็กชายคงชัช วงศ์รักมิตร)
ถ้ามัวแต่ดูแลลูกใครจะดูแลคนเจ็บคนป่วยที่ ฮ.ล�ำเลียงมาส่งเล่า ในด้านครอบครัวยอมรับว่าขาดเรื่องการดูแลลูก แต่ลูก ๆ ก็ใช้วิธีดูการท�ำงานของพ่อแม่เป็นตัวอย่าง
-127-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
“ไม่เป็นไรลืมเสียเถิด” กับ “ออมไว้ไม่ขัดสน” ชีวิตช่วงหลัง ๆ ลุงหมอจะ soft มาก โดยเฉพาะกับป้าหมอ แต่กับคนอื่นก็อาจจะยังคงเข้มอยู่ ทุกวันนี้ ใครมา ชวนลุงหมอไปกินกลางวันจะไม่ไป “เรามีเวลาเหลืออยู่อีกไม่มากแล้ว” จนผู้ว่าท่านหนึ่ง เคยแซวว่าพี่ยงค์ไม่ยอมไป กินข้าวที่ไหนเลยครับ ต้องมากินข้าวกับหมอพนิดา ป้าหมอยึดหลัก “เข้าใจ อภัย อดทน” ในการครองชีวิตคู่ Forgive and Forget
“ลุงหมอสอนป้าหมอด้วยธรรมะ ไม่ให้โลภ โกรธ หลง ไม่ให้อจิ ฉาริษยา ให้ยนิ ดีถา้ เขาได้ดี มีคำ� พูดว่า “ไม่เป็นไร” ซึ่งได้มาจากหนังสืออ่านเล่นสมัยเด็ก “ไม่เป็นไรลืมเสียเถิด” กับ “ออมไว้ไม่ขัดสน” ตลอดชีวิตของป้าหมอจึงมีแต่ ค�ำว่าไม่เป็นไร ครั้งหนึ่งตาป้าหมออักเสบหลังผ่าตัด ป้าหมอก็บอกว่าไม่เป็นไร เพราะเป็นป้าหมอจึงมีคนคอยรับส่งไป โรงพยาบาล มีหมอเก๋ ซึ่งคอยป้าหมออยู่ที่โรงพยาบาล ป้าหมอไม่ได้เสียเงินเลยสักบาท ถ้าเป็นชาวบ้านคนอื่นเขาต้อง เสียเงินมาโรงพยาบาล เสียเวลารอหมอ แม้ป้าหมอจะตาบอดไปข้างก็ยังเหลืออีกข้าง พระเจ้าอยู่หัวเองก็ตาข้างเดียว หมอชูศักดิ์ ก็ตาข้างเดียวก็ยังท�ำงานได้ การไม่เป็นไรเป็นเรื่องของการท�ำใจ หลังจากนั้นก็จะมีเรื่องดี ๆ หลายเรื่องเข้า มาในชีวิตโดยไม่คาดฝัน” “ตอนลูกชายคนเล็กแต่งงานก็ไม่มีเงินให้ค่าสินสอดทองหมั้น ลุงหมอไปประชุมกรุงเทพและได้โทรศัพท์มาบอก ว่าได้รางวัล 500,000.00 บาท จากที่ได้รับรางวัล Mahidol University-B. Braun จึงมีเงินให้ค่าสินสอด ซึ่งรางวัลนี้ก็ ไม่ได้ล่วงรู้ล่วงหน้า และเป็นผู้รับรางวัลคนแรกที่ได้เงิน พวกเราอย่าลืมเอาไปใช้นะ ไม่เป็นไร ช่างมันเถิด ให้รู้จักปล่อย วางแก้ว แหวน เงิน ทอง (ที่เคยสั่งทางโทรศัพท์เวลาอารมณ์เสียตอนอยู่คลินิก) ก็แบ่งปันให้ลูกสาวและลูกสะใภ้ไปหมด แล้ว ไม่หนักแล้วเพราะเรารู้จักปล่อยวาง..” แม้จะไม่ได้มเี วลาดูแลลูก ๆ อย่างเต็มที่ แต่ลกู ๆ ทุกคนก็สามารถสร้างครอบครัวใหม่ มีหลักฐาน การงานทีม่ นั่ คง ซึ่งป้าหมอเชื่อว่า คงเป็นเพราะลูก ๆ ได้เห็นการใช้ชีวิต การท�ำงานของคุณพ่อคุณแม่เป็นแบบอย่าง รวมทั้งปัจจัยด้าน กรรมพันธุ์ genetic ที่มี gene ที่ดี
-128-
อาจาริยะหลังบ้าน
“พี่ยงค์ได้ดิบได้ดีเพราะ...มีพี่พนิดาอยู่เบื้องหลัง”
พ่อของผม
พ่อกับแม่ของผมเป็นหมอ วันนี้ผมขอพูดถึงพ่อ เป็นหลัก ผมรู้จักพ่อตั้งแต่พ่ออายุสามสิบปี แต่ผม “จ�ำ” พ่อได้ ตอนพ่ออายุสี่สิบปี ภาพของพ่อในสายตาของ ลูกชายตัวน้อยนั้น พ่อเก่ง พ่อฉลาด พ่อรู้ทุกเรื่อง พ่อใจดี พ่อดุ พ่อแรง พ่อใจร้อน พ่อเสียงดัง พ่อเป็นหมอ แต่พ่อกินเหล้า พ่อสูบบุหรี่ พ่อเล่น ไพ่ พ่อเล่นบิลเลียด พ่อยิงปืน พ่อร้องเพลง พ่อเต้นร�ำ พ่อตลก พ่อเป็นทุกอย่างผมเคยสงสัยว่า พ่อคนอื่น ๆ เค้าเป็นแบบนี้มั้ย ? บ้านเราอยู่ในโรงพยาบาลน่าน เมื่อผมตื่นนอนไป โรงเรียนพ่อจะหลับ ผมกลับมาบ้านตอนเย็น พ่อก็จะอยู่ “บนตึก” บางวันพ่ออยู่ถึงสามทุ่ม เสาร์-อาทิตย์ พ่อก็จะ อยู่ “บนตึก” ผมเคยสงสัยว่า “บนตึก” มันมีอะไรดี เหรอ ? ผมเคยไปนั่งห้องตรวจโรคที่มีพ่อนั่งข้างนึง แม่นั่ง ข้างนึง เคยเห็นแม่โกรธคนไข้เพราะแม่เหนื่อยมาก และ คนไข้พูดไม่รู้เรื่อง แล้วพ่อก็ (บังอาจ) เตือนแม่ แล้วแม่ก็ งอนเดินกลับบ้านโดยพลัน (ฮา) ผมเคยเข้ า ไปในห้ อ งผ่ า ตั ด เพราะเย็ น สบาย ตอนนั้ น ห้ อ งแอร์ ห าได้ ย ากยิ่ ง ผมไปชะโงกดู พ ่ อ หั่ น ขาคนไข้ น่ากลัวมาก ผมเรียกคุณหมอว่า “อาหมอ” เรียกพยาบาลและ เจ้าหน้าที่ว่า “พี่” ผมจึงมีอา ๆ และพี่ ๆ มากมาย พ่อกับ แม่สอนให้ผมสวัสดีทุกคนที่ผมพบ มารยาทของผมจึงดี ตั้งแต่เด็ก (ฮา) มื้ อ เที่ ย ง พ่ อ จะกิ น ข้ า วกั บ พวกอาหมอทุ ก วั น พอมือ้ เย็น พวกอาหมอก็จะมาทีบ่ า้ น คุณยายจะท�ำอาหาร เสริม เลี้ยงอาหมอ พ่อมีความสุขมาก หัวเราะอารมณ์ดี ทั้งที่พ่อต้องมีค่าใช้จ่ายมากมายผมเคยสงสัยว่า พ่อท�ำ แบบนี้ท�ำไม ?
พ่อมักจะชื่นชมพวกอาหมอให้ผมฟัง จนผมเคย สงสัยว่า ทาไมอาหมอเค้าเก่งจัง ผมเพิ่งเข้าใจทีหลังว่า พ่อมองคนในแง่บวก พ่อจะชืน่ ชมในจุดดีของคน พ่อไม่ เคยพูดถึงคนในแง่ลบ ตอนนั้น ผมไม่เข้าใจว่า ท�ำไมพ่อไม่มีเวลาให้ผม พ่อไม่เคยสอนการบ้าน ไม่เคยพาผมไปเทีย่ ว อย่าว่าแต่ไป ต่างประเทศเลย ต่างจังหวัดเรายังไม่ได้ไป (นอกจากจะ ไม่มีเวลา เรายังไม่มีตังค์ด้วย (ฮา)) นาน ๆ เราจะไปดูหนังด้วยกันสักครั้ง ซึ่งผมจะมี ความสุขมาก โดยเฉพาะหนังก�ำลังภายใน บางครั้งพ่อไป เล่นบิลเลียด ผมจะไปนั่งดู และพ่อจะสั่งข้าวผัดให้กิน เป็นข้าวผัดที่อร่อยที่สุดในโลก
-131-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
พ่อไปประชุมที่กรุงเทพฯ บ่อยมาก ทุกครั้งพ่อจะซื้อของเล่นมากมาย ราคาแพง มาให้ลูกชาย ผมจึงไม่เคยขาด เรื่องพวกนี้ ผมเคยสงสัยว่าพ่อชดเชยกับลูกด้วยการให้ของเล่นหรือเปล่า ? พ่อเป็นนักอ่านตัวยงพ่ออ่านไปเสียทุกอย่าง ไปที่ไหนก็ตามพ่อต้องแวะร้านหนังสือ จานวนหนังสือที่พ่อซื้อ แต่ละครั้ง ต้องเรียกว่าเป็นตั้ง ๆ ที่บ้านมีหนังสือมากมายแม้จะยกให้คนอื่นไปแล้วหลายครั้ง ผมเคยสงสัยว่า พ่ออ่าน หมดจริง ๆ หรือ พ่อส่งพี่สาวผม (แมว นาตยา) ไปอยู่กับพี่สาวของพ่อตั้งแต่เล็ก ๆ น้องชายผม (หมู คงชัช) ห่างจากผมแปดปี ผมจึงเหมือนเป็นลูกชายคนเดียว ที่ถูกเลี้ยงดูโดยคุณยาย ในขณะที่พ่อกับแม่ท�ำงานหนักมาก ในช่วงวัยรุ่น ผมเคยคิด น้อยใจว่า พ่อแม่ไม่น่ามีลูกเลย จะได้ท�ำงานหนักอย่างสมความตั้งใจ ตอนนี้ผมอายุห้าสิบปี ผมมีภรรยาหนึ่งคน (ฮา) และลูกสองคน ผมท�ำงานในต�ำแหน่งผู้บริหารในหน่วยงาน รัฐวิสาหกิจ มุมมองของผมที่มีต่อพ่อได้เปลี่ยนไปมากมาย
ผมพบว่า พ่อเป็นเทพ ทีไ่ ม่คอ่ ยพบได้งา่ ยๆได้โลกใบนี้ ในสังคมแบบนี้ ผมเจอคนหลากหลาย ท�ำงานกับผูบ้ ริหาร มาหลายคน แต่ผมไม่เคยเจอคนที่ “เลิศ” ไปเสียทุกด้านเหมือนพ่อทั้งความสามารถ การมีคุณธรรม และการได้รับการ ยอมรับ พ่อเสียสละชีวติ ทัง้ ชีวติ เสียสละชีวติ ครอบครัวทีอ่ บอุน่ เสียสละความสุขส่วนตัว เสียสละเงินส่วนตัว ทัง้ หมดนี้ เพือ่ ความสุขของประชาชน และปณิธานของพระบิดาทีพ่ อ่ เคารพสุดหัวใจ พ่อยิง่ ใหญ่มาก มากเกินทีล่ กู ชายตัวน้อย จะเข้าใจ เครื่องราชฯ รางวัล ใบประกาศเกียรติคุณ โล่ห์ ฯลฯ ที่พ่อได้รับมา มากมายจนไม่มีที่จะเก็บ (ซึ่งพ่อไม่เคยโอ้อวด ติดประกาศที่ใด) น่าจะเป็นเครื่องพิสูจน์ถึงความดีงามที่พ่อได้ท�ำมาตลอดชีวิตการท�ำงานเป็นหมอบ้านนอก ที่ท�ำงาน โดยไม่สนใจการเติบโตในต�ำแหน่ง ท�ำงานโดยไม่สนใจสิ่งล่อใจต่าง ๆ เป็นผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลประจ�ำจังหวัด เล็ก ๆ เกือบสามสิบปี ผมถึงกล้าบอกว่า พ่อของผม หมอบุญยงค์ วงศ์รักมิตร เป็นเทพ
-132-
แต่นั่นยังไม่เท่ากับ ชื่อเสียง การยอมรับ จากผู้คนทั้งในและนอกวงการแพทย์ พ่อเป็นนักพูดที่ทรงพลัง เป็นผู้บริหารที่เข้มแข็ง เป็นผู้น�ำที่เด็ดขาดและมีวิสัยทัศน์ พ่อรอบรู้ทั้งกว้าง ทั้งลึก ทั้งศาสตร์และศิลป์ ศาสนา ธรรมะ ฯลฯ พ่อยังเป็นปู-ชะ-นี (พ่อว่าเอง) เป็นปราชญ์ตามการยกย่องยอมรับของสังคมเป็น “ไอดอล” ตัวจริงของ คนหลายคน เป็น “ต�ำนาน” ที่ยังมีชีวิต (อันนี้ ผมว่าเอง) พ่อมีความกตัญญู แม้จะไม่มีโอกาสตอบแทนกับคุณปู่ คุณย่า ซึ่งสิ้นไปก่อน แต่พ่อมีพี่สาว (อ.บุญจันทร์) ที่ส่งเสียพ่อจนเรียนจบแพทย์ ทุกวันนี้ คุณป้านอนสบายอยู่ที่โรงพยาบาลน่าน พ่อก็ไปนั่งเป็นเพื่อนกับคุณป้าทุกวัน ไม่เคยขาด พ่อพูดเสมอว่า ถ้าไม่มีแม่ (หมอพนิดา) พ่อคงแย่ พ่อคงท�ำไม่ได้ดีเหมือนที่พ่อท�ำมา อันนี้ผมไม่เห็นแย้ง แม่สนับสนุนพ่อทุกเรื่อง ไม่เคยท�ำให้พ่อต้องห่วงหน้าพะวงหลัง แม่คือ ผู้ปิดทองหลังพระตัวจริงในเคสนี้ ผมขอเรียกแม่ ว่า ผู้ปิดทองหลังเทพ ในวัยแปดสิบ พ่อเย็น พ่อสงบมาก พ่อพูดน้อย เสียงเบา จนผมต้องคอยเตือนให้พูดดังๆหน่อย พ่อมีไม้เท้าเพิ่มเข้ามา พ่อบอกว่า อย่าไปอาย เราแก่ เราต้องระวังตัว แต่กระนั้น พ่อก็ล้มบ่อยทีเดียว ต้องขอบพระคุณพวกอาหมอและพี่ ๆ พยาบาล อาหมอคณิตที่รัก อาหมอนิวัติชัยที่เคารพ พี่เบิ้ม พี่จ๋า ที่ดูแลพ่อเป็น อย่างดี จนลูก ๆ หายห่วง แต่พ่อก็ยังอ่านหนังสือเหมือนเดิมมีความสุขกับการพูดคุยกับผู้ที่มาเยี่ยมคารวะ ยังคงไป “บนตึก” แทบทุกวัน ยังคงชอบอั้ม พัชราภา ชอบ แพนเค้ก เขมนิจ ปรนเปรอสุขกับน้องหมาที่ไม่เหมือนหมาอีกสองตัว และ น้องนึง ซึ่งเป็น ยิ่งกว่าลูก ตอนนี้พ่ออาการก�ำเริบ หัดใช้แทบเล้ตและเล่นไลน์ ผมแทบไม่เชื่อสายตาเมื่อเห็นพ่อ “จิ้ม” มาคุย เข้าใจว่า อาการดังกล่าว ถูกแพร่มาจากแม่ ผู้ซึ่งตอนนี้ติดเฟซบุ๊กอย่างมาก (ฮา) ผมรู้ว่า พ่อมีจุดบอดในชีวิตครอบครัวเรื่องลูก ที่พวกเราไม่ค่อยได้อยู่ด้วยกัน ไม่ค่อยสนิทกัน แต่อยากจะบอก พ่อว่า ลูกๆทั้งสามคน “เข้าใจ” และ “ภูมิใจที่สุด” ที่ได้เกิดมาจากพ่อและแม่และมั่นใจได้ว่า เราทั้งสามคนแม้จะไม่ได้ ท�ำได้เท่าส่วนเสีย้ วหนึง่ ของทีพ่ อ่ ท�ำ แต่เราก็ทำ� หน้าทีข่ องเราอย่างเต็มที่ เป็นพลเมืองทีด่ ี และไม่ทำ� ให้พอ่ ผิดหวังแน่นอน พ่อมีอิทธิพลต่อพวกเรามาก ทั้งในการด�ำเนินชีวิตส่วนตัวและการงาน ค�ำสอนของพ่อที่เคยให้ไว้เมื่อลูกยังเด็ก ด้วยการ นั่งคุยกันครั้งละสองสามชั่วโมง แนวคิดต่าง ๆ เหล่านั้นได้ถูกฝังเข้าไปสมองและหัวใจของลูก ๆ และค่อย ๆ ถูกน�ำออก มาใช้เมื่อลูก ๆ เติบใหญ่ บุคลิกและการแสดงออกของพวกเรา มีบางส่วนที่ได้มาจากพ่อและแม่คนที่รู้จักพวกเรา มักจะ ประทับใจและอยากรู้พื้นเพของครอบครัวว่าเป็นอย่างไร เวลามีคนถามถึงพ่อ เพราะเค้าคงอยากรู้ว่า “สิงห์เป็นคนแบบนี้ พ่อของสิงห์จะเป็นคนแบบไหนนะ ?” ผมจะถามเค้าก่อนว่า “อยากรู้เรื่องพ่อผมจริง ๆ เหรอ ยาวนะ” และผมจะเริ่มต้นว่า “พ่อกับแม่ของผมเป็นหมอ...”
บุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร (สิงห์)
-133-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ผมรู้ว่า พ่อมีจุดบอดในชีวิตครอบครัวเรื่องลูก ที่พวกเราไม่ค่อยได้อยู่ด้วยกัน ไม่ค่อยสนิทกัน แต่อยากจะบอกพ่อว่า... ลูก ๆ ทั้งสามคน “เข้าใจ” และ “ภูมิใจที่สุด”
สายใยรัก จาก...บ้านสวน
สายใยรัก จาก...บ้านสวน
ช่วงเวลา ผ่อนคลาย
-138-
งานมุทิตาจิต ในวาระครบรอบ อายุ ๘๐ ปี อ.นพ.บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ๙-๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
-139-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ก�ำหนดการงานมุทิตาจิตในวาระครบรอบอายุ ๘๐ ปี
อาจารย์นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ณ ห้องประชุมพุทธมนต์โชติคุณ ชั้น ๕ อาคารสิริเวชรักษ์ โรงพยาบาลน่าน วันเสาร์ที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
๑๑.๓๐ – ๑๒.๓๐ น. ๑๓.๐๐ – ๑๓.๑๕ น. ๑๓.๑๕ – ๑๕.๐๐ น. ๑๕.๐๐ – ๑๕.๑๕ น. ๑๕.๑๕ – ๑๖.๐๐ น. ๑๖.๓๐ น. ๑๘.๐๐ – ๒๒.๐๐ น.
