ชาติพันธุ์น่านศึกษา E03

Page 1

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

ถอดบทเรียน ชาติพนั ธุน์ า่ นศึกษาแลกเปลีย่ นเรียนรูส้ งั คมพหุวฒ ั นธรรม ปฐมบทปฏิบตั กิ ารของเยาวชนน่าน : การเรียนรูค้ นื สูร่ ากเหง้า ชาติพนั ธุน์ า่ นศึกษา เพื่อสร้างสานส�ำนึกจิตวิญญาณ เยาวชนพลเมืองน่าน กรณีศึกษา ๘ ชาติพันธุ์ ๘ ชุมชนผืนแผ่นดินน่าน

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ ส�ำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


ชาติพันธุ์น่านศึกษา ใช้งบประมาณการจัดพิมพ์จากโครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้พหุวัฒนธรรม ชาติพันธุ์น่านศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ อาจารย์ที่ปรึกษา และทีมงานวิจัย ชาติพันธุ์น่านศึกษา คณะที่ปรึกษา ๑. จ่าสิบเอกเสวก ๒. นางดวงเดือน ๓. นายณรงค์ ๔. นางสาวปวริศา ๕. นางสาวเทียนชุลี ๖. นายยุทธภูมิ

ฉุนหอม โพธิ์ทอง สิงห์อุดร สิงห์อุดร นาคะเสน สุประการ

บรรณาธิการ

นายยุทธภูมิ สุประการ

ข้อมูลและเรียบเรียง ๑. นางสาวภัทรวดี ๒. นางสาวสุพรรณี ๓. นางสาวสุวพร

แสนซุ้ง แซ่เล้า มาศกิตติวงศ์

คณะท�ำงาน ๑. นางสาวปวริศา ๒. นายสุรนันทร์ ๓. นายยุทธภูมิ ๔. นายเพิด ๕. นายสงกานต์ ๖. นางสาวจารุวรรณ ๗. นางสาววิจิตรา ๘. นายฐิติรัตน์ ๙. นางสาวกนกวรรณ

สิงห์อุดร ลิ้มมณี สุประการ บุญอินทร์ บุญช่วย สะสม เนตรวีระ อินทรประสิทธิ์ ทิพย์แสนชัย

ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ รองผู้อ�ำนวยการโรงเรียนกลุ่มบริหารทั่วไป รองผู้อ�ำนวยการโรงเรียนกลุ่มงานบุคคล รองผู้อ�ำนวยการโรงเรียนกลุ่มบริหารวิชาการ รองผู้อ�ำนวยการโรงเรียนกลุ่มงานบริหารงบประมาณ กรรมการและเลขานุการ

๔. นางสาววนิดา ๕. นางสาวปิยนันท์ ๖. นางสาวเมธาวี

แซ่โซ้ง แซ่รี ทัพพมงคลรัตน์

ประธานกรรมการ ทีมงานวิจัยชาติพันธุ์ศึกษา ด้านสืบค้นภูมิปัญญาชาติพันธุ์น่าน ด้านกระบวนการเรียนรู้ และการวิจัย(ภาคสนาม) ด้านศิลปวัฒนธรรม ด้านวัฒนธรรมคีตศิลป์ เรียนรู้ ด้านการสื่อสารและภาษา ด้านชีววิทยา และ ภูมิศาสตร์ / เลขานุการงานศึกษา ด้านสังคมศาสตร์และสภานักเรียน ด้านศิลปวัฒนธรรม

คณะกรรมถอดบทเรียน โครงงานศึกษาส�ำรวจ ชุมชน ๑. เลขาธิการสหพันธุ์สภานักเรียน นางสาวสุพรรณี ๒. กองเลขานุการ นางสาวศลิษา นางสาวอนัญญา ๓. ประธานสภาชาติพันธุ์ นายณัฐพล ๔. ประธานนักเรียน ไทลื้อ นายสุกฤษฎิ์ ๕. ประธานนักเรียน ลัวะ นายชัชชัย ๖. ประธานนักเรียน ขมุ นางสาวเบญญาภา ๗. ประธานนักเรียน ไทยวน นายบงยุทธ ๘. ประธานนักเรียน ถิ่น นางสาววิมลวัล ๙. ประธานนักเรียน เมี่ยน นางสาวพรชรินทร์

แซ่เล้า ค�ำวรรณะ จิตมะกล�่ำ แซ่เฮ้อ (ประธานนักเรียน ม้ง) มังคละ ศิริคาม แก้วโก๋ แสนติอ้วน พิศจารณ์ สกุลวรภัทร


สารบัญ พระราชด�ำรัสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สารผู้อ�ำนวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ สารประธานสภาชาติพันธุ์นักเรียน ค�ำน�ำ บรรณาธิการ ความเป็นมาของโครงการ บทน�ำ ชาติพันธุ์น่านศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้สังคมพหุวัฒนธรรม บทเรียนที่ ๑ : เยาวชนมลาบรี (มาละบิ) ตอนที่ ๑ : ชุมชน มลาบรี (มาละบิ) การศึกษากับคนรุ่นใหม่ กรณีศึกษา นายเดา เมลืองไพร ตอนที่ ๒ : ความผูกพัน จากครูถึงศิษย์ สู่วิถีการให้ที่งดงาม ตอนที่ ๓ : จุดยืน และศักดิ์ศรี มลาบรี เราคือคนไม่ใช่ผี ตอนที่ ๔ : ชุมชนคู่ขนาน ห้วยลู่ ภูฟ้า และชุมชนทางเลือก ห้วยฮ้อม (จังหวัดแพร่) บทเรียนที่ ๒ : สี่ชุมชนของฉัน การกลับบ้านอย่างมีความหมาย ตอนที่ ๑ : เยาวชนไทยวน ถอดบทเรียนชุมชนไทยวน ลงประเมินพื้นที่หาบทเรียนกับชุมชนห้วยเลา อ.นาน้อย ๑๑ - ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๗ ตอนที่ ๒ : เยาวชนขมุ ถอดบทเรียนกับชุมชนขมุลื้อ ลงประเมินพื้นที่หาบทเรียนกับชุมชนห้วยเลา อ.สองแคว ๑๗ - ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕ ตอนที่ ๓ : เยาวชนม้ง ถอดเป็นบทเรียนกับชุมชนม้ง ลงประเมินพื้นที่หาบทเรียนกับชุมชนบ้านดอยติ้ว อ.ท่าวังผา ๒๔ - ๒๕ ตุลาคม ๒๕๕๗ ตอนที่ ๔ : เยาวชนเมี่ยน ถอดเป็นบทเรียนกับชุมชนเมี่ยน บ้านสันเจริญ อ.ท่าวังผา ๒๕ - ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๗

หน้า ๑ ๒ ๔ ๕ ๗ ๓๗ ๘๓ ๘๔ ๑๑๒ ๑๑๔ ๑๑๖ ๑๓๔ ๑๓๕ ๑๔๙ ๑๕๘ ๒๓๗


บทเรียนที่ ๓ : ก้าวย่างบทเรียนชุมชนของฉัน เรียนรู้จักชาติพันธุ์แห่งขุนเขา ๒๗๓ (บทเรียนส่งท้ายปี ๒๕๕๗) ตอนที่ ๑ : เยาวชนลัวะ ถอดบทเรียนชุมชนบ้านห้วยลอย ๒๗๔ อ.บ่อเกลือ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๗ ตอนที่ ๒ : เยาวชนถิ่น ถอดบทเรียนชุมชนบ้านสะปัน ๒๘๑ อ.บ่อเกลือ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๗ ตอนที่ ๓ : เยาวชนไทลื้อ ถอดบทเรียนชุมชนบ้านสบขุ่น ๒๘๘ อ.ท่าวังผา ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๗ ผลการด�ำเนิน สรุปโครงการ สัมนา ชาติพันธุ์น่าน สภานักเรียน

๒๙๑

บรรณานุกรม

๒๙๗


พระราชด�ำรัส ของ

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

พระราชด�ำรัส ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรง บรรยายเรือ่ ง แน้วโน้มการจัดการเรียนการสอนเพือ่ การเรียนรูใ้ นทศวรรษหน้า เมือ่ วันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๔๒ จังหวัดสงขลา “แนวโน้มการศึกษาในทศวรรษหน้าอีกอย่างหนึ่ง ที่มักจะได้ยินได้ฟังกัน อยูท่ กุ วัน คือ การศึกษาทีใ่ ห้นกั เรียนเป็นศูนย์กลาง ใน ๒-๓ วันนี้ ไปทีไ่ หน ทุกคนก็พดู ให้ฟงั ถึงเรือ่ งนี้ แต่กไ็ ม่ได้อธิบายอะไร ข้าพเจ้าเองก็ไม่ได้ไปอบรมด้วย ท�ำให้ไม่รวู้ า่ เป็นอย่างไร ก็ต้องแต่งเอาเองเข้าใจว่า วิธีการส่วนหนึ่งของการศึกษาที่ให้นักเรียนเป็นส�ำคัญ หรือ เด็กเป็นศูนย์กลางนี้ เป็นสิ่งที่สอนกันมานานแล้ว ตอนข้าพเจ้าเด็กๆ ก็เคยได้รับการ ศึกษาแบบนี้ คือ ครูเอาใจใส่ส่งเสริมให้นักเรียน ค้นคว้าหาความรู้ ด้วยการใช้ สุ จิ ปุ ลิ และการศึกษา ๔ อย่างนี้แหละ (คือ พุทธศึกษา จริยศึกษา พลศึกษา และหัตถศึกษา) สถานศึกษาเดี๋ยวนี้ที่ใช้อยู่ก็มี แต่ปัจจุบันสถานศึกษาของเรามีเด็กมาก การศึกษาที่ ให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางคงท�ำล�ำบากขึ้น ที่ส�ำคัญและควรเน้นกัน คือ ต้องส่งเสริม นักเรียนเรื่องการค้นคว้าหาความรู้” (คัดจากหนังสือ เรื่อง รัตนพินิจ นิทิศการศึกษา รวมปาฐกถาด้านการศึกษาใน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พ.ศ. ๒๕๔๒ หน้า ๑๐๐)

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

1


สารผู้อ�ำนวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของโรงเรียน ผลกระทบจากสถานการณ์หรือการ พัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมต่อพันธกิจของโรงเรียนในด้านการจัดการ ศึกษาและให้บริการวิชาการ รวมทั้งเข้าไปมีส่วนร่วมกับสังคมในการสืบสานและสร้าง เสริมภูมิปัญญา และให้การศึกษาแก่เยาวชน ให้มีคุณภาพ กล้าหาญบนฐานคุณธรรม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงพันธกิจในด้านการท�ำนุบำ� รุงศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นหลักสูตรบูรณาการ สูโ่ รงเรียนวิถพี ทุ ธเกษตรทีม่ งุ่ ให้ความส�ำคัญด้านคุณธรรม จริยธรรม การน�ำหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ ยึดมัน่ ในอุดมการณ์แห่งการให้กบั ผูท้ ขี่ าดโอกาสทางการ ศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ ถือเป็นสถาบันการศึกษาที่มีความหลากหลาย ของมิตสิ งั คมของตัวนักเรียนทีเ่ ข้ามาศึกษา โดยเฉพาะเด็กด้อยโอกาส ความส�ำคัญทีส่ ดุ คือการจัดกระบวนการแสวงหาความรู้ หรือการค้นคว้าหาค�ำตอบในสิ่งที่ผู้เรียนอยากรู้ หรือสงสัยด้วยวิธกี ารต่างๆ เป็นวิธกี ารเรียนรูท้ ผี่ เู้ รียนได้เลือกศึกษาตามความสนใจของ ตนเองหรือของ กลุม่ เป็นการตัดสินใจร่วมกัน จนได้เข้าใจฐานข้อมูลชาติพนั ธุน์ า่ นจริงๆ ที่สามารถน�ำผลการศึกษาไปใช้ได้ในชีวิตจริง การเรียนรู้แบบโครงงาน เป็นการเรียนรู้ ที่ใช้เทคนิคหลากหลายรูปแบบน�ำมาผสมผสานกัน ได้แก่ กระบวนการกลุ่ม การฝึกคิด การแก้ปัญหา การเน้นกระบวนการ การสอนแบบปริศนาความคิด และการสอนแบบ ร่วมกันคิด เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งจากความสนใจ อยากรู้ อยากเรียนของ ผูเ้ รียนเอง โดยใช้กระบวนการและวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ ผูเ้ รียนจะเป็นผูล้ งมือปฏิบตั ิ กิจกรรมต่างๆ เพื่อค้นหาค�ำตอบด้วยตนเอง เป็นการเรียนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ จากประสบการณ์ตรงกับแหล่งความรู้เบื้องหน้าโดยใช้ชุมชนของตนเองเป็นฐานเรียนรู้ สามารถสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง ยังเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญในทุกขั้นตอนของการเรียนรู้ ตัง้ แต่การวางแผนการเรียนรู้ การออกแบบการเรียนรู้ การสร้างสรรค์ประยุกต์ใช้ผลผลิต และการประเมินผลงาน โดยผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้จัดการเรียนรู้และน�ำมาสู่การจัดท�ำ ฐานเรียนรู้ภายนอกเชื่อมโยงสู่ภายในโรงเรียน ในรูปแบบศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมน่าน ลานวั ฒ นธรรมชาติ พั นธุ์ พิพิธภัณฑ์ชีวิต บ้านจ�ำลองวิถีชาติพันธุ์ ฐานข้อมูล ภูมิ วัฒนธรรมสังคมน่าน หนังสือถอดบทเรียน ชาติพนั ธุน์ า่ นศึกษาแลกเปลีย่ นเรียนรูส้ งั คม

2

ชาติพันธุ์น่านศึกษา


พหุวัฒนธรรม ปฐมบทปฏิบัติการของเยาวชนน่าน : การเรียนรู้คืนสู่รากเหง้า ชาติพันธุ์ น่านศึกษา เพือ่ สร้างสานส�ำนึกจิตวิญญาณ เยาวชนพลเมืองน่าน กรณีศกึ ษา ๘ ชาติพนั ธุ์ ๘ ชุมชนผืนแผ่นดินน่าน ถือเป็นการถอดบทเรียนจากตัวกระบวนกิจกรรมทีน่ กั เรียนได้ เรียนรู้อย่างแท้จริง โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ ยังคงจะก้าวต่อไปเพื่อสร้างพื้นที่ ของโรงเรียนให้กลายเป็นโรงบ่มเพาะผู้คนให้เป็นคนดี โดยมุ้งเน้น ๑. เน้ น กระบวนวิ ช าศึ ก ษาทั่ ว ไปที่ พั ฒ นาผู ้ เรี ย นให้ มี โ ลกทั ศ น์ ก ว้ า งไกล คิดอย่างมีเหตุผล สามารถใช้ภาษาในการติดต่อสื่อสารความหมายได้ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในคุณค่าของวัฒนธรรมและศิลปะ สามารถน�ำความรู้ไปใช้ในการ ด�ำเนินชีวิต และด�ำรงตนอยู่ในสังคมได้เป็นอย่างดี ๒. เน้นการจัดการเรียนการสอนให้ชุมชนมีส่วนร่วม พร้อมกับสร้างโอกาสให้ กับเยาวชนในพื้นที่ห่างไกลและทุรกันดารของจังหวัดน่าน ได้เข้าถึงการศึกษาพื้นฐาน เพื่อการพึ่งตนเองสู่สัมมาชีพในพื้นที่ ๓. ด�ำเนินการวิจัยสร้างองค์ความรู้ เพื่อน�ำไปสู่การจัดการเรียนการสอนที่ สอดคล้องกับวิถีการด�ำเนินชีวิต วิถีวัฒนธรรม อัตลักษณ์ชุมชน รวมทั้งมีความเท่าทัน ต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและสังคมโลก ๔. ด�ำเนินการจัดการศึกษาน�ำร่อง สูก่ ารปฏิรปู การศึกษาทีม่ จี ดุ หมายเพือ่ สร้าง สัมมาชีพชุมชน เพื่อการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างเกื้อกูลท่ามกลางความแตกต่างและความ หลากหลายทางวัฒนธรรม ด้วยความนับถือ

จ.ส.อ.เสวก ฉุนหอม ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

3


สารประธานสภาชาติพันธุ์ ส�ำหรับตัวดิฉนั ได้ปฏิบตั หิ น้าทีม่ า ๑ ปีการศึกษา ก็ได้รสู้ กึ มีความสุขกับการท�ำงาน ส�ำหรับการลงพืน้ ทีต่ า่ ง ๆ ทีเ่ ราได้ไปศึกษานัน้ อยากให้ทกุ กลุม่ ชาติพนั ธุไ์ ด้ศกึ ษาต่อและ น�ำเอาสิ่งที่เราได้ไปศึกษากับมาสอนให้กับน้อง ๆ รุ่นต่อไป ให้ทราบถึงบทบาทต่าง ๆ รณรงค์ให้ทุกคนแต่งกายให้ถูกต้องเต็มยศ ถูกกฎของโรงเรียน ส่วนคณะกรรมการให้ เคร่งครัดในการปฏิบัติหน้าที่ มีวิธีที่จะท�ำอย่างไรไม่ให้น้องแต่งกายผิดระเบียบ ไม่ให้ เข้าแถวของเผ่าอืน่ ไม่ให้แต่งกายด้วยชุดชนเผ่าของเผ่าอืน่ และให้ประธานสภาไปปรึกษา กับอาจารย์ฝ่ายวิชาการว่าไม่ให้มีวิชาพลศึกษาในวันศุกร์เพื่อที่จะได้ไม่เป็นปัญหาแก่ การแต่งกายของเผ่า สุดท้ายนี้พี่ก็อยากจะฝากกับน้อง ๆ สภาทุกคนว่า “จงตั้งใจท�ำ หน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ของตนเองให้ดีที่สุด ไม่ใช่ท�ำเพราะหน้าที่ แต่ขอให้ท�ำด้วยใจรัก รัก ในการท�ำงานนั้นและมันก็จะส�ำเร็จในที่สุด”

นางสาวทิพปภา ชาวยอง ประธานชาติพันธุ์โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๗

4

ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ค�ำน�ำ

ในช่วงกว่า ๔๐ ปี จากโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์น่านสู่ความเป็นโรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ ๕๖ ในการเป็นสถาบันการศึกษาเพื่อเด็กผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่ จังหวัดน่าน จากฐานครอบครัวที่มีความแตกต่างที่มามีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ พื้นที่จังหวัดน่าน เราจ�ำต้องสร้างกระบวนการเรียนรู้ เน้นความเข้มแข็งทางด้านจิตใจ ทักษะชีวติ เข้าใจความเป็นไปของชีวติ โดยฐานคิดทีว่ า่ เด็กเปลีย่ นโลกเปลีย่ น แนวโน้ม วิกฤตการณ์ปัญหาโลกที่ส่งผลกระทบต่อเด็กและเยาวชนมากมายเราก็ยิ่งเห็นถึง กระแสความคิดเรื่องเด็กเปลี่ยนโลกที่กลายเป็นความเคลื่อนไหวที่ขยายวงกว้างมาก ยิ่งขึ้น แม้แต่องค์กรระหว่างประเทศอย่างเช่นองค์การเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ที่เป็นหน่วยงานหลักเพื่อดูแลงานที่เกี่ยวกับการช่วยเหลือเด็กทั่วโลก ทั้งการดูแลพัฒนาการ การศึกษาพื้นฐาน ความเท่าเทียมกันระหว่างเพศ เช่น การได้ รับการศึกษาของเด็กหญิง การปกป้องเด็กจากความรุนแรง การทารุณท�ำร้ายเด็กการ ใช้แรงงานเด็ก รวมถึงการพิทกั ษ์สทิ ธิของเด็กในมิตติ า่ งๆ ก็เริม่ หันมาสนใจงานด้านการ เสริมพลังการท�ำงานขององค์กรเด็กและเยาวชนมากขึ้นองค์กรที่ท�ำงานเพื่อสิทธิเด็ก จ�ำนวนมากก็เริ่มเบิกงานเสริมพลัง“เด็กท�ำ เพื่อเด็ก” มากขึ้นเช่นกัน ล่าสุดในรายงาน THE STATE OF THE WORLD’S CHILDREN ๒๐๑๑ ขององค์การ UNICEF ยังได้ ประกาศวาระ “Adolescence : An Age of Opportunity” เป็นวาระโลกอีกด้วยหนึง่ ความเคลือ่ นไหวเหล่านีไ้ ด้นำ� มาสูก่ ระบวนทัศน์ใหม่ทนี่ า่ สนใจมากนัน่ คือ กระบวนทัศน์ ของการ“เสริมพลังเด็ก” (Youth Empowerment) และสนับสนุนการใช้พลังของเด็ก เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงในสังคมด้วยความเชื่อว่าสองมือเด็กจะเปลี่ยนโลกได้ อันน�ำ ไปสูก่ ระแสการรณรงค์และขับเคลือ่ นการท�ำงานภาคสังคม ภาคการศึกษา และภาคสือ่ เพื่อสนับสนุนการ“เปลี่ยนโลกเพื่อเด็ก” (Change the world for children) ซึ่งเรื่อง พลังเด็กในการเปลี่ยนแปลงสังคมนี้จึงกลายมาเป็นประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ที่น่าจะได้มี การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดความรู้ทั้งในเชิงเปรียบเทียบกับนานาประเทศเพื่อให้ได้ ข้อคิดส�ำหรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์นี้ต่อไปในบ้านเรา ด้วยเหตุนี้ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ จึงได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ นักเรียนเพือ่ สนับสนุนเสริมสร้างบทบาทและบทเรียนให้นกั เรียนได้มพี นื้ ทีแ่ ละมีโอกาส ได้เรียนรูอ้ ย่างกว้างขวาง โครงการปฐมบทปฏิบตั กิ ารของเยาวชนน่าน : การเรียนรูค้ นื สู่ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

5


รากเหง้า ชาติพนั ธุน์ า่ นศึกษา เพือ่ สร้างสานส�ำนึกจิตวิญญาณ เยาวชนพลเมืองน่านกรณี ศึกษา ๘ ชาติพนั ธุ์ ๘ ชุมชนผืนแผ่นดินน่าน เป็นหนึง่ ในกิจกรรมต่อเนือ่ งจากปีการศึกษา ๒๕๕๗ ถึงปีการศึกษา ๒๕๕๘ ที่ต้องการสร้างบทบาท บทเรียนให้เด็กนักเรียนได้มีป ระสบการณ์การเรียนรูต้ รง ผ่านรูปแบบงานสภานักเรียนในสภาชาติพนั ธุน์ า่ นศึกษา จาก บริบทของนักเรียนที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ แต่เขาสามารถเรียนรู้เข้าใจความ หลายหลายเหล่านัน้ และเรียนรูใ้ นความเหมือนความแตกต่างของกัน จึงจะน�ำไปสูส่ งั คม แห่งพหุวัฒนธรรม โดยได้ถอดบทเรียนออกมาเป็นหนังสือถอดบทเรียนชาติพันธุ์น่าน ศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้สังคมพหุวัฒนธรรม เล่มนี้แล้ว ในเนื้อหาจะเป็นการเรียบเรียง การท�ำงานของนักเรียนแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์โดยเข้าไปศึกษาท�ำความเข้าใจของชุมชน ตนเองเป็นหลัก เนื้อหาแบ่งออกเป็นสามบทคือ บทเรียนที่ ๑ เยาวชนมลาบรี (มาละบิ) บทเรียนที่ ๒ สี่ชุมชนของฉัน การกลับบ้านอย่างมีความหมาย บทเรียนที่ ๓ ก้าวย่างบทเรียนชุมชนของฉัน เรียนรู้จักชาติพันธ์ุแห่งขุนเขา ในการลงพื้นที่ศึกษาทั้ง ๘ ชุมชน ของนักเรียนเอง ทั้งนี้หนังสือเล่มนี้เป็นการ บันทึกข้อเขียนและการทดลองค้นคว้าของนักเรียน โดยมุ่งหวังเพียงเพื่อการศึกษา ท�ำความเข้าใจต่อชุมชนของตนเองผ่านกระบวนการเรียนรู้อย่างลึกซึ้ง โดยเป็นการ บันทึกความคิด บันทึกกระบวนการในการด�ำเนินงาน เป็นการบันทึกวิธดี ำ� เนินการต่างๆ บันทึกคนทีเ่ ข้ามามีสว่ นร่วมของเครือข่าย ภาคีคนท�ำงาน ความร่วมมือต่างๆ แม้กระทัง่ บันทึกถึงปัญหาของคณะท�ำงาน ชุมชน สังคมในเวลาดังกล่าว การด�ำเนินการบันทึก เป็นกรณีศึกษาได้ เพื่อการเผยแพร่ให้คนภายในพื้นที่และภายนอกพื้นที่ที่มีความสนใจ ในประเด็นดังกล่าว ขณะเดียวกันก็เป็นต�ำราองค์ความรู้ชั้นดีในการเผยแพร่ให้กับเด็ก ชุมชน สังคมได้ศึกษาเป็นองค์ความรู้ได้ หนังสือยังท�ำหน้าที่ไปสู่กระบวนการวิจัยได้อีก ทางหนึง่ การเผยแพร่หนังสือการท�ำหน้าทีข่ องหนังสือในแต่ละกิจกรรมสามารถร่วมสร้าง ภาคีเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกจังหวัดน่าน ให้เห็นจังหวะความเคลื่อนไหวของ การจัดการศึกษาแก่เด็กและเยาวชนในจังหวัดน่าน อีกทั้ง มุ่งเน้นบทเรียนด้านศิลปะ และวัฒนธรรม อัตลักษณ์ที่ทรงคุณค่าของชุมชน ให้เด็กนักเรียนเกิดความภาคภูมิใจใน ตัวตนในรากเหง้าของตนเอง นายยุทธภูมิ สุประการ ผู้เรียบเรียง / บรรณาธิการ

6

ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ความเป็นมาของโครงการ

สรุปผลการด�ำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา โรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ ๕๖ กิจกรรมที่ ๘ กิจกรรมชาติพันธุ์น่านศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สังคมพหุวัฒนธรรมปีการศึกษา ๒๕๕๘ สนองกลยุทธ์โรงเรียน ข้อที่ ๒ พัฒนาการจัดการศึกษาส�ำหรับเด็กด้อย โอกาสและเด็กพิการเรียนร่วมให้มีทักษะการด�ำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง สนองวิสัยทัศน์ ของโรงเรียนสืบสานงานตามพระราชด�ำริฯ สนองกลยุทธ์ / จุดเน้น สศศ. ข้อที่ ๔. เร่งรัดการปฏิรปู การศึกษาโดยยึดคุณธรรมน�ำความรูแ้ ละน้อมน�ำ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงความสมานฉันท์ สันติวิธี วิถีประชาธิปไตย สนองกลยุทธ์ สพฐ. ข้อที่ ๑ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและ ส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ข้อที่ ๒ ปลูกฝังคุณธรรม ความส�ำนึกในความเป็นชาติไทย และ วิถีชีวิตตาม หลักเศรษฐกิจพอเพียง ข้อที่ ๓ ขยายโอกาสทางการศึกษา ข้อที่ ๔ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ข้อที่ ๕ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตามแนวทางกระจาย อ�ำนาจและเน้นการมีสว่ นร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

7


สนองตอบมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (มาตรฐานที่ ๑ - ๑๕) สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน มาตรฐาน

มาตรฐานที่

ตัวบ่งชี้ที่

ด้านผู้เรียน

มาตรฐานที่ ๑

ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๗

ด้านการจัดการศึกษา

มาตรฐานที่ ๙

ตัวบ่งชี้ที่ ๙.๓

ด้านการสร้างสรรค์สังคมแห่ง การเรียนรู้

มาตรฐานที่ ๑๓

ตัวบ่งชี้ที่ ๑๓.๒

ด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ด้านมาตรการส่งเสริม

มาตรฐานที่ ๑๔ มาตรฐานที่ ๑๕

ตัวบ่งชี้ที่ ๑๔.๔ ตัวบ่งชีท้ ี่ ๑๕.๓ ผลการด�ำเนิน งานบรรลุตามเป้าหมาย

๑. หลักการและเหตุผล ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๒ และแก้ไขฉบับที่ ๓ (พ.ศ.๒๕๕๓) หมวดที่ ๔ แนวการจัดการศึกษาการจัดการศึกษา ต้องยึดหลักว่าผู้เรียนมีความส�ำคัญที่สุด ผูเ้ รียนทุกคน สามารถเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองได้ ดังนัน้ กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่ง เสริมให้ผเู้ รียน ได้พฒ ั นาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ การจัดการศึกษาทัง้ สามรูป แบบในหมวด ๓ ต้องเน้นทัง้ ความรู้ คุณธรรม และ กระบวนการเรียนรู้ ในเรือ่ งสาระความรู้ ให้บูรณาการความรู้และทักษะด้านต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับแต่ละระดับ นักเรียนเป็น เยาวชนและเป็นทรัพยากรมนุษย์ทสี่ ำ� คัญอย่างหนึง่ ของชาติ ทีจ่ ะเจริญเติบโตเป็นผูใ้ หญ่ ในภายภาคหน้า เพื่อให้เด็กนักเรียนเป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์จึงจ�ำเป็นต้องมีการปลูกฝัง ความเป็นผู้น�ำ และเพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับความรู้ กฎระเบียบของสังคมที่ถูกต้อง กิจกรรมคณะกรรมการสภานักเรียน ในรูปกิจกรรมสภาชาติพนั ธุ์ ทัง้ นีเ้ พือ่ เป็นการสร้าง กระบวนการเรียนรู้จากบริบทของกลุ่มนักเรียนในโรงเรียนที่มีความหลากหลายทาง ชาติพันธุ์ของคนเมืองน่าน (กับเขตพื้นที่บริการที่กระจาย ๑๕ อ�ำเภอ) อีกทั้งเป็นการ สนองตามโครงการตามพระราชด�ำริสมเด็จพระเทพรัตราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการที่ ๔, ๗, ๑๑ โครงการสนองพระราชด�ำริสมเด็จพระเทพรัตราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี โครงการที่ ๑ และ งานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ โครงการที่ ๒ จึงได้จัดโครงการ “ปฐมบทปฏิบัติการของเยาวชนน่าน : การเรียนรู้คืนสู่รากเหง้า

8

ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ชาติพันธุน์ ่านศึกษา เพื่อสร้างสานส�ำนึกจิตวิญญาณ เยาวชนพลเมืองน่าน กรณีศึกษา ๘ ชาติพันธุ์ ๘ ชุมชนผืนแผ่นดินน่าน” โครงงานศึกษาชาติพันธุ์น่าน กรณีศึกษาชุมชน แห่งการเรียนรู้ ดังนี้ ๑. ชาติพันธุ์ไทลื้อ ๒. ชาติพันธุ์ลัวะ ๓. ชาติพันธุ์ม้ง ๔. ชาติพันธุ์ ไทยวน ๕. ชาติพันธุ์ถิ่น ๖. ชาติพันธุ์มลาบรี ๗. ชาติพันธุ์ขมุ ๘. ชาติพันธุ์เมี่ยน ทั้งนี้เป็นบทเรียนที่มากกว่าบทเรียน ชาติพันธุ์น่านศึกษา “การแพร่กระจาย ทางวัฒนธรรมเป็นกระบวนการที่มีลักษณะส�ำคัญของวัฒนธรรมหนึ่งแพร่กระจายไปสู่ อีกวัฒนธรรมหนึง่ โดยปรับเปลีย่ นให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมใหม่” นัน้ ก็หมายความว่า “วัฒนธรรมสามารถวัดได้ โดยน�ำวัฒนธรรมที่แตกต่างกันมาเปรียบเทียบกันและ พิจารณาคุณลักษณะที่สูงกว่าหรือด้อยกว่าของแต่ละวัฒนธรรม แต่ยังคงเชื่อว่า วัฒนธรรมนั้นไม่มีวัฒนธรรมใดที่ดีกว่าหรือเลวกว่ากัน” ทุกวัฒนธรรมควรเสมอภาค ในแง่ของศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ด้วยกัน โดยกิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย เน้นกระบวนการขับเคลื่อนบทเรียนจาก สภาชาติพนั ธุข์ องนักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ จังหวัดน่าน ในหัวข้อ น่าน ศึกษา ชาติพนั ธ์นุ า่ น โดยกิจกรรมสภาชาติพนั ธุด์ งั กล่าวเป็นการปูพน้ื ฐานบทเรียนแรกใน การน�ำไปสูก่ ารวางแผนลงพืน้ ทีศ่ กึ ษาในรูปโครงงานศึกษา (Project Based Learning) โดยในกรอบการศึกษา การรับรู้ความหลากหลายทางเชื้อชาติน่าน อย่างไรก็ตามวัฒนธรรมและการจัดจ�ำแนกกลุ่มคน ซึ่งเรียกร้องให้ทุกคนมี อัตลักษณ์ร่วมกันในฐานะความเป็นพลเมืองชาติ อีกทั้งการเกิดองค์ความรู้ทางด้าน ชาติพันธุ์วิทยา ยังผลให้เกิดแนวความคิดการจ�ำแนกคนแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์แตกต่าง กันออกไปตามนโยบายการสร้างชาติของแต่ละประเทศเป็นที่มาของการหลอมรวม ศูนย์วัฒนธรรม (ชาตินิยมเดี่ยว) ในกรอบการศึกษาครั้งนี้ใช้หลักของ ราอูล นาโรลล์ นักมานุษยวิทยาได้ท�ำการศึกษาและเสนอเกณฑ์ที่จะใช้ก�ำหนดหน่วยทางชาติพันธุ์ที่ ส�ำคัญ ๖ ประการ ได้แก่ - การกระจายตัวของลักษณะส�ำคัญ (TRAITS DISTRIBUTION) - ความใกล้ชิดทางอาณาเขต (TERRITORIAL CONTIGUITY) - องค์กรทางการเมือง (POLITICAL ORGANIZATION) - ภาษา (LANGUAGE) - การปรับตัวทางนิเวศน์ (ECOLOGICAL ADJUSTMENT) - โครงสร้างชุมชนท้องถิ่น (LOCAL COMMUNITY STRUCTURE) ชาติพันธุ์น่านศึกษา

9


โดยวิธกี ารแบบโครงงานศึกษาเป็นการสอนทีใ่ ห้นกั เรียนเป็นหมูห่ รือรายบุคคล ได้วางโครงการและด�ำเนินงาน ให้สำ� เร็จตามโครงการนัน้ นับว่าเป็นการสอนทีส่ อดคล้อง กับสภาพชีวิตจริง เด็กจะท�ำงานด้วยการตั้งปัญหาด�ำเนินการแก้ปัญหาด้วยการลงมือ ท�ำจริง งานส่งเสริมกิจกรรมนักเรียนในรูปแบบสภาชาติพันธุ์นักเรียนโดยรูปโครงงาน เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ หรือการค้นคว้าหาค�ำตอบในสิ่งที่ผู้เรียนอยากรู้หรือ สงสัยด้วยวิธีการต่าง ๆ เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้เลือกศึกษาตามความสนใจของ ตนเองหรือของกลุ่มเป็นการตัดสินใจร่วมกัน จนได้เข้าใจฐานข้อมูลชาติพันธุ์น่านจริงๆ ที่สามารถน�ำผลการศึกษาไปใช้ได้ในชีวิตจริง การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นการเรียนรู้ที่ ใช้เทคนิคหลากหลายรูปแบบน�ำมาผสมผสานกัน ได้แก่ กระบวนการกลุ่ม การฝึกคิด การแก้ปัญหา การเน้นกระบวนการ การสอนแบบปริศนาความคิด และการสอนแบบ ร่วมกันคิด เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งจากความสนใจ อยากรู้ อยากเรียนของ ผูเ้ รียนเอง โดยใช้กระบวนการและวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ ผูเ้ รียนจะเป็นผูล้ งมือปฏิบตั ิ กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อค้นหาค�ำตอบด้วยตนเอง เป็นการเรียนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ จากประสบการณ์ตรงกับแหล่งความรู้เบื้องหน้าโดยใช้ชุมชนของตนเองเป็นฐานเรียนรู้ สามารถสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง ยังเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญในทุกขั้นตอนของการเรียนรู้ ตัง้ แต่การวางแผนการเรียนรู้ การออกแบบการเรียนรู้ การสร้างสรรค์ประยุกต์ใช้ผลผลิต และการประเมินผลงาน โดยผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้จัดการเรียนรู้และน�ำมาสู่การจัดท�ำ ฐานเรียนรูภ้ ายนอกเชือ่ มโยงสูภ่ ายในโรงเรียน ในรูปแบบศูนย์เรียนรูว้ ฒ ั นธรรมน่าน ลาน วัฒนธรรมชาติพนั ธุ์ พิพธิ ภัณฑ์ชวี ติ บ้านจ�ำลองวิถชี าติพนั ธุ์ ฐานข้อมูลภูมวิ ฒ ั นธรรมสังคม วัตถุประสงค์ ๑. เพือ่ ให้คณะกรรมการนักเรียนและนักเรียนทุกคนมีการพัฒนาระบบท�ำงาน ในรูปแบบสภาชาติพันธุ์ ๒. เพือ่ ให้คณะกรรมการนักเรียนและนักเรียนทุกคนฝึกหัดตนตามบทบาทการ เป็นผู้น�ำและผู้ตามที่ดี ๓. เพื่อให้คณะกรรมการนักเรียนและนักเรียนทุกคนได้รับประสบการณ์จาก การท�ำงานอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นตอนและประสบความส�ำเร็จจากการท�ำงาน ๔. เพื่อให้นักเรียนรู้จักพึ่งตนเอง แสวงหาและใช้ความรู้ในการท�ำงานและอยู่ ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างมีความสุข

10 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


เป้าหมาย (ผลผลิต : outputs) ด้านปริมาณ ๑. นักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ จ�ำนวน ๙๐๔ คน ๒. สหพันธุ์สภานักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ จ�ำนวน ๒๐ คน ๓. นักเรียนแกนน�ำสภาชนเผ่า จ�ำนวน ๓๒ คน ๔. คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ ๑๑๐ คน ๕. ปราชญ์ชาวบ้าน ร่วมสร้างเครือข่าย ๘ ชาติพันธุ์ ๖. ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมน่าน - ลานวัฒนธรรมชาติพันธุ์ - พิพิธภัณฑ์ชีวิต - บ้านจ�ำลองวิถีชาติพันธุ์น่าน - ฐานข้อมูลภูมิวัฒนธรรมสังคมน่าน ด้านคุณภาพ ๑. สหพันธุส์ ภานักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ ร้อยละ ๘๐ เป็นนักเรียน มีความเป็นผู้น�ำและเข้าใจความแตกต่างและความหลากหลายวัฒนธรรมจังหวัดน่าน เชื่อมโยงบทบาทของตนเองกับสังคมชุมชนที่ตนอยู่อาศัยอย่างสมดุลยและภาคภูมิใจ รักถิ่นเกิด ๒. นักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ ร้อยละ ๘๐ เป็นนักเรียนมีความ เป็นผู้น�ำและเข้าใจความแตกต่างและความหลากหลายวัฒนธรรมจังหวัดน่านเชื่อมโยง บทบาทของตนเองกับสังคมชุมชนที่ตนอยู่อาศัยอย่างสมดุลยและภาคภูมิใจรักถิ่นเกิด ๓. ปราชญ์ชาวบ้านร้อยละ ๘๐ เกิดการเชื่อมโยงเครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน ร่วมสร้างเครือข่าย ๘ ชาติพันธุ์ ๔. โรงเรียนเกิดแหล่งเรียนรู้ด้านชาติพันธุ์ ศิลปวัฒนธรรมน่าน ที่มีคุณภาพ

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

11


๒. สรุปผลการด�ำเนินงานตามวัตถุประสงค์ ที่

วัตถุประสงค์ของโครงการ/กิจกรรม

สภาพความส�ำเร็จ

บรรลุ ไม่บรรลุ

๑ เพื่อให้คณะกรรมการนักเรียนและนักเรียนทุกคน

/

๒ เพื่อให้คณะกรรมการนักเรียนและนักเรียนทุกคน

/

๓ เพื่อให้คณะกรรมการนักเรียนและนักเรียนทุกคน

/

๔ เพื่อให้นักเรียนรู้จักพึ่งตนเอง แสวงหาและใช้ความ

/

มีการพัฒนาระบบท�ำงานในรูปแบบสภาชาติพันธุ์ ฝึกหัดตนตามบทบาทการเป็นผู้น�ำและผู้ตามที่ดี

ได้รับประสบการณ์จากการท�ำงานอย่างเป็นระบบ เป็นขัน้ ตอนและประสบความส�ำเร็จจากการท�ำงาน รู้ในการท�ำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่าง มีความสุข

12 ชาติพันธุ์น่านศึกษา

ผลการด�ำเนินงาน


๓. สรุปผลการด�ำเนินงานตามเป้าหมาย/ ตัวชี้วัด โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย

สนองมาตรฐานการ ศึกษาของสถานศึกษา (มฐ.ที่ /ตัวบ่งชี้)

ผลส�ำเร็จ

(เชิงปริมาณและคุณภาพ)

(เชิงปริมาณและคุณภาพ)

ด้านปริมาณ กระบวนการเรียนรู้โครง งานศึกษา ๘ เรื่องด้าน คุณภาพ การศึกษาจ�ำแนกในรูป โครงงานศึกษาโดยใช้ฐาน ชาติพันธุ์ในจังหวัดน่าน และฐานเรียนรู้ในชุมชน ด้านปริมาณ ๒. การจัดพิมพ์ผลงานโครง เอกสารเผยแพร่ตีพิมพ์ งานศึกษาเป็นรูปเล่ม สรุป ๘ เรื่อง งาน ปฐมบทปฏิบัติการของ ด้านคุณภาพ เยาวชนน่าน: การเรียนรู้คืน ชุดบทเรียนเยาวชน สู่รากเหง้า ชาติพันธุ์น่าน น่านการเรียนรู้คืนสู่ราก ศึกษา เพื่อสร้างสานส�ำนึก เหง้า ชาติพันธุ์น่านศึกษา จิตวิญญาณ เยาวชนพลเมือง เพื่อสร้างสานส�ำนึกจิต น่าน กรณีศึกษา ๘ ชาติพันธุ์ วิญญาณ เยาวชนพล เมืองน่าน กรณีศึกษา ๘ ๓. กิจกรรมสรุปเชิงสัมมนา ชาติพันธุ์ ฐานการเรียนรู้ชาติพันธุ์น่าน ด้านปริมาณ ฐานข้อมูลภูมิวัฒนธรรม พื้นที่เก็บข้อมูลและ สังคมน่าน พื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างชาติพันธุ์ ๑ แห่ง ในโรงเรียน ด้านคุณภาพ องค์ความรู้ที่คงทนและ เกิดแหล่ง

ด้านปริมาณ เกินกระบวนการเรียนรู้ โครงงานศึกษา ๘ เรื่อง ด้านคุณภาพ การบทเรียนการศึกษา จ�ำแนกในรูปโครงงาน ศึกษาโดยใช้ฐานชาติพันธุ์ ในจังหวัดน่านและฐาน เรียนรู้ในชุมชน ด้านปริมาณ มีเอกสารเผยแพร่ตีพิมพ์ ๘ เรื่อง ด้านคุณภาพ เกิดองค์ความรู้ด้าน ชาติพันธุ์ ในพื้นที่จังหวัด น่าน ด้านปริมาณ เกิดพื้นที่เก็บข้อมูลและ พื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างชาติพันธุ์๑ แห่ง ในโรงเรียน ด้านคุณภาพ เกิดองค์ความรู้ที่คงทน และเกิดแหล่ง

๑ . กิจกรรมศึกษาฐาน กระบวนการเรียนรู้ โครง งานศึกษา (Project Based Learning ) โดยศึกษาใน กรอบการศึกษา การรับรู้ ความหลากหลายทางเชื้อ ชาติน่าน วัฒนธรรมและการ จ�ำแนกกลุ่ม ๘ ชาติพันธุ์

มาตรฐานที่ ๑ มาตรฐานที่ ๙ มาตรฐานที่ ๑๓ มาตรฐานที่ ๑๔ มาตรฐานที่ ๑๕

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

13


๔. วิธีด�ำเนินงาน

กิจกรรม

ระยะเวลา

๑ . กิจกรรมศึกษาฐานกระบวนการเรียนรู้ โครงงานศึกษา (Project Based Learning) โดยศึกษาในกรอบการศึกษา การรับรู้ความหลากหลายทางเชื้อชาติน่าน วัฒนธรรมและ การจ�ำแนกกลุ่ม ๘ ชาติพันธุ์

พ.ค. ๒๕๕๗ ถึง มิ.ย. ๒๕๕๘

๒. การจัดพิมพ์ผลงานโครงงานศึกษาเป็นรูปเล่ม สรุปงาน ปฐมบทปฏิบัติการของเยาวชนน่าน : การเรียนรู้คืนสู่รากเหง้า ชาติพันธุ์น่านศึกษา เพื่อสร้างสานส�ำนึกจิตวิญญาณ เยาวชน พลเมืองน่าน กรณีศึกษา ๘ ชาติพันธุ์

พ.ย. ๒๕๕๘ ถึง มี.ค. ๒๕๕๙

๓. กิจกรรมสรุปเชิงสัมมนา ฐานการเรียนรู้ชาติพันธุ์น่าน ฐานข้อมูลภูมิวัฒนธรรมสังคมน่าน

พ.ย. ๒๕๕๘ ถึง มี.ค. ๒๕๕๙

๕. สรุปผลตามเป้าหมาย/ตัวชี้วัดความส�ำเร็จ ที่

เป้าหมาย / ตัวชี้วัดความส�ำเร็จของ โครงการ / กิจกรรม

สภาพ ความส�ำเร็จ บรรลุ ไม่บรรลุ

ผลการด�ำเนินงาน

เพื่อให้คณะกรรมการนักเรียนและนักเรียนทุก คนมีการพัฒนาระบบท�ำงานในรูปแบบสภา ชาติพันธุ์

/

นั ก เรี ย นและนั ก เรี ย นทุ ก คนมี ก าร พัฒนา ระบบท�ำงานในรูปแบบสภา ชาติพันธุ์

เพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการนั ก เรี ย นและนั ก เรี ย น ทุกคนฝึกหัดตนตามบทบาทการเป็นผู้น�ำและ ผู้ตามที่ดี

/

คณะกรรมการนักเรียนและนักเรียน ทุกคน ฝึกหัดตนตามบทบาทการเป็น ผู้น�ำและผู้ตามที่ดี

เพื่อให้คณะกรรมการนักเรียนและนักเรียนทุก คนได้รับประสบการณ์จากการท�ำงานอย่าง เป็นระบบ เป็นขั้นตอนและประสบความส�ำเร็จ จากการท�ำงาน

/

คณะกรรมการนักเรียนและนักเรียน ทุกคน ได้รับประสบการณ์จากการ ท�ำงานอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นตอน และประสบความส� ำ เร็ จ จากการ ท�ำงาน

เพื่อให้นักเรียนรู้จักพึ่งตนเอง แสวงหาและใช้ ความรู ้ ใ นการท� ำ งานและอยู ่ ร ่ ว มกั บ ผู ้ อื่ น ใน สังคมอย่างมีความสุข

/

นักเรียนรู้จักพึ่งตนเอง แสวงหาและ ใช้ ความรู้ในการท�ำงานและอยู่ร่วม กับผู้อื่นในสังคมอย่างมีความสุข

14 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


๖. สรุปในภาพรวม การสัมมนา และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันของนักเรียนได้มีการน�ำเสนอรูป แบบการละเล่นประจ�ำชาติพนั ธุข์ องตนเองและได้รว่ มกันอภิปรายเพือ่ แลกเปลีย่ นแสดง ความคิดเห็น โดยในการสัมมนาได้ขอสรุปแนวคิดที่จะพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษา แยกกลุม่ ศึกษาตามชาติพนั ธุข์ องตนเองและได้จดั ตัง้ คณะท�ำงานในวางแผนศึกษาในรูป โครงงานศึกษา โดยเลือกโครงงานประเภทส�ำรวจและรวบรวมข้อมูล โครงงานประเภทนี้ นักเรียนแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ต้องวางแผนด�ำเนินโครงงานเพื่อการส�ำรวจและรวบรวม ข้อมูล แล้วน�ำข้อมูลเหล่านั้นมาจ�ำแนกหมวดหมู่และน�ำเสนอในรูปแบบฐานข้อมูล เพื่อให้เห็นลักษณะหรือความสัมพันธ์ในเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน การส�ำรวจและ รวบรวมข้อมูลอาจท�ำได้หลายรูปแบบแล้วแต่กลุ่มชาติพันธุ์นั้นๆการเรียนรู้นั้นๆ เช่น - ส�ำรวจค�ำราชาศัพท์ในกลุ่มภาษา - ส�ำรวจชื่อพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ศึกษา - ส�ำรวจชนิดของกีฬา การละเล่นท้องถิ่น ในการท�ำโครงงานประเภทส�ำรวจข้อมูลไม่จำ� เป็นต้องมีตวั แปรเข้ามาเกีย่ วข้อง นักเรียนเพียงแต่สำ� รวจรวบรวมข้อมูลทีไ่ ด้ แล้วน�ำข้อมูลทีไ่ ด้มาจัดให้เป็นหมวดหมูแ่ ละ น�ำเสนอ ก็ถือว่าเป็นการส�ำรวจรวบรวมข้อมูลแบบง่าย (เน้นการลงพื้นที่ถอดบทเรียน ศึกษาในชุมชนจริง ๆ) โดยการศึกษายึดกรอบแนวทางตามหลักของ ราอูล นาโรลล์ นักมานุษยวิทยาได้ ท�ำการศึกษาและเสนอเกณฑ์ทจี่ ะใช้กำ� หนดหน่วยทางชาติพนั ธุท์ สี่ ำ� คัญ ๖ ประการ ได้แก่

- การกระจายตัวของลักษณะส�ำคัญ (TRAITS DISTRIBUTION) - ความใกล้ชิดทางอาณาเขต (TERRITORIAL CONTIGUITY) - องค์กรทางการเมือง (POLITICAL ORGANIZATION) - ภาษา (LANGUAGE) - การปรับตัวทางนิเวศน์ (ECOLOGICAL ADJUSTMENT) - โครงสร้างชุมชนท้องถิ่น (LOCAL COMMUNITY STRUCTURE) ชาติพันธุ์น่านศึกษา

15


๑. จุดเด่นของโครงการ / กิจกรรม ในครั้งนี้ ๑. การบันทึกความคิด บันทึกกระบวนการในการด�ำเนินงาน เป็นการบันทึกวิธี ด�ำเนินการต่างๆ บันทึกคนทีเ่ ข้ามามีสว่ นร่วมของเครือข่ายภาคีคนท�ำงาน ความร่วมมือ ต่างๆ แม้กระทั่งบันทึกถึงปัญหาของคณะท�ำงาน ชุมชน สังคมในเวลาดังกล่าว ๒. การด�ำเนินการบันทึกเป็นกรณีศึกษาได้ เพื่อการเผยแพร่ให้คนภายใน พืน้ ทีแ่ ละภายนอกพืน้ ทีท่ มี่ คี วามสนใจในประเด็นดังกล่าว ขณะเดียวกันก็เป็นต�ำราองค์ ความรูช้ นั้ ดีในการเผยแพร่ให้กบั เด็กชุมชนสังคมได้ศกึ ษาเป็นองค์ความรูไ้ ด้ สูจบิ ตั รและ หนังสือยังท�ำหน้าที่ไปสู่กระบวนการวิจัยได้อีกทางหนึ่ง ๓. การเผยแพร่หนังสือ คณะกรรมท�ำงาน แจกหนังสือและสูจิบัตรอย่างมี ยุทธศาสตร์ เน้น หน่วยราชการ สถานศึกษา เขตที่บริการ ในจังหวัดน่าน ขยายไปสู่ สถาบันการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย หรือแม้แต่หอสมุด ขยายผลไปสู่ผู้บริหารใน ระดับสูงและระดับท้องถิ่น ตลอดจนสื่อมวลชน โดยหนังสือและวารสารทุกกิจกรรม แจกฟรี(เป็นไปเพื่อการศึกษา) ๔. การท�ำหน้าที่ของวารสาร หนังสือ และสูจิบัตร ในแต่ละกิจกรรมสามารถ ร่ ว มสร้ า งภาคี เ ครื อข่ า ยทั้ง ภายในและภายนอกจัง หวัด น่าน ให้เห็นจังหวะความ เคลื่อนไหวของภาคประชาชน โดยมุ่งเน้นบันทึกกระบวนการจัดการศึกษาโดยใช้เด็ก เป็นศูนย์กลางของการพัฒนา ๒. จุดที่ควรพัฒนาของโครงการ / กิจกรรม ในครั้งนี้ เนื่องด้วยโครงการนี้ถือเป็นโครงการที่สนองพระราชด�ำริฯ สมเด็จพระเทพ รัตราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทางโรงเรียนจึงมีแนวทางด�ำเนินการท�ำแผนพัฒนา โครงการต่อเนื่องในปีต่อไป น่านเป็นจังหวัดในภาคเหนือของประเทศไทย มีอาณาเขตด้านเหนือและด้าน ตะวันออกติดต่อกับสปป.ลาว ประชากรจ�ำนวน ๕๑๔,๖๘๘ คนของน่านตั้งบ้านเรือน อยู่ใน ๘๗๒ หมู่บ้าน พื้นที่ส่วนใหญ่ประมาณ ๘๕% เป็นพื้นที่สูงซึ่งเป็นที่ตั้งถิ่นฐาน ของชาวไทยภูเขา คน "ไทย-น่าน" ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลายกลุ่ม ได้แก่ ยวน (คนเมือง) ลื้อ เขิน พวน ลาว เหาะ จีน อึมปี ม้ง เมี่ยน มัล ไปร มลาบรี ลักษณะทาง ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ท�ำให้น่านเหมาะสมที่จะศึกษาทั้งด้านภาษาศาสตร์และ ด้านพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

16 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อท�ำศัพทานุกรมหลายภาษา ภาษาไทย-อังกฤษ และภาษาต่าง ๆ ที่พูด ในจังหวัดน่าน ๒. เพื่อศึกษาทางภาษาศาสตร์บางแง่มุมส�ำหรับการเขียนบทความวิจัย ๓. เพื่อส�ำรวจชุมชน ๘๗๒ หมู่บ้านด้วยการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสัมภาษณ์ ที่ สร้างขึ้น และน�ำเสนอผลในลักษณะฐานข้อมูล ๔. เพื่อท�ำแผนที่ภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์เป็นแผนที่สี ขนาด ๒ ฟุต x ๓ ฟุต ระเบียบวิธีวิจัย ๑. การส�ำรวจชุมชนภาคสนาม โดยใช้แบบสัมภาษณ์ที่สร้างขึ้นเป็นแนวทาง ในการสัมภาษณ์ ๒. ภาษาศาสตร์ภาคสนามและการศึกษาทางกลสัทศาสตร์ ๓. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ชาวเขา ค�ำจ�ำกัดความของค�ำว่าชนกลุ่มน้อยและชาวเขานี้ ได้รับการให้ความหมายไว้ หลายประการตามหน่วยงานและนักวิชาการต่างๆ ชนกลุ่มน้อย (Minority Group) หมายถึง “กลุ่มชนที่มีเชื้อชาติ ภาษา และวัฒนธรรม แตกต่างไปจากประชาชนเจ้าของประเทศ” กรมการปกครอง ให้ความหมายไว้ในเอกสารของส�ำนักทะเบียนราษฎร์ว่า ชนกลุ่มน้อย หมายถึง “กลุ่มชนที่มิใช่คนไทย มีจ�ำนวนน้อยกว่าเจ้าของประเทศ และมี วัฒนธรรมแตกต่างกันไป อาศัยอยูใ่ นประเทศไทยอาจเป็นชนกลุม่ น้อยดัง้ เดิม เช่น ชาวเขา หรือเป็นผู้อพยพเข้ามา หลบหนีเข้าเมืองหรือเข้ามาพักชั่วคราว” ชาวเขา (Hill tribe) หมายถึง ชนเผ่าที่อาศัยอยู่ในเขตบริเวณที่สูงกว่าระดับ พื้นดิน โดยปกติจะมีภาษาพูด และวัฒนธรรมแตกต่างจากคนไทยโดยทั่วไป ดร.ลิขติ ธีรเวคิน ได้นยิ ามความหมายของค�ำว่าชาวเขาไว้วา่ ชาวเขา หมายถึง “ชนกลุ่มน้อยซึ่งตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนอยู่ในอาณาบริเวณพื้นที่ที่เป็นเทือกเขา สูงไม่เกิน หนึ่งหมื่นฟุตจากระดับน�้ำทะเล มีขนบธรรมเนียม ประเพณี ภาษาพูด ความเชื่อ อาชีพ และอุปนิสยั ใจคอคล้ายคลึงกัน มีการปกครองร่วมกัน แต่แตกต่างออกไปอย่างเห็นได้ชดั ชาติพันธุ์น่านศึกษา

17


จากประชากรเจ้าของประเทศในด้านชาติพันธ์ุ ขนบธรรมเนียมประเพณีและภาษาพูด และมีความเชื่อเรื่องภูตผีปีศาจ” วัฒนธรรมที่สืบทอดมายาวนานของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ที่เป็นชนกลุ่มน้อย ในพม่าและชายแดนไทย ซึ่งรวมทั้งวัฒนธรรมการสร้างบ้านเรือนที่สืบทอดกันจากรุ่น หนึ่งสู่รุ่นหนึ่งก�ำลังถูกกลืนโดยวัฒนธรรมอื่นจากความเจริญจากพื้นราบขึ้นสู่ดอยสูง จากตัวเมืองสู่ชนบท การคมนาคมที่สะดวกขึ้น และการติดต่อสื่อสารที่ทันสมัย ท�ำให้ ชนกลุม่ น้อยเหล่านีร้ บั วัฒนธรรมของชาวเมืองมากขึน้ เรือ่ ย ๆ เอกลักษณ์ของบ้านเรือน ของแต่ละชาติพนั ธ์ทุ บี่ ง่ บอกถึงรากเหง้าทางวัฒนธรรมและถิน่ ฐานเดิมทีอ่ พยพมาก�ำลัง หายไป กลายเป็นวัฒนธรรมผสมผสาน วัสดุก่อสร้างใหม่เข้าสู่หมู่บ้านชาวดอย รูปแบบ บ้านเริ่มเปลี่ยนไป พื้นที่ใช้สอยใหม่เพิ่มขึ้นมา เช่น ห้องน�้ำห้องส้วม โรงจอดรถ ของใช้ ในบ้านเพิ่มขึ้นหรือเปลี่ยนแปลงไป ถ้ากระแสไฟฟ้าเข้าถึง เครื่องใช้ไฟฟ้าก็เพิ่มขึ้น วิทยุ โทรทัศน์ พัดลม ฯลฯ องค์ประกอบของหมู่บ้านก็เพิ่มขึ้นหรือเปลี่ยนแปลงไป เช่น โรงเรียน ร้านค้า เกสท์เฮ้าส์เพือ่ รองรับการท่องเทีย่ ว ฯลฯ วิถชี วี ติ ทีเ่ ปลีย่ นไปมีผลท�ำให้ สถาปัตยกรรมเปลี่ยนไปด้วย "ชาวเขา" ตามนโยบายการพั ฒ นาและสงเคราะห์ ช าวเขา ของกรม ประชาสงเคราะห์ (มติ ครม. ๖ กรกฎาคม ๒๕๑๙) ประกอบด้วย กลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ จ�ำนวน ๙ เผ่าหลัก ได้แก่ แม้ว เย้า มูเซอ ลีซอ อีก้อ กะเหรี่ยง ลัวะ ถิ่น ขมุ และมีกลุ่ม ชาติพันธุ์อื่น ๆ ที่มีลักษณะเดียวกัน ประชากรชาวไทยภูเขาในประเทศไทยล่าสุด จากข้อมูล กองสงเคราะห์ชาวเขา กรมประชาสงเคราะห์ มีจำ� นวนประชากรทัง้ หมด ๗๗๔,๓๑๖ คน ๑๓๙,๗๙๗ หลังคาเรือน ๓,๗๔๖ หมู่บ้าน/กลุ่มบ้าน

18 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ไมโครนิเซียน โพลินิเซี่ยน นิกรอยด์ (อพยพขึ้นเหนือ)

จีนธิเบต มองโกลอยด์ (อพยพลงใต้)

มอญ-เขมร ว้า ละว้า

ถิ่น

ขมุ

ข่าฮ่อ

ผีตองเหลือง โลโล-โนสุ

จีน เย้า แม้ว ปาเติ่ง

ฮ่อ ธิเบต-พม่า

แม้วด�ำ กะเหรี่ยง พโว

แม้วขาว อาย่า สกอ

กวมป่า ลิซอ

ต่องสู้

เย้า มูเซอ

มูเซอซิ

มูเซอเซเละ

บเว

แผนภูมิ ๑ แสดงชาติพันธ์ุและการสืบเชื้อสายของชนกลุ่มน้อยในไทย (ที่มา : Gordon Young, The Hill tribes of Northern Thailand)

ชนกลุม่ น้อยในพม่าและชายแดนไทยทีต่ งั้ ถิน่ ฐานบนภูเขา สามารถแบ่งได้ตาม ลักษณะการอพยพย้ายถิ่นได้ ๒ กลุ่มใหญ่คือ - กลุ่มที่อพยพขึ้นเหนือ ได้แก่กลุ่มไมโครนิเซี่ยน-โพลินิเซี่ยน - กลุ่มที่อพยพลงใต้ ได้แก่กลุ่มจีน-ธิเบต และสามารถแบ่งตามความสัมพันธ์ทางภาษาศาสตร์ได้ ๓ กลุ่ม ได้แก่ - กลุ่มภาษาจีน - กลุ่มภาษาธิเบต-พม่า - กลุ่มภาษามอญ-เขมร ชาติพันธุ์น่านศึกษา

19


แผนที่แสดงเส้นทางอพยพเข้าสู่ไทยของของชนกลุ่มน้อยจากจีนและธิเบต (ที่มา: ลิขิต ธีรเวคิน, ชนกลุ่มน้อยในประเทศไทย)

แผนภูมิ ๒ แสดงการตั้งถิ่นฐานของชาวเขาเผ่าต่างๆในภาคเหนือของไทย (ที่มา:Tatya Saihoo, The Hill Tribes of Northern Thailand)

เชื่อหรือไม่ มีคนไทยที่อาศัยอยู่ในอยู่ในประเทศไทย มีจ�ำนวนมากมายถึง ๗๐ กลุ่ม มีการกระจายของภาษาในตระกูลภาษาต่าง ๆ ตามลักษณะความสัมพันธ์ ด้านการร่วมเชื้อสายกลุ่มชาติพันธุ์ จัดอยู่ในตระกูลภาษา ๕ ตระกูล ซึ่งเป็นตระกูล ภาษาหลักของคนในเอเชียอาคเนย์ ในกรอบการศึกษา ตามหลักของ ราอูล นาโรลล์ นักมนุษยวิทยาได้ท�ำการศึกษาและเสนอเกณฑ์ที่จะใช้ก�ำหนดหน่วยทางชาติพันธุ์ที่ ส�ำคัญ ๖ ประการ ได้แก่ - การกระจายตัวของลักษณะส�ำคัญ (TRAITS DISTRIBUTION) - ความใกล้ชิดทางอาณาเขต (TERRITORIAL CONTIGUITY) - องค์กรทางการเมือง (POLITICAL ORGANIZATION) - ภาษา (LANGUAGE) - การปรับตัวทางนิเวศน์ (ECOLOGICAL ADJUSTMENT) - โครงสร้างชุมชนท้องถิ่น (LOCAL COMMUNITY STRUCTURE)

20 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


๑. ภาษาตระกูลไทย (Tai language family) มีจำ� นวน ๒๔ กลุม่ ภาษาใน ประเทศไทยมีผพู้ ดู ภาษาในตระกูลนีเ้ ป็นจ�ำนวนร้อยละ ๙๔ ของประชากรในประเทศ

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

21


๒. ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก (Austor-Asiatic language family) มีจ�ำนวน ๒๒ กลุ่มภาษาหลัก พบในประเทศไทยในปัจจุบันทั้งหมดเป็นกลุ่มมอญ เขมร มีผู้พูดเป็นจ�ำนวนร้อยละ ๔.๓ ของประชากรในประเทศ

22 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


๓. ภาษาตระกูลจีน-ทิเบต (Sino-Tibetan language family) มีจ�ำนวน ๑๑ กลุ่มภาษาหลัก มีจ�ำนวนกว่า ๒๐๐ ภาษา ในประเทศไทยพบในเขตภาคเหนือ และตะวันตกเป็นส่วนมาก

ภาษาตระกูลเตรเนเชียน หรือ มาลาโยโพลีเนเชีย (Austronesian or MalayoPolynesian language family) ภาษาในตระกูลนีใ้ นประเทศไทยพบในเขตภาคใต้เป็น ส่วนมาก มีผู้พูดเป็นจ�ำนวนร้อยละ ๐.๓ ของประชากรในประเทศ

