คู่มือบรรพชาอุปสมบท
คู่มือบรรพชาอุปสมบท วัดป่าคอวัง ต�ำบลดู่ใต้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน แบบอุกาสะ “พระป่า” คือ พระภิกษุผู้มีข้อวัตรปฏิบัติ เป็นไปเพื่อก�ำจัดกิเลสและเป็นอิสระเหนือเหตุแห่งทุกข์ท้งั ปวง มีชีวิตอย่างเรียบง่าย มีปัจจัยเครื่องอาศัยจ�ำกัด มุ่งปฏิบัตฝิ ึกหัดอบรมจิตใจให้เข้าถึงความสงบและเกิดปัญญา ด้วยการบ�ำเพ็ญภาวนาสมถะและวิปัสสนากรรมฐาน ซึ่งข้อวัตรเหล่านี้ จะเป็นบันไดน�ำไปสู่ความบริสุทธิ์บริบูรณ์ในศีล สมาธิ และปัญญา อันเป็นมรรคแห่งการดับทุกข์
ชื่อหนังสือ
คู่มือบรรพชาอุปสมบท อุกาสะ (ฉบับวัดป่าคอวัง)
ออกแบบปก พระครูสุนทรวรนาถ พระอาจารย์ส�ำอางค์ ธีรปญฺโญ ผู้เรียบเรียง
พระอาจารย์สมเดช ติกฺขญาโณ พระจักรกฤษณ์ มงฺคลิโก คุณศิริศุกร์ อาริยาท้าวเชียง
ผู้ตรวจอักษร
พระจักรพรรดิ สุธีโร พระสายชล อภิชโล พระณรงค์ศกั ดิ์ นิทฺเทสโก พระโกวิทย์ สนฺตจิตฺโต พระธนภัทร ชยธมฺโม พระกฤษฎา ยุตฺติโก พระปรัชญา ปริปุญฺโณ พระวุฒิชัย อภิชวโณ
พิมพ์ครั้งที่ ๑ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ จ�ำนวน ๒,๙๖๑ เล่ม
ค�ำน�ำ การบรรพชา อุปสมบท เป็นรูปแบบของระบบการศึกษาใน พระพุทธศาสนาทีก่ ่อให้เกิดองค์ความรู้ รูปแบบตลอดจนธรรมะของ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ทรงประทานแก่ชาวพุทธไว้โดยตรง ซึง่ เป็นกระบวนการทีล่ ะเอียด เนือ่ งจากการบรรพชาอุปสมบทเป็นการ เปลี่ยนแปลงสถานะของพุทธบริษัทสู่บรรชิต ภิกษุ-สามเณร เมื่อมี ค�ำชี้แจงหรือเนื้อหาต�ำราที่จะเป็นการแนะแนวทางและพิธีการที่ ถูกต้อง เพื่อความพร้อมในการเรียนรู้ ตั้งแต่ก่อนอุปสมบทจนเป็น ภิกษุ-สามเณรได้ง่ายขึน้ จึงเป็นที่มาของการจัดท�ำหนังสือคู่มือบรรพชาอุปสมบทที่ จ�ำเป็นต้องมีไว้ศึกษาในระบบของการศึกษานี้ อนึง่ เมือ่ น�ำมาสูข่ นั้ ตอนของการบรรพชา-อุปสมบท หลังกุลบุตร ผู้เข้ามาขอบวชต้องมาเตรียมตัวก่อนบวช มาอยู่วดั ถือ ศีล ๘ เป็น ปะขาวหรือนาค ในการเรียนรูข้ อ้ วัตรปฏิบตั ิ วินยั ของพระพุทธศาสนา เพื่อให้เกิดความเรียบร้อยของระบบ อีกทั้งเกิดความสามัคคีใน หมู่คณะในการด�ำเนินการเผยแผ่ ฝึกตนฝึกท่านตลอดจนการเป็น พระที่ดีควรแก่การไหว้บูชา สุดท้ายนีข้ อนุโมทนากับทุกท่านทีไ่ ด้สง่ เสริม ทัง้ แรงกาย แรงใจ และก�ำลังทรัพย์ เพือ่ ให้เกิดหนังสือทีเ่ อือ้ ประโยชน์ตอ่ ระบบการศึกษา ของพระพุทธศาสนาและสังคมต่อไป
สารบัญ ค�ำบูชาพระรัตนตรัย ค�ำขอขมา ค�ำขอบรรพชา ค�ำขอสะระณะสีลัง ค�ำขอนิสัย ค�ำขออุปสมบท ค�ำพินทุกัปปะ ค�ำอธิษฐานบริขาร ค�ำแสดงอาบัติ อนุโมทนารัมถคาถา สามัญญานุโมทนาคาถา ภะวะตุสัพ ขั้นตอนการลาสิกขา กิจวัตรประจ�ำวัน ค�ำแปลภิกขุปาฏิโมกข์(โดยย่อ)
๓ ๔ ๕ ๘ ๑๓ ๑๘ ๑๙ ๑๙ ๒๐ ๒๒ ๒๓ ๒๓ ๒๔ ๒๖ ๒๗
1
การขออนุญาตบรรพชาอุปสมบท
๑. ผู้ปกครองมาฝากตัว และกรอกเอกสารขออนุญาต (พร้อมส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชนผู้ขอบวช ๑ ฉบับ) ๒. ก่อนบรรพชาอุปสมบทให้บวชนาค (ผ้าขาว) ถือศีล ๘ จ�ำนวนวัน แล้วแต่ความเหมาะสม ๓. ของใช้ทตี่ ้องเตรียมมาดังนี้ ยาสีฟัน แปรงสีฟัน ผ้าเช็ดตัว ไฟฉาย นาฬิกาปลุก ๔. ส่วนการบรรพชาอุปสมบท เรื่อง อัฐบริขาร, ไตรจีวร, การนิมนต์ พระทางวัดจะเป็นผู้ด�ำเนินการให้
ระเบียบการลาสิกขา
๑. แจ้งล่วงหน้า ๓ วัน กับหลวงพ่อ เจ้าอาวาส และพระเจ้าหน้าที่ ๒. ต้องกล่าวค�ำลาสิกขาให้ได้… (ให้ลาสิกขา หลังจากฉันเช้าเสร็จ ที่เวลา ๙.๓๐ นาฬิกา) ๓. ซักผ้าถลกบาตร, ผ้าไตร, ผ้าบริขารและส่งคืนเจ้าหน้าที่คลัง ตรวจสอบ ๔. เมือ่ ลาสิกขาแล้ว ต้องพักอยูท่ วี่ ดั ๑ คืน ทีห่ อ้ งใต้ดนิ ธรรมะศาลา เท่านั้น
หมายเหตุ : * ห้ามฝากบุคคลอื่น คืนผ้าไตร+บริขาร และ กุฏทิ ี่พักเด็ดขาด * ถ้าไม่เก็บผ้าบริขาร และไม่ท�ำความสะอาดกุฏิ ไม่เรียบร้อย ทางวัดจะโทรให้ พ่อ-แม่ ผูป้ กครองมาท�ำความสะอาดกุฏแิ ละ ซักผ้าบริขารแทนพระที่ลาสิกขา 2
ค�ำบูชาพระรัตนตรัย นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะฯ (กล่าว ๓ หน) อิตปิ โิ ส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน, สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปสั สิโก, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติฯ สุปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชปุ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย,ปาหุเนยโย, ทักขิเณยโย, อัญชะลีกะระณีโย, อนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ
3
วิธีบรรพชาอุปสมบท ขั้นตอนและบทที่ต้องท่องจ�ำ ใช้ในพิธีบวชแบบมหานิกาย (อุกาสะ) ผู้อุปสมบทประนมมือกราบบิดามารดา แล้วรับผ้าไตรจากบิดามารดา แล้วเข้าสู่สงั ฆนิบาต วางผ้าไตรไว้ด้านซ้าย ถวายเครื่องสักการะแด่พระอุปัชฌาย์ แล้วกราบด้วยเบญจางค์ประดิษฐ์ ๓ ครั้ง ต่อจากนั้นนาคอุ้มผ้ายืนขึ้น พึงตั้งใจ กล่าวค�ำขอขมาโทษและค�ำขอบรรพชา