- รับประทานอาหารกลางวัน ณ ระเบียงชมน่าน ชั้น ๕ อาคารสิริเวชรักษ์ - ฉายวีดีทัศน์ประวัติและผลงาน อ.นพ.บุญยงค์ วงศ์รักมิตร - เวทีเสวนา “ณ วันนี้ ๘๐ ปีอาจารย์บุญยงค์ ท่านคิดและท�ำอะไรอยู่” กลุ่มเป้าหมาย : ศิษย์เก่า/ศิษย์ปัจจุบัน รพ.น่าน และบุคลากรสาธารณสุขจังหวัดน่าน Moderator : นพ.ชาตรี เจริญศิริ / คุณสุภาพ สิริบรรสพ ประเด็น : - กล่าวต้อนรับและเกริ่นน�ำ โดย...นพ.พิษณุ ขันติพงษ์ ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลน่าน (๑๐ นาที) - โครงการปิดทองหลังพระ โดย...คุณธนกร รัชตานนท์ (๓๐ นาที) - การอนุรักษ์เมืองเก่าน่าน โดย...อ.สมเจตน์ วิมลเกษม (๒๐ นาที) - การสนับสนุนวิทยาลัยชุมชนน่าน โดย...คุณฌัชชภัทร พานิช (๑๕ นาที) - รับประทานอาหารว่าง - โครงการ ส.ท.ร. โดย...อ.นพ.บุญยงค์ วงศ์รักมิตร (๔๕ นาที) - นั่งรถรางเที่ยวชมเมืองน่าน - งานเลี้ยง ณ ห้องประชุมชั้น ๕ รพ.น่าน รูปแบบ บุฟเฟ่ต์อาหารพื้นเมือง แต่งกายตามสบาย เชิญทั้งศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน
วันอาทิตย์ที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
๐๘.๓๐ – ๑๐.๓๐ น. ๑๒.๐๐ น.
- พระสงฆ์ ๙ รูป เจริญพระพุทธมนต์สืบชะตาหลวงให้แก่ อ.นพ.บุญยงค์ วงศ์รักมิตร - สัมโมทนียกถา โดย...พระครูพิทักษ์นันทคุณ - ถวายผ้าป่าสามัคคี - ถวายภัตตาหารเพลแด่พระสงฆ์ - ผู้มีเกียรติและกรรมการผู้สูงอายุมุฑิตาจิตอ.นพ.บุญยงค์ วงศ์รักมิตร - อ.นพ.บุญยงค์ วงศ์รักมิตร พบปะผู้สูงอายุ - รับประทานอาหารร่วมกัน - ปิดงาน
.....................................................................................................
-140-
งาน มุทิตาจิต
๘๐ ปี
ช่วงบ่าย ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
-141-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
งาน มุทิตาจิต
๘๐ ปี
ช่วงค�่ำ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
-142-
งาน มุทิตาจิต
๘๐ ปี
ช่วงเช้า ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
-143-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
“ สทร. ” “สอนให้จ�ำ ท�ำให้ดู อยู่ให้เห็น ๘๐ ปี นพ.บุญยงค์ วงศ์รักมิตร” ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
ถอดความโดย...นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
ผู้อ�ำนวยการสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (พรพ.)
ขอขอบคุณทุกท่านทีม่ าร่วมงานมุทติ าจิต หวังว่า จะท�ำให้ผมอายุยืนขึ้นสักหนึ่งถึงสองปี โดยเฉพาะท่าน ผู้อาวุโสที่ได้กรุณามาร่วมงาน นับว่าเป็นโอกาสที่หาได้ยาก วันเกิดนั้นถือว่า เป็นเรื่องส่วนตัว ไม่ควรท�ำให้คนอื่นเดือดร้อน คนที่มาก็ เดือดร้อน คนที่ไม่มาก็ยิ่งเดือดร้อนขึ้นไปอีก มันเป็นเรื่อง ของแต่ละคน แต่ส�ำหรับวันนี้ คงจะหลีกหนีไม่พ้นที่จะ ไม่ให้จัด เพราะเป็นความปรารถนาของหลาย ๆ คน พอเห็นหลาย ๆ คนทีร่ ว่ มก่อตัง้ โรงพยาบาลน่าน มาร่วมงาน มีความเป็นปึกแผ่นแน่นหนาก็ดใี จ นัง่ ฟังไป ๆ ก็เหมือนได้ยนิ เสียงเฮลิคอปเตอร์พาคนไข้มาโรงพยาบาล เมือ่ ครัง้ นัน้ วิกฤติของคนอืน่ เป็นโอกาสของเราทีไ่ ด้ทำ� งาน ทุกคนเป็นครูของแต่ละคน ทุกคนเป็นเพือ่ นของแต่ละคน หลายคนออกจากโรงพยาบาลน่านไป ก็ไปท�ำงานที่อื่น เป็นต้นแบบทีด่ ี เป็นต้นคิดทีด่ ี ท�ำให้เห็นว่าการท�ำงานด้วย ความซือ่ สัตย์สจุ ริต มีความปรารถนาดี เป็นสิง่ ทีเ่ ป็นไปได้ หลายคนบอกว่าผมเก่งที่อบรมคนดี แต่ที่จริงเป็นคนดี เหล่านั้นต่างหาก ที่เข้ามาหาผม เรื่อง สทร.ที่มีผู้บอกว่า “สนใจทุกเรื่อง” นั้น ผมใช้ค�ำแสบกว่านั้นคือ “แส่ทุกเรื่อง” เราท�ำงานใน โรงพยาบาล ก็ต้องดูแลคนไข้ ญาติของเขา ต้องดูแล ป้ อ งกั น และต้ อ งท� ำ การบ� ำ บั ด ให้ ก ารรั ก ษาพยาบาล ชันสูตรเรื่องราวให้เข้าใจว่าเป็นโรคอะไร ถ้าเรา ตัง้ หน้าตัง้ ตารักษาอย่างเดียว ก็จะไม่สง่ เสริมป้องกัน
ในแง่ของความเป็นจริง หลายสิง่ หลายอย่างไม่ได้ อยูใ่ นโรงพยาบาล แต่ออกไปนอกโรงพยาบาล จากอนามัย จังหวัด เปลี่ยนเป็นสาธารณสุขจังหวัด มีอนามัยชั้นหนึ่ง ชั้นสอง เปลี่ยนมาเป็น รพ.สต. เราไม่ได้ท�ำงาน คนเดียว เราท�ำงานในกลุ่ม เป็นฝูง เป็นหมู่ เมื่อส่งกระแสออกไป จะเห็นสายใจจากเราไปสู่กลุ่มต่าง ๆ เหล่านั้น และ จากกลุ่มเหล่านั้นกลับมาหาเรา ถ้าไปอ่านทีผ่ มเขียนไว้ขา้ งนอก จะเห็นว่า ผมกับ นายแพทย์ สสจ.จะไม่มีวันทะเลาะกันเป็นอันขาด ไม่ว่า ท่านจะดีหรือไม่ดี เพราะถ้าหัวหน้าทะเลาะกันแล้ว คนที่ เป็ น ลู ก น้ อ งก็ ค งไม่ ส ามารถท� ำ งานร่ ว มกั น ได้ อ ย่ า งมี ความสุข และเกิดผลกระทบต่อประชาชน นอกจากนั้ น ยั ง มี ห น่ ว ยงานอื่ น ๆ ที่ มี ส ่ ว น เกี่ยวข้องกับสาธารณสุข และไม่เกี่ยวข้องกับสาธารณสุข โดยตรง แต่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม อาหาร ที่เกี่ยวข้องกับ สุขภาพ
-144-
แล้วท�ำไมต้องไปท�ำเรื่องนั้นเรื่องนี้กับภายนอก มาก ก็ขอเรียนว่า ถ้าไม่ทำ� เราก็อยูโ่ ดดเดีย่ ว เราก็ไม่ได้เห็น โลกกว้างขึน้ ตอนทีอ่ ยูใ่ นโรงพยาบาลก็จะอยูใ่ นวงแคบ ๆ นั่นก็คือท�ำกับหน่วยงานสังกัด สธ. พออายุ ค รบ 60 ปี ก็ ล าออกราชการ เพราะ ครูต้นแบบคือ อ.บุญจันทร์ วงศ์รักมิตร ซึ่งเป็นพี่สาว คนที่สอง มีบทบาทในการดูแลน้อง ๆ เหมือนแม่ดูแลลูก ให้อาหาร ให้การศึกษา ให้ชวี ติ ความเป็นอยูท่ ไี่ ม่แร้นแค้น จบการศึกษาแค่อนุปริญญา ภายหลังจึงมีโอกาสไปเรียน ต่อที่อเมริกา ในยุคนั้นทหารอเมริกามีมาก พี่สาวจึงตั้ง ภั ต ตาคารขายอาหารให้ ฝ รั่ ง จึ ง มี ร ายได้ ม าจุ น เจื อ ครอบครัว แต่ที่ได้มากคือค�ำสอน ประการที่หนึ่ง ถ้าเป็นผู้บริหารแล้วแก้ด้วย ตนเองไม่ได้ สิ่งที่ควรท�ำคือลาออก ให้คนอื่นเขาได้มี โอกาสท�ำหน้าที่นั้น ประการที่สอง โอกาสที่ทางราชการจะให้ความ ก้าวหน้านั้นชัดเจน สมัยนั้นเรียกว่าสองขั้น พี่สาวบอกว่า สองขั้นนั้น เป็นหน้าที่ของผู้บริหารหรือผู้อ�ำนวยการ ที่ จ ะใช้ อ� ำ นาจตรงนี้ ที่ จ ะให้ บ� ำ เหน็ จ แก่ ผู ้ ร ่ ว มงาน ไม่ใช่มาให้แก่ตัวเองเป็นอันขาด ประการทีส่ าม ท่านท�ำให้เห็นว่าชีวติ ในต�ำแหน่ง ราชการนั้น ไม่ใช่ต�ำแหน่งที่ใหญ่สูงอะไรนักหนา ท่าน ลาออกจากต�ำแหน่งอธิการ เพื่อมาเป็นอาจารย์สอน จริยธรรม เมื่อสอนจริยธรรมได้หนึ่งปี ท่านก็ลาออกจาก ราชการอีกหนึ่งปีก่อนหกสิบ เพื่อให้เห็นว่า ชีวิตเรานั้น ไม่ใช่อยูก่ บั ต�ำแหน่ง ทีเ่ ราจะต้องยึดมัน่ ไว้ ไม่สามารถออก มาจาก ตรงนั้น เป็นสิ่งที่ผมยึดมั่นมาตลอด ก็ต้องอยู่ใน กรอบที่ต้องดูแลตนเองพอสมควร พี่สาวได้รับขันเงินมาจากเพื่อนร่วมงานหนึ่งฟุต เศษ ๆ พร้อมกับดอกไม้ เมื่อดอกไม้เหี่ยวแห้ง พี่สาวก็เอา ขันเงินไปคืนเขา เขาก็บอกว่าให้อาจารย์แล้ว พีส่ าวก็บอก ว่าขอเอาขันเงินไปถวายพระสังฆราช วันเกิด การเลื่อนต�ำแหน่ง ไม่ใช่ของส�ำคัญที่จะ ต้องสร้างความเดือดร้อนให้คนอื่น คุณพี่ปลูกฝังอันนี้ให้ฟังอย่างสมํ่าเสมอ และ บอกว่า เมือ่ มีเหตุการณ์อะไรต้องรับผิดชอบ อย่าปัดสวะ ให้คนอื่น วันหนึ่งผมให้เจ้าหน้าที่ไปรับเด็กกับแม่ เด็กเป็น คอพอก แล้ววันดีคนื ดีกม็ าแจ้งว่าเด็กหายไปแล้ว ในหน้าที่
ของผูบ้ งั คับบัญชาก็คอื ต้องหาเด็กให้ได้ และก็เตรียมใบลา ออกจากราชการ เพื่อแสดงความรับผิดชอบ อันนี้เป็นสิ่ง ที่เขาสอนมา และที่ส�ำคัญที่ใช้อยู่เสมอคือ “คนที่ท�ำงาน ร่วมกับเธอนั้นเขาไม่ใช่ลูกน้องเธอ อย่าใช้ค�ำว่าลูกน้อง กับคนที่ร่วมงานกับเธอ เพราะเขาสอบมาด้วยความ สามารถ เขากินเงินเดือนราชการ เราไม่ใช่หัวหน้าโจร ที่จะต้องมีลูกน้อง” ค�ำสอนไม่กี่อันนี้ดีกว่าที่จะต้องไปเรียนปริญญา โทปริญญาเอก เพราะทุกอย่างคุมอยู่ที่ตัวเรา เมือ่ มาท�ำงานเป็นผูอ้ ำ� นวยการทีโ่ รงพยาบาลเลย ก็มพี รรษาการท�ำงานเพียงสามปีแปดเดือน ในฐานะแพทย์โท รพ.สกลนคร จะมีอะไรติดตัวมากนอกจากค�ำสอนของพี่ ก็ต้องสร้างศีลเพื่อควบคุมตัวเอง ก็ตั้งกฎว่าภรรยาที่ติด สอยห้อยตามมา ต้องเป็นคนที่ท�ำอาชีพเป็นหมออย่าง เดียว ภรรยาไม่ควรมายุ่งเกี่ยวกับการบริหารจัดการเป็น อันขาด ร้าน(คลินิก) ก็อย่าให้มาเบียดเบียนเวลาของ ราชการ โกง ขี้เกียจ โง่ โกงเวลาราชการ ถือว่าเป็น อัปลักษณ์ที่ไม่ควรจะเกิดขึ้น ต้องคุมตัวเอง เป็นหลัก เคย มีโครงการ MRA เมื่อท่านชี้ว่าคนอื่นผิด อีกสามนิ้วชี้มาที่ ตัวเองว่าท่านมีความผิดหรือไม่
-145-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
พอผมลาออกจากราชการเพราะอายุครบ 60 ปี (ซึ่งคนเกิดเดือน ต.ค., พ.ย. ต่ออายุราชการได้อีกหนึ่งปี) ผมแจ้งล่วงหน้าสามปี เพือ่ เตรียมตัวเตรียมใจว่าไม่ได้จาก หายไปไหน โชคดีทวี่ า่ การออกก่อนตรงนีท้ ำ� ให้เกิดหลุมด�ำ ว่างขึ้นหนึ่งต�ำแหน่ง เพราะถ้าไปลาจังหวะอื่น ก็จะมี ปัญหาว่าต�ำแหน่งไปรวมหมู่รวมศูนย์ ก็เลยเสนอตัวให้ คุณหมอคณิต ตันติศิริวิทย์ ได้รับต�ำแหน่งตรงนี้ เขียน คุณสมบัติต่าง ๆ ให้ปลัดกระทรวง ปลัดกระทรวงก็บอก ว่าให้เขียนแบบนี้ให้ผู้ว่า ฯ ส่งมา แล้วต่อมากระทรวงก็ อนุมัติตามค�ำขอ คนดี ๆ เขาแห่มาอยู่ที่น่าน คนที่เหมาะสมเขา อยากมาท�ำงานร่วมกัน หลายคนก็นั่งอยู่ในที่นี้เกือบร้อย เปอร์เซ็นต์ เราท�ำงานด้วยกัน เรียนด้วยกัน ศึกษาด้วยกัน ไม่มีใครเก่งกว่ากัน มีต่างกันเพียงประสบการณ์ เมื่อเรา ดูแลคนไข้ได้เป็นทีพ่ อพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ท่านได้พระราชทานของตามที่เราขอไป สมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ ตรั ส ว่ า “เห็นไหม ไม่ได้อยู่ที่โรงเรียนแพทย์”
ปีที่สอง ปีที่สามท่านก็เสด็จมาอีก ปีแรกขอเงิน สองแสน ขอด้วยความโง่คิดว่ารบกันไม่กี่ปีก็คงเลิก เมื่อ กราบบังคมทูลก็คดิ เอาตามความคิดโง่ ๆ ว่าจะรือ้ ฝาออก ต่อออกไปให้ใส่ได้อกี 20 เตียง เมือ่ พระราชทานเงินให้ ค�ำ รับสั่งท�ำให้เราทรุด “เงินที่ขอนั้นเอามาให้ ขอให้เธอ จัดการก่อสร้างโดยไม่ตอ้ งใช้ระบบราชการ ฉันไว้ใจเธอ เมือ่ ก่อสร้างเสร็จให้บอกด้วย ฉันจะมาเปิด” ใครจะกล้า กราบบังคมทูลมาเปิดอาคารที่ไม่ทาสี โชคดีที่มีคนไข้ คนหนึ่งมีลูกชายเป็นช่างโยธา คือ คุณทองจุณ สิงหกุล อดีตอธิบดีกรมโยธาธิการ ก็มาช่วยท�ำให้ พอสร้างเสร็จก็ ไม่ได้ทูลท่านมาเปิด ไม่กี่วันกรมวังผู้ใหญ่ หม่อมหลวงปี มาลากุล ก็มาหา ท่านสุภาพเรียบร้อยมาก ท่านบอกว่า ในหลวงรับสั่งว่า แล้วตึกฉันจะไม่ให้ท่านเปิดหรือ ท่าน บอกว่าไม่เป็นไรหรอก ไปหาพรมมาหนึ่งผืน หาสมุด ส� ำ หรั บ ลงนามพระปรมาภิ ไ ธยและพระนามาภิ ไ ธย มาเล่มหนึง่ ปากกาให้ไปเอาทีศ่ าลากลาง งานก็เป็นไปด้วยดี ไม่มีค�ำต�ำหนิจากพระองค์ท่าน ท่านก็ประทานเงินให้อีก หกหมื่นบาท สรุปว่าใช้เงิน 35 บาทในการเปิดตึกครั้งนั้น ตอนจะเสด็จกลับก็ตรัสว่าจะถ่ายรูปกับเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลน่าน ก็ถ่ายรูปแบบยกฝูง แม้แต่คนที่ไม่ใช่ เจ้าหน้าที่ มีกล่องกระดาษใส่เงินสองแสนสี่ กล่องนั้น ท่ า นคึ ก ฤทธิ์ ม าบอกที ห ลั ง ว่ า เป็ น กล่ อ งรองเท้ า ท่านคึกฤทธิม์ าเปิดธนาคารในวันหยุดเพือ่ เอาเงินมาให้ หลายสิง่ หลายอย่างเป็นนาํ้ หล่อเลีย้ งใจ สธ.ก็ดใี จ ให้อธิบดีมา อธิบดีกบ็ อกว่ามีเรือ่ งดี ๆ ท�ำไมไม่บอก ก็บอก ว่ า รั บ มื อ ได้ อ ยู ่ ผมก็ ล งมารั บ อธิ บ ดี ด ้ ว ยกางเกงแพร พอปี ต ่ อ มาก็ ข อเครื่ อ งราชอิ ส ริ ย าภรณ์ ช ้ า งเผื อ กให้ กรมการแพทย์ขอให้ทำ� ความดีความชอบ ให้แก่เจ้าหน้าที่ ที่ดูแลทหารที่บาดเจ็บ ขอไป 42 คน ส�ำนักงาน ก.พ.ก็ บอกว่าเป็นไปไม่ได้ สอบถามมา ก็ชแี้ จงไปว่าทุกคนท�ำงาน จริง ก็เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่ได้แบบ เหมาเข่ง อธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย แพทยศาสตร์ นพ.ชัชวาล โอสถานนท์ ก็พูดบอกว่าตลอดเวลาที่เฝ้า พระเจ้าอยู่หัว บนเครื่องบินจากกรุงเทพฯไปเชียงใหม่ ท่านตรัสถึงแต่เรือ่ งแพทย์และการท�ำงานของโรงพยาบาล น่านตลอดเวลา ท่านก็ถามว่าวันนี้ท่าน ผอ.รพ.น่านมา หรือเปล่า เมื่อเราท�ำสิ่งหนึ่งสิ่งใดเป็นประโยชน์ มันก็เป็น เครื่องคุ้มตัวเราตลอดมา ท�ำไมเราท�ำอย่างนั้น ค�ำตอบก็ได้เมื่อออกจาก ราชการ คือแส่ทกุ เรือ่ ง อ๋อ...เราจ�ำค�ำพูดของคนคนหนึง่ ว่า
-146-
“เรามี ห น้ า ที่ ท� ำ ประโยชน์ แ ก่ เ พื่ อ นมนุ ษ ย์ นั่ น คื อ ปฐมบรมราชโองการ” เพราะเราไม่ ไ ด้ เ ห็ น ว่ า อั น นี้ ต้องคนนั้นท�ำ ต้องคนนี้ท�ำ สูตรของความส�ำเร็จ “มีใจ มีประสบการณ์ มีความรู้ มีความอดทน มีเวลา” การก่อตัง้ วิทยาลัยชุมชน ท่าน รมช.สิรกิ ร มณีรนิ ทร์ รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และคุณสุนนั ทา แสงทอง ผมเพิ่งผ่าตัดจี้หัวใจด้วยคลื่นวิทยุ เพื่อท�ำให้ การเต้นของหัวใจปกติ ภรรยาสุดที่รักของผมก็อยากให้ พักผ่อนจึงพาออกจากโรงพยาบาลไปสามชุก จ.สุพรรณบุรี แต่ก่อนที่จะเข้าไปนั้น รมช.สิริกร โทรไปหาผมเกือบ ครึ่งชั่วโมง แสดงว่าเขาให้ความไว้วางใจเรา ถามว่าหลังจาก 80 ปีจะท�ำอะไร ท่านก็คงทราบดี ว่าท�ำอะไร ก็คือ สทร.ตามโอกาส ผมมีปณิธานว่าหลังเกษียณ ผมจะศึกษาเรื่อง ประวัตศิ าสตร์ อักขรล้านนา ศาสนาพุทธ แต่กท็ ำ� ได้ไม่เต็มที่ เพราะมีเรื่องอื่น ๆ เข้ามาแทรกมากมาย ตราบใดที่ยัง พูดได้ คิดได้ เดินได้ ก็จะให้สติ ข้อคิด และก�ำลังใจแก่ สังคม คิดว่าปณิธานสามอย่างนี้น่าจะท�ำได้ ถ้าไม่เป็น อัลไซเมอร์เสียก่อน ถามว่ามีโรคภัยไข้เจ็บไหม ก็มีบ้างเป็นธรรมดา อันไหนจัดการได้ก็จัดการได้ อันไหนที่จัดการไม่ได้ก็เป็น เพื่อน มีเพื่อนที่ดีที่สุด คือ ลมหายใจ กับ สิ้นลมหายใจ ขอขอบคุ ณ ในนํ้ า ใจไมตรี ข องทุ ก ท่ า นที่ เหน็ดเหนื่อย ผลงานของท่านก็เป็นประโยชน์ต่อสังคม อย่างยิ่ง.