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

23


ภาษาตระกูลม้ง-เมี่ยน (หรือแม้ว-เย้า) (Hmong-Mien or Miao-yao language family) ในประเทศไทยพบในภาคเหนือเป็นส่วนใหญ่มีผู้พูดจ�ำนวนร้อยละ ๐.๓ ของประชากรในประเทศ

ไมโครนิเซียน โพลินิเซี่ยน นิกรอยด์ (อพยพขึ้นเหนือ)

จีนธิเบต มองโกลอยด์ (อพยพลงใต้)

มอญ-เขมร ว้า ละว้า

ถิ่น

ขมุ

ข่าฮ่อ

ผีตองเหลือง โลโล-โนสุ

จีน เย้า แม้ว ปาเติ่ง

ฮ่อ ธิเบต-พม่า

แม้วด�ำ กะเหรี่ยง พโว

24 ชาติพันธุ์น่านศึกษา

แม้วขาว อาย่า สกอ

กวมป่า ลิซอ

ต่องสู้

บเว

เย้า มูเซอ

มูเซอซิ

มูเซอเซเละ


โครงการ ปฐมบทปฏิบัติการของเยาวชนน่าน : การเรียนรู้คืนสู่รากเหง้า ชาติพันธุ์น่านศึกษา เพื่อสร้างสานส�ำนึกจิตวิญญาณ เยาวชนพลเมืองน่าน กรณี ศึกษา ๘ ชาติพนั ธุ์ ๘ ชุมชนผืนแผ่นดินน่านกรอบวิธคี ดิ ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ๑. การเรียนรู้อย่างลึกซึ้ง ๒. การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ๓. การเรียนรู้จากการสื่อสาร โดยกรอบหัวข้อในการศึกษาคือโครงงานศึกษา ชาติพันธุ์น่านศึกษา กรณี ชุมชนบ้านชาติพันธุ์ การติดตามการประเมินตามสภาพจริง เป็นการประเมินผลการเรียนรู้ของ ผูเ้ รียนทีใ่ ช้วธิ กี ารทีห่ ลากหลาย เน้นการประเมินทักษะการคิดทีซ่ บั ซ้อน ทักษะการท�ำงาน ความสามารถในการแก้ปัญหาและการแสดงออกที่เกิดจากการปฏิบัติในสภาพจริง อยู่บนพื้นฐานของเหตุการณ์จริงในชีวิตจริง เน้นพัฒนาการที่ปรากฏให้เห็นทั้งในและ นอกห้องเรียน โดยมีผู้เกี่ยวข้องในการประเมินหลายฝ่าย และเกิดขึ้นได้ในทุกบริบท เท่าที่จะเป็นไปได้ รวมทั้งเป็นการประเมินที่มีลักษณะแบบไม่เป็นทางการ (จากกรณี ศึกษาชุมชนบ้านหัวนาก่อนหน้านั้นน�ำมาเป็นต้นแบบในการลงศึกษาพื้นที่อื่น) ๑. ชาติพันธุ์ไทลื้อ ชุมชนแห่งการเรียนรู้บ้านสบขุ่น อ.ท่าวังผา ๒. ชาติพันธุ์ลัวะ ชุมชนแห่งการเรียนรู้บ้านห้วยลอย ๓. ชาติพันธุ์ม้ง ชุมชนแห่งการเรียนรู้บ้านดอยติ้ว ๔. ชาติพันธุ์ไทยวน ชุมชนแห่งการเรียนรู้บ้านห้วยเลา อ.นาน้อย ๕. ชาติพันธุ์ถิ่น ชุมชนแห่งการเรียนรู้บ้านสะปัน อ.บ่อเกลือ ๖. ชาติพันธุ์มลาบรี ชุมชนแห่งการเรียนรู้บ้านห้วยหยวก ภูเค็ง และพร้อม ชุมชนคู่ขนานห้วยลู่ ๗. ชาติพันธุ์ขมุ ชุมชนแห่งการเรียนรู้บ้านห้วยเลา อ.สองแคว ๘. ชาติพันธุ์เมี่ยน ชุมชนแห่งการเรียนรู้บ้านสันเจริญ อ.ท่าวังผา

ความคาดหวังของปลายทางในการบริหารโครงการที่ยังไปไม่ถึงผลนั้น - ปราชญ์ชาวบ้าน ร่วมสร้างเครือข่าย ๘ ชาติพันธุ์ - ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมน่าน - ลานวัฒนธรรมชาติพันธุ์ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

25


- พิพิธภัณฑ์ชีวิต - บ้านจ�ำลองวิถีชาติพันธุ์น่าน - ฐานข้อมูลภูมิวัฒนธรรมสังคมน่าน

ข้อสรุปการสัมมนาข้อเสนอแนะของเด็ก ๆ ชาติพันธุ์น่านศึกษา โดยสภา ชาติพันธุ์น่าน นักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ จังหวัดน่าน ๑. ท�ำห้องสมุดชนเผ่าเหมือนเดิม ๒. รวบรวมภาษา ๓. ท�ำหนังสือแต่ละชนเผ่า ๔. มีชุดชนเผ่าของแต่ละชนเผ่าในห้องสมุด หรือโปสเตอร์ ๕. การมีส่วนร่วมของปราชญ์ชุมชน ๖. มีการจ�ำลองเครื่องดนตรีของแต่ละชนเผ่า ๗. มีการน�ำเสนอภาษาชนเผ่าของแต่ละชนเผ่าวันละค�ำ ๘. รวมพิธีกรรมผีของแต่ละชนเผ่า ๙. พิพิธภัณฑ์ชาติพันธุ์ สภาชาติพันธุ์น่านเป็นกิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย การขับเคลื่อนบทเรียน จากสภาชาติพันธุ์ของนักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ จังหวัดน่าน ในหัวข้อ น่านศึกษา ชาติพันธ์ุน่าน โดยกิจกรรมเสนาดังกล่าวเป็นการปูพื้นฐานบทเรียนแรกใน การน�ำไปสูก่ ารวางแผนลงพืน้ ทีศ่ กึ ษาในรูป โครงงานศึกษา ( Project work) หรือ Project Based Learning โดยในกรอบการศึกษา การรับรู้ความหลากหลายทางเชื้อชาติน่าน อย่างไรก็ตามวัฒนธรรมและการจัดจ�ำแนกกลุม่ คน ไม่ใช่เรือ่ งใหม่ และมีมานาน แล้วในรัฐจารีต แต่เมื่อเกิดรัฐชาติสมัยใหม่ ซึ่งเรียกร้องให้ทุกคนมีอัตลักษณ์ร่วมกัน ใน ฐานะความเป็นพลเมืองชาติ อีกทัง้ การเกิดองค์ความรูท้ างด้านชาติพนั ธุว์ ทิ ยา ยังส่งผลให้ เกิดแนวความคิดการจ�ำแนกคนแต่ละกลุม่ ชาติพนั ธุแ์ ตกต่างกันออกไปตามนโยบายการ สร้างชาติของแต่ละประเทศเป็นทีม่ าของการหลอมรวมศูนย์วฒ ั นธรรม (ชาตินยิ มเดีย่ ว) ตามหลักของ ราอูล นาโรลล์ นักมานุษยวิทยาได้ทำ� การศึกษาและเสนอเกณฑ์ ที่จะใช้ก�ำหนดหน่วยทางชาติพันธุ์ที่ส�ำคัญ ๖ ประการ ได้แก่

26 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


- การกระจายตัวของลักษณะส�ำคัญ (TRAITS DISTRIBUTION) - ความใกล้ชิดทางอาณาเขต (TERRITORIAL CONTIGUITY) - องค์กรทางการเมือง (POLITICAL ORGANIZATION) - ภาษา (LANGUAGE) - การปรับตัวทางนิเวศน์ (ECOLOGICAL ADJUSTMENT) - โครงสร้างชุมชนท้องถิ่น (LOCAL COMMUNITY STRUCTURE)

ครั้งนี้เป็นการรวมกันเป็นเวทีแรกในการเสวนา ชาติพันธุ์ศึกษาน่าน โดยทาง โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์น่านได้ด�ำเนินการในตอนนั้น ปีการศึกษา ๒๕๕๓ สมัยท่าน ผู้อ�ำนวยการสุมนต์ มอนไข่ ที่ได้แบ่งฐานการเรียนรู้ของนักเรียนออกเป็น ๘ ชาติพันธุ์ และเป็นที่มาในการจัดรูปแบบสภาชาติพันธุ์น่าน (สภาชนเผ่า) และได้จัดท�ำศูนย์ เรียนรู้หมู่บ้านจ�ำลอง และพิพิธภัณฑ์มีชีวิต มีการพัฒนาเป็นหลักสูตรชาติพันธุ์ศึกษา (ได้ถวายงานสมเด็จพระเทพฯ) จากวันนัน้ ถึงวันนีง้ านยังเดินอยูแ่ ละต้องเดินต่อไป จริงๆ แล้วเป็นการเรียนรูพ้ หุวฒ ั นธรรม ผูค้ นหันกลับมามองวัฒนธรรมขนาดเล็ก เรียนรูค้ ณ ุ ค่า ขนาดเล็กวัฒนธรรมขนาดเล็ก เพือ่ ให้คนหันกลับมาสร้างสมดุลยของโลก การทีส่ งั คมคน รุน่ ใหม่ได้ละทิง้ ถิน่ ฐาน ภาวะกาลล่มสลายของสังคมในชนบทน�ำไปสูค่ วามอ่อนแอและ สลายไปของวัฒนธรรมขนาดเล็กอย่างน่าตกใจ เพราะกระแสโลกาภิวัตน์ตอนนี้ ก�ำลัง เป็นกระแสที่ได้รับบทเรียนจากการพัฒนาที่ผ่านมาหลายสิบปี ซึ่งได้ก่อให้เกิดผลกระ ทบในเชิงนิเวศมากมาย ที่มันก็จะน�ำไปสู่ความไม่มั่นคงของระบบทุนอุตสาหกรรมนิยม เช่นเดียวกันเพราะฉะนั้น ความเป็นห่วงในเรื่องของนิเวศ ของสภาพแวดล้อม ของ ทรัพยากรพวกนี้, ก็เป็นเรื่องของกระแสชุมชนท้องถิ่นที่สอดคล้องกับกระแสโลกด้วย (ทศวรรษที่ ๒๑) เราน่าจะฉวยโอกาสการเรียนรู้ของโลกตอนนี้ ได้พัฒนาภูมิปัญญา ขีด ความสามารถขึน้ มานัน่ ก็เป็นสิง่ ทีร่ ะบบการศึกษาต้องคิดว่าจะต้องสร้างอัตลักษณ์ สร้าง วัฒนธรรมการเรียนรูข้ องเด็กและเยาวชนให้เข้าใจตัวเอง (รากแก้วทางวัฒนธรรม) ต้นไม้ ไร้รากย่อมไม่ต่างอะไรกับคนไร้วัฒนธรรม คนเราถ้าลืมรากเหง้าหรือลืมประวัติศาสตร์ ภูมิหลังของตนเอง ก็เหมือนไร้จิตวิญญาณ ไร้ตัวตน ขาดที่มาขาดความภาคภูมิใน รากแก้วต้นก�ำเนิดแล้วย่อมน�ำไปสู่การล่มสลายของสังคมในที่สุด กิจกรรมการเรียนรู้ได้สรุปเวทีแลกเปลี่ยนได้เรียนเชิญ คุณครูสุรนันทร์ ลิมมณี และครูสงกานต์ บุญช่วย ครูที่ปรึกษา กิจกรรมชาติพันธุ์ศึกษา ร่วมบรรยายพิเศษให้ ความรู้เรื่องชาติพันธ์ุแก่นักเรียน ชาติพันธุ์น่านศึกษา

27


บรรยายพิเศษ เวทีเสวนาชาติพันธุ์น่าน กิจกรรมสภาชาติพันธุ์น่าน โรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ ๕๖ ครูสรุ นันทร์ ลิม้ มณี บรรยาย ภูมศิ าสตร์และชาติพนั ธุ์ : พูดถึง ประเด็นตัวตน ทีม่ ตี น้ ทุนทางวัฒนธรรม ทีส่ งู มากๆของคนน่านถือเป็น มรดกของคนน่าน จากประชากร ๔๗๗,๐๐๐ คน (๔๑ คน ต่อตารางกิโลเมตร) มีภาษาพูดที่หลากหลาย แต่สว่ นใหญ่จะพูดภาษาไทย ถิน่ เหนือ (ก�ำเมืองส�ำเนียงน่าน) โดยจากการส�ำรวจศึกษา น่านมี ๑๗ ชาติพันธุ์ (มี ๕ กลุ่มใหญ่ ดั้งเดิมจะอยู่ที่เมืองน่าน) เราสามารถ จ�ำแนกดังนี้ ๑. ชาวไทลื้ อ /ไตลื้ อ ๗๑ หมู่บ้าน ย้ายถิ่นฐานมาจากสิบสอง ปันนา (มณฑลยูนาน ประเทศจีน) เมือง หลวงคือเซียงรุ้ง ในยุคเก็บผักใส่ส้า เก็บผ้าใส่เมือง ตามภูมิศาสตร์ ว่า ๕ เมืองตะวันตก ๖ เมืองตะวันออกของแม่น�้ำโขง ในเมืองน่านมีชาวไทยลื้อฝั่งสิบสองปันนาตะวันออก ตั้งถิ่นฐานตามลุ่มแม่น�้ำน่าน บ้านหนองบัว อ.ท่าวังผา บ้านยอด อ.สองแคว มีกลุ่มส�ำเนียง ภาษาไทยอีสานปนบ้าง ไทลือ้ ฝัง่ สิบสองปันนาตะวันตก ตัง้ ถิน่ ฐานตามลุม่ น�ำ้ ย่าง ต.ยม อ.ท่าวังผา ต.ศิลาเพชร อ.ปัว บ้านห้วยโก๋น อ.เฉลิมพระเกียรติ กลุ่มส�ำเนียงภาษา แบบคนยอง ใน จ.ล�ำพูน / เชียงใหม่ ศิลปะโดดเด่นคือการทอผ้า (ลายน�้ำไหล) บทเรี ย นที่ ม ากกว่ า บทเรี ย น ชาติพันธุ์น่านศึกษา “การแพร่กระจาย ทางวั ฒ นธรรมเป็ น กระบวนการที่ มี ลักษณะส�ำคัญของวัฒนธรรมหนึ่งแพร่ กระจายไปสู่อีกวัฒนธรรมหนึ่ง โดยปรับ เปลี่ยนให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมใหม่” นัน้ ก็หมายความว่า “วัฒนธรรมสามารถวัดได้ โดยน�ำวัฒนธรรมทีแ่ ตกต่างกันมาเปรียบ เทียบกันและพิจารณาคุณลักษณะที่สูงกว่าหรือด้อยกว่าของแต่ละวัฒนธรรม แต่ยังคง เชื่อว่าวัฒนธรรมนั้นไม่มีวัฒนธรรมใดที่ดีกว่าหรือเลวกว่ากัน” ทุกวัฒนธรรมควรเสมอ ภาค ในแง่ของศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ด้วยกัน ครูสุรนันทร์ ลิ้มมณี กล่าวต่ออีกว่า

28 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


๒. ชาวไทพวน หรือ ลาวพวน อดีตที่มาไม่แน่นอนนักด้านข้อมูล (ยังต้อง ศึกษาต่อไป) ชุมชนที่พบได้ในปัจจุบัน บ้านฝายมูล อ.ท่าวังผา บ้านหลับมื่นพวน อ.เวียงสา ประเพณี ก�ำฟ้า จัดช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ๓. ชาวไทยเขินหรือชาวขืน อพยพมาจากเซียงตุง (พม่า) ชุมชนที่พบได้ใน ปัจจุบันบ้านหนองม่วง อ.ท่าวังผา บ้าน เชียงยืน ต.ยม อ.ท่าวังผา (ประเด็นการ กลืนวัฒนธรรมกับไทลื้อ) ๔. ม้ง ถือเป็นประชากรทีม่ เี อกลักษณ์ ที่น่าสนใจ มีประมาณ ๓๔ หมู่บ้าน มี จ�ำนวนประชากร ๕๐,๐๐๐ กว่าคน แบ่ง ออกเป็น ๒ กลุ่ม ม้งขาว (ม้งเด้อะ) ม้งเขียว (ม้งลาย) ๕. ชนชาวก่อ ตั้งถิ่นฐาน บ้านสะเกิน อ.สองแคว ต.ยอด อพยพมาจาก สิบสองปันนา ปัจจุบัน ๑๕๒ หลังคา ๔๐๐ กว่าคน มีต�ำนานก่อปิดดาว ๖. มลาบรี (ชนตองเหลือง) บ้านห้วยหยวก (ชุมชนจัดตัง้ ) มีประชากร ๑๙๒ คน ๓๔ หลังคาเรือน มีการแยกไปอยู่ ห้วยลู้ (บ้านสมุน) ๗ หลังคาเรือน ๒๐ คน (บ้านน�ำ้ โค้ง บ้านกลางพัฒนา จ.แพร่) ครูสุรนันทร์ ลิ้มมณี กล่าว ๗. ลัวะ มีประมาณ ๒๐๐ หมู่บ้านในจังหวัดน่าน แบ่งออกเป็น ๒ กลุ่มใหญ่ๆ - ลัวะมัล มีประเพณี ตีพิ กินสโลด - ลัวะปรัย มีประเพณี กินสโลด ดอกแดง ๘. ขมุ ส่วนใหญ่ มีอยู่ ต.ชนาแดน อ.สองแคว หมู่บ้านน�้ำลุ หมู่บ้านน�้ำเสน บ้านใหม่ชายแดน อ.ทุ่งช้าง ๙. เหาะ มีลกั ษณะวัฒนธรรมใกล้เคียงกับขมุ มีการอาศัยและเป็นชุมชน บ้าน สบปืน อ.ทุ่งช้าง บ้านน�้ำเลี้ยง บ้านปอน บ้านปางหก ๑๐. ลาวหลวงพระบาง ลักษณะปัจจุบัน มีการผสมผสานวัฒนธรรมพื้นถิ่น ของคนไทยวน ส่วนใหญ่เป็นชุมชนใหญ่บ้านน�้ำปั้ว ๑๑. ลาวตึง อาศัยอยู่ อ.สันติสุข บ้านดอน ใช้ภาษาพูดทับศัพท์ ของฝรั่งเศส ช่วงอิทธิพลยุคล่าอาณานิคม ๑๒. ลาวเซียงแสน พบได้ทกี่ ลุม่ ชุมชนบ้านขึง่ อ.เวียงสา จ.น่าน ส�ำเนียงหวาน ๑๓. ลาวบ้านตึง มาจากบ้านแค่น เมืองทุ่งมีชัย แขวงไชยบุรี สปป.ลาว ชาติพันธุ์น่านศึกษา

29


๑๔. มูเซอ อพยพมาจาก จ.เชียงราย มาอาศัยอยู่ จ.น่าน บ้านห้วยระพี มีประมาณ ๑๐ กว่าหลังคาเรือน บ้านปางเป๋ย มีอาศัยอยู่ประมาณ ๔ หลังคาเรือน เพิ่งอพยพมาประมาณ ๑๐ กว่าปี ๑๕. ชาวจีน อาศัยกระจัดกระจายในตัวเมืองน่าน และเขตตัวเมืองเวียงสา ครูสุรนันทร์ ลิ้มมณี กล่าว การสัมมนา และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันของนักเรียนได้มีการน�ำเสนอ รูปแบบการละเล่นประจ�ำชาติพันธุ์ของตนเองและได้ร่วมกันอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็น โดยในการสัมมนาได้ขอสรุปแนวคิดที่จะพัฒนารูปแบบการจัดการ ศึกษาแยกกลุ่มศึกษาตามชาติพันธุ์ของตนเองและได้จัดตั้งคณะท�ำงานในวางแผน ศึกษาในรูปโครงงานศึกษา โดยเลือกโครงงานประเภทส�ำรวจและรวบรวมข้อมูล โครง งานประเภทนี้ นักเรียนแต่ละกลุม่ ชาติพนั ธุต์ อ้ งวางแผนด�ำเนินโครงงานเพือ่ การส�ำรวจ และรวบรวมข้อมูล แล้วน�ำข้อมูลเหล่านั้นมาจ�ำแนกหมวดหมู่และน�ำเสนอในรูปแบบ ฐานข้อมูล เพื่อให้เห็นลักษณะหรือความสัมพันธ์ในเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน การ ส�ำรวจและรวบรวมข้อมูลอาจท�ำได้หลายรูปแบบแล้วแต่กลุม่ ชาติพนั ธุน์ นั้ ๆ การเรียนรู้ นั้น ๆ เช่น - ส�ำรวจค�ำราชาศัพท์ในกลุ่มภาษา - ส�ำรวจชื่อพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ศึกษา - ส�ำรวจชนิดของกีฬา การละเล่นท้องถิ่น ในการท�ำโครงงานประเภทส�ำรวจข้อมูลไม่จำ� เป็นต้องมีตวั แปรเข้ามาเกีย่ วข้อง นักเรียนเพียงแต่สำ� รวจรวบรวมข้อมูลทีไ่ ด้ แล้วน�ำข้อมูลทีไ่ ด้มาจัดให้เป็นหมวดหมูแ่ ละ น�ำเสนอ ก็ถือว่าเป็นการส�ำรวจรวบรวมข้อมูลแบบง่าย (เน้นการลงพื้นที่ถอดบทเรียน ศึกษาในชุมชนจริงๆ) โดยการศึกษายึดกรอบแนวทางตามหลักของ ราอูล นาโรลล์ นัก มานุษยวิทยาได้ทำ� การศึกษาและเสนอเกณฑ์ทจี่ ะใช้กำ� หนดหน่วยทางชาติพนั ธุท์ สี่ ำ� คัญ ๖ ประการได้แก่ - การกระจายตัวของลักษณะส�ำคัญ (TRAITS DISTRIBUTION) - ความใกล้ชิดทางอาณาเขต (TERRITORIAL CONTIGUITY) - องค์กรทางการเมือง (POLITICAL ORGANIZATION)

30 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


- ภาษา (LANGUAGE) - การปรับตัวทางนิเวศน์ (ECOLOGICAL ADJUSTMENT) - โครงสร้างชุมชนท้องถิ่น (LOCAL COMMUNITY STRUCTURE)

การติดตามการประเมินตามสภาพจริง เป็นการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้ เรียนทีใ่ ช้วธิ กี ารทีห่ ลากหลาย เน้นการประเมินทักษะการคิดทีซ่ บั ซ้อน ทักษะการท�ำงาน ความสามารถในการแก้ปัญหาและการแสดงออกที่เกิดจากการปฏิบัติในสภาพจริง อยู่บนพื้นฐานของเหตุการณ์จริงในชีวิตจริง เน้นพัฒนาการที่ปรากฏให้เห็นทั้งในและ นอกห้องเรียน โดยมีผเู้ กีย่ วข้องในการประเมินหลายฝ่าย และเกิดขึน้ ได้ในทุกบริบทเท่าที่ จะเป็นไปได้ รวมทั้งเป็น การประเมินที่มีลักษณะแบบไม่เป็นทางการ ๑. ชาติพันธุ์ไทลื้อ ชุมชนแห่งการเรียนรู้บ้านหนองบัว อ.ท่าวังผา ๒. ชาติพันธุ์ลัวะ ชุมชนแห่งการเรียนรู้บ้านห้วยลอย อ.บ่อเกลือ ๓. ชาติพันธุ์ม้ง ชุมชนแห่งการเรียนรู้บ้านดอยติ้ว ๔. ชาติพันธุ์ไทยวน ชุมชนแห่งการเรียนรู้บ้านห้วยเลา อ.นาน้อย ๕. ชาติพันธุ์ถิ่น ชุมชนแห่งการเรียนรู้บ้านสะปัน อ.บ่อเกลือ ๖. ชาติพนั ธุม์ ลาบรี ชุมชนแห่งการเรียนรูบ้ า้ นห้วยหยวก ภูเค็ง และชุมชนคูข่ นาน ๗. ชาติพันธุ์ขมุ ชุมชนแห่งการเรียนรู้บ้านห้วยเลา อ.สองแคว ๘. ชาติพันธุ์เมี่ยน ชุมชนแห่งการเรียนรู้บ้านสันเจริญ อ.ท่าวังผา

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

31


โครงการปฐมบทปฏิบัติการของเยาวชนน่าน : การเรียนรู้คืนสู่รากเหง้า ชาติพันธุ์น่านศึกษา เพื่อสร้างสานส�ำนึกจิตวิญญาณ เยาวชนพลเมืองน่าน กรณีศึกษา ๘ ชาติพันธุ์ ๘ ชุมชนผืนแผ่นดินน่าน กรอบวิธีคิดในการจัดกระบวนการเรียนรู้

สถาบันอาสมศิลป์

32 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ชาติพันธุ์ไทยวน

พื้นที่ท�ำโครงงานศึกษา บ้านห้วยเลา อ.นาน้อย รายชื่อนักเรียนในหมู่บ้าน ๑. นางสาวดาริกา สุคนธมา ๖. เด็กหญิงสุดารัตน์ แสนเขื่อนแก้ว ๒. นางสาวพรทิพย์ ค�ำมีสี ๗. นายเจษฎากร ลักษณะยศ ๓. นางสาวนงคราญ ทิแพง ๘. นายอินรณ ไชยแก้ว ๔. นางสาวสาวินี ห่อทอง ๙. เด็กชายพฤกษ์ นินแท้ ๕. เด็กหญิงจริพรรณ ติ๊บอ้าย ๑๐. เด็กชายทินภัทร เทียมใจ รายชื่อนักเรียนนอกหมู่บ้าน ๑. นางสาวศลิษา ค�ำวรรณะ ๒. นางสาวอนัญญา จิตมะกล�่ำ

ชาติพันธุ์ม้ง

พื้นที่ท�ำโครงงานศึกษา บ้านดอยติ้ว รายชื่อนักเรียนในหมู่บ้าน ๑. นางสาวสุพรรณี แซ่เล้า ๑๔. นายชวน วิวัฒนาชัยกุล ๒. นางสาวเฟื่องฟ้า แซ่เฮ้อ ๑๕. นางสาวมณทิตย์ ทรงวรพันธ์ ๓. นางสาววนิดา แซ่โซ้ง ๑๖. นางสาวพัชรินทร์ มหันตชัย ๔. นางสาวปิยนันท์ แซ่รี ๑๗. นางสาวสุพนุช แซ่เฮ้อ ๕. นางสาวสุวพร มาศกิตติวงศ์ ๑๘. นางสาวจินตนา แซ่เฮ้อ ๖. นางสาวรุ่งฤดี แซ่เฮ้อ ๑๙. นางสาวยุพา แซ่รี ๗. นายวัฒนา แซ่เติ๋น ๒๐. นางสาวสุภาวดี แซ่โซ้ง ๘. นางสาวสุพรรณ แซ่เฮ้อ ๒๑. นางสาวพูนสุข แซ่เล้า ๙. นางสาวนงเยาว์ แซเฮ้อ ๒๒. นางสาวสุธิดา แซ่รี ๑๐. นางสาวภาวดี แซ่เฮ้อ ๒๓. นางสาวรัศมี แซ่โซ้ง ๑๑. นางสาวดวงใจ แซ่ลี ๒๔. เด็กหญิงศิริพร แซ่เฮ้อ ๑๒. นายสมัชชา เพชรรัตนพันธ์ ๒๕. เด็กชายศตวรรษ ทรงวรพันธ์ ๑๓. นายพรชัย ทรงวรพันธ์ ๒๖. เด็กหญิงจรรยาพร แซ่รี ชาติพันธุ์น่านศึกษา

33


๒๗. เด็กหญิงศิริลักษณ์ แซ่รี ๒๘. เด็กหญิงวรรณภา แซ่รี ๒๙. เด็กหญิงสาลิกา แซ่โซ้ง ๑. นางสาวบุษบา แสนโซ้ง ๒. นางสาวศยามล แสนโซ้ง

รายชื่อนักเรียนนอกหมู่บ้าน

ชาติพันธุ์ขมุ

พื้นที่ท�ำโครงงานศึกษา บ้านห้วยเลา อ.สองแคว รายชื่อนักเรียนในหมู่บ้าน ๑. นางสาวกันยารัตน์ ค�ำดี ๙. เด็กหญิงนฤมล แก้วแดง ๒. นางสาวต่าย สุวรรณแสน ๑๐. เด็กชายโอ๊ต ด�ำดง ๓. นางสาวจุไรวรรณ เสารางทอย ๑๑. เด็กชายมานพ แก้วแดง ๔. เด็กหญิงณัฐธิดา เสารางทอย ๑๒. เด็กชายจิรายุ ด�ำดง ๕. เด็กหญิงเรณุกา แก้วแดง ๑๓. เด็กชายธนาวุฒ ค�ำดี ๖. เด็กหญิงสุภานัน ค�ำดี ๑๔. เด็กชายครรชิพล เทพกัน ๗. เด็กหญิงณิชา ค�ำดี ๑๕. เด็กชายสุเทพ ค�ำวงศ์ ๘. เด็กหญิงเบญจรัตน์ บุรวัตรนุกุล

ชาติพันธุ์เมี่ยน

๑. นางสาวศุภาวรรณ แซ่ลี ๘. นางสาวอารณี แซ่จ่าว ๒. นางสาวสิรินนาฏ สังข์มงคล ๙. นางสาวศิริลักษณ์ แซ่ผ่าน ๓. นางสาวเนตรนภา แซ่ผ่าน ๑๐. เด็กชายวรกันต์ แซ่ลี ๔. นางสาวรัชนีกร รัตนวิการณ์ ๑๑. เด็กชายวรวิทย์ แซ่ผ่าน ๕. นางสาวดวงมณี แซ่ผ่าน ๑๒. เด็กชายอนุศักดิ์ แซ่ผ่าน ๖. นางสาวศุภานนท์ แซ่จ๋าว ๑๓. เด็กชายคมสัน แซ่จ่าว ๗. นางสาวอรปรียา รัตนวิการณ์ รายชื่อนักเรียนนอกหมู่บ้าน ๑. นางสาวธยานี แซ่เติ๋น ๒. นางสาวอรุณี สกุลวรภัทร

34 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ปฏิทินการปฏิบัติงาน วัน/เดือน/ปี

กิจกรรม

หมายเหตุ

๕-๗ ตุลาคม ๕๗

ท�ำความเข้าใจกับผู้น�ำชุมชน/ขอความสะดวก ในการลงศึกษาพื้นที่

๗-๙ ตุลาคม ๕๗

ศึกษาประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของชุมชน/ ท�ำแผนมาชุมชน/จ�ำนวนประชากร

๑๐-๑๓ ตุลาคม ๕๗

-ท�ำแผนที่ชีวิตจ�ำแนกสกุล เครือญาติ/ เศรษฐกิจ หนี้สิน พืชเศรษฐกิจ -เก็บข้อมูลรูปแบบบ้านเรือนและภูมิศาสตร์ -เก็บข้อมูลจารีตประเพณี จากอดีต -ถอดความรู้สึกหลังจากนักเรียนได้ทดลองศึกษา แล้ว

๑๑-๑๒ ตุลาคม ๕๗

คณะครูที่ปรึกษาลงประเมินพื้นที่และร่วมถอด เป็นบทเรียนกับชุมชน

ชุมชนห้วยเลา อ.นาน้อย

๑๗-๑๘ ตุลาคม ๕๗

คณะครูที่ปรึกษาลงประเมินพื้นที่และร่วมถอด เป็นบทเรียนกับชุมชน

ชุมชนห้วยเลา อ. สองแคว

๒๔-๒๕ ตุลาคม ๕๗

คณะครูที่ปรึกษาลงประเมินพื้นที่และร่วมถอด เป็นบทเรียนกับชุมชน

ชุมชนดอยติ้ว อ. ท่าวังผา

๒๕-๒๖ ตุลาคม ๕๗

คณะครูที่ปรึกษาลงประเมินพื้นที่และร่วมถอด เป็นบทเรียนกับชุมชน

ชุมชนสันเจริญ อ. ท่าวังผา

๒๑-๒๓ พฤศจิกายน ๕๗ เวทีสัมมานาเชิงปฏิบัติการสรุปผลการเรียนรู้ สร้างศูนย์เรียนรู้ชาติพันธุ์น่านศึกษา ลานวัฒนธรรม

ร.ร. รปค.๕๖

หมายเหตุ: ก�ำหนดการสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

35


ปฏิทินการปฏิบัติงาน ตุลาคม ขั้นตอน กิจกรรม/ปฏิบัติการ ประชุมเยาวชนสภาชาติพนั ธุน์ า่ นและวางแผนในการปฏิบตั งิ าน แบ่งเยาวชนตามชุมชน ๑ เป็น ๔ กลุ่ม กลุ่มเน้นกระบวนการศึกษาพื้นที่บ้านเกิดตนเอง

๒ ๓ ๔

)ร่วมกันท�ำแผนที่ของบ้านของตนเอง) แผนที่ท�ำมือ

รอรับนิเทศจากคณะครู (เยี่ยมบ้านนักเรียน) ประเมินผลการปฏิบัติงาน สรุปข้อมูลที่ ร่วมศึกษาทั้งหมด (ครูที่ปรึกษาเข้ามาติดตามผล) ประมวลผลร่วมกันและสะท้อนการ ให้ความร่วมมือของเยาวชนและกลุ่มผู้ปกครองนักเรียน, ผู้น�ำชุมชน

เยาวชนแต่ละหมู่บ้าน แต่ละกลุ่ม สืบค้นหาข้อมูลที่ได้รับมอบหมายในหมู่บ้าน เยาวชนแต่ละหมู่บ้าน แต่ละกลุ่มน�ำข้อมูลที่ได้มารวบรวม โดยนัดหมายศูนย์ประสาน งานในหมู่บ้านเพื่อเรียบเรียงข้อมูลประมวลผล

พฤศจิกายน กิจกรรม/ปฏิบัติการ

ขั้นตอนที่ ๑-๒ ๓ ๔

ประชุมเยาวชนบ้านหัวนาสรุปผลการท�ำงานสืบค้นข้อมูลในพื้นที่ เยาวชนทั้งหมดวางแผนร่วมศึกษาบริบทป่าชุมชน เวทีสัมมานาเชิงปฏิบัติการสรุปผลการเรียนรู้ : สร้างศูนย์เรียนรู้ชาติพันธุ์น่านศึกษา ลานวัฒนธรรม

อาจารย์ที่ปรึกษา และทีมงานวิจัย ชาติพันธุ์น่านศึกษา นางสาวปวริศา สิงห์อุดร ประธานกรรมการ ทีมงานวิจัยชาติพันธุ์ศึกษา อาจารย์สุรนันทร์ ลิ้มมณี ด้านสืบค้นภูมิปัญญาชาติพันธุ์น่าน อาจารย์ยุทธภูมิ สุประการ ด้านกระบวนการเรียนรู้ และการวิจยั (ภาคสนาม) อาจารย์จารุวรรณ สะสม ด้านการสื่อสารและภาษา อาจารย์วิจิตรา เนตรวีระ ด้านชีววิทยา และ ภูมศิ าสตร์ / เลขานุการงานศึกษา อาจารย์ฐิติรัตน์ อินทรประสิทธิ์ ด้านสังคมศาสตร์และสภานักเรียน อาจารย์สงกานต์ บุญช่วย ด้านวัฒนธรรมคีตศิลป์ เรียนรู้ อาจารย์กนกวรรณ ทิพย์แสนชัย ด้านศิลปวัฒนธรรม

36 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


บทน�ำ ชาติพันธุ์น่านศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้สังคมพหุวัฒนธรรม


บทน�ำชาติพันธุ์น่านศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้สังคมพหุวัฒนธรรม

ชาติ ชาตินิยม พหุนิยมและพหุวัฒนธรรมนิยม ในอดีตแนวความคิดที่มีความเป็นหนึ่งเดียว เช่น ระบบการเมืองเดียว ระบบ สังคมเดียว ได้เคยเกิดขึ้นและเป็นที่ยอมรับ และน�ำมาอธิบายถึงความชอบธรรมในการ ด�ำรงไว้ซงึ่ วัฒนธรรมเดียว แต่ตอ่ มาแนวคิดเช่นนัน้ ได้ถกู ปฏิเสธและถูกแทนทีด่ ว้ ยแนวคิด แบบพหุนิยม (Pluralism) ปัญหาของทุกรัฐ - ชาติทกี่ อ่ ตัวขึน้ มาได้ประสบ ก็คอื ตัวเองต้องการมีอตั ลักษณ์ เพียงหนึ่งเดียวที่ชัดเจน มีเสียงพูดเสียงเดียว ผลประโยชน์เป็นหนึ่งเดียว ความมุ่งมั่น เป้าหมายเป็นหนึง่ เดียว ในท่ามกลางสภาวะแข่งขันรุนแรงของโลกศตวรรษที่ ๑๘ อันเป็น ยุคล่าอาณานิคมที่ทุกประเทศแก่งแย่งผลประโยชน์กันด้วยวิธีการที่รุนแรงไร้ศีลธรรม เช่น ความเป็นรัฐ - ชาติไทย ญีป่ นุ่ เยอรมัน อิตาลี อินเดีย ฯลฯ อันเป็นหนึง่ เดียว แต่ใน สภาพความเป็นจริงของแต่ละชาติ มักประกอบไปด้วยกลุม่ คนทีห่ ลากหลายวัฒนธรรม หลากหลายภาษา ขนบธรรมเนียม ประเพณี มีปญ ั หาผลประโยชน์และเป้าหมายทีต่ า่ ง ๆ กันไป ซึ่งได้กลายมาเป็นสิ่งที่เกี่ยวโยงกับแนวนโยบายต่าง ๆ ส�ำหรับรัฐที่ต้องการ ประสานความต้องการกับการยอมรับในความจริงแห่งความแตกต่างเหล่านี้ และแนว โน้มโดยทัว่ ไปทีเ่ กิดขึน้ ก็คอื รัฐพยายามลบความแตกต่าง สร้างความเหมือน หรือความ เป็นหนึง่ เดียวขึน้ ในช่วงต้น ๆ ของการเกิดรัฐ - ชาติ ต่อมาความพยายามนีล้ ม้ เหลวหรือ มีเหตุปจั จัยเปลีย่ นไป จึงเกิดความคิดทีเ่ คารพความแตกต่าง (Difference) เคารพความ หลากหลาย (Diversity) ในมิตติ า่ ง ๆ ของคนในชาติของตนขึน้ มา ตัง้ แต่ภาษา ประเพณี วัฒนธรรม สังคม การเมือง มากขึ้น เมื่อเป็นเช่นนี้ แนวคิดพหุนิยมจึงสัมพันธ์ใกล้ชิดกับความคิดเรื่องชาตินิยม ดังนั้นเราต้องเข้าใจพัฒนาการของ “ชาตินิยม” จึงจะสามารถเข้าใจพหุนิยมได้ลึกซึ้ง ยิ่งขึ้น จากแนวคิดที่มีผู้คิดไว้เกี่ยวกับ “ความเป็นชาติ” หรือ “ชาตินิยม” มองไว้ ดังนี้ ๑. “ชาติ” ไม่ได้ด�ำรงอยู่โดยธรรมชาติ แต่ชาติเป็นวาทกรรมที่ถูกสร้างขึ้น และจินตนาการขึ้น (Anderson, ๑๙๘๓) รวมทั้งเป็นเพียงอุดมการณ์ชุดหนึ่งที่ถูก สร้างขึ้นเมื่อไม่นานมานี้เอง หรือที่ Kedourie (๑๙๙๖) เคยกล่าวไว้มีใจความโดยสรุป ว่า ชาตินิยมเป็นลัทธิที่ถูกสร้างขึ้นในยุโรปเมื่อต้นศตวรรษที่ ๑๙ เป็นเสมือนการให้ มาตรฐานส�ำหรับการก�ำหนดหน่วยของประชากรให้พึงพอใจรัฐบาลของตนเป็นพิเศษ และเป็นแนวคิดในการสร้างความชอบธรรมในการมีอ�ำนาจบริหารต่อสังคมภายใน

38 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


อาณาเขตของรัฐ อีกทั้งเพื่อเป็นการสร้างความชอบธรรมในการจัดตั้งหน่วยองค์กรที่มี ความชอบธรรม ทั้งหมดเป็นแนวทางในการอ้างถึงความชอบธรรมของการมีรัฐ หรือ การมีสถานะทีท่ กุ คนต้องให้ความเคารพและยึดมัน่ โดยแนวความคิดเกีย่ วกับความเป็น ชาติ (The nation) นี้ ได้แพร่กระจายจากตะวันตกไปทัว่ ทุกแห่งทัว่ โลกผ่านลัทธิการล่า อาณานิคม (Colonialism) ของประเทศมหาอ�ำนาจตะวันตก ส่งผลให้นานาประเทศที่ กลุ่มประเทศมหาอ�ำนาจนี้ไปถึงต้องปรับเปลี่ยนและจัดการต่อการสถาปนาความเป็น ชาติของตนขึน้ เพือ่ เป็นการต่อรองทางด้านอธิปไตยและความเป็นรัฐของตนเอง โดยการ ก�ำหนดเส้นเขตแดนและการผนวกเอาอาณาจักรต่าง ๆ เข้าเป็นหนึง่ เดียวกับอ�ำนาจส่วน กลาง ซึง่ ก็หมายถึงการรวบรวมเอาความแตกต่างของสังคม วัฒนธรรม ประเพณี ภาษา ชาติพนั ธุ์ และอืน่ ๆ ผ่านกระบวนการสร้างความเป็นชาติ ดังเช่นกรณีของประเทศไทยที่ ได้ใช้กระบวนการสร้างความเป็นไทย (Thai-ization) ทัง้ ในยุคต้นของรัตนโกสินทร์และ หลังยุคสงครามโลกครั้งที่ ๒ ที่มีการปฏิวัติสังคมและวัฒนธรรมและการเปลี่ยนระบอบ การปกครองมาสู่ระบอบประชาธิปไตย ๒. การก่อตัวของชาติหรือความคิดชาตินยิ มสัมพันธ์อย่างใกล้ชดิ กับโลกยุคใหม่ และการเกิดทุนนิยมหรือระบบอุตสาหกรรมขึ้นในโลก ซึ่งเป็นแนวความคิดที่ขัดแย้ง กับแนวคิดของ Gellner (๑๙๘๔) ที่มองว่า ชาติ หรือ ชาตินิยมไม่สามารถเกิดขึ้นได้ใน สังคมเกษตรกรรม โดยมีเหตุผล ๓ ประการที่สนับสนุนสมมติฐานนี้ ประการแรก เมือ่ มองผ่านแนวคิดเรือ่ งชาติ มักถูกมองว่า พรมแดนทางการเมือง พรมแดนทางวัฒนธรรมต้องเป็นหนึ่งเดียว (Unity & Unique) หรือที่เรียกว่า One Culture, One State เช่นที่ ประเทศเยอรมันได้พยายามสร้างความเป็นวัฒนธรรม เยอรมันเพียงหนึ่งเดียว ประเทศญี่ปุ่นก็จ�ำต้องมีวัฒนธรรมญี่ปุ่นและประเทศไทยใน ยุคสร้างชาติและปฏิรูปสังคมวัฒนธรรมก็ได้พยายามให้มีการใช้เพียงหนึ่งวัฒนธรรม (Monoculturalism) โดยพยายามทีจ่ ะปฏิเสธและเข้าเปลีย่ นแปลงความเป็นวัฒนธรรม อื่น ๆ ให้หมดไป หรือแม้กระทั่งในประเทศอเมริกาที่ถือกันว่าเป็นประเทศที่ก�ำเนิดขึ้น จากกลุม่ คนทีห่ ลากหลายต่างเชือ้ ชาติ เผ่าพันธุ์ ภาษา วัฒนธรรม ต่างก็ผา่ นกระบวนการ ที่เรียกวันว่า America Meting Pot เพื่อสร้างความเป็นอเมริกาเพียงหนึ่งเดียว เมื่อมองผ่านสังคมแบบเกษตรกรรม พรมแดนด้านการเมืองกับวัฒนธรรมนั้น ไม่จำ� เป็นต้องมีความสอดคล้องกัน แต่กลับสัมพันธ์กบั ระบบด้านสังคม และเครือญาติเป็น หลัก แต่ละกลุม่ สังคมเกษตรกรรมก็มคี วามเป็นตัวตนทีช่ ดั เจนของตนเอง มีภาษา ระบบ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

39


การผลิต การปกครองในรูปแบบทีเ่ หมาะสมต่อสภาวะแวดล้อมทางสังคม วัฒนธรรม และ สภาวะแวดล้องทางกายภาพทีต่ นด�ำรงอยู่ อีกทัง้ มีการยอมรับในความแตกต่างทีป่ รากฏ อยู่ระหว่างกัน เช่น อาณาจักรออตโตมัน อาณาจักมองโกลของเจงกิสข่าน อาณาจักร โรมัน ต่างก็ใช้รูปแบบการปกครองที่หลากหลาย มีกฎหมายทั้งท้องถิ่นและส่วนกลาง ( เช่น อาณาจักรโรมัน มีการใช้กฎหมายยิว และกฎหมายโรมันในการควบคุมสังคมขณะนัน้ ) ความแตกต่างภาษาก็ได้รบั การยอมรับโดยการยินยอมให้มลี า่ มเป็นผูแ้ ปลภาษา มากกว่า ที่จะบังคับให้ผู้ที่อยู่ใต้การปกครองเปลี่ยนมาใช้ภาษาของผู้มีอ�ำนาจเหนือกว่า หรือ ในสังคมของประเทศไทยเอง ก็มีความหลากหลายด้านกลุ่มคนที่มีความแตกต่างกัน ในทุก ๆ ด้าน ซึ่งบางครั้งพรมแดนทางด้านการเมืองก็ไม่สอดคล้องกับพรมแดนทาง ด้านวัฒนธรรม ดังที่ได้อ้างไว้แล้ว กล่าวคือ รัฐไท ไทย) เล็ก ๆ ในแคว้นสิบสองปันนา ซึ่งประเทศพม่าได้เชื่อมโยงเข้ากับกลุ่มวัฒนธรรมที่เป็น ข่า ขมุ อันเป็นการด�ำรง อยู่ภายใต้พรมแดนการเมืองเดียวกัน แต่ไม่ได้มีความเชื่อมโยงด้านพรมแดนทาง วัฒนธรรมเดียวกัน เพราะ กลุม่ ชาติพนั ธุไ์ ท ไทย) ในสิบสองปันนา กับกลุม่ ชาติพนั ธุข์ า่ กลุ่มชาติพันธุ์ขมุ ต่างก็มีวัฒนธรรม ภาษา ระบบสังคม จารีตประเพณีเป็นของตนเอง ในความเป็นชาติ ยังมีสว่ นเกีย่ วโยงกับวัฒนธรรมอีกด้วย ซึง่ ในทีน่ อี้ าจมีผกู้ ล่าว อ้างว่า วัฒนธรรมเป็นสิง่ ประดิษฐ์ใหม่ และเป็นแนวความคิดทีถ่ กู สร้างขึน้ ในศตวรรษที่ ๑๙ ผ่านการศึกษาของเหล่านักมนุษยวิทยาที่โด่งดัง เช่น Boas และลูกศิษย์ที่เน้นการ ศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรมเป็นส�ำคัญ ว่ามีความหลากหลาย (Diversity) และสามารถ แพร่กระจายไปหากันได้ (Diffusion) จนกระทั่งเกิดการผสมผสานทางวัฒนธรรม เกิดขึ้น (Assimilation) อีกประการหนึง่ ในปลายศตวรรษที่ ๑๙ วัฒนธรรมมีความหมายทีก่ ว้างมากขึน้ คือ หมายถึงแบบแผนชีวิตร่วมของคนชาติต่าง ๆ หรือบางทีก็แคบลงมาเป็นวัฒนธรรม เฉพาะของกลุ่มต่าง ๆ รวมความถึง ความคิด แบบแผน ประเพณี พีธีกรรมต่าง ๆ ทุกอย่าง ไม่ใช่เฉพาะที่เป็นทางการหรือเป็นของกลุ่มชนชั้นปกครอง และของที่ได้รับ การจัดว่าเป็นรูปแบบที่ดีงาม ในประวัติศาสตร์ มีอยู่เสมอที่บรรดาชนชั้นปกครอง ได้แก่ กษัตริย์ เหล่าขุนนางต่างก็ยึดถือวัฒนธรรมเฉพาะ (Specialized culture) ซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่จ�ำกัดอยู่ในวงแคบ และถือกันว่าเป็นวัฒนธรรมหลวง เป็นเครื่องมือ ในการควบคุมสังคม โดยแยกตัวเองออกเป็นกลุ่มพิเศษ (Exclusive group) ออกไป จากประชาชนส่วนใหญ่ และมักหมายถึงการมีอ�ำนาจ (Powerful) นั่นเอง และมักจะ

40 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


มองข้ามหรือดูถูกในวัฒนธรรมราษฎร์ อีกทั้งมีความพยายามที่จะยัดเยียดหรือปรับ เปลีย่ นความเป็นวัฒนธรรมราษฏร์ให้มคี วามเหมือนหรือคล้ายในบางด้านของวัฒนธรรม ชัน้ สูง แต่กม็ กี ารสงวนไว้ซงึ่ ความเป็นเอกสิทธิห์ รืออภิสทิ ธิข์ องกลุน่ ตนไว้ในขณะเดียวกัน ดังนัน้ สังคมเกษตร จึงมุง่ สร้างความเป็นคู่ (Dualism) หรือความเป็นพหุมากกว่าทีจ่ ะสร้าง ความเป็นหนึง่ เดียวกัน ดังเช่น ในยุครัฐ - ชาติสมัยใหม่ (New modern nation-state) ประการทีส่ อง สังคมเกษตรกรรมมักสร้างรูปแบบการเมืองการปกครองทีเ่ อือ้ ต่อการเป็นพหุนิยม (Pluralism) หรือการมีคนกลุ่มน้อย หรือกลุ่มย่อยที่มีฐานะพิเศษ เพือ่ ท�ำหน้าทีเ่ ฉพาะในการบริการ เช่น หน้าทีก่ ารเก็บภาษี การค้า การเงินการคลัง การ ทหาร ด้านวัฒนธรรม ประเพณี พิธีกรรม และมักมีการใช้กลยุทธวิธีในการใช้คนจาก กลุ่มคนที่มีลักษณะพิเศษที่เกิดจากความโดดเด่นของกลุ่มชาติพันธุ์นั้น ๆ เช่น การใช้ คนจีนในการเก็บภาษีในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นถึงกลาง การประกอบพิธีกรรมโดย พราหมณ์ เป็นต้น กลุม่ ทีถ่ กู เลือกเข้ามาท�ำหน้าทีต่ า่ ง ๆ เหล่านี้ จึงมีลกั ษณะส�ำคัญ คือเป็นคนกลุม่ น้อยที่มีวัฒนธรรมร่วมหรือวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนเอง และมักรักษาวัฒนธรรมเอาไว้ อย่างเข้มแข็ง (นัน่ หมายความว่า ถ้าหากไม่สามารถรักษาเอาไว้ได้และถูกกลืนเข้าสูส่ งั คม วัฒนธรรมใหญ่ ก็สูญสิ้นสิทธิ์ในการปฏิบัติหน้าที่นั้น ๆ ได้อีกต่อไป) แต่ความแตกต่าง ของกลุ่มสังคม กลุ่มคนต่างชาติ ต่างภาษาเหล่านี้ ได้ถูกผลกระทบเมื่อเกิดระบบ อุตสาหกรรมและแนวความคิดการสร้างชาติ โดยผ่านแนวคิดชาตินิยมขึ้น ซึ่งระบบ สังคมแบบใหม่นี้ มีความต้องการที่จะให้คนส่วนใหญ่ท�ำงานประสานกันอย่างต่อเนื่อง ไร้อปุ สรรคและต้องการให้ทกุ คนมีความเท่าเทียมกันและสามารถท�ำงานในหน้าทีต่ า่ ง ๆ ได้อย่างกว้างขวางเท่าทีจ่ ะท�ำได้ คนกลุม่ น้อยทีม่ วี ฒ ั นธรรมเฉพาะของตนจึงตกอยูใ่ นทีน่ งั่ ล�ำบาก เพราะมีวฒ ั นธรรมทีต่ า่ งไปจากคนส่วนใหญ่ ซึง่ คนกลุม่ น้อยเหล่านีล้ ว้ นแต่เป็นผูท้ ี่ ได้รบั อภิสทิ ธิแ์ ละผูกขาดกิจการบางอย่างอยูเ่ นือ่ งจากความเป็นวัฒนธรรมเฉพาะของตน จึงมีความแตกต่างไปจากสังคมคนส่วนใหญ่ที่มีความด้อยในด้านเศรษฐกิจสังคมกว่า จนกลายไปสู่การเกลียดชัง ตัวอย่างเช่นประเทศไทย ในยุคเริ่มสร้างรัฐ - ชาติของตน และพยายามท�ำให้เกิดความรูส้ กึ ว่าชาติเป็นของคนไทยจึงใช้นโยบายผลักไสโจมตีคนจีน ในประเทศไทย ในสมัยรัชกาลที่ ๖ ใช้นโยบายโจมตีกดี กันคนจีน สมัยจอมพล ป . กีดกัด บทบาทเศรษฐกิจคนจีน โดยใช้อำ� นาจรัฐขึน้ มาตัง้ รัฐวิสาหกิจต่าง ๆ เพือ่ แข่งขันกับการ ประกอบธุรกิจของคนจีน และเป็นนโยบายผนวกรวม (assimilation) ในยุคสมัยของ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

41


จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นต้น จากข้างต้น จะเห็นได้ว่าสังคมอุตสาหกรรมมีแนวโน้ม ในการปฏิเสธความหลากหลายและมุ่งสร้างความเป็นหนึ่งเดียว ซึ่งต่างไปจากสังคม เกษตรกรรมที่มีการยอมรับในความแตกต่างได้ดีกว่า และมีแนวโน้มในการสนับสนุน ให้เกิดความเป็นพหุนิยมดังที่ได้เสนอไว้ข้างต้น ประการที่สาม ในสังคมเกษตรกรรม รัฐต้องการให้คนที่พื้นที่ในลักษณะถาวร (Permanent place) ไม่ให้เคลือ่ นย้ายไปไหน แต่อาจมีการกวาดต้อนคนเข้ามาอยูภ่ ายใต้ การปกครองและก�ำหนดพืน้ ทีส่ ำ� หรับการอยูอ่ าศัยเป็นหลักแหล่ง เพือ่ ประโยชน์ในการ ใช้แรงงาน การเก็บส่วย และเพื่อการใช้ประโยชน์จากวัฒนธรรมทั้งที่เป็นวัฒนธรรม ด้านวัตถุ และวัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุของกลุ่มคนเหล่านั้น จนในที่สุดส่งผลให้เกิดความ หลากหลายในการด�ำเนินชีวติ ระบบสังคม วัฒนธรรม ศาสนา ภาษา และศิลปะเฉพาะกลุม่ นับว่าเป็นอีกแนวทางหนึ่งในการสนับสนุนให้เกิดความเป็นพหุลักษณ์ของสังคม ๓.ชาติ นิ ย มเกิ ด ขึ้ น พร้ อ มกั บ การเสื่ อ มสลายตั ว ของสั ง คมยุ โรปยุ ค กลาง นัน่ คือเกิดขึน้ พร้อมกับลัทธิมนุษย์นยิ ม และปัจเจกชนนิยมในยุค Renaissance การปฏิรปู ศาสนา การปฏิวัติวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ซึ่งเป็นการน�ำไปสู่ระบบอุตสาหกรรม (Industrialism) ในยุคศตวรรษที่ ๑๘ ส่วน Anderson มองว่าเกิดจากการจินตนาการ ชุมชน “ ชาติ ” ขึน้ มาแทนที่ ชุมชนศาสนา ในยุคกลาง และให้ความส�ำคัญกับบทบาทของ หนังสือ การสือ่ สาร ทีเ่ กิดขึน้ พร้อมกับการพิมพ์ ส�ำหรับระบบอุตสาหกรรมมีบทบาทส�ำคัญ ในการท�ำให้เกิดแนวคิดชาติและชาตินิยมขึ้น ซึ่งแนวคิดเหล่านี้มีส่วนส�ำคัญที่จะท�ำให้ เราเข้าใจพัฒนาการของความคิดเรือ่ งชาติ ชาตินยิ ม รวมทัง้ ความคิดพหุนยิ มในบ้านเรา โดยที่ Gellner เน้นย�้ำว่าสังคมอุตสาหกรรมมีความผูกพันอย่างใกล้ชิดกับการเกิดชาติ และชาตินิยม ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้ หลักส�ำคัญหนึง่ ของสังคมอุตสาหกรรม คือ การใช้ปญ ั ญาหาเหตุผล (Rationality) มาเป็นหลักในการด�ำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ซึ่งสิ่งที่เรียกว่า Rationality แบบตะวันตกไม่ได้มคี วามหมายอย่างเดียวกันกับความมีเหตุมผี ลของเอเชีย ถึงแม้จะมีความเข้าใจที่แตกต่างกันออกไป แต่ก็สามารถแยกแยะได้เป็น ๒ แง่มุม คือ แง่มมุ แรก คือ การเน้นย�ำ้ ถึงความสอดคล้องในเชิงตรรกะเหตุผล ความสม�ำ่ เสมอ (Consistency) ในการใช้เหตุผล ไม่ใช่เลือกใช้เหตุผลชุดหนึง่ ชุดใดในสถานการณ์หนึง่ ๆ แง่มุมนี้ของ Rationality ท�ำให้เราสามารถตรวจสอบซ�้ำความรู้ทฤษฎี หรือการทดลอง วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีได้ ท�ำให้ความเชือ่ มัน่ ในความถูกต้อง หรือการท�ำงานได้เกิดผลขึน้

42 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


แง่มมุ ทีส่ อง Rationality หมายถึง การเลือกเอาความคิดทฤษฎีวธิ กี ารทีจ่ ะได้ ผลมากที่สุดซึ่งก็คือการเน้น Efficiency โดยไม่ต้องมีสิ่งอื่นใดมาเป็นอุปสรรคขวางกั้น นี่เป็นที่มาของกระแสวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีนิยม รวมทั้งการแสวงก�ำไรเป็นเป้าหมาย สูงสุดของพ่อค้า นักธุรกิจในระบบทุนนิยม การยึดหลักใช้ Rationality ส่งผลให้เกิดความคลั่งไคล้ในวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ส่งผลให้สงั คมสมัยใหม่หรือสังคมอุตสาหกรรมมีลกั ษณะพิเศษ คือ เป็นสังคม ที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ทั้งทางวัตถุ สังคม ความรู้ อาชีพ วัฒนธรรม อุดมการณ์ นอกจากนีแ้ นวคิดแบบวิเคราะห์แบบแยกส่วน (Espirit d’analyse) ยังมีบทบาทในการ แยกย่อย หรือการสร้างความแตกต่าง (Differentiation) และสร้างความช�ำนาญเฉพาะ (Specialization) ทีล่ ะเอียดซับซ้อน ส่งผลให้เกิดความเชือ่ มัน่ ในคติลทั ธิความก้าวหน้า (Progress) การพัฒนา (Modernization) หรือการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างไม่รู้จัก จบสิ้นเกิดขึ้น ลักษณะเช่นนีไ้ ม่ได้เกิดขึน้ ในสังคมเกษตรกรรม เพราะถึงแม้สงั คมเกษตรกรรม จะมีการแบ่งงานที่แยกย่อยได้เช่นกัน แต่ความช�ำนาญเฉพาะนั้นมักเป็นไปในลักษณะ ตายตัว และถ่ายทอดกันในระบบปิด คือระบบครัวเรือนหรือระบบช่างฝึกงาน และ ระบบทั้ง ๒ นี้ไม่สามารถตอบสนองในการผลิตผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ที่มีทักษะที่มีจ�ำนวน มากและเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะเฉพาะ (Specification) ได้ตลอดเวลา จึงจ�ำเป็น ต้องมีการจัดระบบการศึกษาและการฝึกอบรมแบบใหม่ที่เป็นลักษณะเฉพาะตัวของ สังคมอุตสาหกรรมทีม่ ขี นาดใหญ่ มีความคล่องตัวปรับตัวได้สงู เพือ่ รองรับความต้องการ ใหม่ของตลาดแรงงาน ซึ่งสถาบันการศึกษาเหล่านี้จึงต้องมีบทบาทและเป้าหมายเพื่อ แสวงหาความรู้ใหม่ต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง ซึ่งก็คือระบบการศึกษาที่เราใช้กันในปัจจุบัน การจัดการศึกษาผ่านสถาบันการศึกษาเช่นนี้ ทีเ่ ปิดโอกาสให้ “ ใครก็ได้ ” เข้าไปแสวงหา ความรู้ ต่างก็ตอ้ งอยูภ่ ายใต้เงือ่ นไขประการหนึง่ คือ “การมีภาษาร่วมกัน ภาษานัน้ ต้อง เป็นภาษาเขียนหรือพิมพ์” ซึ่งในการมีภาษาเพียงหนึ่งเดียวในการสื่อสารนี้ นับว่าเป็น หนึง่ ในกระบวนการสร้างชาติและชาตินยิ ม เพือ่ ให้เกิดการถ่ายเทความรู้ สือ่ สารได้ตรง ประเด็นความหมาย และในที่สุดการที่มีภาษาเพียงหนึ่งนี้จะก้าวไปสู่ความเป็นสากล เพราะถึงแม้วา่ ผูท้ ที่ ำ� งาน ผูท้ ศี่ กึ ษาจะมาจากพืน้ ทีท่ ตี่ า่ งกัน แต่กจ็ ำ� เป็นต้องมีภาษากลาง ร่วมทีส่ อื่ สารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่องความหมายอย่างชัดเจน และมักจะมีเรือ่ งด้าน อ�ำนาจเข้าไปเกี่ยวข้องด้วยในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารนั้น ชาติพันธุ์น่านศึกษา

43


“ผลกระทบทางตรงของชาตินยิ ม คือ การขุดรากชนบทจากวัฒนธรรมเดิมมา สู่วัฒนธรรมใหญ่ของชาติ” การศึกษา ความเป็นชาติ และวัฒนธรรมหลวง ในสังคมเกษตรกรรม การศึกษาอบรมมักเป็นไปในรูปแบบการถ่ายทอด วัฒนธรรมเป็นส�ำคัญและกระท�ำกันภายใน (Endo-) แต่การศึกษาอบรมในสังคม อุตสาหกรรมมีลักษณะเป็น Exo-socialization คือการศึกษาอบรมถ่ายทอดความรู้ วัฒนธรรมจากภายนอกชุมชน คือ รูปแบบที่จัดการโดยรัฐและมาจากศูนย์กลาง ดังนั้น โดยปริยาย ระบบเช่นนี้จึงเป็นการสร้าง ถ่ายทอดวัฒนธรรมสูงหรือ วัฒนธรรมหลวง มากกว่าวัฒนธรรมราษฎร์หรือพื้นถิ่น และมักจะถ่ายทอดในแทบ ทุก ๆ ด้าน การถ่ายทอดนี้เป็นไปอย่างฉับพลัน โดยที่คนกลุ่มน้อยหรือผู้ที่อยู่ภายใต้ การปกครอง ไม่มีโอกาสในการปรับตัว เป็นกระบวนการที่พรมแดนของอ�ำนาจรัฐซ้อน เข้ามาเป็นหนึ่งเดียวกับวัฒนธรรมแห่งชาติอย่างรวดเร็ว อาจกล่าวได้ว่า “ผลกระทบทางตรงของอุตสาหกรรมนิยมต่อชนบท คือ การ ขุดรากของชาวนาชาวไร่ให้เคลื่อนย้ายไปเป็นชนชั้นผู้ใช้แรงงานตามเมืองอุตสาหกรรม ต่าง ๆ” และ “ผลกระทบทางตรงของชาตินิยม คือ การขุดรากชนบทจากวัฒนธรรม เดิมมาสู่วัฒนธรรมใหญ่ของชาติ” เมื่อกล่าวถึงการศึกษาที่ด�ำเนินการโดยส่วนกลาง คือ รัฐ นั้น ประเทศไทย เป็นประเทศหนึ่งที่ใช้นโยบายการสร้างชาติผ่านการใช้ภาษาไทย โดยการขยายการ ศึกษาไปสู่กลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ที่อาศัยอยู่บนพื้นที่สูง ที่อาศัยอยู่ในถิ่นชนบทห่างไกล เพื่อประโยชน์ด้านการสื่อสารถึงอุดมการณ์ของชาติ การเผยแพร่วัฒนธรรมส่วนกลาง ดังจะเห็นได้จาก การมีเรียนวิชาดนตรีไทยหรือวิชาวรรณคดีไทย ล้วนแต่เป็นลักษณะ ของดนตรีและเนือ้ หาวรรณกรรมของส่วนกลางแทบทัง้ สิน้ ทัง้ นี้ ในสมัยยุครัตนโกสินทร์ ตอนต้น ประมาณรัชกาลที่ ๔ เคยมีแนวนโยบายในการปฏิเสธวัฒนธรรมท้องถิ่นของ ภาคตะวันออเฉียงเหนือ ได้แก่ การเล่นแคนหมอล�ำ ซึ่งได้รับการตีตราจากส่วนกลาง ว่าเป็นวัฒนธรรมทีด่ อ้ ยไร้อารยะธรรมและไม่สงู ส่งเช่นดนตรีในราชส�ำนัก ทัง้ นีด้ ว้ ยเหตุ ทางด้านการเมืองทีใ่ นระยะนัน้ ลัทธิอาณานิคมทีน่ ำ� เอาเหตุผลด้านความเจริญทางด้าน สังคมวัฒนธรรมของตะวันตกเป็นความชอบธรรมในการยึดครองดินแดนแถบเอเชีย อาคเนย์ ดังนั้น ดนตรีพื้นเมืองเป่าแคนหมอล�ำ จึงถูกห้ามในการละเล่น และก�ำราบไป