ค�ำขอขมาโทษ อุกาสะ วันทามิ ภันเต, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต, มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง, สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง, สาธุ สาธุ อนุโมทามิ, อุกาสะ การุญญัง กัตวา, ปัพพัชชัง เทถะ เม ภันเต ฯ ขอโอกาส ข้าพเจ้าขอไหว้ขอรับ ท่านขอรับ ขอท่านจงยกโทษทั้งปวง แก่ข้าพเจ้า บุญที่ข้าพเจ้ากระท�ำแล้ว ใต้เท้าพึงอนุโมทนา บุญที่ใต้เท้ากระท�ำแล้ว พึงให้แก่ขา้ พเจ้า ขอจงส�ำเร็จ ขอจงส�ำเร็จ ข้าพเจ้าขออนุโมทนา ขอโอกาส ขอท่าน กระท�ำความกรุณาแล้ว จงให้การบรรพชา แก่ข้าพเจ้าเถิด ขอรับ (นั่งคุกเข่าลงแล้วประนมมือว่าดังนี้) 4
ค�ำขอบรรพชา อะหัง ภันเต, ปัพพัชชัง ยาจามิ, ท่านขอรับ ข้าพเจ้าขอการบรรพชา ทุติยัมปิ อะหัง ภันเต, ปัพพัชชัง ยาจามิ, ท่านขอรับ ข้าพเจ้าขอการบรรพชา แม้ครั้งที่สอง ตะติยัมปิ อะหัง ภันเต, ปัพพัชชัง ยาจามิ, ท่านขอรับ ข้าพเจ้าขอการบรรพชา แม้ครั้งที่สาม สั พ พะทุ ก ขะ , นิสสะระณะนิพ พานะ , สั จ ฉิ ก ะระณั ต ถายะ , อิมัง กาสาวัง คะเหตวา , ปัพพาเชถะ มัง ภันเต, อะนุกัมปัง อุปาทายะฯ (กล่าว ๓ หน) ขอท่านโปรดเอ็นดูรับผ้ากาสาวะนี้แล้ว จงให้ข้าพเจ้าบรรพชาเถิดขอรับ เพื่อกระท�ำให้แจ้งพระนิพพาน เป็นเครื่องสลัดทุกข์ท้งั ปวง
จบตรงนีแ้ ล้ว นาคพร้อมน้อมถวายผ้าไตรจีวรแด่พระอุปชั ฌาย์ จากนัน้ กล่าว ต่อไปว่า สั พ พะทุ ก ขะ , นิ ส สะระณะ นิ พ พานะ, สั จ ฉิ ก ะระณั ต ถายะ, เอตัง กาสาวัง ทัตวา ปัพพาเชถะ มัง ภันเต, อะนุกัมปัง อุปาทายะ ฯ (กล่าว ๓ หน) 5
6
นั่ ง พั บ เพี ย บประนมมื อ ฟั ง พระอุ ป ั ช ฌาย์ ใ ห้ โ อวาทและบอก ตะจะปัญจะกะ กัมมัฎฐาน แล้วให้วา่ ตามไปทีล่ ะบท โดยอนุโลม(ไปข้างหน้า) และ ปฏิโลม (ทวนกลับ) ดังนี้ เกสา โลมา นะขา ทันตา ตะโจ (อนุโลม) ตะโจ ทันตา นะขา โลมา เกสา (ปฏิโลม) พระอุปัชฌาย์เอาผ้าอังสะออกจากไตรมาสวมให้ผู้บวช แล้วคล้องบ่าให้ แล้วให้ไปครองผ้าไตรจีวรเรียบร้อย ครั้นเสร็จแล้วรับเครื่องไทยทาน เข้าไปหา พระอาจารย์ ถวายท่านแล้วกราบ ๓ ครัง้ ยืนประนมมือเปล่งวาจาขอ สรณะและศีล ดังนี้
7
ค�ำขอสะระณะสีลัง อุกาสะ วันทามิ ภันเต, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต, มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตพ ั พัง, สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง, สาธุ สาธุ อนุโมทามิ, อุกาสะ การุญญัง กัตวา, ติสะระเณนะ สะหะ, สีลานิ เทถะ เม ภันเต ฯ ขอโอกาส ข้าพเจ้าขอไหว้ขอรับ ท่านขอรับ ขอท่านจงยกโทษทั้งปวงแก่ ข้าพเจ้า บุญที่ข้าพเจ้ากระท�ำแล้ว ใต้เท้าพึงอนุโมทนา บุญที่ใต้เท้ากระท�ำแล้ว พึงให้แก่ขา้ พเจ้า ขอจงส�ำเร็จ ขอจงส�ำเร็จ ข้าพเจ้าขออนุโมทนา ขอโอกาส ขอท่าน กระท�ำความกรุณาแล้ว จงให้ศลี ทั้งหลายพร้อมสรณะ ๓ แก่ข้าพเจ้าเถิด อะหัง ภันเต สะระณะสีลัง ยาจามิ ท่านขอรับข้าพเจ้าขอสรณะ และศีล ทุติยัมปิ อะหัง ภันเต สะระณะสีลัง ยาจามิ ท่านขอรับ ข้าพเจ้าขอสรณะ และศีล แม้ครั้งที่สอง ตะติยัมปิ อะหัง ภันเต สะระณะสีลัง ยาจามิ ท่านขอรับ ข้าพเจ้าขอสรณะ และศีล แม้ครั้งที่สาม เมื่อกล่าวค�ำขอไตรสรณคมน์และศีลจบแล้ว ต่อจากนั้นพึงตั้งใจว่าตาม พระอาจารย์กล่าวน�ำ นะโม ๓ จบ แล้วนาคว่าตาม ดังนี้
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (กล่าว ๓ หน) ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น 8
พระอาจารย์ว่า... ยะมะหัง วะทามิ ตัง วะเทหิ นาคกล่าวรับค�ำว่า... อามะ ภันเต
เราว่าค�ำใด เธอจงว่าตามค�ำนั้น ขอรับกระผม
พระอาจารย์พงึ ให้สรณคมน์ นาคพึงว่าตามทีละตอน ดังนี้ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ข้าพเจ้าขอถึงพระธรรมเป็นสรณะ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์เป็นสรณะ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ข้าพเจ้าขอถือพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ
ครั้งที่สอง
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ข้ า พเจ้ า ขอถึ ง พระธรรมเป็ น สรณะ
ครั้งที่สอง
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ข้ า พเจ้ า ขอถึ ง พระสงฆ์ เ ป็ น สรณะ
ครั้งที่สอง
9
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
พระอาจารย์วา่ ... ติสะระณะคะมะนัง นิฏฐิตงั นาคกล่าวรับค�ำว่า... อามะ ภันเต
ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ ครั้งที่สาม ข้ า พเจ้ า ขอถึ ง พระธรรมเป็ น สรณะ ครั้งที่สาม ข้ า พเจ้ า ขอถึ ง พระสงฆ์ เ ป็ น สรณะ ครั้งที่สาม
ไตรสรณคมน์จบแล้ว ขอรับกระผม
เมื่อสามเณรได้รับสรณคมน์จบแล้ว จะต้องตั้งใจสมาทานรักษาศีล ๑๐ ประการต่อไป พระอาจารย์พงึ กล่าวน�ำให้สามเณรกล่าวสมาทานศีล ๑๐ ประการ โดยกล่าวน�ำและกล่าวสมาทานตามไปเป็นตอน ๆ ดังนี้
10