-147-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
“ ปิ ด ทองหลั ง พระ ” ถอดเทปค�ำพูด อ.นพ.บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ (หลังจากรับมอบสิ่งของแสดงมุทิตาจิต คณะจากมูลนิธิปิดทองหลังพระ ฯ และ มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง)
นี่คือทีมที่ดีที่สุดในประเทศไทย หรือ โลกใบนี้ เพราะว่าเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพที่สุด ที่จะแก้ปัญหา ความยากจนของคนไทย คนพม่ า คนอาเจะห์ คนอาฟกานิสถาน หัวหน้าทีมใหญ่ก็คือ หม่อมราชวงศ์ ดิศนัดา ดิศกุล ท่านก็อายุใกล้ ๆ ผมแล้ว คือ ๗๖ ปี ทีมที่มานี้ หัวหน้าทีมคือคุณณรงค์ ท่านท�ำงานเกี่ยวกับ การพัฒนาต่าง ๆ มากมายก่ายกอง ในพื้นที่ไปพัฒนานั้น ไม่มพี นื้ ทีไ่ หนทีน่ อนห้องแอร์ มีแต่นอนกับดิน กินกับทราย ตลอดเวลา มูลนิธิสองมูลนิธิ คือ มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง และ มูลนิธปิ ดิ ทองหลังพระ สืบสานพระราชด�ำริพนื้ ทีจ่ งั หวัด น่าน ท่านเคยได้ยินมูลนิธิปิดทองหลังพระมามาก มูลนิธิ ปิดทองหลังพระ ฯ เป็นการสร้างพืน้ ทีต่ น้ แบบในการแก้ไข ปัญหาความยากจน คุณภาพชีวิต และที่ส�ำคัญคือรักษา ป่าต้นน�้ำให้กับชาวบ้านในพื้นที่ และหน้าที่ใหม่ที่มาท�ำ ในคราวนี้ นอกเหนือจากท�ำเรื่องเดิมแล้ว มีหน้าที่ที่ต้อง ปลูกป่า ๒๕๐,๐๐๐ ไร่ ในพื้นที่ อ�ำเภอสองแคว อ�ำเภอ ท่าวังผา และอ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ การปลูกป่าของท่านนั้นก็มีแนวคิดต่าง ๆ นา ๆ เอาง่าย ๆ คือว่า ไม่ซื้อกล้าไม้ ต้องปลูกกล้าไม้ด้วยตนเอง เพื่อให้แน่ใจว่าเมื่อถอนขึ้นมาแล้วต้องมีราก อันนี้
ต้องอาศัยเทคโนโลยีหลาย ๆ อย่าง ความเพียรพยายาม หลาย ๆ อย่าง ซึง่ ผมใช้คำ� ว่า ๑. ต้องมีใจ ๒. ต้องมีความรู้ ๓. ต้องมีประสบการณ์ ๔. ต้องมีความสามารถ ๕. ต้องมี ความอดทน และที่ส�ำคัญที่สุด คือ ต้องมีใจ การท�ำงาน ตรงนี้ ต้อง “เทใจ” ให้แก่กิจการของมูลนิธิปิดทอง หลังพระฯ และ มูลนิธแิ ม่ฟา้ หลวง ทัง้ หมดนัน้ คงเป็นการท�ำ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และ สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ฯ และที่ส�ำคัญ คือ จิตวิญญาณของ เขานั้น เขาอยู่ใต้ฝ่าพระบาทขององค์สมเด็จย่า ท่านทีย่ นื ข้างผมนี้ คือ ลุงภพ อายุปนี ี้ ๗๓ ปี เดิน บนดอยเหมือนเดินในห้างสรรพสินค้า เดินในห้างสรรพ สินค้าอาจจะเดินชนนั่นชนนี่ เกิดอาการหนาวสั่นเพราะ มันมีแอร์ แต่ท่านอยู่บนดอยเพื่อส�ำรวจว่าบนดอยนั้น กี่กิโลเมตร กี่ตารางกิโลเมตร เพื่อส�ำรวจว่าตรงไหนเป็น แหล่งน�้ำที่น�ำมาใช้ได้ ท่านมีความเชี่ยวชาญอย่างยิ่ง สร้างฝาย สร้างอะไร ต่าง ๆ ทัง้ ฝายใหญ่ ฝายเล็ก ในราคา ที่เป็นกันเอง แตะต้องได้กับชาวบ้าน ที่ส�ำคัญก็คือไม่ไป สร้างให้ หากแต่ชวนชาวบ้านสร้าง ให้องค์ความรู้ และ หาวัสดุที่จ�ำเป็น เอามากองไว้ให้ ท�ำด้วยกัน เสียหาย ต่าง ๆ นา ๆ ชาวบ้านก็สามารถซ่อมแซมเองได้ สมดัง ปรั ช ญาของมู ล นิ ธิ ป ิ ด ทองหลั ง พระ ฯ และมู ล นิ ธิ แม่ฟ้าหลวง ที่ว่า “ช่วยเขาให้ช่วยตนเองได้”อันนั้นคือ เรือ่ งใหญ่ของประเทศชาติ ถ้าหากว่าทางราชการไม่วา่ จะ เป็นภาครัฐ ภาคท้องถิน่ ในระดับท้องที่ ระดับอ�ำเภอและ ภาครัฐในระดับเขตต่าง ๆ นัน้ ได้รบั นโยบายนีเ้ ข้าไปใส่ใน หัวอก หัวใจ ผมเชือ่ ว่าการแก้ปญั หาความยากจน ของชาวไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคเกษตรกรนั้น มีทางที่เป็นไปได้ โดยใช้เวลาไม่ถึง ๓ หรือ ๔ ปี น่ า เสี ย ดายว่ า ความคิ ด ลั ก ษณะอย่ า งนี้ นั้ น ไม่ ส ามารถจะแตกกรอบแตกหน่ อ ออกไปได้ ม ากมาย เหมือนความคิดที่ก�ำลังทะเลาะกันอยู่ขณะนี้ กระผมท�ำงานกับปิดทองหลังพระ ฯ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้รับความรู้ ได้รับประสบการณ์ต่าง ๆ จากท่าน เหล่านีม้ ากมายก่ายกอง ผมเองนัน้ เริม่ ต้นจากศูนย์ แต่ผม มีใจให้ สิ่งอื่น ๆ ไม่มี ไม่มีความรู้ความสามารถ ไม่มี ประสบการณ์ เพราะฉะนั้นจึงขอให้ท่านทั้งหลายได้โปรด ปรบมือต้อนรับบุคคลส�ำคัญเหล่านี้ ทุกคนมีความสามารถ พิเศษหมด เพราะเขารูว้ า่ สิง่ ทีเ่ ขาท�ำนัน้ เป็นประโยชน์แก่ มนุษยชนผูด้ อ้ ยโอกาส คนทีม่ โี อกาสได้ทำ� สิง่ เหล่านี้ ถือว่า ได้ทำ� บุญให้แก่ตนเอง ให้แก่ครอบครัว ให้แก่ประเทศชาติ มากมายก่ายกอง ขอขอบพระคุณมากครับ.
-148-
จากวันนี้...ถึงวันวาน
สารจาก “คนกันเอง”
พลังแห่งศรัทธา ย้อนร�ำลึกอดีตเมื่อ 40 ปีก่อน (พ.ศ.2516) ผมมี โอกาสรู้จักพี่บุญยงค์ วงศ์รักมิตรเป็นครั้งแรกในการ ประชุ ม ปฐมนิ เ ทศแพทย์ ใ ช้ ทุ น กระทรวงสาธารณสุ ข รุน่ ที่ 2 ณ หอประชุม รพ.สงฆ์ ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เนือ่ งจากอาจารย์ได้รบั เชิญเป็นวิทยากร เล่าประสบการณ์การท�ำงานใน รพ.ต่างจังหวัด ผมรับรูว้ า่ อาจารย์เป็นผูอ้ ำ� นวยการหนุม่ ไฟแรง มีความสามารถรอบตัว ทัง้ ด้านบริหาร ด้านบริการ ด้านวิชาการและสังคมครบถ้วน การบรรยายในวันนั้น ได้รับการสนใจอย่างมาก จากแพทย์ใช้ทนุ ท�ำให้เช้าวันรุง่ ขึน้ เพือ่ นแพทย์ใช้ทนุ จาก หลายสถาบันทีจ่ บั ฉลากได้โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล ทั่วไปขนาดใหญ่ใกล้กรุงเทพฯ ขอแลกเพื่อมาท�ำงานที่ ร.พ.น่าน ผมจับฉลากได้ ร.พ.น่านแต่เงียบไว้ไม่บอกใคร ไม่แลกกับใครและตัดสินใจว่าจะมาท�ำงานที่ รพ.น่าน เพราะผมได้แนะน�ำตัว พูดคุยปรึกษาอาจารย์ แม้ชว่ งเวลา สัน้ ๆ ก่อนอาจารย์ขน้ึ เวที ผมเกิดความศรัทธาเชือ่ มัน่ โดย เฉพาะประเด็นเรื่องความปลอดภัย ด้วยเกรงว่าคุณพ่อ คุณแม่จะเป็นห่วงไม่ยอมให้ไป รพ.น่าน เพราะในขณะนัน้ เป็นที่ทราบดีว่า จังหวัดน่านเป็นพื้นที่สีแดงมีการแทรก ซึมของผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ (ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2510 ถึง ปี พ.ศ.2526) ประมาณ 1 เดือนต่อมา ต้นเดือนเมษายน พ.ศ. 2516 ผมได้ เ ดิ น ทางมาจั ง หวั ด น่ า นเป็ น ครั้ ง แรกเพื่ อ รายงานตั ว ปฏิ บั ติ ง านในฐานะข้ า ราชการใหม่ ได้ ข อ อนุญาตเข้าพบอาจารย์บญ ุ ยงค์ ซึง่ เป็นผูใ้ หญ่คนเดียวทีผ่ ม เพิง่ รูจ้ กั ทีก่ รุงเทพฯ อาจารย์ทกั ผมว่า “คุณมาจากบริษทั อะไร” ท�ำให้ผมต้องเรียนอาจารย์ว่า ผมเป็นแพทย์ใช้ทุน รุ่น 2 จับฉลากได้ รพ.น่าน มารายงานตัวปฏิบัติงาน จากนั้นอาจารย์ได้มอบหมายให้ คุณศรีพงษ์ จั่นมณี (คุณลุงพ่อบ้าน) ซึ่งมีความเป็นกันเองมาก เป็นผู้จัดหา ที่พัก อาหารและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ ให้ผม ผมมีความประทับใจอย่างมากในความกรุณาของอาจารย์ และคุณลุงพ่อบ้าน อย่างไรก็ดี ผมไม่สามารถที่จะบันทึกเรื่องราว หรือเหตุการณ์รายละเอียดที่เป็นความประทับใจของผม ในการท�ำงานร่วมกับอาจารย์ได้ครบถ้วน แต่เมื่อได้อ่าน หนังสือ “สอนให้จ�ำ ท�ำให้ดู อยู่ให้เห็น” ระลึกถึง 80 ปี นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร พบว่ามีบทความที่เขียน โดยศิษย์เก่ารพ.น่าน อาทิ นพ.เทียม อังสาชน นพ.ดาวฤกษ์ สินธุวณิชย์ นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
เป็นต้น และท่านอืน่ ๆ ทีผ่ า่ นประสบการณ์ในการท�ำงาน ร่วมกับอาจารย์ที่ รพ.น่านในช่วงเวลาและระยะเวลา ที่ แ ตกต่ า งกั น ทุ ก คนได้ เ ล่ า ถึ ง ความประทั บ ใจและ ประสบการณ์ที่เป็นแรงบันดาลใจน�ำไปสู่ความส�ำเร็จ ความก้ า วหน้ า ในชี วิ ต การท� ำ งานของพวกเราทุ ก คน ส�ำหรับตัวผม ผมยังมีความประทับใจอาจารย์อย่างมาก อีกเรื่องหนึ่งคือ การสอนให้รู้จักการเข้าสังคม โดย อาจารย์มักพาแพทย์น้อง ๆ ไปร่วมงานเลี้ยงต่าง ๆ ใน จังหวัดเสมอ ผมและเพือ่ น ๆ น้อง ๆ ได้เรียนรูจ้ ากอาจารย์ ทีม่ กั ท�ำหน้าทีเ่ ป็นพิธกี รทีม่ อี ารมณ์ขนั เฮฮา รวมทัง้ ความ สามารถในการร้ อ งเพลงและเต้ น ร� ำ ที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ เป็นการเพิม่ สีสนั ท�ำให้งานสนุกสนาน ทีส่ ำ� คัญคือท�ำให้ผม และแพทย์นอ้ ง ๆ ได้เพือ่ น ได้รจู้ กั บุคคลส�ำคัญของจังหวัด ที่ไปร่วมงาน ปัจจัยหลักในการด�ำเนินชีวิตและการท�ำงาน ของอาจารย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร จากประสบการณ์ ข องผมที่ ไ ด้ ร ่ ว มท� ำ งานกั บ พีบ่ ญ ุ ยงค์ วงศ์รกั มิตรในช่วงเวลาหนึง่ (พ.ศ.2516 -2528) อาจารย์ประสบความส�ำเร็จในชีวิตเป็นอย่างสูง โดยการ อุทิศตนประกอบคุณงามความดี เพื่อประโยชน์สุขแก่ ประชาชน ราชการ สังคม และประเทศชาติ จากการรับรู้ ของผม ปัจจัยหลักในการด�ำเนินชีวิตและการท�ำงานของ อาจารย์ ซึง่ น�ำไปสูเ่ ป้าหมายของความส�ำเร็จดังกล่าวแล้ว ข้างต้น มี 3 ประการที่พวกเราสัมผัสได้สมควรน�ำมาเป็น แบบอย่ า งได้ แ ก่ 1) ความจงรั ก ภั ก ดี ต ่ อ สถาบั น 2) คุณธรรม ความดี 3) ประดุจปราชญ์ผู้ทรงศีล ผมขอขยายความในแต่ละปัจจัยดังนี้ 1. ความจงรักภักดีต่อสถาบัน จากพระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ที่ ไ ด้ พ ระราชทานแก่ อ าจารย์ เ ป็ น การส่ ว นพระองค์
-150-
เป็นการแสดงความชื่นชมการท�ำงานของอาจารย์ เป็น การตรัสเพียงสั้นๆว่า “ฉันไว้ใจเธอ” หรือ “ฝากดูแล ประชาชนของฉันด้วย” ซึ่งผมรับทราบถึงความซาบซึ้ง และความรู้สึกของอาจารย์ที่ว่า เป็นมงคลชีวิตอย่างหา ที่ สุ ด มิ ไ ด้ ที ม งานไม่ ว ่ า จะเป็ น แพทย์ พยาบาลและ เจ้าหน้าทีท่ กุ คน ก็มคี วามรูส้ กึ ปลาบปลืม้ เป็นล้นพ้นเช่นกัน ท�ำให้ เกิดพลังอันยิ่งใหญ่ในความสามัคคี ความมุ่งมั่น เสียสละ ทุ่มเทอย่างหนักให้กับการดูแลรักษาผู้บาดเจ็บ จากการปราบปรามผู ้ ก ่ อ การร้ า ยคอมมิ ว นิ ส ต์ อ ย่ า ง เต็ มก� ำ ลั ง ความสามารถตลอดช่วงเวลานั้น เป็ นเวลา หลายปีอย่างต่อเนื่อง 2. คุณธรรมความดี อาจารย์เคยเล่าให้ผมฟังว่า อาจารย์เป็นบุตร คนสุดท้อง คุณพ่อ คุณแม่เสียชีวิตตั้งแต่อาจารย์อายุ ยังน้อย อาจารย์ไม่มีโอกาสตอบแทนบุญคุณคุณพ่อและ คุณแม่ แต่อาจารย์มีพี่สาวที่ดูแลอาจารย์เปรียบเสมือน คุณแม่ คือ อาจารย์บญ ุ จันทร์ วงศ์รกั มิตร ซึง่ เป็นผูท้ สี่ ง่ เสีย ให้อาจารย์เรียนจนจบแพทย์ เป็นผูท้ มี่ บี ญ ุ คุณกับอาจารย์ มาก อาจารย์มีทุกวันนี้ได้ก็เพราะเชื่อฟังค�ำสอน ข้อคิด เตือนใจของท่านเสมอมา แม้ทุกวันนี้อาจารย์บุญจันทร์ ป่วยที่ ร.พ.น่าน อาจารย์ก็ไปดูแลเสมอมิได้ขาด เป็นการ แสดงถึงความกตัญญูกตเวทีต่อพี่สาวผู้มีพระคุณ ในด้าน การให้บริการผู้ป่วย อาจารย์ ยึดหลักให้ประชาชนทุก คนมีสิทธิ์เข้าถึงบริการอย่างเท่าเทียมกัน ให้เกียรติผู้ ป่วยว่าเป็นมนุษย์คนหนึง่ ทีม่ ศี กั ดิศ์ รี และเป็นครูสอนให้ ความรู้เรื่องโรคแก่แพทย์ที่รักษา โดยเฉพาะโรคที่วิกฤต เป็นโชคร้ายของผู้ป่วย แต่เป็นโอกาสของแพทย์ ในการ เรี ย นรู ้ มากกว่ า ที่จ ะคิดว่าเป็นภาระในการดูแลรั ก ษา อาจารย์เป็นผู้ที่ท�ำงาน เรียนรู้สิ่งใหม่อยู่เสมอ ชีวิตการ ท�ำงานของอาจารย์ไม่มีค�ำว่าเกษียณ หลังจากที่อาจารย์ ลาออกก่อนเกษียณอายุราชการ 1 ปี ท่านก็ไม่ได้หยุดการ ท�ำงาน ยังท�ำงานโดยอุทิศเวลาให้กับชุมชน สังคมของ จังหวัดน่าน เช่น งานพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน งานภาคประชาสังคม โครงการปิดทองหลังพระ โครงการ จัดตัง้ มหาวิทยาลัยชุมชนในจังหวัดน่าน หรือการจัดสร้าง หออัตลักษณ์ เป็นต้น เป็นการมุง่ สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ บูรณาการผสมผสานแหล่งความรู้ต่างๆ เชื่อมโยงทุกภาค ส่วนเป็นเครือข่าย เพือ่ ให้ชมุ ชนมีความเข้มแข็ง เป็นแม่บท น�ำร่องการพัฒนาประชาสังคมจังหวัดน่านจนมีชื่อเสียง ระดับประเทศ ในปัจจุบนั อาจารย์ในวัย 80 ปีก็ ยังมีผลงาน โดดเด่น ที่ได้รับการยกย่องจากสังคมทั้งในระดับจังหวัด และระดับชาติ