44 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


นอกจากนัน้ แล้ว ในช่วงยุคสร้างชาติ (ยุคปฏิรปู สังคมและวัฒนธรรม) การเล่นดนตรีไทย ภาคกลางก็ถกู สัง่ ห้ามและเลิกละเล่นเช่นกัน โดยพยายามส่งเสริมให้หนั มาฟังเพลงจาก แผ่นเสียงและเป็นเพลงสากลของชาติตะวันตก เพื่อสร้างชาติให้เป็นชาติที่ศิวิไลซ์ตาม ยุคสมัยแห่งอุตสาหกรรม (Modern Age) ดังนั้นการสร้างชาติหรือการน�ำเอาแนวคิดชาตินิยมมาเป็นแนวคิดในการ แสวงหาความชอบธรรมต่อกลุ่มผู้มีอ�ำนาจปกครองล้วนแต่ปฏิเสธการด�ำรงอยู่ของ วัฒนธรรมย่อยที่กระจายไปทั่วทุกพื้นที่ในอาณาเขตของประเทศ ทั้งในยุคที่ยังคงเป็น “สยามประเทศ” และในยุคทีเ่ ป็น “ประเทศไทย” ก็ตาม แนวคิดการสร้างชาติเป็นแนวคิด หนึ่งในการปฏิเสธความเป็นพหุลักษณ์ โดยมุ่งที่จะสร้างความเป็นหนึ่งเดียวและการ พยายามปรับเปลีย่ นอย่างสุดขัว้ ก็ได้เกิดขึน้ มาแล้ว แต่มาในยุคหลัง การมุง่ สร้างชาติแบบ สุดขั้นนี้ กลับได้รับการปฏิเสธและหันมาให้ความสนใจต่อแนวนโยบายการผสมผสาน มากขึน้ ซึง่ ก็หมายถึงว่า มีการยอมรับในความเป็นพหุลกั ษณ์ ผ่านแนวคิดพหุนยิ มในทีส่ ดุ พัฒนาการชาตินิยมในประเทศไทย พัฒนาการของกระบวนการชาตินยิ มในประเทศได้เกิดขึน้ มาในอดีต นับตัง้ แต่ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ โดยผ่านรูปแบบของการปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดินไทยของ ชนชั้นน�ำไทย (Aristocratic reform) ซึ่งในช่วงรัชกาลที่ ๕ รัฐและกลุ่มชนชั้นน�ำไทย เผชิญกับปัญหาเดียวกับที่ประเทศรัสเซียได้เผชิญมาก่อน คือ รัสเซียเผชิญกับการ ขยายตัวของแนวคิดชาตินยิ มในยุโรป ทัง้ อังกฤษ ฝรัง่ เศส เยอรมัน ฯลฯ ในช่วงประมาณ ปี ค.ศ.๑๗๕๐ (พ.ศ.๒๒๙๓) เป็นต้นมา แต่ส�ำหรับประเทศไทยแล้วเจอการคุกคามจาก ความคิดชาตินิยมตะวันตก ในรูปของลัทธิอาณานิคม ในยุคหลังของรัสเซียประมาณ หนึ่งทศวรรษ แต่ทั้งสองประเทศต่างก็มีแนวทางการแก้ไขที่คล้ายคลึงกัน คือ เริ่ม การแก้ไขจากโครงสร้างส่วนบนก่อนเป็นอันดับแรก กล่าวคือ รัชกาลที่ ๕ ปฏิรูปการ ปกครองให้เป็นแบบตะวันตกในปี ๑๘๘๒ (พ.ศ.๒๔๒๕) ยกเลิกทาสและไพร่ รวมทั้ง ส่งพระโอรสและเจ้านายชั้นสูงไปเรียนต่างประเทศเพื่อปูทางในการปฏิรูปให้มีความ ทัดเทียมประเทศตะวันตก ท�ำให้มีเหล่าปัญญาชนเกิดขึ้นเป็นจ�ำนวนหนึ่ง และถึงแม้ เหล่าปัญญาชนเหล่านีจ้ ะได้รบั การศึกษาจากต่างประเทศและอยูใ่ นสังคมแบบตะวันตก ทีเ่ น้นความเป็นปัจเจก แต่ปญ ั ญาชนเหล่านีก้ ย็ งั คงยึดติดกับจารีตนิยมอยู่ แม้แต่คำ� ศัพท์ “ชาติ” (Nation) ในความหมายที่เป็นกลุ่มคนที่มีเชื้อชาติ ภาษา ถิ่นที่อยู่อาศัยร่วมกัน ชาติพันธุ์น่านศึกษา

45


ก็เกิดขึ้นในช่วงปลายรัชกาลที่ ๕ ผ่านงานเขียนของนักเขียนในสมัยนั้นกล่าวโดยสรุป แนวคิดทางการเมืองในรัชกาลที่ ๕ ยังไม่มีแนวคิดเกี่ยวกับความเป็นชาติที่ชัดเจนและ ไม่มีบทบาทมากนัก แต่มีเพียงแนวคิด ๓ แนวคิดใหญ่ที่ใช้อยู่ คือ ความเป็นกษัตริย์ คือ ผูป้ กครองสูงสุด ราษฎร และ State ซึง่ ยังไม่ได้ใช้คำ� ว่า รัฐ แต่ใช้ความหมายว่า บ้านเมือง กรุงสยามหรือแผ่นดินเป็นหลัก การใช้ความชอบธรรมแบบจารีตนิยมนี้ได้ถูกใช้ในการ บริหารการปกครองในรัชกาลที่ ๕ และยังไม่ได้เชื่อมโยงผู้ปกครองกับราษฎรผู้อยู่ใต้ การปกครองเข้าเป็นหน่วยการเมืองเดียวกัน หรือภายใต้ ความเป็นชาติ ถึงแม้จะทรง ปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดินและการศึกษา แต่ก็ยังไม่ได้ขยายแนวคิด “รัฐ” ให้ กว้างไปกว่าพระราชอ�ำนาจของพระมหากษัตริย์ จนกระทั่งต่อมามีกลุ่มปัญญาชน เช่น นายเทียนวรรณ ซึ่งเป็นผู้หนึ่งที่มีแนวความคิดความเป็นชาติมาเชื่อมโยงกษัตริย์ ราษฎร อาณาเขต ประเทศ เข้าด้วยกัน และแนวคิดชาตินี้ได้ส่งอิทธิพลมาจนถึงสมัย รัชกาลที่ ๖ ซึ่งถือว่าเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่ได้อุดมการณ์ชาตินิยม และ สร้างความเป็นชาติอย่างแท้จริง แต่เป็นชาตินิยมแบบที่เรียกว่า Aristocratic ที่เป็น ลักษณะของวัฒนธรรมสูงแบบวิกตอเรีย คือ ส่งเสริมวรรณกรรม การเขียนนิยาย เรือ่ งสัน้ หนังสือพิมพ์ หน้าทีพ่ ลเมือง มารยาทผูด้ ี และทรงอาศัยสมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ น�ำเอาอดีตมารับใช้หรือเป็นเครื่องมือในการสร้างชาติ โดยการหยิบยกเองเหตุการณ์ ประวัติศาสตร์ท่ีรุ่งเรือง วีระกรรมอันอาจหาญของเหล่าวีรกษัตริย์ และเน้นว่าสถาบัน กษัตริย์แต่เพียงสถาบันเดียวที่มีฐานะเป็นศูนย์กลางของชาติได้ นี้คือการพยายาม สร้างชาติให้เกิดขึ้นโดยการยึดจุดศูนย์กลางไปยังสถาบันพระมหากษัตริย์เพียงจุดเดียว ต่อมาแนวคิดเรื่องชาติและอุดมการณ์ชาตินิยม มีแรงกดดันไปสู่ลัทธิความเท่าเทียม ที่มีอยู่ภายในตัวของมันเอง จากเหตุผลหลัก ๆ ว่า ทุกคนล้วนแต่เป็นสมาชิกของชาติ มีแผ่นดินเดียวกัน ภาษา วัฒนธรรมเหมือนกันหมด และลัทธิชาตินิยมได้ก่อให้เกิดการ ยกย่องตัวเอง โดยพยายามปลูกฝังให้คนในชาติมีความรู้สึกว่า เป็นเจ้าของชะตากรรม ร่วมกับการมีเป้าหมายเดียวกัน คือ ความก้าวหน้าของชาติ ผลจากการที่รัชกาลที่ ๕ ทรงสนับสนุนส่งเสียให้พระโอรสและเหล่าเจ้านายชั้นสูงไปเรียนต่างประเทศ รวมทั้ง เหล่าบรรดาบุตรหลานขุนนางและคนสามัญด้วยนั้น ท�ำให้ในรัชสมัยรัชกาลที่ ๖ จ�ำนวนปัญญาชนก็เพิ่มจ�ำนวนขึ้นอย่างมาก ซึ่งทั้งหมดกลับมารับราชการเป็นทั้งทหาร และพลเรือน ปัญญาชนชนชั้นกลางเหล่านี้เป็นก�ำลังส�ำคัญส�ำหรับแนวคิดชาตินิยม แผนใหม่ ที่ เ น้ น สิ ท ธิ อ� ำ นาจพลเมื อ งมากกว่ า ที่ จ ะคงอ� ำ นาจของชนชั้ น สู ง เอาไว้

46 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


สถานการณ์ชาตินิยมได้รับการปลูกฝังอย่างรุนแรงโดยผ่านค�ำขวัญต่าง ๆ เช่น “เสียชีพ ดีกว่าเสียชาติ จงมีความกตัญญูต่อชาติและความกระท�ำใจให้เป็นไทย” ซึ่งเป็น ของกลุ ่ ม กบฏ ร.ศ.๑๓๐ ที่ มี ค วามคิ ด ที่ จ ะให้ มี ก ารปกครองซึ่ ง พระมหากษั ต ริ ย ์ อยูใ่ ต้รฐั ธรรมนูญ และให้เป็นสาธารณรัฐ แต่ประสบความล้มเหลวก่อนจะลงมือก่อการ จนกระทั่งในปี ค.ศ.๑๙๓๒ (พ.ศ.๒๔๗๕) คณะราษฎรได้ยึดอ�ำนาจการปกครองและ ในค�ำประกาศของคณะราษฎรฉบับที่ ๑ สะท้อนถึงแนวคิดประชาธิปไตย ชาตินิยม แบบประชานิยม และแนวคิดสังคมนิยมผสมผสานกัน และเนื่องจากสมาชิกส่วนใหญ่ ในคณะราษฎรเป็นข้าราชการ ในทีส่ ดุ ก็ผนั แปรไปสูก่ ารปกครองแบบเผด็จการ ซึง่ อาศัย ความคิดชาตินยิ มมารองรับแบบเดียวกับทีเ่ กิดในเยอรมัน อิตาลี และญีป่ นุ่ และจอมพล ป. พิบูลย์สงครามใช้แนวคิดชาตินิยมที่ต่างไปจากรัชกาลที่ ๖ คือ เป็นแบบประชานิยม (Popular nationalism) แต่ก็ไม่ได้เป็นแนวพื้นบ้าน (Volk) แบบที่เยอรมันใช้ หากแต่ เป็น New national high culture คือ ปฏิเสธความเป็นพืน้ บ้านบางอย่างทีเ่ ห็นว่าไม่ใช่ สิง่ ทีศ่ วิ ไิ ลซ์และเป็นสิง่ ทีส่ ร้างความด้อยอารยธรรมในสายตาประเทศตะวันตก และเอา สิง่ ใหม่ซงึ่ เป็นวัฒนธรรมใหม่เข้ามาใช้ เช่น ร�ำวง ชุดไทย การสวมหมวก การมีไฮด์ปาร์ก เป็นต้น กระบวนการสร้างชาติแบบวัฒนธรรมใหม่นี้ เด่นชัดมากยิ่งขึ้นในสมัยการน�ำ ของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ บทบาทของสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ และการใช้ภาษา ได้แสดง ถึงบทบาทในการสร้างจิตส�ำนึกร่วมของความเป็นชาติอย่างเต็มที่ และด้วยแนวทางการ พัฒนาประเทศที่มุ่งสู่ความเป็นอุตสาหกรรมอย่างแท้จริง ได้ดึงคนไทยที่อยู่ในภูมิภาค ต่าง ๆ ให้เข้ามาร่วมในกระบวนการท�ำงาน การแลกเปลีย่ นติดต่อสือ่ สารทางวัฒนธรรม มีการขยายเส้นทางคมนาคม การโทรคมนาคม โทรทัศน์ วิทยุ และสิ่งเหล่านี้ก็ได้กลาย เป็นปัจจัยและเครื่องมือส�ำหรับแนวคิดชาตินิยมในกระบวนการสร้างชาติในสมัยนั้นได้ เป็นอย่างดี อีกทั้ง คนชนบทเหล่านี้ถูกฉุดเข้าสู่แนวคิดแบบผนวกรวม (Assimilation) อย่างเข้ม มีการเปลี่ยนชื่อเรียกขานกลุ่มประชาชนในภาคต่าง ๆ ของประเทศ โดยเพื่อ ค�ำว่า “ไทย” น�ำหน้าความเป็นคนของภูมิภาคนั้น เช่น ไทยอีสาน ไทยเหนือ ไทยภูเขา ซึ่งในบางพื้นที่กลุ่มคนเหล่านี้ ยังไม่มีความรู้สึกผูกพันหรือยอมรับต่อความเป็นไทย แนวคิดพหุนิยม (Pluralism) แนวคิดพหุนิยม นี้เป็นประเด็นที่มีการถกเถียงถึงเรื่องบทบาท ตัวตน สังคม และรัฐ เป็นประเด็นส�ำคัญ และในที่สุดได้มีการแบ่งแยกความเป็นพหุออกเป็นสอง แนวคิดคือ พหุนิยมแบบเสรี (Liberal pluralism) หรือพหุนิยมแบบอเมริกา และ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

47


พหุนยิ มแบบชุมชนนิยม (Communitarain pluralism) หรือพหุนยิ มแบบอังกฤษ โดย แต่ละแนวคิดมีข้อแตกต่างกัน ดังนี้ พหุนยิ มแบบเสรี (Liberal pluralism) เป็นการมองว่า สังคมคือการรวมกลุม่ กัน ของปัจเจกบุคคลผ่านความสนใจร่วมกัน ปัจเจกบุคคลเป็นสิง่ พืน้ ฐานทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ทีจ่ ะ ก�ำหนดสิ่งต่าง ๆ ในชีวิตของตนเอง และสามารถแข่งขันกันเพื่อประโยชน์ส่วนตนได้ อย่างเสรี เพราะเป็นหนทางในการบรรลุถึงศักยภาพของแต่ละบุคคลได้ พวกเสรีนิยม อาจยอมรับว่าสังคมเป็นความหลากหลายของกลุ่มองค์กรต่าง ๆ ได้ และกลุ่มองค์กร ต่าง ๆ เหล่านี้จะมีการเป็นส่วนร่วมหรือการรวมกันที่เกิดจากความสมัครใจของบุคคล เพือ่ ท�ำกิจกรรมเฉพาะอย่าง ซึง่ สามารถมองได้วา่ ความคิดพหุนยิ มของกลุม่ เสรีนยิ มนีใ้ ห้ ความส�ำคัญแก่ Civil society และการให้ความส�ำคัญแก่ประชาสังคมนี้ ก็เพื่อลดทอน บทบาทรัฐให้มีน้อยเท่าที่จ�ำเป็น หรือ Minimal State ดังที่ได้กล่าวไว้นี้ สามารถสรุป ได้ว่า เสรีนิยม คือ พหุนิยม (Liberalism is pluralism) นั่นเอง (Kukathas, ๑๙๙๘ อ้างถึงใน Jan Nederveen Pieterse, ๒๐๐๔) พหุนยิ มแบบชุมชน (Communitarian pluralism) ด้วยแนวกระแสความคิด ทางตะวันตกทีม่ องว่าปัจเจกบุคคลมีความส�ำคัญ แต่เป็นเพียงแค่สว่ นหนึง่ ไม่ใช่ทงั้ หมด และมีความส�ำคัญน้อยกว่าองค์รวมบางอย่าง ซึง่ อาจเป็นพระเจ้า (God) หรือรัฐ (State) และมนุษย์จะมีความหมายเมือ่ แสดงตนเองออกโดยผ่านสิง่ นี้ ในระยะแรก ความคิดนีถ้ กู ผลักดันสนับสนุนอย่างเต็มที่ คือ บุคคลไม่มคี วามส�ำคัญเลย บุคคลเป็นเพียงเงาภาพลวงตา ของสิง่ ใหญ่หรือองค์รวม หรือโดยสรุป บุคคลเป็นสิง่ ทีถ่ กู หลอมรวมกันตามแนวปรัชญา แบบ Monism และมุ่งไปสู่สิ่งสมบูรณ์หนึ่งเดียว อันได้แก่ ปัญญาหรือจิตวิญญาณ สากล (Universal spirit) อันเป็นการให้ภาพในระดับความเป็นกลุ่มก้อนและชุมชน มากกว่าทีจ่ ะให้ภาพของความเป็นปัจเจกตามแนวคิดของพหุแบบเสรีนยิ มแบบอเมริกา อิทธิพลความคิดนี้ ในด้านหนึง่ ได้สง่ ผลไปในแง่ลบ คือ ท�ำให้เกิดลัทธิชาตินยิ ม แบบรุนแรงขึ้นและความคิดนี้ได้รับการสานต่อ เพราะคนตะวันตกผูกพันกับสิ่งที่ ใหญ่กว่า ที่สัมบูรณ์และเป็นหนึ่งนี้มายาวนาน จนน�ำพาไปสู่การเกิดขึ้นของลัทธินาซี เยอรมัน รวมทั้ง รัฐนิยม ซึ่งน�ำไปสู่ระบบเผด็จการฟาสซิสม์ในหลาย ๆ ประเทศ ต่อมา แนวคิดปรัชญาเชิงพหุนยิ มนีไ้ ด้แพร่เข้าไปสูน่ กั รัฐศาสตร์และนักสังคมวิทยา ด้วยเหตุผล ทีม่ คี วามต้องการทีจ่ ะทัดทานระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทนในประเทศตะวันตก ซึง่ นับวันตัวแทน ได้กลายไปเป็นตัวแทนของกลุ่มคนชั้นสูง ระบบราชการ ที่ไม่สอดคล้อง

48 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


กับแนวคิดพหุนิยมแบบชุมชน ที่มองไปถึงความเป็นกลุ่มทางสังคม นอกจากนี้ยังมีแนวคิดเกี่ยวกับพหุนิยมในลักษณะอื่น ๆ อีก หลายส�ำนัก แต่ ก็สามารถสรุปรวมกันได้ถึงภาพความพหุนิยมได้อย่างชัดเจน ก็คือ ๑. โลกหลายโลก (วัฒนธรรม สังคม) ที่มีฐานะต่าง ๆ กัน ๒. ความจริงหลายความจริง ๓. หลายกรอบทฤษฎีความคิดทีม่ ฐี านในการเข้าถึงความรูไ้ ด้เหมือน ๆ กัน แต่ จากคนละพื้นฐาน ๔. มีแรงจูงใจที่แฝงเร้นต่าง ๆ กันอยู่ในกรอบความคิด ทฤษฎี ส�ำนวนโวหาร ๕. มีความสัมพันธ์ทางสังคม โครงสร้าง หรือสถาบันต่าง ๆ กัน แต่ก็มีความ ส�ำคัญทัดเทียมกัน เป็นที่มาของทรรศนะต่าง ๆ ที่เราต้องเคารพ ไม่อาจมองข้ามได้ ๖. มีวัฒนธรรมย่อย ซึ่งมีสิทธิด�ำรงอยู่ในสังคมและมีความส�ำคัญต่อสังคมที่ ยึดถืออยู่ ๗. มีอัตลักษณ์ที่หลากหลายซับซ้อน (Multiple identities) ๘. มีตัวตนที่หลากหลายซับซ้อน (Multiple selves) การตกอยู่ภายใต้กรอบนโยบายการผนวกรวม (Assimilation) อันเป็น กระบวนการส�ำคัญในการสร้างรัฐ-ชาติ ซึ่งในเนื้อแท้ของกระบวนการผนวกรวมนี้ ได้ทำ� ลาย กีดกัน บังคับวัฒนธรรมกลุม่ ย่อยลงไปโดยตลอด การศึกษาแบบพหุวฒ ั นธรรม คือ การศึกษาซึง่ ให้คา่ แก่ความเป็นพหุนยิ มทางวัฒนธรรมแนวคิดในด้านความเป็นพหุนี้ ก็คอื แนวคิดทีม่ องในเรือ่ งความหลากหลาย ทัง้ กลุม่ คน และวัฒนธรรม นัน้ หมายความว่า ความหลากหลายทางสังคมของชนชัน้ อาชีพ ความคิด อุดมคติ วิถชี วี ติ ทีอ่ ยูใ่ นช่วงเริม่ ต้น ของช่วงการใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นช่วงที่เกิดความหลากหลายต่าง ๆ ข้างต้น เกิดขึ้นอย่างเด่นชัด และมีความชัดเจนเด่นชัดมากที่สุดในช่วงหลัง ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ ความเป็นพลเมืองและสิทธิของชนกลุ่มน้อย ในงานของ T.H. Marshall (๑๙๕๐) เรื่อง Citizenship and Social Class ได้พยายามชี้ให้เห็นถึงวิวัฒนาการของความเป็นพลเมือง ตามความสัมพันธ์กับความ เปลีย่ นแปลงโครงสร้างทางชนชัน้ ทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงประวัตศิ าสตร์ตา่ ง ๆ ของสังคม โดยที่ Marshall ถือว่าส่วนประกอบของการเป็นพลเมืองของรัฐ-ชาติใดรัฐ-ชาติหนึง่ ก็คอื สิทธิ ความเป็นพลเมือง สิทธิการเมือง และสิทธิทางสังคม และแต่ละสิทธิตา่ งก็ครอบคลุมถึง ในด้านเฉพาะของสิทธินั้น ๆ กล่าวคือ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

49


สิทธิดา้ นความเป็นพลเมือง ก็คอื การมีเสรีภาพในชีวติ ทรัพย์สนิ การพูด การคิด และนับถือศาสนา สิทธิในด้านกระบวนการยุตธิ รรม การได้สญ ั ชาติ เป็นต้นโดยมีสถาบัน สมัยใหม่เป็นผูด้ แู ล สิทธิประเภทนีก้ อ่ เกิดขึน้ ในยุโรปและอเมริกามาตัง้ แต่ศตวรรษที่ ๑๘ สิทธิทางการเมือง คือ การมีสว่ นร่วมในกระบวนการทางการเมืองซึง่ มีมาก่อน (ในบางประเทศได้ขยายสิทธิทางการเมืองนี้สู่กลุ่มผู้บรรลุนิติภาวะทุกคน) และสุดท้าย สิทธิทางสังคม ได้แก่ การได้รับการศึกษาอบรม การมีสุขภาวะที่ดีหรือได้รับสวัสดิการ ที่ดีและเท่าเทียมสิทธิทั้งสองประการหลังนี้ มีเป็นประเด็นเกี่ยวกับสิทธิที่เกิดขึ้นในช่วง ทศวรรษที่ ๒๐ เพราะเป็นไปตามสถานการณ์โลกาภิวัตน์และสภาพการพัฒนาของ ทุนนิยมที่ก่อนให้เกิดความเหลื่อมล�้ำทางสังคมมากขึ้นเรื่อย ๆ รวมทั้งการตกอยู่ภายใต้ กรอบนโยบายการผนวกรวม (Assimilation) อันเป็นกระบวนการส�ำคัญในการสร้าง รัฐ-ชาติ ซึ่งในเนื้อแท้ของกระบวนการผนวกรวมนี้ ได้ท�ำลาย กีดกัน บังคับวัฒนธรรม กลุม่ ย่อยลงไปโดยตลอด ซึง่ การเสนอแนวคิดเช่นนีข้ อง Marshall ได้มผี นู้ ำ� ไปพัฒนาต่อ ในแนวทางแก้ไขปัญหา คือ นักปราชญ์ชาวแคนาดา Will Kymlicka (๑๙๙๘) ที่ได้มี งานเขียนทีท่ งั้ สนับสนุนและโต้แย้งเป็นจ�ำนวนมากโดยที่ Kymlicka แบ่งปัญหาคนกลุม่ น้อยหรือพหุวัฒนธรรม (Multiculturalism-อันเป็นแนวคิดที่มองถึงความหลากหลาย ด้านวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์) ออกเป็น ๒ ลักษณะ คือ ๑. Multinational คือ ประเทศที่ประกอบด้วยหลายเชื้อชาติมาตั้งแต่ต้น ซึ่ง ได้แก่ รัฐ-ชาติสมัยใหม่เป็นส่วนใหญ่ โดยเฉพาะทีเ่ รียกว่า New world คือ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ๒. Polyethnic คือ รัฐที่มีคนต่างเชื้อชาติอพยพเข้ามาใหม่เป็นจ�ำนวนมาก จนมีฐานะเป็นคนกลุ่มน้อยขึ้นมา เช่น สหรัฐอเมริกามีคนเชื้อสายเม็กซิโก สเปน อพยพ เข้าอาศัยอยู่ในประเทศในรุ่นหลัง ในประเทศเยอรมันมีกลุ่มสายตุรกี ประเทศอังกฤษมี อาณานิคมเดิม เช่น อินเดียอพยพเข้ามามาก เป็นต้น Kymlicka เสนอว่าลักษณะทั้งสองนี้ได้สร้างปัญหาความขัดแย้งทางด้าน เชือ้ ชาติ (Racial conflict) และการเหยียดผิว (Apartheid) ในรูปแบบต่าง ๆ ในส่วนของ แรงงานอพยพใหม่ทำ� ให้เกิดลัทธิชาตินยิ มใหม่ในหลาย ๆ ประเทศ เกิดความไม่เท่าเทียม กัน การเหยียดผิว การใช้ความรุนแรงทีร่ ะบบยุตธิ รรมให้ทา้ ย เช่น ในสหรัฐอเมริกาหรือ เยอรมัน (ทั้งในสมัยอดีต ในกรณีการเข้ายึดครองแผ่นดินของกลุ่มผู้อพยพอเมริกาจาก กลุม่ ชาวอินเดียนแดงซึง่ เป็นเจ้าของผืนแผ่นดินมาตัง้ แต่ตน้ และเยอรมันในยุคนาซีทไี่ ด้

50 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) ชาวยิวด้วยสาเหตุการกล่าวอ้างว่ายิวมีส่วนท�ำให้เยอรมัน แพ้สงครามและยิวเป็นผู้กุมบังเหียนเศรษฐกิจของประเทศไว้เกือบทั้งหมด) ดังนั้นในการแก้ไข Kymlicka เสนอให้ใช้สิทธิของกลุ่ม ออกเป็น ๓ แบบคือ ๑. สิทธิในการปกครองตนเองในระดับต่าง ๆ ๒. Polyethnic rights อันเกิดจากสหภาพแรงงานอพยสมัยใหม่ Kymlicka ต้องการให้เคารพสิทธิทางวัฒนธรรม ให้พวกเขาเกิดความภาคภูมใิ จ เพือ่ ให้เกิดการเข้า ร่วมและมีโอกาสได้รบั ความส�ำเร็จทางเศรษฐกิจ การเมือง ในสังคมใหญ่ (Dominated society) และสุดท้ายให้กลายเป็นสิทธิถาวรเพือ่ จะน�ำพาไปสูก่ ารบูรณาการประสานรวม (Integration) เข้าสู่สังคมใหญ่ในที่สุด ๓. สิทธิการมีตัวแทนพิเศษ โดยใช้เหตุผลเดียวกับที่จะเสนอว่า ผู้หญิงควร มีตัวแทนเพิ่มขึ้นในกลไกต่าง ๆ ของประชาธิปไตยแบบเสรีนิยมเพราะผู้หญิงถูก Underrepresented มาโดยตลอด และเช่นเดียวกัน Kymlicka เป็นนักคิดสายชุมชน นิยมที่เห็นว่าปัจเจกไม่สามารถด�ำรงอยู่ได้ ถ้าไม่ผ่านบริบททางวัฒนธรรมมนุษย์ดั้งเดิม ของตนเอง และให้ความส�ำคัญต่อแนวคิดพหุนิยมวัฒนธรรมเป็นที่ตั้ง พหุวัฒนธรรม (Multiculturalism) สืบเนือ่ งจากความหลากหลายในความเป็นพลเมืองก็คอื ความหลากหลายทาง วัฒนธรรม และมักเกี่ยวข้องกับกระบวนการผสมผสานทางวัฒนธรรม (Assimilation) ที่ถูกน�ำมาใช้ในกระบวนการสร้างชาติ โดยมีความพยายามที่จะสร้างความเป็นหนึ่ง เดียวกันในวัฒนธรรมเดียว เช่นในประเทศไทยมีความพยายามใช้การสร้างความเป็นไทย (Thai-ification) มาโดยตลอด หลังจากมีความล้มเหลวในกระบวนการสร้างชาติให้มี ความเป็นหนึ่งเดียวในอดีตจนกลับกลายเป็นการสร้างข้อขัดแย้งที่รุนแรงจนเกิดเป็น ปัญหาตาม ก็ต้องหันมายอมรับในความหลากหลายทางวัฒนธรรม เช่น เหตุการณ์ใน ภาคใต้ ที่มีความขัดแย้งอย่างชัดเจนโดยความพยายามของกลุ่มผู้ก่อการที่ผูกโยงให้ เป็นประเด็นด้านความไม่เท่าเทียมทางด้านการเมืองการปกครอง และการเรียกร้องถึง ความเป็นเอกภาพของกลุ่มชาติพันธุ์ของตน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเด็นด้านศาสนาได้ ถูกน�ำมาเป็นประเด็นที่อ้างได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้เพราะ กลุ่มชาติพันธุ์แต่ละกลุ่มย่อมมี ระบบสังคม การปกครอง ความเชื่อศาสนา และภาษาของตน และเป็นการยากที่จะ ท�ำให้กลุ่มชาติพันธุ์นั้น ๆ ละทิ้งความเป็นตัวตนเดิมของตนมารับเอาซึ่งวัฒนธรรมของ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

51


ผู้มีอ�ำนาจผ่านกระบวนการผสมกลมกลืนนี้ หรือในกรณีภาคเหนือการที่รัฐพยายาม เข้าไปส่งเสริมการเรียนรูห้ นังสือไทยและการมีโครงการธรรมทายาทเพือ่ เผยแผ่พระพุทธ ศาสนา ก็ลว้ นแต่มวี ตั ถุประสงค์ในการผนึกและต้องการมีอทิ ธิพลทีเ่ หนือว่าในฐานะเป็น ผู้ปกครอง (Dominator) ดังนั้นในการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรม คือ การศึกษาซึ่งให้ค่าแก่ความเป็นพหุ นิยมทางวัฒนธรรม และทัศนะทีว่ า่ โรงเรียนควรจะเป็นหน่วยหลอมละลายความแตกต่าง ทางวัฒนธรรมนั้นได้รับการปฏิเสธออกไป และเสนอว่าควรมีความอดทนอดกลั้นต่อ พหุนยิ มทางวัฒนธรรม และให้ตระหนักว่าความหลายหลายทางวัฒนธรรมนัน้ คือความ เป็นจริงในสังคมอเมริกนั (ในกรณีกส็ ามารถน�ำมาใช้ได้กบั สังคมไทยเช่นเดียวกัน-ผูเ้ ขียน) และการศึกษาแบบนีก้ ย็ งิ่ ย�ำ้ ว่าความหลากหลายทางวัฒนธรรมนีเ้ ป็นทรัพยากรทีม่ คี ณ ุ ค่า ซึ่งควรจะรักษาไว้ และขยายกว้างออกไป การรับรองพหุนิยมทางวัฒนธรรมก็คือการรับรองหลักเกณฑ์ว่า ไม่มีต้นแบบ แบบอเมริกันเพียงแบบเดียว พหุนิยมทางวัฒนธรรมเป็นมากกว่าการปรับตัวชั่วคราว เพื่อที่จะท�ำให้ชนกลุ่มน้อยทางชาติพันธุ์และเชื้อชาติสงบลง มันเป็นแนวคิดที่มุ่งหมาย จะไปสูค่ วามรูส้ กึ ตระหนักถึงการด�ำรงอยู่ และความเป็นหนึง่ เดียวกันของสังคมทัง้ หมด อันมีรากฐานอยูบ่ นความเข้มแข็งของทุก ๆ ส่วน จากแนวคิดเช่นนี้ ได้ทำ� ให้เกิดการปรับ นโยบายครัง้ ใหญ่จาก การผนวกรวม (Assimilation) เป็น การประสานรวม (Integration) ซึ่งถูกน�ำไปใช้ทั้งในอเมริกาและอังกฤษในลักษณะการยอมรับความแตกต่างภายใน เอกภาพเดียวกัน พหุสังคม พหุวัฒนธรรมในสังคมไทย แนวคิดในด้านความเป็นพหุนี้ ก็คือแนวคิดที่มองในเรื่องความหลากหลาย ทั้งกลุ่มคน และวัฒนธรรม นั้นหมายความว่า ความหลากหลายทางสังคมของชนชั้น อาชีพ ความคิด อุดมคติ วิถีชีวิตที่อยู่ในช่วงเริ่มต้นของช่วงการใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ซึง่ เป็นช่วงทีเ่ กิดความหลากหลายต่าง ๆ ข้างต้นเกิดขึน้ อย่างเด่นชัด และมีความชัดเจน เด่นชัดมากที่สุดในช่วงหลัง ๑๔ ตุลาคม ช่วงเวลาการเกิดขึ้นของแนวคิดพหุนิยมในแง่มุมต่าง ๆ ของสังคมไทยในช่วง หลังนี้ สามารถสรุปได้คร่าว ๆ ดังนี้

52 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


๑. พหุลักษณ์ (Plurality) ทางความคิด ปรากฏชัดหลังจากเหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ เป็นต้นมา แต่ขยายวงกว้างผ่านการต่อสู้เรียกร้องขององค์ NGOs กลุม่ สิทธิ กลุม่ สตรี กลุม่ อนุรกั ษ์สภาพแวดล้อมในช่วงหลังราวปี พ.ศ.๒๕๒๕ เป็นต้นมา จนกระทั่งมาเกิดเป็น พหุนิยม คือ การยอมรับความต่าง การด�ำรงอยู่ของส่วนที่ต่าง กลับปรากฏในช่วงการปฏิรปู การเมืองในปี พ.ศ.๒๕๔๐ นีเ้ อง แต่ยงั ไม่อยูใ่ นรูปพหุนยิ ม ที่เต็มตัวมากนัก คือ ระดับการรอดกลั้นหรือการให้ความเคารพต่อความแตกต่าง ระหว่างกันนั้นยังไม่สูงพอ มีการกระทบกระทั่งและขัดแย้งกันอยู่เสมอ ๒. พหุลักษณ์ทางด้านสังคม ความต่างในกลุ่มคนในท้องถิ่นต่าง ๆ อาชีพ ชนชั้น เมืองต่าง ๆ เริ่มปรากฏอย่างกว้างขวาง ตั้งแต่ต้นสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และขยายตัวมากขึ้นเป็นล�ำดับ โดยเฉพาะในภาพลักษณ์อาชีพ (อันเป็นผลมาจากการ พัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรม) แต่คอ่ ย ๆ เกิดพหุนยิ ม คือ การยอมรับในความต่าง และ มีความอดทนอดกลัน้ ต่อความต่าง กระทัง่ เกิดความชืน่ ชมในความต่างทางวัฒนธรรมขึน้ เช่น มีการน�ำเสนอความแปลกใหม่ตื่นตาตื่นใจ (exoticization) ของด้านอาหาร เช่น อาหารป่า อาหารอีสาน อาหารเหนือ อาหารปักษ์ใต้ และด้านอาหารนีใ้ นทีส่ ดุ ก็ได้เข้ามา เป็นส่วนหนึ่งในรูปแบบการบริโภคอาหารภาคกลาง ซึ่งถือว่าเป็นลักษณะของพหุ วัฒนธรรมด้านอาหารเกิดขึน้ เช่นเดียวกับพหุวฒ ั นธรรมของอาหารนานาชาติทเี่ กิดจาก กระบวนการโลกาภิวัตน์ในยุดปัจจุบัน ๓. กระบวนการยอมรับความต่างทางชาติพันธุ์จีน-ไทย ปรากฏขึ้นในช่วงราว พ.ศ.๒๕๑๐ เป็นต้นมา ในแง่ความส�ำเร็จทางธุรกิจ แต่ยังมีเส้นแบ่งระหว่างความต่างที่ เป็นจีน–ไทย อยู่และได้หายไปในเวลาต่อมา ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ซึ่งมีการยอมรับ และยกย่องในการเป็น Role-model ในด้านการประสบความส�ำเร็จของกลุ่มนักธุรกิจ ชนชั้นกลาง นักวิชาชีพเชื้อสายไทย-จีน รวมทั้งการยอมรับในความเป็นลูกผสมของ เหล่าบรรดานักแสดงชาย-หญิง และปัจจุบันเห็นได้จากการแต่งงานระหว่างราชนิกุล และตระกูลจิราธิวัฒน์ก็เป็นตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นถึงการยอมรับความแตกต่างใน ด้านชาติพันธุ์อย่างชัดเจน ๔. ความต่างในรสนิยม การแต่งตัว วิถีชีวิต เกิดขึ้นอย่างชัดเจนจากการ เคลือ่ นไหวของกลุม่ นักศึกษา ปัญญาชน โดยผ่านวัฒนธรรมด้านดนตรีทมี่ าจากตะวันตก ได้แก่ ดนตรีรอ็ กแอนด์โรล และการแต่งกายแบบฮิปปี้ ในทศวรรษที่ ๖๐s และ ๗๐s จน กระทัง่ มาขยายตัวอย่างชัดเจนมากขึน้ ในช่วงทีม่ กี ารใช้คำ� ว่า Lifestyle อย่างกว้างขวาง ชาติพันธุ์น่านศึกษา

53


ในราวปี ๒๕๓๐ ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ที่ บ ่ ง บอกถึ ง การยอมรั บ ในลั ก ษณะพหุ นิ ย มในระดั บ ปัจเจกบุคคลด้วย การเปิดเผยตัวของกลุ่มเกย์ เลสเบี้ยน ต่อสังคม อีกทั้งสังคมได้เปิด โอกาสและยอมรับมากกว่าอดีต นอกจากนี้ ยังมีการยอมรับในความเป็นตัวตนของวัยรุน่ ที่ได้แนวคิดมาจากตะวันตก การอยู่ก่อนแต่ง การยอมรับความเท่าเทียมของสตรี ฯลฯ ก็ล้วนแต่ชัดเจนและแพร่หลายตั้งแต่ช่วงนี้เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบันก็มีระดับของการ ยอมรับที่มากขึ้นอีกหลายเท่าตัว

ความหมายของชาติพันธุ์ ชาติพันธุ์คืออะไร ชาติพันธุ์หมายถึง ค�ำว่า "ชาติพันธุ์" และ "ชาติพันธุ์วิทยา" เป็นค�ำใหม่ในภาษาไทยการท�ำความ เข้าใจเรื่องชาติพันธุ์จ�ำเป็นจะต้องพิจารณาเปรียบเทียบกับเรื่องเชื้อชาติและสัญชาติ อาจเปรียบเทียบเชื้อชาติ สัญชาติ และชาติพันธุ์ได้ดังนี้ เชื้อชาติ (Race) คือ ลักษณะ ทางชีวภาพของคน ซึ่งเห็นได้อย่างชัดเจนจากลักษณะรูปพรรณ สีผิว เส้นผม และ ตา การแบ่งกลุ่มเชื้อชาติ (Racial group) มักแบ่งออกเป็น ๓ กลุ่ม คือ นิกรอยด์ (Negroid) มองโกลอยด์ (Mongoloid) และคอเคซอยด์ (Caucasoid) ในตอนหลังได้เพิม่ ออสตราลอยด์ (Australoid) โพลินีเชียน (Polynesian) ฯลฯ อีกด้วย การแบ่งแยกกลุม่ คนตามลักษณะทางชีวภาพนี้ มีความส�ำคัญในสังคมทีส่ มาชิก ในสังคมมาจากบรรพบุรุษที่ต่างกัน และมีสีผิวและรูปพรรณสัณฐานที่ต่างกันอย่างเห็น ได้ชดั เช่น ความแตกต่างระหว่างคนผิวขาวกับคนผิวด�ำ ในสังคมทีม่ กี ลุม่ คนทีม่ ลี กั ษณะ ทางชีวภาพต่างกันและประวัตคิ วามเป็นมาตลอดจนบทบาทในสังคมต่างกัน ความแตก ต่างทางชีวภาพอาจเป็นปัจจัยที่ท�ำให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันได้ แต่ในบางสังคม เช่น สังคมไทย ความแตกต่างทางชีวภาพไม่มีความหมายเท่าใดนัก สัญชาติ (Nationality) คือ การเป็นสมาชิกของประเทศใดประเทศหนึง่ ตาม กฎหมายโดยทีล่ กั ษณะทางชีวภาพและวัฒนธรรมอาจแตกต่างกันได้ การเป็นสมาชิกของ ประเทศย่อมหมายถึงการเป็นประชาชนของประเทศนั้นผู้ที่อพยพมาจากที่อื่นเพื่อมา ตัง้ ถิน่ ฐานสามารถโอนสัญชาติมาได้ ผูท้ เี่ ปลีย่ นสัญชาติ คือ ผูท้ เี่ ปลีย่ นฐานะจากการเป็น ประชาชนของประเทศหนึ่งมาเป็นประชาชนของอีกประเทศหนึ่ง ชาติพันธุ์ (Ethnicity หรือ Ethnos) คือ การมีวฒ ั นธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษาพูดเดียวกัน และเชือ่ ว่า

54 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


สืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษกลุ่มเดียวกัน เช่น ไทย พม่า กะเหรี่ยง จีน ลาว เป็นต้น กลุ่มชาติพันธุ์หรือกลุ่มวัฒนธรรมมีลักษณะเด่น คือ เป็นกลุ่มคนที่สืบทอดมา จากบรรพบุรษุ เดียวกัน บรรพบุรษุ ในทีน่ หี้ มายถึงบรรพบุรษุ ทางสายเลือดซึง่ มีลกั ษณะ ทางชีวภาพและรูปพรรณ (เชื้อชาติ) เหมือนกัน รวมทั้งบรรพบุรุษทางวัฒนธรรมด้วย ผู้ที่อยู่ในกลุ่มชาติพันธุ์เดียวกันจะมีความรู้สึกผูกพันทางสายเลือด และทางวัฒนธรรม พร้อม ๆ กันไป เป็นความรู้สึกผูกพันที่ช่วยเสริมสร้างอัตลักษณ์ของบุคคลและของ ชาติพันธุ์ และในขณะเดียวกันก็สามารถเร้าอารมณ์ความรู้สึกให้เกิดความเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกันได้โดยเฉพาะอย่างยิง่ ถ้าผูท้ อี่ ยูใ่ นกลุม่ ชาติพนั ธุน์ บั ถือศาสนาเดียวกันความ รู้สึกผูกพันนี้อาจเรียกว่า "ส�ำนึก" ทางชาติพันธุ์ หรือชาติลักษณ์ (Ethnic identity) (อ้างอิงข้อมูลจาก http://tribalcenter.blogspot.com/๒๐๑๑/๐๖/blog-post_๒๖.html)

ความเป็นชาติพนั ธุ์ (Ethnicity) ความพยายามของมนุษย์ทจี่ ะแยกแยะความ แตกต่างทางวัฒนธรรมมีมานานแล้ว ในระยะแรก ๆ นัน้ มักจะแยกแยะกันตามลักษณะ รูปธรรมของวัฒนธรรมทีม่ องเห็นได้ชดั เจน เช่น ความแตกต่างของภาษาพูดบ้าง เครือ่ ง แต่งกายบ้าง และวิธกี ารด�ำรงชีวติ บ้าง แต่หลังจากลัทธิลา่ อาณานิคมได้ขยายตัวออกไป ทัว่ โลก ชาวยุโรปตะวันตกได้เริม่ ใช้อคติทางชาติพนั ธุ์ (Ethnocentrism) มาเป็นพืน้ ฐาน ในการแยกแยะความแตกต่างทางวัฒนธรรมมากขึ้น ด้วยการจัดแบ่งประชากรในโลก ออกเป็น เชื้อชาติตามสีผิว (Race) ซึ่งแฝงนัยของล�ำดับชั้นของความยิ่งใหญ่ไว้ด้วย เพราะมักจะจัดให้ชาวผิวขาวของตนเองนัน้ เป็นเชือ้ ชาติทยี่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ ส่วนชาวสีผวิ อืน่ ๆ ก็จะลดล�ำดับความส�ำคัญรอง ๆ ลงมา แต่ชาวผิวสีด�ำจะถูกจัดให้อยู่ในล�ำดับต�่ำที่สุดใน ระยะต่อ ๆ มา การจัดล�ำดับเช่นนีก้ ถ็ กู ท�ำให้เป็นจริงเป็นจังมากขึน้ เรือ่ ย ๆ จนยึดถือกัน เสมือนว่าเป็นจริงตามธรรมชาติ โดยไม่มีการตั้งค�ำถามใด ๆ ทั้งตัวเหยื่อเองและผู้ได้รับ ประโยชน์จากการจัดล�ำดับเช่นนี้ ในที่สุดก็ก่อให้เกิดลัทธินิยมเชื้อชาติตามสีผิวอย่าง บ้าคลั่งหรือ ลัทธิเหยียดสีผิว (Racism) ซึ่งเป็นสาเหตุของโศกนาฏกรรมในการฆ่าล้าง เผ่าพันธุ์ที่เกิดขึ้นมาจนนับครั้งไม่ถ้วนในประวัติศาสตร์โลก ตัง้ แต่ปี ค.ศ.๑๙๘๐ เป็นต้นมา นักมานุษยวิทยาคนส�ำคัญของอเมริกาคือ Franz Boas ได้ค้นพบจากการวิจัยจ�ำนวนมากกว่าสายพันธุ์ทางชีววิทยากับวัฒนธรรมและ ภาษาไม่จำ� เป็นจะสอดคล้องต้องกันเสมอไป และเสนอให้แยกประเด็นของเชือ้ ชาติตาม สีผวิ ออกจากภาษาและวัฒนธรรม พร้อม ๆ กับต่อต้านลัทธิเหยียดสีผวิ จนกระทัง่ ในช่วง ชาติพันธุ์น่านศึกษา

55


ทศวรรษที่ ๑๙๕๐ ความคิดของ Franz Boasก็เป็นทีย่ อมรับอย่างกว้างขวางในอเมริกา และตั้งแต่ช่วงทศวรรษที่ ๑๙๖๐ เป็นต้นมา นักมานุษยวิทยาส่วนใหญ่ก็ยืนยันตรงกัน ว่าการจัดล�ำดับเชื้อชาติตามสีผิวนั้นเป็นไปไม่ได้ ส่วนลัทธิเหยียดสีผิวนั้นมีอยู่จริง หลัง จากปี ค.ศ.๑๙๗๐ นักมานุษยวิทยาจึงเสนอให้หันมาเน้นการศึกษาเกี่ยวกับ ความเป็น ชาติพนั ธุ์ (Ethnicity) เพราะเป็นกระบวนการแสดงความเป็นตัวตนทางวัฒนธรรม และ ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มชน แทนการจัดล�ำดับเชื้อชาติตามสีผิว ซึ่งถือเป็นกระบวน การกีดกันทางสังคม พร้อม ๆ กันนัน้ นักมานุษยวิทยาตะวันตกก็เสนอให้เรียกกลุม่ ชน ที่ แสดงความแตกต่างกันทางวัฒนธรรมว่า กลุ่มชาติพันธุ์ (Ethnic Groups) แทน ชนเผ่า (Tribe) ซึ่งแฝงไว้ด้วยแนวความคิดวิวัฒนาการ ที่จัดให้ชนเผ่าเป็นกลุ่มชนบทในสังคม แบบบุพการีดงั้ เดิม ในความหมายทีล่ า้ หลังและแฝงนัยในเชิงดูถกู ดูแคลนไว้ดว้ ย เพราะ เป็นขั้นตอนแรกของวิวัฒนาการของสังคมที่ยังไม่มีรัฐ ก่อนที่จะก้าวไปสู่สังคมรัฐแบบ จารีต และสังคมทันสมัยในที่สุด ทั้งนี้ก็เนื่องจากว่าแนวความคิดวิวัฒนาการเป็นเพียง การคาดคะเนที่เต็มไปด้วยอคติต่าง ๆ โดยไม่สามารถหาหลักฐานมายืนยันในเชิง ประวัตศิ าสตร์ได้เสมอไป เช่น ชาวเขาในประเทศไทยมักจะถูกเรียกว่าเป็นชนเผ่า ทัง้ ๆ ที่ ในประวัตศิ าสตร์ชาวเขาบางกลุม่ ไม่วา่ จะเป็นชาวอาข่าก็ดี ชาวลีซอก็ดี หรือชาวลาหูก่ ด็ ี ล้วนสืบทอดวัฒนธรรมเดียวกันกับกลุ่มชนที่เคยปกครองอาณาจักรน่านเจ้าในอดีต มาก่อน อย่างไรก็ตามในเรื่องนี้อาจยังไม่มีข้อยุติ เพราะในภาษาไทยค�ำว่าชนเผ่ามี นัยแตกต่างจากความหมายชนเผ่าของชาวตะวันตกอยู่บ้าง ตรงที่คนทั่วไปจะใช้กับ ชนเผ่าไทยด้วย ซึง่ น่าจะแสดงว่าภาษาทัว่ ไปใช้คำ� ว่า ชนเผ่า ในความหมายเดียวกับกลุม่ ชาติพันธุ์ในทางวิชาการด้วย ดังนั้นชนเผ่าในภาษาไทยจึงน่าจะมีสองนัย แต่เพื่อหลีก เลี่ยงนัยในเชิงดูถูกที่อาจเกิดขึ้นได้จากการใช้ค�ำว่าชนเผ่า ในงานทางวิชาการจึงควรใช้ กลุ่มชาติพันธุ์เมื่อพูดถึงกลุ่มชนที่แตกต่างกัน ทางวัฒนธรรม การเมืองของความสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์ ในปัจจุบันการเมืองของความ สัมพันธ์ทางชาติพนั ธุ์ นับว่าเป็นประเด็นส�ำคัญอย่างมากในการศึกษาความเป็นชาติพนั ธุ์ เพราะกลายเป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการของการสร้างความหมาย เพื่อการแยกแยะ กลุ่มชนต่าง ๆ บนพื้นฐานของความสัมพันธ์เชิงอ�ำนาจ ในกรณีของสังคมไทย การเมือง ในลักษณะเช่นนีเ้ ริม่ ต้นขึน้ ตัง้ แต่ชว่ งแรกของกระบวนการสร้างรัฐ ประชาชาติ เมือ่ ผูน้ ำ� ทางการเมืองและการปกครองในกรุงเทพฯ ที่เป็นศูนย์กลางของอ�ำนาจ เริ่มสร้างภาพ

56 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ของ ความเป็นคนอื่น (The Otherness) ให้กับกลุ่มชนต่าง ๆ ในชาติ ด้วยการมองว่า กลุม่ ชนทีอ่ ยูห่ า่ งออกไปจากศูนย์กลางเป็นคนบ้านนอก และถ้าอยูห่ า่ งออกไปอีก ก็ถงึ กับ เรียกว่าเป็นคนป่า ทัง้ ๆ ทีพ่ วกเขาต่างก็อยูร่ ว่ มในรัฐประชาชาติเดียวกัน ในทีเ่ กิดขึน้ จาก การสร้างภาพดังกล่าว ได้กลายเป็นวาทกรรม (Discourse) หรือการนิยามความหมาย เชิงอ�ำนาจ ที่ผลักดันให้กลุ่มชนที่อยู่ห่างไกลจากศูนย์กลางของอ�ำนาจ ต้องตกอยู่ใน สภาวะไร้อำ� นาจ หรือทีเ่ รียกว่า สภาวะชายขอบของสังคม (Marginality) ซึง่ เท่ากับเป็น กระบวนการกีดกันให้กลุ่มชนที่อยู่ห่างไกลเหล่านั้น ต้องสูญเสียสิทธิต่าง ๆ ที่พึงมีพึง ได้จากการพัฒนาต่าง ๆ ในรัฐชาติ ในทางสังคมวิทยาจะเรียกกระบวนการเช่นนี้ว่า กระบวนการสร้างสภาวะความเป็นชายขอบ (Marginalization) ซึง่ สามารถเกิดขึน้ ได้กบั กลุม่ ชนทีอ่ ยูห่ า่ งไกลจากอ�ำนาจ ทัง้ ในแง่ของระยะทางและความสัมพันธ์ ดังจะพบว่าใน ปัจจุบนั แม้จะอยูใ่ นกรุงเทพฯ แต่คนในชุมชนแออัดก็ตอ้ งตกอยูใ่ นสภาวะเป็นคนชายขอบ เพราะอยู่ห่างไกลจากความสัมพันธ์เชิงอ�ำนาจ ส�ำหรับกลุ่มชนที่อยู่ห่างไกลจากอ�ำนาจ ในแง่ระยะทางด้วยแล้ว ก็จะยิ่งไร้อ�ำนาจมากขึ้น เช่นในกรณีของชาวเขาในภาคเหนือ ยิ่งกว่านั้น ความเป็นคนชายขอบของชาวเขามักจะถูกตอกย�้ำอย่างต่อเนื่อง ตลอดมาเป็นระยะเวลานาน ภายใต้การเมืองของความสัมพันธ์ทางชาติพนั ธุ์ ดังปรากฏ ให้เห็นได้จากวาทกรรมทีส่ ร้างภาพให้ชาวเขาเป็นต้นตอของภัยต่าง ๆ ทัง้ ในแง่ของความ มัน่ คง ในฐานะเป็นส่วนหนึง่ ของผูก้ อ่ การร้าย ผูอ้ พยพ และพวกผูป้ ลูกฝิน่ และในแง่ของ ผลกระทบต่อธรรมชาติ ในฐานะทีท่ ำ� ไร่เลือ่ นลอยและตัดไม้ทำ� ลายป่า แม้วา่ ภาพเหล่านี้ จะเป็นเพียงความรู้สึก ที่ไม่สามารถยืนยันได้ในทางวิชาการ ซึ่งพยายามอธิบายถึง เงือ่ นไขทีซ่ บั ซ้อนและการมองปัญหาอย่างแยกแยะ แต่อคติทางชาติพนั ธุท์ สี่ ะสมมานาน ท�ำให้มองภาพของชาวเขาอย่างตายตัว ในฐานะเป็นคนอื่นและเป็นภัยฝังลึกอยู่ใน สังคมไทยผลที่ตามมาก็คือ ชาวเขามักจะถูกกีดกันต่าง ๆ นานา ทั้งในแง่ของสิทธิใน ความเป็นพลเมือง สิทธิในการตั้งถิ่นฐาน และสิทธิในการจัดการทรัพยากร จนขยายตัว เป็นปัญหาของความขัดแย้งอย่างรุนแรงในปัจจุบัน เมื่อชาวเขาต้องถูกคุกคามและ ถูกกดดันให้ย้ายตั้งถิ่นฐานออกจากป่า เพราะรัฐไม่รับรองสิทธิของชาวเขาในการ ตัง้ ถิน่ ฐานอยูใ่ นป่า ทัง้ ๆ ทีพ่ วกเขาอยูอ่ าศัยมาก่อนขณะเดียวกันก็มคี วามพยายามทีจ่ ะ หาประโยชน์จากวัฒนธรรมของชาวเขา ดังปรากฏในรูปของ กระบวนการท�ำให้ชาติพนั ธุ์ เป็นสินค้า ซึง่ หมายถึงการใช้วฒ ั นธรรมของกลุม่ ชาติพนั ธุเ์ ป็นสินค้า ส�ำหรับการหารายได้ จากการท่องเที่ยวในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องแต่งกาย หัตถกรรม และวิถีชีวิต ชาติพันธุ์น่านศึกษา

57


ในกระบวนการดังกล่าวจะมีการสร้างภาพของชาวเขาให้เป็นเสมือนชุมชนดัง้ เดิม ทีน่ า่ ทึง่ เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาสัมผัสความแปลกที่แท้จริง จึงเท่ากับยิ่งตอกย�้ำภาพของ ชาวเขาที่หยุดนิ่งตายตัวมากขึ้น ในปัจจุบัน การเมืองของความสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์ ได้ขยายตัวออกไปอย่าง หลากหลายและซับซ้อน เมื่อกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ บนที่สูงไม่ยอมตั้งรับแต่ฝ่ายเดียวเช่น ในยุคก่อน แต่หันมารวมตัวกันเพื่อเรียกร้องสิทธิต่างๆที่พึงมีพึงได้ในฐานะพลเมืองไทย พร้อม ๆ กับการออกมาแสดง ความมีตัวตนทางชาติพันธุ์ (Ethnic Identity) ด้วยการ สร้างอัตลักษณ์ของชาวเขาผ่านทั้งพิธีกรรมและการแสดงออกต่าง ๆ ที่แสดงว่า ชาวเขานั้นมีความรู้และศักยภาพในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่า ในด้านหนึ่งก็เพื่อตอบโต้ อคติต่าง ๆ ที่มีอยู่ในวาทกรรมของรัฐ ในอีกด้านหนึ่งก็เพื่อสร้างความเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกันในหมู่ชาวเขาเอง ซึ่งในทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเรียกกระบวนการ ข้างต้นนี้ว่า การเปิดพื้นที่ทางสังคมและวัฒนธรรม (Social and Cultural Space) ของกลุ่มชาติพันธุ์ ที่เปรียบเสมือนพื้นที่ในการแสดงออกของ สิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์ (Ethnic Rights) รวมทั้ง ภูมิปัญญาความรู้ (Indigenous Knowledge) เพื่อนิยามการ ด�ำรงอยูท่ างวัฒนธรรมอย่างแตกต่าง และก�ำหนดความสัมพันธ์ทางสังคมของตนเองกับ กลุม่ อืน่ ๆ ในสังคม แทนทีจ่ ะปล่อยให้ผอู้ นื่ เป็นผูก้ ำ� หนดฝ่ายเดียว ซึง่ ก็ถอื ได้วา่ เป็นสิทธิ ชุมชนอย่างหนึ่ง ที่รัฐในระบอบประชาติธิปไตยจะต้องยอมรับ ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่ง ของประชาสังคมนอกจากบทบาทของกลุ่มชาติพันธุ์เองแล้ว ในการเมืองของความ สัมพันธ์ทางชาติพันธุ์ยังต้องรวมเอาบทบาทของกลุ่มทางสังคมอื่น ๆ ไว้ด้วย โดย เฉพาะกลุ่มที่มองกลุ่มชาติพันธุ์ในเชิงบวก เช่น นักวิชาการและองค์กรพัฒนาเอกชน (Non–Govermental Organization, NGO) ซึ่งมักจะท�ำงานร่วมกับกลุ่มชาติพันธุ์เอง เพราะกลุม่ ต่าง ๆ เหล่านีม้ สี ว่ นก่อให้เกิดความซับซ้อนมากขึน้ ด้วยความพยายามสร้าง ภาพตัวแทน (Representation) ของกลุ่มชาติพันธุ์ขึ้นมาแทนที่ภาพอคติ แต่ก็มักจะ เป็นภาพที่แผงความหมายในเชิงอุดมคติที่หยุดนิ่งและตายตัว เช่นเดียวกับภาพอคติ ที่เคยมีมาแต่เดิม เช่น การให้ภาพชาวปกากะญอ เป็นกลุ่มชนที่มีวิถีชีวิตกลมกลืนกับ ธรรมชาติ แม้จะเป็นในเชิงบวกก็ตาม แต่ภาพท�ำนองนีข้ าดพลังเพราะมักจะขาดนัยของ การเปลีย่ นแปลงและการขัดแย้งที่ เกิดขึน้ จริงในประวัตศิ าสตร์ ท�ำให้เป็นเพียงวาทกรรม ส�ำหรับการโต้ตอบกันแต่จะขาดน�้ำหนักส�ำหรับการผลักดัน การเปลี่ยนแปลง ทั้งในแง่ นโยบายและกฎหมาย ซึ่งท�ำให้ไม่มีผลต่อการยกระดับสิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์ในสังคม เท่าที่ควร

58 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในพหุสังคม ดังนั้นการศึกษาความเป็น ชาติพันธุ์ในเชิงวิชาการ ได้หันมาให้ความส�ำคัญมากขึ้นกับปัญหาการเปลี่ยนแหล่ง ที่เกิดขึ้นภายใต้บริบทและเงื่อนไขที่แตกต่างกัน พร้อม ๆ กับท�ำความเข้าใจกับพลวัต ของกลุ่มชาติพันธุ์ในการต่อสู้และปรับตัวต่อ แรงกดดันต่าง ๆ ในสภาพความเป็นจริง ของช่วงเวลาหนึ่ง ๆ โดยให้ความสนใจต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับ สิทธิ ความมี ตัวตน และภูมิปัญญาของทุก ๆ กลุ่มชาติพันธุ์อย่างเท่าเทียมกัน เพื่อให้ผลของการ ศึกษานั้นมีพลังอย่างแท้จริง ในการเสนอทางเลือกที่มีลักษณะหลากหลาย ให้กับการ เคลื่อนไหวทางการเมืองของกลุ่มชาติพันธุ์ ที่จะน�ำไปสู่การสร้างสรรค์พหุสังคม และ การมีส่วนร่วมอย่างเสมอภาคกับทุกกลุ่มชาติพันธุ์ในพหุสังคมนั้น เพราะความเป็นจริง ของรัฐประชาชาติในปัจจุบัน ล้วนแล้วแต่มีความหลากหลายของชาติพันธุ์ทั้งสิ้น การ ปฏิเสธและการไม่ยอมรับความจริงในข้อนี้ นับวันก็จะเพิ่มความขัดแย้งและรุนแรงขึ้น ในสังคมโดยไม่จ�ำเป็น ดังจะเห็นได้วา่ เกือบทุกประเทศในโลกนีจ้ ะมีประชากรทีป่ ระกอบด้วยกลุม่ ชาติพนั ธุ์ อย่างหลาก หลาย เนื่องจากมีประวัติศาสตร์ของความสัมพันธ์ ซึ่งท�ำให้เกิดการแลก เปลี่ยนและการผสมผสานกันทางวัฒนธรรมกันมานาน ก่อนที่จะเกิดรัฐประชาชาติขึ้น เมื่อร้อยกว่าปีที่ผ่านมานี้เอง แต่การอยู่ร่วมกันของกลุ่มชนชาติก็ไม่ได้ก่อนให้เกิดความ ขัดแย้งเสมอไป หากไม่มีความพยายามเอาเปรียบซึ่งกันและกัน ในทางตรงกันข้าม กลับพบว่าในบางสังคมจะมีการผสมผสานกันทางวัฒนธรรมได้อย่างดี ขณะทีใ่ นอีกหลาย สังคมก็อยูร่ ว่ มกันได้ แม้วา่ จะคงความแตกต่างของแต่ละชาติพนั ธุเ์ อาไว้ ทัง้ นีก้ เ็ พราะว่า สังคมนั้นๆ ได้เคารพสิทธิของความแตกต่างทางชาติพันธุ์อย่างเท่าเทียมกัน ที่จริงแล้ว สังคมหนึ่งสามารถเคารพในความแตกต่างได้อย่างหลากหลาย นอกจากชาติพันธุ์แล้ว ก็อาจจะเคารพความแตกต่างในทางวัฒนธรรมของท้องถิน่ ความแตกต่างในความรู้ และ ความแตกต่างในความเชือ่ เป็นต้น ในทางวิชาการจะเรียกสังคมทีเ่ คารพในความแตกต่าง อย่างหลากหลายนีว้ า่ พหุสงั คม ซึง่ มักจะเกิดขึน้ ได้อย่างแท้จริงเมือ่ สังคมนัน้ ๆ ได้พฒ ั นา ความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น

(อ้างอิงข้อมูลจาก http://www.contothailand.org/ independentfile/INDEX.ASP) ชาติพันธุ์น่านศึกษา