ศีล ๑๐ ปาณาติปาตา เวระมณี เว้นจากการฆ่าสัตว์ อะทินนาทานา เวระมณี เว้นจากการลักทรัพย์ อะพรัหมะจะริยา เวระมณี เว้นจากความประพฤติมใิ ช่พรหมจรรย์ มุสาวาทา เวระมณี เว้นจากการพูดเท็จ สุราเมระยะมัชชะ ปะมาทัฏฐานา งดเว้นจากการดืม่ น�ำ้ เมาคือสุราและเมรัยอัน เวระมณี ที่ตั้งแห่งความประมาท วิกาละโภชะนา เวระมณี เว้นจากการบริโภคอาหาร ในเวลาวิกาล (เวลาเที่ยงวันจนถึงอรุณขึ้น) นัจจะคีตะวา ทิตะวิสู กะทัสสะนา เว้นจากการฟ้อน การขับ การประโคมและ เวระมณี การดูการเล่นอันเป็นข้าศึกแก่กุศล มาลาคันธะ วิเลปะนะ ธาระณะ เว้นจากการทัดทรงประดับตกแต่งร่างกาย มัณฑะณะ วิภูสะนัฏฐานา เวระมณี ด้วยระเบียบดอกไม้และเครื่องลูบไล้ อุจจะสะยะนะ มะหาสะยะนา เว้นจากการนัง่ การนอนบนทีน่ งั่ ทีน่ อนใหญ่ เวระมณี ชาตะรูปะระชะตะ ปฏิคคะหะณา เว้นจากการรับทองและเงิน เวระมณี พระอาจารย์พงึ ว่าบทสรุป สามเณรว่าตาม ๓ จบ ดังต่อไปนี้ อิมานิ ทะสะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิ ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท ทั้ง ๑๐ ข้อนี้ (กล่าว ๓ หน) 11
เมื่อสามเณรกล่าวบทสรุปศีลจบแล้ว พึงกราบพระอาจารย์ ๑ ครั้ง แล้วยืนขึ้นประนมมือ กล่าวขอขมาโทษ ดังนี้ วันทามิ ภันเต สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต, มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง, สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง ข้าพเจ้าขอไหว้ ขอรับ ท่านขอรับ ขอท่านจงยกโทษทั้งปวงแก่ข้าพเจ้า บุญที่ข้าพเจ้ากระท�ำแล้วใต้เท้าพึงอนุโมทนา บุญที่ใต้เท้ากระท�ำแล้วพึงให้แก่ ข้าพเจ้า ขอจงส�ำเร็จ ขอจงส�ำเร็จ ข้าพเจ้า ขออนุโมทนา เมื่อสามเณรกล่าวค�ำขอขมาโทษจบแล้ว พึงกราบพระอาจารย์ ๓ ครั้ง แล้วรับบาตรอุ้มเข้าไปหาพระอุปัชฌาย์ในสังฆสันนิบาต วางไว้ข้างตัวด้านซ้าย รับเครื่องสักการะถวายท่าน แล้วกราบ ๓ ครั้งแล้วยืนขึ้นประนมมือกล่าว ดังนี้
12
ค�ำขอนิสัย
อุกาสะ วันทามิ ภันเต, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต, มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง, สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง, สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ ,อุกาสะ การุญญัง กัตวา, นิสสะยัง เทถะ เม ภันเต ฯ ขอโอกาส ข้าพเจ้าขอไหว้ขอรับ ท่านขอรับ ขอท่านจงยกโทษทั้งปวงแก่ ข้าพเจ้า บุญที่ข้าพเจ้ากระท�ำแล้ว ใต้เท้าพึงอนุโมทนา บุญที่ใต้เท้ากระท�ำแล้ว พึงให้แก่ข้าพเจ้า ขอจงส�ำเร็จ ขอจงส�ำเร็จ ข้าพเจ้าขออนุโมทนา ขอโอกาส ขอท่านกระท�ำความกรุณาแล้ว ขอจงให้นสิ ัยแก่ข้าพเจ้าเถิด ขอรับ (นั่งคุกเข่าประนมมือ แล้วกล่าวค�ำขอนิสัย ดังนี้) อะหัง ภันเต, นิสสะยัง ยาจามิ ทุติยัมปิ อะหัง ภันเต, นิสสะยัง ยาจามิ ตะติยัมปิ อะหัง ภันเต, นิสสะยัง ยาจามิ อุปัชฌาโย เม ภันเต โหหิ (กล่าว ๓ หน) 13
ท่านขอรับ ข้าพเจ้าขอนิสัย ท่านขอรับ ข้าพเจ้าขอนิสัย แม้ครั้งที่สอง ท่านขอรับ ข้าพเจ้าขอนิสัย แม้ครั้งที่สาม ขอท่านจงเป็นพระอุปัชฌาย์ ของข้าพเจ้าขอรับ
14
พระอุปชั ฌาย์กล่าวว่า ปะฏิรปู งั (สมควร) , โอปายิกงั (ชอบด้วยอุบาย) , ปาสาทิเกนะ สัมปาเทหิ (เธอจงยังสัมมาปฏิบัติให้ถึงพร้อมด้วยอาการที่น่า เลื่อมใส) สามเณรพึงกล่าวรับว่า อุกาสะ สัมปะฏิจฉามิ (ขอโอกาส ข้าพเจ้า ขอน้อมรับ) ทุกบทไป แต่นั้นสามเณรพึงกล่าวค�ำรับเป็นภารธุระของกันและกัน สืบต่อไป ดังนี้ อัชชะตัคเคทานิ เถโร, มัยหัง ภาโร, อะหัมปิ เถรัสสะ ภาโร (ว่า ๓ หน) ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป พระเถระเป็นภาระของข้าพเจ้า แม้ข้าพเจ้าก็เป็น ภาระของพระเถระ ล�ำดับนั้น พระอุปัชฌาย์แนะน�ำสามเณรให้เข้าใจความหมายในการขอ นิสัย น�ำบาตรมีสายคล้องตัวสามเณร และบอกสมณบริขารแต่สามเณรสืบต่อไป สามเณรพึงรับว่า อามะ ภันเต ๔ หน ดังนี้ พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า สามเณรพึงกล่าวรับว่า ๑. อะยันเต ปัตโต อามะ ภันเต นี้บาตรของเจ้า ขอรับกระผม ๒. อะยัง สังฆาฏิ อามะ ภันเต นี้ผ้าทาบ ขอรับกระผม ๓. อะยัง อุตตะราสังโค อามะ ภันเต นี้ผ้าห่ม ขอรับกระผม ๔. อะยัง อันตะระวาสะโก อามะ ภันเต นี้ผ้านุ่ง ขอรับกระผม 15
พระอุปชั ฌาย์บอกให้ออกไปข้างนอกว่า คัจฉะ อะมุมหิ โอกาเส ติฏฐาหิ (เธอจงไปยืน ณ โอกาสโน้น พึงถอยออกไปยืนในที่ที่ก�ำหนดไว้ คือหน้าประตู อุโบสถ) พระกรรมวาจาจารย์ สวดสมมติตนเป็นผู้สอนซ้อม แล้วออกไปสวดถาม อันตรายิกธรรม พึงรับว่า นัตถิ ภันเต ๕ หน อามะ ภันเต ๘ หน พระกรรมวาจาจารย์ถาม ๑. กุฎฐัง โรคเรื้อน ๒. คัณโฑ โรคฝี ๓. กิลาโส โรคกลาก ๔. โสโส โรคมองคร่อ ๕. อะปะมาโร โรคลมบ้าหมู
สามเณรพึงรับว่า นัตถิ ภันเต ไม่มี ขอรับ นัตถิ ภันเต ไม่มี ขอรับ นัตถิ ภันเต ไม่มี ขอรับ นัตถิ ภันเต ไม่มี ขอรับ นัตถิ ภันเต ไม่มี ขอรับ
๑. มะนุสโสสิ๊ เธอเป็นมนุษย์หรือ อามะ ภันเต ขอรับกระผม ๒. ปุริโสสิ๊ เป็นชายหรือ อามะ ภันเต ขอรับกระผม ๓. ภุชิสโสสิ๊ เป็นไทหรือ อามะ ภันเต ขอรับกระผม ๔. อะนะโณสิ๊ ไม่มีหนี้สินหรือ อามะ ภันเต ขอรับกระผม ๕. นะสิ๊ ราชะภะโฏ มิใช่ราชภัฏ(ข้าราชการ)หรือ อามะ ภันเต ขอรับกระผม ๖. อะนุญญาโตสิ๊ บิดามารดาอนุญาต อามะ ภันเต ขอรับกระผม มาตาปิตูหิ แล้วหรือ ๗. ปะริปุณณะ มีอายุครบ ๒๐ ปี อามะ ภันเต ขอรับกระผม วีสะติวัสโสสิ ๊ แล้วหรือ ๘. ปะริปุณณันเต บาตรจีวรของเธอมีครบ อามะ ภันเต ขอรับกระผม ปัตตะจีวะรัง แล้วหรือ 16