3. ประดุจปราชญ์ผู้ทรงศีล อาจารย์เป็นผู้มีความรู้ มีความสนใจในศาสตร์ หลายสาขา ทีส่ ำ� คัญเมือ่ อาจารย์ศกึ ษาวิชาอะไรแล้ว จะมี ความรู้ ทัง้ รูก้ ว้าง รูอ้ ย่างลึกซึง้ รูจ้ ริง นอกจากนัน้ อาจารย์ ยังมีความสามารถภาษาอังกฤษอย่างดีเยี่ยม เป็นนักพูด นักปาฐกถาชั้นน�ำระดับประเทศ เป็นนักอ่านตัวยง อ่าน หนังสือทุกชนิด ไม่วา่ จะเป็นต�ำรา หนังสือ วารสารทางการแพทย์ จดหมายเหตุทางการแพทย์ ทั้งของไทยและต่างประเทศ จึงท�ำให้อาจารย์เป็นแพทย์ที่ทันสมัยอยู่เสมอ แม้จะอยู่ ไกลปืนเทีย่ ง แต่ทางด้านวิชาการไม่ได้ยงิ่ หย่อนกว่าแพทย์ ในส่วนกลาง อาจารย์เป็นหมอผ่าตัดฝีมือดี มีเทคนิคการ ผ่าตัดเป็นขั้นตอน เหมือน step ของการเต้นร�ำ อาจารย์ ถนัดมือซ้ายยืนด้านขวาของผูป้ ่วย ส่วนผมเป็นผู้ชว่ ยถนัด ขวาจะยืนด้านซ้ายของผู้ป่วย การผ่าตัดราบรื่นดี เพราะ ต่างคนต่างใช้มอื ทีถ่ นัดในการท�ำงาน ท�ำให้การผ่าตัดเสร็จ ค่อนข้างไว การท�ำงานในช่วง 2 ปีแรกของผมที่รพ.น่าน อยู่ในช่วงของการเรียนรู้ (learning Curve) ผมเองต้อง พัฒนาตนเองเป็นอย่างมาก เพือ่ แบ่งเบาภาระงานด้าน
-151-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ศัลยกรรมของโรงพยาบาล เนือ่ งจากตระหนักดีวา่ อาจารย์ เหนือ่ ย แต่ไม่เคยปริปากบอกใคร เพราะนอกจากอาจารย์ ต้ อ งเป็ น หลั ก ในการตรวจผู ้ ป ่ ว ยที่ ตึ ก ผู ้ ป ่ ว ยนอกแล้ ว ยังต้องเข้าห้องผ่าตัดอีกด้วย นอกจากนี้เวลาอยู่เวรมี case ยาก ๆ อาจารย์อนุญาตให้โทรศัพท์ตามได้ตลอด เวลา และอาจารย์ทราบว่า คืนที่ผ่านมามี case อะไร ผ่าตัดบ้าง ที่ทราบเพราะอาจารย์นั่งอ่านหนังสือจนดึกยัง ไม่เข้านอน มีอยู่ครั้งหนึ่งผมจ�ำได้ว่า ผมเข้าไปเปลี่ยน อาจารย์ผา่ ตัด เพราะอาจารย์ยนื ผ่าตัดอยูห่ ลายชัว่ โมง เพราะ เป็น case ยาก แต่อาจารย์ก็ไม่ได้ไปไหน ยังหลับอยู่มุม ห้องในชุดผ่าตัดนัน่ เอง บาง case หลังผ่าตัด สัญญาณชีพ ไม่ค่อยดีหรือ shock ผู้ป่วยอาจเสียชีวิตได้ อาจารย์จะ ให้การดูแลอย่างใกล้ชิด เพื่อจะได้แก้ไขภาวะแทรกซ้อน ให้ได้ทันท่วงที ท�ำให้ผู้ป่วยมี โอกาสรอดชีวิต ทั้งหมดที่กล่าวมาโดยสังเขปนี้ คือการที่อาจารย์ เป็นผูป้ ฏิบตั ิ “ การสอนให้จำ� ท�ำให้ดู อยูใ่ ห้เห็น” นัน่ เอง ซึ่งเป็นกลอุบายที่ดีเยี่ยมในการสอนทักษะทางการแพทย์ ให้กบั แพทย์รนุ่ น้องทีผ่ า่ นประสบการณ์จาก รพ.น่าน และ ในช่วงเวลาขณะนั้น ถึงแม้ว่า รพ. น่าน มีบุคลากรจ�ำนวน น้อย ทั้งแพทย์ พยาบาลและเจ้าหน้าที่ ท�ำให้งานบริการ ของโรงพยาบาลเป็นงานค่อนข้างหนัก แต่ไม่มีใครอยู่นิ่ง เป็น “ไทยเฉย” ทุกคนช่วยกันตามความถนัด ตามหน้าที่ คนละไม้ละมือ ท�ำให้งานน้อยใหญ่ส�ำเร็จผ่านพ้นไปได้ดี ทุกครัง้ ทีส่ ำ� คัญอาจารย์จะรอพวกเราทุกคนจนกระทัง่ ทีม สุดท้ายท�ำงานเสร็จ เพื่อรับประทานมื้ออร่อยที่มี Chef ฝีมือระดับ 5 ดาวคือ คุณยาย (คุณแม่ของอาจารย์พนิดา วงศ์รักมิตร) เป็นผู้เตรียมไว้พร้อมที่บ้านพักผู้อ�ำนวยการ สิ่งส�ำคัญอีกประการหนึ่งที่ผมได้เรียนรู้เมื่อได้ ท�ำงานใกล้ชิดกับอาจารย์คือเรื่อง “ความโกรธ”
ซึง่ เป็นโรคทางจิตวิญญาณชนิดหนึง่ ของมนุษย์ ซึง่ บางครัง้ มีอำ� นาจมากจนเอาไม่อยู่ ถ้าเบรกไม่ได้จะก�ำหนดชีวติ โชค ชะตาของคนได้เลย ซึ่งพบเห็นได้ทั่วไป และเป็นเรื่องที่ ห้ามไม่ได้ที่แพทย์ผ่าตัด (Surgeon) ที่อยู่ในสถานการณ์ คับขันต้องยื้อชีวิตผู้ป่วยที่ shock จากการเสียเลือด ย่อม มีอารมณ์โกรธและที่ส�ำคัญมักจะถ่ายทอดชนิดตัดต่อ Gene ข้ามสายพันธ์ุจากอาจารย์สู่ลูกศิษย์จากรุ่นพี่สู่ รุ่นน้อง แต่ความโกรธไม่ใช่เป็นโทษเสียทั้งหมด มีข้อดีอยู่ บ้าง เพราะท�ำให้พยาบาลผู้ช่วยผ่าตัดตื่นตัว (Alert) รู้เขา รูเ้ รา รูว้ า ่ Surgeon คนไหนชอบอะไรไม่ชอบอะไร ก่อนจะ ลงมือผ่าตัด พยาบาลผูช้ ว่ ยผ่าตัดจะเตรียมไว้ครบ ส�ำหรับ ข้อไม่ดคี อื ถ้าโกรธสะสมถึงขีดอันตราย จะเกิดอาการของ ความโกรธคือการใช้ผรุสวาจาด่าทอ การด่าว่าแม้ไม่ถึง นาที คนทีด่ า่ อาจลืมไปแล้ว แต่คนทีถ่ กู ด่ายังจ�ำ และเจ็บใจ อยู่ อาจนานเป็นวันเป็นปี หรืออาจฝังใจเจ็บมิลมื เลือนเลย ก็ได้ ผมเคยได้ยินอาจารย์พูดกับผู้ใกล้ชิดว่า “โกรธท�ำไม โกรธแล้วมีความสุขนักหรือ” อาจารย์เป็นผูใ้ ช้หลักธรรม เอาชนะความโกรธด้วยการเมตตา ให้อภัย ให้โอกาสแก่ ผู้ร่วมงาน เสมอ ขณะนี้ประเทศไทยของเราประสบปัญหาต่างๆ มากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและการศึกษา มีผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่มีความ ซับซ้อนเกี่ยวโยงกัน อันเกิดจากเหตุและสาเหตุที่ส�ำคัญ คือ ความเสื่อมของศีลธรรม ดังที่ท่านพุทธทาสภิกขุกล่าว ไว้ว่า “ศีลธรรมไม่มา โลกาจะวินาศ” น่าจะมีส่วนจริง ทันได้เห็นในเวลาอันใกล้นี้ ความเสื่อมลงของศีลธรรม ปรากฏให้เห็นในสังคมปัจจุบัน ซึ่งครอบง�ำด้วยระบบ ทุนนิยม อ�ำนาจนิยม มีความเห็นแก่ตัวสูง ท�ำลายความ ถูกต้อง ความดีงามที่มีมาในอดีต ครอบง�ำด้วยอวิชชา
-152-
ขาดจิตส�ำนึกของความเป็นมนุษย์ทพี่ งึ มี ท�ำลายความรูส้ กึ ผิดชอบชั่วดีจนหมดสิ้น อาจารย์เป็นบุคคลที่สนใจเรื่อง ธรรมะ โดยเฉพาะธรรมะของท่ า นพุ ท ธทาสภิ ก ขุ ท่านประยุทธ์ ปยุตโต และหลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ โดย เฉพาะหลักธรรมที่หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุได้สอนไว้ ง่ายๆ เพื่อให้พุทธบริษัทได้ปฏิบัติในชีวิตประจ�ำวันคือ “คิดดี พูดดี ท�ำดี” ซึ่งอาจารย์มีอยู่ครบและได้ถ่ายทอด เจตนารมณ์เหล่านีใ้ ห้ลกู ศิษย์ เมือ่ อาจารย์ได้ตกผลึกความ คิดดี ๆ เป็นผลให้เกิดการท�ำดี พูดดีตามมา เราจะไม่เคย ปฏิเสธเลยสักครัง้ ทีอ่ าจารย์เสนอแนวคิด เพราะเชือ่ แน่วา่ ผ่านการกรองมาหลายชั้นอย่างประณีต และมั่นใจว่าเป็น สัมมาทิฐิ สามารถปฏิบตั ใิ ห้เกิดผลได้จริง อาจารย์ได้สร้าง ความยิ่งใหญ่ในการเป็นปูชนียบุคคลด้วยการ “คิดดี พูดดี ท�ำดี” มาตลอดชีวิต ผมได้ ท ราบมาว่ า ในช่ ว งหลั ง ๆ ใครมาชวน อาจารย์ไปทานข้าวนอกบ้านอาจารย์จะปฎิเสธ แต่จะอยู่ รับประทานอาหารกับอาจารย์พนิดาทีบ่ า้ น เป็นแบบอย่าง ของการใช้ชีวิตครอบครัวที่ดี ที่อยู่กันอย่างเข้าใจกัน โดยแท้ โดยอาจารย์ให้เหตุผลว่า “เรามีเวลาเหลืออยู่อีก ไม่มากแล้ว” และจากอดีตที่ผ่านมากล่าวได้ว่าอาจารย์ เป็นผู้เสียสละเพื่อความสุขของประชาชนชาวน่านอย่าง แท้จริง ไม่วา่ จะเป็นความสุขส่วนตัว ครอบครัว แม้กระทัง่ ทรัพย์สินเงินทองอาจารย์ก็ได้บริจาคไปไม่น้อย ในทาง พระพุทธศาสนากล่าวได้ว่าเป็นการบ�ำเพ็ญ ทานบารมี อันยิ่งใหญ่ สถาบันรพ.น่าน สถาบันอันทรงเกียรติ สิ่ ง ส� ำ คั ญ ที่ อ ยากจะบอกกั บ ศิ ษ ย์ เ ก่ า ที่ ผ ่ า น รพ.น่าน ทุกคนว่า พวกเราโชคดี แม้ จ ะจบมาจาก โรงเรียนแพทย์ไม่ว่าสถาบันไหนก็ตาม เมื่อมาท�ำงาน ร่วมกันทีร่ พ.น่าน จะถูกหล่อหลอมเข้าด้วยกัน ด้วยส่วน ผสมแห่งความอบอุน่ ความรัก ความเมตตา ความสามัคคี ความเห็นอกเห็นใจเพื่อนมนุษย์ ความสันโดษ ความ พอเพียง ความไม่เห็นแก่ตัว โดยยึดถืองานในหน้าที่ต้อง มาก่อนเป็นหลักได้อย่างลงตัว จากความมุ่งมั่น เสียสละของอาจารย์ พวกเรา ควรที่จะสืบสานเจตนารมณ์นี้เพื่อสร้างแพทย์รุ่นน้องให้ ด�ำเนินรอยตามด้วยความภาคภูมิใจในเกียรติภูมิ ศักดิ์ศรี ของสถาบันอันทรงเกียรติของพวกเรา คือ “สถาบัน รพ.น่าน”
อาจารย์พนิดา วงศ์รักมิตร ผู้ปิดทองหลังพระ รางวัลต่าง ๆ ที่อาจารย์ได้รับมาตลอดชีวิตของ การท� ำ งานมี ม ากมายจนนั บ ไม่ ถ ้ ว น เช่ น เครื่ อ งราช อิสริยาภรณ์ รางวัลจากการท�ำคุณงามความดีในหลาก หลายโอกาส สิ่ ง เหล่ า นี้ เ ป็ น การประกาศเกี ย รติ ย ศ เกียรติคุณแห่งคุณงามความดี ความเสียสละในทุกชิ้น รางวัล ของรางวัลมากมายที่รับมอบมานั้น ถ้าคิดเป็น มูลค่าราคา จะมีต้นทุนที่เกิดจากหยาดเหงื่อ แรงงาน ก�ำลังใจ ก�ำลังสมองที่เป็นของอาจารย์พนิดาอยู่ส่วนหนึ่ง เกินที่จะประเมินเป็นมูลค่าหรือราคาได้ ผมมั่นใจว่าทุก ท่านคงจะเห็นด้วยกับผมทีว่ า ่ อาจารย์พนิดา วงศ์รกั มิตร เป็นผู้ปิดทองหลังพระเป็น ๆ ของพวกเรา คืออาจารย์ บุญยงค์ วงศ์รักมิตร สุ ด ท้ า ยนี้ เนื่ อ งในโอกาสที่ อ าจารย์ บุ ญ ยงค์ วงศ์รักมิตร มีอายุครบ 80 ปี ในวันที่ 10 พฤศจิกายน 2556 และในโอกาสวันขึน้ ปีใหม่ พ.ศ.2557 นี้ กระผมและ ครอบครั ว ขอกราบอาราธนาสิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ทั้ ง หลายใน สากลโลก และอานิ ส งส์ แ ห่ ง คุ ณ งามความดี ทั้ ง ปวง ตลอดจนความเมตตา กรุณา ที่อาจารย์ทั้งสองได้มีให้ผม และหมอจรวยพร ตลอดจนครอบครั ว ตลอดมา จงดลบันดาลประทานพร ให้พี่ทั้งสองอาจารย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร และอาจารย์พนิดา วงศ์รักมิตร จงมีสุขภาพ กาย สุขภาพใจ สมบูรณ์แข็งแรง มีอายุยนื ยาวเป็นมิง่ ขวัญ ของพวกเราตลอดไป
-153-
ด้วยความรักและเคารพ นายแพทย์อุทัย สุภาพ ๒ มกราคม ๒๕๕๗ นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
อาจารย์หมอบุญยงค์ เป็นมากกว่าผู้บังคับบัญชา ผมเป็นคนหนึ่งที่นับว่าโชคดีที่ได้ท�ำงานร่วมกับ อาจารย์หมอบุญยงค์ วงศ์รักมิตร เป็นระยะเวลาค่อนข้าง นาน คือตัง้ แต่เริม่ ท�ำงานทีโ่ รงพยาบาลน่านปี พ.ศ. ๒๕๒๐ จนถึงปี พ.ศ.๒๕๓๗ และยังได้ร่วมท�ำงานอื่นๆนอกเหนือ จากงานราชการ หลังจากที่อาจารย์ออกจากราชการ จนถึงปัจจุบนั ( พ.ศ.๒๕๕๖) ท�ำให้เภสัชกรธรรมดาคนหนึง่ ได้มโี อกาสได้เรียนรู้ ฝึกฝน บ่มเพาะความเป็นข้าราชการ ทีด่ ี เป็นคนทีม่ คี วามภาคภูมใิ จในความเป็นมนุษย์คนหนึง่ ในสังคม ด้วยความทีผ่ มเองเป็นเภสัชกรเพียงคนเดียวของ โรงพยาบาล และมิได้เป็นแพทย์ แต่โอกาสทีอ่ าจารย์ได้ให้ ก็คอื การได้รว่ มกลุม่ กับแพทย์และทันตแพทย์ทที่ ำ� งานใน โรงพยาบาลน่านขณะนั้น ตั้งแต่การรับประทานอาหาร เที่ยงร่วมกันทุกวันที่ร้านเจ๊พรรณ ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณโรง พยาบาล และรับประทานอาหารเย็นที่ใต้ถุนบ้านพัก อาจารย์ โดยทั้งสองมื้ออาจารย์เป็นเจ้าภาพ การได้ร่วมกลุ่มรับประทานอาหารในลักษณะนี้ ท�ำให้ผมได้รู้จักมักคุ้นกับแพทย์ ทันตแพทย์ทุกคนที่ ท�ำงานในโรงพยาบาลน่านในขณะนั้นเป็นอย่างดี ได้รับรู้ รับทราบในทุก ๆ เรื่องที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาล หลายครั้ง ก็ได้มโี อกาสไปร่วมปฏิบตั งิ านด้วย เช่น หากมีผปู้ ว่ ยต�ำรวจ ทหารมาคราวละมาก ๆ ก็จะไปช่วยในเรื่องการจัดท�ำ ข้อมูล การเก็บรักษาสิ่งของประจ�ำตัวผู้ป่วย การจัดหา เวชภัณฑ์ที่จ�ำเป็น เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีโอกาสได้เรียน รู้เทคนิคการบริหารจัดการต่าง ๆ ไปพร้อม ๆ กันด้วย ผมยังได้มีโอกาสเรียนรู้ค�ำสั่ง ระเบียบ กฎหมาย ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในการท�ำงานอย่างมากมาย โดยอาจารย์ จะเป็นผู้ส่งต่อเอกสาร ข้อมูลเหล่านี้ให้ผมได้ศึกษาเรียนรู้ ตลอดเวลา โดยเฉพาะเรื่องที่ใหม่ ๆ ท�ำให้ผมเองเข้าไปมี ส่วนเกีย่ วข้องกับงานบริหารอย่างมิได้คาดคิดหลาย ๆ ครัง้ นอกจากให้เราศึกษาเองแล้วอาจารย์ยังเรียกไปซักซ้อม ความเข้ า ใจให้ ถ ่ อ งแท้ อี ก ด้ ว ย จึ ง ท� ำ ให้ ผ มเป็ น คนที่ ทันสมัยเกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติต่าง ๆ จึงสามารถท�ำงาน หลายๆเรื่ อ งที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ระเบี ย บฯได้ เ ป็ น อย่ า งดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการได้เรียนรู้ระเบียบเกี่ยวกับการ บริหารพัสดุ ซึ่งในปี พ.ศ.๒๕๒๑ เป็นปีแรกที่เริ่มใช้ ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๒๑ ท่านสนับสนุนให้ท�ำการศึกษาโดยละเอียดและเข้า