59


ร่วมสรุปวางแผนเตรียมลงพื้นที่ในช่วงปิดภาคเรียนโดยทีมคณะท�ำงานสภา เยาวชนชาติพนั ธ์นุ า่ นศึกษาขัน้ ตอนทีส่ ามของการเปลีย่ นความฝันเป็นความจริง คือการ สร้างแผนการท�ำงานทีด่ ี แผนการท�ำงานนีจ้ ะท�ำให้สภาเยาวชนมีทศิ ทางทีแ่ ม่นย�ำ และ ท�ำให้คณ ุ สามารถวัดผลความก้าวหน้า และปรับเปลีย่ นทิศทางเมือ่ พบกับอุปสรรค และ แม้กระทัง่ โอกาสทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้อย่างเหมาะสมเพือ่ สร้างเครือ่ งมือลงพืน้ ที่ กับห้องเรียน อันแสนทรงพลัง ชุมชนศึกษาทัง้ นีเ้ ป็นการบ่มเพาะ ขัดเกลา เยาวชนสูจ่ ติ สาธารณะหรือ Public Mind หมายถึง การตระหนักรู้และค�ำนึงถึงส่วนรวม หรือ "สาธารณะ" ร่วมกัน เพราะสาธารณะเป็นสิง่ ทีม่ ไิ ด้เป็นของผูห้ นึง่ ผูใ้ ด จิตสาธารณะจึงเป็นความรูส้ กึ ส�ำนึกถึง การเป็นเจ้าของในสิง่ ทีเ่ ป็นสาธารณะในสิทธิและหน้าทีท่ จี่ ะดูแลและบ�ำรุงรักษาร่วมกัน เช่น การช่วยกันรักษาดูแลสิ่งแวดล้อม การดูแลรักษาสาธารณสมบัติ ให้ได้ใช้ประโยชน์ ที่คุ้มค่า หรือการร่วมมือกระท�ำเพื่อไม่ก่อให้เกิดปัญหาหรือช่วยแก้ปัญหาที่ไม่ขัดต่อ กฎหมายเพื่อรักษาผลประโยชน์ส่วนรวม โดยเฉพาะ (๑) กระบวนการเรียนรูค้ บู่ ริการ อั น หมายถึ ง เรี ย นรู ้ ร ่ ว มกั น ระหว่ า ง โรงเรียนกับชุมชน มิใช่มงุ่ ถ่ายทอดในแนว ดิ่ง หรือสื่อสารทางเดียว โดยปราศจาก การแบ่งปัน หรือเรียนรู้ร่วมกัน (๒) กระบวนการน�ำจุดแข็งของ หลักสูตรไปสูก่ ารรับใช้สงั คม โดยใช้ผเู้ รียน และชุมชนเป็นฐานหลักของการจัดการ เรียนรู้ ดังนัน้ โครงการดังกล่าวฯ จึงเป็น การเลื อ กพื้ น ที่ แ ห่ ง การเรี ย นรู ้ ที่ ช าญ ฉลาดและน่าจะได้ประโยชน์รว่ มกันอย่าง ไม่ น ่ า กั ง ขา นั ก เรี ย นได้ เรี ย นรู ้ แ ละฝึ ก ปฏิบัติการจริงกับชุมชนที่มีแก่นสารทาง “ภูมิปัญญา” (ชาติพันธุ์ต้นธารของชีวิต นักเรียนเอง) อันเป็นอัตลักษณ์ของเขาเอง

60 ชาติพันธุ์น่านศึกษา

แผ่นที่จังหวัดน่าน


เฉกเช่นเดียวกับชุมชนเอง ก็ได้พัฒนาระบบคุณค่าและฐานภูมิปัญญา “ชาติพันธุ์น่าน ศึกษา” ของตนเองอย่างเป็นรูปธรรมร่วมกับเยาวชนในพื้นที่และอาจารย์จากโรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ ๕๖ ที่นักเรียนก�ำลังศึกษาอยู่ ภายใต้แนวคิด กลับบ้านอย่างมี ความหมาย

ความส�ำคัญของการศึกษาชุมชน ชุมชนมีหลายองค์ประกอบหรือสภาพของธรรมชาติความเป็นมนุษย์ ชุมชนสะท้อนลักษณะหรือสภาพของธรรมชาติความเป็นมนุษย์ ชุมชนสามารถอธิบายว่าอะไรคือคุณค่า อะไรคือเกณฑ์ที่ท�ำให้เราสามารถอยู่ร่วมกัน ชุมชนเป็นเรื่องการสร้างพื้นที่ที่เรายืนอยู่ในฐานะที่เป็นมนุษย์ในสังคม ชุมชนเป็นเรื่องของการสร้างทุนทางสังคม

ประเภทของการศึกษาชุมชน จ�ำแนกตามวัตถุประสงค์ของการน�ำความรู้ไปใช้ - ศึกษาชุมชนแบบหาความรู้พื้นฐานทั่วไป - ศึกษาแบบทดสอบความรู้เดิม - ศึกษาเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ - ศึกษาเพื่อหารูปแบบจ�ำลอง (Model) ไปใช้ในการพัฒนา การศึกษาตามเนื้อหาข้อมูลเพื่อน�ำไปใช้ - การศึกษาข้อมูลโดยละเอียด เพื่อใช้ในการวางแผนในอนาคตระยะยาวเป็น แนวทางในการพัฒนา - การศึกษาข้อมูลเฉพาะเพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า หรือประเด็นเรื่องด่วน จ�ำแนกตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล - เก็บข้อมูลจากเอกสาร หรืองานวิจัยที่มีผู้ศึกษาไว้แล้ว - เก็บข้อมูลชุมชนแบบส�ำรวจเชิงปริมาณ เช่น แบบสอบถาม - เก็บข้อมูลแบบมีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิด - เก็บข้อมูลชุมชนแบบเชิงลึก หรือเชิงคุณภาพ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

61


ท�ำไมต้องศึกษาชุมชน - เพือ่ ทดสอบความรูต้ า่ ง ๆ เพือ่ ยืนยันและเป็นการกระท�ำให้ความรูเ้ ดิมมีความ น่าเชื่อถือยิ่งขึ้น - เพื่อหาข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน เป็นการหาความรู้ใหม่ เพื่อเติม ความรู้ให้มากยิ่งขึ้น - เพือ่ น�ำข้อเท็จจริงไปใช้ประโยชน์ และเครือ่ งมือในการพัฒนา รวมทัง้ เป็นการ วางแผนและนโยบาย - เห็นลู่ทางในการกระตุ้น ส่งเสริมให้คนหรือกลุ่มในชุมชนริเริ่มกิจกรรมต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาของตนเอง - สามารถดึงศักยภาพของชุมชนที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อกระบวนการ พัฒนาจากล่างขึ้นบน

62 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ความรู้ ส�ำหรับการสอนเพื่อบ่มเพาะเยาวชนและใช้ชีวิตบนการงานในแนว ทางใหม่ ๆ รูปแบบ และกระบวนการ เพื่อการสร้างพื้นที่ศิลปะ พื้นที่การเรียนรู้ พื้นที่ บ่มเพาะชีวิตทางปัญญาของเยาวชน และความสร้างสรรค์ของสังคม

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

63


• การคิด ใคร่ครวญ วางแผนแบบยืดหยุ่น บนการสื่อสารและสร้างจุดหมาย ให้เป็นหลักการใช้วิจารณญาณ ท�ำให้การมีคนน้อย ก็เป็นทีมที่มีพลัง เพราะเป็นผู้น�ำ ตนเองและตัดสินใจด้วยตนเองได้หลายจุด • การด�ำเนินการและบริหารจัดการบนฐานทรัพยากรและความเป็นครอบครัว Home-Based Space for Art and Collective Intellectual Practice ซึ่งจะต้อง มุง่ พัฒนาแนวทางใหม่ ๆ ทีส่ อดคล้องกับสภาพการเปลีย่ นแปลงของสังคมทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคตด้วย • ลักษณะชิน้ งานและการติดตัง้ แบบยืดหยุน่ ต้นทุนและค่าใช้จา่ ยไม่เบียดเบียน ตนเองมาก ขนย้ายและเก็บรักษาง่าย ติดตั้งได้อย่างง่ายและยืดหยุ่นไปกับสภาพ แวดล้อมที่แตกต่างหลากหลายอย่างไม่จ�ำกัด ได้มากขึ้นเรื่อย ๆ • การจัดระบบทีเ่ อือ้ ให้ผคู้ นมีสว่ นร่วมและพึง่ ตนเองได้อย่างคล่องตัว ท�ำให้พงึ่ คนและสิ่งที่มีอยู่แล้วได้ง่ายขึ้น • การสร้างพื้นที่เปิดให้กับแสง ลม ทัศนียภาพแวดล้อม และกระบวนการ ธรรมชาติสงู สุด ท�ำให้ลดพลังงาน รักษาสภาพแวดล้อม สร้างความใกล้ชดิ กับธรรมชาติ ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ท�ำให้มีก�ำลังในการปฏิบัติในระยะยาวได้ดีขึ้น

64 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


• ออกแบบกระบวนการสื่อสารและสร้างปฏิสัมพันธ์ทางตรงสูงสุด เพื่อใช้ เทคโนโลยีต่าง ๆ อย่างมีความหมายที่สุด ท�ำให้เกิดกระบวนการชุมชนและเกิดพลัง มนุษย์ที่ยิ่งใหญ่จากกลุ่มคนเพียงกลุ่มเล็ก ๆ ได้ • พื้นที่การรักษาระยะห่างและการเข้าหาความสงบในตนเอง ท�ำให้สร้าง กระบวนการมีส่วนร่วมได้ง่าย พร้อม ๆ กับท�ำให้ผู้คนไม่อึดอัด มีมุมอ่านหนังสือ นั่งสนทนาและอยู่กับตนเองไปด้วยได้เสมอ • สื่อ กระบวนการสื่อสาร เพื่อเพิ่มวาระและโอกาสการเรียนรู้ ผมท�ำหมายเหตุและแบ่งปันไว้ก่อน เพื่อขัดเกลาและเปิดรับข้อมูล แล้วจะ รวบรวม เขียนขยายความ จัดสื่อและตัวอย่าง แล้วน�ำเอาความรู้และข้อมูลต่าง ๆ มาช่วยท�ำให้เป็นความรูท้ เี่ ห็นบริบทของการน�ำไปใช้ทางการปฏิบตั ิ โดยเฉพาะในเงือ่ นไข ของสังคมวัฒนธรรมไทยในสภาวการณ์ใหม่ ๆ ที่มีความแน่นหนักมาก ๆ ขึ้น ต่อไป

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

65


การจัดกิจกรรมนอกห้องเรียนให้มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดทักษะ ความสามารถสอดคล้องตามจุด เน้นการพัฒนาผู้เรียนได้อย่างแท้จริง สิ่งส�ำคัญคือการ ออกแบบกิจกรรมนอกห้องเรียนอย่างเป็นระบบ มีความเชื่อมโยงต่อเนื่องกัน โดยยึด หลักการจัด ดังนี้ ๑. มีเป้าหมายชัดเจน ๒. ตารางเรียนมีความยืดหยุ่น เพียงพอต่อเนื่อง และเชื่อมโยงตลอดแนว ๓. ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ควรค�ำนึงถึง ๓.๑. กิจกรรมเอื้อให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองทั้งทักษะ ความสามารถ คุณลักษณะอันพึงประสงค์และทุกมิตใิ นแต่ละช่วงวัยตามจุดเน้นอย่างต่อเนือ่ ง ๓.๒. กิจกรรมเปิดโอกาสให้ได้เรียนรู้ประสบการณ์ตามสภาพจริง เป็นต้น ๓.๓. กิจกรรมเปิดโอกาสให้ผู้เรียนรู้ได้เรียนรู้ด้วยกระบวนการเรียน รู้ร่วมกัน ๔. มีกระบวนการตรวจสอบ/ประเมินผล ชุมชน ท้องถิน่ และสิง่ แวดล้อมเป็นห้องเรียนขนาดใหญ่ทเี่ ต็มไปด้วยแหล่งเรียนรู้ หลากหลายประเภท บริเวณและสถานที่ต่าง ๆ ภูมิทัศน์ของโรงเรียนในชุมชน/ท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน เช่น สวนป่า สวนพฤกษศาสตร์ สนามกีฬาโรงเรียน ห้องปฏิบัติ การต่าง ๆ ห้องครัว โรงอาหาร ห้องสมุด หอประชุม เป็นต้น แหล่งเรียนรูใ้ นชุมชน/ท้องถิน่ เช่น วัด สถานีอนามัย ตลาด หอสมุด พิพธิ ภัณฑ์ โรงพยาบาล ทุง่ นา ป่า ชุมชน เป็นต้น ผูร้ ู้ ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ และปราชญ์ชาวบ้านเรือ่ งราว สถานการณ์ และเหตุการณ์สำ� คัญวัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิน่ และวันส�ำคัญทัง้ หมด คือห้องเรียนชีวิตที่เราควรให้เยาวชนได้เรียนรู้ เทคนิควิธีการศึกษาชุมชน วิธีการศึกษาชุมชน ในการศึกษาชุมชนมีวิธีการศึกษาอยู่หลายวิธี แต่ที่ส�ำคัญมีดังนี้ ๑. การสังเกต ๒. การสัมภาษณ์

66 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


๓. การสนทนากลุ่ม ๔. การใช้ข้อมูลเอกสาร ๕. การเข้าสนาม ๖. การศึกษาแบบผสมผสาน

๑. การสังเกตการณ์ (Observation)

การสังเกตการณ์ เป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลอีกอย่างหนึ่งที่นักวิจัย เชิงคุณภาพนิยมกัน ซึ่งจะต้องอาศัยการฝึกฝนวิธีการสังเกตการณ์นั้น เพื่อที่จะเข้าใจ ลักษณะธรรมชาติและขอบเขตของการเกี่ยวข้องสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ ของปรากฏการณ์ทางสังคม และพฤติกรรมของมนุษย์ ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งของสมาชิก ในสังคม ดังนัน้ การสังเกตการณ์จงึ ต้องอาศัยการสังเกตด้วยตา หู สัมผัส ทีอ่ าการทัง้ ๕ สามารถจะท�ำการสังเกตการณ์ได้ ๑.๑ ประเภทของการสังเกตการณ์ แบ่งออกได้ ๓ ประเภทดังนี้ ๑.๑.๑ การสั ง เกตการณ์ อ ย่ า งมี ส ่ ว นร่ ว มอย่ า งใกล้ ชิ ด (Participant Observation) เป็นวิธีที่ผู้ศึกษาเข้าไปมีส่วนร่วมเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน หรือกลุ่ม ที่ท�ำการศึกษา เช่น การศึกษาประวัติศาสตร์หมู่บ้าน ๑.๑.๒ การสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิด (Non-Participant Observation) เป็นวิธีที่ผู้ศึกษาไม่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนหรือ กลุ่มที่ท�ำการศึกษา เป็นเพียงเข้าไปเฝ้าพฤติกรรม ทางสังคม เช่น การสังเกตการณ์ เด็กก�ำลังเล่มเกมส์ต่าง ๆ ผู้ศึกษาเข้าไปดูพฤติกรรมของเด็กที่ก�ำลังเล่นเกมส์เหล่านั้น การสังเกตการณ์ดังกล่าวสามารถแบ่งได้เป็น ๓ ชนิด ๑) การสังเกตการณ์อย่างมีโครงสร้าง (Structured Observation) เป็นการ สังเกตการณ์ที่เป็นระบบ ผู้ศึกษาทราบถึงวัตถุประสงค์ของการสังเกตการณ์ ผู้ศึกษา จึงมีการเตรียมการสิ่งที่ต้องการสังเกตไว้ล่วงหน้า ข้อมูลที่ต้องการศึกษา และวิธีการ วิเคราะห์ท�ำให้สามารถที่จะสังเกตการณ์อย่างเป็นระบบ ๒) การสังเกตการณ์อย่างไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Observation) เป็นการสังเกตการณ์ที่ผู้ศึกษาได้เตรียมวัตถุประสงค์ของการสังเกตการณ์ไว้ล่วงหน้า เนือ่ งจากการสังเกตการณ์แบบนีเ้ ป็นการสังเกตพฤติกรรมของมนุษย์ทแี่ สดงพฤติกรรม ชาติพันธุ์น่านศึกษา

67


ตามธรรมชาติในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคม พฤติกรรมที่แสดงออกจึงเป็นไปตาม เงื่อนไขของบุคคลนั้น ผู้ศึกษาไม่อาจจะเตรียมการไว้ล่วงหน้าได้ เช่น ผู้ศึกษาไปสังเกต พฤติกรรมการบริโภคในชุมชน พฤติกรรมของแต่ละคนแต่ละครอบครัวย่อมจะแตกต่าง กันไป ไม่อาจจะตั้งเป็นกฎเกณฑ์ตายตัวได้ ๓) การสังเกตการณ์ในห้องปฏิบตั กิ าร (Laboratory Observation) เป็นการ สังเกตการณ์ในสถานการณ์ทผี่ ศู้ กึ ษาได้กำ� หนดไว้ อาจจะใช้วธิ กี ารสังเกตการณ์ผา่ นห้อง กระจกที่มองด้านเดียวเพื่อมิให้ผู้ถูกสังเกตรู้ตัว ๑.๒ บทบาทของนักพัฒนาในสนาม นักพัฒนาทีจ่ ะเข้าไปศึกษาในชุมชนหรือกลุม่ คนตามทีไ่ ด้เลือกนัน้ จะต้องค�ำนึง ถึงบทบาททีจ่ ะอาศัยอยูใ่ นชุมชน บทบาทมีอยูห่ ลายบทบาท แล้วแต่จะได้เลือกบทบาท หนึ่งหรือหลาย ๆ บทบาท ซึ่งบทบาทของการสังเกตการณ์ในสนามมีอยู่ ๔ บทบาท ๑.๒.๑ ผู้มีส่วนร่วมอย่างสมบูรณ์ (Complete Participant) บทบาทใน ลักษณะนี้ คือ ประชากรที่อาศัยอยู่ในชุมชนไม่รู้ว่าผู้ศึกษาได้เข้ามาศึกษาในชุมชน โดยผู้สังเกตจะมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ถูกสังเกตตามธรรมชาติ มีส่วนร่วมในการท�ำงาน มีทัศนคติร่วมกัน และมีความคุ้นเคยกับชีวิตคนในชุมชนนั้น ๑.๒.๒ ผูม้ สี ว่ นร่วมเป็นผูส้ งั เกตการณ์ (Participant – as – Observer) บทบาทนี้ เหมือนกับข้อแรกที่ผู้ศึกษาและประชากรในชุมชนนั้นมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ผู้ศึกษาจะมีส่วนร่วมในเหตุการณ์หรือพิธีกรรมต่าง ๆ พยายามสังเกตพฤติกรรมต่าง ๆ ในด้านที่เกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ในเรื่องที่จะศึกษา แต่ต่างกันที่ประชากรในชุมชนรู้ ว่าตนถูกสังเกต บทบาทนี้ใช้กันมากในวิธีการของการสังเกตการณ์ด้วยการมีส่วนร่วม อย่างใกล้ชิด ๑.๒.๓ ผูส้ งั เกตการณ์อย่างมีสว่ นร่วม (Observer - as - Participant ) บทบาทนี้ ผู้ศึกษาเป็นผู้สังเกตการณ์โดยไม่ได้บอกวัตถุประสงค์ของการศึกษาให้ประชากรใน ชุมชนได้ทราบ โดยจะสังเกตการณ์อยูต่ ลอดเวลาและเข้าไปมีสว่ นร่วมในเหตุการณ์หรือ พิธีกรรมต่าง ๆ มีการตีความจากการสังเกตการณ์ด้วยตนเอง ๑.๒.๔ ผู้สังเกตการณ์อย่างสมบูรณ์ (Complete Observer) บทบาทของผู้ ศึกษาทีจ่ ะเข้าไปสังเกตพฤติกรรมของประชากรในชุมชน โดยไม่ได้บอกวัตถุประสงค์ของ การศึกษา เพราะมีขอ้ สมมติวา่ ถ้าบอกตามความเป็นจริงแล้ว ประชากรในชุมชนนัน้ อาจ

68 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


จะไม่ให้ขอ้ มูลตามความเป็นจริงข้อมูลทีไ่ ด้จงึ ไม่นา่ เชือ่ ถือเทคนิคนีผ้ สู้ งั เกตการณ์จะไม่มี ปฏิสัมพันธ์กับผู้ถูกสังเกตการณ์ ๑.๓ ข้อดีและข้อจ�ำกัดของการสังเกตการณ์ บุญธรรม จิตต์อนันต์ (๒๕๓๖) ได้สรุปข้อดีและข้อจ�ำกัดของการสังเกตการณ์ ไว้ดังนี้ ๑.๓.๑ ข้อดีของการสังเกตการณ์ ๑. สามารถสังเกตการณ์หรือบันทึกพฤติกรรมได้ทันทีที่เกิดขึ้น ๒. สามารถได้ขอ้ มูลทีแ่ น่นอนตรงกับสภาวะการณ์จริงของพฤติกรรม ๓. สามารถด�ำเนินการหรือเก้บข้อมูลได้มากกว่าวิธีอื่นในกรณีที่เกิด ความไม่เต็มใจจะให้ข้อมูลจากบุคคลหรือกลุ่มคน ๑.๓.๒ ข้อจ�ำกัดของการสังเกตการณ์ ๑. ไม่สามารถทีจ่ ะท�ำนายได้อย่างแน่ชดั ว่า เหตุการณ์หนึง่ ๆ จะเกิด ตามธรรมชาติเมื่อใดจึงจะสังเกตการณ์ได้ทัน ๒. มีปญ ั หาด้านปัจจัยสอดแทรกทีไ่ ม่คาดคิดมาก่อน เช่น การจราจร การจลาจล ความแปรปรวนของดินฟ้าอากาศ ฯลฯ ท�ำให้การสังเกตการณ์ไม่ได้ผล สมบูรณ์ ๓. ปัญหาระยะเวลาของเหตุการณ์ เช่น จะศึกษาประวัติชีวิตบุคคล โดยวิธีนี้ก็จะล�ำบากมาก ๔. การสังเกตการณ์มีข้อจ�ำกัดในเรื่องกฎเกณฑ์หรือมารยาท เช่น การเข้าไป สังเกตการณ์ การรับประทานอาหาร การสนทนา หรือการทะเลาะกันภายใน บ้านบุคคลอื่น ฯลฯ

๒. การสัมภาษณ์ (Interview)

การสัมภาษณ์ เป็นการศึกษาชุมชนอีกวิธหี นึง่ ซึง่ เป็นเครือ่ งมือทีร่ วบรวมข้อมูล แบบเผชิญหน้ากัน ๒.๑ ลักษณะของการสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์จะเกิดขึ้นเมื่อมีการกระท�ำหรือความสัมพันธ์ต่อกันระหว่าง ผูส้ มั ภาษณ์และผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ ท�ำให้ทราบลักษณะทัว่ ไปของบุคลิกภาพ ทัศนคติ ค่านิยม ชาติพันธุ์น่านศึกษา

69


และอืน่ ๆ จากการแสดงอารมณ์ หรือพฤติกรรมออกมาระหว่างการสัมภาษณ์ ลักษณะ ของการสัมภาษณ์ที่ดีควรต้องค�ำนึงถึงเรื่องต่อไปนี้ ๒.๑.๑ ผู้สัมภาษณ์ ผู ้ สั ม ภาษณ์ อ าจจะเป็ น ผู ้ ศึ ก ษาและหรื อ บุ ค คลอื่ น ที่ ผู ้ ศึ ก ษาได้ คั ด เลือกเป็นผู้สัมภาษณ์ ซึ่งจ�ำเป็นต้องมีการได้รับการฝึกฝนวิธีการสัมภาษณ์ผู้สัมภาษณ์ จะต้องเข้าใจวัตถุประสงค์ได้ถูกต้องของเรื่องที่จะท�ำการศึกษาอย่างละเอียด เพื่อให้ สามารถจะซักถาม ผู้ให้สัมภาษณ์ตอบตามวัตถุประสงค์ได้ถูกต้อง บางครั้งผู้สัมภาษณ์ มีต�ำแหน่งหรือบุคลิกภาพส่วนตัวที่ท�ำให้ผู้ให้สัมภาษณ์ให้ข้อมูลผิด ๆ เช่น ผู้สัมภาษณ์ เป็นพนักงานส�ำรวจภาษีจากกระทรวงการคลัง ผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ทดี่ อ้ ยการศึกษาอาจจะให้ ข้อมูลที่บิดเบือนความจริงได้ เพราะเข้าใจว่าข้อมูลต่าง ๆ ที่สัมภาษณ์จะน�ำไปเก็บภาษี ๒.๑.๒ ผู้ให้สัมภาษณ์ ผู ้ ใ ห้ สั ม ภาษณ์ เ ป็ น บุ ค คลที่ ส� ำ คั ญ ในการให้ ข ้ อ มู ล ที่ แ ท้ จ ริ ง ปั จ จั ย สิง่ แวดล้อม วัฒนธรรม และประเพณีของผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ ย่อมมีผลต่อการตอบค�ำถามมา ตลอดจนระบบความเชือ่ ค่านิยมของผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ อาจจะท�ำให้ผใู้ ห้สมั ภาษณ์สามารถ ทีจ่ ะแสดงออกในการตอบค�ำถาม หรือไม่กล้าทีจ่ ะตอบค�ำถาม เช่น หากการศึกษาเรือ่ ง การวางแผนครอบครัว ผู้ให้สัมภาษณ์ที่เป็นสตรีอาจจะอายไม่กล้าตอบ ซึ่งเป็นไปตาม วัฒนธรรมของชุมชน ๒.๒ ประเภทของการสัมภาษณ์ ๒.๒.๑ แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา อาจแบ่งได้เป็น ๔ ประเภท ๑. การสัมภาษณ์แบบเจาะจง (Focused Interview) เป็นการ สัมภาษณ์ที่เจาะจง หัวข้อเรื่องที่ต้องการข้อมูล เช่น การสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวกับ สถานการณ์ ใ ดสถานการณ์ ห นึ่ ง โดยเฉพาะจากการดู ภ าพยนตร์ การสั ม ภาษณ์ ประสบการณ์ส่วนตัวของแต่ละบุคคลในเรื่อง ทัศนคติ ค่านิยม ในเรื่องที่ต้องการศึกษา ๒. การสัมภาษณ์ที่ไม่ก�ำหนดค�ำตอบล่วงหน้า (Non–directive Interview) เป็นวิธีการสัมภาษณ์ท่ีผู้ให้สัมภาษณ์สามารถตอบได้ตามอิสระที่ต้องการ โดยผูส้ มั ภาษณ์เป็นเพียงผูฟ้ งั มากกว่าเป็นผูซ้ กั ถาม เช่น การสัมภาษณ์ของนักจิตวิทยา ต่อผู้ป่วย ๓. การสัมภาษณ์แบบลึกซึง้ หรือแบบเจาะลึก (Indepth Interview)

70 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


เป็นวิธีการสัมภาษณ์ที่ต้องการรายละเอียดมากที่สุดในเรื่องที่ผู้ศึกษาต้องการ การ สัมภาษณ์แบบลึกซึ้งจะเกิดขึ้นได้เมื่อผู้ให้สัมภาษณ์มีความคุ้นเคยและให้ค�ำตอบมาก ที่สุด และมีมากกว่าที่ผู้สัมภาษณ์ได้เตรียมข้อมูลเพื่อที่จะสัมภาษณ์ เช่น การสัมภาษณ์ ชีวประวัติบุคคลต่าง ๆ ๔. การสัมภาษณ์ซำ�้ (Repeated Interview) เป็นวิธกี ารศึกษาแบบ การศึกษาซ�ำ้ (Panel study) จึงต้องมีการสัมภาษณ์ซำ�้ เป็นครัง้ ทีส่ อง โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ จะศึกษาความเปลีย่ นแปลง เช่น การสัมภาษณ์พฤติกรรมการบริโภคก่อนแและหลัง ในเรื่องอาหารสุกเป็นอย่างไร ๒.๒.๒ การแบ่งตามเทคนิคการสัมภาษณ์ แบ่งได้เป็น ๓ ประเภทใหญ่ ๆ ๑. การสัมภาษณ์อย่างมีโครงสร้าง (Structured Interview) เป็นการ สัมภาษณ์ทผี่ ถู้ กู สัมภาษณ์ถามค�ำถามต่าง ๆ ทีม่ ไี ว้ในแบบสัมภาษณ์ โดยไม่สามารถทีจ่ ะ ดัดแปลงเป็นค�ำถามอืน่ ๆ ได้ เป็นการสร้างมาตรฐานเดียวกันกับการสัมภาษณ์บคุ คลอืน่ ๆ เพื่อช่วยลดอคติของการสัมภาษณ์แต่ละบุคคล อาจจะแบ่งย่อยเป็น ๒ ชนิด ๑.๑ การสัมภาษณ์ตามแบบสอบถาม (Interview Schedule) เป็นการสัมภาษณ์ตามแบบสอบถาม โดยมากมักจะน�ำไปสัมภาษณ์ชาวบ้านซึ่งไม่มี ความรู้ความสามารถที่จะเข้าใจแบบสอบถามที่จะต้องกรอกด้วยตนเอง จึงมีการน�ำ แบบสอบถามไปสัมภาษณ์ อาจจะมีความยืดหยุ่นในการสัมภาษณ์ในแต่ละค�ำถาม เพื่อให้ผู้ให้สัมภาษณ์ตอบค�ำถามที่ตรงกับวัตถุประสงค์ของการศึกษา ๑.๒ การสั ม ภาษณ์ ต ามแบบค� ำ ถามที่ ก� ำ หนดไว้ (Questioned Interview) เป็นการสัมภาษณ์แบบค�ำถามต่าง ๆ ที่มีไว้โดยไม่มีการ ดัดแปลงการสัมภาษณ์แต่อย่างไร เช่น การส�ำรวจ ส�ำมะโนประชากร การส�ำรวจส�ำมะโน ในธุรกิจ และอื่น ๆ ๒. การสัมภาษณ์อย่างไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Interview) เป็นการสัมภาษณ์ที่ไม่มีขอบเขตของค�ำถามที่แน่นอน มีเพียงแต่แนวทางกว้าง ๆ เป็น แนวทางการสัมภาษณ์ (Interview guide) ซึ่งสร้างขึ้นเป็นประเด็นหรือหัวข้อในการ สัมภาษณ์ สัมภาษณ์โดยไม่ใช่แบบสอบถาม แค่มีกรอบค�ำถามเป็นแนวทางในการ สัมภาษณ์ เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลทีต่ อ้ งการโดยผูศ้ กึ ษาจะก�ำหนดว่าต้องการอะไร และก�ำหนด หัวข้อย่อยหรือประเด็น ค�ำถาม เช่น ประวัตหิ มูบ่ า้ น การประกอบอาชีพ ในแต่ละประเด็น ชาติพันธุ์น่านศึกษา

71


ค�ำถามจะมีการแจกแจงค�ำถามย่อย ๆ ผู้สัมภาษณ์จะพูดคุยถามประเด็นค�ำถามที่ได้ เตรียมไว้นั้น โดยใช้ค�ำถามหลัก ๆ ได้แก่ ใคร อะไร ที่ไหน อย่างไร เท่าไร และท�ำไม ๓. การสัมภาษณ์อย่างไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Interview) เป็นการสัมภาษณ์การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi- structured Interview) เป็นการสัมภาษณ์ที่ประกอบด้วยค�ำถามต่าง ๆ ในแบบสอบถามแต่สามารถที่จะปรับ เปลี่ยน เพิ่มเติมเพื่อให้เกิดความชัดเจนของค�ำตอบได้ ๒.๓ หลักการสัมภาษณ์ หลักการสัมภาษณ์ที่ดีควรจะมีขั้นตอนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ๒.๓.๑ การแนะน�ำตัว (Introduction) ผูส้ มั ภาษณ์จะต้องแนะน�ำตัวเองเสียก่อน เพื่อให้ผู้ให้สัมภาษณ์ได้ทราบและคุ้นเคย อย่างไรก็ตามผู้สัมภาษณ์จะต้องสังเกต สิง่ แวดล้อมของผูใ้ ห้สมั ภาษณ์วา่ มีความพร้อมทีจ่ ะให้สมั ภาษณ์หรือไม่ เช่น ผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ ก�ำลังท�ำอาหารเช้าก็ไม่ควรที่จะท�ำการสัมภาษณ์ จึงต้องพิจารณาความเหมาะสม ของระยะเวลาและสถานที่ ๒.๓.๒ การสร้างความสัมพันธ์ที่ดี (Good Relationship) ขั้นตอนนี้เป็น ขั้นตอนที่ผู้สัมภาษณ์จะต้องสร้างความคุ้นเคย มีมนุษยสัมพันธ์อันดีต่อผู้ให้สัมภาษณ์ จึงเป็นเทคนิคเฉพาะของผู้สัมภาษณ์แต่ละคนจะมีความสามารถที่จะสร้างความเป็น กันเองอย่างไรเพื่อให้ผู้ให้สัมภาษณ์มีความพร้อมและพอใจในการตอบค�ำถามจาก การสัมภาษณ์ เทคนิคนี้จึงเป็นศิลปะที่ผู้สัมภาษณ์จะต้องได้รับการฝึกฝน เช่น ถ้าหาก ผูใ้ ห้สมั ภาษณ์กำ� ลังท�ำอาหารเช้าก�ำลังจะเสร็จ ผูส้ มั ภาษณ์ควรทีจ่ ะหาโอกาสช่วยเหลือ เล็ก ๆ น้อย ๆ เพื่อสร้างความคุ้นเคยและเป็นกันเองให้เกิดขึ้น ๒.๓.๓ การเข้าใจวัตถุประสงค์ (Objectives) ผู้สัมภาษณ์จะต้องมีความ เข้าใจวัตถุประสงค์ของค�ำถามที่ก�ำหนดขึ้นเพื่อที่จะท�ำให้เกิดความเข้าใจในการซักถาม ประกอบการสัมภาษณ์ รวมทั้งผู้สัมภาษณ์ควรจะบอกวัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์ แก่ผู้ให้สัมภาษณ์เพื่อใหเกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้นอาจจะบอกวัตถุประสงค์ในช่วงแรก ของการแนะน�ำตัว ๒.๓.๔ การจดบันทึก (Take Note) ผูส้ มั ภาษณ์จะต้องเตรียมการจดบันทึกใน ขณะทีจ่ ะท�ำการสัมภาษณ์ การจดบันทึกลงในสมุดบันทึกหรือลงในแบบสัมภาษณ์อย่าง มีโครงสร้างทีก่ ำ� หนดขึน้ เป็นการจดบันทึกเพือ่ ให้คำ� ตอบทีไ่ ด้จากการสัมภาษณ์ถกู บันทึก

72 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ลงอย่างเรียบร้อย ขัน้ ตอนนีผ้ สู้ มั ภาษณ์จะต้องมีความตัง้ ใจในการฟังการสัมภาษณ์ เพือ่ จะได้ข้อมูลที่แท้จริง ๒.๓.๕ การสัมภาษณ์ (Interview) ผูส้ มั ภาษณ์จะต้องมีการเตรียมการล่วงหน้า ในการสัมภาษณ์ จะต้องได้รับการฝึกฝนเทคนิคและวิธีการสัมภาษณ์ในระหว่างการ สัมภาษณ์ ดังต่อไปนี้ ๑) การสังเกตการณ์ (Observing) ผู้สัมภาษณ์จะต้องสังเกตกริยา ท่าทางของผู้ให้สัมภาษณ์ รวมทั้งสิ่งแวดล้อม บรรยากาศต่าง ๆ และความเบื่อหน่าย หรือความสนใจที่ให้ค�ำตอบ บางครั้ง ผู้ให้สัมภาษณ์จะต้องมีเทคนิคในการแก้ไขปัญหา เฉพาะหน้าเพื่อท�ำให้ผู้ให้สัมภาษณ์มีความสนใจในเรื่องที่จะสนทนาซักถาม ๒) การฟัง (Listening) ผูส้ มั ภาษณ์ทดี่ คี วรจะต้องเป็นผูฟ้ งั ทีด่ ี ยอมรับ ฟังค�ำสนทนาบอกเล่าจากผูใ้ ห้สมั ภาษณ์ แม้วา่ เป็นเรือ่ งราวทีย่ าว หรือบางครัง้ เป็นเรือ่ ง ที่ไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ซักถามก็ตาม ๓) การซักถาม (Questioning) ผู้สัมภาษณ์ควรที่จะต้องรู้จักการใช้ ค�ำถามซักถาม โดยถามค�ำถามง่าย ๆ ที่ท�ำให้ผู้ให้สัมภาษณ์เกิดความเข้าใจ ๔) การถามซ�ำ้ (Probing) ผูส้ มั ภาษณ์ควรทีจ่ ะต้องถามซ�ำ้ เพือ่ เป็นการ กระตุน้ ให้ได้คำ� ถามทีถ่ กู ต้องตรงประเด็นมากขึน้ โดยทัว่ ไปการถามซ�ำ้ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ทีจ่ ะให้ผสู้ มั ภาาณ์ให้คำ� ตอบทีส่ มบูรณ์ (Completion probe) ชัดเจน (Clarity probe) มี รายละเอียดต่อเนือ่ ง (Channel probe) เพือ่ การพิสจู น์สมมติฐาน (Hypothetical probe) และการได้รับปฏิกิริยาตอบ (Reaction probe) มากยิ่งขึ้น ๒.๓.๖ การกล่าวขอบคุณ (Thanks) เมื่อเสร็จสิ้นการสัมภาษณ์ ผู้สัมภาษณ์ ควรจะกล่าวขอบคุณแก่ผู้ให้สัมภาษณ์เป็นการอ�ำลา และขอบคุณที่ได้เสียสละเวลา ในการสัมภาษณ์ เป็นการแสดงออกถึงมารยาทที่ดี การสัมภาษณ์ที่ดีในแต่ละครั้ง ไม่ควรเกิน ๑ ชั่วโมง การสัมภาษณ์ที่เหมาะสมควรอยู่ในระหว่าง ๓๐ – ๔๕ นาที (สมศักดิ์ ศรีสันติสุข, ๒๕๓๘.) ๒.๔ ข้อดีและข้อจ�ำกัดของการสัมภาษณ์ บุญธรรม จิตต์อนันต์ (๒๕๓๖) ได้อธิบายข้อดีและข้อจ�ำกัดของการอธิบายไว้ดังนี้ ๒.๔.๑ ข้อดีของการสัมภาษณ์ ๑. ผู้สัมภาษณ์มีโอกาสได้สังเกตและศึกษาสภาพการณ์ ตลอดจน ปฏิกิริยาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ชาติพันธุ์น่านศึกษา

73


๒. ได้ค�ำตอบที่แน่ชัดสมบูรณ์ เพราะสามารถอธิบายข้อสงสัยต่าง ๆ ให้แก่ผู้ตอบได้ ๓. สามารถเก็บข้อมูลได้ แม้ผตู้ อบจะมีการศึกษาต�ำ่ หรือเป็นผูท้ อี่ า่ น ไม่ออกเขียนไม่ได้ ๔. โอกาสที่จะได้ข้อมูลมีสูงมากเพราะผู้ตอบส่วนใหญ่ยินดีให้ความ ร่วมมือ ๒.๔.๒ ข้อจ�ำกัดของการสัมภาษณ์ ๑. ค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง ๒. มี ป ั ญ หาเกี่ ย วกั บ การฝึ ก ให้ ค� ำ แนะน� ำ ผู ้ ที่ อ อกไปสั ม ภาษณ์ การติดตามและควบคุมการสัมภาษณ์ ๓. จะมีอคติหรือความล�ำเอียงของผู้สัมภาษณ์ ๔. ต้องใช้เวลาและแรงงานมาก

๓. การสนทนากลุ่ม (Focus group)

การสนทนากลุ่มเป็นวิธีการศึกษาชุมชนอีกวิธีหนึ่งที่ประหยัดเงินและเวลา แต่ต้องการมีการวางแผนเตรียมการอย่างเหมาะสม และเรื่องที่สนทนากลุ่มนั้นเป็น เรื่องที่กลุ่มให้ความสนใจด้วย การสนทนากลุ่ม จึงเป็นการนั่งสนทนากันระหว่างผู้ให้ สัมภาษณ์เป็นกลุ่มตามปกติประมาณ ๖-๑๒ คน แต่ในบางกรณีอาจมีข้อยกเว้นให้มีได้ ประมาณ ๔-๕ คน ในระหว่างการสนทนาจะมีผดู้ ำ� เนินการสนทนา (Moderator) เป็น ผู้คอยจุดประเด็นการสนทนา เพื่อเป็นการชักจูงใจให้บุคคลกลุ่มนี้ได้แสดงความคิด เห็นต่อประเด็นหรือแนวทางในการสนทนาให้ได้กว้างขวางลึกซึ้งและละเอียดที่สุด เท่าที่จะท�ำได้และต้องสร้างบรรยายกาศที่เป็นกันเองด้วย เพื่อที่ให้ได้ข้อมูลในลักษณะ ที่มีเนื้อหาสาระเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ ๓.๑ องค์ประกอบในการจัดสนทนากลุ่ม ๓.๑.๑ บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ๑. ผูด้ ำ� เนินการสนทนา (Moderator) ผูด้ ำ� เนินการสนทนาจะต้องเป็น ผู้ที่พูดและฟังภาษาท้องถิ่นได้ เป็นผู้มีบุคลิกดี สุภาพ อ่อนน้อม และมีมนุษยสัมพันธ์ดี ผู้ด�ำเนินการสนทนาจะต้องเป็นผู้รู้ความต้องการและวัตถุประสงค์ของการศึกษาชุมชน ในแต่ละครั้งเป็นอย่างดี

74 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


๒. ผู้จดบันทึกการสนทนา (Notetaker) ผู้จดบันทึกการสนทนา จะต้องรู้วิธีว่าท�ำอย่างไรจึงจะจดบันทึกได้อย่างมีประสิทธิภาพเพราะจะต้องจดบันทึก บรรยากาศที่เกิดขึ้นในระหว่างการสนทนาด้วย ๓. ผู้ช่วย (Assistant) ผู้ช่วยจะเป็นผู้ท�ำหน้าที่ช่วยเหลือทั่วไปในขั้น เตรียมการการจัดสนทนากลุ่ม เช่นเตรียมสถานที่ จัดสถานที่ บันทึกเสียง เป็นต้น ๓.๑.๒ แนวทางในการเตรียมการสนทนากลุ่ม ควรต้องจัดแนวทางในการ สนทนากลุ่มและการจัดล�ำดับหัวข้อในการสนทนา ในทางปฏิบัติอาจยืดหยุ่นได้ จาก บรรยากาศในการสนทนาที่เกิดขึ้น ซึ่งผู้ด�ำเนินการสนทนาอาจจะได้ประเด็นซึ่งไม่ได้ คาดคิดเอาไว้ก่อนจากผู้เข้าร่วมสนทนา ผู้ด�ำเนินการสนทนาสามารถซักต่อได้ ๓.๑.๓ อุปกรณ์สนาม อุปกรณ์สนามที่ควรเตรียม ได้แก่ เครื่องบันทึกเสียง เทปเปล่า ถ่านวิทยุ สมุดบันทึก และดินสอ เป็นต้น ๓.๑.๔ แบบฟอร์มส�ำหรับคัดเลือกผูเ้ ข้าร่วมสนทนากลุม่ ควรจัดเตรียมแบบ ฟอร์มส�ำหรับคัดเลือกผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่มไว้ด้วย ๓.๑.๕ ส่งเสริมสร้างบรรยากาศ ส่งเสริมสร้างบรรยากาศ เช่น เครื่องดื่ม ของขบเคี้ยว บุหรี่ สิ่งของดังกล่าว จะเป็นสิ่งที่เสริมสร้างบรรยากาศความเป็นกันเอง ระหว่างผู้มีส่วนร่วมในการสนทนาได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ๓.๑.๖ ของสมนาคุณแก่ผู้ที่ร่วมสนทนา เพื่อเป็นการตอบแทนผู้เข้าร่วม สนทนาแม้จะเป็นสิ่งที่เล็กน้อย แต่ในทางจิตวิทยาแล้วเป็นสิ่งส�ำคัญมากส�ำหรับการ แสดงออกซึ่งความมีน�้ำใจของผู้ที่ท�ำการสนทนา ๓.๑.๗ สถานที่และระยะเวลา อาจจะเป็นบ้าน ศาลาวัด ใต้ร่มโพธิ์ที่มีอากาศ ถ่ายเทสะดวก ห่างไกล จากความพลุกพล่าน เพื่อให้ผู้เข้าร่วมสนทนาได้มีสมาธิในเรื่อง ต่าง ๆ ที่ก�ำลังสนทนา ส่วนระยะเวลาในการสนทนาโดยทั่วไปไม่ควรเกิน ๒ ชั่วโมงต่อ ๑ กลุ่ม ๓.๒ ข้อดีของการจัดสนทนากลุ่ม ๓.๒.๑ เนื่องจากผู้ที่ศึกษาชุมชนเป็นผู้ดำ� เนินการสนทนากลุ่ม ดังนั้นการที่ผู้ ร่วมสนทนาเข้าใจผิด ประเด็นที่สนทนา ผู้ด�ำเนินการสนทนาแก้ไขได้ทันที เพราะเป็น ผู้ที่รู้ถึงความต้องการและวัตถุประสงค์ของการศึกษาในเรื่องนั้น ๆ เป็นอย่างดี ๓.๒.๒ ในการจัดสนทนากลุ่ม ผู้เข้าร่วมสนทนาจะมีลักษณะความเป็นอยู่ใกล้ เคียงกัน จึงไม่ค่อยรู้สึกขัดเขินหรือมีความย�ำเกรง ชาติพันธุ์น่านศึกษา

75


๓.๒.๓ ลักษณะการสนทนากลุ่ม เป็นการเปิดโอกาสให้มีปฏิกิริยาโต้ตอบกัน ท�ำให้ผทู้ ำ� การศึกษาสามารถวิเคราะห์ประเมินปัญหาต่าง ๆ ได้ชดั เจนมากยิง่ ขึน้ ถ้าหาก ในประเด็นต่าง ๆ ยังไม่ชัดเจน เพียงพอ ก็สามารถซักถามต่อเพื่อหาค�ำอธิบายได้ ๓.๒.๔ บรรยากาศในกลุม่ สนทนา จะลดความกลัวว่าความคิดเห็นของแต่ละคน จะเป็นเป้าหมายในการถูกบันทึกเอาไว้ ทัง้ นีเ้ พราะเป็นการแสดงความคิดเห็นในลักษณะ กลุ่มมากกว่า ๓.๓ ข้อจ�ำกัดของการสนทนากลุ่ม ๓.๓.๑ การจัดสนทนากลุม่ ทุกครัง้ ต้องระวังมิให้เกิดการผูกขาดการสนทนาขึน้ โดยบุคคลหนึง่ ในกลุม่ และไปครอบง�ำผูร้ ว่ มสนทนาคนอืน่ ๆ โดยผูด้ ำ� เนินการสนทนาจะ ต้องมีเทคนิคในการที่จะให้ความส�ำคัญกับผู้ร่วมสนทนาให้เท่า ๆ กันทุกคน ๓.๓.๒ พฤติกรรมหรือความคิดเห็นบางอย่าง ซึ่งเป็นส่วนที่ไม่ยอมรับของ ชุมชนอาจจะไม่ได้รับการเปิดเผยในการจัดสนทนากลุ่ม ถ้าหากไม่สัมภาษณ์ตัวต่อตัว จะได้รับการเปิดเผยมากกว่าผู้ที่จะท�ำการสนทนากลุ่มจะต้องค�ำนึงถึงบุคลากรและ ก�ำลังงบประมาณที่มีอยู่ประกอบด้วย เช่น สามารถพูดภาษาท้องถิ่นได้ (ภาณี วงษ์เอก , ๒๕๓๓)

๔. การใช้ข้อมูลเอกสาร

แหล่งข้อมูลทีส่ ำ� คัญอีกแหล่งหนึง่ ทีน่ กั วิจยั ผูศ้ กึ ษาชุมชนควรใช้ คือแหล่งข้อมูล เอกสารการทีผ่ ศู้ กึ ษาวิจยั จะท�ำงานสนามและได้ขอ้ มูลส่วนใหญ่จากการสัมภาษณ์ และ การสังเกต แต่แหล่งข้อมูลเอกสารก็เป็นสิง่ ทีจ่ ะละเลยมิได้ เพราะมีขอ้ มูลบางอย่างทีไ่ ม่ อาจหาได้จากการสัมภาษณ์ การสังเกต เช่น การหาข้อมูลหลักฐานเกีย่ วกับเรือ่ งในอดีต หรือมีขอ้ มูลทีพ่ ร้อมแก่การน�ำไปใช้ เช่น ข้อมูลทางด้านประชากรเกีย่ วกับจ�ำนวนคนเกิด คนตาย หรือประชากรจ�ำแนกตามเพศและวัย เป็นต้น ชนิดของข้อมูลเอกสาร ๑. สถิติและบันทึกต่าง ๆ หมายถึง ข้อมูลที่ได้มีการรวบรวมอย่างเป็นระบบ ระเบียบต่อเนื่องกันมาเป็นระยะเวลานานพอสมควร เป็นข้อมูลสถิติที่เป็นตัวเลข เป็น เรื่องราวเหตุการณ์ เช่น บันทึกประจ�ำวัน ประวัติบุคคล เป็นต้น

76 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


๒. เอกสาร หมายถึง ข้อมูลในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่มีอยู่เป็นลายลักษณ์อักษร หรืออาจเป็นแผนผัง รูปภาพ ข้อมูลเหล่านี้ได้แก่ ข่าวหรือบทความในหนังสือ จดหมาย โต้ตอบระหว่างบุคคล ค�ำขวัญ อัตชีวประวัติ ต�ำนาน เป็นต้น ซึ่งข้อมูลทั้งสองประการ ดังกล่าว จะเป็นทั้งของทางราชการและส่วนตัว การใช้ข้อมูลเอกสาร ข้อมูลเอกสาร เป็นข้อมูลที่น�ำมาใช้ประโยชน์ได้มาก เพราะมีความพร้อมมูล บางประการที่ข้อมูลบุคคลอาจไม่มีเท่าหรือไม่ครอบคลุมเท่า แต่นักวิจัยก็ต้องอดทน ในการใช้ข้อมูลเหล่านี้ เพราะมักเสียเวลาในการตรวจสอบและการวิเคราะห์ตีความ นักวิจัยต้องฝึกฝนในการใช้ข้อมูลเอกสาร คือ การหัดตรวจสอบและตีความเอกสาร ซึ่ง โดยปกติข้อมูลเหล่านี้มีประโยชน์ในการให้ร่องรอยหรือเพื่อสืบสาวเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และให้รายละเอียดเกี่ยวกับค่านิยม ความรู้สึก ความเชื่อ อุดมการณ์ ตลอดจนการให้ ความหมายแก่สิ่งต่าง ๆ ของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ข้อดีของข้อมูลเอกสาร ๑. ใช้เก็บข้อมูลในอดีตที่ไม่อาจใช้วิธีการอื่นเก็บได้อีก เช่น เหตุการณ์ใน ประวัติศาสตร์ ๒. ใช้เก็บข้อมูลที่อยู่ห่างไกลได้ ๓. เป็นแหล่งข้อมูลที่ได้รับความร่วมมือสูง เมื่อหาเอกสารได้ ต่างจากแหล่ง ข้อมูลบุคคลซึ่งอาจสงวนทันที ๔. ใช้หาข้อมูลเพิ่มเติมในส่วนที่ยังไม่ครบถ้วน ๕. ใช้เก็บข้อมูลแทนข้อมูลสนาม เมื่อไม่สามารถไปสนามได้ ๖. ช่วยให้ผู้วิจัยประหยัดค่าใช้จ่าย ข้อจ�ำกัดของข้อมูลเอกสาร ๑. ข้อมูลบางอย่างที่ต้องการไม่มีอยู่ในรูปเอกสาร เช่น ความขัดแย้งระหว่าง บุคคล ๒. ข้อมูลที่ได้อาจไม่ละเอียดเพียงพอ และไม่ถูกต้องสมบูรณ์ ๓. ข้อมูลทีไ่ ด้ไม่มลี กั ษณะโต้ตอบกับผูว้ จิ ยั ได้เหมือนข้อมูลบุคคล ท�ำให้ตคี วาม ล�ำบาก ชาติพันธุ์น่านศึกษา

77


๔. ข้อมูลบางอย่างหาได้ยาก หรือโอกาสเข้าถึงยาก ๕. ผู้วิจัยต้องใช้ความพยายามและอดทนมาก (สุภางค์ จันทวานิช,๒๕๓๖, น.๑๐๒)

๕. การเข้าสนาม

การเข้าสนามหรือการลงสู่ชุมชน มีความส�ำคัญต่อการวิจัยเชิงคุณภาพ และ การศึกษาชุมชน เพราะว่าการเข้าสนามอย่างถูกต้อง การก�ำหนดบทบาทที่เหมาะสม ของนักวิจัยที่อยู่ในสนาม และการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจให้เกิดขึ้นในชุมชน ล้วนเป็น เงื่อนไขส�ำคัญของการท�ำงานวิจัยชุมชนต่อไป โดยเฉพาะการเก็บรวบรวมข้อมูลของ ชุมชนที่จ�ำเป็นต้องการศึกษาวิจัย การเข้ า สนามเริ่ ม ต้ น ที่ ก ารพิ จ ารณาเลื อ กสนามในการวิ จั ย ชุ ม ชน โดย พิจารณาว่าชุมชนนั้นสามารถตอบโจทย์ปัญหาของการศึกษาวิจัยได้หรือไม่ พิจารณา ความเหมาะสมของชุมชนในด้านต่าง ๆ เช่น ขนาดของหมู่บ้าน ความซับซ้อน เป็นต้น รวมถึงการจัดเตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ์ทจี่ ำ� เป็นต่อการศึกษาวิจยั และการเรียนรูเ้ กีย่ วกับ ประเพณี ภาษา วัฒนธรรม ความเป็นอยู่ เป็นต้น ขั้นตอนต่อมา คือ การแนะน�ำตัว และการก�ำหนดสถานภาพและบทบาท ที่ เหมาะสมของผู ้ ศึ กษา ในการเข้าสู่ชุมชน โดยอาจจะท�ำได้ใน ๒ ลักษณะ คือ ไม่บอกว่าเป็นใคร และบอกว่าเป็นใคร เพือ่ จะได้ทราบถึงข้อมูลทีอ่ าจจะก่อให้เกิดความ เปลี่ยนแปลงต่อชุมชนในโอกาสต่อไป นอกจากนีก้ ารวางตัวตามบทบาทยังหมายถึง การปฏิบตั สิ งิ่ ทีเ่ ป็นความคาดหวัง และบรรทัดฐานของสังคมหมู่บ้านหรือชุมชน เพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ ของชุมชน การสร้างความสัมพันธ์ เมื่อมีการแนะน�ำตัวแล้ว ขั้นต่อไปคือ การสร้างความ สัมพันธ์ หมายถึง การผูกมิตรไมตรี จนกระทั่งชาวบ้านมีความไว้เนื้อเชื่อใจ โดยระวัง มิให้ตนเองมีบทบาทเกินกว่าที่ควรเป็น และระวังมิให้เกิดความล�ำเอียงในการรวบรวม ข้อมูลและตีความข้อมูล สุภางค์ จันทวานิช (๒๕๓๖, น. ๙๑) กล่าวถึงเทคนิคที่ช่วยให้ผู้ศึกษาวิจัย สร้างความสัมพันธ์ได้ดี ดังนี้ ๑. วางท่าทีสงบเสงี่ยม ไม่ท�ำตัวให้เด่นจนผิดสังเกต

78 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


๒. หลีกเลีย่ งการถามค�ำถามทีท่ ำ� ให้ชาวบ้าน/ผูต้ อบรูส้ กึ อึดอัดและจ�ำเป็นต้อง ปกป้องตน ๓. อย่าพยายามท�ำตัวทัดเทียมผู้น�ำชาวบ้าน ๔. พยายามเข้าไปมีสว่ นร่วมในเหตุการณ์ตา่ งๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในชุมชน แต่เกีย่ วข้อง อย่างสงบ และพร้อมที่จะช่วยเหลือจะท�ำให้ได้รับการยอมรับจากชาวบ้านเร็วขึ้น ๕. หาใครคนหนึ่งเป็นผู้เริ่มแนะน�ำเราให้รู้จักกับชาวบ้าน ๖. เมื่อมีความรู้สึกอึดอัด ให้เข้าใจว่าเป็นเรื่องปกติธรรมดา เพราะเข้าสู่ สิ่งแวดล้อมใหม่ ๗. ให้ถือว่าสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสนามเป็นเรื่องของงาน ๘. อย่าคาดหวังว่าจะท�ำอะไรได้มากในวันแรกๆ การสร้างความสัมพันธ์ ใช้เวลานาน ๙. เป็นมิตรกับทุกคน การท�ำงานในภาคสนาม ควรเริม่ ทีก่ ารท�ำแผนที่ (Mapping) โดยการหาคนให้ น�ำทางในการส�ำรวจชุมชน และท�ำแผนทีท่ างกายภาพ แผนทีท่ างประชากร และแผนที่ ทางสังคม ซึ่งจะท�ำให้ทราบถึงโครงสร้างในด้านต่างๆ ของชุมชน การเข้าสนามเป็นเรื่องที่ส�ำคัญในการศึกษา ส�ำรวจชุมชน ถ้านักวิจัย ผู้ศึกษา ชุมชนมีการวางตัวที่เหมาะสม ก�ำหนดบทบาทของตนเองในทางที่ชัดเจน ย่อมเป็น ประโยชน์ต่อผู้ศึกษาในการที่จะเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ของชุมชนได้สะดวกยิ่งขึ้น ดังนั้นผู้ศึกษาวิจัยชุมชนจึงควรวางตัวให้เหมาะสม ไม่มีอคติต่อสิ่งที่พบเห็น พยายาม ท�ำความเข้าใจถึงปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในชุมชน แล้ววิเคราะห์สิ่งเหล่านั้นโดยมองว่า ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นล้วนมีการเปลี่ยนแปลงเป็นพลวัต และเป็นไปอย่างสัมพันธ์กัน

๖. การศึกษาแบบผสมผสาน

การศึกษาแบบผสมผสาน คือ การน�ำเอาวิธีการต่างๆ ในการศึกษาวิเคราะห์ ชุมชนมาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการศึกษาชุมชน โดยเริม่ ต้นทีก่ ารเข้าสนามหรือ การลงสู่ชุมชน จากนั้นใช้การสังเกตทั้งที่มีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม การสัมภาษณ์พูด คุยอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ การใช้ข้อมูลเอกสารมือสองในการศึกษาหา ประวัตขิ องชุมชน การสนทนากลุม่ เพือ่ ระดมความคิดร่วมกับชุมชน การจดบันทึกต่างๆ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

79


ในระหว่างการศึกษาชุมชน เทคนิค วิธกี ารแบบผสมผสานเหล่านีจ้ ะช่วยให้ผศู้ กึ ษาวิจยั ได้รับทราบข้อมูล ข้อเท็จจริงของชุมชนได้มากในมุมมองที่หลากหลาย กาญจนา แก้วเทพ (๒๕๓๘, น. ๓๐) กล่าวถึงประสบการณ์และประมวลวิธี การศึกษาและเก็บ รวบรวมข้อมูลชุมชนในลักษณะแบบผสมผสาน ดังนี้ ๑. การสัมภาษณ์ ทั้งแบบมีโครงสร้าง (มีแบบสอบถาม) และไม่มีโครงสร้าง ๒. การสนทนาพูดคุยทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ๓. การสังเกตอย่างมีส่วนร่วมและการสังเกตอย่างไม่มีส่วนร่วม ๔. การจดบันทึกประจ�ำวัน ๕. การท�ำกรณีศึกษาเหตุการณ์หรือธรรมเนียมประเพณีอันใดอันหนึ่ง ๖. การเข้าร่วมประชุมกับชาวบ้านในงานพัฒนา หรืองานพิธีต่าง ๆ หรือ งานการผลิต ๗. การสัมภาษณ์เจาะลึก Key Information ๘. การอ่านเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ๙. การศึกษาอัตชีวประวัติของผู้น�ำ ๑๐. การท�ำกรณีศึกษา ครอบครัว หรือเครือญาติ สรุป เทคนิคและเครือ่ งมือการเก็บรวบรวมภาคสนาม อันได้แก่ การเตรียมตัว เข้าสนาม การสังเกตการสัมภาษณ์ การใช้ข้อมูลเอกสาร การตรวจสอบข้อมูล เป็นต้น เป็นขัน้ ตอนทีน่ กั ศึกษาวิจยั จะต้องพบในการศึกษาวิจยั ชุมชน ดังนัน้ การศึกษารวบรวม ข้อมูลของชุมชนเป็นปัจจัยส�ำคัญทีจ่ ะท�ำให้เราทราบถึงสภาพปัญหา ความเปลีย่ นแปลง และความต้องการของชุมชน เพื่อที่จะได้ร่วมกันวางแผนเพื่อการพัฒนาชุมชนต่อไป วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลภายใต้เทคนิคและเครื่องมือดังกล่าวจ�ำเป็นต้องมี ความเข้าใจในการเก็บรวบรวมข้อมูลของชุมชนในบริบทต่าง ๆ (ฉวีวรรณ ประจวบ เหมาะ, ๒๕๓๖, น. ๑๑๑) ได้เสนอถึงวิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูลเพือ่ เข้าใจในสภาวะและ การเปลีย่ นแปลงชุมชน ว่ามีการเก็บข้อมูลในประเด็นต่าง ๆ โดยภาพรวมของชุมชน ดังนี้ ๑. การเก็บข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับชุมชน ได้แก่ ๑.๑ สภาพภูมิประเทศและการตั้งถิ่นฐานของชุมชน ๑.๒ ลักษณะโครงสร้างของประชากร

80 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


๑.๓ ลักษณะโครงสร้างพื้นฐานทางการศึกษาและสาธารณูปโภค ของชุมชน ๑.๔ ประวัติและความเป็นมาของชุมชน ๒. ข้อมูลเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจ และการใช้ทรัพยากร : การผลิต การแลก เปลี่ยนและการบริโภค ๒.๑ การครอบครองทรัพยากรในการผลิต ๒.๒ กระบวนการผลิตและผลผลิต ๒.๓ การแลกเปลี่ยนและการบริโภค ๒.๔ รายได้/รายจ่ายและหนี้สิน ๓. ข้อมูลเกี่ยวกับระบบสังคม และการเมืองในชุมชน ๓.๑ ครอบครัวและเครือญาติ เช่น รูปแบบครอบครัว ความสัมพันธ์ เครือญาติ เป็นต้น ๓.๒ เพื่อนบ้านและเพื่อน ๓.๓ กลุ่มอื่น ๆ เช่น กลุ่มอุปถัมภ์ กลุ่มผลประโยชน์ กลุ่มอาชีพ กลุ่มการเมือง กลุ่มอื่น ๆ ที่ทางการเข้ามาจัดตั้ง เป็นต้น ๓.๔ การศึกษาสถาบันส�ำคัญ ๆ ของชุมชน ๓.๕ การศึกษาลักษณะความสัมพันธ์ของบุคคล หรือกลุ่มบุคคลใน เชิงอ�ำนาจ : ผู้น�ำ และความขัดแย้งในชุมชน นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึงการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับความเชื่อและพิธีกรรมของ ชุมชนโดยมีประเด็นที่ศึกษาในเรื่องความคิด ความเชื่อ หรือค�ำอธิบายเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่คนในชุมชนกล่าวว่าเป็นจริงซึ่งน่าจะครอบคลุมใน ๔ ประเด็นใหญ่ คือ ๑. ความคิดความเชือ่ เกีย่ วกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ กับสภาพแวดล้อม ทางกายภาพและสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ โดยเฉพาะสิ่งที่น�ำมาใช้เป็นทรัพยากรในการด�ำรงชีพ ๒. ความคิดความเชื่อเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ด้วยกันเอง ๓. ความคิดความเชื่อเกี่ยวกับสิ่งที่มีอ�ำนาจเหนือมนุษย์ และสภาพแวดล้อม ทางภายภาพ ๔. ความคิด ความเชื่อเกี่ยวกับการเกิดของสรรพสิ่งทั้งหลาย และชีวิตหลัง ความตาย ชาติพันธุ์น่านศึกษา

81


ส�ำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความเชื่อนี้ เป็นการใช้การสังเกตและ การสัมภาษณ์อย่างไม่เป็นทางการได้ในลักษณะต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ๑. สังเกตและสัมภาษณ์เกี่ยวกับพฤติกรรมในชีวิตประจ�ำวันของชาวบ้าน ๒. สัมภาษณ์ผู้ที่มีความรู้ทางศาสนาและพิธีกรรม ๓. การสังเกตและสัมภาษณ์เกี่ยวกับพิธีกรรม ส่วนการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อเข้าใจในการเปลี่ยนแปลงของชุมชน เป็นการ ศึกษาเพื่อเข้าใจความเปลี่ยนแปลง ความสืบเนื่องของชุมชนในระบบต่าง ๆ รวมถึง ความสัมพันธ์ในชุมชนโดยการพยายามเข้าใจชุมชนอย่างรอบด้านในสภาวะปัจจุบัน โดยมีจุดเน้นในเรื่องใดเรื่องหนึ่งตามที่ตนสนใจหรือเห็นว่ามีประโยชน์ต่องานพัฒนา และพยายามระบุปัญหาของชุมชนจากทัศนะของคนในชุมชนที่เห็นว่าเป็นปัญหา ประกอบกับแนวทางการศึกษาของผู้ศึกษาวิจัย และเริ่มหาข้อมูลที่เกี่ยวกับปัญหาดัง กล่าวว่าเกิดขึน้ ในเงือ่ นไขของการเปลีย่ นแปลงอะไรบ้าง ในกาลเวลาใด และคนในชุมชน ได้แก้ไขปัญหาหรือปรับตัวอย่างไรในสถานการณ์ดังกล่าว ซึ่งการวางกรอบในการเก็บ รวบรวมข้อมูลของชุมชนแบบนี้จะช่วยให้ผู้ศึกษาวิจัยได้เข้าใจในสภาพต่าง ๆ ของ ชุมชนได้ดีขึ้น