๑. กินนาโมสิ เธอชื่ออะไร ๒. โก นาม เต อุปัชฌาโย พระอุปัชฌาย์ของเธอชื่ออะไร
อะหัง ภันเต (ชือ่ เรา) ........................นามะ ข้าพเจ้าชื่อ..........................................ขอรับ อุปชั ฌาโย เม ภันเต อายัสมา ..........นามะ พระอุปชั ฌาย์ของข้าพเจ้าชือ่ ว่า...........ขอรับ
ช่องที่(ข้อที่ ๑.).......................ไว้ พระอุปัชฌาย์หรืออาจารย์ท่านจะตั้งชื่อ ของอุปสัมเปกขะ กรอกลงช่องไว้กอ่ นวันบวช และช่องที่ (ข้อที่ ๒.).......................... ไว้ในช่องชื่อของพระอุปัชฌาย์ ก็เช่นเดียวกัน ให้กรอกตามชื่อของพระอุปัชฌาย์ ซึ่งท่านจะบอกและกรอกให้ไว้ก่อนวันบวช ครัน้ สวดสอนซ้อมแล้วพระกรรมวาจาจารย์พงึ กลับเข้าไป ณ ทีป่ ระชุมสงฆ์ นั่งคุกเข่ากราบพระรัตนตรัย ๑ ครั้ง แล้วนั่งพับเพียบประนมมือสวดขอเรียก อุปสัมปทาเปกข์พึงเข้ามาในสังฆสันนิบาต พึงกราบลงตรงหน้าพระอุปัชฌาย์ ๓ ครั้ง แล้วนั่งคุกเข่าประนมมือ เปล่งวาจาขออุปสมบทว่าดังนี้
17
ค�ำขออุปสมบท สั ง ฆั ม ภั น เต, อุ ป ะสั ม ปะทั ง ยาจามิ , อุ ล ลุ ม ปะตุ มั ง ภั น เต, สังโฆ อะนุกัมปัง อุปาทายะ, ทุติยัมปิ ภันเต, สังฆัง อุปะสัมปะทัง ยาจามิ, อุลลุมปะตุ มัง ภันเต สังโฆ อะนุกัมปัง อุปาทายะ, ตะติยัมปิ ภันเต, สังฆัง อุปะสัมปะทัง ยาจามิ,อุลลุมปะตุ มัง ภันเต, สังโฆ อะนุกัมปัง อุปาทายะฯ ข้าพเจ้าขออุปสมบทกะสงฆ์ขอรับ ขอสงฆ์โปรดเอ็นดูยกข้าพเจ้าขึน้ เถิด ข้าพเจ้าขออุปสมบทกะสงฆ์ เป็นครัง้ ทีส่ อง ขอสงฆ์โปรดเอ็นดู ยกข้าพเจ้าขึน้ เถิด ข้าพเจ้าขออุปสมบทกะสงฆ์ เป็นครัง้ ทีส่ าม ขอสงฆ์โปรดเอ็นดู ยกข้าพเจ้าขึน้ เถิด
ในล�ำดับนั้น พระอุปัชฌายะกล่าวเผดียงสงฆ์แล้ว และพระอาจารย์สวด สมมุติตน ถามอันตรายิกธรรม อุปสัมปทาเปกขะ พึงรับว่า นัตถิ ภันเต ๕ หน อามะ ภันเต ๘ หน ตอบชื่อตนและชื่ออุปัชฌายะ รวม ๒ หน โดยนัยหนหลัง แต่นั้นพึงนั่งฟังท่านสวดกรรมวาจาอุปสมบทไปจนจบ ครั้นจบแล้วท่านเอาบาตรออกจากตัวแล้วพึงกราบ ๓ หน นั่งพับเพียบ ประนมมือฟัง พระอุปัชฌายะบอกอนุศาสน์ ไปจนจบแล้วรับว่า อามะ ภันเต แล้วกราบ ๓ หน ถวายไทยทาน แล้วคอยฟัง ท่านอนุโมทนาต่อไป เมื่อท่าน อนุโมทนาพึงกรวดน�้ำตั้งใจอุทิศบุญกุศลแก่ท่านผู้มีพระคุณ เมื่อพระว่า ยะถา จบก็เทน�้ำโกรกลงให้หมดต่อนั้นประนมมือฟังอนุโมทนาไปจนจบ (จบวิธีบรรพชาอุปสมบทแบบอุกาสะ) 18
ค�ำพินทุกัปปะ “อิมัง พินทุกัปปัง กะโรมิ” (ว่า ๓ หน) พร้อมกับวาดดวงกลมเล็กๆ
ค�ำอธิษฐานบริขาร ค�ำอธิษฐานบริขารสิ่งเดียว ในหัตบาต (ว่า ๓ หน ) บาตร อิมัง ปัตตัง อะธิฏฐามิ สังฆาฏิ อิมัง สังฆาฏิง อะธิฏฐามิ อุตตราสงค์ (จีวร) อิมัง อุตตะราสังคัง อะธิฏฐามิ อันตรวาสก (สบง) อิมัง อันตะระวาสะกัง อะธิฏฐามิ นิสีทนะ (ผ้าปูน่งั ) อิมัง นิสีทะนัง อะธิฏฐามิ ผ้าอาบน�้ำฝน อิมัง วัสสิกะสาฏิกัง อะธิฏฐามิ ผ้าปูนอน อิมัง ปัจจัตถะระณัง อะธิฏฐามิ ผ้าเช็ดหน้า เช็ดปาก อิมัง มุขะปุณฉะนะโจลัง อะธิฏฐามิ ผ้าบริขาร อิมัง ปะริกขาระโจลัง อะธิฏฐามิ ค�ำอธิษฐานบริขารหลายสิ่งในหัตบาต(ว่า ๓ หน) ผ้าปูนอน อิมานิ ปัจัตถะระณานิ อะธิฏฐามิ ผ้าเช็ดหน้า เช็ดปาก อิมานิ มุขะปุณฉะนะโจลานิ อะธิฏฐามิ ผ้าบริขาร อิมานิ ปะริกขาระโจลานิ อะธิฏฐามิ เมื่อจะอธิษฐาน ถ้าเป็นบริขารที่ก�ำหนดให้มีแต่สิ่งเดียวของเดิมมีอยู่จะ เปลี่ยนใหม่ต้องเลิกของเดิมเสียก่อน ยกเลิกบริขารเดิม เรียกว่า ปัจจุทธรณ์ หรือ ถอนอธิษฐาน มีแบบวางไว้ แสดงผ้าสังฆาฏิ เป็นตัวอย่างว่า “อิมัง สังฆาฏิง ปัจจุทธะรามิ” 19
ค�ำแสดงอาบัติ ภิกษุผู้อ่อนพรรษากว่าแสดงอาบัติ พึงกล่าวดังนี้ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ( ว่า ๓ จบ ) กระผมขอรวบรวมอาบัตทิ งั้ หลายทัง้ ปวง ทีส่ มควรเทศนามาแสดงต่อท่าน ถ้าหากกระผมล่วงเกินในสิกขาบทเหล่าใด ก็ขอแสดงในสิกขาบทเหล่านัน้ ถ้าไม่ได้ ล่วงเกินก็เป็นอันว่าไม่ได้แสดง อะหัง ภันเต สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย ถุลลัจจะยาโย๑ อาปัตติโย อาปันโน ตา ปะฏิเทเสมิ. แน่ะคุณ ผมต้องอาบัติถุลลัจจัยหลายเรื่อง มีจ�ำนวนมากหลาย ผมขอ แสดงอาบัตถิ ุลลัจจัยทั้งหลายเหล่านั้น
ผู้รับถามว่า ผู้แสดงตอบว่า ผู้รับถามว่า ผู้แสดงตอบว่า
ปัสสะสิ อาวุโส (ท่านเห็นหรือ) อามะ ภันเต ปัสสามิ (ผมเห็น) อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ (ท่านพึงส�ำรวมต่อไป) สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ. (ว่า ๓ หน) (ดีล่ะ ผมจะส�ำรวมอย่างดี)
20
ถ้าผู้แก่พรรษากว่าแสดงอาบัติ พึงกล่าวดังนี้ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ( ว่า ๓ จบ ) กระผมขอรวบรวมอาบัตทิ งั้ หลายทัง้ ปวง ทีส่ มควรเทศนามาแสดงต่อท่าน ถ้าหากกระผมล่วงเกินในสิกขาบทเหล่าใด ก็ขอแสดงในสิกขาบทเหล่านัน้ ถ้าไม่ได้ ล่วงเกินก็เป็นอันว่าไม่ได้แสดง อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย ถุลลัจจะยาโย๑ อาปัตติโย อาปันโน ตา ปะฏิเทเสมิ. แน่ะคุณ ผมต้องอาบัติถุลลัจจัยหลายเรื่อง มีจ�ำนวนมากหลาย ผมขอ แสดงอาบัตถิ ุลลัจจัยทั้งหลายเหล่านั้น