ประชุ ม /อบรมที่ จั ด โดยสมาคมนั ก บริ ห ารพั ส ดุ แ ห่ ง ประเทศไทยเป็นประจ�ำจนได้เป็นสมาชิกตลอดชีพตั้งแต่ ปี พ.ศ.๒๕๒๓ จนปัจจุบัน การได้เข้าร่วมประชุม/อบรม ดังกล่าวเป็นช่อง ทางทีท่ ำ� ให้ผมได้รจู้ กั กับนักกฎหมาย ผูเ้ ชีย่ วชาญทางด้าน ระเบียบพัสดุฯหลายท่าน อาทิ อาจารย์จินตนา ชื่นศิริ ท่านเป็นเจ้าหน้าที่ตรวจเงินแผ่นดิน (ปัจจุบันเป็นรอง เลขาธิ ก ารพระราชวั ง ฝ่ า ยการเงิ น ) อาจารย์ ผ าณิ ต นิติทันฑ์ประพาศ ท่านเป็นนักกฎหมายของส�ำนักงาน ปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี (อดีตปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี และปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน) อาจารย์จาตุรงค์ ปัญญาดิลก นิตกิ ร ส�ำนักงานปลัดส�ำนัก นายกรัฐมนตรี(อดีตปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี) และอีก หลาย ๆ ท่าน โดยอาจารย์ได้แนะให้ผมใช้ช่องทางติดต่อ ท่านเหล่านี้เพื่อขอค�ำปรึกษาปัญหาทางด้านระเบียบ กฎหมายต่าง ๆ ทั้งในเวลาราชการและนอกเวลาราชการ ซึ่ ง ท� ำ ให้ โ รงพยาบาลน่ า นสามารถปฏิ บั ติ ง านต่ า ง ๆ ได้อย่างราบรื่นตลอดมา สิ่งที่ส�ำคัญก็คือ อาจารย์จะตั้งค�ำถาม หรือ ประเด็นที่น่าสงสัย ขาดความชัดเจน ไม่มีหลักฐานเชิง ประจักษ์อา้ งอิง ซึง่ ผมไม่สามารถหาค�ำตอบทีถ่ กู ต้องหรือ ให้ อ าจารย์ พ อใจได้ ผมก็ เ ก็ บ ไปหาค� ำ ตอบจากท่ า น ผูเ้ ชีย่ วชาญดังกล่าวแล้ว การทีไ่ ด้ปฏิบตั เิ ช่นนีห้ ลาย ๆ ครัง้ ท�ำให้เราได้เรียนรูอ้ ย่างมากมาย เป็นคนทีม่ องปัญหาออก มองลึก มองกว้างและ รอบคอบยิ่งขึ้น ซึ่งโอกาสอย่างนี้ หาได้ยากในการท�ำงานในยุคปัจจุบัน นอกจากงานด้านบริหารที่อาจารย์ได้ให้โอกาส ผมได้เรียนรู้และปฏิบัติอย่างมากมายแล้ว อาจารย์ยังมี
-154-
ส่วนช่วยเหลือทางด้านส่วนตัวและครอบครัวอีกหลาย เรือ่ ง อาทิ การรับประกันความประพฤติของผมกับคุณพ่อ คุณแม่ของภรรยา ด้วยค�ำพูด “ถ้าเป็นลูกสาวผม ผมก็ จะยกให้” รวมทั้งช่วยติดต่อหลานของอาจารย์ซึ่งท�ำงาน อยูท่ สี่ ำ� นักงานทีด่ นิ กรุงเทพมหานคร ช่วยพาไปหาซือ้ บ้าน ทาวน์เฮาส์ ที่กรุงเทพฯซึ่งถือว่าเป็นท�ำเลที่ดีอย่างมากใน ปัจจุบัน นอกจากนี้อาจารย์ยังช่วยเจรจากับเจ้าของ ห้องแถวหน้าธนาคารกสิกรไทย สาขาน่าน ให้ยอมขาย ห้องแถวให้ผมท�ำเป็นร้านขายยาในปัจจุบัน และยังช่วย เหลือเกือ้ กูลครอบครัวผมอีกหลายเรือ่ งทีผ่ มเองต้องจดจ�ำ ไปตลอดชีวิต การท�ำงานในช่วงที่อาจารย์ยังรับราชการอยู่ มี หลายช่ ว งที่ โ รงพยาบาลน่ า นขาดเงิ น ทุ น หมุ น เวี ย น เนื่องจากมีผู้ป่วยรายได้น้อยจ�ำนวนมากถึงเกือบครึ่งของ ผูป้ ว่ ยทัง้ หมดทีม่ ารับบริการ ท�ำให้รายรับไม่พอกับรายจ่าย โรงพยาบาลต้องบริหารหนีอ้ ย่างเข้มงวด มีการจ�ำกัดและ ควบคุมการใช้ยาอย่างค่อนข้างเข้มงวด รัดกุม จนมาถึง ช่ ว งที่ รั ฐ บาลมี ก ารจั ด สรรงบประมาณหมวดอุ ด หนุ น ส�ำหรับผูป้ ว่ ยทีม่ รี ายได้นอ้ ย โรงพยาบาลน่านจึงได้รบั การ จัดสรรงบประมาณเพิม่ ขึน้ และพอเพียงกับค่าใช้จา่ ยจนมี สภาพคล่องทางการเงินดีขึ้นเรื่อยๆ ต่อจากนั้นเป็นต้นมา โรงพยาบาลน่านจะช�ำระหนี้ค่ายา เวชภัณฑ์ ตามก�ำหนด เวลาทีท่ างราชการก�ำหนด (ประมาณ ๒๐-๓๐ วันนับจาก วันที่ได้รับของ) จนเป็นที่น่าเชื่อถือของบริษัท/ห้าง/ร้าน ที่ค้าขายกับโรงพยาบาล รวมทั้งองค์การเภสัชกรรมด้วย จนมาถึงช่วงทีม่ กี ารใช้ระบบบัตรประกันสุขภาพ โรงพยาบาลน่านก็ยังด�ำเนินการได้ดีไม่มีการขาดทุนอีก มีสถานะทางการเงินการคลังที่มั่นคงมาจนถึงปัจจุบัน หลักการบริหารส�ำหรับการจัดซือ้ /จัดจ้าง ทีอ่ าจารย์จะ เข้มงวดและยาํ้ อยูเ่ สมอ ได้แก่ หลักความโปร่งใส แม่นย�ำ
ตรวจสอบได้ การยึดมั่นในกฎ ระเบียบอย่างเคร่งครัด ให้ถือว่า เงินหลวงหนึ่งบาท เท่ากับหนึ่งล้านบาท จึง ต้องปฏิบัติเช่นเดียวกันทุกประการ การก่อสร้างอาคาร สถานที่ในสมัยก่อนไม่ค่อยมีมากนัก อาจารย์ถือว่า การที่ เราตัง้ งบประมาณก่อสร้างอาคารต่างๆไปยังส่วนกลางนัน้ เราขอมาด้วยความจ�ำเป็นจริงๆมิใช่ตั้งเผื่อจะได้เท่านั้น หากส่วนกลางไม่อนุมตั ิ ไม่จดั สรรงบประมาณให้ อาจารย์ ก็ไม่เคยไปวิ่งเต้นร้องขอ มีครั้งหนึ่งที่ส่วนกลางจัดสรรงบ ประมาณมาให้เพียงบางส่วนไม่เพียงกับการก่อสร้างตาม ที่ต้องการ อาจารย์สั่งให้ส่งคืนงบประมาณนั้นทันทีสร้าง ความโกลาหลให้กับเจ้าหน้าที่ในส่วนกลางพอสมควร เนื่องจากไม่เคยมีใครกระท�ำอย่างนั้นมาก่อน สิง่ ทีผ่ มประทับใจในการท�ำงานของอาจารย์อกี อย่างก็คือ การเตรียมการเพื่อรับการตรวจราชการของ ผู้ตรวจราชการ ในสมัยนั้นผู้ตรวจราชการ ทุกท่านที่มา ตรวจราชการที่จังหวัดน่านจะต้องเตรียมตัวมาอย่างดี ทั้งข้อมูล ระเบียบต่าง ๆ อาจารย์สั่งการให้พวกเรามีการ เตรียมรับการตรวจราชการอย่างเป็นระบบ รวบรวมข้อ ปัญหาต่าง ๆ ไว้อย่างพร้อมทุก ๆ ด้าน รวมทั้งข้อเสนอ เพื่อขอรับการสนับสนุนด้วย ทั้งนี้จะส่งให้ส�ำนักตรวจ ราชการได้รบั ทราบเป็นการล่วงหน้าด้วย ซึง่ ระบบนีส้ ร้าง ความตื่ น ตั ว ให้ กั บ ส� ำ นั ก ตรวจราชการเป็ น อย่ า งมาก การตรวจราชการเป็นไปด้วยความเข้มข้น เกิดผลในทาง ปฏิบัติมากมาย ภายหลังการตรวจราชการเสร็จ ส�ำนักตรวจ ราชการก็จะแจ้งความคืบหน้าในประเด็นต่าง ๆ ให้โรง พยาบาลน่ า นทราบเป็ น ระยะ ๆ และที่ ส� ำ คั ญ ก็ คื อ บรรยากาศในห้องประชุมการรับตรวจราชการ ทุกคนก็จะ มีความรู้สึกเหมือนกันประการหนึ่งก็คือ ผู้ตรวจราชการ มารับการตรวจจากท่านอาจารย์ทุกครั้งที่มาตรวจ
-155-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ราชการที่โรงพยาบาลน่าน เพราะอาจารย์จะชี้ประเด็น ต่าง ๆ ให้ผู้ตรวจราชการได้รับทราบและเข้าใจ น�ำไป ด�ำเนินการต่อในส่วนกลาง หรือ น�ำไปขยายต่อในระดับ ประเทศ อาทิ แนวคิดในการพัฒนางานเวชกรรมสังคม งานระบบ พบส. งานเวชกรรมฟื้นฟู หรือแม้กระทั่งด้าน การบริหารงาน เป็นต้น หลังจากทีอ่ าจารย์ออกจากราชการแล้ว ผมได้ถกู เรียกไปท�ำงานด้านเอกสาร วิชาการ เพือ่ ใช้ในการน�ำเสนอ รัฐบาลขอจัดตั้งมหาวิทยาลัยเฉลิมพระเกียรติฯ จังหวัด น่าน และท�ำเอกสารรณรงค์ในเวลาต่อมา จนเปลี่ยนมา เป็นการรณรงค์จัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีชั้นสูงในจังหวัด น่าน ตามแนวนโยบายและแนวคิดของรัฐบาลในยุคนั้น เนื่องด้วยมองเห็นความปรารถนาดีและความตั้งใจของ ท่านอาจารย์ ท�ำให้พวกเราหลายคนได้ทุ่มเทกายใจช่วย สนับสนุนงานอย่างเต็มที่ จนต่อมาได้พัฒนามาเป็นศูนย์ ประสานประชาคมจังหวัดน่าน ซึง่ ท่านอาจารย์มบี ทบาท การน�ำศูนย์ประสานงานประชาคมเป็นทีร่ วมของบุคคล องค์ ก รภาครั ฐ เอกชน ที่ ห ลากหลายมาท� ำ งานเพื่ อ จั ง หวั ด น่ า นได้ อ ย่ า งกว้ า งขวางเป็ น ที่ ย อมรั บ ของ สาธารณะมาจนถึงปัจจุบัน เท่าที่ผมเองได้ติดตามอาจารย์มานานหลายปี จนถึงปัจจุบันในปี พ.ศ.๒๕๕๖ อาจารย์อายุครบ ๘๐ ปี อาจารย์ออกจากราชการมาแล้ว ๒๐ ปี ความเปลีย่ นทีเ่ ห็น ก็คือสุขภาพร่างกายของอาจารย์เท่านั้นที่โรยราตามอายุ แต่ความคิด ความอ่าน ความทันสมัยของเรื่องที่ท่านคิด กระบวนคิด ไม่ได้โรยราไปตามวัยของท่านอาจารย์เลย ยัง แหลมคม ครบถ้วนกระบวนความในแต่ละเรื่อง ในแต่ละ ปัญหา ความรอบรู้ของอาจารย์มีรอบด้าน ยังสามารถ เชื่อมโยงเรื่องราวต่าง ๆ ให้ผู้คนทั้งที่เป็นนักบริหารระดับ สูง นักวิชาการชั้นน�ำได้รับรู้และเข้าใจ เสมือนเป็นความรู้ ใหม่ได้ตลอดเวลา นับว่าอาจารย์เป็นคลังสมอง คลัง ปัญญา ให้กับสังคมในปัจจุบันอย่างแท้จริง ผมเข้าใจดีว่าสิ่งเหล่านี้มิได้เกิดขึ้นง่าย ๆ เป็นที่ สิง่ ทีอ่ าจารย์ได้สงั่ สม สร้างขึน้ มาจากความขยันอ่าน ขยัน ศึกษาเรียนรู้ในทุก ๆ เรื่องที่อาจารย์อยากเรียนรู้ ซึ่ง อาจารย์ก็สามารถท�ำได้เป็นอย่างดียิ่งจนสามารถเข้าใจ และแตกฉานในสิง่ ทีท่ า่ นสนใจ ผมอยากจะให้สงิ่ เหล่านีท้ ี่ ท่านอาจารย์ได้ทำ� มาตลอดนีเ้ ป็นตัวอย่างของการเป็นผูท้ ี่ มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และที่ส�ำคัญยิ่งก็คือสิ่งที่อาจารย์ เรียนรูท้ งั้ หมดนัน้ ก็เพือ่ น�ำมาถ่ายทอด น�ำมาพัฒนา
สร้างสรรค์สังคมให้พัฒนาขึ้น เจริญขึ้น ผมเองเมื่อคราใด เกิดความท้อแท้ต่อปัญหา อุปสรรค หรืออ่อนล้าจากงาน ที่ท�ำก็จะต้องขอเข้าพบเพื่อขอปรึกษา พูดคุยกับท่านซึ่ง ทุกครัง้ ทีไ่ ด้รบั ก็คอื พลังในการท�ำงานทีเ่ พิม่ มากขึน้ ทุกครัง้ เสมือนได้รบั การชาร์จแบตเตอรีใ่ หม่ เพราะสิง่ ทีไ่ ด้รบั จาก อาจารย์เป็นแสงสว่างที่ท�ำให้เรามองเห็นช่องทาง เห็น โอกาสในการท�ำงานใหม่ ๆ ได้ตลอดเวลา นี่เป็นสิ่งที่ผม ได้รบั มาตลอดระยะเวลาทีไ่ ด้ทำ� งานร่วมกับอาจารย์ไม่วา่ ในราชการ หรือนอกราชการแล้วก็ตาม ในโอกาสที่ โ รงพยาบาลน่ า นร่ ว มกั บ ชมรม โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ได้ช่วยกันรวบรวม ผลงานของท่านอาจารย์เผยแพร่ให้กับบุคลากรทางด้าน การแพทย์และสาธารณสุขได้ศกึ ษาเรียนรู้ น�ำไปประกอบ เป็ น แนวคิ ด ในการท� ำ งาน นั บ เป็ น เรื่ อ งที่ ดี และเกิ ด ประโยชน์อย่างยิง่ ส�ำหรับนักบริหารและบุคลากรรุน่ ใหม่ ๆ หากท่านใดน�ำไปขยายผลหรือต่อยอดความคิด ปรับปรุง ให้สอดคล้องกับแนวทางการท�ำงานของแต่ละท่าน ก็จะ เกิดประโยชน์ตอ่ วงการสาธารณสุขและประชาชนต่อไป ส�ำหรับผมเองก็ต้องขอกราบขอบพระคุณอาจารย์หมอ บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ที่ได้ให้โอกาสและเมตตาต่อผมและ ครอบครั ว มาตลอด จนสามารถปฏิ บั ติ ง านในฐานะ ข้าราชการโรงพยาบาลน่านมาอย่างราบรื่น จนเกษียณ อายุราชการในปี พ.ศ.๒๕๕๖ เภสัชกรนิคม ดีพอ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
-156-
ท่านอาจารย์บุญยงค์ที่... ผมรัก ผมเคารพ และ ผมนับถือ
ในปี 2518 เมื่อปิดภาคเรียนปี 3 ผมได้มากราบ ท่านอาจารย์ที่ห้องตรวจโอพีดี ท่านอาจารย์ได้ให้ผมไป ช่วยท�ำ Postural drainage ให้กับคนไข้เด็กหนุ่มที่มี ปัญหา Lung complication หลังผ่าตัด นับว่าเป็นคนไข้ รายแรกของผมที่โรงพยาบาลน่าน ในปี 2519 เมื่อผมจบการศึกษา ผมกลับมาเริ่ม งานกายภาพบ�ำบัดที่โรงพยาบาลน่านตั้งแต่วันแรกที่ผม สอบเสร็จและรับราชการอยู่จนเกษียณอายุ เมื่อปี 2554 ผมถือว่าผมมีบุญที่ได้มีโอกาสร่วมงานเป็นผู้ใต้ บังคับบัญชาของท่านอาจารย์บุญยงค์เป็นเวลาถึง 18 ปี เต็ ม และผมภู มิ ใ จที่ ผ มได้ อ ยู ่ ใ นที ม ริ เ ริ่ ม ก่ อ ตั้ ง งาน กายภาพบ�ำบัดบริการประชาชนบ้านเกิดเมืองนอนของ ตนเอง ตลอด 18 ปีเต็ม ผมได้รับการสั่งสอนจากท่าน อาจารย์และมีประสบการณ์จากการท�ำงานในหลายด้าน หลายมิติ จึงอยากถ่ายทอดเล่าสู่กันฟัง นะครับ ประสบการณ์ในด้านรับราชการ .........ในปีแรกๆของการท�ำงาน ท่านอาจารย์ให้ ผมไปทานข้าวมื้อกลางวันกับท่านและพี่ ๆ แพทย์ชึ่งมี ไม่กี่ท่าน (พญ.พนิดา พี่อุทัย พี่เทียม พี่ดาวฤกษ์) ที่ร้าน อาหารเจ๊พรรณด้านหน้าโรงพยาบาล ท่านบอกผมว่า สุรพงษ์จะได้สนิทกับพี่ ๆ เราเป็นพี่น้องกัน เธอจะได้ไม่มี ปัญหาในการดูแลรักษาคนไข้ร่วมกัน ซึ่งผมถือว่านี่คือ
ใบเบิกทางชั้นเยี่ยมในการ RoundWard และดูแลรักษา คนไข้ร่วมกันของทีมผมอันจะน�ำมาซึ่งประโยชน์สูงสุดแก่ คนไข้ ทุก ๆ สิน้ เดือนพีพ่ นิดาจะต้องไปจ่ายค่าอาหารกลาง วันของพวกเราซึง่ ไม่นอ้ ยเลย ผมต้องขอกราบขอบพระคุณ ท่ า นมากที่ เ ข้ า ใจ เต็ ม ใจและมี น�้ ำ ใจในการสนั บ สนุ น นโยบายการท�ำงานของท่านอาจารย์มาโดยตลอด ............“คนไข้ทกุ คนทีต่ อ้ งได้รบั การรักษาทาง กายภาพบ�ำบัดจะต้องได้รบั การรักษา” ท่านอาจารย์พดู กับผมด้วยน�้ำเสียงปกติ แต่ส�ำหรับผมแล้วนั่นคือหน้าที่ และความรับผิดชอบ ดังนั้นในช่วงแรกของการท�ำงาน ผมต้องออกround ward เพื่อหาคนไข้ ซึ่งก็ได้รับความ ร่วมมือจากพีเ่ จ้าของไข้และพีพ่ ยาบาลเป็นอย่างดีมาตลอด ............“ยิ้ ม ละไม ปราศรั ย ด้ ว ยดี มี ค วาม กรุณา” เป็นค�ำสอนทีท่ า่ นอาจารย์ให้ผมควรยึดปฏิบตั ทิ กุ ครัง้ ทีด่ แู ลผูป้ ว่ ย ชึง่ เป็นการมีความเมตตากรุณาต่อทุกคน นัน่ เอง ผมและทีมงานเวชกรรมฟืน้ ฟูยดึ ถือปฏิบตั มิ าตลอด จนผมเกษียณ ............“ข้าราชการทีด่ ตี อ้ งมีความซือ่ สัตย์เป็น เบื้องต้น มีการต่อยอดด้วยใจบริการที่เปี่ยมด้วยความ เมตตากรุณา” ประสบการณ์ดา้ นนันทนาการ กีฬาและศิลปวัฒนธรรม ................ท่านอาจารย์ได้รับการยอมรับว่าเป็น พิธีกรมือ 1 ของงานบันเทิงเวทีข้าราชการจังหวัด ท่าน อาจารย์มีลีลาการพูดที่เต็มไปด้วยลูกล่อลูกชน ท่านร้อง เพลงสุนทราภรณ์ได้ไพเราะมาก เช่น เพลงพรานทะเล, เพลงขอให้เหมือนเดิม ทุกครั้งที่ท่านร้องเพลงและลีลาศ ทุกคนจะสนุกสนานครื้นเครงมากในลีลาและมาดกวน ๆ ของท่าน แต่ท่านไม่เคยร้องเพลงคร่อมจังหวะและ ลีลาศผิดสเต็ปเลย ท่านเยี่ยมยอดจริง ๆ