82 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


บทเรียนที่ ๑ เยาวชนมลาบรี (มาละบิ)


บทเรียนที่ ๑ ปฐมบทปฏิบัติการของเยาวชนน่าน : การเรียนรู้คืนสู่รากเหง้าชาติพันธุ์น่าน ศึกษาเพื่อสร้างสานส�ำนึกจิตวิญญาณ เยาวชนพลเมืองน่าน กรณีศึกษา ๘ ชาติพันธุ์ ๘ ชุมชนผืนแผ่นดินน่าน ตอน : ชุมชน มละ-บรี ชุมชนมีชวี ติ หรือชุมชนจัดตัง้ กับศักดิศ์ รี ความเป็นมนุษย์

ตอนที่ ๑ : ชุมชน มลาบรี (มาละบิ) การศึกษากับคนรุ่นใหม่ กรณีศึกษา นายเดา เมลืองไพร

จากอดีตถึงปัจจุบัน....มละ-บรีชนเผ่าสุดท้ายที่มีภูมิปัญญาสะสมเรียนรู้ที่จะอยู่ กับธรรมชาติอย่างสมดุลดังค�ำทีเ่ รียกขานตนเองว่า “คนอยูก่ บั ป่า” หรือ “มละ-บรี” วันนี้ พรมแดนสุดท้ายได้พังทลายลงไปแล้วเมื่อคนไม่เอาป่าอีกต่อไปบทเรียนสุดท้ายที่ยัง มองเห็น...เพื่อนมลาบรี คนอยู่กับป่า ที่ได้สูญเสียคุณค่าทางวัฒนธรรมและจิตวิญญาณ (Cultural and Spiritual Values) เมือ่ ป่า (เปรียบเป็นบ้านหลังใหญ่ของมลาบรี) หายไป นั้นหมายถึงชีวิตและภูมิปัญญาที่สะสมมาตั้งแต่บรรพชนไม่สามารถใช้ได้อีกในระดับ ยุคสมัยและระบบนิเวศที่ล่มสลายไปทั้งหมด การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ (Loss of Biodiversity) อย่างถาวร “ พวกเฮาบ่ใช่ผี พวกเฮาเป็นคน ผีคือคนที่ตายไปแล้ว แต่พวกเฮายังบ่ตาย ขออย่าเรียกพวกเฮาเป็น “ ผีตองเหลือง ” เลย ”

84 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ชนเผ่ามละ “Mla” หรือที่คนอื่นเข้าใจในชื่อ “เผ่าตองเหลือง” หรือ “มลาบรี (Mlabri)” โดยสามารถแบ่งความหมายของชื่อของชนเผ่านี้ได้ “มละ” แปลว่า คน (ซึง่ ค�ำนีต้ อ้ งอ่านควบกันทัง้ สองพยางค์ทเี ดียว) เป็นค�ำทีช่ นเผ่านีใ้ ช้เรียกชนเผ่าของตนเอง และจะใช้เรียกชนเผ่าอืน่ ๆ หรือ ชนชาติอน่ื ว่า “ กวัร๊ ” ส่วนค�ำว่า “บรี” หมายถึง ป่า ซึง่ เป็นค�ำที่เพิ่งมาเพิ่มตอนหลังๆ จึงท�ำให้เกิดค�ำว่า มละ-บรี “Mlabri” หมายถึง “ คนป่า “แต่ชนเผ่านีอ้ ยากให้เรียกพวกเขาว่า “ ชนเผ่ามละ” ทีห่ มายถึง “คน” ไม่ใช่ “มลาบรี” ทีห่ มายถึง “คนป่า” เพราะพวกเขาไม่ใช่คนป่า พวกเขาเพียงใช้ชวี ติ อยูใ่ นป่าเท่านัน้ หรือ เป็นชือ่ ทีพ่ วกเขาเองไม่ได้ใช้เรียกกับตัวเอง แม้กระทัง่ ภายหลังเริม่ มีคำ� ว่า “ผีตองเหลือง” เป็นค�ำที่คนอื่นตั้งให้พวกเขา ทั้งที่พวกเขาไม่ได้เป็นผี เขาก็เป็นมนุษย์เสมือนเราทุกคน ค�ำนีเ้ ป็นค�ำที่ “ชนเผ่ามละ-บิ” ไม่ชอบ การไม่เรียกชือ่ นีก้ บั พวกเขาถือเป็นการให้เกียรติ “ผีตองเหลือง” เอกสารชุดเรียนรูน้ จี้ งึ ขอบันทึกเรียนชือ่ เพือ่ นชาติพนั ธุ์ “ชนเผ่ามละ-บิ”

ภาพจาก: หอจดหมายเหตุแห่งชาติ Abb.: Mlabri-Mädchen (มลาบรี) , Nan (น่าน), ๑๙๐๑

ข้อมูลจาก: Wonderful Phrae – ร้อยภาพเผยเมืองแพร่ และ ธีรภาพ โลหิตกุล ภาพ…ชัยยศ จันทร์แย้ม ชาติพันธุ์น่านศึกษา

85


ชนกลุม่ น้อยทีใ่ นอดีตเขาใช้ชวี ติ อยูใ่ นป่า หาของป่า ล่าสัตว์เป็นอาหาร ไม่มกี ารเพาะปลูก ไม่มีถิ่นฐานเป็นหลักแหล่งแน่นอน แต่จะรวมตัวกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ เพื่อหาอาหารและ สัตว์ปา่ ในชัว่ ระยะเวลาหนึง่ ซึง่ เมือ่ แหล่งอาหารเริม่ ลดน้อยลงก็จะโยกย้ายถิน่ ฐานไปหา อาหารในแหล่งอืน่ ๆ ต่อไป โดยระยะเวลาทีต่ งั้ หลักแหล่งและโยกย้ายออกไปนัน้ จะใกล้ เคียงกับเวลาที่ใบตองสดสีเขียวที่ใช้มุงเพิงเป็นที่พักอาศัยเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ประกอบ กับชนเผ่าชนเผ่ามละ มีความหวาดกลัวคนภายนอก เมื่อใดที่มีคนนอกกลุ่มเข้ามาใกล้ ทีพ่ กั พวกเขาก็จะหลบหนีออกจากทีพ่ กั ไป จึงเป็นทีม่ าของค�ำว่า “ผีตองเหลือง” เพราะ เมื่อใครที่ไม่ใช่คนในกลุ่มเข้าไปถึงพี่พักก็จะไม่ได้มีโอกาสเจอพวกเขาจะเจอแต่ซากเพิง พักอาศัยที่มุงด้วยใบตองเหลือง

ภาพจาก: หอจดหมายเหตุแห่งชาติ Abb.: Mlabri-Mädchen (มลาบรี) , Nan (น่าน), ๑๙๐๑

ป่าในโลกทัศน์ของ ชนเผ่ามละ-บิ ป่าคือบ้าน และเป็นแหล่งวิทยาการที่มี นิเวศที่ซับซ้อน ความผูกพันกับมิติของการด�ำเนินไปของชีวิตทั้งคนและสัตว์ป่า ต้นทุน ทั้งชีวิต ต้นทุนแห่งความอุดมสมบูรณ์ของอาหาร นั้น คือ ผืนป่า ความสลับซับซ้อน เหล่านี้คือกระบวนความเข้าใจที่อธิบายและขยายความส�ำคัญตระหนักให้ผู้คนได้เห็น คุณค่าได้ยากยิ่ง เพราะเมื่อคนในยุคสมัยไม่ได้เรียนรู้ที่จะอยู่กับป่าอีกต่อไป ปัจจุบันทางจังหวัดน่านพยายามจัดการให้ชาว ชนเผ่ามละ-บิ มาอยู่รวมกัน เป็นชุมชน ที่ทางหน่วยราชการจัดพื้นที่ให้ปัจจุบันเฉพาะกลุ่มที่บ้านห้วยหยวก แต่เกิด

86 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ปัญหาความซับซ้อนที่ตามคือความสามารถในการจัดการชีวิตกับโลกยุคสมัยทุนนิยม เกิดปัญหาสภาพทุกครัวเรือนมีสภาพหนี้สิน และ ถูกกดขี่ กลุ่มชนที่เหนือกว่าในพื้นที่ ชุมชนบ้านห้วยหยวก ทั้งนี้ฐานในการศึกษาชุมชน ชนเผ่ามละ-บิ มีนามสกุล ๖ นามสกุล และถือเป็น คนไทยสัญชาติไทยโดยมีนามสกุลได้แก่ ๑. เมลื่องไพร ๒. ศรีเสาป่า ๓. ดอยสัก ๔. หิรัญคีรี ๕. สุชนคีรี ๖. อนันตพฤกษ์ จากกลุ่มคนใน Generation อาจแบ่งได้ ๔ Generation Generation ที่คุ้นชินกับเสรีภาพ จากหลักฐานเอกสารงานวิจยั การจดบันทึกของนักวิจยั หลายรุน่ ได้บนั ทึก ต�ำนาน ค�ำบอกเล่าต่าง ๆ และรายงานร่องรอยของกลุ่มชาติพันธุ์มละ-บิ จากการศึกษาพบ เอกสารบันทึกจากศูนย์ข้อมูลทางวัฒนธรรมกระทรวงวัฒนธรรมกรณีศึกษาชาติพันธุ์ บันทึกถึง DT.H Barnatzik ชาวออสเตรียส�ำรวจพบ มละ-บิ เมือ่ พ . ศ . ๒๔๗๙ ในดงทึบ เขตจังหวัดน่าน ในบันทึกเขียนว่าคนกลุ่มนี้เรียกตัวเองว่า “ ย�ำบรี ” สันนิษฐานว่าเป็น พวกกับ ผีตองเหลือง ที่คณะส�ำรวจของสยามสมาคมซึ่งมี นายไกรศรี นิมมานเหมินท์ เป็นหัวหน้าค้นพบเมือ่ วันที่ ๑๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๐๕ ครัง้ นัน้ นายไกรศรี นิมมานเหมินท์ ว่าชนกลุม่ นีเ้ รียกตัวเองว่า “ มละบรี ” ท�ำเพิงอาศัยอยูท่ รี่ มิ ห้วยน�ำ้ ท่า ทางตะวันตกเฉียงใต้ ของจังหวัดน่าน ก่อนนี้ Mr.Oliver Gordon Young รายงานว่าชาวม้ง และชาวมูเซอที่ ดอยเวียงผา อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ ได้พบผีตองเหลือง ในเขตของตนและว่าพวกนีพ้ ดู ภาษาว้า กับเรียกตนเองว่า “ โพล ” มละ-บิ มีถิ่นก�ำเนิดเดิมอยู่ในแถบแม่น�้ำโขง เขตเมืองไชยะ บุรี ในประเทศลาว แล้วได้อพยพไปอยู่ตามที่ต่าง ๆ ตามที่พบร่องรอย เช่น แถบภูเขียว จ.ชัยภูมิ ภูกระดึง (กรณีการน�ำเครื่องดนตรีพื้นถิ่นมาเป็นการละเล่นของต้น เป่าแคน) จ.เลย ดอยเวียงสระ อ�ำเภอพร้าว จ.เชียงใหม่ ดอยช้าง จ. เชียงราย มาจนถึงบริเวณ เทือกเขาใน จ. น่าน จ.แพร่ และ จ.เพชรบูรณ์ อย่างไรก็ดีในเนื้องานวิจัยเรื่องทัศนคติ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

87


ชนเผ่ามลาบรีกบั การเปลีย่ นแปลงวิถชี วี ติ ในจังหวัดน่าน ของผูว้ จิ ยั นายนเรนทร์ จินะรักษ์ เสนอข้อสันนิษฐานว่า มละ-บิ อาจไม่ได้เคลือ่ นย้ายจากลาวเข้าสูไ่ ทย แต่ได้ใช้ชวี ติ เร่รอ่ น อิสระท่องป่าลึก กระจายไปหลายบริเวณในภูมิภาคนี้มาตั้งแต่ยังไม่มีการแบ่งอาณาเขต พรมแดนการปกครองแน่ชดั ท�ำให้อยูน่ อกเหนือการควบคุมจัดการของอ�ำนาจรัฐจนแทบ ไม่ได้รับการกล่าวถึง ค�ำเรียก มละ-บิ ว่า "ข่า" "คนป่า" "ผีตองเหลือง" หรือ "ผีป่า" แสดงให้เห็นถึง ความสัมพันธ์แบบจัดประเภทของคนไทย ซึง่ เป็นหลักฐานข้อมูลจากการ เขียนประวัตศิ าสตร์ของชนชัน้ น�ำหรือจากรัฐชาติโดยเฉพาะ ทัง้ ๆ ทีก่ ลุม่ คนเหล่านีเ้ รียก ตนเองว่า "ยุมบรี" หรือ "มราบรี" ซึ่งหมายถึง คนที่อยู่ในป่า นอกจากนี้ มละ-บิ ยังถูก คนลาวเรียกว่า "ข่าตองเหลือง" ซึง่ แสดงถึงสถานภาพความเป็นข้าทาส (ตามความหมาย ของลาวใต้) เป็นการจัดประเภทผู้คนและจัดความสัมพันธ์ของรัฐกับคนในเขตอ�ำนาจ ให้อยู่ในกลุ่มคนที่รัฐน�ำมาเป็นแรงงานทาส เป็นกองก�ำลังทหารของรัฐ รวมถึงเก็บส่วย เป็นที่น่าสังเกตว่า การรับรู้ถึงตัวตนของมละ-บิ ผ่านงานชาติพันธุ์ซึ่งผลิตออกมาจาก มุมมองของรัฐสยามและชนชั้นน�ำไทยในยุคต้น ๆ ให้ภาพลักษณ์กลุ่มชาติพันธุ์มละ-บิ เป็น "คนป่า" ล้าหลังที่อยู่ขั้วตรงข้ามกับ "ความมีอารยธรรม" สอดรับกับแนวคิด การจัดล�ำดับสถานภาพทางสังคมและแนวคิดวิวัฒนาการเชิงเส้นตรง ที่มักจัดให้สังคม เก็บหาของป่าล่าสัตว์มพี ฒ ั นาการล้าหลัง ยุมบรีในยุคต้น ๆ จึงมีสถานภาพเป็นอิสระชน คนกลุม่ น้อยทีร่ ฐั มิได้ให้ความส�ำคัญ อีกทัง้ ยังไม่ได้เข้าไปควบคุมปกครองหรือจัดการใด ๆ ขณะเดียวกัน เขตแดนและอ�ำนาจการมีอยู่ของรัฐชาติก็มิได้อยู่ในการรับรู้ของมละ-บิ ที่ท่องไปในป่าลึก ภาพลักษณ์ของ "ผีป่า" "ผีตองเหลือง" "คนป่า" จึงฝังรากลึกในการ รับรู้ถึงตัวตนของมละ-บิ ต่อสังคมภายนอกมายาวนานตามหลักฐานที่ปรากฏ ชื่อเรียก ตนเองว่า "ยุมบรี" มีความหมายเชิงโต้ตอบการถูกเรียกอย่างเหยียดหยาม จากการทีก่ ลุม่ มละ-บิ ได้รบั รูถ้ งึ สถานภาพของตนจากสายตาสังคมภายนอกเมือ่ มีการติดต่อสัมพันธ์กนั Generation ที่อยู่ในข้อจ�ำกัดขอบเขตชายแดนรัฐชาติ ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๐๐ เป็นยุคที่รอบข้างประเทศไทยต้องเผชิญกับสงคราม อินโดจีนอย่างต่อเนือ่ งส่งผลให้เกิดการจ�ำกัดพืน้ ทีย่ า้ ยถิน่ ของมลาบรี ช่วงปีพ.ศ. ๒๕๐๘ - ๒๕๒๕ สงครามระหว่างกองทัพไทยกับพรรคคอมมิวนิสต์ ท�ำให้พน้ื ทีด่ งั กล่าวกลายเป็น สนามรบจนกลุม่ มลาบรีทไี่ ด้รบั ผลกระทบ ต้องอพยพหลบหนีเข้าสูต่ อนในภูมภิ าคมากขึน้ อิทธิพลจากปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองทีเ่ กิดขึน้ ในภูมภิ าค ส่งผลให้มลาบรีประสบ

88 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ปัญหาการปิดกั้นพื้นที่และถูกจ�ำกัดการเคลื่อนย้าย ในปี พ.ศ.๒๕๐๒ รัฐได้เปลี่ยนมา นิยามแนวคิดเกีย่ วกับประชาชนตามชายแดนเสียใหม่ดว้ ยค�ำว่า "ชาวเขา" ค�ำว่า "ชาวเขา" แสดงให้เห็นว่า ความแตกต่างด้านชาติพันธุ์กลายเป็นสิ่งที่ก่อปัญหาในสายตาของรัฐ โดยรัฐมองว่า ชาวเขาเป็นกลุ่มคนที่ไม่ใช่คนไทยแต่อาศัยอยู่บนแผ่นดินไทย ขาดส�ำนึก ในความเป็นชาติและก่อปัญหาต่าง ๆ เช่น ปัญหาความมั่นคงตามแนวชายแดนและ ปัญหายาเสพติด "ชาวเขา" ของรัฐไม่ได้ถูกใช้กับทุกกลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง ทางการ ถือว่ากลุ่มที่จัดเป็นชาวเขาที่ให้ค�ำจ�ำกัดความไว้มีเพียง ๙ เผ่า คือ กะเหรี่ยง แม้ว เย้า ลีซอ มูเซอ ลัวะ ขมุ ถิน่ อีกอ้ โดยไม่ได้รวมมลาบรีไว้ดว้ ย แสดงให้เห็นว่า หน่วยงานของ รัฐไม่ได้ให้ความสนใจหรือเห็นความส�ำคัญของยุมบรี ว่าต้องได้รับการสอดส่องควบคุม ดูแลหรือเข้าไปพัฒนาแต่อย่างใด มลาบรีจึงยังมีสถานภาพเป็น "คนป่า" มิใช่ "ชาวเขา" ตามนิยามของรัฐ และยังคงท่องป่าในพื้นที่ในแถบตอนเหนือบริเวณ จ.แพร่ จ.น่าน จ.พะเยา ต่อไป ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๑๐ ถึงกลางปี พ.ศ.๒๕๒๕ มีการวางกับระเบิดจนท�ำให้ มลาบรีที่เดินทางท่องป่าได้รับอันตรายถึงชีวิต แบบแผนการเคลื่อนย้ายของมลาบรีจึง จ�ำกัดลงมาเหลือเพียงภูเขาไม่กี่แห่งคือ บริเวณเขตรอยต่อของ จ.น่านกับ จ.แพร่ และ ในเขตไชยะบุรี ประเทศลาว Generation อิทธิพลของทุนนิยมกับศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ หลังปี พ.ศ.๒๕๒๕ เมื่อสงครามเริ่มสงบลง กลุ่มชาติพันธุ์มลาบรีที่ได้รับ ผลกระทบจากความขัดแย้งก็ต้องเผชิญกับแรงกดดันหลายด้าน เช่น การเพิ่มขึ้นของ ประชากรบนพื้นที่สูง เนื่องมาจากการหาที่หลบภัยสงคราม การลดลงของพื้นที่ป่าไม้ อันเนื่องมาจากสัมปทานป่าและการขยายพื้นที่เพาะปลูกในปี พ.ศ.๒๕๑๙ ม้งได้เริ่ม จ้างแรงงานมลาบรีเข้ามาท�ำงานในไร่ โดยจ่ายค่าจ้างเป็นสิ่งของและอาหาร มลาบรี ก็เข้ามาท�ำงานให้ม้งในระยะสั้น ๆ หลังงานเสร็จ มลาบรีก็ท่องป่าย้ายที่อยู่ไปที่อื่น แต่ก็ยังวนเวียนอยู่ตามป่าเขาใกล้กับหมู่บ้านม้งในดอยขุนสถาน ดอยภูเค็งตามรอยต่อ แพร่-น่าน ต่อมาเมื่อความต้องการแรงงานเพิ่มสูงขึ้น มลาบรีเห็นว่าได้อาหารและ สิ่งตอบแทนจากม้งง่ายกว่าหาอาหารตามป่า ซึ่งถูกรุกรานจากบริษัทที่ได้สัมปทาน ป่าไม้ ก็เริ่มเข้ามาเป็นแรงงานในไร่ม้งเพิ่มขึ้น ช่วงปี พ.ศ.๒๕๒๔ - ๒๕๓๔ กลุ่มองค์กร พั ฒ นาเอกชนจากต่ า งประเทศและกลุ ่ ม มิ ช ชั น นารี เข้ า มาศึ ก ษาวิ ถี ชี วิ ต และอยู ่ ร่วมกับชนเผ่าตองเหลืองในประเทศไทย และพบว่ามลาบรีมักถูกกลุ่มอิทธิพลไม้ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

89


เถื่อนข่มขู่ บ้างก็ถูกกดขี่เอารัดเอาเปรียบด้านแรงงานจากชนกลุ่มอื่นบ้างก็ประสบ ปั ญ หาจากนั ก ท่ อ งเที่ ย วและข้ า ราชการที่ เข้ า เยี่ ย มพื้ น ที่ ต ลอดเวลา นายบุ ญ ยื น ซึ่งเป็นตัวแทนกลุ่มองค์กรดังกล่าวได้เข้ามาช่วยพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่และช่วยให้ มลาบรีอ่านออกเขียนได้ โดยรวบรวมมลาบรีมาตั้งบ้านเรือนอยู่รวมกันเป็นกลุ่มใน บริเวณเชิงเขาใกล้บ้านของตนและครอบครัว มีครอบครัว มลาบรีอพยพไป ๆ มา ๆ สม�่ำเสมอ เมื่อหนีไปนายบุญยืนก็พยายามตามกลับ ในปี พ.ศ.๒๕๒๗ กองถ่ายท�ำ ภาพยนตร์ตัดสินใจสร้างภาพยนตร์เรื่อง "ตะวันยิ้มแฉ่ง" ซึ่งเป็นแนวเดียวกับ "เทวดา ท่าจะบ๊องส์" แสดงให้เห็นการด�ำรงชีวิตด้วยการเก็บของป่าล่าสัตว์แบบเดิมอยู่ โดยใช้ ข้อมูลจากการรายงานข่าว ในหนังสือพิมพ์ ร่วมกับข้อมูลจากงานวิจยั ของนักโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรเกี่ยวกับกลุ่มผีตองเหลืองใน จ.น่าน และ จ.แพร่ โดยเข้าไปถ่าย ท�ำในพื้นที่ป่าแถบ อ.นาน้อย จ.น่าน เหตุการณ์ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ระบบตลาด ทุนนิยมเริ่มหันมาให้ความสนใจมลาบรีเป็นครั้งแรก คนส่วนใหญ่รู้จักและเรียกขานม ลาบรีตามภาพยนตร์ว่า "ผีตองเหลือง" นอกจากนี้ยังมีกลุ่มธุรกิจที่น�ำมลาบรีมาโชว์ตัว ตามห้างสรรพสินค้าในปีเดียวกัน ปีถดั มาผูว้ า่ ราชการจังหวัดน่านได้รเิ ริม่ โครงการพัฒนา และอนุรักษ์กลุ่มชาติพันธุ์มลาบรี โดยการเปลี่ยนพื้นที่สีแดงให้กลายเป็นเขตท่องเที่ยว ทางวัฒนธรรม ทางการมีมติให้พฒ ั นาและสงเคราะห์ชนเผ่า "ผีตองเหลือง" ทีอ่ าศัยในเขต บ้านขุนสถาน บ้านห้วยบ่อหอยและบ้านภูเค็ง ๑๕๐ คน โดยใช้เวลา ๘ ปี (พ.ศ.๒๕๒๘ - พ.ศ.๒๕๓๕) เพือ่ ให้มลาบรีสามารถพัฒนาตนเองได้ตามขัน้ ตอนวิวฒ ั นาการทางสังคม การเข้ามาของกลุ่มอ�ำนาจในรูปแบบต่าง ๆ ท�ำให้มลาบรีมีบทบาทไม่ต่างไปจากสินค้า ทางวัฒนธรรมในการดึงดูดนักท่องเที่ยว สร้างรายได้เข้าจังหวัดแพร่ และมีสถานภาพ คล้ายเป็นลูกจ้างของศูนย์พัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขา ซึ่งได้สร้างที่อยู่ถาวรให้มลาบรี พร้อมตอบสนองทิศทางการพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยว โดยที่หน่วยงานของรัฐกับเอกชน เริ่มช่วงชิงกลุ่มมลาบรีกัน ขณะที่จังหวัดน่านอ้างว่าเป็นต้นก�ำเนิดชนเผ่าผีตองเหลือง และได้จัดที่อยู่ถาวรพร้อมบริการการศึกษาและสาธารณสุขให้ที่อ�ำเภอบ้านหลวง การจัดแสดง "ชีวิตความเป็นอยู่แบบดั้งเดิม" ของมลาบรีให้นักท่องเที่ยวเข้ามาศึกษา เป็นที่น่าสังเกตว่าพื้นที่รวบรวมกลุ่มมลาบรีของสองจังหวัดต่างก็มีความเกี่ยวข้องกับ กลุ่มผลประโยชน์ที่ต้องการน�ำมลาบรีมาเป็น "ทรัพยากรท่องเที่ยว" เป็นการดึงมลาบรี เข้าสูก่ ระแสการพัฒนาของรัฐ ซึง่ ผนวกเข้าสูร่ ะบบทุนนิยมโลกผ่านแนวคิดในการพัฒนา ทรัพยากรด้านการท่องเที่ยว

90 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


Generation ยุคปรับตัววิวัฒนาทางสังคมเพื่อความอยู่รอด ในปี พ.ศ.๒๕๔๐ นายอ�ำเภอบ้านหลวงได้ออกหนังสือเชิญนายบุญยืนมาร่วม โครงการพัฒนาและอนุรักษ์ชนเผ่าตองเหลืองตามค�ำสั่งของทางการ เนื่องจากเห็นว่า นายบุญยืนเคยมีประสบการณ์พัฒนามลาบรีมาก่อน พร้อมตั้งคณะท�ำงานฝ่ายต่าง ๆ เข้าร่วมโครงการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตชนเผ่าตองเหลืองทั้งด้าน สุขอนามัย ด้านการศึกษา การอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี ในพื้นที่ที่มีการจัดที่พัก ชั่วคราวให้กับมลาบรี ๑๓ หลังคาเรือน มีการแบ่งงานให้มลาบรีมีงานท�ำ อีกทั้งเด็ก ๆ ก็ได้รับการสอนภาษาไทย โดยได้รับเงินสนับสนุนจากคริสตจักรในมลรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา ขณะเดียวกันในบริเวณใกล้ศนู ย์ ก็มกี ลุม่ ธุรกิจท่องเทีย่ วทีม่ กั น�ำนักท่องเทีย่ ว มาชมกลุ่มมลาบรีที่ตนรวบรวมไว้ในบริเวณบ้านปี้ จนเกิดเป็นความขัดแย้งด้านรูปแบบ การน�ำเสนอภาพลักษณ์ตวั ตนของมลาบรี เนือ่ งจากกลุม่ มลาบรีทอี่ ยูก่ บั ธุรกิจท่องเทีย่ ว ยังคงอยู่ในลักษณะชนเผ่าดั้งเดิม ขณะที่กลุ่มมลาบรีที่อยู่กับศูนย์พัฒนาที่นายบุญยืน ดูแล ได้รบั การพัฒนาให้มสี ภาพวิถชี วี ติ ความเป็นอยู่ การแต่งกายไม่ตา่ งจากคนไทยทัว่ ไป จึงถูกวิจารณ์วา่ เป็นการจัดฉากหลอกนักท่องเทีย่ ว ต่อมาเกิดความขัดแย้งใน การควบคุม การใช้พื้นที่ อันเป็นผลมาจากกระแส "สิ่งแวดล้อมนิยมในท้องถิ่น" มีการปิดกั้นพื้นที่ ป่าและการเข้าถึงทรัพยากร "การอนุรักษ์" ถูกน�ำมาใช้ในความหมายที่เปลี่ยนพื้นที่ป่า เพื่อ "กีดกันการเข้าถึง" ชาวบ้านต�ำบลบ้านปี้เดินทางไปชุมนุมขอให้ย้ายกลุ่มมลาบรี รวมทั้ ง ศู น ย์ พั ฒ นาและอนุ รั ก ษ์ อ อกจากพื้ น ที่ โดยอ้ า งประเด็ น ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม เป็นเครือ่ งมือสร้างความชอบธรรม ชาวบ้านโจมตีวา่ ชนเผ่าตองเหลืองท�ำให้ลำ� น�ำ้ สกปรก ทัง้ ยังเข้าไปถางป่าท�ำลายป่า ล่าสัตว์และบุกรุกป่าสงวนซึง่ เป็นแหล่งต้นน�ำ้ ล�ำธาร กระแส ความขัดแย้งดังกล่าวรุนแรงขึน้ ในขณะทีค่ นของทางการอธิบายว่าโครงการดังกล่าวเป็น ประโยชน์ตอ่ ชาวบ้านเพราะเป็นแหล่งท่องเทีย่ วทีส่ ร้างรายได้ให้หมูบ่ า้ น แต่แกนน�ำกลับ รวมตัวเคลื่อนไหวเรียกร้องให้ยกเลิกโครงการ ทั้งยังขอให้ย้ายออกจากพื้นที่ไปเสีย เป็นทีน่ า่ สังเกตว่า แนวคิดในการพัฒนาทีล่ กั ลัน่ ส่งผลให้เกิดกระแสต่อต้านโดยมุง่ เล่นงาน กลุม่ มลาบรีโดยตรง ทัง้ ๆ ทีม่ ลาบรีเองก็มไิ ด้มอี ำ� นาจต่อรองแต่อย่างใด การแก้ไขปัญหา เป็นไปอย่างล�ำบาก เนือ่ งจากกลุม่ ผูเ้ สียผลประโยชน์มพี รรคพวกเครือญาติทมี่ อี ำ� นาจเป็น ผูน้ ำ� ท้องถิน่ อีกทัง้ สือ่ ทีเ่ สียผลประโยชน์กก็ ลับเป็นกระบอกเสียงให้กลุม่ ผูช้ มุ นุม มีการใช้ กระแสมวลชนกดดัน สร้างภาพลักษณ์มลาบรีทถี่ กู กล่าวหาว่าเป็น "ผูท้ ำ� ลายป่าและแพร่ เชือ้ โรค" เมือ่ ไม่อาจทานกระแสต่อต้านในพืน้ ทีไ่ ด้ ทางจังหวัดก็ตอ้ งหาพืน้ ทีใ่ หม่มารองรับ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

91


แล้วอพยพโยกย้ายมลาบรีออกจากศูนย์พัฒนา อ�ำเภอบ้านหลวง เป็นการปิดฉากความ ล้มเหลวของโครงการพัฒนาและอนุรกั ษ์เผ่าตองเหลืองทีด่ ำ� เนินงานมาเป็นเวลานานถึง ๕ ปี ตัง้ แต่ปี พ.ศ.๒๕๓๗ ถึงปี พ.ศ.๒๕๔๑ ต่อมามีการออกส�ำรวจหาพืน้ ทีเ่ หมาะสมเพือ่ เริ่มโครงการพัฒนาอีกครั้ง จนมาได้ข้อสรุป บริเวณพื้นที่บ้านห้วยหยวก ต�ำบลแม่ขะนิง อ�ำเภอเวียงสา มีการจัดตัง้ "หมูบ่ า้ นตองเหลือง" โดยแบ่งออกเป็น ๕ คุม้ ชุมชนตองเหลือง เป็นคุ้มที่ ๕ ของหมู่บ้านห้วยหยวก แสดงถึงความพยายามของรัฐในการผนวกมลาบรี เข้าสูก่ ารพัฒนาในรูปของหมูบ่ า้ นและแหล่งท่องเทีย่ วอีกครัง้ ในขณะทีก่ ระแสสิง่ แวดล้อม นิยมทีห่ าทางผลักดันมลาบรีออกจากพืน้ ที่ ก็ให้ภาพลักษณ์ตวั ตนของมลาบรีในลักษณะ ตีตราเป็นดั่ง "ผู้ร้ายที่ขาดจิตส�ำนึกจ้องจะผลาญป่า" หรือท�ำให้มลาบรีกลายเป็น "ตัว เชื้อโรคร้ายที่สกปรก" กระแสกดดันเหล่านี้ได้แฝงอคติด้านชาติพันธุ์เพื่อกีดกันและ ปิดกัน้ การเข้าถึงพืน้ ที่ แสดงให้เห็นรูปแบบการช่วงชิงทรัพยากร ระหว่างเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ ผู้ริเริ่มโครงการกับกลุ่มผู้เสียผลประโยชน์ซึ่งมีอ�ำนาจอิทธิพลในท้องที่ โดยมีมลาบรี ตกเป็นจ�ำเลยรองรับกระแสกดดันต่าง ๆ โดยตรง ปัญหาการเข้าถึงทรัพยากรในพื้นที่บ้านห้วยหยวก เมื่อทางการเข้ามาจัดตั้ง ชุมชนตองเหลืองในพื้นที่ครอบครองของม้งบ้านห้วยหยวก ก็ส่งผลให้เกิดความยาก ล�ำบากในการเข้าใช้ทรัพยากร เนือ่ งจากชุมชนม้งเองก็มกี ารแย่งชิงทีด่ นิ กับม้งหมูบ่ า้ นอืน่ พื้นที่จ�ำนวน ๑๕๐ ไร่ที่ทางการขอบริจาคจากม้งมาตั้งชุมชนตองเหลืองมีขนาดไม่พอ ที่จะรองรับประชากรจ�ำนวน ๑๑๙ คน ๑๘ หลังคาเรือน มลาบรีจึงต้องออกไปใช้ ทรัพยากรนอกพื้นที่ จนรุกเข้าไปในที่ของม้ง ม้งซึ่งเป็นเจ้าของที่ดินก็ใช้สิทธิอ้างให้ มลาบรีทำ� งานในไร่แลกสิง่ ตอบแทน ความขัดแย้งดังกล่าวมีสาเหตุมาจากความแตกต่าง ในระบบกรรมสิทธิ์ของมลาบรี ซึ่งเปิดกว้างให้คนเข้าถึงทรัพยากรและใช้เพื่อยังชีพ ในขณะที่ระบบกรรมสิทธิ์ของม้งกลับมุ่งเน้นวิถีการผลิตเชิงพาณิชย์จึงกีดกันการเข้าถึง ทรัพยากร เมือ่ มลาบรีประสบปัญหาความยากล�ำบากในการเข้าถึงทรัพยากรนอกเขตม้ง ก็ตอ้ งเดินทางไปหาของป่าเป็นระยะทางไกลกว่าเดิม ในทีส่ ดุ มลาบรีกจ็ ำ� เป็นต้องมาเป็น แรงงานรับจ้างม้งอย่างไม่อาจหลีกเลีย่ ง ตัวอย่างทีแ่ สดงถึงการถูกควบคุมจากกลุม่ อ�ำนาจ ภายนอก ท�ำให้มลาบรีสูญเสียอ�ำนาจเหนือพื้นที่ทางกายภาพ ทั้งยังเป็นการสั่นคลอน โครงสร้างความเชื่อเดิมอีกด้วย เช่น กรณีที่ม้งให้พวกเขาขุดดินในพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ตาม ความเชื่อของมลาบรี แต่เดิมมลาบรี เชื่อว่ามีสิ่งเหนือธรรมชาติคอยดูแลรักษา "ร้วด" หรือดินโป่ง พื้นที่ป่าที่มีร้วดจึงห้ามมนุษย์เข้าไปรบกวน เมื่อพื้นที่ป่าได้ถูกปรับเปลี่ยน

92 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


เป็นพื้นที่ไร่แล้ว นายจ้างม้งกลับให้แรงงานมลาบรีเข้าไปขุดดินในพื้นที่ซึ่งเคยเป็นร้วด แต่เดิม ซึง่ แต่เดิมมลาบรีมคี วามเชือ่ ว่า อาจท�ำให้เกิดการเจ็บไข้ได้ปว่ ยและอาจถึงตายได้ รัฐกับอ�ำนาจในการจัดการทรัพยากรป่าเมื่ออ�ำนาจรัฐเข้ามามีอิทธิพลต่อการ ดูแลทรัพยากรป่า จากโลกทัศน์แบบเดิมของชาวบ้านทีม่ องว่า พืน้ ทีป่ า่ เป็นของเจ้าผูค้ รอง นครถือเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ซึ่งมีสิ่งเหนือธรรมชาติดูแลคุ้มครองอยู่ แนวคิดดังกล่าวก็เริ่ม เปลี่ยนไป เมื่อมีการตั้งกรมป่าไม้ขึ้นในปี พ.ศ.๒๔๓๙ เพื่อดูแลผลประโยชน์และบริหาร จัดการป่า แนวคิดเกี่ยวกับ "ป่าเพื่อการอนุรักษ์" กลายเป็น "การเข้าครอบครองพื้นที่ และบริหารจัดการสัมปทานป่าไม้ " โดยที่รัฐมุ่งเน้นผลประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ มีการ เปิดสัมปทานให้นายทุนเข้าถางป่าแปรรูปไม้ให้กลายเป็นสินค้ามีคณ ุ ค่าทางเศรษฐกิจตาม ระบบทุนนิยม หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง สัมปทานไม้ที่รัฐเปิดให้นายทุนต่างชาติ ถูกยกเลิก แต่ชาวไทยยังคงท�ำไม้ในเชิงพาณิชย์ต่อไปเนื่องจากเห็นคุณค่าเชิงเศรษฐกิจ เพิ่มขึ้น มีการรุกพื้นที่ป่าเพิ่มขึ้น ความหมายของป่าแบบเดิมที่ชาวบ้านเคยมองว่าเป็น "พืน้ ทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิภ์ ายใต้อำ� นาจผูค้ รองนคร" เปลีย่ นเป็นป่าในความหมายของ "ทรัพยากร ที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ" เมื่อเกิดการสูญเสียพื้นที่ป่ามากเข้า รัฐก็ปิดป่าสัมปทาน แต่พอมีแรงผลักดันจากพ่อค้าไม้และนักการเมืองก็เปิดให้สัมปทานอีก แม้จะมีการออก พ.ร.บ.ป่าสงวน นิยามความหมายของป่าก็ยงั คงเน้นผลประโยชน์ดา้ นเศรษฐกิจ สัมพันธ์ กับอ�ำนาจทางการเมืองเป็นหลัก การขยายอ�ำนาจรัฐครอบคลุมพื้นที่ป่า โดยยึดเอา ทรัพยากรธรรมชาติมาเป็นของรัฐภายใต้วาทกรรม "ป่าอนุรักษ์" ท�ำให้ทรัพยากรป่าไม้ ตกเป็นพืน้ ทีซ่ งึ่ คนมีอำ� นาจช่วงชิงการเข้าถึงแบบ "มือใครยาวสาวได้สาวเอา" เมือ่ รัฐเปิด ให้นายทุนสัมปทานตัดไม้ใหญ่ไปเกือบหมดแล้ว ม้งก็ได้ขอซือ้ ทีด่ นิ ต่อจากนายทุนน�ำมา เพาะปลูกข้าวโพด โดยเข้าใจว่าตนมีกรรมสิทธิ์เป็นเจ้าของพื้นที่แทนนายทุน ทางการก็ เข้ามาเก็บภาษี ป่าจึงมีความหมายเป็น "พื้นที่เพาะปลูกภายใต้อ�ำนาจจัดการของม้ง" ในขณะที่มลาบรีเรียนรู้ที่จะปรับตัวเมื่อป่าที่เคยอยู่มาแต่เดิม ถูกอ�ำนาจภายนอกบุกรุก เพิม่ ขึน้ ด้วยการมาเป็นแรงงานให้มง้ โดยเรียกไร่มง้ ว่า "ระหมาบกัว่ หระ" หมายถึงพืน้ ที่ แห่งนี้ตกเป็นของคนนอกกลุ่มมลาบรี เมื่อรัฐขยายอ�ำนาจควบคุมพื้นที่ ม้งก็พยายาม รักษาอ�ำนาจเหนือพื้นที่ด้วยการท�ำให้พื้นที่อยู่ในสภาพ "ป่าเหล่า" ที่ยังไม่โตเต็มที่และ แปลงเพาะปลูก อ�ำนาจของม้งจึงมาจากการช่วงชิงสิทธิเหนือพื้นที่ อย่างไรกีดี การที่ พื้นที่ถูกปิดล้อมด้วยกลุ่มอ�ำนาจภายนอก มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงนิยามความหมาย ของพืน้ ทีแ่ ละทรัพยากร ทัง้ ยังสัน่ คลอนถึงระบบคุณค่าและความเชือ่ แบบเดิมของสังคม มลาบรีอีกด้วย ชาติพันธุ์น่านศึกษา

93


การปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์เชิงอ�ำนาจของมลาบรี เมื่อมลาบรีถูกปิดล้อม จากกลุ่มอ�ำนาจ ก็หาทางปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์หรือ ต่อรองกับกลุ่มอ�ำนาจโดยมิได้ เป็นฝ่ายยอมจ�ำนนเสมอไป การต่อรองกับกลุ่มอ�ำนาจนอกชุมชนซึ่งมีทั้ง หน่วยงาน ของรัฐ องค์กรพัฒนาเอกชนและกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง เช่น การหลีกเลี่ยงไม่ไปหาของป่าใน เขตป่าอนุรักษ์เมื่อได้รับค�ำเตือนจากหอกระจายข่าวว่าจะมีเจ้าหน้าที่ออกตรวจพื้นที่ การปล่อยไฟป่าให้ไหม้ลุกลามต้นไม้ในโครงการของหน่วยจัดการ ต้นน�้ำจนเสียหาย เป็นการสะท้อนถึงความไม่ใส่ใจจะมีสว่ นร่วมดูแลรักษาจากคนในชุมชน นัยหนึง่ แสดงถึง การต่อต้านของคนท้องถิ่นที่ตกเป็นคนชายขอบ เป็นผลมาจากการถูกกีดกันการเข้าถึง ทรัพยากรในพื้นที่เขตอนุรักษ์ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของชนเผ่ามลาบรี ซึ่งส่งผลกระทบ ต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่แต่เดิมที่เคยเป็นชนเผ่าเร่ร่อน กลับต้องถูกจ�ำกัดพื้นที่ท�ำให้เกิด ความยากล�ำบากในการเข้าถึงทรัพยากรเพิ่มขึ้น ทั้งยังต้องแย่งชิงทรัพยากรกับม้ง ใน พื้นที่จนเกิดความขัดแย้ง ในที่สุดมลาบรีก็ต้องกลายเป็นแรงงานรับจ้างท�ำไร่ให้กับม้ง การเปลีย่ นแปลงดังกล่าวส่งผลสัน่ คลอนโครงสร้างความเชือ่ ดัง้ เดิมในรูปแบบต่าง ๆ ทัง้ ทางกายภาพและทางความคิดความเชือ่ เมือ่ โครงการพัฒนาส่วนใหญ่มกั ดึงมลาบรีให้มา ตั้งหลักแหล่งถาวร แต่การพัฒนาและการควบคุมจากกลุ่มอิทธิพลภายนอก กลับสร้าง แรงกดดันต่อวิถีชีวิตมลาบรียิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการน�ำเด็กมลาบรีเข้าสู่ระบบการศึกษา การจ�ำกัดพืน้ ทีข่ องทางการจนท�ำให้มลาบรีมสี ภาพไม่ตา่ งจากผูบ้ กุ รุกป่าสงวนในสายตา กรมป่าไม้ เมือ่ ต้องออกหาของป่าหรือล่าสัตว์ตามวิถชี วี ติ แบบเดิม หรือโครงการส่งเสริม ให้เพาะเห็ดและเลี้ยงปลาดุกซึ่งไม่ได้รับความสนใจจากคนในชุมชน รวมถึงการชักน�ำ ส่งเสริมให้มลาบรีกา้ วเข้าสูร่ ะบบเกษตร เพาะปลูกด้วยการใช้ปยุ๋ และยาฆ่าหญ้า เหล่านี้ เป็นกรณีตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่สะท้อนให้เห็นการพัฒนา ที่ไม่สามารถ เข้าถึงรูปแบบวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรมซึ่งเป็นอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของคนใน ชุมชนมลาบรีอย่างแท้จริง ทีน่ า่ วิตกยิง่ กว่านัน้ ก็คอื ชุมชนมลาบรีได้สญ ู เสียความสามารถ ในการจัดการทรัพยากร โอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรอย่างมั่นคง จนต้องกลายเป็น กลุม่ ชายขอบของสังคมในทีส่ ดุ จากค�ำสัมภาษณ์ของมลาบรีทแี่ สดงให้เห็นถึงสิง่ ทีบ่ ง่ บอก ความเป็นตัวตนที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพสังคมแวดล้อม เมื่อการพัฒนารุกคืบเข้ามา "ตั๋วมองดู ไม้ใหญ่หมู่เฮานี้ก็ไม่ท�ำ ป่าใหญ่ป่าหลวงหมู่เฮาก็ไม่แผ้ว ตัดก็ตัดไม้นิดไม้น้อย ท�ำบ้านหลังน้อย ๆ เท่านัน้ นะ ตัดตองกล้วยมุง มันจนแท้ นุง่ ก็นงุ่ ผ้าตะแยด นุง่ ตองกล้วยบ้าง ตองตึงบ้าง มาอยู่นี้ มีหมู่ผู้ว่าฯ มาคอยดู โอ้มีเสื้อ มีผ้า มีกางเกงใส่"

94 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


โลกทัศน์ของมลาบรี : ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติและสิ่งเหนือ ธรรมชาติ มลาบรีมีความสัมพันธ์กับป่ามาแต่โบราณ มลาบรียังชีพและด�ำรงชีวิตโดย พึง่ พาอาศัยสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ คุณค่าของป่าต่อสังคมมลาบรีจงึ มิใช่เป็นเพียง คุณค่าเชิงกายภาพตามวัฒนธรรมการผลิตของสังคมในรูปแบบหาของป่าล่าสัตว์เท่านัน้ แต่ยังรวมถึงการให้ความหมายต่อพื้นที่ป่าตามโลกทัศน์ของมลาบรีอีกด้วย สิ่งแวดล้อม ในมุมมองของมลาบรีได้สะท้อนถึง "จินตนาการทางวัฒนธรรม" ทีแ่ สดงความสัมพันธ์ของ สิ่งต่าง ๆ อย่างไม่มีเส้นแบ่ง วัตถุทางกายภาพในสภาพแวดล้อมมีคุณลักษณะที่แสดง ถึงความเป็นคนด้วย โลกทัศน์ของมลาบรีจึงไม่แบ่งแยก "คน" ออกจาก "ธรรมชาติ" สิ่ง เหล่านีเ้ ป็นเครือ่ งก�ำหนดความหมายในพืน้ ที่ และการจัดการทรัพยากรในสังคมมลาบรี อีกด้วย สิง่ ต่าง ๆ ตามธรรมชาติในผืนป่า ไม่วา่ จะเป็นผืนดิน แผ่นฟ้า ล�ำธาร ต้นไม้ สัตว์ปา่ ล้วนมีสงิ่ เหนือธรรมชาติคอยดูแลอยู่ กล่าวคือ ในผืนดินจะมี "ซินเรแบะ" หรือผีดนิ ทีม่ ลาบรี ถือเป็นแม่ บนฟ้าจะมี "ซินเร กร้าน" หรือผีฟ้า ตามแหล่งน�้ำจะมี "ซินเรลัม" เป็นต้น พลังอ�ำนาจเหนือธรรมชาติในพืน้ ทีป่ า่ ตามจินตนาการของมลาบรี จึงมีอำ� นาจทีส่ ง่ ผลต่อ รูปแบบการด�ำรงชีวิต ระบบคุณค่า ความเชื่อและการประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ รวมถึง การเข้าไปจัดการกับพืน้ ทีแ่ ละทรัพยากรทีส่ อดคล้องโลกทัศน์ดงั กล่าว เป็นทีน่ า่ สังเกตว่า สังคมมลาบรีมีการแบ่งปันทรัพยากรส่วนรวมให้ทุกคนในกลุ่มโดยไม่กีดกันการเข้าถึง เพราะมลาบรีเชื่อว่าความส�ำเร็จในการหาของป่าล่าสัตว์ขึ้นอยู่กับท่าทีของสิ่งเหนือ ธรรมชาติ ทั้งยังมีการประกอบพิธีกรรมขอขมาต่อสิ่งเหนือธรรมชาติเมื่อล่าสัตว์ใหญ่ มาได้ ถือเป็นการแลกเปลีย่ นสิง่ ของระหว่างมนุษย์กบั สิง่ เหนือธรรมชาติ ป่าในโลกทัศน์ ของมลาบรีจึงมิใช่พื้นที่ให้คนเข้าไปตักตวงทรัพยากร หรือใช้พื้นที่ได้ตามอ�ำเภอใจ แต่ เป็นพื้นที่ที่มี "ซินเร" ครอบครองอยู่ โดยวางอยู่บนหลักการที่ "อนุญาตให้ใช้" มากกว่า "กีดกันออกจากพืน้ ที"่ แต่ตอ้ งเคารพย�ำเกรงต่ออ�ำนาจสิง่ เหนือธรรมชาติในพืน้ ทีป่ า่ ทีจ่ บั จ้องมองอยู่ เป็นที่น่าสังเกตว่า การนิยามความหมายของพื้นที่และทรัพยากร มีทั้งการ ส่งเสริมและจ�ำกัดอ�ำนาจในการใช้พื้นที่และทรัพยากรไปพร้อม ๆ กัน เช่น ในบางพื้น ทีม่ ลาบรีถอื ว่าเป็นทีต่ อ้ งห้าม เช่น บริเวณ "ร้วด" หรือ "โป่ง" ไม่ควรเข้าไปรบกวน หาของป่า ล่าสัตว์หรือตั้งที่พักบริเวณนั้น หรือบริเวณที่ฝังศพผู้ตายไว้ โดยสลักเครื่องหมายไว้ที่ ต้นไม้เป็นสัญลักษณ์ให้หลีกเลี่ยงบริเวณดังกล่าว หากล่วงล�้ำเข้าไป วิญญาณผู้ตายหรือ "ว้อก" ที่ออกจากร่างศพมาสิงสถิตตามสิ่งแวดล้อม การเข้าไปรบกวนอาจท�ำให้เกิด เคราะห์ร้ายได้ ความเชื่อเล่านี้ปัจจุบันแถบไม่เหลือให้เห็นอีกต่อไปเมื่อมลาบรีต้องอยู่ กับวิถีแห่งยุคสมัย ชาติพันธุ์น่านศึกษา

95


ถ้าเราเชือ่ ว่าการศึกษามันคือแสงสว่างของชีวติ ถ้าเราเชือ่ ว่าทางออกของการหา ค�ำตอบของการมีอยูข่ องชีวติ คือ การศึกษา นายเดา เมลืองไพร ได้พยายามท�ำสิง่ นัน้ แล้ว แม้มันดูไม่มากพอในระนาบสายตาของคนทั่วไป อย่างน้อยแรงบีบอัด ที่เกิดขึ้นใน ระหว่างการมีอยูข่ องชีวติ Generation ยุคปรับตัววิวฒ ั นาการทางสังคมเพือ่ ความอยูร่ อด ของคนรุ่นใหม่ของมลาบรี ผมได้เห็นความพยายามของเขาแล้ว ทุกชีวิตต้องเกี่ยวพันกับสิ่งต่างๆ รอบตัวอยู่ตลอดเวลาเพราะสิ่งรอบตัวมี อิทธิพลต่อสภาพความเป็นอยู่ของทุกชีวิต เพื่อให้สามารถด�ำรงชีวิตอยู่ท่ามกลาง สิง่ รอบตัวเหล่านัน้ ได้อย่างมีความสุข มนุษย์ตอ้ งเรียนรูอ้ ย่างต่อเนือ่ งเกีย่ วกับสิง่ รอบตัว ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดยั้งและต้องมีความรู้พื้นฐานเพียงพอที่จะเข้าใจเรื่อง ราวต่าง ๆ ทั้งเรื่องง่ายและเรื่องที่สลับซับซ้อนเกี่ยวกับสิ่งรอบตัวได้อย่างมีเหตุผล รู้วิธีที่จะอยู่ร่วมกับสิ่งเหล่านั้นได้อย่างปลอดภัยและสามารถน�ำสิ่งเหล่านั้นมาใช้ให้เป็น ประโยชน์กับชีวิตได้อย่างเหมาะสมตามความจ�ำเป็น สิ่งรอบตัวที่มีอิทธิพลต่อการด�ำรง ชีวิตของมนุษย์ ไม่ได้มีเพียงสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติหรือทางกายภาพเพียงอย่างเดียว แต่ยังมีภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ตลอดจนวัฒนธรรม ภูมิปัญญา และสุขภาพอนามัยล้วนมีบทบาทต่อการตัดสินใจในวิถีชีวิตทั้งสิ้น ดังนัน้ การจัดการศึกษาเพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ของมนุษย์ จึงจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้อง เน้นเนือ้ หาสาระความรูใ้ นเรือ่ งของชีวติ เรียนรูจ้ ากวิถชี วี ติ จริงในชุมชนและจากหลักสูตร ต่างๆ เพื่อให้เกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่น�ำไปใช้ประโยชน์ในการด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน ซึ่งเครื่องมือส�ำคัญที่ใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างต่อเนื่องก็คือ ความ สามารถในการอ่านออกเขียนได้ และการคิดเชิงวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลจากแนวคิด

96 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ดังกล่าวได้น�ำไปสู่การก�ำหนดกรอบแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรชาติพันธุ์น่านศึกษา ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ ซึ่งเป็นโรงเรียนที่จัดการศึกษาให้กับเด็กด้อย โอกาสในเขตพื้นที่จังหวัดน่านโดยจัดการศึกษาเป็นแบบโรงเรียนประจ�ำ ท�ำให้โรงเรียน มีศกั ยภาพในการพัฒนาเรือ่ งศิลปวัฒนธรรมเพราะโรงเรียนรับนักเรียนทีเ่ ข้าเรียนมาจาก หลายที่หลายแห่งในเขตพื้นที่จังหวัดน่านรวมถึงนักเรียนชาวไทยภูเขาท�ำให้ในโรงเรียน มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมของเด็กนักเรียนจึงเป็นจุดเด่นของโรงเรียนในการ สร้างสรรค์วัฒนธรรมที่แตกต่างของนักเรียน พี่น้องมลาบรีคือหนึ่งในสมาชิกบ้านหลัง ใหญ่นี้ การจัดการศึกษาให้กับมลาบรีถือได้ว่าเริ่มบุกเบิกโดย ผ.อ.ปราณี หนูนิ่ม ช่วง ปีการศึกษา ๒๕๔๔ และพัฒนาสานต่อโดย ผ.อ.สุมนต์ มอนไข่ ที่น�ำเอาเยาวชนมลาบรี มาจัดสู่กระบวนการศึกษาขั้นพื้นฐาน แต่ไม่ประสบความส�ำเร็จและล้มเหลวตลอดมา นั้นเพราะสภาพปัญหาการปรับตัวและมิติทางสังคมของพี่น้องมลาบรีที่ไม่ยอมเปิดรับ ไว้ใจใครได้ง่ายโรงเรียนด�ำเนินการจัดการศึกษา มากกว่า ๖ รุ่นที่กลุ่มนักเรียนมลาบรี ต้องออกกลางคันนั้นเพราะสภาพปัญหาการปรับตัวและการเข้ากับสังคมไม่ได้ นายเดา เมลืองไพร เป็นหนึ่งในไม่กี่คนที่สามารถปรับตัวและพาตัวเองให้ส�ำเร็จการศึกษาใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจนได้ (ม.๖) ถือได้ว่าเป็นเยาวชนมลาบรีคนแรกที่สามารถ จบการศึกษาสูงสุดในหลายรุ่นที่ผ่านมาจะเรียนถึงแค่การศึกษาภาคบังคับหรือไม่ก็จะ ไปมีครอบครัวเสียก่อนเป็นส่วนใหญ่ นายเดา เมลืองไพร เมือ่ จบการศึกษาแล้วก็มจี ติ มุง่ หมัน่ ทีจ่ ะกลับมาดูแล พ่อ แม่ และฝันอยากจะท�ำบ้านให้พ่อแม่ได้อยู่อาศัย ในช่วงรอยต่อชีวิตนั้น เดา เมลืองไพร ได้ ตัดสินใจเข้าศึกษาหลักค�ำสอนของพระคริสตจักรและหวังจะกลับมาเผยแพร่ศาสนาใน ชุมชนในฐานะบาทหลวง แต่ความพยายามก็หมดลงเมื่อรู้ข่าวว่า พ่อป่วยหนัก ท�ำให้ เดา เมลืองไพร หันกลับมาช่วยงานครอบครัวเพื่อลดภาวะงานของพ่อให้พ่อได้รักษาตัว ความฝันในวันนัน้ ในวัยเด็กเมือ่ เรียน อยากเป็นนักดนตรี แต่ฝนั นัน้ ไกลเหลือเกิน เดารูต้ วั เองดีวา่ คงได้แต่ฝนั ในระหว่างชีวติ ทีต่ อ้ งอาศัยอยูบ่ า้ นกับญาติผเู้ ป็นป้า และต้องออกไป ท�ำไร่รบั จ้างแทนพ่อนัน้ (รับจ้างม้ง) เดาได้เรียนรูช้ วี ติ หนุม่ การมีรกั และความรับผิดชอบ เดามีเงือ่ นไขชีวติ เพิม่ ขึน้ คือ ลูกชาย ทีเ่ กิดกับหญิงในชนเผ่าของตัวเอง แต่ครัง้ นีเ้ ดาเรียนรู้ มันไม่ใช่รักแต่มันคือความรับผิดชอบต่อชีวิต ข้าพเจ้าคงไม่เขียนในรายละเอียดตรงนี้ เพราะให้ถือเป็นภาวะชีวิตส่วนตัวของเดาที่ไม่ควรจะไปวิภาคหรือละเมิดสิทธินี้ของเดา ชาติพันธุ์น่านศึกษา

97


การศึกษา มลาบรีเป็นกลุม่ สังคมล่าสัตว์ (Hunting and Gathering Society) พวกเขาจะสร้างที่พักชั่วคราว มีลักษณะเป็นเพิง สร้างจากไม้ไผ่ ขนาดของเพิงจะขึ้นอยู่ กับจ�ำนวนสมาชิกแต่ละครอบครัว โดยจะสร้างส่วนท้ายทีพ่ กั เป็นส่วนทีส่ งู หน้าทีพ่ กั จะ ลาดต�่ำ เวลานอนมลาบรีจะนอนท่าตะแคงเอาหูแนบพื้น สันนิษฐานว่าใช้ประโยชน์ใน การฟังเสียงของสัตว์ และคนเดินหรือศัตรูที่จะเข้ามาในบริเวณที่พัก จ�ำนวนสมาชิกที่ จะอาศัยอยู่ในบริเวณหนึ่ง ๆ จะมีจ�ำนวน ๒ - ๓ ครอบครัวต่อหนึ่งพื้นที่ หรือประมาณ ๑๐ - ๑๕ คน แล้วอย่างนัน้ บ้านมลาบรีมไี หม อยูต่ รงไหน ค�ำตอบคือ ป่าคือบ้าน บ้านคือป่า ป่าทัง้ ผืนไม่มขี อบเขต แต่เป็นเสรีแห่งการใช้ชวี ติ อยูก่ บั ป่า ชาวมลาบรียดึ มัน่ ในประเพณี ของตนโดย จะไม่ยอมรับแบบแผนในการเป็นผูผ้ ลิตท�ำการเกษตร เพราะเชือ่ ว่าผิดผี แต่ เมือ่ ยุคสมัยเปลีย่ นไปพีน่ อ้ งชาวมลาบรี ต้องหยุดวิถชี วี ติ แบบเดิมจนหมดสิน้ เพราะป่าถูก ขีดขอบเขตให้กลายเป็นของรัฐชาติ เกิดการสร้างพืน้ ทีเ่ ขตอุทยาน เขตป่าสงวน เพือ่ รักษา นิเวศและป่าต้นน�้ำ พี่น้องมลาบรีถูกจัดสรรที่อยู่ (ชุมชนจัดตั้ง) และเขาสู่กระบวนการ สงเคราะห์ สร้างงาน และรายได้ ทีส่ ำ� คัญคือการให้การศึกษาแก่เยาวชน เดา เมลืองไพร คือผลผลิตทางการศึกษาและถือเป็น Generation รุน่ ใหม่ทจี่ บการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน เดา มีภาพฝันและมีความคิดทีอ่ ยากจะมีบา้ นชักหลังให้ครอบครัว ความฝันนัน้ เดาแบกไว้ใน ใจมานานถึง ๗ ปี เขียนมาถึงตรงนี้ เชือ่ ว่าทุกคนคงจะเห็นภาพทีม่ าของการสานฝันบ้าน ของเดา ว่ามีความเป็นมาเป็นไปอย่างไร โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์น่านตอนนั้นด�ำเนินงานโครงการพัฒนาทักษะการ ด�ำรงชีวิตนักเรียนชนเผ่ามลาบรี (ภายใต้กรอบงานสนองพระราชด�ำริฯ องค์สมเด็จ พระเทพฯ) การจัดการศึกษาส�ำหรับเด็กชนเผ่าชาวมลาบรี ได้มีเครือข่ายองค์กรจิต อาสาของจังหวัดน่านประชุมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันแสวงหาหาแนวทางเพื่อ เป็นทางเลือกทีเ่ หมาะสมต่อการพัฒนาชนเผ่ามลาบรีอย่างยัง่ ยืนและมีศกั ดิศ์ รีความเป็น มนุษย์ การจัดการศึกษาแก่เด็กกลุ่มนี้ต้องจัดเป็นโครงการพิเศษ เช่น การจัดหลักสูตร สาระเพิ่มเติมเฉพาะได้แก่หลักสูตรทักษะการด�ำรงชีวิตนักเรียนชนเผ่ามลาบรี การจัด แผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individual Education Plan : IEP) มีครูการศึกษาพิเศษ ประจ�ำ การจัดครูดูแลและพัฒนาทักษะการด�ำรงชีวิตที่เหมาะสม การจัดบ้านพักอาศัย เฉพาะพร้อมพื้นที่บริเวณการฝึกอาชีพเพื่อหารายได้ การจัดแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและ ภายนอกสถานศึกษาสร้างประสบการณ์ชีวิตแก่เด็ก รวมทั้งเปิดโอกาสให้เด็กได้กลับ เยี่ยมบ้านช่วงวันหยุดได้บ่อยขึ้นเพื่อเรียนรู้ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมชนเผ่าต่อเนื่อง

98 ชาติพันธุ์น่านศึกษา


การจัดหาทุนสนับสนุนการเรียนต่อระดับที่สูงขึ้นตามศักยภาพแต่ละบุคคล ทั้งนี้โดยมี เครือข่ายองค์กรและชุมชนให้ความร่วมมือสนับสนุน เช่น การจัดแม่ทนู หัว (แม่บญ ุ ธรรม) จากการคัดเลือกของเหล่ากาชาดเข้ามาดูแลช่วยเหลืออย่างใกล้ชิดสร้างความรัก ความ อบอุน่ การให้คำ� ปรึกษาแนะน�ำตลอดระยะเวลาช่วงการเรียนจนจบหลักสูตรรวมทัง้ การ ประกอบอาชีพในอนาคต

อย่างไรก็ตามจากการศึกษาภาพว่างานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในขณะ ช่วงปีการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๔ ถึงปี พ.ศ.๒๕๕๐ ยังเป็นระบบที่ไม่ชัดเจนและการจัดเก็บ ข้อมูลในขนาดนั้นสูญหายจึงไม่สามารถหาหลักฐานข้อมูลที่ต่อเนื่องและชัดเจน

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

99


ปีการศึกษา ๒๕๕๑ มีนกั เรียนชนเผ่ามลาบรีเข้าศึกษาต่อทัง้ หมดจ�ำนวน ๑๔ คน ก�ำลังเรียนอยูใ่ นระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๕ จ�ำนวน ๑ คน , ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ จ�ำนวน ๘ คน และ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ จ�ำนวน ๕ คน ล�ำดับที่