ผู้รับถามว่า ผู้แสดงตอบว่า ผู้รับถามว่า ผู้แสดงตอบว่า หมายเหตุ
ปัสสะถะ ภันเต (ท่านเห็นหรือ) อามะ อาวุโส ปัสสามิ (ผมเห็น) อายะติง ภันเต สังวะเรยยาถะ (ท่านพึงส�ำรวมต่อไป) สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ. (ว่า ๓ หน) (ดีล่ะ ผมจะส�ำรวมอย่างดี)
แสดงครั้งที่สอง น�ำค�ำว่า ปาจิตติยาโย แทนค�ำว่า ถุลลัจจะยาโย แสดงครั้งที่สาม ทุกกะฏาโย แทนค�ำว่า ปาจิตติยาโย แสดงครั้งที่สี่ ทุพภาสิตาโย แทนค�ำว่า ทุกกะฏาโย ( ค�ำว่า นานาวัตถุกาโย ไม่กล่าว) 21
อนุโมทนารัมภคาถา ยะถา วาริวะหา ปูรา ปะริปูเรนติ สาคะรัง ห้วงน�้ำที่เต็มย่อมยังสมุทรสาครให้เต็มได้ฉันใด เอวะเมวะ อิโต ทินนัง เปตานัง อุปะกัปปะติ ทานทีท่ า่ นอุทศิ ให้แล้วในวันนี,้ ย่อมส�ำเร็จประโยชน์แก่ทา่ นและผูท้ ลี่ ะโลกนีไ้ ปแล้วได้ ฉันนัน้ อิจฉิตัง ปัตถิตัง ตุมหัง ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ ขออิฏฐผลที่ท่านปรารถนาแล้ว ตั้งใจแล้ว ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ
จงส�ำเร็จโดยฉับพลัน
สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา
ขอความด�ำริทั้งปวงจงเต็มที่
จันโท ปัณณะระโส ยะถา
เหมือนพระจันทร์วันเพ็ญ
มะณิ โชติระโส ยะถา
เหมือนแก้วมณีอันสว่างไสวควรยินดี
22
สามัญญานุโมทนาคาถา สัพพีติโย วิวัชชันตุ
ความจัญไรทั้งปวงจงบ�ำราศไป
สัพพะโรโค วินัสสะตุ
โรคทั้งปวงของท่านจงหาย
มา เต ภะวัตวันตะราโย
อันตรายอย่ามีแก่ท่าน
สุขี ทีฆายุโก ภะวะ
ท่านจงเป็นผู้มคี วามสุข มีอายุยืน
อะภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง ธรรมสี่ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ย่อมเจริญแก่ บุคคลผู้มีปกติ ไหว้กราบ, มีปกติอ่อนน้อมเป็นนิตย์
ภะวะตุสัพ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง ขอสรรพมงคล จงมีแก่ท่าน รักขันตุ สัพพะเทวะตา ขอเหล่าเทวดาและกุศลทัง้ ปวงทีท่ า่ นท�ำ จงรักษาท่าน สัพพะพุทธานุภาเวนะ ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง สัพพะธัมมานุภาเวนะ ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมทั้งปวง สัพพะสังฆานุภาเวนะ ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ท้งั ปวง สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อเทอญ 23
ขั้นตอนการลาสิกขา
๑. ห่มผ้าเฉลียงบ่า พาดสังฆาฏิ นั่งคุกเข่า (กราบเบญจางคประดิษฐ์ ๓ ครั้ง ) ๒. ยกเครื่องสักการะ ประนมมือกล่าวค�ำขอขมาดังนี้
ค�ำขอขมาโทษ ผู้ขอมาหลายคน (ผู้ขอ) “เถเร ปะมาเทนะ ทะวารัตตะเยนะกะตัง, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถุ โน ภันเต” (ว่า ๓ หน) (ผู้รับ) “อะหัง ขะมามิ ตุมเหหิปี เม ขะมิตัพพัง” (ผู้ขอ) “ขะมามะ ภันเต” ผู้ขอมาคนเดียว (ผู้ขอ) “เถเร ปะมาเทนะ ทะวารัตตะเยนะกะตัง, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ เม ภันเต” (ว่า ๓ หน) (ผู้รับ) “อะหัง ขะมามิ ตะยาปี เม ขะมิตัพพัง” (ผู้ขอ) “ขะมามิ ภันเต” ถ้าผู้รับขมาเป็นพระมหาเถระผู้มีอาวุโสมาก พึงใช้ค�ำว่า “มหาเถเร” ถ้าเป็นพระอุปัชฌายะ พึงว่า “อุปัชฌาเย” รองจากนั้นลงมาว่า “เถเร” รองลง มาอีกว่า “อาจาริเย” ต�่ำกว่านั้นว่า “อายัสมันเต” พึงเลือกใช้ค�ำให้เหมาะสม กับฐานะของผู้รบั ขมา 24
เป็นธรรมเนียมที่ผู้รับขมาต้องกล่าวค�ำให้พร ฉะนั้นเมื่อขอขมาและถวาย เครือ่ งสักการะแล้ว พึงหมอบรอรับพรจากท่าน เมือ่ ท่านให้พรจบรับว่า “สาธุ ภันเต”
๓. กล่าวค�ำลาสิกขา ดังนี้ “สิกขัง ปัจจักขามิ , คิหีติมัง ธาเรถะ” “ข้าพเจ้าลาสิกขา ขอพระอาจารย์จงจ�ำข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นคฤหัสถ์”
๔. นุ่งห่มผ้าคฤหัสถ์เรียบร้อยแล้ว กราบเบญจางคประดิษฐ์ ๓ ครั้ง กล่าวค�ำอาราธนาศีล ๕
กล่าวค�ำอาราธนาศีล ๕ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธะสะ (ว่า 3 จบ) มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
๕.ฟังโอวาทพระอาจารย์ และอนุโมทนาต่อไปจนจบ 25
กิจวัตรประจ�ำวัน ๐๒.๔๕ น. ๐๓.๑๕ น. ๐๔.๐๐ น. ๐๕.๐๐ น. ๐๕.๔๕ น. ๐๗.๓๐ น ๐๘.๐๐ น. ๑๐.๐๐ น. ๑๓.๔๕ น. ๑๔.๐๐ น. ๑๕.๐๐ น. ๑๖.๐๐ น. ๑๗.๐๐ น. ๑๗.๔๕ น. ๑๘.๑๕ น. ๑๙.๐๐ น. ๒๐.๐๐ น.
สัญญาณระฆัง ท�ำวัตรสวดมนต์เช้า นั่งสมาธิ กวาด, เช็ด, ถู, ธรรมศาลาและหอฉัน ออกบิณฑบาต นั่งสมาธิก่อนอนุโมทนา ณ ธรรมศาลา อนุโมทนา, รับภัตตาหาร ท�ำความเพียรส่วนตัว สัญญาณระฆัง นั่งสมาธิ ท�ำความสะอาดศาลา, ห้องน�้ำ, ลานวัด ฉันน�้ำปานะ ท�ำความเพียรส่วนตัว สัญญาณระฆัง ท�ำวัตรสวดมนต์เย็น นั่งสมาธิ ท�ำความเพียรส่วนตัว
หมายเหตุ วันโกน ซัก ย้อม ผ้าบริขารไตรจีวร (อบสมุนไพร) กิจวัตรอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม 26