-157-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
................ท่านอาจารย์เป็น Art ตัวพ่อ ท่านวาด ลายเส้นเก่งมาก ลายเส้นของท่านน่ารักและเฉียบขาด ท่านเคยโชว์ให้ผมดู ท่านใช้มอื ซ้ายอันวิเศษตวัดปากกาลง บน whiteboard 6,7 ครั้ง ลายเส้นรูปวัวตัวเมียยืนหัน บั้นท้ายก็ปรากฏออกมา (ฮา) ผมยังงงงงอยู่ถึงทุกวันนี้ว่า ท่านจินตนาการและวาดออกมาได้อย่างไร ...............แทบทุกวันเสาร์และอาทิตย์ช่วงบ่าย หลั ง อาหารมื้ อ เที่ ย งฝี มื อ คุ ณ ยายที่ พ วกเราเคารพรั ก เรามักจะไปตีแบดมินตันและปิงปองที่บ้านลุงศรีพงศ์ พ่ อ บ้ า น แม้ ท ่ า นอาจารย์ จ ะไม่ เ ก่ ง เท่ า อั จ ฉริ ย ะกี ฬ า (พี่ ค ณิ ต ) แต่ ท ่ า นก็ เ ต็ ม ใจที่ จ ะสนุ ก สนานกั บ พวกเรา หลังจากนัน้ ท่านก็จะพาร่างกายทีห่ มดสภาพกลับไปนอน พักผ่อนที่เตียงหวายชั้นล่างบ้านท่าน กราบขอบพระคุณ ในความมีน�้ำใจและสปิริตของท่านมากครับ …………ท่านอาจารย์สนใจและรอบรู้เรื่องศิลปวัฒนธรรมมาก ท่านให้โอกาสและสนับสนุนผมในการเป็น มัคคุเทศก์และวิทยากรบรรยายให้แก่เยาวชนเพือ่ ปลูกฝัง ความรู้และรักในบ้านเกิดมาโดยตลอด ..............ทุ ก วั น นี้ ผ มยั ง เป็ น สมาชิ ก ค่ า ยมวย วงศ์รักมิตร อยู่ ท่านอาจารย์มีพี่ชายร่วมสายโลหิต คือ คุณลุงเทียมบุญ อินทรบุตร โปรโมเตอร์มือทองสมอง เพชรผู้ปลุกปั้นไอ้แสบแสนศักคิ์ เมืองสุรินทร์ เป็นแชมป์ โลกด้วยแผนบันได 3 ขั้นที่เหนือเมฆ เรายังพูดถึง อดุลย์ อภิเดช ชาติชาย พุฒ และรามอน เด็กเกอร์ไอ้กังหันนรก ในวงเสวนาคอมวยสูงวัย
................“ไฟส่องล่าง ไฟส่องบน เอียงดูรอย crack ดูstar ดูความเข้มดูความเสมอของสี ดูกนิ บ่เสีย้ ง” (แต่เงินเกลีย้ งกระเป๋า) เป็นเทคนิคการส่องดูอญ ั มณีทบั ทิม ทีท่ า่ นอาจารย์สอนให้ผมโดยมีอปุ กรณ์ทสี่ ำ� คัญเป็นไฟฉาย ตรวจคนไข้ของท่านอาจารย์ (ฮา) ……………ก๊วยเช็ง อั้งชิดกง ลี้คิมฮวง โป้วอังเสาะ เล็กเซี่ยวหงส์ ซาเสี่ยวเอี้ยและเซียวจับอิดนึ้ง ยังอยู่ใน หัวข้อสนทนาของผู้เยี่ยมยุทธเมื่อมีโอกาสถ่ายทอดและ แลกเปลีย่ นวิทยายุทธกัน ท่านซือแป๋มกี ำ� ลังภายในทีล่ กึ ล�ำ้ ยิ่งนัก ข้าผู้น้อยขอคารวะ ขอคารวะ ประสบการณ์ด้านครองตนและครองชีวิต ...................ในช่วงประมาณปี 2535 ผมเกิดกิเลส และตั ณ หาที่ จ ะสะสมพระเครื่ อ ง ท่ า นอาจารย์ ไ ด้ ใ ห้ ความรู ้ ใ นพุ ท ธคุ ณ และปาฏิ ห ารย์ ซึ่ ง มี อิ ท ธิ ป าฏิ ห ารย์ อาเทสนาและอนุสาสนีย์ปาฏิหาริย์ ท�ำให้ผมมีความรู้ ความเข้าใจในพระเครือ่ งมากขึน้ ..................ท่านอาจารย์ สอนผมว่า “ชีวติ นัน้ เป็นเรือ่ งง่ายอยูแ่ ล้ว จงพยายามใช้ ชีวิตนี้ให้ง่ายตามความต้องการที่แท้จริงของชีวิต อย่า ไปสร้างความต้องการเทียมมาครอบลงในชีวิตซึ่งจะ ท�ำให้เราใช้ชีวิตยุ่งยากเกินความเป็นจริง เรามักคิดว่า ความสุขยังคงอยู่ในอนาคต เราต้องใช้ความพยายาม อย่างมหาศาลกว่าจะได้มา แท้ที่จริงแล้ว ความสุขแท้ เป็นเรือ่ งง่ายๆเป็นเรือ่ งธรรมดาๆในชีวติ ประจ�ำวัน และ เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในตัวเราตลอดเวลา ขอเพียงเราให้ ความใส่ใจอย่างลึกซึง้ ความสุขก็พร้อมจะผลิบานให้เรา ได้ชื่นชม” ขอกราบขอบพระคุณในทุกค�ำสอน ทุกความรู้ ทุกประสบการณ์ที่ได้รับจากท่านอาจารย์ ดั ว ยความรั ก ความเคารพและความนั บ ถื อ ท่านอาจารย์ตลอดไปครับ สุรพงษ์ ประคัลภากร.
-158-
ไม่อาจจะลืมบุญคุณ
ผมมี โ อกาสได้ ป ฎิ บั ติ ง านที่ โ รงพยาบาลน่ า น ร่วมกับท่านผู้อ�ำนวยการ นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร เป็นเวลานาน ๑๘ ปี นับเป็นเวลาที่ผมได้รับความเมตตา และประสบการณ์ชวี ติ ราชการทีเ่ ป็นเลิศแห่งการด�ำรงชีวติ ราชการ และได้น�ำมาเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติ หน้าที่ราชการให้ลุล่วงมาจนเกษียณอายุราชการ การที่ได้เข้ารับราชการที่โรงพยาบาลน่าน ได้มี โอกาสพบกับผูอ้ ำ� นวยการทีม่ ากด้วยความสามารถ ความ เมตตา เต็มที่กับการปฏิบัติงาน ท�ำให้การปฏิบัติงาน สนุกสนานเบิกบานใจ สามารถพัฒนางานตรวจวิเคราะห์ ทางห้องปฏิบัติการให้เป็นประโยชน์กับวงการแพทย์และ สาธารณสุขของจังหวัดน่าน ทั้งนี้ก็เป็นเพราะความเอาใจ ใส่ของท่านผูอ้ ำ� นวยการ ทีไ่ ด้กรุณาอบรมสัง่ สอนและมอบ แต่สิ่งดี ๆ ให้ตลอดมา ในช่วงทีเ่ ข้ารับราชการใหม่ ๆ นโยบายกระทรวง สาธารณสุขจะพูดถึงในเรื่องของ ส.ป.ร.ฟ. (ส่งเสริม, ป้องกัน,รักษา, ฟื้นฟู) แล้วเราเป็นนักเทคนิคการแพทย์ จะไปมีบทบาทอยู่ในส่วนไหนหนอ !!!. แต่เมื่อพบท่าน ผูอ้ ำ� นวยการ ท่านจะชีแ้ จงว่าการปฏิบตั งิ านในหน่วยงาน ของกระทรวงสาธารณสุข เปรียบเสมือนกับนิ้วมือทั้ง ๕ นิ้ว ที่จะต้องท�ำงานประสานกัน อันประกอบด้วย ส. ป. ช. ร. ฟ. (ส่งเสริม, ป้องกัน, ชันสูตร, รักษา และ ฟื้นฟู) ท�ำให้เราเข้าใจได้ทันทีว่าเราเป็นส่วนหนึ่งของ กระทรวงสาธารณสุข นับว่าท่านให้เกียรติกับวิชาชีพเรา
มากมาย รู้เลยว่านักเทคนิคการแพทย์ จะมีบทบาทอยู่ใน ส่ ว นไหน ท� ำ ให้ มี ก� ำ ลั ง ใจที่ จ ะปฏิ บั ติ ง านในหน้ า ที่ นักเทคนิคการแพทย์อย่างสุดความสามารถ ท่านผูอ้ ำ� นวยการนายแพทย์บญ ุ ยงค์ วงศ์รกั มิตร เป็ น ผู ้ ที่ มี ค วามตั้ ง ใจ ใส่ ใ จในการท� ำ งานมาก มั ก จะ สอบถามเรือ่ งการปฎิบตั งิ านอยูต่ ลอดเวลา อาทิเช่นในช่วง เริม่ มีการระบาดของโรคเอดส์ ท่านมักจะถามว่าตรวจพบ แล้วกีค่ น เราจะต้องตอบค�ำถามท่านว่ามีกคี่ น และต้องลง รายละเอียดไปถึงเพศ ที่อยู่ อายุ และอื่น ๆ อีก ท่านจะ ไม่ต้องการค�ำตอบแบบไม่มีรายละเอียด อีกเรื่องคือวันนี้ มีเลือดคงเหลืออยู่เท่าไหร่ เราจะต้องลงรายละเอียดให้ หมดว่ามี่หมู่เลือดละกี่หน่วย เพราะช่วงนั้นเป็นเวลาที่มี การสู้รบกับผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ มีการใช้เลือดอย่าง มาก เพราฉะนัน้ การทีม่ ขี อ้ มูลอยูต่ ลอดเวลาว่าท่านจะถาม เรื่องอะไร จะต้องตอบท่านได้ทันที ไม่อึกอัก และต้องมี รายละเอียดครบถ้วน ดังนั้นการเก็บข้อมูลต่าง ๆ ในห้องปฏิบัติการจึง มีการเก็บข้อมูลกันอย่างละเอียด และผมจะด�ำเนินการ เก็บข้อมูลจากหน่วยงานย่อยมารวบรวมเอง ซึ่งการกระ ท�ำเช่นนี้ ท�ำให้เราสามารถที่จะทราบและจดจ�ำข้อมูลได้ เป็นอย่างดี ท่านถามเราจะตอบได้ทันที ซึ่งการรับทราบ ข้อมูลที่รวดเร็ว ท�ำให้การตัดสินใจในการบริหารจัดการ ด�ำเนินการต่อไปได้ทันที่ เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจที่ จะบริหารจัดการในการด�ำเนินการพัฒนางานด้านต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็วทันใจ และไม่เสียเวลามาหาข้อมูลย้อนหลัง ท่านได้ให้โอกาสในการปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ มักจะให้เราคิดมาก่อน แล้วน�ำเสนอให้ท่านฟัง จากนั้น ท่านก็จะแนะน�ำเพิ่มเติมให้ (ส่วนใหญ่จะเพิ่มเติมทุกครั้ง เพราะการมองภาพของท่านช่างกว้างไกล จนเรา
-159-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
คิดไปไม่ถึง) เมื่อจะท�ำกิจกรรมใด ๆ ท่านมักจะพูดว่า ท�ำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่างไร ซึ่งที่ท่านอธิบายให้เรา เข้าใจอย่างนี้ ก็คอื แผนปฏิบตั กิ ารนัน่ เอง (กว่าจะรูก้ ต็ งั้ นาน) ทั้งนี้ก็เพราะว่าผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ มักจะ ไม่เข้าใจในเรื่องการบริหารจัดการเท่าใดนัก อาศัยการ เรียนรู้ภายหลังมากกว่า เราโชคดีที่มีผู้บังคับบัญชาเป็น ผู้รู้ ถ่ายทอดความรู้ให้ตลอดมา ท�ำให้การปฏิบัติงาน ภายในหน่วยงานส�ำเร็จด้วยดีตลอด จนเริ่มเข้าไปร่วม ปฏิบตั งิ านกับกลุม่ สหวิชาชีพอืน่ ๆ ได้อย่างดี และกว้างขวาง มากขึ้น จนหน้าที่อาจจะไปตรงกับต�ำแหน่งนักจัดการ ทั่วไป แต่เราจะปฏิบัติหน้าที่ในต�ำแหน่งที่ล้อเล่นกันว่า นักจัดการไปทั่ว หมายความถึงเข้าไปร่วมปฏิบัติงาน กับทุกหน่วยงาน องค์กร และสามารถจัดการ, สั่งการ ในบางครั้งได้อย่างเรียบร้อย ด้ ว ยการที่ ไ ด้ ท� ำ งานร่ ว มกั บ ผู ้ อ� ำ นวยการ นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร เป็นระยะเวลายาวนาน ได้รบั ข้อแนะน�ำ สัง่ สอนจากท่านตลอดเวลา ท�ำให้มโี อกาส ได้ท�ำงานในเรื่องทั้งส่วนตัวและราชการของท่านมาก ซึง่ ปกติทา่ นจะไม่เคยรบกวนผูใ้ ดเลยในเรือ่ งส่วนตัว นับว่า ท่านได้ให้ความเมตตาและเอือ้ เอ็นดูและให้ความไว้วางใจ เรามากทีส่ ดุ ทีไ่ ม่อาจจะลืมบุญคุณทีท่ า่ นได้กรุณา อาทิเช่น งานมงคลสมรสลูกชาย งานขึ้นบ้านใหม่ ตลอดจน
งานจัดเลีย้ งต่าง ๆ ทีบ่ า้ นสวน ในส่วนงานราชการก็มกั จะ ได้รับให้เป็นผู้รับผิดชอบประสานงานอยู่บ่อย ๆ การได้ ปฎิบัติหน้าที่ดังที่กล่าวมานี้ เป็นการฝึกปฎิบัติงานที่ ท�ำให้เรามีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการ อย่างเป็นระบบและน�ำไปสู่โอกาสพัฒนาให้ก้าวหน้า และเป็นเกียรติในสังคมตลอดมา ในโอกาสที่ท่านผู้อ�ำนวยการนายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รกั มิตร มีอายุครบ ๘๐ ปี ขอให้ทา่ นมีสขุ ภาพแข็งแรง อายุ มั่ น ยื น ยาว และคงจะมี ส ่ ว นในการดู แ ลและเป็ น กัลยาณมิตรที่ดีกับท่านตลอดไป ไพบูลย์ ทนันไชย
-160-
เสาเอกแห่งการเป็นแพทย์
ฉากที่ 1 จากความทรงจ�ำอันเลือนรางสมัย นักศึกษา หนูได้ไปท�ำค่ายภูหินร่องกล้า เป็นค่ายที่ทรหด มาก เพราะกว่าจะเดินทางดั้นด้นไปถึง นั่งรถไฟไปลง พิษณุโลก ต่อรถเมล์เล็กแล้วก็ต่อรถขึ้นภู รุ่นพี่เชิญหมอ ชนบทจากเมืองน่านมาคุยสร้างแรงบันดาลใจให้พวกเรา นักศึกษา จ�ำได้ว่ามีอาจารย์บุญยงค์และพี่หนุ่ม วิฑูรย์ ไหลรุ่งเรือง ไปคุยให้พวกเราฟังด้วย จ�ำไม่ได้หรอกว่า คุยอะไรบ้าง รู้แต่ประทับใจว่า โห อาจารย์สูงอายุขนาดนี้ แล้ว ยังอุตส่าห์เดินทางมาพบกับค่ายเด็กกะโปโลอย่าง พวกเราไกลถึงที่นี่ ยอมรับว่าตอนนั้นฟังไม่รู้เรื่อง รู้สึกว่า อาจารย์พดู อะไรยากเกินกว่าทีส่ ติปญ ั ญาเด็ก ๆ อย่างพวก หนูจะเข้าใจ แต่ประทับใจในความตัง้ ใจและความเสียสละ ของอาจารย์และพี่หนุ่มอย่างมาก ฉากที่ 2 ช่วงขึ้นชั้นคลินิก หนูหาเวลาปิดเทอม ไปส�ำรวจพืน้ ทีจ่ งั หวัดทีค่ ดิ ว่าจะไปใช้ทนุ หนูเลือกระหว่าง น่านกับแม่ฮ่องสอน ซึ่งก็ได้ไปตระเวณทั้งสองจังหวัด แต่คนละช่วงปิดเทอม นั่งรถทัวร์ไป แล้วก็ไปหารุ่นพี่เอา ดาบหน้า รู้จักรุ่นพี่สักคน แล้วก็หาทางโบกรถหรือติดรถ โรงพยาบาลไปต่อโรงพยาบาลหน้าได้เรื่อย ๆ ครั้งนั้นได้ ไปอยูก่ บั พีเ่ ต่า ฉันทนา ผดุงทศ แล้วก็ได้ตดิ สอยห้อยตาม รถรีเฟอร์ไปจนหมดจังหวัดน่านจนได้ จึงเห็นภาพรวมของ ทัง้ จังหวัด รูจ้ กั พี่ ๆ หลายโรงพยาบาล แต่ครัง้ นัน้ ไม่ได้พบ อาจารย์ ฉากที่ 3 ช่วงจับฉลากใช้ทนุ พี่ ๆ ลงมารับน้อง ๆ กันถึงสถานที่จับฉลาก แล้วนัดหมายขึ้นรถตู้ไปด้วยกัน ออกจากจุฬาฯแต่เช้า เดินทางสู่เมืองน่าน ระหว่างทาง
เพือ่ นบางคนยังถามว่าน่านนีม่ นั อยูท่ ไี่ หน อยูภ่ าคไหนของ ประเทศ เส้นทางแสนยาวไกล กว่าจะถึงโรงพยาบาลน่าน ก็ปาเข้าไปสามทุ่มกว่า พวกเราโทรมกันมาก ทั้งง่วง ทั้งเพลียทั้งเมารถ ทันทีที่รถตู้มาจอดที่หน้าหอพักแพทย์ โรงพยาบาลน่าน ก็มีอาจารย์บุญยงค์ พี่แอ๊ว พี่เกี๊ยก และ พี่ ๆ ทั้งหลายมารับน้อง ๆ ถึงประตูรถ พวกเราถึงกับอึ้ง ว่าโอ้โห ผู้หลักผู้ใหญ่อุตส่าห์มารอรับเราตั้งดึก ฉากที่ 4 เช้าแรกที่เมืองน่าน ช่วงนั้นมีการ ต้ อ นรั บ แพทย์ ทั น ตแพทย์ เภสั ช ใหม่ ข องเมื อ งน่ า น มีกิจกรรมตลอด ทั้งในและนอกห้องประชุม ได้เจอได้ฟัง อาจารย์สอนสั่งมากมาย เดี๋ยวเจอเดี๋ยวเจอ เป็นช่วง รับน้องที่เข้มข้นมาก ไม่ทันรู้จักกับความเหงาเลยทีเดียว ไหนจะสาดน�ำ้ สงกรานต์กนั เป็นวัน ๆ อยูบ่ นท้ายรถกระบะ ไหนจะลงไปแม่น�้ำน่านไม่รู้กี่รอบ ไหนจะไปเยี่ยมเยียน โรงพยาบาลชุมชนต่าง ๆ เพื่อให้รู้ว่าอะไรอยู่ตรงไหน อ�ำเภอนั้นนี้อยู่ตรงไหน แม้จะเป็นหมอมือใหม่ แม้จะเป็น หมอเด็ก ๆ ที่เพิ่งจบ แต่การมีอาจารย์ผู้ใหญ่ที่ให้ความ เป็นกันเองคุ้นเคย เหมือนญาติผู้ใหญ่ สอนจุดที่ต้องรู้ ต้องระวัง สิง่ ทีค่ วรปฏิบตั เิ มือ่ ต้องท�ำงานในชุมชน เมือ่ ต้อง เป็นหมอ เมื่อต้องท�ำงานร่วมกับคนอื่น ท�ำให้การออกไป ท�ำงานหลังจากเดือนแรกแห่งการปรับตัว ไม่น่ากลัวเลย สักนิดเดียว แถมยังรู้สึกว่ามีอาจารย์ผู้ใหญ่คอยดูแล เป็น back-up ให้ เป็นที่ปรึกษาให้ได้ แม้จะเสียดายเล็กน้อย ทีม่ าไม่ทนั ช่วงทีอ่ าจารย์เป็นผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาลน่าน เพราะอาจารย์เพิ่งเกษียณก่อนหน้านั้น 1 ปี ฉากที่ 5 เป็นหมอชุมชน เป็นแพทย์ประจ�ำ เป็น ผู ้ อ� ำ นวยการโรงพยาบาล เป็ น ช่ ว งเวลาที่ ส นุ ก มาก ได้เรียนรู้หลายอย่าง ทั้งเรื่องความรู้ทางการแพทย์