ชื่อ – สกุล

ชั้น

วันเข้าเรียน

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔

เด็กชายเดา เมลืองไพร เด็กหญิงพิน สุชนคีรี เด็กหญิงลาย สุชนคีรี เด็กชายสุวิทย์ ไพรนิวาส เด็กหญิงดารา ไพรนิวาส เด็กหญิงบรา สุชนคีรี เด็กหญิงเชาว์ เมลืองไพร เด็กหญิงเดือน หิรัญคีรี เด็กหญิงสุริตา หิรัญคีรี เด็กหญิงวาน สุชนคีรี เด็กหญิงดาว สุชนคีรี เด็กหญิงเดือน สุชนคีรี เด็กหญิงนูน หิรัญคีรี เด็กหญิงแน่น หิรัญคีรี

ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๑ ป.๕ ม.๑/๑ ม.๑/๑ ม.๑/๑ ม.๑/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๑ ม.๑/๑ ม.๑/๑ ม.๑/๑ ม.๑/๑

๑๖ พ.ค. ๕๐ ๑๖ พ.ค. ๕๐ ๑๖ พ.ค. ๕๐ ๑๖ พ.ค. ๕๐ ๑๖ พ.ค. ๕๐ ๑๖ พ.ค. ๕๐ ๑๖ พ.ค. ๕๐ ๑๖ พ.ค. ๕๐ ๒๘ ต.ค. ๕๑ ๒๘ ต.ค. ๕๑ ๒๘ ต.ค. ๕๑ ๒๘ ต.ค. ๕๑ ๒๘ ต.ค. ๕๑ ๒๘ ต.ค. ๕๑

พักบ้าน หลังที่ ๔ ๓ ๓ ๕ ๓ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๓ ๒ ๓ ๒

หมายเหตุ

จากการศึกษาของผู้ศึกษา ไม่สามารถตรวจย้อนหลังข้อมูลช่วงปี พ.ศ.๒๕๕๒ ถึง พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้ข้อมูลหายไปจากระบบ

100ชาติพันธุ์น่านศึกษา


รายชื่อนักเรียนชนเผ่ามลาบรี เข้าเรียนในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์น่านปีการศึกษา ๒๕๕๔ ล�ำดับที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙

ชื่อ – สกุล เด็กหญิงนงคราญ หิรัญคีรี เด็กหญิงดาว ศรีชาวป่า เด็กหญิงแอน หิรัญคีรี เด็กหญิงจันทร์สลี เมลืองไพร เด็กหญิงพัน สุชนคีรี เด็กหญิงกาน หิรัญคีรี เด็กหญิงก๊ะ สุชนคีรี เด็กหญิงดวงจันทร์ ไพรนิวาส นางสาวแนน หิรัญคีรี

๑๐

นางสาวนูน หิรัญคีรี

๑๑

นายเดา เมลืองไพร

ชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๖/๒ ประถมศึกษาปีที่ ๖/๒ มัธยมศึกษาปีที่ ๑/๑ มัธยมศึกษาปีที่ ๑/๑ มัธยมศึกษาปีที่ ๑/๑ มัธยมศึกษาปีที่ ๒/๑ มัธยมศึกษาปีที่ ๒/๑ มัธยมศึกษาปีที่ ๒/๑ มัธยมศึกษาปีที่ ๔/๒ (ปวช.) มัธยมศึกษาปีที่ ๔/๒ (ปวช.) มัธยมศึกษาปีที่ ๕/๑

หมายเหตุ

ขอย้ายสถานศึกษา ขอย้ายสถานศึกษา ปัญหาครอบครัว/การ ยอมรับตัวเอง

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

101


รายชื่อนักเรียนชนเผ่ามลาบรี ที่เรียนอยู่โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ล�ำดับที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒

ชื่อ-สกุล นายเดา เมลืองไพร ชื่อเล่น เดา นางสาวกาน หิรัญคีรี ชื่อเล่น เข็ม นางสาวดวงจันทร์ ไพรนิวาส ชื่อเล่น ก้อย นางสาวลลิตา สุชนคีรี ชื่อเล่น ฝน นางสาวแอ๋ว สุชนคีรี ชื่อเล่น ตาล เด็กหญิงฟองจันทร์ ศรีพนาสุข ชื่อเล่น ฟ้า เด็กหญิงจันทร์สลี เมลืองไพร ชื่อเล่น อ้อย เด็กหญิงแอน หิรัญคีรี ชื่อเล่น ผึ้ง เด็กหญิงนา ดอยศักดิ์ ชื่อเล่น น�้ำชา เด็กหญิงพัน สุชนคีรี ชื่อเล่น มิว เด็กหญิงนงคราญ หิรัญคีรี ชื่อเล่น มิ้นต์ เด็กหญิงดาว ศรีชาวป่า ชื่อเล่น น�้ำ

แยกเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ แยกเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ แยกเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ แยกเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑

102ชาติพันธุ์น่านศึกษา

มีทั้งหมด ๑ คน มีทั้งหมด ๔ คน มีทั้งหมด ๕ คน มีทั้งหมด ๒ คน

ชั้น ม.๖/๑ ม.๓/๑ ม.๓/๑ ม.๓/๑ ม.๓/๑ ม.๒/๑ ม.๒/๑ ม.๒/๑ ม.๒/๑ ม.๒/๑ ม.๑/๑ ม.๑/๑

หมายเหตุ


รายชื่อนักเรียนชนเผ่ามลาบรี ที่เรียนอยู่โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ ล�ำดับที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓

ชื่อ-สกุล นางสาวลลิตา สุชนคีรี นางสาวกาน หิรัญคีรี นางสาวแอ๋ว ศรีชาวป่า เด็กหญิงพัน สุชนคีรี เด็กหญิงจันทร์ชลี เมลืองไพร เด็กหญิงนา สุชนศีรี นางสาวดวงจันทร์ ไพรนิวาส เด็กหญิงดาว ศรีชาวป่า เด็กหญิงนงคราญ หิรัญคีรี นายสมบูรณ์ ดอยศักดิ์ เด็กหญิงหลู่ หิรัญคีรี เด็กชายวิ่ง หิรัญคีรี เด็กหญิงอ้อม ศรีชาวป่า

ชั้น ปวช.๑ ปวช.๑ ปวช.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๑ ม.๓/๑ ม.๓/๑ ม.๒/๑ ม.๒/๑ ม.๒/๑ ป.๖ ป.๖ ป.๕

หมายเหตุ

สรุป นักเรียนชนเผ่ามลาบรี ปีการศึกษา ๒๕๕๖ มีทั้งหมด ๑๓ คน แยกเป็น - นักเรียนชาย จ�ำนวน ๒ คน - นักเรียนหญิง จ�ำนวน ๑๑ คน

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

103


รายชื่อนักเรียนชนเผ่ามลาบรี ที่เรียนอยู่โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ล�ำดับที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑

ชื่อ – สกุล เด็กหญิงดาว ศรีชาวป่า เด็กหญิงนงคราญ หิรัญคีรี นายสมบูรณ์ ดอยศักดิ์ เด็กหญิงเบรียน สุชนคีรี เด็กหญิงดุษดี ศรีพนาสุข เด็กชายลัง สุชนคีรี เด็กหญิงหลู่ หิรัญคีรี เด็กชายวิ้ง หิรัญคีรี เด็กชายอรมพรรณ ดอยศักดิ์ เด็กหญิงอ้อม ศรีชาวป่า เด็กชายพจน์ ไพรนิวาส

ชั้น ม.๓/๑ ม.๓/๑ ม.๓/๑ ม.๒/๑ ม.๒/๑ ม.๑/๑ ม.๑/๑ ม.๑/๑ ป.๖ ป.๖ ป.๖

สรุป นักเรียนชนเผ่ามลาบรี ปีการศึกษา ๒๕๕๗ มีทั้งหมด ๑๑ คน แยกเป็น - นักเรียนชาย จ�ำนวน ๕ คน - นักเรียนหญิง จ�ำนวน ๖ คน

104ชาติพันธุ์น่านศึกษา

หมายเหตุ


รายชื่อนักเรียนชนเผ่ามลาบรี ที่เรียนอยู่โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ (ปีปัจจุบันที่ศึกษา) ชื่อ – สกุล ชื่อเล่น หมู่โลหิต ว/ด/ป เกิด อายุ เผ่า ก�ำลังเรียนชั้น ที่อยู่ ชื่อบิดา ชื่อมารดา ชื่อ – สกุล ชื่อเล่น หมู่โลหิต ว/ด/ป เกิด อายุ เผ่า ก�ำลังเรียนชั้น ที่อยู่ ชื่อบิดา ชื่อมารดา

เด็กหญิงนงคราญ หิรัญคีรี โอ A ๑ มกราคม ๒๕๕๗ ๑๔ มลาบรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๑ บ้านห้วยหยวก นายสมศักดิ์ ศรีพนาสุข อาชีพ ท�ำไร่ นางดา หิรัญคีรี อาชีพ ท�ำไร่

เด็กชายพจน์ ไพรนิวาส พจน์ A ๒๓ มกราคม ๒๕๔๔ ๑๒ มลาบรี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ บ้านห้วยหยวก นายเซ็ง ไพรนิวาส อาชีพ นางหล้า สุชนคีรี อาชีพ

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

ท�ำไร่ ท�ำไร่

105


ชื่อ – สกุล ชื่อเล่น หมู่โลหิต ว/ด/ป เกิด อายุ เผ่า ก�ำลังเรียนชั้น ที่อยู่ ชื่อบิดา ชื่อมารดา

ชื่อ – สกุล ชื่อเล่น หมู่โลหิต ว/ด/ป เกิด อายุ เผ่า ก�ำลังเรียนชั้น ที่อยู่ ชื่อบิดา ชื่อมารดา

106ชาติพันธุ์น่านศึกษา

เด็กชายสมบูรณ์ ดอยศักดิ์ บูรณ์ A ๑ มีนาคม ๒๕๔๒ ๑๔ มลาบรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ บ้านห้วยหยวก นายทรงวุฒ ดอยศักดิ์ อาชีพ ท�ำไร่ นางจอย ศรีพนาสุข อาชีพ ท�ำไร่

เด็กชายลัง สุชนคีรี ลัง A ๑ เมษายน ๒๕๔๔ ๑๓ มลาบรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ บ้านห้วยหยวก นายลอง สุชนคีรี นางน้อย สุชนคีรี

อาชีพ ท�ำไร่ อาชีพ ท�ำไร่


ชื่อ – สกุล เด็กชายอมรพันธ์ ดอยศักดิ์ ชื่อเล่น สองบาท หมู่โลหิต A ว/ด/ป เกิด ๘ ธันวาคม ๒๕๔๔ อายุ ๑๓ เผ่า มลาบรี ก�ำลังเรียนชั้น ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ที่อยู่ บ้านห้วยหยวก ชื่อบิดา นายทรงวุฒ ดอยศักดิ์ อาชีพ ท�ำไร่ ชื่อมารดา นางจอย ศรีพนาสุข อาชีพ ท�ำไร่

ชื่อ – สกุล ชื่อเล่น หมู่โลหิต ว/ด/ป เกิด อายุ เผ่า ก�ำลังเรียนชั้น ที่อยู่ ชื่อบิดา ชื่อมารดา

เด็กหญิงวิ้ง หิรัญคีรี วิ้ง A ๑ มกราคม ๒๕๔๔ ๑๓ มลาบรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ บ้านห้วยหยวก นายวงศ์ หิรัญคีรี นางเจี้ยง ไพรนิวาท

อาชีพ ท�ำไร่ อาชีพ ท�ำไร่

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

107


ชื่อ – สกุล ชื่อเล่น หมู่โลหิต ว/ด/ป เกิด อายุ เผ่า ก�ำลังเรียนชั้น ที่อยู่ ชื่อบิดา ชื่อมารดา ชื่อ – สกุล ชื่อเล่น หมู่โลหิต ว/ด/ป เกิด อายุ เผ่า ก�ำลังเรียนชั้น ที่อยู่ ชื่อบิดา ชื่อมารดา

108ชาติพันธุ์น่านศึกษา

เด็กหญิงหลู่ หิรัญคีรี หลู่ A ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๔ ๑๓ มลาบรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ บ้านห้วยหยวก นายสมศักดิ์ ศรีพนาสุข นางดา หิรัญคีรี

อาชีพ ท�ำไร่ อาชีพ ท�ำไร่

เด็กหญิงอ้อม ศรีชาวป่า อ้อม A ๒๗ เมษายน ๒๕๔๒ ๑๒ มลาบรี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ บ้านห้วยหยวก นายพจน์ ศรีชาวป่า อาชีพ ท�ำไร่ นางเสาวนีย์ ศรีชาวป่า อาชีพ ท�ำไร่


ชื่อ – สกุล ชื่อเล่น หมู่โลหิต ว/ด/ป เกิด อายุ เผ่า ก�ำลังเรียนชั้น ที่อยู่ ชื่อบิดา ชื่อมารดา

ชื่อ – สกุล ชื่อเล่น หมู่โลหิต ว/ด/ป เกิด อายุ เผ่า ก�ำลังเรียนชั้น ที่อยู่ ชื่อบิดา ชื่อมารดา

เด็กหญิงดุษฎี ศรีพนาสุข ดุษฎี A ๒๑ เมษายน ๒๕๔๓ ๑๔ มลาบรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ บ้านห้วยหยวก นายกล้วย ศรีพนาสุข อาชีพ ท�ำไร่ นางหนิง ศรีพนาสุข อาชีพ ท�ำไร่

เด็กหญิงดาว ศรีชาวป่า น�้ำ A ๒๕ สิงหาคม ๒๕๔๒ ๑๔ มลาบรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ บ้านห้วยหยวก นายพจน์ ศรีชาวป่า อาชีพ ท�ำไร่ นางเสาวนีย์ ศรีชาวป่า อาชีพ ท�ำไร่

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

109


ชื่อ – สกุล ชื่อเล่น หมู่โลหิต ว/ด/ป เกิด อายุ เผ่า ก�ำลังเรียนชั้น ที่อยู่ ชื่อบิดา ชื่อมารดา

110ชาติพันธุ์น่านศึกษา

เด็กหญิงเบรียน สุชนคีรี เบรียน A ๑ มกราคม ๒๕๔๓ ๑๔ มลาบรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ บ้านห้วยหยวก นายจง สุชนคีรี อาชีพ ท�ำไร่ นางเกี๊ยง เมลืองไพร อาชีพ ท�ำไร่


ปัญหา/อุปสรรคในการใช้ชีวิต ภายในรั้วโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์น่านของนักเรียนชนเผ่ามลาบรี ๑. นักเรียนมักถูกเพื่อนล้อในเรื่องชนเผ่า ๒. นักเรียนมีกลิ่นตัวที่รุนแรงท�ำให้ไม่เป็นที่ยอมรับของเพื่อน ๓. นักเรียนไม่ชอบการเรียน อาจเกิดจากการอายที่ถูกเพื่อนล้อ ๔. นักเรียนมักมีข้อต่อรองเสมอเมื่อครูให้ท�ำอะไร ๕. นักเรียนจะมีความสนใจในสิ่งที่ครูให้ท�ำต�่ำหรือไม่ให้ความสนใจเลย ๖. นักเรียนมักไม่เข้าร่วมกิจกรรมของทางโรงเรียน หากกิจกรรมนั้นมีคน พลุกพล่าน ๗. นักเรียนไม่ยอมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เข้ากับสังคมภายนอกได้ ๘. นักเรียนมลาบรีเวลาไม่ชอบอะไรมักจะต่อต้าน เช่น ไม่ชอบเรียนวิชาภาษาไทย มักจะชวนกันไม่เข้าเรียนทั้งหมด ๙. นักเรียนมลาบรีอาจจะไม่เข้าใจในเรื่องความสะอาด ๑๐.นักเรียนมักจะพยายามขอกลับบ้านทุกครั้งที่มีโอกาส สรุปการปฏิบัติงานการดูแลนักเรียนชนเผ่ามลาบรี

ทางบวก ๑. นักเรียนมลาบรีให้ความเชื่อใจและกล้าที่จะพูดคุยปรึกษากับผู้ดูแล ๒. นักเรียนมลาบรีมคี วามกล้าแสดงออกในการแสดง (วันเข้าพรรษา วัดบุญยืน) ๓. นักเรียนมลาบรีรักความเป็นกลุ่มของชนเผ่าของตนเอง ๔. นักเรียนมลาบรีกตัญญูตอ่ บิดามารดา (อยากกลับไปช่วยบิดามารดาท�ำงาน) ทางลบ (ปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไข) ๑. นักเรียนมลาบรีไม่สามารถที่จะปรับตัวเข้ากับบุคคลทั่วไปได้ ๒. นักเรียนมลาบรีมีการพัฒนาในทางลบมากกว่าทางบวก ๓. นักเรียนมลาบรีไม่ปฏิบัติตามกฎของโรงเรียน ๔. นักเรียนมลาบรีไม่ชอบเข้าเรียน เพราะวิถีวิตและอีกส่วนหนึ่งเพื่อนร่วม ห้องเรียนล้อเลียนในด้านชนเผ่า ชาติพันธุ์น่านศึกษา

111


๕. นักเรียนมลาบรีไม่มีพื้นฐานความสนใจในด้านการเรียนเท่าที่สมควร จึงส่ง ผลให้ทางด้านผลสัมฤทธิข์ องการเรียนของนักเรียนมลาบรีมผี ลสัมฤทธ์ทางการเรียน ทีต่ ำ่� ๖. นักเรียนมลาบรีโดนล้อเรื่องชนเผ่า ๗. นักเรียนมลาบรีไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นของคนอื่น ๘. นักเรียนมลาบรีชอบหลบหนีจากโรงเรียน เพื่อพยายามที่จะกลับบ้าน (โดยอ้างว่าจะกลับไปช่วยงานที่บ้าน) ๙. นักเรียนไม่เรียนรู้การพัฒนาจากสังคมภายนอกได้ ๑๐.นักเรียนมลาบรีชอบทีจ่ ะต่อรองกับครูเพือ่ ทีจ่ ะได้สงิ่ ทีต่ นเองต้องการก่อน ที่จะปฎิบัติงานตามที่ครูได้มอบหมายให้

ตอนที่ ๒ : ความผูกพัน จากครูถึงศิษย์ สู่วิถีการให้ที่งดงาม การให้อย่างมีคุณค่าและมีความหมาย.....เราเรียนรู้จากการให้โดยไม่หวังผล ตอบแทนกันอย่างไร......การเรียนรูแ้ ละสร้างสมดุลให้สงั คมน่านของเราน่าอยูแ่ ละงดงาม

การจั ด การศึ ก ษาแก่ เ ยาวชนมลาบรี ถื อ เป็ น หั ว ใจส� ำ คั ญ ของการสร้ า ง ความเข็ ม แข็ ง และการพึ่ ง ตนเองให้ ไ ด้ สิ่ ง ที่ ย ากกว่ า คื อ กระบวนการในการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนที่ ต ้ อ งเป็ น ไปตามสภาพฐานของผู ้ เรี ย น ...บวกกั บ ความจริ ง จั ง และความจริ ง ใจของทุ ก ภาคส่ ว นนายเดา เมลื อ งไพร เป็ น นั ก เรี ย น ที่ มี ค วามสนใจในการเล่ น ดนตรี เ ป็ น พิ เ ศษ ซึ่ ง ในขนาดที่ ศึ ก ษาอยู ่ นั้ น เดา ได้ รั บ ความเมตตา และการดู แ ลจากครู ผู ้ ส อนดนตรี คุ ณ ครู สุ ร นั น ทร์ ลิ้ ม มณี ครูปฏิบัติหน้าที่สอนดนตรี โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์น่านในขนาดนั้น เดา ได้พัฒนา ตนเองและได้เป็นนักร้อง นักดนตรี ของวงศ์ดนตรีประจ�ำโรงเรียนมีโอกาสฝึกฝน ตนเอง และได้เล่นดนตรีตอ่ สาธารณชนหลายครัง้ ดนตรีทำ� ให้เดาโดดเด่นเป็นทีย่ อมรับ

112ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ของเพื่อนนักเรียนรุ่นเดียวกันและนักเรียนต่างชาติพันธุ์ เดาจึงดูโดดเด่นกว่ามลาบรี คนใด ณ ขณะที่ก�ำลังศึกษาอยู่ในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์น่าน ความฝั น ของเดา หลั ง กลั บ ไปบ้ า นตั ว เองเมื่ อ จบการศึ ก ษา ในระดั บ ชั้ น มัธยมศึกษาปีที่ ๖ แล้วนัน้ คือการสร้างบ้านทีต่ นฝันไว้ให้สำ� เร็จ แต่มนั ยาก บ้าน ? ความหมาย ของบ้านคุณคิดว่ามันคืออะไร ? ส�ำหรับ นายเดา เมลืองไพร ศิษย์เก่าจากโรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ ๕๖ เขาว่ามันคือความฝันที่ไกลจากความจริง ที่ความหมายที่ ดูเรามองข้ามคือมันไม่ใช่ความหมายทางวัตถุ ตัวอาคาร แต่มันคือ ความผูกพัน ความ อบอุ่น ความปลอดภัย ความรัก ด้วยความรักความผูกพัน ของศิษย์กับครู น�ำโดย คุณครูสรุ นันทร์ ลิม้ มณี ในเครือข่ายคนขุนเขา และคณะครูนกั เรียน โรงเรียนราชประชา นุเคราะห์ ๕๖ ร่วมระดมทุน ก�ำลังกายเข้าไปช่วยสานฝันให้เดาให้ส�ำเร็จ โดยการเข้าไป สร้างบ้านให้กับเดา ทางโรงเรียนมีแนวนโยบายแนวคิดจาก ท่านผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียน จ.ส.อ. เสวก ฉุนหอม จะว่าจ้างให้ตัวเดามาท�ำงานเป็นเจ้าหน้าที่ในโรงเรียน เพื่อจะหาโอกาสในการ พัฒนาและแหล่งทุนเพื่อให้นายเดา เหลืองไพร ได้ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

113


แต่ด้วยข้อจ�ำกัดของตัวเดา เองที่ได้มีครอบครัวและมีลูก อีกทั้งภาระที่ต้องเลี้ยงดู พ่อแม่ จึงท�ำให้เดาไม่สามารถที่จะเข้ามาท�ำงานตามค�ำของโรงเรียนที่พยายามดึงเดากลับมา ในครั้งนั้น

ตอนที่ ๓ : จุดยืน และศักดิ์ศรี มลาบรี เราคือคนไม่ใช่ผี ชุมชนมลาบรี ชุมชนมีชีวิต หรือชุมชนจัดตั้ง กับ ศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ มลาบรี จึงเป็นผลสะท้อนให้เราเห็น มิติความผันแปร ของการพัฒนาสังคมไทยที่ส่งผลกระทบ ในระยะกว้างและเป็นผลกระทบที่เชื่อมโยงหลายปัจจัย หลายสาเหตุ ของระบบสังคม ผลกระทบทีห่ นักและรุนแรง ต่อเนื่องคือระบบนิเวศน์สิ่งแวดล้อมที่ส่งต่อความผันแปร ในประเด็นปัญหาอื่น ๆ เราได้เห็นการขาดความสมดุล ในการพั ฒ นาทรั พ ยากรธรรมชาติ การท� ำ ลายล้ า ง โดยเงื่อนไข และข้อจ�ำกัดมายหมายของเกษตรกร และการบีบอัดและการกดทับของ ชาติพันธุ์ชายขอบ มลาบรี ที่แทบตกขอบออกจากสังคมแห่งยุคสมัย ความหมายเดียว ป่าไม้พงไพรคือชีวิตที่ยิ่งใหญ่ นั่นก็คือป่าแห่งชีวิตอันเป็นบ่อเกิดแห่งสรรพสิ่งส�ำคัญ มากกว่าอื่นใด มันคือ บ้าน ของพี่น้อง มลาบรี และวันนี้ทุกอย่างดูเหมือนจะสายเกินไป ตลกร้ายที่สุดที่เราเห็นในบทเรียนนี้ มลาบรี เขาท�ำลายบ้านตนเองด้วยสองมือของเขา โดยไม่มีทางเลือกอื่นใด การส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วทาง วัฒนธรรมที่หมู่บ้านแห่งนี้ด้วย เพราะมี นักท่องเทีย่ วเข้ามาบ่อยครัง้ ประเด็นการส่ง เสริมการท่องเทีย่ วเป็นเหมือนดาบสองคม หากไม่มีการเตรียมการและศึกษากันให้ดี เพราะการท่องเที่ยวมาพร้อมกับทุนนิยม มาพร้ อ มกั บ สิ่ ง ข้ า งนอกอย่ า งหลี ก เลี่ ย ง ไม่ได้ ...หากมองตามจริงก็เป็นเรื่องที่ดี หากจะมีการคิดบริหารจัดการการท่องเที่ยว โดยชุมชน (Community Based Tourism) เพื่อให้ชุมชนที่เป็นเจ้าของทรัพยากร ทุน ทั้งหมด ได้ตัดสินบริหารจัดการ การท่องเที่ยวด้วยตนเอง และในแนวคิดการท่องเที่ยว

114ชาติพันธุ์น่านศึกษา


โดยชุมชน การท่องเที่ยวลักษณะนี้ ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน ไม่ว่าจะเป็นการปะทะ สังสรรค์ทางวัฒนธรรมระหว่างเจ้าบ้านและผูม้ าเยือน เกิดการแลกเปลีย่ น เรียนรูซ้ งึ่ กัน และกัน เกิดการอนุรักษ์ทรัพยากร การฟื้นฟูองค์ความรู้พื้นถิ่นของมลาบรีเอง ผมได้อ่านรายงานศึกษาของ ศรีพร สมบุญธรรม (๒๕๓๗) ได้สรุปรายงานของ Lynda Thorn ; Alister Mathieson and Geoffrey Wall ถึงการประเมินผลกระทบ ทางสังคมและวัฒนธรรมจากการท่องเที่ยว พบว่าปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทาง วัฒนธรรมจากการท่องเที่ยว ได้แก่ ๑) การปรับปรุงสภาพแวดล้อมของคนในชุมชน เป็นผลให้เกิดการปรับตัวทาง วัฒนธรรมจากการท่องเที่ยวเพื่อให้เกิดความเหมาะสม ๒) การติดต่อสื่อสารระหว่างคนที่มาจากสังคมที่ต่างกัน อาจก่อให้เกิดความ เปลี่ยนแปลงด้านทัศนคติ ค่านิยม พฤติกรรม ฯลฯ ทั้งต่อผู้มาเยือนละเจ้าของชุมชน นั้น ๆ ๓) การเปลีย่ นแปลงตามพัฒนาการของสังคม ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการ การปรับตัวเพือ่ ตอบสนองต่อความเปลีย่ นแปลงทัง้ จากภายในสังคมและการเปลีย่ นแปลง ทีม่ าจากภายนอก น่าเป็นห่วงครับ! หากการพัฒนาของรัฐที่ไม่เข้าใจ ที่พยายามจะยัดเยียดการ ท่องเที่ยวแบบกระแสหลักเข้าไป ชาวบ้านได้รับผลประโยชน์น้อย หรือไม่ก็จัดการ ท่องเทีย่ วทางเลือกอืน่ ๆ แต่ “ขาดการมีสว่ นร่วมของชุมชน” การเข้าใจในกระบวนการ จัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่แท้จริง การท่องเทีย่ วจึงเป็นประเด็นทีล่ ะเอียดอ่อน อยากให้คดิ ให้รอบด้านก่อนทีจ่ ะใช้ กิจกรรมการท่องเที่ยวจะส่งเสริมและพัฒนาชุมชน

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

115


ตอนที่ ๔ : ชุมชนคู่ขนาน ห้วยหยวก ห้วยฮ่อม (จังหวัดแพร่) ชุมชนภูฟ้าและชุมชนทางเลือก ห้วยลู่ ชุมชนจัดตั้งที่ ๑ โดยกลุ่มองค์กร พัฒนาเอกชนจากต่างประเทศ ชุมชน บ้านห้วยฮ่อม จังหวัดแพร่ การลดลงของพื้นที่ป่าไม้อันเนื่อง มาจากสัมปทานป่าและการขยายพื้นที่ เพาะปลูกในปี พ.ศ.๒๕๑๙ ม้งได้เริ่มจ้าง แรงงานมลาบรีเข้ามาท�ำงานในไร่ โดย จ่ายค่าจ้างเป็นสิง่ ของและอาหาร มลาบรี ก็เข้ามาท�ำงานให้ม้งในระยะสั้น ๆ หลังงานเสร็จ มลาบรีก็ท่องป่าย้ายที่อยู่ไปที่อ่ืน แต่ก็ยังวนเวียนอยู่ตามป่าเขาใกล้กับหมู่บ้านม้งในดอยขุนสถาน ดอยภูเค็งตามรอยต่อ แพร่-น่าน ต่อมาเมื่อความต้องการแรงงานเพิ่มสูงขึ้น มลาบรีเห็นว่าได้อาหารและสิ่ง ตอบแทนจากม้งง่ายกว่าหาอาหารตามป่า ซึ่งถูกรุกรานจากบริษัทที่ได้สัมปทานป่าไม้ ก็เริ่มเข้ามาเป็นแรงงานในไร่ม้งเพิ่มขึ้น ช่วงปี พ.ศ.๒๕๒๔ - ๒๕๓๔ กลุ่มองค์กรพัฒนา เอกชนจากต่างประเทศและกลุ่มมิชชันนารี เข้ามาศึกษาวิถีชีวิตและอยู่ร่วมกับชนเผ่า ตองเหลืองในประเทศไทย และพบว่ามลาบรีมักถูกกลุ่มอิทธิพลไม้เถื่อนข่มขู่ บ้างก็ถูก กดขีเ่ อารัดเอาเปรียบ ด้านแรงงานจากชนกลุม่ อืน่ บ้างก็ประสบปัญหาจากนักท่องเทีย่ ว และข้าราชการทีเ่ ข้าเยีย่ มพืน้ ทีต่ ลอดเวลา นายบุญยืนซึง่ เป็นตัวแทนกลุม่ องค์กรดังกล่าว ได้เข้ามาช่วยพัฒนาชีวติ ความเป็นอยู่ และช่วยให้มลาบรีอา่ นออกเขียนได้ โดยรวบรวม มลาบรีมาตัง้ บ้านเรือนอยูร่ วมกันเป็นกลุม่ ในบริเวณเชิงเขาใกล้บา้ นของตนและครอบครัว มีครอบครัว มลาบรีอพยพไป ๆ มา ๆ ระหว่างเขตจังหวัดแพร่และน่าน

116ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ประวัติความเป็นมาของชุมชนเผ่าตองเหลือง “มลาบรี” บ้านบุญยืน (ห้วยฮ่อม) หมู่ที่ ๑๓ ต.บ้านเวียง อ.ร้องกวาง จ.แพร่ หมู ่ บ ้ า นของชนเผ่ า มละ (บุญยืนเรียกมลาบรี ออกเสียงว่า มละ) ปั จ จุ บั น อาศั ย อยู ่ ใ นพื้ น ที่ ของคุ ณ บุ ญ ยื น สุ ข เสน่ ห ์ หรื อ Mr Eugene Robert Long ซึง่ เป็น มิชชันนารีชาวอเมริกา ที่เข้ามา เผยแพร่ศาสนาเมื่อหลายสิบปีที่ แล้ ว เนื่ อ งจากสมั ย ก่ อ นชนเผ่ า มละ อาศัยอยู่ในพื้นที่ของชนเผ่า ม้งที่อ�ำเภอสอง อ�ำเภอบ้านหลวง และ อ�ำเภอเวียงสา (ลักษณะเป็นเขตติดต่อแนวป่า ตามสันเขา ที่ถือเป็นเส้นทางเดินป่าของพี่น้องมลาบรีในอดีตถึงปัจจุบัน) จังหวัดแพร่ ท�ำงานรับจ้างให้กับคนม้ง บ้างก็ได้ข้าวสาร อาหารแห้ง บ้างท�ำงานทั้งปีได้แค่หมูตัว เดียวก็มี กระทั่งวันหนึ่งมีผู้สื่อข่าวได้ไปเจอะวิถีความเป็นอยู่ของชนเผ่า มละ เข้า แล้ว ได้ท�ำการถ่ายและเผยแพร่ข่าวความเป็นอยู่ของชนเผ่า มละ ออกไป ท�ำให้สังคมได้รับ รู้ขณะเดียวกันเป็นช่วงเวลาที่คุณบุญยืน สุขเสน่ห์ ได้มาปักหลักอยู่ในหมู่บ้านห้วยฮ่อม พอดี เมื่อบุญยืนได้เห็นวิถีความเป็นอยู่ของพี่น้องชนเผ่ามละ จึงเกิดความสงสารและ อยากช่วยเหลือชนเผ่า มละ เพือ่ ให้มชี วี ติ ความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ จึงไปชักชวนให้ ชนเผ่า มละ จากที่ ท� ำ งานรั บ จ้ า งอยู ่ กั บ ชนเผ่ า ม้ ง ลงมาอยู ่ กั บ เขาโดยให้ ม าอยู ่ อ าศั ย ในพื้ น ที่ ที่คุณบุญยืนได้จับจองไว้ จนคุณบุญยืนได้ให้ความช่วยเหลือพี่น้องชนเผ่า มละ ในเรื่อง ความเป็นอยู่ต่าง ๆ ช่วงแรกมีชนเผ่า มละ ลงมาใช้ชวี ติ อยูก่ บั บุญยืนไม่กคี่ รอบครัว แต่เมือ่ อยูน่ าน เข้าชนเผ่า มละ เกิดความกลัว กลัวโน่นกลัวนี่ กลัวผู้คนที่เข้ามาเยี่ยมดูพวกเขา หรือไม่ ชินกับสถานทีห่ รือวิถกี ารใช้ชวี ติ ข้างล่าง ทนอยูไ่ ม่ไหวจึงตัดสินใจย้ายกลับไปอยูใ่ นพืน้ ที่ เดิมอีกรอบหนึ่ง แต่เมื่อกลับไปอยู่ในพื้นที่เดิมรับจ้างก็ได้รับค่าตอบแทนที่ไม่เพียงพอ ต่อ การด�ำรงอยู่ของพวกเขา หรือเมื่อมีคนไม่สบายก็ไม่ได้เข้ารับการรักษาที่ดีพอ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

117


จึงตัดสินใจย้ายลงมาอยู่กับ คุณบุญยืน อีกรอบ เมื่ออยู่ได้ไม่กี่เดือนก็ย้ายกลับไปอีก แล้วก็ยา้ ยมาอีกเป็นแบบนีเ้ รือ่ ย ๆ หลายรอบ เมือ่ พวกเขารูส้ กึ ชินกับผูค้ น ชินกับสถานที่ จึงได้ปักหลักอยู่ในหมู่บ้านของคุณบุญยืนเรื่อยมา และเมื่อมีที่อยู่ที่คิดว่ามั่นคงแล้วก็มี การชักชวนเพือ่ น ๆ หรือญาติจากที่ อืน่ มาอยูด่ ว้ ยเช่น กลุม่ ทีอ่ ยูใ่ นไร่สวนของคนม้งบ้าง หรือจากอ�ำเภอนาหมื่น อ�ำเภอสอง จังหวัดแพร่ หรือบางกลุ่มก็มาจากอ�ำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน จนประชากรของชนเผ่ามละก็เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อเข้ามาอยู่ครั้งแรกชนเผ่า มละ ยังมีการท�ำเพิงพักแบบที่พวกเขาอาศัยอยู่ในป่า โดยผู้หญิงชนเผ่า มละ จะเป็น คนหาไม้ หาตองมาสร้างเพิงพักเอง ส่วนผู้ชายก็เข้าไปหาผึ้ง ล่าสัตว์ เป็นต้น เมื่อเวลา นานเข้าก็เริม่ มีการสร้างบ้านใหม่โดยใช้หญ้าคา หรือบางบ้านก็ใช้บล็อกก่อ มุงกระเบือ้ ง บางส่วนได้รับความช่วยเหลือจากคุณบุญยืนและบางส่วนก็มีรายได้จากการไปรับ จ้างท�ำงานให้กบั คนข้างนอก เช่น คนม้ง หรือพืน้ ราบ จนมาสร้างบ้านใหม่ ทีค่ งทน ถาวร ในเวลาต่อมา เวลานานเข้าชนเผ่า มละ ทีแ่ ห่งนีเ้ ริม่ มีคนเพิม่ มากขึน้ เรือ่ ย ๆ จนถึงปัจจุบนั ปี พ.ศ.๒๕๕๘ มีชนเผ่า มละ ในหมูบ่ า้ นของบุญยืน รวม ๓๙ ครอบครัว ๒๘ หลังคาเรือน ๑๕๕ คน

ข้อมูลจาก ชุมชนเผ่าตองเหลือง (มลาบรี) บ้านบุญยืน หมู่ ๑๓ ต.บ้านเวียง อ.ร้องกวาง จ.แพร่

ผู้ให้ข้อมูล • • • • •

นายวีระ ศรีชาวป่า นางสาวพิณ ศรีชาวป่า นางสาวนลิการณ์ ชาวพนาไพร นางดวงพร น�้ำใจคีรี น้องๆ เยาวชน น้องใหม่ น้องหนึ่ง น้องอัมรา และน้องแก้วตา

118ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ชุมชนจัดตั้งที่ ๒ โดยภาครัฐ ชุมชนบ้านห้วยหยวก หมู่ที่ ๕ อ�ำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ในขณะเดียวกันนัน้ ที่ ทางคุณบุญยืน พัฒนาชุมชนมลาบรีในจังหวัดแพร่อยูน่ น้ั ในส่วนทางการในพื้นที่จังหวัดน่านมีปัญหาความขัดแย้งระหว่างชุมชนลุ่มน�้ำกับ ชาวมลาบรีมีการเดินขบวนปะท้วงไม่พอใจอย่างกว้างขวาง โดยข้ออ้างคือ การตั้งศูนย์ พัฒนาเป็นเขตต้นน�้ำ จึงขอให้มีพื้นที่ใหม่มารองรับ แล้วอพยพโยกย้ายมลาบรีออกจาก ศูนย์พัฒนา อ�ำเภอบ้านหลวง เป็นการปิดฉากความล้มเหลวของโครงการพัฒนาและ อนุรักษ์เผ่าตองเหลืองที่ด�ำเนินงานมาเป็นเวลานานถึง ๕ ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๗ ถึงปี พ.ศ.๒๕๔๑ภาครัฐในพื้นที่จังหวัดน่าน ต่อมามีการออกส�ำรวจหาพื้นที่เหมาะสมเพื่อ เริ่มโครงการพัฒนาอีกครั้ง จนมาได้ข้อสรุปบริเวณพื้นที่บ้านห้วยหยวก ต�ำบลแม่ขะนิง อ�ำเภอเวียงสามีการจัดตัง้ "หมูบ่ า้ นตองเหลือง" โดยแบ่งออกเป็น ๕ คุม้ ชุมชนตองเหลือง เป็นคุ้มที่ ๕ ของหมู่บ้านห้วยหยวก ชุมชนจัดตั้ง ห้วยหยวก ชนเผ่ามลาบรี (ตองเหลือง) หมู่ที่ ๕ บ้านห้วยหยวก ต�ำบลแม่ขะนิง อ�ำเภอ เวียงสา จังหวัดน่าน ชุมชนมลาบรี เป็นชุมขนหนึ่งในหมู่บ้านห้วยหยวก ต�ำบลแม่ขะนิง อ�ำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน เป็นชุมชนทีร่ ฐั จัดหาให้ โดยการขอแบ่งพืน้ ทีช่ มุ ชนเดิม (ม้ง) ผู้น�ำหมู่บ้านและ ผู้น�ำชุมชน นายชาติชาย โชติธนภัทร ต�ำแหน่ง ผูใ้ หญ่บา้ น นายศรี หิรญั ศรี ต�ำแหน่ง ผูน้ ำ� ชุมชน สภาพ ปัจจุบัน จ�ำนวนครัวเรือน ๓๑ ครัวเรือน จ�ำนวนประชาชน ๑๗๕ คน แยกเป็น เด็กชาย ๔๑ คน เด็กหญิง ๕๒ คน ผู้ใหญ่ชาย ๓๘ คน ผู้ใหญ่หญิง ๔๘ คน ประชากร ชาย ๗๙ คน ประชากรหญิง ๑๐ คน อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านปางเป๋ย หมูท่ ี่ ๖ ต�ำบลสะเนียน อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านห้วยนางิ้ว หมู่ที่ ๗ ต�ำบลแม่ขะนิง อ�ำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านใหม่ในฝัน หมู่ที่ ๑๒ ต�ำบลสะเนียน อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน ทิศตะวันตก ติดต่อกับ เขตอ�ำเภอ บ้านหลวง จังหวัดน่าน ชาติพันธุ์น่านศึกษา

119


สภาพชุมชนมลาบรี สภาพทัว่ ไปและสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ทีต่ งั้ ชุมชนมลาบรี ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ ๖ บ้านห้วยหยวก ต�ำบลแม่ขะนิง อ�ำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ห่างจากอ�ำเภอเวียงสา ประมาณ ๘๐ กิโลเมตร พื้นที่ชุมชนมลาบรี มีทั้งหมด ๑๕๐ ไร่ ภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นที่ราบสูง สภาพป่าไม้เป็นป่าโปร่งและป่า ไม้ถูกท�ำลายลงเป็นจ�ำนวนมาก เนื่องจากการขยายพื้นที่ในการท�ำไร่ข้าวโพดมากขึ้น ท�ำให้ดินเกิดการทรุดตัวหลายพื้นที่ เพราะไม่มีต้นไม้ใหญ่ช่วยยึดหน้าดินไว้ในฤดูแล้ง จะขาดแคลนน�้ำเป็นช่วง ๆ ภูมิอากาศ เป็นแบบร้อนชื้น ๑. ล�ำน�้ำห้วยหยวก ๒. แหล่งน�้ำซึมจากป่าด้านบนของชุมชน เชื้อชาติประชากร ชาวชุมชนมลาบรี ได้สญ ั ชาติไทยเมือ่ ประมาณ ปีพ.ศ. ๒๕๔๑ จึงมีเชือ้ ชาติไทย สัญชาติไทย อาชีพของชาวบ้าน ๑. อาชีพหลักของประชากร ท�ำไร่ข้าวและข้าวโพด วัชพืชเถาเลื้อยใบกว้าง ตระกูลถั่ว ๒. อาชีพเสริมของประชากร รับจ้างทั่วไป

120ชาติพันธุ์น่านศึกษา


การนับถือศาสนา แต่ เ ดิ ม ชาวบ้ า นในชุ ม ชน มลาบรี นั บ ถื อ ผี ต ามบรรพบุ รุ ษ ของตน ต่อมามีมิชชันนารีเข้ามา เผยแพร่ศาสนา ที่สอนให้ชาวบ้าน มองอะไรเป็นรูปธรรมมากขึ้น การ เจ็บป่วยก็ให้กินยาแทนที่จะกราบ ไหว้ผีสางแทน มิชันนารีในช่วงแรกเข้ามาอยู่และใช้ชีวิตฝังตัวอยู่ในชุมชนเป็นระยะ เวลานาน ปัจจุบันมีอาจารย์สอนศาสนาแทนที่มิชชันนารี ส�ำหรับการท�ำพิธีทาง ศาสนาคริสต์ จะท�ำกันในวันเสาร์กลางคืน ๑ ครัง้ และวันอาทิตย์ทำ� พิธี ตัง้ แต่ ๐๙.๐๐– ๑๒.๐๐ นาฬิกา ประเพณีและความเชื่อ การเกิด - อดีต เมื่อ ผู้หญิงในชุมชนใกล้จะคลอดก็จะไปคลอดยังที่ห่างไกลจากที่อยู่ อาศัย โดยบางครัง้ จะมีผหู้ ญิงไปช่วยท�ำคลอดให้ ผูห้ ญิงบางคนก็จะไปคลอดคนเดียวก็มี ส่วนผู้ชายไม่ให้เข้าไปในระหว่างที่ผู้หญิงคลอดลูก ผู้ชายก็จะออกไปล่าสัตว์ในป่าเพื่อ เป็นอาหาร เมื่อ เด็กคลอดออกมาแล้วก็จะใช้ เสี้ยนไม้ที่แหลม ๆ มาตัดสะดือของเด็ก จากนั้นก็ใช้ใบตองหรือเปลือกปอที่เตรียมไว้ห่อตัวเด็ก ส่วนรกของเด็กจะฝังไว้ในดิน จากนัน้ แม่กจ็ ะอุม้ เด็กกลับไปยังทีอ่ ยูอ่ าศัย เมือ่ ผูห้ ญิงคลอดลูกเสร็จจะไม่มกี ารอยูก่ รรม ก็จะท�ำงานเบา ๆ เช่น ตักน�้ำต้มอาหาร แต่อยู่ประมาณ ๒ - ๓ วันก็สามารถออกไป ท�ำงานหนักหรือเดินทางไปไกล ๆ ได้โดยหอบเอาลูกไปไร่ด้วย - ปัจจุบัน ผู้หญิงส่วนมากจะคลอดลูกเองที่บ้านโดยมีผู้หญิงหลาย ๆ คนมา ช่วยในการท�ำคลอดบางรายก็ไปคลอดที่โรงพยาบาล การตั้งชื่อ / การเรียกชื่อ นามสกุล - อดีต ชนเผ่ามลาบรี เดิมที่มีนามสกุลใช้ เช่น นามสกุล อิเมท, อิบราว , ฉุตุ๊ แต่มาปัจจุบันไม่ได้มีการใช้สกุลเดิม การสืบความเครือญาติหรือความเป็นพี่น้องก็จะ ใช้การถามเอา เมื่ออยู่รวมกันหลายครอบครัวจะมีการถามชื่อ สามีหรือภรรยา พ่อแม่ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

121


หรือปู่ย่าตายายในการเรียงล�ำดับ และการเสาะหาญาติพี่น้องกันเนื่องจากอยู่ในป่ามี ครอบครัวอื่นอาศัยอยู่ด้วยกัน เรื่องการเรียกชื่อบุตรนั้นก็จะมีชื่อบิดา ต่อท้ายทุกคน ซึ่งจะท�ำให้รู้ว่าเป็นบุตรของใคร ส่วนเรื่องล�ำดับของบุตรนั้นก็จะสามารถรู้ได้ว่าเป็นลูก คนที่เท่าไร โดยการสอบถามเช่นกัน - ปัจจุบัน ชนเผ่ามลาบรี ไม่ได้ใช้นามสกุลดั้งเดิมกันแล้ว ต่างก็ได้ตั้งชื่อ และนามสกุลใหม่ โดยทางมิชชันนารีที่เคยอยู่ด้วยกันมากับชนเผ่ามลาบรีเป็นผู้ตั้งให้ เช่น ศรีชาวป่า คอยศักดิ์ การตาย - อดีต สมัยก่อนถ้ามีคนตายในชุนชนเผ่ามลาบรี ก็จะน�ำร่างของผูต้ ายไปไว้หา่ ง จากทีท่ พี่ วกเขาอาศัยอยู่ ไม่มปี า่ ช้าส�ำหรับฝังรวมส�ำหรับฝังรวม เพราะต้องย้ายไปย้ายมา คนเสียที่ไหนก็เอาใบตองห่อและทิ้งไว้แบบนั้น ไม่มีการขุดหลุมฝัง เพียงเอาใบตองมา ปิดร่างผู้ตายไว้อย่างหนาแน่นและสวยงาม มีการน�ำก้อนหินมาเรียงรอบ ๆ ศพผู้ตาย แล้วก็มีผู้เฒ่ามาน�ำสวดวิญญาณให้ หลังจากที่อยู่อาศัยเดิมมีคนตาย ก็จะมีการเปลี่ยน ที่อยู่อาศัยใหม่ไปอยู่อีกที่หนึ่ง - ปัจจุบัน สมัยนี้เมื่อมีคนตายในชุมชนมลาบรีก็จะไปฝังที่ป่าช้าของชุมชน ซึ่งเป็นที่ดินของชาวเขาเผ่าม้งที่อนุญาตให้น�ำศพไปฝังที่นั้นได้ตามประเพณีของคริสต์ การละเล่น - อดีต ในสมัยก่อนขนเผ่ามลาบรีไม่มีของเล่นหรือการละเล่นเป็นของตนเอง เนือ่ งจากกลัวว่าคนอืน่ จะได้ยนิ จะมีกค็ อื การน�ำเถาวัลย์มาผูกกับต้นไม้แล้วท�ำเป็นชิงช้า ให้กบั เด็กเล่น ต่อมาก็ได้นำ� ของเล่นทีเ่ ด็กชาวเขาเผ่าม้ง และ เผ่าเย้าเล่นกันมาท�ำเล่นกัน บ้าง เช่น ปืนกระบองไม้ไผ่ ไม้โกงกาง เป็นต้น - ปัจจุบัน ก็มีน�ำของเล่นเหมือนกับเด็กชนเผ่าอื่นมาเล่นกัน เช่น ปืนเด็กเล่น ตุ๊กตา รถของเล่น เป็นต้น การล่าสัตว์ - อดีต ในสมัยก่อนชนเผ่ามลาบรี ไม่รู้จักการท�ำกับดักสัตว์ แต่จะใช้วิธีการล่า โดยใช้ไม้แหลมหรือหอก ในการล่าสัตว์จะใช้วิธีดังชุ่มและแทนด้วยหอกของมีคมที่พวก เขามีหน้าที่ในการล่าสัตว์จะเป็นหน้าที่ของผู้ชายมลาบรีโดยเฉพาะ - ปัจจุบัน เวลาไปล่าสัตว์จะใช้ปืนลูกซองแทน ไม้แหลม หรือ หอก

122ชาติพันธุ์น่านศึกษา


การนับวัน เดือน ปี ชนเผ่ามลาบรีจะไม่มกี ารนับวัน เดือน ปี แต่จะใช้วธิ กี ารสังเกตจากความเป็นไป ของธรรมชาติ เช่น ฤดูรอ้ น จะสังเกตจากการทีผ่ งึ้ ออกไปหาน�ำ้ หวาน ฤดูหนาว สังเกตจาก การทีใ่ บไม้เปลีย่ นสี ฤดูฝนสังเกตจากอาการทีแ่ ปรเปลีย่ นอย่างรวดเร็ว เช่น บางครัง้ เย็น บางครั้งร้อน บางครั้งมีฝนปรอย ๆ ส่วนการดูเวลาจะสังเกตจากพระอาทิตย์ ภาษาชนเผ่ามลาบรี ชนมลาบรี มีภาษาพูดของตนเองมาตัง้ แต่สมัยบรรพบุรษุ แต่ไม่เคยมีตวั อักษร ใช้มาปัจจุบนั ได้นำ� ภาษาไทยมาใช้เขียนโดยเทียบเคียงกับการออกเสียงภาษาของชนเผ่า มลาบรี การแต่งงาน - ในสมัยก่อนชนเผ่ามลาบรี ไม่มกี ารท�ำพิธกี รรมอะไรเวลาหนุน่ สาวจะแต่งงาน กัน หากว่าหนุ่มสาวชอบพอกัน ทางฝ่ายชายก็จะให้พ่อแม่มาพูดคุย เจรจากับพ่อแม่ ของฝ่ายหญิง เมื่อครอบครัวของทั้งสองฝ่ายรับรู้และต่างตกลงปลงใจกัน ผู้ชายก็จะ พาผู้หญิงไปปลูกบ้านอยู่อีกที่หนึ่งได้เลย โดยก่อนที่ผู้ชายจะขอสาวไปอยู่กับเขานั้น พ่อและแม่ของทั้ง ๒ ฝ่ายก็จะมีการกล่าวอวยพรให้กับบ่าวสาวทั้งคู่ เมื่อทุกอย่างเสร็จ ทั้งสองก็จะไปใช้ชีวิตอยู่ด้วยกัน ขณะเดียวกันเมื่อผู้หญิงแต่งงานแล้วต้องเปลี่ยนชื่อ ตามสามี เช่น สามีชื่อ อารี ฝ่ายหญิงชื่ออะไรก็ตามแต่จะต้องเพิ่มค�ำว่า ยะ เข้า ไปน�ำ หน้าชือ่ และตาม ด้วยชือ่ ของสามี อย่างกรณีนฝี้ า่ ยหญิงต้องเปลีย่ นชือ่ ตามสามีกจ็ ะเป็น ยะอารี เป็นต้น ค�ำว่ายะ ทีเ่ ป็นค�ำน�ำหน้าชือ่ ของภรรยานัน้ หมายความว่า ผูเ้ ป็นภรรยา นัน่ เอง “ยะอารี ก็คอื ภรรยาของอารี เป็นต้น และหากมีลกู ด้วยกันจะมีการตัง้ ชือ่ ตามพ่อ เช่น พ่อชื่ออารี ลูกก็จะชื่ออีลี่ อีตี้ เป็นต้น - ปัจจุบนั เผ่ามลาบรีกย็ งั ใช้การแต่งงานแบบสมัยก่อน ไม่มกี ารขอสินสอดทาง หมั้น ไม่มีการหมั้น หรือการจัดงานแต่งที่สิ้นเปลือง เป็นลักษณะง่าย ๆ คือการเอาญาติ พี่น้องของทั้งสองฝ่ายมาพูดคุยกัน หากทั้งสองรักกันและ พ่อแม่ไม่ขัดข้อง ทั้งสองก็ถือ ได้ว่าเป็นสามีภรรยานับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ข้อห้ามของชนเผ่ามลาบรีในการแต่งงาน - ห้ามแต่งงานกับเครือญาติเดียวกันไม่ว่ากี่ยุคหรือกี่ชั่วโคตร หากรู้ว่าเป็น เครือญาติกนั ก็จะไม่มกี ารแต่งงานกันอีก ทัง้ ในสมัยก่อนชนเผ่ามลาบรี ไม่มกี ารส่งเสริม ให้ลกู หลานของตนเผ่าตนไปแต่งงานกับชนเผ่าหรือเชือ้ ชาติอนื่ เพราะกลัวว่าคนอืน่ เขา จะรังเกียจชนเผ่าของตน ชาติพันธุ์น่านศึกษา

123


เครื่องดนตรี - สมัยก่อนชนเผ่ามลาบรีมีเครื่องดนตรีที่ใช้กันอยู่ยามว่าง เช่น การเป่าใบไม้ เป็นเพลง การน�ำกระบอกไม้ไผ่มาท�ำเป็นกลอง แล้วตีเป็นจังหวะ การจีบสาว - อดีต การจีบสาวของชนเผ่าในสมัยก่อนเป็นลักษณะการพูดคุยกัน หรือผูช้ าย หากชอบหญิงสาวใดก็จะไปช่วยหาเผือกหามันมาให้ครอบครัวของหญิงสาว หรือเมื่อ หนุ่มชอบสาวคนไหนเวลาจะหาอาหารไกล ๆ หลายวันก็จะมีการฝากของที่ระลึกไว้ให้ กับหญิงสาว เมือ่ กลับมาแล้ว หญิงสาว ยังเก็บของระลึกทีห่ นุม่ ฝากไว้โดยไม่เอาทิง้ หรือ ยังไม่ได้แต่งงานกับใคร แสดงว่าหญิงสาวคนนั้นก็รักและชอบตอบด้วย เมื่อต่างคนต่าง มีความรัก และชอบพอก็จะน�ำไปสู่การขอแต่งงาน - ปัจจุบัน วิธีการจีบสาวกันของหนุ่มสาวในชุมชนมลาบรี เกิดจากความพอใจ ทัง้ สองฝ่ายถ้าชอบพอกันก็จะไปอยูด่ ว้ ยกัน หรือลักลอบได้เสียกันก่อนแล้วถึงจะบอกให้ พ่อแม่พี่น้องรับรู้กัน ความเชื่อชนเผ่ามลาบรี - อดีต ในสมัยก่อนชนเผ่ามลาบรี เป็นชนเผ่าหนึง่ ทีม่ คี วามเชือ่ เกีย่ วกับสิง่ ต่าง ๆ ไม่วา่ ภูตผี วิญญาณ ป่าเขา หรือ ธรรมชาติ สัตว์ปา่ เมือ่ เกิดโรคภัยไข้เจ็บก็จะมีการท�ำพิธี เรียกขวัญหรือท�ำพิธขี อขมายังทีท่ คี่ ดิ ว่าเขาได้ไปล่วงเกิน หรือลบหลูโ่ ดยไม่ได้ลว่ งรูม้ าก่อน ก็จะมีผเู้ ฒ่าผูแ้ ก่จะท�ำห่วงกลม ๆ โดยใช้ไม้ไผ่หลายห่วง แล้วไปท�ำพิธบี ริเวณนัน้ ๆ โดยมี การกล่าวบทสวดเล็กน้อยหรือเวลามีคนไม่สบายเป็นหนักลุกไปไหนไม่ไหว ก็จะมีผเู้ ฒ่าผูแ้ ก่ ใช้ยาสมุนไพร รักษาให้หรือบางที่ก็ใช้คาถาเป่าสิ่งชั่วร้ายให้ออกไปจากร่าง โดยคาถาที่ ใช้ก็จะเป็นภาษาของชนเผ่ามลาบรี - ปัจจุบนั เรือ่ งการรักษาโดยการใช้ยาสมุนไพรได้เลือนหายไป ท�ำให้คนหลายคน ไม่รู้จักสมุนไพรที่เคยใช้มากันแต่อดีต ไม่สบายก็ไปอนามัย ไปโรงพยาบาล ใช้ยาแผน ปัจจุบนั ความเชือ่ เรือ่ งสิง่ เร้นลับ ผี วิญญาณ สมัยก่อนชนเผ่ามลาบรี มีความเชือ่ เกีย่ วกับ ผีหรือวิญญาณอยู่บ้าง เวลามีคนไม่สบายก็เชื่อว่าต้องไปท�ำอะไร ให้กับเจ้าที่เจ้าทาง แน่นอน ก็จะมีการท�ำพิธแี ก้หรือตอนทีอ่ าศัยอยูใ่ นป่าบ้างก็จะมีการสุมกองไฟให้สว่างไว้ เพื่อข่มวิญญาณหรือสร้างความมั่นใจและความอบอุ่นให้กับตนเอง

124ชาติพันธุ์น่านศึกษา


การถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการใช้ชีวิตในป่ากับเด็กในสมัยก่อน เมื่อ ครั้งที่ชนเผ่ามลาบรี ใช้ชีวิตอยู่ในป่า เมื่อพ่อแม่มีการเข้าป่าไปหาอาหาร จากป่า จะไม่ทิ้งลูกให้อยู่ในเพียงล�ำพังต้องพาลูกเข้าป่าไปด้วย เพราะเกรงว่าจะมีคน หรือสัตว์ป่ามาท�ำร้ายได้ขณะที่เข้าป่าหาของกิน พ่อแม่ก็สอนวิธีการหาของป่าโดยการ ท�ำให้ดู และบอกว่าสิ่งไหนกินได้สิ่งไหนกินไม่ได้ เป็นวิธีที่สอนให้ลูกเรียนรู้การใช้ชีวิต อยู่ในป่า สมัยก่อนของกินบางอย่างที่ไม่รู้ว่ากินได้หรือไม่นั้น จะเสี่ยงกินโดยผู้ใหญ่ จะ ท�ำให้รู้ว่าอาหารป่าอย่างไรไหนกินได้อย่างไหนกินไม่ได้ ความช�ำนาญในเรื่องการหา ของกินจากป่า เป็นสิ่งที่ได้เรียนรู้และบอกต่อกันมาเรื่อย ๆ เมื่อหาของกินจากป่ามาได้ ก็จะมีการแบ่งให้กับครอบครัวที่หาไม่ได้หรือหาได้น้อยไม่พอกิน เป็นการช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน หากว่าของกินที่หามาได้เหลือก็จะมีการถนอมไว้เพื่อกินมื้อต่อไป วิธีการถนอมอาหารของชนเผ่ามลาบรี การถนอมหัวเผือกหัวมัน เมื่อเหลือก็น�ำมาเผาเพื่อท�ำให้หัวเผือก หัวมันแห้ง จะช่วยในการรักษารสชาติของอาหารได้ เพราะถ้าถึงเทีย่ ง ๆ หากไม่ได้มกี ารเผาหัวเผือก หัวมันไว้ก่อน หัวเผือกหัวมันที่ได้มาจะมีรสชาติเปลี่ยนไปกินไม่อร่อย การถนอมกล้วย ถ้าหากได้กล้วยยังไม่สุกก็จะท�ำการขุดหลุมแล้วฝังกล้วยไว้ในดิน ด้วยความอุ่น เป็นต้น อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของชนเผ่ามลาบรี ซึ่งส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่แต่เดิมที่เคยเป็นชนเผ่าเร่ร่อน กลับต้องถูก จ�ำกัดพื้นที่ท�ำให้เกิดความยากล�ำบากในการเข้าถึงทรัพยากรเพิ่มขึ้น ทั้งยังต้องแย่งชิง ทรัพยากรกับชนเผ่าที่มีอิทธิพลเหนือกว่าในพื้นที่เช่น พี่น้องม้ง ในพื้นที่จนเกิดความ ขัดแย้งในทีส่ ดุ มลาบรีกต็ อ้ งกลายเป็นแรงงานรับจ้างท�ำไร่ให้กบั ม้ง พร้อมสภาวะปัญหา มากมายทั้งเรื่องหนี้สินการเอารัดเอาเปรียบ โดยมลาบรีขาดทักษะในการปรับตัวกับ โครงสร้างเงื่อนไขใหม่นี้ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลสั่นคลอนโครงสร้างความเชื่อ ดั้งเดิมในรูปแบบต่าง ๆ ท�ำให้ภาครัฐ และโครงการพัฒนาสงเคราะห์ต่าง ๆ หันกลับมา ทบทวนและหาทางออกในการบริหารจัดการกับพี่น้องมลาบรีใหม่อีกครั้ง

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

125


ชุมชนจัดตั้งที่ ๓ แผนการพัฒนาพื้นที่สูง ในโครงการพระราชด�ำริฯ ต�ำบลภูฟ้า อ�ำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ความเป็นมา จัดตัง้ เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล เมือ่ วันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๐ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ ๑๑๓ หมูท่ ี่ ๓ บ้านผาสุข ต�ำบลภูฟา้ อ�ำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ตัง้ อยูท่ างทิศใต้ ของอ�ำเภอบ่อเกลือ ระยะทางจากอ�ำเภอบ่อเกลือ มีระยะทางประมาณ ๒๒ กิโลเมตร เป็นทีต่ งั้ ของต�ำหนักทรงงานของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี คือ ศูนย์ภูฟ้าพัฒนาและพัฒนาและเป็นพื้นที่ในโครงการพระราชด�ำริ การคมนาคมติดต่อ กับจังหวัดได้ ๒ ทาง คือ ๑. จากจั ง หวั ด น่ า น-อ� ำ เภอปั ว -อ� ำ เภอบ่ อ เกลื อ -ต� ำ บลภู ฟ ้ า ระยะทาง ๑๒๖ กิโลเมตร ๒. จากจังหวัดน่าน-อ�ำเภอสันติสขุ -อ�ำเภอบ่อเกลือ (บ้านผักเฮือก) ต�ำบลภูฟา้ ระยะทาง ๑๐๘ กิโลเมตรและติดต่อตลาดการค้าชายแดน กับอ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ประมาณ ๙๐ กิโลเมตร ปัจจุบันพื้นที่ “ภูฟ้า” เป็นที่ตั้งของโครงการพระราชด�ำริฯ คือ “ศูนย์ภูฟ้า พัฒนาฯ” ซึ่งเป็นโครงการที่มีส่วนพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่คนท้องถิ่นในพื้นที่ทั้ง อ.บ่อเกลือ และอ�ำเภอใกล้เคียง คือ อ.เฉลิมพระเกียรติ อ.บ่อเกลือ เดิมเรียกว่า เมืองบ่อ ซึง่ หมายถึง บ่อน�ำ้ เกลือสินเธาว์ทมี่ อี ยูใ่ นพืน้ ทีซ่ งึ่ เดิมมีอยูจ่ ำ� นวน ๙ บ่อ เมืองบ่อเดิมทีเป็น ชุมชนขนาดใหญ่ มีความส�ำคัญมาตัง้ แต่ในอดีตกาล ปรากฏหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ ตามพงศาวดารเมืองน่าน มีค�ำเล่าขานของผู้เฒ่าผู้แก่ว่าเดิมทีนั้นบรรพบุรุษของชาว บ่อเกลือ อยู่ที่ประเทศมองโกเลียและประเทศจีน หนี้ลี้ภัยมาทางแม่น�้ำเหลืองเข้าสู่ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทางประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวไม่อนุญาตให้อาศัยอยู่ได้ จึงพากันข้ามแม่น�้ำโขงมาอาศัยอยู่ที่เมือง เชียงแสน แล้วย้ายมาหักร้างถางพงท�ำเกลืออยู่ที่นี่ ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของชาวบ่อหลวง ในปัจจุบันนั่นเอง ดังนั้นชุมชนบริเวณนี้จึงได้เกิดขึ้นและด�ำรงอยู่มาจนถึงปัจจุบันนี้ อาณาเขตติดต่อ