ค�ำแปลภิกขุปาฏิโมกข์ (โดยย่อ) ๑. ปาราชิกกัณฑ์ อาบัติหนักที่ภิกษุต้องแล้วขาดจากความเป็นภิกษุ ๑. เสพเมถุน ๓. ฆ่ามนุษย์ให้ตาย ๒. ลักขโมย ๔. อวดคุณวิเศษที่ไม่มีในตน ๒. สังฆาทิเสสกันฑ์ อาบัติหนักที่ต้องอาศัยสงฆ์ในการระงับโทษ ๑. ท�ำน�ำ้ ให้อสุจใิ ห้เคลื่อน ๘. โจทอาบัติปาราชิกไม่มมี ูล ๒. มีจิตก�ำหนัดจับต้องกายหญิง ๙. อ้างเลสโจทอาบัติปาราชิก ๓. มีจิตก�ำหนัดพูดเกี้ยวหญิง ๑๐. ท�ำสงฆ์ให้แตกกัน ๔. พูดให้หญิงบ�ำเรอตนด้วยกาม ๑๑. เป็นพวกของผู้ท�ำสงฆ์ให้แตก ๕. ชักสื่อชายหญิง ๑๒. เป็นผู้ว่ายากสอนยาก ๖. สร้างกุฎีด้วยการขอใหญ่เกิน ๑๓. ประทุษร้ายสกุล(ประจบคฤหัสถ์) ๗. สร้างวิหาร ไม่ได้ให้สงฆ์แสดงที่ ๓. อนิยตกัณฑ์ อาบัติอันไม่แน่ใจว่าจะควรปรับข้อไหน ๑. ภิกษุรูปหนึ่งนั่งที่ลับคืออาสนะก�ำบังกับหญิงคนหนึ่ง ๒. ภิกษุรูปหนึ่งนั่งในอาสนะกึ่งก�ำบังกับหญิงคนหนึ่ง ๔. นิสสัคคิยกัณฑ์ อาบัติปาจิตตีย์ ที่ต้องสละสิ่งของ จีวรวรรค ว่าด้วยจีวร ๑. กฐินเดาะแล้วเก็บอติเรกจีวรไว้เกิน ๑๐ วัน ๒. กฐินเดาะแล้วอยู่ปราศจากไตรจีวรแม้คนื หนึ่ง ๓. กฐินเดาะแล้วเก็บอกาลจีวรไว้เกิน ๑ เดือน ๔. ใช้นางภิกษุณีให้ซกั ย้อม ทุบจีวรเก่า ๕. รับจีวรจากมือของนางภิกษุณี ที่มิใช่ญาติ 27
๖. ขอจีวรต่อคฤหัสถ์ ที่มิใช่ญาติ ๗. มีผู้ปวารณาจีวรไว้มากภิกษุรับไว้เกินจ�ำนวน ๘. เข้าไปหาก�ำหนดชนิดจีวร ต่อผู้ท่จี ะถวายจีวร ๙. เข้าไปหาผู้ถวายจีวร ๒ รายให้รวมกันหาจีวรที่ดี ๑๐. การทวงจีวรไวยาวัจกรเกินประมาณ โกสิยวรรค ว่าด้วยไหม ๑๑. การหล่อสันถัต (เครื่องปูน่งั ) เจือด้วยไหม ๑๒. การหล่อสันถัตด้วยขนเจียมด�ำล้วน ๑๓. การหล่อสันถัตขนเจียมด�ำเกิน ๒ ใน ๔ ส่วน ๑๔. การที่สันถัตเก่าใช้ยังไม่ถงึ ๖ ปีหล่อของใหม่ ๑๕. การหล่อสันถัตไม่น�ำของเก่าปนลงในของใหม่ ๑๖. เดินทางไกลน�ำขนเจียมไปเองเกิน ๓ โยชน์ ๑๗. การใช้ภกิ ษุณีให้ซัก ย้อม สางขนเจียม ๑๘. การรับ ให้รบั เงินทอง หรือยินดีที่เขาเก็บไว้ให้ ๑๙. การท�ำการซื้อขาย ด้วยรูปิยะ (เงินตรา) ๒๐. การท�ำการแลกเปลี่ยนมีประการต่างๆ ปัตตวรรค ว่าด้วยบาตร ๒๑. เก็บอติเรกบาตรไว้เกิน ๑๐ วัน ๒๒. บาตรร้าวไม่เกิน ๕ แห่ง ให้จ่ายบาตรใหม่ ๒๓. เก็บเภสัช ๕ ไว้เกิน ๗ วัน ๒๔. หา-ท�ำผ้าอาบน�้ำฝนนอกเวลาที่ก�ำหนด ๒๕. ให้จีวรแก่ภกิ ษุอื่นแล้ว โกรธน้อยใจ ชิงคืน ๒๖. ขอด้ายมาเองให้ช่างหูกทอเป็นจีวร 28
๒๗. ให้ช่างทอจีวรดีกว่าผู้ท่จี ะถวายสั่ง ๒๘. เก็บผ้าอัจเจกจีวรไว้เกินสมัยท�ำจีวร ๒๙. อยู่ป่ามีภัยเก็บจีวรในบ้านเกิน ๖ คืน ๓๐. น้อมลาภที่จะถวายสงฆ์มาเพื่อตน ๕. ปาจิตตีย์กัณฑ์ อาบัติอันยังกุศลธรรมให้ตกไป มุสาวาทวรรค ว่าด้วยการพูดปด ๑. พูดให้คลาดเคลื่อนจากความจริง ๒. พูดเสียดแทงให้เจ็บใจ ๓. พูดส่อเสียดให้ทะเลาะกัน ๔. ใช้ให้ผู้มไิ ด้บวชกล่าวธรรมโดยบท ๕. นอนร่วมกับผู้ไม่ได้บวชเกิน ๓ คืน ๖. นอนร่วมกับผู้หญิง ๗. พูดธรรมแก่ผู้หญิงโดยไม่มผี ู้ชายเกิน ๖ ค�ำ ๘. บอกคุณวิเศษที่มีจริงแก่ผู้มไิ ด้บวช ๙. บอกอาบัติช่วั หยาบของภิกษุแก่ผู้มิได้บวช ๑๐. ขุด หรือใช้ให้ขุดดิน ภูตคามวรรค ว่าด้วยพืชพันธ์ุไม้ ๑๑. การพรากของเขียว ซึ่งอยู่กบั ที่ให้หลุดจากที่ ๑๒. การพูดเฉไปเมื่อถูกสอบสวน ๑๓. ติเตียนภิกษุผู้ท�ำการสงฆ์โดยชอบธรรม ๑๔. วางเตียงตั่งสงฆ์ในที่แจ้ง หลีกไปไม่เก็บที่ ๑๕. ปูที่นอนในวิหารสงฆ์ หลีกไปไม่เก็บที่ ๑๖. นอนแทรกภิกษุผู้เข้าไปอยู่ก่อนในวิหารสงฆ์
29
๑๗. การฉุดคร่าภิกษุออกจากวิหารของสงฆ์ ๑๘. นั่งนอนทับเตียงตั่งที่อยู่บนร้านในวิหารสงฆ์ ๑๙. การพอกหลังคาวิหารเกิน ๓ ชั้น ๒๐. การรดน�้ำที่มีตัวสัตว์ลงบนหญ้าหรือดิน โอวาทวรรค ว่าด้วยการพูดปด ๒๑. สอนนางภิกษุณีโดยมิได้รบั มอบหมาย ๒๒. สอนนางภิกษุณีตั้งแต่อาทิตย์ตกแล้ว ๒๓. ไปสอนนางภิกษุณีถึงที่อยู่ ๒๔. ติเตียนภิกษุว่าสอนภิกษุณีเพราะเห็นแก่ลาภ ๒๕. ให้จีวรแก่นางภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ๒๖. เย็บจีวรแก่นางภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ ๒๗. ชักชวนเดินทางไกลร่วมกับนางภิกษุณี ๒๘. ชักชวนนางภิกษุณโี ดยสารเรือล�ำเดียวกัน ๒๙. ฉันอาหารที่นางภิกษุณีแนะน�ำให้เขาถวาย ๓๐. ภิกษุรูปเดียวนั่งในที่ลับกับนางภิกษุณีผู้เดียว โภชนวรรค ว่าด้วยการฉันอาหาร ๓๑. ฉันอาหารในโรงพักเดินทางเกิน ๑ มื้อ ๓๒. ฉันเป็นหมู่ ยกเว้นในสมัยที่ทรงอนุญาต ๓๓. รับนิมนต์แล้วไปฉันอาหารที่อื่น ๓๔. รับบิณฑบาตเกิน ๓ บาตร ๓๕. ฉันเสร็จแล้วห้ามภัตแล้วฉันของที่ไม่เป็นเดน ๓๖. พูดให้ภกิ ษุที่ห้ามภัตแล้วฉันอีก ๓๗. ฉันอาหารในเวลาวิกาล 30