-161-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
ความรู้ทางสังคม การปรับตัวให้เป็นแพทย์คนเดียวของ อ�ำเภอ เป็นแพทย์หญิงที่ต้องไปอยู่ต่อ กับชื่อเสียงที่เคย เสียหายของแพทย์หญิงในอดีตที่อ�ำเภอนั้น ซึ่งเป็นบท เรี ย นที่ ท รงคุ ณ ค่ า แก่ ก ารวางตั ว เป็ น ทั้ ง แพทย์ แ ละ แพทย์หญิง หนูนบั ว่าใช้อาจารย์เปลืองกว่าเพือ่ น ๆ ในรุน่ คือ หนูไม่กลัวที่จะขอรับค�ำปรึกษาจากอาจารย์ เข้าเมือง เดือนละครั้งก็มักจะแวะไปสวัสดีและหาเรื่องไปปรึกษา หรือหากจนปัญญา คิดแก้ปัญหาหัวแทบแตกอยู่คนเดียว ทีอ่ ำ� เภอ ก็จะกลัน้ อกกลัน้ ใจกดโทรศัพท์ไปหาอาจารย์ ว่า “อาจารย์คะ หนูอยากปรึกษา หนูควรท�ำยังไงดี” เสียง อาจารย์ที่มาตามสายโทรศัพท์ไม่เคยท�ำให้หนูผิดหวัง แค่ได้รู้ว่าอาจารย์ตั้งใจฟัง ไม่ร�ำคาญ และยังให้แง่คิดให้ ไปคิดต่อ ให้ไปหาทางออกต่อด้วยตนเองได้ หนูไม่เคยรูส้ กึ เลยว่าปฏิบัติงานอยู่คนเดียว หรือถูกทิ้งให้อยู่ล�ำพังใน อ�ำเภอที่แม้แต่คนเมืองน่านก็ยังบอกว่า “แสนกันดาร” ฉากที่ 6 ลาจากเมืองน่าน ทั้งที่ไม่อยากไป ไม่อยากไปจากการท�ำงานที่ก�ำลังสนุกและมีความสุข แต่ก็มีความจ�ำเป็นที่ต้องกลับบ้าน เมื่อแม่ป่วย จึงต้องถึง เวลากลับมาเรียน ตามที่คนอื่นเขาก็กลับมาพร้อมกัน อาจารย์ท�ำให้หนูไม่รู้สึกผิดมาก ว่าก�ำลังทิ้งชาวบ้าน ทิ้งเพื่อนร่วมงานที่น่ารัก ทิ้งงานที่ชอบ เพราะอาจารย์ เข้าใจและบอกเหมือนทีบ่ อกพี่ ๆ ทุกคนว่า อาจารย์ไม่ได้ อยากให้เราต้องอยูเ่ มืองน่านตลอดไป อาจารย์อยากให้ เราไปศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม อยากให้เราเรียนต่อ ให้เป็นประโยชน์ต่อคนอื่น ๆ อีกมาก ๆ การมา
ท�ำงานให้เมืองน่านแม้เพียงวันเดียว เดือนเดียว ปีเดียว ก็ถือว่าเป็นประโยชน์ให้กับคนเมืองน่านแล้ว ไม่ส�ำคัญ ว่าอยู่นานแค่ไหน ฉากที่ 7 ไปเรียนต่อต่างประเทศ เมื่อกลับจาก เมืองน่านมาเป็นอาจารย์คณะแพทย์ และเตรียมตัวไป เรียนต่อต่างประเทศในสาขาที่ไม่มีคนเรียน แต่เป็นสาขา ที่ชอบ เป็นบทเรียนชีวิตที่ได้จากน่าน จึงคิดว่าน่าจะไป เรียนให้เป็นเรื่องเป็นราวจากประเทศต้นฉบับที่ดี ตอนที่ มหาวิทยาลัยฝรัง่ ขอจดหมายแนะน�ำตัว หนูนกึ ถึงอาจารย์ เป็นคนแรก แม้จะไม่แน่ใจว่า เอ ฝรั่งจะงงมั้ยว่าเป็นใคร ต�ำแหน่งอาจารย์มหาวิทยาลัยก็ไม่ใช่ ต�ำแหน่งผูอ้ ำ� นวยการ โรงพยาบาลก็ไม่ใช่ แต่ไม่เป็นไร หนูอยากให้ครูของหนู แนะน�ำหนูให้ฝรั่งเข้าใจ อาจารย์ตอบรับง่ายมาก และ เขียนจดหมายด้วยลายมือ แนะน�ำตัวหนูอย่างยาวให้ หนูอ่านแล้วน�้ำตาไหลด้วยความปราบปลื้ม และก็เพิ่งมา รูท้ หี ลังว่าอาจารย์เคยได้ไปเรียนทีโ่ ตรอนโต เป็นมหาวิทยาลัย เดียวกันกับที่หนูจะไป ฉากที่ 8 ปีที่อาจารย์อายุครบ 80 ปี หนูได้กลับ มาเยี่ยมเมืองน่านและอาจารย์อีกครั้ง เมื่อนั้นถึงเมื่อนี้ เป็นเวลาเกือบยี่สิบปีให้หลัง หนูยังคงเป็นแพทย์ที่มี ความสุ ข สนุ ก กั บ การท� ำ งาน เพราะได้ รั บ การวาง เสาเอกแห่งการเป็นแพทย์... ที่น่าน
-162-
หมอแคน ผศ.พญ.สายพิณ หัตถีรัตน์
“ ศิษย์น่าน ”
เมื่อแรกรู้ว่าจะได้ไปเมืองน่าน จังหวัดนี้อยู่ที่ไหนใครรู้ดี กางแผนที่ขนาดใหญ่จึงได้เห็น ทุกสิ่งที่คิดเดานั้นมันเลือนลาง สิบชั่วโมงขับรถไปใจว้าวุ่น ใช้ไฟฟ้า หรือว่าใช้ เครื่องปั่นไฟ เมื่อเข้าเขตตัวเมืองจึงเริ่มเห็น ได้อยู่บ้านทั้งหลังว่างพอดี อีกปัญหาสารพัดมารุมเร้า ทั้งแมลงสาบ แมงมุมยักษ์ มาชักใย ยังอาหารรสชาดประหลาดลํ้า ต้องผ่ายผอมกว่าเก่าเข้าล่ะซี จึงได้ความกรุณาอย่างใหญ่หลวง ข้าวขนมสารพัดแลละลาน สองปีผ่านอย่างร่มเย็นและเป็นสุข หากปัญหามากลํ้ามากํ้าเกย ท่านตอบได้ในทุกทุกปัญหา เป็นแบบอย่างให้ก้าวตามเจตจ�ำนงค์ หากที่น่านไม่มีพี่ยงค์อยู่ วันที่เป็นคนเต็มคน อย่างภูมิใจ กราบขอบพระคุณ แด่อาจารย์ผู้ประสิทธิ์- ไม่อาจน�ำพรใดในฟากฟ้า มีเพียงจิตส�ำนึกลํ้าลึกยิ่ง จะตั้งใจด�ำรงตนเป็นคนดี
เกิดอาการสงสัยเสียเต็มที่ ช่วยตอบทีจะได้ไปถูกทาง อยู่เหนือสุดโดดเด่นเขตกว้างขวาง “ถนนราดยาง” มีไหมหนอ...น่าท้อใจ นํ้ามันรุ่น “ซุปเปอร์” นี่ จะมีไหม มีทีวีส่งถึงได้ หรือไม่มี? ปั๊มนํ้ามันตั้งเด่นอยู่สองที่ ทั้งกลัวผี กลัวคน ปนกันไป เดี๋ยวไฟดับเดี๋ยวเจอเข้ากับเพื่อนใหม่ สยดสยองกว่าหนไหนในคราวนี้ ทานได้ค�ำสองค�ำก็เต็มที่ แล้วจะมีแรงที่ไหนไปท�ำงาน “ผู้อ�ำนวยการ” ท่านมาทวงให้ไปบ้าน ให้เลือกทานได้ตามใจไม่ว่าเลย ได้สนุกกับงานไปไม่อยู่เฉย อย่างคุ้นเคย เรียนถาม กับ “พี่ยงค์” ท่านดุว่าสอนสั่งดังประสงค์ และยังคงมีโลกทัศน์อันกว้างไกล ยากจะรู้ว่าจะมีวันนี้ไหม วันที่ได้เป็นแพทย์ดีมีจรรยา ประสาททั้งความคิดและคุณค่า เพื่อจะมามอบให้ท่านในวันนี้ กับสัญญาจากใจจริง มอบแด่พี่ สมกับที่เป็น “ศิษย์น่าน” ท่านสอนมา หมออุ๋ย พญ. สิริยาภรณ์ เลาหคุณากร
-163-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ พระราชทานรางวัล “ชัยนาทนเรนทร” 5 นักการสาธารณสุขดีเด่น ประจ�ำปี 2556
สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร พระราชทานรางวั ล “ชั ย นาทนเรนทร” แก่นักการสาธารณสุขดีเด่น ทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ประจ�ำปี 2556 จ�ำนวน 5 ราย เพื่อ เทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา ชั ย นาทนเรนทร และเป็ น การถ่ า ยทอดแนวคิ ด ประสบการณ์การท�ำงานไปสูบ่ คุ ลากรด้านการแพทย์และ สาธารณสุข ขยายผล ปรับใช้ในการด�ำเนินงานให้เกิด ประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน วันนี้ (16 ธันวาคม 2556) เวลา 16.30 น. สมเด็จ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พร้อมด้วย พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ เสด็จออก ณ วังศุโขทัย พระราชทานรางวัล “ชัยนาท นเรนทร” แก่นักการสาธารณสุขดีเด่น ประจ�ำปี 2556 โดย ศ.เกียรติยศนายแพทย์สงคราม ทรัพย์เจริญ
ประธานกรรมการมูลนิธิสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรม พระยาชัยนาทนเรนทร กราบบังคมทูลรายงานความเป็น มาของรางวัลฯ และนายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประธานคณะกรรมการรางวัลฯ กราบบังคมทูลเบิกนักการสาธารณสุขดีเด่น ประจ�ำปี 2556 เข้าเฝ้าฯ รับพระราชทานประกาศเกียรติคณ ุ พร้อม เงินรางวัล จ�ำนวน 5 ราย ศ.เกียรติยศนายแพทย์สงคราม ทรัพย์เจริญ ประธานมูลนิธิฯ กล่าวว่า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ทรงมีความสนพระทัยใน วิชาการแพทย์และการสาธารณสุข ทรงปลูกฝังความนิยม ในการเรียนแพทย์ให้เป็นที่แพร่หลาย และในพ.ศ.2461 ทรงได้ รั บ พระราชทานให้ เ ป็ น อธิ บ ดี ก รมสาธารณสุ ข พระองค์แรก ทรงวางรากฐานงานสาธารณสุขของประเทศ ด้วยส�ำนึกในพระกรุณาธิคุณที่พระองค์ทรงมีต่อวงการ
-164-
แพทย์และการสาธารณสุขไทย มูลนิธิสมเด็จพระเจ้า บรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ได้สืบสาน พระกรณียกิจ ในการสนับสนุนงานด้านการแพทย์และ การสาธารณสุข โดยมอบทุนวิจัยอย่างต่อเนื่อง ในปีพ.ศ.2555 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทาน พระบรมราชานุ ญ าตให้ อั ญ เชิ ญ พระนามของสมเด็ จ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร เป็นชื่อ รางวัลนักการสาธารณสุขดีเด่นว่า “รางวัลชัยนาทนเรนทร” และในปีพ.ศ. 2556 มูลนิธิสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร และสถาบั น ที่ มี ก ารศึ ก ษาด้ า น สาธารณสุ ข คั ด เลื อ กผู ้ ที่ มี ผ ลงานด้ า นการพั ฒ นา สาธารณสุขดีเด่น ทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค ประชาชน เข้ า รั บ รางวั ล ชั ย นาทนเรนทร เพื่ อ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา ชัยนาทนเรนทร
ด้านนายแพทย์ณรงค์ สหเมธาพัฒน์ ปลัดกระทรวง สาธารณสุข กล่าวว่า นักการสาธารณสุขดีเด่น ประจ�ำปี 2556 ทีเ่ ข้าเฝ้าฯรับพระราชทานประกาศเกียรติคณ ุ พร้อม เงินรางวัล จ�ำนวน 5 ราย ได้แก่ 1.นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รกั มิตร แพทย์ชนบทดีเด่น ได้รบั รางวัลประเภทผูน้ ำ� ชุมชน 2.นายแพทย์ส�ำลี เปลี่ยนบางช้าง ผู้อ�ำนวยการ องค์การอนามัยโลก ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้รับรางวัลประเภทวิชาการ 3.นายพงษ์ศักดิ์ ฉิ่งสุวรรณ โรจน์ เจ้าของสวนนายด�ำ ศูนย์กลางเรียนรูส้ ว้ มสาธารณะ ไทย ต.ตะโก อ.ทุ่งตะโก จ.ชุมพร ได้รับรางวัลประเภท ประชาชน 4.นางเกษร วงศ์มณี สาธารณสุขอ�ำเภอหล่มสัก จ.เพชรบู ร ณ์ ได้ รั บ รางวั ล ประเภทบริ ห าร และ 5.นายธีระวัฒน์ แดงกะเปา ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพต� ำ บลบ้ า นสี่ แ ยกสวนป่ า อ.บางชั น จ.นครศรีธรรมราช ได้รับรางวัลประเภทบริการ แหล่งข่าวโดย » ส�ำนักสารนิเทศและประชาสัมพันธ์ กระทรวงสาธารณสุข
-165-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ปริญญาศิลปศาสตรดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาผู้น�ำทางสังคม ธุรกิจและการเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต จั ด พิ ธี ป ระสาทปริ ญ ญา ประจ�ำปี 2556 โดยได้รบั เกียรติจาก พลอากาศเอกก�ำธน สินธวานนท์ องคมนตรี และนายกสภามหาวิทยาลัยรังสิต เป็นประธานในพิธี ในปี นี้ สภามหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต มี ม ติ ป ระสาท ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาผูน้ ำ� ทาง สังคม ธุรกิจและการเมือง แก่ นายแพทย์บญ ุ ยงค์ วงศ์รกั มิตร
และม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล ปริญญาศิลปะดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการออกแบบ แก่ศาสตราจารย์ วิโชค มุกดามณี และปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์อาร์ต แก่ นายสมชัย กตัญญุตานันท์ วันจันทร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 ณ ห้องรอยัลจูบิลี่ บอลลูม อาคารชาเลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
-166-
ค�ำจารึก อาจารย์บุญจันทร์ วงศ์รักมิตร อาจารย์บุญจันทร์ วงศ์รักมิตร ท่านเป็นครูที่เอาใจใส่ศิษย์เสมือนลูกหลาน เป็นผู้บังคับบัญชาที่มีประสิทธิภาพสูง เป็นผู้น�ำทางการฝึกหัดครู เป็นมิตรร่วมงานที่ซึ่งในทุกข์สุขของมิตร เหนือสิ่งอื่นใด...เป็นปูชนียบุคคล (พะนอม แก้วก�ำเนิด) อธิบดีกรมการฝึกหัดครู 29 มิถุนายน 2527 ประวัติ - เกิดที่ต�ำบลหัวเวียง อ.เมือง จ.ล�ำปาง - บุตรนายตุ้ยและนางลูกอินทร์ มีพี่น้องร่วมบิดา – มารดา 6 คน ชาย 3 คน หญิง 3 คน ท่านเป็นบุตรคนที่ 2
การศึกษา
- พ.ศ. 2474 – 2482 โรงเรียนล�ำปางกัลยาณี (ม.6) - พ.ศ. 2483 – 2484 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา (เตรียมปีที่ 2) - พ.ศ. 2485 – 2490 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (อนุปริญญาครุศาสตร์) - พ.ศ. 2499 – 2501 State University of New York (B.S. in Ed.) - พ.ศ. 2504 – 2505 Indiana University Bloomington. ZM.S in Ed.)