126ชาติพันธุ์น่านศึกษา


๑. ทิศเหนือ ติดต่อกับพื้นที่ ต�ำบลบ่อเกลือใต้ อ�ำเภอบ่อเกลือ ๒. ทิศตะวันออก ติดต่อกับพื้นที่ เมืองเพียง แขวงไซยะบูลี สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ๓. ทิศใต้ ติดต่อกับพื้นที่ ต�ำบลแม่จริม อ�ำเภอแม่จริม และต�ำบลพงษ์ อ�ำเภอ สันติสุข ๔. ทิศตะวันตก ติดต่อกับพื้นที่ ต�ำบลบ่อเกลือใต้ อ�ำเภอบ่อเกลือ เนื้อที่ ต�ำบล ภูฟ้ามีเนื้อที่ประมาณ ๒๐๔.๓๐ ตารางกิโลเมตร หรือ ๑๒๗,๖๘๗.๕ ไร่ (พื้นที่ตั้งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติดอยภูคาและเขตป่าสงวนแห่งชาติ) การคมนาคม ใช้เส้นทาง ทางหลวงแผ่นดินในการติดต่อกับจังหวัดน่าน โดยใช้เส้นทาง อยู่ ๒ เส้นทาง คือ ๑. ทางหลวงหมายเลข ๑๒๕๖ อ�ำเภอปัว-อ�ำเภอบ่อเกลือระยะทาง ๔๘ กิโลเมตร ทางหลวงหมายเลข ๑๐๘๐ อ�ำเภอปัว-จังหวัดน่าน ระยะทาง ๖๐ กิโลเมตร ๒. ทางหลวงจากจังหวัดน่าน-อ�ำเภอสันติสุข-อ�ำเภอบ่อเกลือ ระยะทาง ๙๒ กิโลเมตร สภาพภูมิประเทศ พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นภูเขาสูงสลับซับซ้อน พืน้ ทีล่ าดชันมาก มีทรี่ าบลุม่ เพือ่ ท�ำการ เกษตร (ท�ำนา) เพียงร้อยละ ๒ เท่านั้น สภาพป่าเป็นพื้นที่ป่าต้นน�้ำที่ยังคงความอุดม สมบูรณ์อยู่บ้าง มีแม่นำ�้ ส�ำคัญไหลผ่าน ๓ สาย คือแม่น�้ำวา แม่นำ�้ มาง และแม่นำ�้ ปัน พื้นที่รับผิดชอบ จ�ำนวนหมูบ่ า้ นในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลภูฟา้ เต็มทัง้ หมูบ่ า้ น มีจำ� นวน ๖ หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ ๑ บ้านนากอก หมู่ ๒ บ้านห่างทางหลวง หมู่ ๓ บ้านผาสุข หมู่ ๔ บ้านสบมาง หมู่ ๕ บ้านห้วยล้อม หมู่ ๖ บ้านห้วยลอย ชาติพันธุ์น่านศึกษา

127


จ�ำนวนประชากร หมู่ ตาบล ชนเผ่า

จานวน บ้าน/กลุ่ม บ้าน ครัวเรือน ครอบครัว ชาย

จานวนประชากร หญิง เด็กชาย เด็กหญิง

รวม(คน)

1 ภูฟา้

ถิ่น

นากอก

80

80

115 123

52

54

344

2 ภูฟา้

ถิ่น

ห่างทาง หลวง

168

168

220 225 190

185

820

3 ภูฟา้

ถิ่น

ผาสุข

130

130

130 137

80

93

440

3 ภูฟา้ มลาบรี

ศูนย์ภฟู ้า พัฒนา

15

15

20

21

9

12

62

4 ภูฟา้

ถิ่น

สบมาง

56

56

80

75

47

43

245

5 ภูฟา้

ถิ่น

ห้วยล้อม

150

150

180 185 120

115

600

6 ภูฟา้

ถิ่น

ห้วยลอย

112

112

183 160

40

42

425

6 ภูฟา้

ม้ง

ห้วยลอย

1

1

-

-

2

6/1

712

712

544

2,938

รวม

1

1

929 927 538

ชุมชน มลาบรี ในการดาเนินการในตามโครงการพระราชดาริฯ ได้ดาเนินการไม่น้อยกว่า ๘ ปีมาแล้วมี การเริ่มต้นด้วยนาเยาวชนคนรุน่ ใหม่มลาบรีรว่ มโครงการวิจยั พัฒนาคุณภาพชีวติ และพัฒนาเป็นชุมชนต่อมา โดยเยาวชนส่วนใหญ่มาจากหลายทิศทางทัง้ จากหมูบ่ า้ นของบุญยืน(ห้วยฮ่ อม จังหวัดแพร่ ) และจากชุมชน ห้วยหยวก เยาวชนส่วนใหญ่สาเร็จการศึกษาภาคบังคับ และการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน โดยมีการตัง้ บ้านเรือน ๑๕ หลังคา มีสมาชิกทัง้ หมด ๖๒ คนโดยเป้าหมายเพื่อมุง่ เน้น ความยั่งยืนในการพัฒนาชีวติ ของมลาบรี ชุมชนจัดตัง้ ที่ ๒ โดยภาครัฐ ชุมชนบ้านห้วยลู่ หมูท่ ี่ ๕ ตาบลสะเนียน อาเภอเมือง ห้วยลู่ พืน้ ทีช่ มุ ขนจัดตัง้ ของพีน่ ้อง มลาบรี หรือ มละบริ เป็นศูนย์ศึกษาพัฒนาการเรียนรูค้ ุณภาพชีวติ ชนเผ่าม ลาบรี บ้านห้วยลู่ ตาบลสะเนียน อาเภอเมืองจังหวัดน่าน กรมป่าไม้ได้พฒ ั นาถวายพืน้ ที่ แก่สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อใช้ในการศึกษา หรือวิจยั ในทางวิชาการ ศูนย์เรียนรูเ้ พื่อพัฒนาคุณภาพ ชีวติ ขุนน้าสะเนียน ห้วยลู่ เนือ้ ที่ 1,915 ไร่ พระองค์จงึ พระราชดาริการให้พนื้ ที่ และพัฒนาคุณภาพชีวติ ของ พี่น้องมลาบรี ชาติพอันย่ธุา์นงเป็ ่านศึนระบบ กษา มีการทานาข้าว การเลีย้ งปลา ปลูกพืชผักสวนครัว การจัดการในรูปสหกรณ์ ร้านค้าในชุมชน ชุมชนบ้านห้วยลูจ่ งึ เป็นความหวังของพี่นอ้ งมลาบรี เพื่อศึกษาสภาพชุมชน และครัวเรือนชน

128


ชุ ม ชนมลาบรี ในการด� ำ เนิ น การใน ตามโครงการพระราชด�ำริฯ ได้ด�ำเนินการ ไม่น้อยกว่า ๘ ปีมาแล้วมีการเริ่มต้นด้วย น�ำเยาวชนคนรุ่นใหม่มลาบรีร่วมโครงการ วิจัย พัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาเป็น ชุมชนต่อมาโดยเยาวชนส่วนใหญ่มาจากหลายทิศทางทั้ง จากหมู่บ้านของบุญยืน (ห้วยฮ่อม จังหวัดแพร่) และจากชุมชนห้วยหยวก เยาวชนส่วนใหญ่ส�ำเร็จการศึกษา ภาคบังคับ และการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมีการตั้งบ้านเรือน ๑๕ หลังคา มีสมาชิก ทั้งหมด ๖๒ คนโดยเป้าหมายเพื่อมุ่งเน้น ความยั่งยืนในการพัฒนาชีวิตของมลาบรี ชุมชนจัดตัง้ ที่ ๒ โดยภาครัฐ ชุมชนบ้านห้วยลู่ หมูท่ ี่ ๕ ต�ำบลสะเนียน อ�ำเภอเมือง ห้วยลู่ พืน้ ทีช่ มุ ขนจัดตัง้ ของพีน่ อ้ ง มลาบรี หรือ มละบริ เป็นศูนย์ศกึ ษาพัฒนาการเรียนรู้ คุณภาพชีวติ ชนเผ่ามลาบรี บ้านห้วยลู่ ต�ำบลสะเนียน อ�ำเภอเมืองจังหวัดน่าน กรมป่าไม้ ได้พัฒนาถวายพื้นที่ แก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อใช้ใน การศึกษา หรือวิจัยในทางวิชาการ ศูนย์เรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ขุนน�้ำสะเนียน ห้วยลู่ เนื้อที่ ๑,๙๑๕ ไร่ พระองค์จึงพระราชด�ำริการให้พื้นที่ และพัฒนาคุณภาพชีวิต ของพี่น้องมลาบรีอย่างเป็นระบบ มีการท�ำนาข้าว การเลี้ยงปลา ปลูกพืชผักสวนครัว การจัดการในรูปสหกรณ์ร้านค้าในชุมชน ชุมชนบ้านห้วยลู่จึงเป็นความหวังของ พี่น้องมลาบรี เพื่อศึกษาสภาพชุมชน และครัวเรือนชนเผา เพื่อศึกษา หาข้อมูล เน้น กระบวนการการเรียนรู้ด้านอาชีพ อาหารพื้นถิ่นสร้างสิ่งแวดล้อมด้านอาหาร ท�ำเรื่อง สุขภาวะบุคคล สุขภาวะครัวเรือน ทัง้ ๘ ครอบครัว มลาบรี เพือ่ ให้ความเป็นอยูส่ ขุ ภาวะ ที่ดีขึ้น มีแหล่งอาหารเพียงพอต่อการด�ำรงชีพภายในชุมชนได้พัฒนาแหล่งเรียนรู้ ด้านแหล่งน�ำ้ โครงสร้างเช่นห้องเรียน ห้องครัว ห้องเก็บของ ณ บ้านห้วยลู่ ต�ำบลสะเนียน อ�ำเภอเมือง เป็นชุมชนใหม่ที่เป็นความหวังและสร้างรูปแบบแผนชีวิตให้พี่น้องมละบริ ใหม่ ซึง่ ตลอดระยะเวลาให้ความพยายามทีท่ งั้ ภาครัฐภาคเอกชนพยายามหาชุดความคิด หาเครือ่ งใหม่ ทัง้ รูปแบบการจัดตัง้ ชุมชน การประชาสงเคราะห์ การสร้างอาชีพ ทัง้ หมด ยังอยูใ่ นค�ำถามและวังวนของความล้มเหลว จากศูนย์พฒ ั นา ทีอ่ ำ� เภอบ้านหลวงในอดีต สู่หมู่บ้านห้วยหยวก หมู่ ๕ ต�ำบลแม่ขะนิง อ�ำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน วันนี้หน่วยงาน ภาคีหลายภาคส่วนน�ำโดยป่าไม้ผรู้ บั ผิดชอบโครงการพัฒนาในพืน้ ทีห่ ลัก (สร้างกลไกให้ คนอยูก่ บั ป่า) และ มจธ. กศน. วิทยาลัยชุมชนน่าน ก�ำลังสร้างมิตทิ างเลือกหรือทางออก แห่งใหม่ให้พี่น้องมลาบริ บริเวณพื้นที่และแห่งนี้ชุมชนห้วยลู่ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

129


หมายเหตุ : ชุมชน มลาบรี บ้านห้วยหยวก หมูท่ ี่ ๕ ต�ำบลแม่ขะนิง อ�ำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน มีประชากรมลาบรีรวม ๑๔๗ คน นอกจากนี้ ก็ยังมีพี่น้องกันอยู่ที่แพร่ อีกกว่า ๒๐๐ คน รวมทั้งทางฝั่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึ่งเชื่อกันว่า เป็นบ้านเกิดเมืองนอนของมลาบรีก่อนจะออกเร่ร่อน มลาบรีในเมืองไทยได้รับสัญชาติ ไทยกันหมดแล้ว มีส�ำเนาทะเบียนบ้าน รวมทั้งบัตรประชาชน ปัจจุบันมีชุมชนมลาบรี กลุ่มใหญ่ในประเทศอยู่เพียง ๔-๕ แห่งคือ ๑.บ้านห้วยหยวก ต.แม่ขะนิง อ.เวียงสา จ.น่าน ประมาณ ๑๖๐ คน ซึ่งอยู่ใน ความดูแลของภาครัฐ หลายหน่วยงานในรูปของศูนย์พัฒนาชาวเขา ๒.บ้ า นห้ ว ยฮ่ อ ม ต.บ้ า นเวี ย งอ.ร้ อ งกวาง จ.แพร่ อยู ่ ใ นความดู แ ลของ นายบุญยืน สุขเสน่ห์ อดีต มิชชันนารีชาวอเมริกนั ทีผ่ นั ตัวเองมาท�ำองค์กรพัฒนาเอกชน เดิมมีชาวมลาบรีอยู่ ๑๕๒ คน แต่บางส่วนได้พาครอบครัวย้ายไปอยู่ที่ศูนย์ภูฟ้าพัฒนา ต.บ่อเกลือ จ.น่าน พื้นที่นี้ชาวมลาบรีจะท�ำงานเป็นแรงงานรับจ้างให้กับชาวม้ง ๓.หมู่บ้านท่าวะ อ.สอง จ.แพร่ มีเพียง ๒๕ คน ท�ำงานรับจ้างให้กับหมู่บ้าน คนเมืองพื้นราบซึ่งเป็นพื้นที่ที่ยังเข้าถึงข้อมูลได้ยาก

และล่าสุด ๔.ศูนย์ภูฟ้าพัฒนา ต.ภูฟ้า อ.บ่อเกลือ จ.น่าน ปัจจุบันมีครอบครัว มลาบรีจากบ้านห้วยฮ่อม อ.ร้องกวาง จ.แพร่ ย้ายเข้าไปอยู่แล้ว ๖๒ คน ที่เหลือพบ อยู่ที่บ้านปางค่า อ.เมือง จ.น่าน บางส่วน ทั้งนี้ ศูนย์ภูฟ้าพัฒนา เป็นโครงการภายใต้ พระราชอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และที่นี่คือ "บ้านหลังใหม่" ของพี่น้องมลาบรี ดร.ผ่องพรรณ เอกอาวุธ ผูจ้ ดั การศูนย์ภฟู า้ พัฒนา เล่าถึงทีม่ าของกลุม่ เยาวชน มลาบรีที่ย้ายครอบครัวเข้ามาที่ศูนย์ภูฟ้าฯ แห่งนี้ว่า ก่อนหน้านี้สมเด็จพระเทพฯ ทรง รับสั่งให้ทางศูนย์ภูฟ้าฯ ช่วยดูแลกลุ่มมลาบรี ต่อมาเมื่อต้นปี ๒๕๕๑ ตนได้ไปพบ เด็กมลาบรีกลุ่มนี้เป็นชายจ�ำนวน ๖ คนหญิงจ�ำนวน ๔ คนที่ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน

130ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ต.บ้านเวียง อ.ร้องกวาง จ.แพร่ ในความดูแลของ บุญยืน สุขเสน่ห์ อดีตมิชชันนารี ชาวอเมริกันที่ผันตัวมาเป็นเอ็นจีโอ "เด็กกลุ่มนี้เดิมได้รับการฝึกอาชีพให้ตัดเย็บเสื้อผ้า ฝึกงานช่างอิเล็กทรอนิกส์ ซ่อมรถจักรยานยนต์และซ่อมแอร์ ต่อมา เด็กกลุ่มนี้ได้ย้าย ไปอยู่ในความดูแลของลุงค�ำ มิชชันนารี อีกคน โดยวันจันทร์-ศุกร์ เด็กๆ จะไปเรียน หนังสือตามโรงเรียนในตัวเมือง พอคืนศุกร์-เสาร์กจ็ ะไปนอนอยูท่ บี่ า้ นลุงค�ำ ซึง่ ค่อนข้าง ล�ำบาก เดินทางไม่สะดวก" ดร.ผ่องพรรณ จึงตัดสินใจเขียนโครงการถวายสมเด็จพระเทพฯ และพระองค์ ทรงมีวินิจฉัยให้ด�ำเนินการจัดตั้ง 'ศูนย์วัฒนธรรม มลาบรี' ขึ้นมา ให้อยู่ในความดูแล ของศูนย์ภูฟ้าพัฒนา วันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ ซึ่งถือฤกษ์ตรงกับวันก่อตั้งศูนย์ ภูฟา้ พัฒนาเข้าสูป่ ที ี่ ๑๐ พอดี และในเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ สมเด็จพระเทพฯ จะทรง เสด็จเป็นประธานเปิดอย่างเป็นทางการไปแล้วนั้น "พระองค์ทรงต้องการให้สามารถด�ำรงเผ่าพันธุใ์ ห้อยูไ่ ด้อย่างอิสระทัง้ ภาษาพูด และวัฒนธรรม เนื่องจากเห็นว่า มลาบรีเป็นคนป่าเผ่าสุดท้ายที่ยังหลงเหลืออยู่ในภาค เหนือของประเทศ ซึ่งการอพยพย้ายถิ่นเข้ามาอยู่ของครอบครัวมลาบรีใน ศูนย์ภูฟ้าฯ ครั้งนี้เดิมทีอนุญาตให้เยาวชน ๑๐ คนเข้ามาก่อนในเดือนตุลาคม ๕๑ แต่เมื่อมาอยู่ได้ ระยะหนึ่ง ในวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ เมื่อรู้ว่าสมเด็จพระเทพฯ ทรงเสด็จเด็กๆ จึงอยาก ให้พอ่ แม่มาเข้าเฝ้าด้วยและได้เตรียมผลิตภัณฑ์หตั ถกรรมภูมปิ ญ ั ญามลาบรีทที่ ำ� ขึน้ เอง เพื่อทูลถวาย" ปรากฏว่า หลังรับเสด็จครอบครัวมลาบรีไม่ยอมกลับ และขอย้ายเข้ามาอยูก่ บั บุตรหลานรวมเป็น ๑๐ ครอบครัว จนปัจจุบันมีมลาบรีที่อพยพย้ายเข้ามารวม ๖๒ คน การของจัดตัง้ "ศูนย์วฒ ั นธรรมมลาบรี" นัน้ อยูใ่ นขัน้ เตรียมพร้อมพืน้ ที่ ก่อนด�ำเนินการ ได้ระดมนักวิจยั อิสระหลายภาคส่วน เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฯลฯ มาช่วยงานทั้งด้านมานุษยวิทยา ภาษาศาสตร์ เพื่อร่วมท�ำวิจัยชุมชน โดยเยาวชน มลาบรีรับหน้าที่เป็นนักวิจัยในการสืบค้นเก็บข้อมูลจากพ่อแม่ของตนเกี่ยวกับเรื่องราว ของมลาบรีทุกแง่มุม ขณะเดียวกันก็เตรียมผลิตหนังสือ ผลักดันให้มลาบรีมีภาษาเขียน เป็นของตัวเองอีกทาง

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

131


บทส่งท้าย เมือ่ ได้นงั่ ลง...พูดคุยกับเพือ่ นมนุษย์ กลุม่ ชาติพนั ธุม์ ลาบรีทถี่ กู กระแสทุนนิยม เบียดจนติดขอบแถบจะหาทางเดินไม่ได้ในกระแสทานสังคมแห่งยุคสมัย เขาเป็นผู้ถูก กระท�ำเสมอ และเพียงฝ่ายเดียวที่ต้องถูกจัดเลือกให้เป็น...อยู่...คือ....สิ่งเดียวที่เห็นใน ตอนนี้...เขามีชีวิตความรู้สึกและลมหายใจ .... เหมือนคณะผู้ศึกษา มีผใู้ หญ่ทา่ นหนึง่ ถามพีน่ อ้ งมลาบรีวา่ แล้วใครเป็นหัวหน้า ใครเป็นผูน้ ำ� พีน่ อ้ ง ชาวมลาบรีหันมามองกันซักพัก แล้วตอบกลับไปว่า เราไม่จ�ำเป็นต้องมีหัวหน้า เราอยู่ รวมกัน มีอะไรเราก็จะแบ่งปันกัน ...... เมื่อได้ฟังน่าคิด มันสะท้อนหลาย ๆ อย่างท�ำให้เรามองเห็นความเหมือนและ ความแตกต่างของสังคมคนในเมืองกับสังคมพี่น้องมลาบรี ชนเผ่ามลาบรี นิยมอยู่กันเป็นครอบครัว เมื่อลูก ๆ แต่งงานก็จะแยกบ้านออก ไป สมัยก่อนชนเผ่ามละมีบตุ รเยอะบางคนมีประมาณ ๑๐ คน เนือ่ งจากไม่รวู้ ธิ คี มุ ก�ำเนิด ชนเผ่า มลาบรี เองมีการแบ่งหน้าทีช่ ดั เจนระหว่างชายกับหญิง เช่น ผูช้ ายออกไปล่าสัตว์ หาผึ้ง ส่วนผู้หญิงก็ตัดไม้สร้างเพิงพัก หาเผือก หามัน ดูแลลูก ๆ ดันไฟ หุงข้าว ตักน�้ำ แต่อย่างไรก็ตาม ทั้งผู้หญิงและผู้ชายชนเผ่า มละ ก็ยังมีการให้เกียรติซึ่งกันและกัน ส่วนลูกชายเมื่อแต่งงานมีครอบครัวแล้ว ก็จะย้ายออกไปสร้างบ้านใหม่อยู่อีกบ้านหลัง หนึ่ง ส่วนลูกสาวเมื่อแต่งงานมีครอบครัวแล้วก็จะไปอาศัยอยู่ด้วยกันกับผู้ชาย แต่ถึง จะย้ายออกไปอยู่อีกบ้านหนึ่งก็ตาม ทั้งลูกชายและลูกสาวก็ยังมีการมาช่วยเหลือ ดูแล พ่อและแม่ของตนอยู่ สังคมแบบนี้หาไม่ได้อีกแล้วในวิถีทุนนิยม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของชนเผ่ามลาบรี ซึ่งส่งผลกระทบ ต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่แต่เดิมที่เคยเป็นชนเผ่าเร่ร่อน กลับต้องถูกจ�ำกัดพื้นที่ท�ำให้เกิด ความยากล�ำบากในการเข้าถึงทรัพยากรเพิ่มขึ้น ทั้งยังต้องแย่งชิงทรัพยากรกับชนเผ่า อืน่ ๆ ในพืน้ ทีจ่ นเกิดความขัดแย้ง การปรับตัวของพีน่ อ้ งมลาบรีเป็นแรงงานรับจ้างท�ำไร่ ให้กบั นายทุน หรือเกษตรกรทีม่ เี งือ่ นอ�ำนาจทีเ่ หนือกว่า การเปลีย่ นแปลงดังกล่าวส่งผล สั่นคลอนโครงสร้างความเชื่อดั้งเดิมในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งทางกายภาพและทางความคิด ความเชือ่ เมือ่ โครงการพัฒนาส่วนใหญ่บบี บังคับมลาบรีให้มาตัง้ หลักแหล่งถาวร (ชุมชน จัดตั้ง ใหม่และเก่า) แต่การพัฒนาและการควบคุมจากกลุ่มอิทธิพลภายนอก กลับ สร้างแรงกดดันต่อวิถีชีวิตมลาบรียิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการน�ำเด็กมลาบรีเข้าสู่ระบบการ

132ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ศึกษา (ศึกษาที่ใช้มาตรฐานเดียวกัน) การจ�ำกัดพื้นที่ของทางการในกรณีเขตป่าสงวน เขตอุทยาน ท�ำให้มลาบรีมีสภาพกลายเป็นผู้บุกรุกป่าสงวนในกรอบของกฎหมายที่รัฐ ก�ำหนดขึ้น เมื่อต้องออกหาของป่าหรือล่าสัตว์ตามวิถีชีวิตแบบเดิม รัฐจึงมีโครงการส่ง เสริมเกษตรสมัยใหม่ หรือเกษตรทางเลือกเน้นพึงอยู่กับตนเองให้ได้ แต่ไม่ได้รับความ สนใจจากคนในชุมชน รวมถึงการชักน�ำส่งเสริมให้มลาบรีก้าวเข้าสู่ระบบเกษตร เพาะ ปลูกด้วยการใช้ปุ๋ยและยาฆ่าหญ้า เหล่านี้น�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่สะท้อน ให้เห็นการพัฒนา ที่ไม่สามารถเข้าถึงรูปแบบวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรมซึ่งเป็น อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของคนในชุมชนมลาบรีอย่างแท้จริง ที่น่าวิตกยิ่งกว่านั้นก็คือ ชุมชนมลาบรีได้สูญเสียความสามารถในการจัดการทรัพยากร โอกาสในการเข้าถึง ทรัพยากรอย่างมั่นคง จนต้องกลายเป็นกลุ่มชายขอบของสังคมในที่สุด จากอดีตถึงปัจจุบนั ....มลาบรีชนเผ่าสุดท้ายทีม่ ภี มู ปิ ญ ั ญาสะสมเรียนรูท้ จ่ี ะอยู่ กับธรรมชาติอย่างสมดุลดังค�ำทีเ่ รียกขานต้นเองว่า "คนอยูก่ บั ป่า” หรือ “มลาบรี” วันนี้ พรมแดนสุดท้ายได้พงั ทลายลงไปแล้วเมือ่ คนไม่เอาป่าอีกต่อไป ปัญหาพีน่ อ้ งมลาบรี คือ ตัวชี้วัดสิ่งใดได้บ้าง ขณะที่ผู้คนมีปัญหาหนี้สินปัญหาครอบครัวการทํามาหากิน และ ชุมชนก็เหมือนกําลังล่มสลายไม่สามารถแก้ไขปัญหาร้อยแปดที่รุมเร้าได้ เราได้พบว่า มีบุคคลจํานวนไม่น้อยที่แก้ปัญหาหนี้สิน ปัญหาต่าง ๆ ของตนเองได้ เราได้พบชุมชน มากมายที่ไม่ได้ล่มสลาย แต่เข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้ และ มีไม่น้อยที่โดดเด่นถึงขั้น มีคนไปศึกษาดูงาน ขณะที่เรากําลังสิ้นหวังกับระบบการศึกษา ซึ่งไม่สามารถช่วยแก้ไข ปัญหาความยากจน ปัญหาหนี้สิน ปัญหาความแตกแยก ความรุนแรง และ อื่น ๆ เราก็ พบว่าชุมชนทีเ่ ข้มแข็งทัว่ ประเทศไม่ได้เข้มแข็งเพราะมีงบประมาณมาก มีโครงการมาก แต่เพราะเป็นชุมชนเรียนรู้ มีกระบวนการจัดการเรียน รู้ของตนเองที่มีประสิทธิภาพ เรียนเพือ่ แก้ปญ ั หาและพัฒนาตนเองเราได้ไป"ขอความรู"้ จากปราชญ์ชาวบ้าน จากผูน้ าํ จากชุมชนเข้มแข็ง เราพบห้องเรียน ห้องเรียนชีวิต บางทีเราต้องพยายามหากลไกใด กลไกหนึ่งในการท�ำให้พี่น้องมลาบรีเข็มแข็ง ในสังคมโลกนี้ให้ได้

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

133


บทเรียนที่ ๒ สี่ชุมชนของฉัน การกลับบ้านอย่างมีความหมาย


ตอนที่ ๑ : เยาวชนไทยวน ถอดบทเรียนชุมชนไทยวนลงประเมินพื้นที่หาบทเรียนกับชุมชนห้วยเลา อ.นาน้อย ๑๑ - ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๗ ไทยวน : กับวิถีชีวิตและความคัดแย้งวาระการอนุรักษ์ป่าต้นน�้ำ ลงประเมินพื้นที่และร่วมถอดเป็นบทเรียนกับชุมชน ชุมชนห้วยเลา อ.นาน้อย

ไทยวน Tai Yuan ไทยวน (อ่านว่า ไท-ยวน) หรือ ไตยวน เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ตระกูลภาษาไทกะไดกลุม่ หนึง่ ทีต่ งั้ ถิน่ ฐานทางตอนเหนือของประเทศไทยทีเ่ คยเป็นทีต่ งั้ ของอาณาจักร ล้านนา ในอดีตคนล้านนามีหลายกลุม่ ชาติพนั ธุ์ แต่กลุม่ ใหญ่ทสี่ ดุ คือ “ไทยวน” ซึง่ มีคำ� เรียกตนเองหลายอย่าง เช่น “ยวน โยน หรือ ไต (ไท)” และถึงแม้ในปัจจุบัน ชาวล้าน นาจะกลายเป็นพลเมืองของประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่ก็มักเรียกตนเองว่า “คนเมือง” ซึง่ เป็นค�ำเรียกทีเ่ กิดขึน้ ในภายหลัง ในยุคเก็บผักใส่ซา้ เก็บข้าใส่เมือง เพือ่ ฟืน้ ฟูประชากร ในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่าง ๆ เข้ามายังเมืองของตน

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

135


ในภาคกลางของไทยก็มีชาวไทยวนอาศัยอยู่ จากอดีตครั้งในรัชสมัยพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ในปีพ.ศ.๒๓๔๗ ได้มบี ญ ั ชาให้เจ้าพระยายมราชยกทัพ หลวงไปร่วมกับหัวเมืองฝ่ายเหนือ เชียงใหม่ น่าน ล�ำปางและเวียงจันทน์ จัดทัพเป็น ๕ ทัพ ยกไปตีเมืองเชียงแสนหลังจากล้อมเมืองอยูไ่ ด้ ๑-๒ เดือน จึงตีเชียงแสนส�ำเร็จ ได้ทำ� การ เผาท�ำลายป้อมปราการก�ำแพงเมืองและกวาดต้อนผู้คนชาวเชียงแสนได้ประมาณ ๒๓,๐๐๐ คนเศษ ชาวเชียงแสนส่วนหนึง่ อพยพเข้าไปอยูใ่ นเชียงใหม่นา่ น ล�ำปาง เวียงจันทน์ อีก ส่วนหนึ่งอพยพเข้าอยู่ในสระบุรีและราชบุรี เรียกตัวเองว่า “ไท-ยวน” ปัจจุบันชาวไทยวนในสระบุรี สืบเชื้อสายกันมาถึง ๕ ชั่วคน กระจายอยู่ในทุก อ�ำเภอของสระบุรี อ�ำเภอที่มีชาวไทยวนอาศัยอยู่มากที่สุด คือ อ�ำเภอเสาไห้ ส่วนชาวไทยวนในแขวงไชยะบุรี ของลาว อาศัยอยู่ในเมืองเชียงฮ่อน ตามหมายเลข ๘-๐๕ ในแผนที่ ติดกับ เมืองน่าน ไทยวน หรือ ไทยล้านนา หรือ โยนก เป็นกลุ่มชนกลุ่มใหญ่ที่อาศัย อยู่ในดินแดนล้านนามาเป็นเวลานาน มักเรียกตนเองว่า คนเมืองชาวไทยวน อาศัยอยู่ในเขต จังหวัดเชียงใหม่ ล�ำพูน ล�ำปาง น่าน และแพร่ รู้จักในนามไทยล้านนา มีภาษาพูดใกล้เคียงกับ พวกไทลื้อ และไทเขินปัจจุบันชาวไทยวนรับอิทธิพลของไทย ภาคกลาง ตามต�ำนานสิงหนวัตกิ ล่าวว่า สิงหนวัตกิ มุ ารโอรสของท้าวเทวกาล ซึง่ ปกครอง บ้านเมืองอยูท่ างยูนนาน ได้นำ� ผูค้ นมาตัง้ บ้านเรือนอยูล่ มุ่ น�ำ้ โขง ตอนใต้ซงึ่ ก็คอื เชียงราย เชียงแสน ในปัจจุบัน และตั้งชื่อเมืองว่า โยนกนคร หรือ โยนกนาคนคร คนทั่วไปเรียก เมืองโยนกนี้ว่า โยนก หรือ ยูน หรือ ยวน ไทยวน หรือ คนยวน ในจังหวัดสระบุรีเป็น ไทยวน กลุ่มที่ อพยพมาจากเมืองเชียงแสน ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๓๔๗ ซึ่งตรงกับรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ซึ่งพระองค์ท่านโปรดเกล้าฯ ให้กรมหลวง เทพหริรักษ์ และ พระยายมราช พร้อมด้วยกองทัพลาว ยกทัพไปตีเมืองเชียงแสน

136ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ซึ่งในขณะนั้นตกอยู่ภายใต้การปกครองของพม่าเมื่อทัพไทยสามารถตีเมืองเชียงแสน ได้แล้วจึงให้รอื้ ก�ำแพงเมือง รือ้ บ้านเมือง และได้รวบรวมผูค้ นชาวเชียงแสนโดยได้แบ่งเป็น ๕ ส่วน ส่วนหนึง่ ให้ไปอยูท่ เี่ มืองเชียงใหม่ ส่วนหนึง่ ให้ไปอยูท่ ลี่ ำ� ปาง ส่วนหนึง่ อยูท่ นี่ า่ น ส่วนหนึ่งอยู่ที่เวียงจันทน์ และอีกส่วนให้เดินทางมายังกรุงเทพ โดยให้ตั้งบ้านเรือนอยู่ ที่ราชบุรี สระบุรี ปู่เจ้าฟ้า หนึ่งในผู้น�ำคนยวนในสมัยนั้น ได้น�ำผู้คนมาตั้งบ้านเรือนอยู่ ที่บ้านเจ้าฟ้า ปัจจุบันมีศาลเจ้าฟ้า ตั้งอยู่ในหมู่บ้านนี้ เมื่อถึงวันสงกรานต์ ชาวบ้านจะ อันเชิญดวงวิญญาณของปู่เจ้าฟ้า มาเข้าร่างทรงให้ลูกหลานได้สรงน�้ำ และปู่เจ้าฟ้าก็ จะพยากรณ์เหตุการณ์บ้านเมือง หนานต๊ะซึ่งเป็นน้องชายของปู่เจ้าฟ้าได้น�ำไพร่พลไป ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านสิบต๊ะ (ปัจจุบันคือบ้านสวนดอกไม้) เล่ากันว่าหนานต๊ะเป็นผู้ที่มี วิชาอาคมขลังและเก่งในการรบ และเป็นผู้ที่มีส่วนร่วมในการตัดต้นตะเคียนที่บ้าน สันปะแหนเพื่อส่งมาคัดเลือกให้เป็นเสาหลักเมืองที่กรุงเทพ เมื่อไม่ได้รับการเลือกเสา ต้นนีล้ อ่ งทวนน�ำ้ กลับไปยังทีเ่ ดิมและก็สง่ เสียงร้องร�ำ่ ไห้ อันเป็นทีม่ าของชือ่ อ�ำเภอเสาไห้ ปัจจุบนั เสาต้นนีอ้ ยูท่ วี่ ดั สูง อ�ำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี แต่เดิมนัน้ ทีท่ ำ� การเมืองสระบุรี อยูท่ บี่ ริเวณบึงโง้ง ใกล้วดั จันทรบุรี ในอ�ำเภอเสาไห้ในปัจจุบนั ชาวไทยวนได้ตงั้ บ้านเรือน อยู่ริมสองฝั่งแม่น�้ำป่าสัก ตั้งแต่ที่ว่าการอ�ำเภอเสาไห้ขึ้นไปทางตะวันออก ต่อมาจึงได้ ขยับขยายท�ำเลทีต่ งั้ บ้านเรือนไกลจากแม่นำ�้ ป่าสักออกไป ปัจจุบนั คนไทยวนตัง้ ถิน่ ฐาน อยู่แทบทุกอ�ำเภอ ที่มีมากที่สุดคือที่อ�ำเภอเสาไห้ อ�ำเภอเมือง อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ และอ�ำเภอวังม่วง ภาษา ชาวไทยวนมีภาษาพูดภาษาเขียนเป็น เอกลักษณ์ของตน อักษรของชาวไทยวน มี ใช้ ม าเป็ น เวลานานแล้ ว เมื่ อ ได้ อ พยพ มาอยู่ที่สระบุรีก็น�ำเอาอักษรเหล่านั้นมา ใช้ ด ้ ว ยใช้ เขี ย นลงในสมุ ด ข่ อ ยหรื อ จาร บนใบลาน ชาวไทยวนเรี ย กอั ก ษรนี้ ว ่ า หนังสือยวน เรือ่ งทีบ่ นั ทึกลงใบข่อยหรือสมุด ไทยมักจะเป็นต�ำราหมอดู ต�ำราสมุนไพร เวทมนต์คาถาต่างๆ ส่วนเรื่องที่จารลงใบลาน จะเป็นพระธรรมเทศนาเป็นส่วนใหญ่ ชาวไทยวนมักนิยมถวายคัมภีรเ์ ทศน์ เพราะเชือ่ ว่า ได้บญ ุ มากส่วนใหญ่มกั เป็นเรือ่ งเวสสันดรชาดก ยอดพระไตรปิฎกคัมภีรย์ วนฉบับต่าง ๆ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

137


ได้รบั ต้นฉบับมาจากฝ่ายเหนือ เมือ่ ได้มาก็คดั ลอกจารต่อ ๆ กันมา ชาวไทยวนมีการร้อง เพลง เรียกว่า จ๊อย เป็นการร้องด้วยส�ำนวนโวหาร อาจจะเป็นการจ๊อยคนเดียว หรือ จ๊อย โต้ตอบกันก็ได้ การจ๊อยนี้จะไม่มีเครื่องดนตรีประกอบ เนื้อหาในการจ๊อยอาจจะ เกี่ยวกับนิทานชาดก ค�ำสอน ประวัติตลอดจนการเกี้ยวพาราสี การแต่งกาย จากภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนังอุโบสถวัดจันทรบุรี อ�ำเภอเสาไห้ ซึ่งเขียนขึ้น ในสมัยรัชกาลที่ ๓ และอุโบสถวัดสมุหประดิษฐาราม อ�ำเภอเสาไห้ ซึ่งเป็นภาพที่แสดง ให้เห็นถึง วิถีชีวิตการแต่งกายของชาวไทยวนในสมัยนั้นได้เป็นอย่างดี ที่อยู่อาศัย เรือนของชาวไทยวนนัน้ มีเอกลักษณ์เฉพาะเรียกว่า เรือนเชียงแสนหรือเรือนกา แล กล่าวคือจะมีไม้ไขว้อยู่บนหลังคาเหนือจั่ว เรือนส่วนบนจะผายออก ที่เรียกว่า เรือน อกโตเอวคอด เมื่อชาวเชียงแสนได้อพยพมาอยู่ที่สระบุรีในตอนต้นนั้น มีการปลูกเรือน กาแลอยู่บ้าง ดังที่ปรากฏในงานจิตรกรรมฝาผนังวัดจันทรบุรีจากการสอบถามคนเฒ่า คนแก่ในชุมชน บ้าน เสาไห้ก็พบว่า แต่เดิมนั้นมีการปลูกเรือนกาแลอยู่บ้าง ความเชือ่ ชาวไทยวนมีความเชือ่ ในเรือ่ งผีซงึ่ อาจให้คณ ุ หรือโทษได้ ผีทชี่ าวไทยวน ให้ความส�ำคัญได้แก่ ผีเรือน หรือ ผีประจ�ำตระกูล หรือ ผีบรรพบุรุษ คนยวนเรียก ผีปยู่ า่ คนยวน ๑ ตระกูลจะมีศาลผีหรือหิง้ ผีอยูท่ บ่ี า้ นของคนใดคนหนึง่ เมือ่ ลูกหลานใน ตระกูลนี้ เมือ่ ลูกหลานคนใดแต่งงานก็จะพากันมาไหว้ผปี ยู่ า่ ทีบ่ า้ นนี้ หรือในช่วงเทศกาล สงกรานต์ก็จะพากันมาไหว้ผีปู่ย่าเช่นกัน ผีประจ�ำหมูบ่ า้ น ทุกหมูบ่ า้ นจะมีศาลผีประจ�ำอยู่ บางหมูบ่ า้ นอาจจะมีมากกว่า หนึง่ ศาล เช่นที่ บ้านไผ่ลอ้ ม อ�ำเภอเสาไห้ มีศาลเจ้าชือ่ ปูเ่ จ้าเขาเขียวโปร่งฟ้า มีเรือ่ งเล่า ต่อ ๆ กันมาว่า เดิมปูเ่ จ้าอยูท่ เี่ ชียงดาว เชียงใหม่ ในครัง้ ทีม่ กี ารอพยพได้มคี นเชิญให้รว่ ม ทางมาด้วย เพือ่ คุม้ ครองลูกหลานยวนทีเ่ ดินทางมาในครัง้ นัน้ และได้ปลูกศาลให้ทา่ นอยู่ เชื่อกันว่าเจ้าปู่นี้มักจะกลับไปอยู่ที่เชียงดาว เมื่อถึงวันสงกรานต์ก็จะมาเยี่ยมลูกหลาน ของท่านทุก ๆ ปี ผีประจ�ำวัด เรียกว่า เสือ้ วัด ทุกวัดจะมีศาลเสือ้ วัดประจ�ำอยูท่ กุ ๆ วัด บางวัดมี มากกว่า ๒ ศาลเวลามีงานวัดจะต้องจุดธูปบอกเสือ้ วัดเสียก่อน ผีประจ�ำนา เรียกว่า เสือ้ นา

138ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ความเชื่อเรื่องเสื้อนามีมานานดังที่ปรากฏในหนังสือกฎหมายมังรายศาสตร์ ฉบับวัด เสาไห้ กล่าวไว้ตอนหนึ่งว่า “ผู้ใดขี้ใส่นาแรกท่าน ตั้งแต่ตอนหว่านกล้าไปจนถึงตอนจะ ย้ายปลูกจะเก็บเกีย่ วให้ มันหาเหล้า ๒ ไห ไก่ ๒ คู่ เทียน ๒ เล่ม ข้าวตอกดอกไม้ มาบูชา ขวัญข้าว และเสื้อนาผิดเพียงแต่เยี่ยว ไม่ได้ขี้ ให้มันหาไก่คู่หนึ่ง เหล้าขวดหนึ่งเทียนคู่ หนึง่ ข้าวตอกดอกไม้บชู าเสือ้ นา……” ความเชือ่ เรือ่ งเสือ้ นานีเ้ มือ่ ถึงเดือนหก แม่บา้ นจะ ท�ำขนมบัวลอยไปวางเซ่นที่นาเพื่อเลี้ยงเสื้อนาของตนทุกปี ประเพณีขึ้นท้าวทั้ง ๔ ชาวไทยวนเรียก “ต๊าวตังสี่” หมายถึงท้าวจตุโลกบาล ซึ่งเป็นเทวดาประจ�ำทิศทั้งสี่ ก่อนที่จะมีงานใด ๆ จะท�ำการเลือกสถานที่ ๆ เหมาะสม เอาไม้ ๕ ท่อนมา ปักเป็นเสา ๔ มุม เสาต้นกลางสูงกว่าเสาสี่มุม บนเสานี้จะวางเครื่อง เซ่น เช่น หมาก บุหรี่ ดอกไม้ธูปเทียน กระทงอันกลาง เป็นของพระอินทร์ ผู้รู้พิธีจะ เป็นคนกล่าวเชิญเทพทั้ง ๔ มารับเครื่องเซ่นและมาช่วยปกป้องคุ้มครองงานของตนให้ ด�ำเนินไปด้วยความเรียบร้อย ชุมชนบ้านห้วยเลา หมู่บ้านห้วยเลา ชุมชนไทยวน ตั้งอยู่หมู่ที่ ๗ ต�ำบลเชียงของ อ�ำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน อยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอนาน้อย ประมาณ ๔๒ กิโลเมตร และห่างจาก อ�ำเภอเมืองน่านประมาณ ๑๒๐ กิโลเมตร เป็นหมูบ่ า้ นติดชายแดน มีอาณาเขตติดต่อกับ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นระยะทาง ๖ กิโลเมตร ตั้ังอยู่กลางอุทยาน แห่งชาติศรีน่านที่อุดมสมบูรณ์ (ตามเงื่อนไขประกาศเขตพื้นที่ป่าสงวนและเขตอุทยาน แห่งชาติศรีน่านซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๕ ก ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๐ จัดเป็นอุทยานแห่งชาติลำ� ดับที่ ๑๐๔ ของประเทศ ) ขอบคุณพีน่ อ้ ง ชาวบ้านห้วยเลาทุกชีวิตที่มอบความอบอุ่นและสร้างบรรยากาศแห่งการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ในชุมชน หวังพลังคนรุ่นต่อไปจะกลับมาเติบเต็มพลังให้ชุมชนเข้มแข็งต่อไป ชุมชนบ้านห้วยเลา ต.เชียงของ อ.นาน้อย จ.น่าน ทีป่ ระชากรส่วนใหญ่เป็นคนกลุม่ ชาติพันธุ์ไทยวน ความสนุกสนานกับเชียงเพลงแบบไทยวนที่เรียกว่า เพลงร้องพื้นบ้าน ค่าว จ๊อย ซอ ในจังหวัดทางภาคเหนือก็จะมีลักษณะเป็นวรรณกรรมมุขปาฐะเกือบ ทั้งหมด วรรณกรรมเหล่านี้มักแสดงออกเป็นค�ำพูดโต้ตอบกัน เช่น การหยอกสาว หรือ เป็นการขับร้อง เช่น จ๊อยและซอ วรรณกรรมเหล่านีม้ ฉี นั ทลักษณ์หลายรูปแบบ ซึง่ เรียก รวม ๆ กันว่า ค�ำค่าว ค�ำเครือ หรือค่าว ค่าว เป็นค�ำประพันธ์ทม่ี แี บบแผนของชาวล้านนา ชาติพันธุ์น่านศึกษา

139


มีฉันทลักษณ์ที่ระบุจ�ำนวนค�ำในวรรค และสัมผัสระหว่างวรรค สรุปเป็นค�ำกล่าวสั้น ๆ “สามตัวเหลียว เจ็ดตัวเตียว บาทหลัง บาทหน้า” จ๊อย เป็นวิธขี บั ล�ำน�ำโดยใช้คา่ ว เป็นเนือ้ หาหลักบางทีเรียกว่า จ๊อยค่าว วิธขี บั จ๊อยมักจะด�ำเนินท่วงท�ำนองไปอย่างช้า ๆ มีการเอื้อน อาจมีเครื่องดนตรี บรรเลงคลอ ประกอบหรือไม่ก็ได้ ลีลาและท�ำนองจ๊อยที่นิยมใช้ ได้แก่ โก่งเฮียวบ่ง ม้าย�่ำไฟ และ ท�ำนองวิงวอน ซอ เป็นเพลงพื้นบ้านที่ใช้ค่าวเป็นเนื้อหาหลักแต่ฉันทลักษณ์ของค่าวจะ เปลี่ยนแปลงไปตามท�ำนองอาจสั้นลงหรือยาวขึ้นและมีการบังคับวรรณยุกต์แตกต่าง กันไป ฉันทลักษณ์ของค่าว ค่าวสัน้ หรือค่าวก้อม นิยมแต่งเพียง ๔ วรรค ๆ ละ ๔ ค�ำ แต่ วรรคแรกอาจมี ๓ ค�ำก็ได้ ตามตัวอย่าง สาวบ้านหมู่นี้ หน้าเหมือนแคบหมู เอาหัวปลาทู จุ๊เอาก็ได้ ค่าวขนาดยาว ค่าวขนาดยาวใช้ประพันธ์เนื้อหาที่เป็นเรื่องราวมีความยาวหลายบท อาจเป็น นิทาน ต�ำนาน ประวัติ บางทีเรียกค่าวฮ�ำ่ ทัง้ หมดยังคงมีในวิถกี ารละเล่นของพีน่ อ้ งชาว บ้านห้วยเลา.... พี่น้องชาวบ้านห้วยเลายังคงทดลองแสวงหาพืชเศรษฐกิจการเกษตรตัวใหม่ มาทดลองปลูกในพืน้ ที่ ยาง กาแฟ แต่ยงั คงขาดความรูแ้ ละความเข้าใจในกลไกการผลิต และการตลาด จึงเห็นแปลงเกษตรหลายแห่งมีพชื เศรษฐกิจทีถ่ กู ทิง้ ล้างอย่างน่าเสียดาย มีห้วยกอย ไหลผ่านพื้นที่ เหมืองแร่ ที่ยกเลิกสัมปทานไปแล้วในพื้นที่เหมือง แร่มบี อ่ กักเก็บน�ำ้ ขนาดใหญ่ทชี่ มุ ชนได้นำ� ไปใช้ในการเกษตรของพีน่ อ้ งชาวบ้านห้วยเลา ยังคงมีขอ้ สงสัยมาตรฐานและความปลอดภัยในพืน้ ทีห่ ลังปิดเหมืองแร่ลงไปแล้วว่าน�ำ้ ใน อ่างนี้มีค่าที่ปลอดภัยหรือไม่ พืชเศรษฐกิจ ที่ยังคงเป็นทางเลือกและพระเอกตลอดกาล......ข้าวโพด กับ ข้อจ�ำกัดในเขตพื้นที่เพาะปลูกกลางอุทยานแห่งชาติศรีน่าน (กับประเด็นทางกฎหมาย การประกาศเขตป่าสงวนทับช้อนชุมชนและพื้นที่ท�ำกิน) เมื่อสืบค้นประวัติความเป็นมาของชุมบ้านห้วยเลา จึงได้ทราบถึงพัฒนาการ ยุคสมัยการเปลีย่ นแปลงของผูค้ นในบริเวณนี้ ชุมชนบ้านห้วยเลามีพฒ ั นาการการก่อตัง้ เป็นชุมชนมาไม่นานโดยอาจแบ่งเป็นยุคสมัยดังนี้

140ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ยุคที่หนึ่ง ยุคแห่งการก่อตัวของผู้คนจนพัฒนาเป็นชุมชน ในพื้นที่ป่าที่อุดมสมบูรณ์และมีแม่น�้ำไหลผ่านตลอดทั้งปี ท�ำให้ชาวบ้านใน ยุคสมัยหนึ่งนิยมเข้ามาล่าสัตว์และหาของป่าอีกทั้งการตัดไม้เพื่อน�ำไปสร้างบ้านหลัง ฤดูกาลเก็บเกีย่ ว โดยเฉพาะกลุม่ ผูช้ ายทีอ่ อกเรือน เป็นพ่อบ้านทีม่ กั จะให้ชว่ งเวลาโอกาส นี้ในการเข้ามาตัดไม้เพื่อชักรากน�ำกลับออกไปท�ำบ้านและในระหว่างนั้นการล่าสัตว์ และหาของป่าถือเป็นฤดูกาลแห่งการแสวงโชค ในการหาโปรตีนจากเนื้อสัตว์ป่าที่อุดม สมบูรณ์กลับไปเลีย้ งครอบครัว เมือ่ มีการเปิดสัมปทานป่าไม้รฐั กับอ�ำนาจในการจัดการ ทรัพยากรป่าเมื่ออ�ำนาจรัฐเข้ามามีอิทธิพลต่อการดูแลทรัพยากรป่า จากโลกทัศน์แบบ เดิมของชาวบ้านที่มองว่าพื้นที่ป่าเป็นของเจ้าผู้ครองนครถือเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ซึ่งมีสิ่ง เหนือธรรมชาติดูแลคุ้มครองอยู่ แนวคิดดังกล่าวก็เริ่มเปลี่ยนไป เมื่อมีการตั้งกรมป่าไม้ ขึ้นในปี พ.ศ.๒๔๓๙ เพื่อดูแลผลประโยชน์และบริหารจัดการป่า แนวคิดเกี่ยวกับ “ป่า เพือ่ การอนุรกั ษ์” กลายเป็น “การเข้าครอบครองพืน้ ทีแ่ ละบริหารจัดการสัมปทานป่าไม้ “โดยที่รัฐมุ่งเน้นผลประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ มีการเปิดสัมปทานให้นายทุนเข้าถางป่า แปรรูปไม้ให้กลายเป็นสินค้ามีคณ ุ ค่าทางเศรษฐกิจตามระบบทุนนิยม หลังเปลีย่ นแปลง การปกครอง สัมปทานไม้ที่รัฐเปิดให้นายทุนต่างชาติถูกยกเลิก แต่ชาวไทยยังคงท�ำไม้ ในเชิงพาณิชย์ตอ่ ไปเนือ่ งจากเห็นคุณค่าเชิงเศรษฐกิจเพิม่ ขึน้ มีการบุกรุกพืน้ ทีป่ า่ เพิม่ ขึน้ ความหมายของป่าแบบเดิมที่ชาวบ้านเคยมองว่าเป็น “พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ภายใต้อ�ำนาจ ผู้ครองนคร” เปลี่ยนเป็นป่าในความหมายของ “ทรัพยากรที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ” เมื่อเกิดการสูญเสียพื้นที่ป่ามากเข้า รัฐก็ปิดป่าสัมปทาน แต่พอมีแรงผลักดันจากพ่อค้า ไม้และนักการเมืองก็เปิดให้สัมปทานอีก แม้จะมีการออก พ.ร.บ.ป่าสงวน นิยามความ หมายของป่าก็ยังคงเน้นผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ สัมพันธ์กับอ�ำนาจทางการเมือง เป็นหลัก การขยายอ�ำนาจรัฐครอบคลุมพื้นที่ป่า โดยยึดเอาทรัพยากรธรรมชาติมาเป็น ของรัฐภายใต้วาทกรรม “ป่าอนุรกั ษ์” ท�ำให้ทรัพยากรป่าไม้ตกเป็นพืน้ ทีซ่ งึ่ คนมีอำ� นาจ ช่วงชิงการเข้าถึงแบบ “มือใครยาวสาวได้สาวเอา” เมื่อรัฐเปิดให้นายทุนสัมปทาน ตัดไม้ใหญ่ไปเกือบหมดแล้ว ในช่วงก่อนมีการเปลีย่ นสภาพป่าตอนใต้ของจังหวัดน่านให้ กลายเป็นอุทยานแห่งชาติ มีการส�ำรวจของกลุม่ นายทุนในการพบสินแร่สงั กะสี และได้ ท�ำการสัมปทานพืน้ ทีท่ ำ� เหมืองแร่ขนึ้ บริเวณลุม่ น�ำ้ น่านตอนใต้ชว่ งห้วยเลาและห้อยกอย จึงมีการอพยพ แรงงานจ�ำนวนมากเข้าไปในพื้นที่เปิดป่าและท�ำเหมืองแร่ แต่หลัง เปิดเหมืองได้ไม่นานการท�ำเหมืองประสบปัญหาขาดทุนประกอบกับต้นทุนที่สูงใน ชาติพันธุ์น่านศึกษา

141


ค่าขนส่งสินแร่ จึงมีการปิดเหมืองในทีส่ ดุ แต่แรงงานทีอ่ พยพมาท�ำงานนัน้ หลายคนสร้าง ครอบครัวและไม่ยอมย้ายออกจากพืน้ ที่ ประกอบกับพืน้ ทีล่ มุ่ น�ำ้ แถวนัน้ เป็นทีน่ ยิ มของ คนพืน้ ราบทีม่ กั จะมีการเลีย้ งวัวควายเป็นคอกใหญ่ ตัง้ แค้มอยูใ่ นเขตป่ากันอย่างหนาแน่น จึงเป็นที่มาของการรวมตัวของผู้คนทั้งสองกลุ่มค่อยๆพัฒนาเป็นชุมชนในที่สุดต่อมา มีประกาศตามหนังสือส่วนอุทยานแห่งชาติ ที่ กษ ๐๗๑๒.๐๓/๔๗ ลงวันที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๓๗ เรื่อง การจัดตั้งอุทยานแห่งชาติศรีน่าน ซึ่งพื้นที่ที่ท�ำการส�ำรวจเพิ่ม มีเนื้อที่ประมาณ ๙๓๔ ตารางกิโลเมตร หรือ ๕๘๓,๗๕๐ ไร่ โดยให้กันพื้นที่ที่ราษฎร ที่ได้ยึดถือครอบครองเป็นหมู่บ้านใหญ่ออกจากเขตอุทยานแห่งชาติศรีน่าน เนื่องจาก มีการส�ำรวจเพิ่มเติมและได้ย้ายที่ท�ำการอุทยานแห่งชาติใหม่ ท�ำให้เกิดความสับสน ในการเรียกขานติดต่อประสานงานกับหน่วยงานราชการอื่น จึงได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น อุทยานแห่งชาติศรีน่าน ตามหนังสือส่วนอุทยานแห่งชาติ ที่ กษ ๐๗๑๒.๓/๔๗ ลงวันที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๓๗ และชุมชน หมู่บ้านห้วยเลา (หมู่ที่ ๗) เป็นพื้นที่ถูกกันออกจาก เขตอุทยานฯ ลักษณะพื้นที่เป็นที่ราบเล็กน้อย ส่วนใหญ่เป็นที่ดอนลูกคลื่นลอนลาด ถึงลูกคลื่นลอนชันมีพื้นที่อยู่ประมาณ ๑๔,๔๗๖.๑๗ ไร่ (ร้อยละ ๙.๐๕) ในพื้นที่นี้มี เขตปฏิรูปที่ดินอยู่ประมาณ ๑,๙๔๗ ไร่ (ร้อยละ ๑๓.๕ ของพื้นที่นอกเขตอุทยานฯ) โดยองค์การบริหารส่วนต�ำบลเชียงของมีพื้นที่ ในเขตรับผิดชอบ ยุคทีส่ อง ยุคแห่งการปรับครัง้ ใหญ่ กับการตกอยูใ่ นเขตพืน้ ที่ อุทยานแห่งชาติศรีนา่ น อุทยานแห่งชาติศรีน่านมีพื้นที่ครอบคลุมในท้องที่อ�ำเภอนาหมื่น อ�ำเภอ นาน้อย อ�ำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ครอบคลุมพืน้ ทีต่ ามแนวสองฟากฝัง่ ล�ำน�ำ้ น่าน จนไป สิน้ สุดทีอ่ า่ งเก็บน�ำ้ เขือ่ นสิรกิ ติ ิ์ สภาพป่าเป็นป่าทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ เทือกเขาสูงสลับซับซ้อน วางตัวในแนวทิศเหนือ-ใต้ เป็นป่าต้นน�้ำล�ำธาร ที่ส�ำคัญของแม่น�้ำน่าน ซึ่งเป็นแหล่งน�้ำ ทีส่ ำ� คัญของประชาชนในจังหวัดน่านทางตอนใต้ มีพนั ธุไ์ ม้ทสี่ ำ� คัญหลายอย่าง และเป็น แหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า มีจุดเด่นทางธรรมชาติ ที่มีทิวทัศน์ที่สวยงามได้แก่ เสาดิน และคอกเสือ ปากนาย แก่งหลวง จุดชมทิวทัศน์ดอยผาชู้ ทิวทัศน์ทั้งสองฝั่งแม่น�้ำน่าน จุดชมวิวดอยเสมอดาวและผาหัวสิงห์ มีเนื้อที่ประมาณ ๖๔๐,๒๓๗.๕๐ ไร่ หรือ ๑,๐๒๔.๓๘ ตารางกิโลเมตร ในปี ๒๕๓๕ ได้มีค�ำสั่งกรมป่าไม้ที่ ๔๗๕/๒๕๓๒ ลงวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๓๒ ให้นายสมบัติ เวียงค�ำ เจ้าพนักงานป่าไม้ ๔ อุทยานแห่งชาตินำ�้ หนาว ปฏิบตั งิ านประจ�ำ

142ชาติพันธุ์น่านศึกษา


อุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย ไปด�ำเนินการส�ำรวจเบื้องต้นป่าสงวนแห่งชาติป่าน�้ำว้าและ ป่าห้วยสาลี่ ป่าสาลีก ป่าน�ำ้ สา และป่าแม่สาครฝัง่ ซ้าย ป่าห้วยแม่ขะนิง และป่าน�ำ้ สาฝัง่ ขวาตอนบน ท้องที่อ�ำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ซึ่งมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ ๔๓๕ ตาราง กิโลเมตร หรือ ๒๗๑,๘๗๕ ไร่ และได้มีค�ำสั่งที่ ๑๖๒๗/๒๕๓๒ ลงวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๓๒ ให้ส�ำรวจพื้นที่ดังกล่าวเพิ่มเติม เพื่อจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ และได้ใช้ชื่อ อุทยานแห่งชาติแห่งนีต้ ามชือ่ ป่าสงวนแห่งชาติ ซึง่ เป็นป่าต้นน�ำ้ ล�ำธารและประชาชนโดย ทั่วไปรู้จักกันว่า “อุทยานแห่งชาติแม่สาคร” และใช้อักษรย่อว่า ที่ กษ ๐๗๑๓ (มสค) /..ตามหนังสือกองอุทยานแห่งชาติ ที่ กษ ๐๗๑๓/๖๗๔ ลงวันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๓๓ กรมป่าไม้ได้มีค�ำสั่ง ที่ ๑๖๒๗/๒๕๓๒ ลงวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๓๒ ให้ นาย สมบัติ เวียงค�ำ ไปส�ำรวจเพิม่ เติมพืน้ ทีป่ า่ สงวนแห่งชาติปา่ น�ำ้ สา-ป่าแม่สาครฝัง่ ซ้าย ป่า ห้วยแม่ขนิงและป่าน�ำ้ สาฝัง่ ขวาตอนบน ท้องทีอ่ ำ� เภอเวียงสา จังหวัดน่าน เพือ่ ประกาศ ก�ำหนดให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ตามนัยมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔ ต่อมาอุทยานแห่งชาติแม่สาครได้มีหนังสือ ที่ กษ ๐๗๑๓(มสค)/๓๓ ลง วันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๓๔ ว่า เห็นสมควรได้ส�ำรวจเพิ่มเติมจากพื้นที่เดิมคือ ป่าสงวน แห่งชาติปา่ ฝัง่ ขวาแม่นำ�้ น่านตอนใต้ ป่าสงวนแห่งชาติปา่ ห้วยงวงและป่าห้วยสาลี และ ป่าสงวนแห่งชาติป่าน�้ำว้าและป่าห้วยสาลี่ ท้องที่อ�ำเภอเวียงสา อ�ำเภอนาน้อย และ อ�ำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน เพื่อจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติ กองอุทยานแห่งชาติได้มี หนังสือ ที่ กษ ๐๗๑๓.๒/๑๕๖๘ ลงวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๓๔ อนุมัติให้ท�ำการส�ำรวจ เพิ่มเติมพื้นที่ป่าดังกล่าว พร้อมทั้งมีหนังสือจังหวัดน่าน ที่ นน ๐๐๐๙/๕๘๕๗ ลงวันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๓๖ สนับสนุนให้จดั ตัง้ พืน้ ทีด่ งั กล่าวเป็นอุทยานแห่งชาติ ต่อมา นายผ่อง เล่งอี้ อธิบดีกรมป่าไม้ ได้อนุมตั ใิ ห้จดั ตัง้ อุทยานแห่งชาติศรีนา่ น ตามหนังสือส่วนอุทยาน แห่งชาติ ที่ กษ ๐๗๑๒.๐๓/๔๗ ลงวันที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๓๗ เรื่อง การจัดตั้งอุทยาน แห่งชาติศรีนา่ น ซึง่ พืน้ ทีท่ ที่ ำ� การส�ำรวจเพิม่ มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ ๙๓๔ ตารางกิโลเมตร หรือ ๕๘๓,๗๕๐ ไร่ โดยให้กันพื้นที่ที่ราษฎรที่ได้ยึดถือครอบครองเป็นหมู่บ้านใหญ่ออกจาก เขตอุทยานแห่งชาติศรีน่าน เนื่องจากมีการส�ำรวจเพิ่มเติมและได้ย้ายที่ท�ำการอุทยาน แห่งชาติใหม่ ท�ำให้เกิดความสับสนในการเรียกขานติดต่อประสานงานกับหน่วยงาน ราชการอื่น จึงได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็นอุทยานแห่งชาติศรีน่าน ตามหนังสือส่วนอุทยาน แห่งชาติ ที่ กษ ๐๗๑๒.๓/๔๗ ลงวันที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๓๗ ต่อมาปี ๒๕๕๐ ได้มพี ระราชกฤษฎีกาก�ำหนดบริเวณทีด่ นิ ป่าน�ำ้ ว้าและป่าห้วย ชาติพันธุ์น่านศึกษา