๓๘. ฉันอาหารที่เก็บท�ำการสั่งสม ๓๙. ขออาหารประณีตมาเพื่อตนแล้วฉัน ๔๐. ฉันอาหารที่เขายังไม่ได้ให้ อเจลกวรรค ว่าด้วยชีเปลือย ๔๑. มอบอาหารให้นกั บวชอื่นด้วยมือตน ๔๒. ชวนภิกษุไปบิณฑบาตด้วยแล้วไล่กลับ ๔๓. นั่งแทรกแซงในที่มีเฉพาะหญิงกับชาย ๔๔. ภิกษุผู้เดียวนั่งที่ลับ คือในที่ก�ำบังกับผู้หญิง ๔๕. ภิกษุผู้เดียวนั่งในที่ลับกับผู้หญิงผู้เดียว ๔๖. รับนิมนต์แล้วไปสู่ท่อี ื่นไม่บอกลาภิกษุ ๔๗. ยินดีปวารณาเกิน ๔ เดือน เว้นแต่เขาปวารณาอีก ๔๘. ไปดูกองทัพที่ยกไป เพื่อจะรบกัน เว้นไว้แต่มเี หตุ ๔๙. เมื่อมีเหตุที่จะพักอยู่ในกองทัพพักเกิน ๓ คืน ๕๐. ไปสู่สนามรบ ที่พักพล ที่จัดขบวนทัพ สุราปานวรรค ว่าด้วยการดื่มสุรา ๕๑. ดื่มสุราและเมรัย ๕๒. จี้ด้วยนิ้วมือ ๕๓. ลงเล่นน�้ำ ๕๔. อาบัติปาจิตตีย์เพราะความไม่เอื้อเฟื้อ ๕๕. การหลอนภิกษุ ๕๖. ก่อไฟเพื่อผิง ๕๗. อาบน�ำ้ ก่อน ๑๕ วัน (ในมัชฌิมประเทศ) ๕๘. ไม่ทำ� เครื่องหมายให้เสียสีก่อนใช้ผ้าใหม่ 31
๕๙. ไม่ได้ให้เขาถอนจีวรที่วิกัปไว้ก่อนใช้ ๖๐. ซ่อนบริขารของภิกษุอื่น สัปปาณวรรค ว่าด้วยสัตว์มีชีวิต ๖๑. ฆ่าสัตว์ ๖๒. บริโภคน�้ำมีตัวสัตว์ ๖๓. รื้อฟื้นอธิกรณ์ที่ช�ำระเป็นธรรมแล้ว ๖๔. ปกปิดอาบัติชั่วหยาบของภิกษุอื่น ๖๕. อุปสมบทให้ผู้มอี ายุต�่ำกว่า ๒๐ ปี ๖๖. รู้อยู่ชกั ชวนพวกโจรเดินทางร่วมกัน ๖๗. ชวนผู้หญิงเดินทางไกลร่วมกัน ๖๘. กล่าวตู่พระธรรมวินัย ๖๙. คบภิกษุผู้กว่าวตู่พระธรรมวินัย ๗๐. คบสามเณรผู้กล่าวตู่พระธรรมวินัย สหธัมมิกวรรค การกล่าวตามธรรม ๗๑. พูดไถลเมื่อท�ำผิดแล้ว ๗๒. กล่าวติเตียนสิกขาบท ๗๓. พูดแก้ตัวว่าเพิ่งรู้ว่ามีมาในปาฏิโมกข์ ๗๔. ท�ำร้ายร่างกายภิกษุ ๗๕. เงื้อมมือจะท�ำร้ายภิกษุ ๗๖. โจทภิกษุด้วยอาบัติสังฆาทิเสสไม่มีมูล ๗๗. ก่อความร�ำคาญแก่ภกิ ษุอื่น ๗๘. แอบฟังความของภิกษุผู้ทะเลาะกัน ๗๙. มอบฉันทะแล้ว พูดติเตียนในภายหลัง 32
๘๐. ลุกไปขณะประชุม โดยไม่มอบฉันทะ ๘๑. ร่วมกับสงฆ์ให้จีวรแก่ภกิ ษุแล้ว ติเตียน ๘๒. น้อมลาภที่จะถวายสงฆ์มาเพื่อบุคคล รตนวรรค ว่าด้วยของมีค่า ๘๓. ไม่ได้รบั แจ้งก่อนเข้าไปต�ำหนักพระราชา ๘๔. เก็บของมีค่าที่ตกอยู่เว้นแต่ท่อี ยู่ในที่พัก ๘๕. เข้าบ้านในเวลาวิกาลไม่บอกลาภิกษุ เว้นแต่การด่วน ๘๖. ท�ำกล่องเข็มที่ท�ำด้วยกระดูก งา เขาสัตว์ ๘๗. ท�ำเตียงตั่งที่มีเท้าสูงเกินประมาณ ๘๘. ท�ำเตียงตั่งเป็นของหุ้มนุ่ม ๘๙. ท�ำผ้าปูน่งั ที่มีขนาดเกินประมาณ ๙๐. ท�ำผ้าปิดฝีท่มี ีขนาดเกินประมาณ ๙๑. ท�ำผ้าอาบน�้ำฝนที่มีขนาดเกินประมาณ ๙๒. ท�ำจีวรที่มีขนาดเกินประมาณ ๖. ปาฏิเทสนียกัณฑ์ ว่าด้วยอาบัติที่พึงแสดงคืน ๑. รับของฉันจากมือนางภิกษุณีมาฉัน ๒. ไม่ไล่นางภิกษุณีที่ส่งั ให้เขาถวายอาหาร ๓. รับอาหารในสกุลที่เป็นเสกขสมมติ ๔. อยู่ป่าที่มีภัยรับอาหารที่ไม่ได้แจ้งไว้ก่อน ๗. เสขิยกัณฑ์ ข้อที่ภิกษุพึงศึกษาเกี่ยวกับจรรยามารยาท หมวดสารูป ว่าด้วยความเหมาะสมแก่สมณเพศ ๑. นุ่งเป็นปริมณฑล ๑๔. มีเสียงเบา นั่งในละแวกบ้าน ๒. ห่มเป็นปริมณฑล ๑๕. ไม่เดินโยกกาย ไปในละแวกบ้าน 33
๓. ปกปิดกายดี ไปในละแวกบ้าน ๑๖. ไม่น่งั โยกกาย ในละแวกบ้าน ๔. ปกปิดกายดี นั่งในละแวกบ้าน ๑๗. ไม่ไกวแขน ไปในละแวกบ้าน ๕. ส�ำรวมดี ไปในละแวกบ้าน ๑๘. ไม่น่งั ไกวแขน ในละแวกบ้าน ๖. ส�ำรวมดี นั่งในละแวกบ้าน ๑๙. ไม่โครงศีรษะ ไปในละแวกบ้าน ๗. มีตาทอดลง ไปในละแวกบ้าน ๒๐. ไม่น่งั โครงศีระษะ ในละแวกบ้าน ๘. มีตาทอดลง นั่งในละแวกบ้าน ๒๑. ไม่เอามือค�ำ้ กาย ไปในละแวกบ้าน ๙. ไม่เวิกผ้า ไปในละแวกบ้าน ๒๒. ไม่นง่ั เอามือค�ำ้ กาย ไปในละแวกบ้าน ๑๐. ไม่น่งั เวิกผ้า ในละแวกบ้าน ๒๓. ไม่คลุมศีรษะ ไปในละแวกบ้าน ๑๑. ไม่หวั เราะลัน่ ไปในละแวกบ้าน ๒๔. ไม่นั่งคลุมศีรษะ ในละแวกบ้าน ๑๒. ไม่หวั เราะลัน่ นัง่ ในละแวกบ้าน ๒๔. ไม่เดินกระโหย่ง ไปในละแวกบ้าน ๑๓. มีเสียงเบา ไปในละแวกบ้าน ๒๖. ไม่น่งั รัดเข่า ในละแวกบ้าน หมวดโภชนสังยุต ว่าด้วยการฉันอาหาร ๑. รับบิณฑบาตโดยเอื้อเฟื้อ ๑๒. จักไม่เพ่งโพนทะนาแลดูบาตร ๒. จ้องในบาตรรับบิณฑบาต ของผู้อ่นื ๓. รับบิณฑบาตพอเหมาะกับแกง ๑๓. จักไม่ท�ำค�ำข้าวให้ใหญ่นกั ๔. รับบิณฑบาตเสมอขอบบาตร ๑๔. จักท�ำค�ำข้าวให้กลมกล่อม ๕. ฉันบิณฑบาตโดยเอื้อเฟื้อ ๑๕. เมื่อค�ำข้าวยังไม่น�ำมาถึง ๖. จ้องอยู่ในบาตร ฉันบิณฑบาต เราไม่จกั อ้าช่องปาก ๗. ฉันบิณฑบาตไม่แกว่ง ๑๖. ฉันอยู่ จักไม่สอดมือทั้งนั้น ๘. ฉันบิณฑบาตพอเหมาะกับแกง เข้าไปในปาก ๙. ไม่ขยุม้ ลงแต่ยอด ฉันบิณฑบาต ๑๗. ปากยังมีค�ำข้าว เราจักไม่พูด ๑๐. ไม่กลบแกงหรือกับข้าว ด้วยข้าว ๑๘. จักไม่ฉันอาหารโยนค�ำข้าว ๑๑. ไม่อาพาธ จักไม่ขอแกง ๑๙. จักไม่ฉันกัดค�ำข้าว หรือข้าวสุกเพือ่ ประโยชน์แก่ตนฉัน ๒๐. จักไม่ฉันท�ำกระพุ้งแก้มให้ตุ่ย 34
๒๑. ไม่ฉันสลัดมือ ๒๖. ไม่ฉันเลียมือ ๒๒. ไม่ฉันแลบลิ้น ๒๗. ไม่ฉันขอดบาตร ๒๓. ไม่ฉันท�ำเมล็ดข้าวตก ๒๘. ไม่ฉันเลียริมฝีปาก ๒๔. ไม่ฉันท�ำเสียงดังจับๆ ๒๙. ไม่รับโอน�้ำด้วยมือเปื้อนอามิส ๒๕. ไม่ฉันท�ำเสียงดังซูดๆ ๓๐. ไม่เทน�้ำล้างบาตรมีเมล็ดข้าว ในละแวกบ้าน หมวดธัมมเทสนาปฏิสังยุต ว่าด้วยการแสดงธรรม ๑. ไม่แสดงธรรมแก่บคุ คลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้ มีร่มในมือ ๒. ไม่แสดงธรรมแก่บคุ คลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้ มีไม้พลองในมือ ๓. ไม่แสดงธรรมแก่บคุ คลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้ มีศัสตราในมือ ๔. ไม่แสดงธรรมแก่บคุ คลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้ มีอาวุธในมือ ๕. ไม่แสดงธรรมแก่บคุ คลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้ สวมเขียงเท้า ๖. ไม่แสดงธรรมแก่บคุ คลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้ สวมรองเท้า ๗. ไม่แสดงธรรมแก่บคุ คลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้ ไปในยาน ๘. ไม่แสดงธรรมแก่บคุ คลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้ ผู้อยู่บนที่นอน ๙. ไม่แสดงธรรมแก่บคุ คลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้ นั่งรัดเข่า ๑๐. ไม่แสดงธรรมแก่บคุ คลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้ พันศีรษะ ๑๑. ไม่แสดงธรรมแก่บคุ คลไม่ใช่ผู้เจ็บไข้ คลุมศีรษะ ๑๒. นั่งอยู่ที่พื้นดิน จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เจ็บไข้ ผู้นั่งอยู่บนอาสนะ ๑๓. นัง่ บนอาสนะต�ำ่ จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เจ็บไข้ ผูน้ งั่ อยูบ่ นอาสนะสูง ๑๔. ยืนอยู่จกั ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เจ็บไข้ ผู้น่งั อยู่ ๑๕. เดินไปข้างหลัง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เจ็บไข้ ผู้เดินไปข้างหน้า ๑๖. เดินไปนอกทาง จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เจ็บไข้ ผู้ไปอยู่ในทาง 35
หมวดปกิณกะ ว่าด้วยเบ็ดเตล็ด ๑. ไม่อาพาธ จักไม่ยืนถ่ายอุจาระ หรือปัสสาวะ ๒. ไม่อาพาธ จักไม่ถ่ายอุจจาระ หรือปัสสาวะ หรือบ้วนน�้ำลาย ลงในของเขียว (พืชพันธุ์ไม้) ๓. ไม่อาพาธ จักไม่ถ่ายอุจจาระ หรือปัสสาวะ หรือบ้วนน�้ำลายลงในน�้ำ ๘. อธิกรณสมถกัณฑ์ แสดงวิธีระงับอธิกรณ์ ด้วยธรรมะ ๗ ประการ คือ ๑. สัมมุขาวินัย การระงับอธิกรณ์ในทีพ่ ร้อมหน้า (บุคคล, วัตถุ, ธรรม) ๒. สติวินัย การระงับอธิกรณ์ด้วยยกให้ว่าพระอรหันต์เป็นผู้มสี ติ ๓. อมูฬหวินัย การระงับอธิกรณ์ด้วยประโยชน์ให้ในขณะเป็นบ้า ๔. ปฏิญญาตกรณะ การระงับอธิกรณ์ดว้ ยปรับตามรับสารภาพตามท�ำจริง ๕. เยภุยยสิกกา การระงับอธิกรณ์ถือเสียงข้างมากเป็นประมาณ ๖. ตัสสปาปิยสิกา การระงับอธิกรณ์ด้วยการลงโทษแก่ผู้ผดิ ๗. ติณวัตถารกะ การระงับอธิกรณ์โดยประนีประนอมกันทั้ง ๒ ฝ่าย
อันตรายของภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่ ๔ อย่าง ๑. อูมิภัย (ภัยคลื่น คือ อดทนต่อค�ำสั่งสอนไม่ได้ เกิดความขึ้งเคียด คับใจ เบื่อหน่าย) ๒. กุมภีลภัย (ภัยจระเข้ คือ เห็นแก่ปากแก่ท้อง ) ๓. อาวฏภัย (ภัยน�้ำวน คือ ห่วงพะวงใฝ่ทะยานในกามสุข ตัดใจจาก กามคุณไม่ได้ ๔. สุสุกาภัย (ภัยปลาร้าย หรือภัยฉลาม คือ เกิดความปรารถนาทางเพศ รักผู้หญิง ) 36
ธุดงค์ ๑๓ ธุดงค์ หมายถึง องค์คุณเครื่องก�ำจัดกิเลส , ชื่อข้อปฏิบัติประเภทวัตร ทีผ่ สู้ มัครใจจะพึงสมาทานประพฤติได้ เป็นอุบายขัดเกลากิเลส ส่งเสริมความมักน้อย สันโดษเป็นต้น มี ๑๓ ข้อคือ หมวดที่ ๑ ปฏิสังยุตด้วยจีวร ๑. ปังสุกูลิกังคะ องค์แห่งผู้ถือผ้าบังสุกุลเป็นวัตรใช้เฉพาะแต่ผ้าบังสุกุล คือไม่รับจีวรจากทายก เที่ยวแสวงหาผ้าบังสุกุลมาเย็บย้อมท�ำจีวรเอง ๒. เตจีวริกงั คะ องค์แห่งภิกษุผ้ถู อื ไตรจีวรเป็นวัตร คือ ถือผ้าเพียงสามผืน ได้แก่ จีวร สบง สังฆาฏิ อย่างละผืนเท่านั้น ไม่ใช้จีวรนอกจากผ้าสามผืนนั้น หมวดที่ ๒ ปฏิสังยุตด้วยบิณฑบาต ๓. ปิณฑปาติกงั คะ องค์แห่งผูถ้ อื เทีย่ วบิณฑบาตเป็นวัตร คือ ไม่รบั นิมนต์ หรือลาภพิเศษอย่างอื่นใด ฉันเฉพาะอาหารที่บิณฑบาตมาได้ ๔. สปทานจาริกังคะ องค์แห่งผู้ถือเที่ยวบิณฑบาตไปตามล�ำดับบ้าน เป็นวัตร คือ รับตามล�ำดับบ้านตามแถวเดียวกัน ไม่รบั ข้ามบ้านข้ามแถว หรือเทีย่ ว บิณฑบาตไปตามตรอก ตามห้องแถวเรียวล�ำดับเรื่อยไปเป็นแนวเดียวกัน ไม่ข้าม ไปเลือกรับที่โน้นที่นี่ตามใจชอบ ๕. เอกาสนิกังคะ องค์แห่งผู้ถอื นั่งฉันที่อาสนะเดียวเป็นวัตร คือ ฉันวันละ มื้อเดียว ลุกจากที่แล้วไม่ฉนั อีกในวันนั้น 37
๖. ปัตตปิณฑิกงั คะ องค์แห่งผูถ้ อื ฉันเฉพาะในบาตรเป็นวัตร คือ ถือการฉัน เฉพาะในบาตรไม่ใช้ภาชนะอื่น ๗. ขลุปัจฉาภัตติกังคะ องค์แห่งผู้ถือห้ามภัตที่เขาน�ำมาถวายภายหลัง คือเมื่อลงมือฉันแล้ว มีผู้น�ำอาหารมาถวายอีก ก็ไม่รับ หมวดที่ ๓ ปฏิสังยุตด้วยเสนาสนะ ๘. อารัญญิกงั คะ องค์แห่งผูถ้ อื อยูป่ า่ เป็นวัตร คือ ไม่อยูใ่ นเสนาสนะใกล้บา้ น แต่อยู่ป่าห่างจากบ้านอย่างน้อย ๒๕ เส้น ๙. รุกขมูลิกังคะ องค์แห่งผู้ถอื อยู่โคนไม้เป็นวัตร ไม่อยู่ในที่มุงบัง ๑๐. อัพโภกาสิกงั คะ องค์แห่งผูถ้ อื อยูใ่ นทีแ่ จ้งเป็นวัตร คือ อยูเ่ ฉพาะกลางแจ้ง ไม่อยู่ในที่มุงบัง หรือแม้แต่โคนไม้ (ห้ามถือในฤดูฝน) ๑๑. โสสานิกังคะ องค์แห่งผู้ถอื อยู่ป่าช้าเป็นวัตร คือ อยู่แรมคืนในป่าช้า เป็นประจ�ำ ๑๒. ยถาสันถติกังคะ องค์แห่งผู้ถือการอยู่ในเสนาสนะตามแต่เขาจัดให้ ไม่เลือกเสนาสนะเอาตามพอใจตัวเอง หมวดที่ ๔ ปฏิสังยุตด้วยวิริยะ ๑๓. เนสัชชิกังคะ องค์แห่งภิกษุผู้ถือการนั่งเป็นวัตร คือถือ นั่ง ยืน เดิน เท่านั้นไม่นอน
38
โทรศัพท์ ๐๕๔๗๔๑๑๗๓ 42