การท�ำงาน
- 1 ก.ย. 2490 – 2495 ครูตรีโรงเรียนสวนสุนันทาวิทยาลัย - พ.ศ. 2496 – 2501 ครูใหญ่โรงเรียนสตรีฝึกหัดครูนครปฐม - พ.ศ. 2502 – 2515 อาจารย์ใหญ่, ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยครูอุดรธานี - พ.ศ. 2515 – 2524 ผู้อ�ำนวยการ, อธิการวิทยาลัยครูเชียงใหม่ - พ.ศ. 2525 – 30 มิ.ย. 2527 อาจารย์วิทยาลัยครูเชียงใหม่ และที่ปรึกษาอธิการวิทยาลัยครูเชียงใหม่
การเลื่อนชั้น
- ชั้นตรี - 2490 - ชั้นโท - 2498 - ชั้นเอก - 2505 - ชั้นพิเศษ - 2512 - อาจารย์ 3 ระดับ 8 – 2519
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ - ท.ม.,ท.ช.
“ธรรมนูญ”
-167-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
แก้ไขและเพิ่มเติมท้ายเล่ม การจัดท�ำหนังสือ 80 ปี นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ฉบับปฐมฤกษ์ เปิดตัวหนังสือนี้ ด้วยคณะ ผู้จัดท�ำต้องการจะเซอร์ไพส์ในโอกาสส�ำคัญดังกล่าว โดย มิให้อาจารย์ล่วงรู้มาก่อน ก็ท�ำให้ท่านมิได้มีโอกาสได้เห็น ต้ น ฉบั บ ประกอบกั บ เป็ น หนั ง สื อ ที่ บ รรจุ ม ากมาย หลากหลายเรือ่ งราวอันยาวนานของท่าน โดยมีทา่ นผูท้ รงเกียรติ ทั้งหลายร่วมให้ข้อมูลเขียนเรื่องราวถึงท่านในโอกาสต่าง กรรม ต่างวาระ ในฐานะเพือ่ นร่วมงานทีเ่ คียงบ่าเคียงไหล่ มากับท่าน ฐานะที่เป็นน้อง เป็นลูกศิษย์ ทั้งที่เป็นวัย ร่วมสมัยและวัยเจนเนอเรชั่นใหม่ได้ร่วมกันหล่อหลอม เรื่ อ งเล่ า และเรี ย บเรี ย งเรื่ อ งราวทั้ ง หมดมาอยู ่ ใ นเล่ ม เดียวกันเป็นครัง้ แรก นับว่าเป็นหนังสือทีท่ รงคุณค่าแก่การ เรียนรู้ยิ่ง ภายหลังจากที่ท่านอาจารย์นายแพทย์บุญยงค์ ได้เห็นหนังสือเล่มนี้ที่ลูกศิษย์ลูกหาของท่านได้ร่วมกัน จัดท�ำขึน้ ท่านมีความสุขมาก และด้วยความทีท่ า่ นเป็นคน พิถีพิถันกับความถูกต้องในเนื้อหาและถ้อยค�ำที่ถ่ายทอด ผ่านอักษร ท่านก็ได้อ่านอย่างถ้วนถี่จนมีข้อห่วงใยให้ แก้ไขเนื้อหาและถ้อยค�ำให้ถูกต้อง นอกจากนี้ท่านยังได้ เพิม่ เติมข้อมูลอันเป็นประโยชน์ตอ่ ความเข้าใจไว้ดว้ ย เป็น ดังนี้ 1. หน้าที่ 6 บรรทัดที่ 6 (เพิ่มเติม) “สิริเวชรักษ์” นามพระราชทานหมายถึง อาคารซึ่งเป็นสถานที่ที่ให้การ รักษาทางการแพทย์อย่างดียิ่ง และพระราชทานราชา นุญาตให้เชิญอักษรพระนามาภิไธย “ส.ธ.” ประดับเหนือ ชื่ออาคารด้วย 2. หน้าที่ 16 บรรทัดที่ 18 (แก้ไข) ประธานที่ ปรึ ก ษาคณะกรรมการพั ฒ นาโรงพยาบาลน่ า น เป็ น ที่ปรึกษาคณะกรรมการพัฒนาโรงพยาบาลน่าน 3. หน้าที่ 16 บรรทัดที่ 25 (แก้ไข) พ.ศ. 2505 เป็นผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลเลย จังหวัดเลย เป็น พ.ศ. 2506 เป็นผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลเลย จังหวัดเลย 4. หน้าที่ 17 บรรทัดที่ 6 คอลัมน์ขวา (แก้ไขเพิม่ เติม) แพทย์ฝรัง่ ทีไ่ ปด้วยประทับใจกันมากขนานนาม ให้ท่านว่า “Doctor wire” เป็น ทหารอเมริกันที่ปรึกษา JUSMAG ทีไ่ ปด้วยประทับใจกันมากขนานนามให้ทา่ นว่า “Doctor wire”
5. หน้าที่ 19 บรรทัดที่ 2 (เพิ่มเติม) “ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา” เป็น “ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา และ ปลอดภัย” 6. หน้าที่ 22 บรรทัดที่ 7 คอลัมน์ซ้าย (แก้ไขเพิ่มเติม) ท่านพุทธทาส พระเทพเวที ท่านปัญญานันทะ เป็น ท่านพุทธทาส ท่านปัญญานันทะ พระราชวรมุนี หลวงปูชา หลวงปู่ดุลย์ อตุโล ฯลฯ 7. หน้าที่ 62 บรรทัดที่ 12 คอลัมน์ขวา (แก้ไขเพิม่ เติม) พระสมเด็จจิตรลดาเลีย่ มทอง 1 องค์จากสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั เป็น พระสมเด็จจิตรลดา 1 องค์จากสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว (เพิ่มเติม) เป็นหลักแห่งการด�ำเนินงานคือ สุทธิ ปัญญา เมตตา ขันติ ซึ่งเป็นหัวใจของโพธิ์สัตว์ 8. หน้าที่ 89 บรรทัดที่ 9 คอลัมน์ขวา (แก้ไข) ชัน้ ทุตยิ จุลจอมเกล้าวิเศษ ท.จ.ว. เป็น ชัน้ ทุตยิ จุลจอมเกล้า ท.จ. 9. หน้าที่ 90 บรรทัดที่ 3 คอลัมน์ซ้าย (แก้ไข) เจ็ดปี เป็น หกปี 10. หน้าที่ 26 บรรทัดที่ 7 (เพิ่มเติม จากผู้เขียน) เกียรติคุณที่ได้รับ 14. ได้รับรางวัลนักการสาธารณสุข ดีเด่น รางวัลชัยนาทนเรนทร ประจ�ำปี 2556
-168-
11. เพิม่ เติมประวัตคิ รอบครัวนายแพทย์บญ ุ ยงค์ วงศ์รักมิตร (จากหนังสือ “ชีวิตและงาน” ของนายนิวัฒน์ ศิรินาวิน หน้า 198-199) ได้กล่าวไว้ดังนี้ ครอบครัวของนายตุ้ย และนางลูกอินทร์ วงษ์ซัวหลี นายตุ้ยและนางลูกอินทร์ วงษ์ซัวหลี มีลูก 9 คน เสียชีวิตตั้งแต่เล็ก ๆ 3 คน ลูกอีก 6 คนของนายตุ้ยและ นางลูกอินทร์ทมี่ ชี วี ติ จนเติบใหญ่ ต่างประสบความส�ำเร็จ ในชีวิตอย่างน่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง ทั้ง ๆ ที่มีเส้นทางชีวิต แตกต่างกัน เรียงตามล�ำดับตามอาวุโสดังนี้ 1. นางบุ ญ ธรรม์ สี มั น ตร จบพยาบาลที่ โรงพยาบาลแมคคอร์มคิ เชียงใหม่ และโรงพยาบาลจุฬาฯ (ถึงแก่กรรมแล้ว) 2. นางสาวบุญจันทร์ วงศ์รักมิตร จบปริญญา ตรีและได้รบั ปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยแห่งรัฐอินเดียน่า (University of Indiana) สหรัฐอเมริกา อดีตอธิการ สถาบั น ราชภั ฏ เชี ย งใหม่ (ปั จ จุ บั น เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ราชภัฏเชียงใหม่) 3. นายเทียมบุญ อินทรบุตร (ชื่อเดิม บุญเทียม วงศ์รักมิตร) อดีตโปรโมเตอร์มวยระดับโลกผู้มีฉายาว่า “พญาอิ น ทรี ” อดี ต ประธานสภามวยอาชี พ แห่ ง ประเทศไทย และหนึ่งในคณะผู้ร่วมก่อตั้งสนามมวยเวที ลุมพินี (ถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ. 2534) 4. นางบุ ญ เที ย น รามเดชะ จบปริ ญ ญาตรี พาณิชยศาสตร์การบัญชี และประกาศนียบัตรการบัญชี ธรรมศาสตร์ , วุ ฒิ บั ต รจากสถาบั น อบรมการตลาด มหาวิ ท ยาลั ย ฮาร์ ว าร์ ด และโตเกี ย ว, อดี ต ผู ้ จั ด การ ร้านรายภัณฑ์ในกรุงเทพฯ และอดีตอาจารย์ระดับ 8 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 5. พลต�ำรวจเอกบุญทิน วงศ์รักมิตร อดีต ผู้บัญชาการต�ำรวจภูธรภาค 2 (ภาคอีสาน) ได้รับฉายา “อินทรีอสี าน” จาการท�ำงานด้วยความเด็ดขาดจนเป็นที่ เกรงกลั ว ของเหล่ า มิ จ ฉาชี พ ลาออกจากราชการใน ต�ำแหน่งผู้ช่วยอธิบดีกรมต�ำรวจ และได้ด�ำรงต�ำแหน่ง เลขานุการรัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย ปัจจุบันเป็น ประธานมูลนิธิ “พลต�ำรวจเอกบุญทิน วงศ์รักมิตร” เพือ่ ช่วยเหลือต�ำรวจชัน้ ผูน้ อ้ ยและครอบครัว และส่งเสริม การท�ำงานของต�ำรวจ 6. นายแพทย์บญ ุ ยงค์ วงศ์รกั มิตร อดีตผูอ้ ำ� นวย การโรงพยาบาลน่าน (พ.ศ.2507 – 2536) แพทย์ชนบท
ผู้มีชื่อเสียงมาก ได้อุทิศตนตลอดชีวิตเพื่อพัฒนางาน สาธารณสุขส�ำหรับประชาชนในชนบท นอกจากเป็นที่ ยกย่องในฐานะปูชนียบุคคลของชาวน่านแล้ว ท่านได้รบั การ เชิดชูเกียรติรวมทัง้ ได้รบั รางวัลต่าง ๆ เป็นอันมาก ได้แก่ • รางวัลทุนสมเด็จพระวันรัต จากแพทยสมาคม (พ.ศ. 2516), • รางวัลแพทย์ชนบทดีเด่น จากคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล (พ.ศ.2517) • การยกย่องเป็น “คนไทยตัวอย่าง” จากมูลนิธิ ธารน�้ำใจ (พ.ศ.2520) • ศิษย์เก่าแพทย์จุฬาฯ ดีเด่น • ปริญญาแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2537) • ปริ ญ ญาพั ฒ นาชุ ม ชนดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. 2547) • รางวั ล พระราชทาน มหิ ด ล บี บราวน์ (พ.ศ. 2539) นอกจากนี้ ท ่ า นได้ รั บ โปรดเกล้ า ฯ ให้ ด� ำ รง ต�ำแหน่งวุฒิสมาชิก (พ.ศ.2539 – 2543) และปัจจุบัน เป็นประธานที่ปรึกษาศูนย์ประสานงานประชาคมน่าน ประวัตอิ นั น่าชืน่ ชมของครอบครัวนี้ บันทึกไว้เพือ่ เป็นเกียรติประวัติของชาวล�ำปางตระกูลหนึ่ง ผู้เคยเป็น เจ้ า ของบ้ านที่ น ายนิ วั ฒ น์ ศิ ริ น าวิ น และครอบครั ว ได้อาศัยอยูอ่ ย่างสุขสบายตลอดมา จนถึงปัจจุบนั เป็นเวลา หกสิบปี.
-169-
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
พรานทะเล ศิลปิน สุนทราภรณ์ ค�ำร้อง แก้ว อัจฉริยะกุล ท�ำนอง เอื้อ สุนทรสนาน
...ชีวิตที่คร�่ำ กลางน�้ำเวียนวน ลอยล่องกลางชล ไม่พ้นทนไป อยู่กับเรือเบื่อใจ ผองพรานทะเลเร่ไป อยู่ห่างไกลกลางสายชล ...มองน�้ำตรงหน้า จรดฟ้าไกลไกล ว้าเหว่ดวงใจ ไม่เห็นผู้คน คลื่นและลมสู้ทน ทุกข์ใจปานใดไม่บ่น สู้แดดฝนล�ำบาก กาย *..อยู่หว่างทะเล นาน นาน ท้องเรือเป็นบ้าน ท้องธารเรือนตาย สิ้นชีพสิ้นชนม์ เคราะห์ร้าย ศพฝังโดยง่าย ฝากเอาไว้ใต้คงคา **เพียงเห็นริมฝั่ง สักครั้งดีใจ มาบกทีไร ให้แสนปรีดา ใกล้แผ่นดินเข้ามา เหมือนมีวิมานตรงหน้า ปลื้มหนักหนา แทบจูบดิน (ซ�้ำ*,**)
-170-
บทส่งท้ายบรรณาธิการ ในโอกาสครบรอบวันเกิดอายุ ๘๐ ปีของอาจารย์ นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ทางทีมบรรณาธิการ ได้ รั บ มอบหมายให้ จั ด ท� ำ หนั ง สื อ เพื่ อ แสดงมุ ทิ ต าจิ ต แด่ท่านอาจารย์ผู้เป็นที่เคารพยิ่ง จึงได้รวบรวมบทความ บทสั ม ภาษณ์ ค� ำ บรรยายปาฐกถา รวมทั้ ง บทความ ในหนังสือซึ่งเคยมีการจัดท�ำในโอกาสวาระต่าง ๆ โดย เนือ้ หาส่วนใหญ่จะเกีย่ วข้องกับงานบริการทางการแพทย์ และสาธารณสุข และแนวทางการบริหารงาน แต่ ด ้ ว ยหลั ง จากท่ า นอาจารย์ ไ ด้ เ กษี ย ณอายุ ราชการแล้ ว ท่ า นได้ อุ ทิ ศ เวลาส่ ว นตนในบทบาทใน ด้านสังคม ทั้งงานด้านประชาคมจังหวัดน่าน, โครงการ ปิดทองหลังพระ, ตลอดจนโครงการสนับสนุนการจัดตั้ง มหาวิทยาลัยชุมชนในจังหวัดน่าน รวมทั้งการจัดสร้าง หออัตลักษณ์ ที่ก�ำลังด�ำเนินการอยู่ในช่วงเวลาที่ท่าน อาจารย์ย่างวัย ๘๐ ปี บทบาทท่านอาจารย์ในส่วนนี้ เป็นเรื่องราวที่น่า สนใจ น่าศึกษา น่าเรียนรู้ สามารถสร้างแรงดลใจแก่ผู้ ได้รับรู้ ซึ่งยังไม่เคยมีการรวบรวมเนื้อหาในส่วนดังกล่าว ได้ ถู ก รวบรวมเรื่ อ งราวในส่ ว นนี้ ม ารวมอยู ่ ใ นหนั ง สื อ “สอนให้จำ� ท�ำให้ดู อยูใ่ ห้เห็น” ๘๐ ปี นายแพทย์บญ ุ ยงค์ วงศ์รักมิตร เล่มนี้ด้วยแล้ว ในการจัดท�ำหนังสือครั้งนี้ ท่านอาจารย์ได้กรุณา ให้โอกาสทีมงานได้พูดคุย รับค�ำแนะน�ำต่าง ๆ ท�ำให้ทีม งานได้รับฟัง รับรู้เรื่องราวดี ๆ ประสบการณ์ชีวิตและ ปรัชญาการท�ำงานอันทรงคุณค่า เปรียบเสมือนต�ำราชีวติ เล่มใหญ่ หลาย ๆ ความคิด และหลักการที่ท่านอาจารย์ บอกกล่าว ไม่ได้เป็นอะไรที่ซับซ้อน แต่มักถูกละเลย ไม่ใส่ใจ ไม่เห็นความส�ำคัญ หรือคิดว่าท�ำยากท�ำไม่ได้ จึงไม่ได้นำ� ไปสูก่ ารปฏิบตั ิ เราได้เรียนรูจ้ ากท่านอาจารย์วา่ เราควรมีมุมมอง และคิดอย่างไรกับหลักการ แนวคิด ให้เหมาะสมกับสถานการณ์และบริบท เพื่อสามารถน�ำ หลักการและแนวคิดสู่การปฏิบัติได้จริง มีคนในทีมเกิด ความรูส้ กึ อยากได้ทำ� งานในบรรยากาศช่วงทีท่ า่ นอาจารย์ เป็ น ผู ้ อ� ำ นวยการโรงพยาบาลน่ า น (แต่ อ าวุ โ สไม่ พ อ เลยไม่มีโอกาส)
ในที่สุดแล้ว หากพวกเราสามารถสร้างมุมมอง ทีเ่ หมาะสม น�ำแนวคิดและหลักการท�ำงานทีท่ า่ นอาจารย์ บอกกล่าว และให้ความใส่ใจ เอื้ออาทรต่อทั้งผู้ป่วยและ เพื่อนร่วมงาน บรรยากาศดังกล่าวก็จะอยู่กับเราตลอดไป
-171-
ทีมบรรณาธิการ
นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร
กองบรรณาธิการ ที่ปรึกษา
นพ.บุญยงค์ พญ.พนิดา นพ.คณิต นพ.นิวัตชัย นพ.พิษณุ นพ.ปิยะพงษ์ พญ.วราภรณ์ ทพ.ช่อฉัตร ภก.นิคม
วงศ์รักมิตร วงศ์รักมิตร ตันติศิริวิทย์ สุจริตจันทร์ ขันติพงษ์ จงรักษ์ เตชะเสนา เส็งพานิช ดีพอ
ขอขอบคุณ อาจารย์วินัย นางนิรชรา
ปราบริปู โลหะโชติ
ทีมบรรณาธิการ นพ.พรชัย งามสิทธิฤกษ์ นางสาวปริญญา แสงรัตนา นางอุลี ศักดิ์สุวรรณ นางสุภาพ สิริบรรสพ นางรุ่งทิพย์ กาละดี นางอุทัยวรรณ สกลวสันต์ นายกิติศักดิ์ แก้วนิ่ม นายวีระโชติ ใจสุธ�ำ นายวิเชษฐ์ ไชยช่อฟ้า
พิมพ์ที่ หจก.อิงค์เบอร์รี่ น่าน
เพื่อนสนิทของผม คือ...ลมหายใจ ทําใหผมมีความสงบ มีกาํ ลังและความใส (ในจิตใจ) ไมวาจะอยูในภาวะใด ๆ