143


สาลี่ ป่าฝั่งขวาแม่น�้ำน่านตอนใต้ และป่าห้วยงวงและป่าห้วยสาลี่ ในท้องที่ต�ำบลขึ่ง ต�ำบลส้าน ต�ำบลน�้ำมวบ อ�ำเภอเวียงสา ต�ำบลศรีษะเกษ ต�ำบลเชียงของ ต�ำบลสถาน อ�ำเภอนาน้อย และต�ำบลบ่อแก้ว ต�ำบลนาทะนุง อ�ำเภอนาหมื่น จังหวัดน่าน ให้เป็น อุทยานแห่งชาติ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๒๕ ก ลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๐ จัดเป็นอุทยานแห่งชาติล�ำดับที่ ๑๐๔ ของประเทศ ซึ่งชุมชนบ้าน ห้วยเลาตัง้ อยูใ่ นลักษณะชุมชนกลางอุทยานศรีนา่ นโดยลักษณะทางภูมศิ าสตร์ เป็นพืน้ ที่ ราบร่มเชิงเขาและมีหว้ ยน�ำ้ สาขาย่อยของแม่นำ�้ น่านล้อมรอบชุมชนถือเป็นภูมศิ าสตร์ที่ อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูกพืชผลทางการเกษตรและเลี้ยงสัตว์ วิวัฒนาการด้านนโยบายและกฎหมายด้านป่า-ที่ดินของไทย เพื่อท�ำความเข้าในรากฐานปัญหาความขัดแย้งเรื่องที่ดิน - ป่าที่เกิดขึ้นในสังคม ไทย ในทีน่ จี้ ะได้กล่าวถึงความเปลีย่ นแปลงในสองด้านทีเ่ กิดขึน้ และมีผลเกีย่ วโยงกัน คือ วิวฒ ั นาการของชุมชนในการบุกเบิกทีด่ นิ ท�ำกินในเขตป่าซึง่ เป็นตัวสะท้อนนโยบายของ รัฐในเรื่องที่ดิน - ป่า และวิวัฒนาการด้านกฎหมายป่าและที่ดิน ๑. วิวัฒนาการของการบุกเบิกที่ดินท�ำกินในเขตป่า งานศึกษาของ เจิมศักดิ์ (๒๕๓๕) เรื่อง “วิวัฒนาการของการบุกเบิกที่ดิน ท�ำกินในเขตป่า” นับเป็นพื้นฐานส�ำคัญของความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความขัดแย้ง ในด้านการจัดการทรัพยากรป่า โดยพิจารณาปัญหาในบริบทของประวัติศาสตร์ เพื่อ พยายามแสวงหาความรู้ ท�ำความเข้าใจสภาพความเป็นจริงและปรากฏการณ์สังคม เกี่ ย วกั บ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งป่ า และที่ ดิ น กั บ คนและชุ ม ชนในทุ ก ภู มิ ภ าคของ ประเทศไทย จากการศึ ก ษาสามารถแบ่ ง การตั้ ง ถิ่ น ฐานของชุ ม ชนในเขตป่ า ตาม พัฒนาการด้านสังคมและการเมือง ได้เป็น ๔ ยุค ได้แก่ (๑) ยุคสังคมบ้านป่า การตัง้ ถิน่ ฐานของชุมชนทีอ่ ยูใ่ นเขตป่ามีลกั ษณะเป็นชุมชน ดั้งเดิมที่อยู่กับป่า อาชีพของคนในชุมชน คือ หาผลผลิตจากป่า การท�ำไร่หมุนเวียน ของกลุ่มชาติพันธุ์ เป็นต้น เป็นลักษณะทางสังคมของชุมชนที่พบทั่วไปในประเทศที่อยู่ มีป่าเขตร้อน (๒) ยุคสัมปทาน มีบริษัทท�ำไม้หรือท�ำเหมืองแร่ที่ได้รับสัมปทานตัดทางเข้าสู่ พื้นที่ เริ่มจากภาคเหนือตอนบนในประมาณปี พ.ศ. ๒๔๓๕ ถัดมาเป็นภาคเหนือ

144ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ตอนล่าง ภาคกลาง ประมาณปี พ.ศ.๒๔๔๒ และภาคอีสานและภาคใต้ ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๑๖โดยจะมีพื้นที่ ๒ ลักษณะ คือ ก. พื้นที่ที่ชุมชนบ้านป่าอยู่ก่อน บริษัทผู้รับสัมปทานต้องประนีประนอมกับ อ�ำนาจของชุมชนท้องถิน่ โดยต้องจ่ายเงินให้แก่ผมู้ อี ทิ ธิพลในชุมชนในการตัดไม้ เพราะ การตัดไม้ขัดแย้งกับอาชีพและผลประโยชน์ของชุมชน มีการจ้างคนในชุมชนส่วนหนึ่ง เป็นแรงงานตัดไม้ และมีการน�ำคนงานจากภายนอกเข้ามาด้วย เมื่อบริษัทย้ายออกไป ได้ย้ายคนงานของตนออกไปโดยมีคนงานบางส่วนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ในป่า ข. พืน้ ทีท่ ไี่ ม่มชี มุ ชนอยูม่ าก่อน บริษทั ผูร้ บั สัมปทานจะน�ำคนงานจากภายนอก เข้าไปตัดไม้ใหญ่และไม้มคี า่ หากเป็นพืน้ ทีร่ าบลุม่ ท�ำเลดี คนงานตัดไม้บางส่วนได้กลับไป น�ำญาติพี่น้องและครอบครัวเข้ามาตั้งถิ่นฐานในพื้นที่เพื่อท�ำการเพาะปลูก (๓) ยุคพืชพาณิชย์เป็นยุคที่ชาวบ้านนิยมและได้รับการส่งเสริมให้ปลูกพืช พาณิชย์ในลักษณะพืชเชิงเดีย่ ว (Monocrop) เพือ่ ขายสูต่ ลาดและการส่งออก เช่น ข้าว พืชไร่ ฯลฯ ลักษณะของที่ดินและต้นไม้ก็อ�ำนวยเนื่องจากบริษัทสัมปทานได้ตัดต้นไม้ ใหญ่ออกไปแล้ว ประกอบกับมีรถไถขนาดใหญ่ในการไถ ลากและถอนตอไม้ได้รวดเร็ว ปลูกและขนส่งพืชพาณิชย์ออกสู่ตลาดได้โดยใช้ถนนที่บริษัทสัมปทานไม้ท�ำไว้ การสัมมนาวิชาการประจ�ำปี ๒๕๕๓ เรื่อง“การลดความเหลื่อมล�้ำและสร้าง โอกาสทางเศรษฐกิจ”ทั้งในยุคสัมปทานและยุคพืชพาณิชย์ จะมีบุคคลภายนอกและ อ�ำนาจจากภายนอกเข้าสู่พื้นที่ป่าและชุมชนเพิ่มมากขึ้น เช่น บริษัทผู้รับสัมปทาน เจ้า หน้าที่ป่าไม้ พ่อค้าพืชไร่ พ่อค้าวัสดุการเกษตร ฯลฯ ในบางพื้นที่ เช่น ภาคเหนือตอน ล่างจะ มีทหารเข้ามาปราบปรามคอมมิวนิสต์ มีการตัดไม้ใหญ่ออกจ�ำนวนมาก และน�ำ ชาวบ้านเข้าไปตั้งชุมชนปลูกพืชพาณิชย์ (๔) ยุครัฐหวงป่าเป็นยุคทีห่ น่วยงานของรัฐแสดงตัวในชุมชนหมูบ่ า้ นในเขตป่า อย่างชัดเจน เนื่องจากป่ามีน้อยลง เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ มีการก�ำหนด เขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ประเภทต่าง ๆ ก�ำหนดเขตและแสดงสิทธิพื้นที่ดินในเขตป่าสงวน ทั้งที่ยังมีสภาพป่าดีหรือเสื่อมโทรมว่าเป็นของรัฐ มีการอพยพโยกย้ายขับไล่ชุมชนออก จากพื้นที่ในบางแห่ง บางพื้นที่มีการน�ำที่ดินในเขตป่าสงวนเสื่อมโทรมไปใช้ท�ำธุรกิจ ขนาดใหญ่ เช่น ปาล์มน�้ำมัน ยูคาลิปตัส ฯลฯ ในยุคนี้ มีธุรกิจกว้านซื้อที่ดินทั้งในและ นอกเขตป่าเพื่อท�ำรีสอร์ทส�ำหรับแหล่งท่องเที่ยว มีระบบนายหน้าที่อยู่ในชุมชนติดต่อ ค้าทีด่ นิ ผูซ้ อื้ เป็นคนภายนอกทีม่ งุ่ หวังวิง่ เต้นการออกเอกสารสิทธิใ์ นภายหลัง ชาวบ้าน ชาติพันธุ์น่านศึกษา

145


ที่ขายที่ดินจะอพยพไปซื้อที่ดินในเขตที่อยู่ห่างไกลการคมนาคมที่ยังมีราคาถูกจาก ชาวบ้านทีอ่ ยูก่ อ่ นทัง้ ทีอ่ ยูใ่ นเขตป่าสงวนและนอกเขตป่าสงวน ข้อมูลจากงานศึกษาข้าง ต้นนี้ช่วยอธิบายว่ามีคนและชุมชนเข้าไปอยู่ในพื้นที่ป่าได้อย่างไร เมื่อรัฐอ้างกรรมสิทธิ์ เป็นเจ้าของพื้นที่ซึ่งเรียกตามกฎหมายว่า “ป่า” ทั้งหมด จึงเกิดประเด็นขัดแย้งทาง กฎหมายระหว่างรัฐและประชาชนในเรื่องป่าและที่ดินสะสมเรื้อรังมาจนถึงปัจจุบัน ๒ วิวัฒนาการด้านกฎหมายป่าและที่ดิน งานศึกษาของ บวรศักดิ์ อุวรรณโณ (๒๕๓๖) เป็นส่วนหนึง่ ของการศึกษาเรือ่ ง ป่าชุมชนในประเทศไทย และเป็นฐานความรู้ส�ำคัญที่น�ำไปสู่การบัญญัติเรื่อง “สิทธิ ชุมชน” เป็นครั้งแรก ในรัฐธรรมนูญฉบับปี ๒๕๔๐ เป็นการศึกษาวิเคราะห์พัฒนาการ ของกฎหมายของประเทศไทยในเชิงสังคมวิทยาทางกฎหมาย ที่ชี้ให้เห็นเหตุผลที่มา และบริบทแวดล้อมของการตรากฎหมายด้านป่าและที่ดินในแต่ละยุคสมัย และสาเหตุ รากฐานของความขัดแย้งด้านทีด่ นิ - ป่า และสิทธิชมุ ชนทีเ่ กิดขึน้ ในสังคมไทย งานศึกษานี้ ได้แบ่งพัฒนาการของกฎหมายป่าและที่ดินออกเป็น ๓ ช่วง ดังนี้ (๑) สถานะของสิทธิของราษฎรในทรัพยากรทีด่ นิ และป่า ก่อนรัชกาลที่ ๕ ก่อน การเปลี่ยนแปลงเป็นรัฐชาติแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เต็มที่ในสมัยรัชกาลที่ ๕ นั้น สิทธิของราษฎรในชุมชนเหนือทรัพยากรธรรมชาติเป็นสิทธิอิสระที่รัฐส่วนกลางให้การ รับรองและส่งเสริมโดยไม่เข้าไปแทรกแซง เว้นแต่เรื่องส�ำคัญ ๓ เรื่อง คือ การเก็บ ภาษีอากร การชี้ขาดข้อพิพาท และการบังคับเวนคืน การยอมรับสิทธิอิสระดังกล่าว ได้สะท้อนออกมาในสองด้านของกฎหมาย คือ ในด้านแรก รัฐส่วนกลางไม่ได้ตรากฎหมาย ก�ำหนดให้ทรัพยากรป่าหรือนาสวนเป็นของรัฐโดยตรง และไม่ได้ก�ำหนดกฎเกณฑ์ การใช้ทรัพยากรดังกล่าวออกไปจากส่วนกลาง คงมีแต่การยืนยันว่าที่ดินเท่านั้นที่เป็น ของพระมหากษัตริย์ ส่วนประโยชน์เหนือและในที่ดินคงปล่อยให้ราษฎรท�ำกินเองใน ด้านที่สอง ชุมชนสามารถพัฒนากฎเกณฑ์ ประเพณี ความเชื่อที่หลากหลายแตกต่าง กันตามพื้นที่ในส่วนที่เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชุมชนเอง โดยรัฐก็ให้การ ยอมรับประเพณีดงั กล่าวส�ำหรับสถานะทางอ�ำนาจของรัฐกับทรัพยากรทีด่ นิ มีลกั ษณะ ดังนี้ คือ ที่ดินเป็นของพระมหากษัตริย์ ห้ามซื้อขาย แต่ส่งเสริมให้บุกเบิกท�ำกินในที่ป่า และทีร่ กร้างว่างเปล่า นอกจากนัน้ การทีน่ ายบ้าน นายอ�ำเภอร้อยแขวง นายอากร ชักจูง ให้คนเข้าท�ำกินในป่าหรือทีร่ กร้างว่างเปล่าได้ถอื ว่าเป็นความชอบ จะได้รบั พระราชทาน

146ชาติพันธุ์น่านศึกษา


เงินรางวัลเป็นบ�ำนาญมีการส่งเสริมบุกเบิกเพือ่ เก็บอากรเข้าท้องพระคลังโดยให้ราษฎร มาแจ้งการบุกเบิกทีข่ องตนแก่เสนานายระวาง เพือ่ เขียน “โฉนฎ” เป็นหลักฐานในการเสีย ภาษีอากร การแจ้งบุกเบิกเพือ่ เสียภาษีอากรในสมัยอยุธยาเรือ่ ยมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ ๕ ยังคงเป็นรากฐานของการให้ราษฎรไป แจ้งการบุกเบิกทีท่ ำ� กินเพือ่ เสียภาษีบำ� รุงท้องที่ หรือ บภท.๖ ในปัจจุบนั สภาพดังกล่าวมีลกั ษณะสืบเนือ่ งกันมาตัง้ แต่กรุงสุโขทัย กรุงศรี อยุธยา กรุงธนบุรี และกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ความเปลี่ยนแปลงอย่างมากเริ่มเกิด ขึ้นเมื่อมหาอ�ำนาจตะวันตกได้แผ่ขยายอาณานิคมเข้ามาสู่สังคมไทยในสมัยรัชกาลที่ ๓ ต่อเนื่องมาถึงรัชกาลที่ ๔ ท�ำให้รัฐบาลไทยต้องยอมรับสนธิสัญญาบาวริ่งในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ เกิดผลต่อเนื่องหลายประการ รวมถึงการมีอิทธิพลเข้ามาของกระแสกฎหมาย และนิติศาสตร์แบบตะวันตก ส่งผลกระทบอย่างมากต่อความเปลี่ยนแปลงของความ สัมพันธ์ระหว่างรัฐ และราษฎร กับทรัพยากรป่าและที่ดิน ดังนั้นชุมชนบ้านห้วยเลา จึงเป็นชุมชนที่มีพัฒนาการจากการก่อรูปและการ จัดสรรทรัพยากรธรรมชาติอย่างไม่สมดุลอีกทัง้ ขาดฐานความเข้มแข็งด้านรากเหง้าทาง วัฒนธรรมนั้นเพราะเป็นชุมชนจัดตั้งใหม่ ภายใต้ขอจ�ำกัดของพื้นที่และความพยายาม ในการอนุรักษ์และรักษาป่าต้นน�้ำของภาครัฐ เมื่อวิเคราะห์ต้นทุนชุมชนคือเป็นชุมชน ที่อยู่ภายใต้บริบทแวดล้อมด้วยขุนเขาและธรรมชาติป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ อีกทั้งอยู่ใกล้ กับแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียง อุทยานศรีน่านที่มีนักท่องเที่ยวเข้ามาพักผ่อนเป็นอัตรา ที่สูงทุกปี ดังนั้นในส่วนของชุมชนต้องสร้างคุณค่าของชุมชนทั้งด้านขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมและวิถชี วี ติ ทีอ่ ยูก่ บั ธรรมชาติอย่างกลมกลืน และสร้างมูลค่าจากชุมชนในการ ดึงดูดนักท่องเทีย่ ว เข้ามาเยีย่ มชมชุมชน จะสร้างรายได้และเศรษฐกิจอีกทางทีม่ ากกว่า ภาคเกษตรกรรม ในส่วนของภาครัฐ ต้องบูรณาการ เพื่อสร้างกลไกล ที่มากพอในการ ช่วยเหลือชุมชนให้เกิดรายได้จากฤดูการณ์ทอ่ งเทีย่ ว โดยจะท�ำให้ชมุ ชนมีสว่ นร่วมและ เห็นความส�ำคัญในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในเขตอุทยาน ในการน�ำนักเรียน ลงพื้นที่โดยเป็นกลุ่มเยาวชนบ้านห้วยเลาเองท�ำให้เยาวชนเข้าใจและเห็นคุณค่าของ ชุมชนของตนเองมากขึ้น ระหว่างและหลังกระบวนการด�ำเนินการโครงการ ๑. เพื่อให้นักเรียนสามารถท�ำงานได้กับทุกภาคส่วนในสังคม ๒. เพื่อให้นักเรียนเกิดการหยั่งรู้ในโลกของความเป็นจริงมากขึ้น เข้าใจการ ปฏิบัติของบุคคลที่มีต่อสังคม และการเมืองมากขึ้น ๓. เพื่อให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อสังคมมากขึ้น ชาติพันธุ์น่านศึกษา

147


๔. เพื่อให้นักเรียนสามารถเข้าใจกระบวนการเรียนรู้ Community-based Learning ๕. เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสังคมที่มีความซับซ้อน เรียนรู้วัฒนธรรมส�ำหรับการปฏิบัติงาน และสามารถปฏิบัติงานได้ ๖. เพื่อพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ ทักษะทางสังคม และความรับผิดชอบต่อ สังคมให้กับนักเรียนโดยทางโรงเรียนมีปลายทางที่ชัดเจน ๗. เป็นการจัดการศึกษาที่สร้างให้นักเรียนมีวัฒนธรรมของการสืบค้นความรู้ ร่วมกัน สร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน โดยมหาวิทยาลัยเครือข่าย มีนวัตกรรมด้าน เทคโนโลยีสนับสนุนการเรียนรู้ ๘. นักเรียนเป็นผู้ออกแบบการเรียนรู้เอง สะท้อนคิดการปฏิบัติงานของ ผู้ปฏิบัติงาน (Reflective Practitioners) ที่ตนเองพบว่ามีปัญหาที่ต้องการเรียนรู้ และ ต้องการสืบค้น ๙. มีกิจกรรมการแลกเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจ และสร้างความรู้ใหม่ที่เกิด จากความเข้าใจจากการศึกษาร่วมกัน จนกระทั่งเกิดมุมมองใหม่ในกรอบความคิดของ ปัญหาที่ต้องการศึกษาร่วมกัน จนกระทั่งเกิดการประสานความร่วมมือในการเรียนรู้ ร่วมกัน (Collaborative Learning) ๑๐. เพือ่ ให้นกั เรียนมีกจิ กรรมการเรียนรูต้ ามสภาพจริง (Authentic Learning) การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-directed Learning) ๑๑. เพือ่ ให้นกั เรียนได้เรียนรูใ้ นบริบทของ Real-world Activities ผ่านรูปแบบ สภาชาติพันธุ์ ๑๒. เพือ่ ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างสาระการเรียนรูใ้ น ๘ กลุม่ สาระ (ปัญหา ที่เกิดขึ้นในโลกของความเป็นจริงต้องการความรู้ระหว่างสาขาความรู้ (พหุวิชา) ในการ แก้ปัญหา) ส่งเสริมให้ใช้สื่อใหม่ ๆ เทคโนโลยีที่เป็นนวัตกรรม ๑๓. เพื่อสนับสนุนการเรียนแบบ Peer to Peer Learning ๑๔. ให้นักเรียนทุกระดับได้เรียนรู้ร่วมกันผ่านรูปแบบสภาชาติพันธุ์ ๑๕. ให้ประสบการณ์ทหี่ ลากหลายกับนักเรียนด้วยการเชิญ Guest Lectures ที่หลากหลาย ๑๖. ส่งเสริมให้นักเรียนได้ประเมินตนเอง (Self-Assessment)

148ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ตอนที่ ๒ : เยาวชนขมุ ถอดบทเรียนกับชุมชนขมุลื้อ ลงประเมินพื้นที่หาบทเรียนกับชุมชนห้วยเลา อ.สองแคว ๑๗ - ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๗ ชนเผ่าขมุ ความเข้าใจในความหมายของการมีชีวิต ขมุลื้อ

ขมุ

ขมุ เป็นชาวเขาเผ่าหนึ่งซึ่งส่วนใหญ่ มีถนิ่ ทีอ่ ยูท่ างภาคเหนือของประเทศไทย นัก ภาษาศาสตร์ จ�ำแนกภาษาของชาวขมุอยูใ่ น ตระกูลออสโตรเอเชียติก สาขามอญ – เขมร ชาวขมุเรียกตัวเองว่า “ขมุ” เชื่อกันว่าขมุ เป็นชนพืน้ เมืองดัง้ เดิมของเอเชียอาคเนย์ ใน ปัจจุบัน ชาวขมุกระจายตัวอยู่ทางประเทศ ลาวตอนเหนือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแขวง หลวงพระบาง ส�ำหรับในประเทศไทยนัน้ ชาวขมุอาศัยอยูอ่ ย่างหนาแน่นในจังหวัดน่าน นอกจากนั้นมีอยู่ในจังหวัดเชียงราย ล�ำปาง เชียงใหม่ สุโขทัยและอุทัยธานีพบในภาค เหนือ โดยเฉพาะบริเวณชายแดนจังหวัดเชียงรายและจังหวัดน่าน ชาวขมุส่วนใหญ่หาเลี้ยงชีพโดยการท�ำไร่บนภูเขา โดยส่วนพืชที่ปลูกในไร่นั้น คือข้าวส�ำหรับบริโภคและข้าวโพดส�ำหรับเลีย้ งสัตว์ นอกจากนีย้ งั มีการปลูกพืชสวนครัว ซึ่งเป็นพืชจ�ำพวกเครื่องเทศ เช่น พริก หอม กระเทียม ตะไคร้ ข่า ขมิ้น เอาไว้ส�ำหรับ การบริโภคในครัวเรือนอีกด้วย ในส่วนของต�ำบลชนแดน อ�ำเภอสองแคว จังหวัดน่าน มีประชากรประกอบไป ด้วยชนเผ่าต่างๆ หลายชนเผ่ารวมถึงชนเผ่าขมุดว้ ย ชาวขมุในพืน้ ทีแ่ ห่งนีม้ กี ารใช้ภาษา ขมุในการติดต่อสื่อสารสื่อความหมาย ตั้งแต่เด็กจนถึงผู้ใหญ่ ตั้งแต่ระดับครัวเรือนถึง ชุมชน แต่เนื่องจากภาษาขมุเป็นภาษาที่มีแต่ภาษาพูด ไม่มีภาษาเขียนภาษาขมุจึงมี โอกาสที่จะเสี่ยงต่อการสูญหายถ้าหากชาวขมุรุ่นหลังไม่อนุรักษ์ภาษาของตนเองอย่าง แท้จริง ชาติพันธุ์น่านศึกษา

149


ชนเผ่าขมุ (KHAMU) สายเลือดดั้งเดิมอันยาวนานแห่งเผ่าพันธุ์ ชนเผ่ า ขมุ เป็ น ชนเผ่ า กลุ ่ ม น้ อ ยในเมื อ งไทย อาศัยอยู่ใ นบริเวณภาคเหนือแถบจังหวัดน่านและ กระจัดกระจายอยูต่ ามจังหวัดเชียงราย, จังหวัดล�ำปาง, จังหวัดอุทัยธานี ขมุอยู่ในกลุ่มที่พูดภาษาในตระกูล ออสโตรเอเซียติก สาขามอญ-เขมร เชือ่ กันว่าเป็นกลุม่ ชน ที่เก่าแก่ที่สุดในสุวรรณภูมิ ค�ำว่า ขมุ แปลว่า คน แต่ ชนเผ่าขมุจะพยายามไม่ใช้คำ� นีเ้ วลาพูดกับคนภายนอก ประเทศลาวเป็นแหล่งใหญ่ของชาวขมุ ลาวเรียกชน กลุม่ น้อยทีพ่ ดู ภาษามอญ-เขมร คือขมุวา่ ข่า หมายถึง ผู้รับใช้ แต่เป็นค�ำที่ขมุไม่ยอมรับจะยอมรับอีกชื่อ ที่ทางรัฐบาลลาวเรียกคือ ลาวเทิง (ลาวบนที่สูง) ชาวขมุแบ่งเป็นหลายกลุ่ม แต่ละกลุ่ม มีลักษณะการใช้ภาษา และวัฒนธรรมความเป็นอยู่ การปฏิบัติตน เช่น การแต่งกาย พิธกี รรมต่าง ๆ แตกต่างกันบ้าง ค�ำทีเ่ รียกชาวขมุดว้ ยกันเองแต่ตา่ งกลุม่ คือค�ำว่า ตม้อย และถ้าต้องการเจาะกลุ่มก็จะใช้ชื่อหมู่บ้านของกลุ่มต่อท้าย เช่น ตม้อยปูหลวง (ชาวขมุ ที่อยู่บ้านปูหลวง) ตม้อยลื้อ (ชาวขมุที่อยู่ในกลุ่มพวกลื้อ) เป็นต้น วิถีชีวิตความเป็นอยู่ ชาวขมุชอบสร้างบ้านอยู่ตามชายเขา การเลือกท�ำเลที่ตั้งจะเลือกบริเวณที่ ใกล้น�้ำ ภายในบ้านมีการแบ่งเป็นสัดส่วน มีบริเวณเตาไฟหุงข้าว ชาวขมุถือว่าศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่ประดิษฐานของผีบ้านเรียกว่า โรยถาง ชาวขมุบาง กลุ่มนิยมใช้กระบอกไม้ไผ่เป็น ทีใ่ ส่นำ�้ บางกลุม่ นิยมใช้นำ�้ เต้า มักจะปลูกพืชผักทีม่ กี ลิน่ ฉุนหรือรสเผ็ด เพือ่ ใช้ในการปรุง อาหาร รักษาโรค และใช้เป็นเครือ่ งป้องกันภูตผี เช่น ขมิน้ ขิง พริก ถ่าน ฯลฯ ในหมูบ่ า้ น ขมุจะมีศาลากลางบ้าน เรียกว่า โศลกหรือจอง เป็นสถานที่ท�ำพิธีกรรม ตามประเพณี ของขมุ เช่น การเลี้ยงผีหมู่บ้าน เป็นที่นัดพบ ประชุม และยังเป็นสถานที่ที่ใช้ตัดสินคดี พิพากษาคดีของคนในหมู่บ้านเป็นที่พักส�ำหรับคนที่เดินทางด้วย ชาวขมุท�ำการ เกษตรกรรม เป็นหลักเช่นเผ่าอืน่ ๆ แต่เป็นการเกษตรแบบยังชีพเท่านัน้ คือ ปลูกพืชผัก ปลูกข้าวเพื่อการบริโภค ส่วนพืชไร่และ ไม้ผลก็ปลูกเพื่อไว้กิน การเก็บเกี่ยวผลผลิต แต่ละปีมกั จะ ไม่เพียงพอต่อการบริโภค ปัจจัยหลายอย่างทีท่ ำ� ให้การเกษตร ของขมุเป็น

150ชาติพันธุ์น่านศึกษา


เพียงการเกษตรแบบยังชีพ ลักษณะของพื้นที่เกษตรเป็นพื้นที่ที่ถูกใช้มาเป็นเวลานาน ท�ำให้ความอุดมสมบูรณ์ลดน้อยลง คุณภาพของดินไม่ดี เป็นสาเหตุให้ผลผลิตตกต�่ำ และชาวขมุไม่ได้โยกย้ายถิน่ ฐานหรือท�ำไร่หมุนเวียนเหมือนชนเผ่าอืน่ ๆ จะใช้พนื้ ทีเ่ ดิม จึงท�ำให้ชาวขมุไม่สามารถพัฒนาระบบการเกษตรจากเพื่อยังชีพไปสู่ระบบการเกษตร แบบตลาดได้ ( ในความหมายนี้ ห มายถึ ง ดี เ พราะถื อ เป็ น การเกษตรที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่งแวดล้อมระบบนิเวศ) ประเพณีวัฒนธรรม ชาวขมุเป็นผู้ที่เคร่งครัดต่อประเพณี และพิธีกรรมความ เชือ่ เรือ่ งผีเป็นอย่างยิง่ ทางเข้าหมูบ่ า้ นหรือตามทางแยกมักจะพบสัญลักษณ์หรือเครือ่ ง เซ่นไหว้อย่างเด่นชัดไว้ทปี่ ระตูหมูบ่ า้ นหรือทางแยก ชาวขมุนบั ถือผีโร้ย มีพธิ เี ซ่นไหว้ดว้ ย ไก่ ข้าว เหล้า พิธเี ลีย้ งผีทสี่ ำ� คัญคือ เลีย้ งผีทเี่ กีย่ วข้องในชีวติ มีทงั้ ผีปา่ ผีหมูบ่ า้ น ทุกบ้าน จะมีผบี า้ นโรยถาง ซึง่ เชือ่ ว่าประดิษฐานในบริเวณทีห่ งุ ข้าว พิธตี า่ ง ๆ เกีย่ วกับการเลีย้ งผี คือ การเลีย้ งผีขา้ ว, เลีย้ งผีหมูบ่ า้ น, เลีย้ งผีเพือ่ รักษาผูเ้ จ็บป่วย, เลีย้ งผีบรรพบุรษุ , เลีย้ งผี เพือ่ แก้ความผิดต่าง ๆ ป้องกันเหตุรา้ ยทีจ่ ะเกิดขึน้ เวลาทีเ่ ลีย้ งผีจะมีการตัดไม้ไผ่ หรือตะแล้ ไว้เป็นเครือ่ งหมายด้วย เป็นพิธที ปี่ ฏิบตั มิ าแต่โบราณ เพือ่ แสดงว่ามีการเลีย้ งผีแล้ว การ ท�ำพิธเี ลีย้ งผีหมูบ่ า้ นจะต้องท�ำตะแล้เอาไว้ทงั้ ๔ ทิศของหมูบ่ า้ น โดยตะแล้จะอยูส่ องข้าง ทั้งด้านซ้ายและด้านขวา การท�ำพิธีเลี้ยงผีต่าง ๆ ของขมุเพื่อความปลอดภัย การกินดี อยูด่ ี เพือ่ ความอุดมสมบูรณ์ของพืชพรรณทางการเกษตร เพือ่ ป้องกันรักษาคนเจ็บป่วย การแต่งกายของหญิงขมุ ผู ้ ห ญิ ง ไว้ ผ มมวยเกล้ า ไว้ ข ้ า ง หลัง มีแผ่นผ้าพันรอบกรวยใหญ่ เอา ปลายผ้ า ปิ ด ข้ า งบนทอเป็ น ลวดลาย ประดั บ กระดุ ม เปลื อ กหอย ห้ อ ย เหรียญเงิน ใส่เสื้อสีด�ำ สั้นเหนือเอว แขนยาว มี แ ถบสี แ ดงริ ม คอเสื้ อ นุ่งผ้าซิ่นลายสีต่าง ๆ ผู้หญิงนิยมเจาะรูหู ใส่ลานเงินหรือตุ้มหู เอายางไม้ย้อมฟันสีด�ำ ใส่ก�ำไลเงินที่แขน สักดอกจันทร์ไว้ที่หลังมือ แต่ ปัจจุบันไม่นิยมแล้ว ส่วนผูช้ าย เดิมไว้ผมยาว เกล้ามวยมีผา้ โพกศีรษะ ปัจจุบนั ตัดผมสัน้ นุง่ กางเกง ขายาว เสื้อกุยเฮงผ่าอกสีด�ำ (บุญช่วย ๒๕๐๖, น.๒๐๗-๒๐๘) ชาติพันธุ์น่านศึกษา

151


ระบบเศรษฐกิจของชาวขมุ ขึน้ อยูก่ บั การเกษตรเป็นส�ำคัญ ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด กล้วย อ้อย ถัว่ พริก ยาสูบ ฝิน่ ฝ้าย เป็นต้น ชาวขมุนยิ มถางป่า เผาป่าท�ำไร่ สัตว์เลีย้ งของชาวขมุ ได้แก่ สุนขั ควาย หมู ไก่ เป็ด เป็นต้น นอกจากนัน้ ยังเก็บของป่า ล่าสัตว์ ดักสัตว์ รายได้ของชาวขมุ ได้มา จากการเป็นแรงงานรับจ้างในไร่นาของพวกลาว คนจีน พวกแม้ว เป็นต้น (Lebar and others ๑๙๖๔, p.๑๑๔-๑๑๕) ศิลปหัตถกรรม สตรีชาวขมุนิยมการทอผ้า ชาวขมุจะนิยมเสื้อผ้าสีด�ำ หรือสีคล�้ำเข้ม ผู้หญิง จะนุ่งผ้าซิ่นลายแบบผู้หญิงลาว เสื้อสีดำ� โพกผ้าสีแดง ซึ่งจะพบกับขมุที่บ้านห้วยเย็น และห้วยเอียน อ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ส่วนที่บ้านน�้ำปาน บ้านน�้ำหลุ บ้าน ห้วยสะแต อ�ำเภอทุ่งช้าง และอ�ำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน จะนุ่งผ้าซิ่นลาวขวางแบบ ไทยลื้อ สวมเสื้อผ้าหนาสีน�้ำเงินเข้ม ตัวเสื้อตกแต่งด้วยผ้าหลากสีและมีเหรียญเงิน ใส่กำ� ไลเงินทีค่ อแบบชนเผ่าม้ง ใส่กำ� ไลข้อมือ มักจะโพกผ้าสีขาว ปัจจุบนั จะไม่คอ่ ยนิยม ใส่ชุดชนเผ่าตนเอง จะแต่งกายแบบคนพื้นเมืองทางภาคเหนือ บางหมู่บ้านจะไม่พบ การแต่งกายประจ�ำเผ่าขมุเลย ชนเผ่าขมุทั้งชายและหญิงจะนิยมสักตามแขนขา ผูห้ ญิง นิยมเจาะหูเป็นรูกว้าง และใช้ดอกไม้เสียบประดับ ชอบกินหมาก เครื่องใช้ภายในบ้าน ชาวขมุจะมีการความช�ำนาญในการจักสานไม้ไผ่และจักสานหวาย จึงใช้ไม่ไผ่และหวาย สานภาชนะเครื่องใช้ต่าง ๆ เช่น ขันโตกตั้งอาหาร, กล่องใส่ข้าว, ถ้วยชามท�ำจากไม้หก, ท�ำช้อนจากไม้ซาง, ท�ำกระบอกน�้ำจากไม้ไผ่ เป็นต้น เครื่องดนตรี ขมุบางที่มีการเล่นแคน เล่นโร้ง ซึ่งท�ำมาจากเหรียญทองแดง ใช้ปากเป่าและ มือดีด เป่าปี่ที่ท�ำด้วยไม้ซางหรือทองเหลือง มีเสียงต�่ำเสียงสูง เสียงคล้ายแมลงหวี่ และแมลงวัน เป่าขลุ่ยที่เรียกว่า ซู้ลและตรึเวิล ตีฆ้องทองเหลืองมีไม้หุ้ม ตีกลองคล้าย ม้านั่งกลมขึงด้วยหนังวัวหนังควาย ส�ำหรับแคนและปี่ใช้เป่าเวลาไปเที่ยวหาสาว ยามค�่ำคืน มีการร้องเพลงคลอไปด้วย ฆ้องและกลองจะใช้ในงานแต่งงานหรือขึ้น บ้านใหม่ ส่วนเครื่องดนตรีของผู้หญิงที่ใช้เล่นยามว่างคือ ไทร้ ท�ำจากไม้ไผ่ ตีให้เกิด เสียงไพเราะ

152ชาติพันธุ์น่านศึกษา


บ้านชาวขมุ ในสั ง คมของชาวขมุ ไม่ มี ร ะบบ ปกครองที่ซับซ้อน เนื่องจากได้รับอิทธิพล จากการปกครองลาว (Lebar and others ๑๙๖๔, p.๑๑๗) ส่วนระบบครอบครัว มี การนับถือสายบิดา (Partrilineal) ตาม ธรรมเนียมหลังแต่งงาน ชายต้องไปอยูบ่ า้ น ผูห้ ญิง นอกจากชายมีฐานะดีกว่า ส่วนมากผูช้ ายจะช่วยงานบ้านบิดามารดาผูห้ ญิงจนมี บุตร ๑ คน จึงน�ำภรรยากลับไปอยู่บ้านบิดามารดาของตน หลังจากนั้นภรรยาต้องรับ ใช้บิดามารดาของสามี (บุญช่วย ๒๕๐๖, น.๒๑๔) ขมุถือตามธรรมเนียมจีนว่า เมื่อสามี ตายลงภรรยาต้องอยู่รับใช้บิดา มารดาฝ่ายสามีตลอดไป ถ้ามีชายมาชอบพอรักใคร่ขอ แต่งงานด้วยหญิงมีสิทธิ์แต่งงานใหม่ได้ แต่บุตรซึ่งเกิดจากสามีเดิม จะน�ำเอาไปด้วยไม่ ได้ ต้องมอบให้เป็นสิทธิ์ของบิดามารดาสามีเก่า (บุญช่วย ๒๕๐๖, น.๒๑๙) สะเดาะเคราะห์ ตามปกติเมื่อไม่มีคนเจ็บป่วยหรือโรคระบาดทุก ๆ ๓ ปี จะมีการฆ่ากระบือ เซ่นผีเมือง ท�ำพิธีเซ่นผีไร่เวลาปลูกข้าว เมื่อมีคนตายในหมู่บ้าน เพื่อนบ้านจะน�ำไก่ ไปให้ครอบครัวละ ๑ ตัว ศพถูกห่อด้วยเสื่อสะเดาะเคราะห์ ตามปกติเมื่อไม่มีคน เจ็บป่วยหรือโรคระบาดทุก ๆ ๓ ปีจะมีการฆ่ากระบือ เซ่นผีเมือง ท�ำพิธีเซ่นผีไร่เวลา ปลูกข้าว เมื่อมีคนตายในหมู่บ้านเพื่อนบ้านจะน�ำไก่ไปให้ครอบครัวละ ๑ ตัว ศพถูกห่อ ด้วยเสื่อใช้ไม้คานสอดหามไปยังป่าช้า หลุมฝังศพใช้ไม้ฟากรองพื้นดินวางเสื่อห่อศพลง แล้วกลบดินเหนือหลุมศพมีสุราอาหาร ดอกไม้ เทียนวางไว้ ลูกหลานต้องส่งอาหาร เซ่นวิญญาณผู้ตายติดกัน ๓ วัน เมื่อกลับมาบ้าน เจ้าบ้านจะฆ่าหมูเลี้ยง วิญญาณผู้ตาย ที่บ้านอยู่กรรมมีก�ำหนด ๑ เดือน คือไม่ออกไปไกลหมู่บ้านหยุดท�ำงานหนักในไร่นา (บุญช่วย ๒๕๐๖, น.๒๑๘-๒๑๙) ปัจจุบนั ชาวขมุหนั มานับถือศาสนาพุทธและคริสต์บา้ ง (บุญช่วย ๒๕๐๖ น.๒๑๐-๒๑๑) การแต่งกายของชาวขมุผหู้ ญิงไว้ผมมวยเกล้าไว้ขา้ งหลัง มีแผ่นผ้าพันรอบกรวยใหญ่เอาปลายผ้าปิดข้างบนทอเป็นลวดลายประดับกระดุมเปลือกหอย ห้อยเหรียญเงินใส่เสื้อสีด�ำสั้นเหนือเอวแขนยาว มีแถบสีแดงริมคอเสื้อ นุ่งผ้าซิ่นลายสี ต่างๆ ผู้หญิงนิยมเจาะรูหูใส่ลานเงินหรือตุ้มหูเอายางไม้ย้อมฟันสีด�ำ ใส่ก�ำไลเงินที่แขน สักดอกจันทร์ไว้ที่หลังมือ แต่ปัจจุบันไม่นิยมแล้ว ส่วนผู้ชายเดิมไว้ผมยาวเกล้ามวยมี ชาติพันธุ์น่านศึกษา

153


ผ้าโพกศีรษะ ปัจจุบนั ตัดผมสัน้ นุง่ กางเกงขายาว เสือ้ กุยเฮงผ่าอกสีดำ� (บุญช่วย ๒๕๐๖, น.๒๐๗-๒๐๘) ระบบเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจของชาวขมุขนึ้ อยูก่ บั การเกษตรเป็นส�ำคัญ ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด กล้วย อ้อย ถั่ว พริก ยาสูบ ฝิ่น ฝ้าย เป็นต้น ชาวขมุนิยมถางป่าเผาป่า ท�ำไร่ สัตว์เลี้ยง ของชาวขมุ ได้แก่ สุนัข ควาย หมู ไก่ เป็ด เป็นต้น นอกจากนั้นยังเก็บของป่า ล่าสัตว์ ดักสัตว์ รายได้ของชาวขมุได้มาจากการเป็นแรงงานรับจ้างในไร่นาของ พวกลาว คนจีน พวกแม้ว เป็นต้น (Lebar and others ๑๙๖๔, p.๑๑๔-๑๑๕) การลงพืน้ ทีศ่ กึ ษาครัง้ นีก้ บั พบข้อสังเกตของการเรียกตัวเองของคนในพืน้ ถิน่ ว่า ขมุลื้อของชุมชนบ้านห้วยเลา ลักษณะพื้นที่ของชุมชนที่ศึกษาบ้านห้วยเลา อ.สองแคว จังหวัดน่าน สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาสลับซับซ้อนและสูงชัน คิดเป็นร้อยละ ๘๐ ของพื้นที่ทั้งหมด เขตพื้นที ่

ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

อาชีพ

อาชีพหลัก ท�ำสวน ท�ำไร่ อาชีพเสริม รับจ้าง หาของป่า เลี้ยงสัตว์

ติดกับ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ติดกับ ต.นาไร่หลวง อ.สองแคว จ.น่าน ติดกับ อ.ทุ่งช้าง จ.น่าน ติดกับ ต.ยอด อ.สองแคว จ.น่าน

สาธารณูปโภค จ�ำนวนครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้ในเขต อบต. คิดเป็นร้อยละ ๙๘.๐๐ ของพื้นที่ การเดินทาง

สามารถเดินทางโดยใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๒๗๙ ระยะทางจากตัวอ�ำเภอสองแคว ประมาณ ๙ กม.

ผลิตภัณฑ์

อุ (เหล้าไห) เครื่องจักสาน ผ้าทอไทลื้อ ผ้าทอพื้นเมือง

154ชาติพันธุ์น่านศึกษา


จากลักษณะภูมิประเทศดังกล่าวท�ำให้เป็นลักษณะจ�ำเพาะของพื้นที่ที่ถือว่า เป็นเขตต้นน�้ำของแม่น�้ำสาขาของแม่น�้ำน่าน มีการพบพืชหากยากหลายชนิดและหนึ่ง ในนั้นเป็นพืชเศรษฐกิจของชุมชนด้วย เช่น “ต๋าว” เป็นไม้ปา่ ชนิดหนึง่ มีชอื่ วิทยาศาสตร์วา่ อะเร็นกา พินนาตา (Arenga pinnata Merr.) อยูใ่ นวงศ์ Palmae พวกเดียวกับมะพร้าว ต้นตาลหรือปาล์มต่าง ๆ ต้นต๋าว มี ถิ่ น ก� ำ เนิ ด ดั้ ง เดิ ม อยู ่ ใ นแถบเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ใ นประเทศอิ น เดี ย ต๋ า วเป็ น พืชดึกด�ำบรรพ์ตระกูลปาล์ม ล�ำต้นสูงตระหง่าน ใบเป็นแพกว้างให้ความชุม่ เย็น ออกลูก เป็นทะลายใหญ่ ในแต่ละผลมีเมล็ดใส ๆ เรียงชิดกันอยู่ ๓ เม็ด ด้วยเหตุนี้ คนจึงเรียกลูก ต๋าวว่า “ลูกชิด” กว่าต้นต๋าวจะเติบโตจนออกลูกได้ตอ้ งใช้เวลากว่า ๑๐ ปี และสามารถ เก็บเกี่ยวผลได้เพียงไม่กี่ปีเท่านั้น และที่ส�ำคัญ พืชชนิดนี้ ไม่สามารถปลูกได้ จะต้องขึ้น เองตามธรรมชาติ ในป่าดิบชืน้ เท่านัน้ ต้นต๋าวมากทีส่ ดุ บริเวณพืน้ ทีด่ นิ ร่วนตามเชิงเขาที่ อากาศชุ่มชื้นต๋าวจะลักษณะล�ำต้นตรง ขนาดโตกว่าต้นตาล สามารถใช้ประโยชน์จาก ทุกส่วน ไม่ว่าจะเป็นใบที่มีลักษณะเช่นเดียวกับมะพร้าว แต่โตและแข็งแรงกว่า นิยม น�ำมาใช้มงุ หลังคากัน้ ฝาบ้าน ก้านใบน�ำมาเหลารวมท�ำไม้กวาด เส้นใยทีล่ ำ� ต้นใช้ทำ� แปรง ยอดอ่อนทีข่ วั้ หัวใช้กนิ แบบผักสด หรือดองเปรีย้ วเก็บไว้แกงส้ม แกงกะทิ ส่วนผลน�ำเนือ้ ในเมล็ดมารับประทานสดหรือน�ำไปเชื่อมน�้ำตาล เพื่อให้ได้รสอร่อยขึ้นความสูงของต้น ต๋าวสูงประมาณ ๑๕-๒๐ เมตร มีใบประมาณ ๕๐ ทาง แต่ละทางมีความยาวประมาณ ๖-๑๐ เมตร ดอกของต้นต๋าวเป็นแบบสมบูรณ์เพศ คือมีเกสรตัวผูแ้ ละเกสรตัวเมียอยูใ่ น ดอกเดียวกัน ช่อดอกหนึ่งจะยาวประมาณ ๒-๓ เมตร ดอกต๋าวมีสีขาวขุ่น เมื่อโตเต็มที่ จะออกดอกทีละทะลาย เมือ่ ดอกเจริญกลายเป็นผลสุกแก่เต็มที่ ซึง่ ใช้เวลาประมาณ ๑ ปี ก็จะเริ่มออกดอกทะลายใหม่ต่อไปอีก ผลต๋าวจะมีน�้ำยาง ถ้าถูกผิวหนังจะรู้สึกคัน ในการเก็บจะต้องระมัดระวังเป็นพิเศษการเก็บผลต๋าวนัน้ จะตัดเฉพาะทะลาย ไม่โค่นล้ม ต้น ซึ่งการเก็บแต่ละครั้งนั้นจะต้องไปนอนค้างแรมอยู่ในป่าอย่างน้อย ๒-๓ คืน ในช่วง ที่ฝนหยุดตก ส่วนในช่วงที่มีฝนจะหยุดการด�ำเนินการ เพราะไม่มีฟืนที่จะมาต้มลูกต๋าว ที่ส�ำคัญฤดูนี้เป็นช่วงที่ต๋าวจะขยายพันธุ์ การจัดเก็บผลผลิตต๋าวส่วนใหญ่จะเริ่มตั้งแต่ปลายเดือนกันยายนถึงเดือน มีนาคม ซึ่งแต่ละครั้งต้องเดินทางไปในป่าเพื่อน�ำผลต๋าวที่ได้ขนาดมาต้มพอสุก ตัดขั้ว ผลแล้วหนีบเมล็ดออกโดยใช้เครื่องมือที่ผลิตเองในพื้นที่คล้ายเครื่องตัดเหล็กที่มีคันยก ในจ�ำนวน ๑ ผล จะมี ๓ เมล็ด เฉลี่ย ๒ ทะลาย จะได้ ๑ ถัง (๑๕ กิโลกรัม) ชาติพันธุ์น่านศึกษา

155


ผลต๋าวที่เก็บออกจากป่าส่วนใหญ่จะน�ำออกมาด้วยวิธีการต้มในน�้ำเดือด ซึ่ง จะต้มใกล้ๆ ต้นต๋าว ต้มจนเปื่อยนุ่มเพื่อให้ง่ายต่อการบีบเอาเนื้อในออกมา ใช้มีดปาด ส่วนหัวออกให้เห็นเนื้อข้างในสีขาว ๆ จากนั้นก็เอาไม้หนีบเพื่อให้เนื้อขาว ๆ เป็นเมล็ด หลุดออกมาน�ำไปล้างน�ำ้ ให้สะอาดและน�ำมารับประทานแถบบริเวณช่องเขาตลอดแนว ล�ำน�ำ้ ยาวทอดยาวไปมีตน้ ต๋าวอยูเ่ ยอะพอสมควรโดยเฉพาะชุมชน ต้นน�ำ้ อย่างบ้านห้วย เลาสองแคว "อุ" หรือ เหล้าไหเป็นผลิตภัณฑ์หนึง่ ทีช่ นขมุในพืน้ ทีย่ งั อนุรกั ษ์และสืบทอดมาสู่ ลูกหลานเดิมนัน้ ชนเผ่าขมุใช้เหล้าอุในการเลีย้ งสังสรรค์ตอ้ นรับเพือ่ื นฝูง ทีม่ าเยีย่ มเยียน "เหล้าอุ" เป็นเครื่องดื่มที่ออกฤทธิ์มึนเมาซึ่งได้ท�ำมาจากข้าวเหนียว แกลบ ร�ำข้าวและ แป้งยีสต์ ปัจจุบัน อุ เป็นผลิตภัณฑ์ของชุมชนที่มีชื่อเสียงและเป็นที่นิยมของคนทั่วไป เมือ่ มีการต้อนรับแขกผูม้ าเยียนด้วยการฟ้อนร�ำแบบขมุ ก็จะมีการเชิญแขกร่วมดูดอุกบั สาวขมุ เรียกว่า โน้มกิง่ ฟ้า ซึง่ เป็นประเพณีทขี่ าดไม่ได้และสร้างความประทับใจให้กับผู้ มาเยือนอย่างไม่มีวันลืม แต่อย่างไรก็ตามเป็นเราที่จะน�ำมาดื่มกินกันได้ต้องช่วงพิธีการ เท่านั้นถ้าใครจะน�ำไหไปดื่มด้านนอกต้องท�ำพิธีแก้เคล็ดใช้ พริก กับถ่าน หรือแขกคน นั้นเมื่อมานั่งดื่มแล้วต้องดื่มให้ได้แปดไหถึงจะกลับได้ไม่งั้นก็ถือว่าผิดผี ลักษณะทาง ภูมิศาสตร์ที่ตั้งของชุมชน บ้านห้วยเลา มีพืชผลไม้พื้นถิ่น ผลไม้ป่าลักษณะต้นเหมือน ปาล์ม หรือพวกหมาก เรียกมักม่าก้อ หรือ มะก้อ ใช้วิธีต้มหรือแช่เกลือแล้วตากให้มัน สุก ทานกับข้าวเหนียวได้รสมันจะหวาน แต่เมือ่ ทดลองทานมันดูไม่มรี สตอนโดนลิน้ แต่ พอเคี้ยวไปนาน ๆ มันจะเริ่มมัน ๆ ชาวบ้านที่นี้นิยมทานกันมาก การเรียนรู้ ความผูกยึดระหว่างความเชื่อของชุมชนพี่น้องชาวขมุลื้อ กับภูมิ วัฒนธรรมอันแนบแน่นเป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติ โดยมีการรักษาป่าต้นน�้ำของชุมชน

156ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ขุนป่าศักดิส์ ทิ ธิ์ ทีท่ กุ คนย�ำเกรงเคารพ แต่แฝงไว้ดว้ ยความน่าชืน่ ชมเพราะพืน้ ป่าในเบือ้ ง หน้าที่เป็นต้นธารหล่อเลี้ยงชุมชนขุนป่าศักดิ์สิทธิ์ ของพี่น้องชาวบ้านขมุลื้อ ชุมชนบ้าน ห้วยเลา ต�ำบลชนแดน อ�ำเภอสองแคว ด้วยชุมชนเป็นชุมชนที่อยู่ติดชายแดนแม้จะมี โรงเรียนในหมูบ่ า้ นแต่เด็กทีน่ กี้ ถ็ อื ว่ายังขาดโอกาสในการทีจ่ ะศึกษาต่อในระดับทีส่ งู ขึน้ แต่สงิ่ ทีเ่ ยาวชนทีน่ ฝี้ กึ ฝนและมีมาตัง้ แต่เด็กคือทักษะชีวติ ทีม่ ากกว่าชีวติ เรียนรูแ้ ละเล่น สนุกไปกับผืนแผ่นดินที่เรียกว่า บ้าน กับเวลาดี ๆ ในช่วงปิดภาคเรียนของเด็ก ๆ การ ร่วมแรงหาปลา กุง้ ตลอดล�ำน�ำ้ ยาวทีย่ งั อุดมสมบูรณ์ ชุมชนบ้านห้วยเลา อ�ำเภอสองแคว ชนขมุลื้อจึงเป็นชุมชนที่มีความสงบน่าอยู่อาศัยเป็นอย่างยิ่ง

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

157


ตอนที่ ๓ : เยาวชนม้ง ถอดเป็นบทเรียนกับชุมชนม้ง ลงประเมินพื้นที่หาบทเรียนกับบ้านดอยติ้ว อ.ท่าวังผา ๒๔ - ๒๕ ตุลาคม ๒๕๕๗ ม้ง (แม้ว) Hmong (Meo) ความเชื่อที่เป็นโลกทัศน์ของวัฒนธรรมชาวม้ง Hmong/Miao/ม้ง มาจากใหน ?

นานมาเเล้วประมาณ ๕,๐๐๐ ปีบริเวณเเม่นำ�้ หวงโหทางตอนเหนือของประเทศ จีนปัจจุบัน ได้มีกลุ่มชนอาศัยอยู่ ๓ กลุ่มใหญ่ด้วยกัน คือ กลุ่มซือโยว่ (Chi you.บรรพบุรุษของม้ง) ทักจากบริเวณของซือโยว่ มีอีกสอง กลุ่มชนใหญ่ๆอาศัยอยู่เช่นกัน คือ กลุ่มห่วงตี้ เเละกลุ่ม เหยือนตี (บรรพบุรุษคนจีน) เมือ่ เเต่ละกลุม่ ขยายเผ่าพันธุเ์ พิม่ ขึน้ ท�ำให้ตอ้ งขยายทีท่ ำ� กิน ขยายอาณาเขต จึงเกิดศึก ระหว่าง ซือโยว่ กับห่วงตี้เเละเหยือนตี้ ในบันทึกประวัติศาสตร์จีน เมื่อ ๕๐๐๐ ปีก่อน ได้เขียนเป็นนิทานใว้ว่า ศึกหวงตี้ปะทะซือโยว่

158ชาติพันธุ์น่านศึกษา


สงครามด�ำเนินกันมานานหลายปี หลายครั้ง เเต่ละครั้งนั้น ห่วงตี้พ่ายเเพ้ต่อ ซือโยว่ตลอด เพราะซือโยว่สมัยนั้น รู้จักท�ำขวางหิน จุดไฟ เเละธนู หวงตี้จึงไปขอความ ร่วมมือจากเหยียนตี้ ให้รว่ มมือกันก�ำจัดซือโยว่ สงครามครัง้ สุดท้าย กลุม่ ของหวงตีเ้ เละ กลุ่มของเหยียนตี้ จึงช่วยกันสร้างอ่างเก็บน�้ำขนาดใหญ่ใว้เหนือหมู่บ้านของซือโยว่ เมื่อ ถึงฤดูฝนมาท�ำให้อ่างเก็บน�้ำได้ปริมาณมากพอที่จะท่วมหมู่บ้านของซือโยว่ ห่วงตี้เเละ เหยียนตีจ้ งึ ช่วยกันท�ำหลายอ่างเก็บน�ำ้ น�ำ้ ได้เข้าท่วมหมูบ่ า้ นซือโยว่ ท�ำให้สมาชิกพีน่ อ้ ง ซือโยว่ลม้ ตายจ�ำนานมาก ในศึกครัง้ นีเ้ องซือโยว่เป็นฝ่ายเเพ้ หลังจากเเพ้สงคราม ซือโยว่ มีลกู อยูส่ ามคน เเต่ละคนได้พากลุม่ คนจ�ำนวนหนึง่ ไปด้วย โดยคนทีห่ นึง่ พาผูค้ นจ�ำนวน หนึ่งอพยพไปทางทิศตะวันออกโดยกลุ่มเเรกนี้ปัจจุบันสันนิษฐานว่าเป็นคนญี่ปุ่น ส่วน กลุม่ ทีส่ องอพยพลงทิศตะวันออกเฉียงใต้ กลุม่ ทีส่ องสันนิษฐานว่าเป็นคนเกาหลี เนือ่ งจาก วัฒนธรรมเกาหลีเเละม้งคล้ายกันมากเเละประวัติศาสตร์เกาหลีก็มีบรรบุรุพซือโยว่ บรรพบุรุษเดียวกันกับม้ง ส่วนกลุ่มที่สามนั้นได้อพยพลงทิศตะวันตกเเละมาสร้าง อาณาจักรใหม่ชื่อ สานเหมียว หรือ Peb Hmoob อาณาจักรนี้ประกอบไปด้วย ม้ง ๓ กลุ่มใหญ่ด้วยกัน คือ Hmong/ม้ง, Hmub/มู้, เเละ Ghoxong/Qos xyooj อยู่ ระหว่าง หูหนาน กุย้ โจว้ เเละยูนนาน อาณาจักรสานเหมียวปกครองมาได้ ๑,๐๐๐ กว่าปี ก่อนที่จะเกิดอาณาจักร ชู่ ขึ้นมา ช่วงระหว่างสร้างอาณาจักรสานเหมียวนั้นชนชาติม้ง ได้เจริญรุ่งเรืองถึงที่สุด ช่วงเวลานี้ม้งก็มีกษัตริย์ชื่อ เฒ้าเเถ เเละฮัวทั๋ว ม้งมีการ เเบ่งการปกครองเป็นสามฝ่าย ฝ่ายที่หนึ่งปกครองดูเเลบ้านเมืองที่ดินอาณาเขต ฝ่ายที่สองดูแลด้านกฏหมาย ดูเเลเเก้ไขปัญหาต่าง ๆ ให้ชาวม้ง ฝ่ายที่สามดูแลด้าน วั ฒ นธรรมจารี ต ประเพณีป ัจ จุบันวัฒ นธรรมม้ง ยังสืบทอดปฏิบัติอย่างเคร่งครัด สื บ ต่ อกั น มา หลั ง จากอาณาจัก รสานเหมียวปกครองมาได้ ๑,๐๐๐ กว่าปี ก็ถูก กษัตริย์ อวี่ เเห่งราชวงค์เซี่ย ( ๒๐๐๐ปีก่อนคริสตกาล) ได้ท�ำสงครามกับอาณาจักร สานเหมียว กษัตริย์ อวี่ ได้ชัยเเละอาณาจักรสานเหมียวจึงตกอยู่ในการปกครอง ชาติพันธุ์น่านศึกษา

159


ของอาณาจักรเซี่ย ภายใต้การปกครองของจีน จีนได้เเบ่งม้งออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ มากมายหลายกลุ่ม ตามเสื้อผ้าที่ใส่ เพื่อให้ง่ายต่อการปกครองเเละเพื่อไม่ให้ให้ม้ง ร่วมตัวกันได้ ช่วงนี้จีนได้ยึดที่นาที่ดินม้งเเละเก็บภาษีจ�ำนวนมากจนท�ำให้เกิดศึก ระหว่างตามมาอีกหลายครั้ง จนปี ๑๖๑๕ ปลายยุคราชวงค์หมิงต้นยุคราชวงค์ชิง จีนได้สร้างก�ำเเพงยาว ๑๐๐ กว่าไมล์ไว้ป้องกันชาวม้ง ซึ่งปัจจุบันก�ำเเพงนี้อยู่ในเขต หูนาน สงครามระหว่างม้งกับจีนก็ยังยืดเยื้อมาเรื่อย ๆ ในปี ๑๗๓๔-๑๗๔๑ จีนได้ออก กฎมาบังคับชาวม้งให้จา่ ยภาษีเเพ่ง เเละได้ยดื ทีด่ นิ ชาวม้ง เเละถ้าคนม้งใดท�ำผิดหนึง่ คน ต้องมีความผิดทัง้ ๑๐ ครอบครัว ชาวม้งทนไม่ได้กบั การถูกจีนรังเเก ข่มเหง จึงลุกขึน้ ต่อสู้ ก่อให้เกิดวีรบุรุษมากมายหลายท่าน เช่น วีรบุรุษ วื้อป้าเยีย ที่ลุกขึ้นมาเป็นผู้น�ำม้งเเละ จีนชาวฮั่นต่อสู้ราชวงค์ชิง (แมนจู) ราว ๆ ปี ๑๘๕๕ ผู้น�ำม้งชื่อ จ้าโซ่งเหม ได้รวบรวม ชาวม้งลุกขึน้ สูอ้ กี ครัง้ หนึง่ เเต่สดุ ท้ายก็ได้พา่ ยเเพ้ เเละชาวม้งจ�ำนวนมากได้อพยพเข้าสู่ เวียดนาม ลาว ไทย พม่า ต่อมายุคสาธารณรัฐจีน (ค.ศ.๑๙๑๒ - ๑๙๔๙) ผู้น�ำชาวม้ง ได้ร่วมกับเหมาเจอตุง ปฏิวัติได้ส�ำเร็จ จีนได้ให้กลุ่มชนชาติต่าง ๆ มีมากถึง ๕๖ ชนชาติ ได้มสี ทิ ธิปกครองตนเอง ซึง่ ปัจจุบนั ชาวม้งในเขตปกครองตนเอง ได้มกี ารพัฒนาทุกด้าน ทัดเทียมกับอารยประเทศในขณะเดียวกันก็ยังรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีไว้อย่าง เหนียวเเน่น ให้คนรุ่นหลังเเละช่าวต่างชาติได้ศึกษาเรียนรู้ต่อไป ที่มา : http://hmong๒๑.blogspot.com/๒๐๑๔/๐๗/blog-post.htm

ประวัติชาวม้งในช่วง ๘๐๐ ปีที่ผ่านมา

160ชาติพันธุ์น่านศึกษา

แผ่นดินจีนกว้างใหญ่ มีประวัติการ แย่ ง ชิ ง แผ่ น ดิ น และอ� ำ นาจมาอย่ า ง ยาวนาน ชนเผ่าหลาย ๆ เผ่าที่เคยมีชื่อ เสียงอยู่ในแผ่นดินเหล่านี้ได้สูญพันธุ์ไป หมดสิ้น (ซยงหนู๋ ถั๋วป๋า) และหนึ่งในชน เผ่าที่ก�ำลังจะสูญสิ้นไปจากแผ่นดินนี้ คือ ชนเผ่าเมี้ยว หรือแม้ว หรือ ม้งใน ปัจจุบนั นัน้ เอง กาลเวลาผ่านไป เรือ่ งราว ต่าง ๆ ถูกหลงลืมเหลือเพียงต�ำนานและ นิยายปรัมปราเล่าให้ลูกหลานฟังสืบไป


“คนเราเกิดมาหากไม่รู้รากเหง้าตนเองแล้วจะยิ่งใหญ่ไปเบื้องหน้าได้อย่างไร” “มีชาติถึงมีบ้าน” ค�ำนี้นั้นจริงยิ่งสิ่งใด หลายร้อยปีผ่านไป ผู้เฒ่าผู้แก่ตายลง รุ่นต่อรุ่นยังมิมีแผ่นดินให้ด�ำรงอยู่เพื่อสร้างบ้านของตนเองมองดูช่างน่าอนาถใจ ชาวเมีย้ วหรือม้ง นัน้ แต่เดิมมามีวฒ ั นธรรม ศาสนาและความเชือ่ เป็นของตนเอง เผ่าพันธุ์ม้งนั้นมีประวัติและเรื่องราวมากมายเกี่ยวกับความเป็นชาติพันธุ์ แต่เสียดาย เรื่องราวที่เกิดขึ้นในช่วง ๘๐๐ ปี ที่ผ่านมานั้นช่างน่าเศร้า ประเทศจีนในศตวรรษที่ ๑๓ นั้น (สมัยราชวงศ์หมิง) มีกลุ่มคนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ๑. ชาวฮัน่ (ชาวจีนในปัจจุบนั ) อาศัยอยูท่ างภาคกลางของประเทศจีนในปัจจุบนั ๒. ชาวแมนจู (หม่านโจวในภาษจีน แมนจูมีหลายชื่ออาทิ แมนโจว หม่านโจว หนี่โจว หนี่ชิง ชนแมนจูแต่เดิมชื่อเผ่าหนี่เจิน) อาศัยอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศจีนในปัจจุบัน แมนจูมีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานและน่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นเพียงชนกลุ่ม ๆ เล็กที่มีประชากรเพียง ๒ ล้านคน แต่สามารถปกครองชาว จีนฮั่นมากกว่า ๑๐๐ ล้านคนในช่วงทศวรรษที่ ๑๖๔๔ – ๑๙๑๑ ๓. ชาวมองโกล อาศัยอยู่ทางเหนือของประเทศจีน หรือพื้นที่ในประเทศ มองโกเลียในปัจจุบัน ๔. ชาวซีเซี้ย อาศัยอยู่ทางภาคเหนือของราชวงศ์หมิงติดเขตแดนเผ่าหนี่เจิน ในช่วงศตวรรษที่ ๑๒ ๕. ชาวเหลียว อาศัยอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอาณาจักรซีเซี่ย ๖. ชนเผ่าอันอยูใ่ กล้เขตชาวฮัน่ ได้แก่ เมีย้ ว อยูท่ างทิศใต้และตะวันตกเฉียงใต้ ของราชวงศ์หมิง หรือพื้นที่มลฑลยูนนาน ฮูนนาน ไกวเจา เสฉวน ในปัจจุบันนั่นเอง โดยแบ่งเป็นกลุ่มคือ อุยกูร อาศัยอยู่ทางทิศตะวันตกของราชวงศ์หมิง จ้วง ทิศที่อยู่ในศตวรรษที่ ๑๓ ไม่แน่ชัด หุย ทิศที่อยู่ในศตวรรษที่ ๑๓ ไม่แน่ชัด

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

161


ปี ค.ศ.๑๓๗๒ ศักราชหย่งเล่อปีที่ ๔ หลังฮ่องเต้หมิงไท่จู่ ปฐมกษัตริยแ์ ห่งราชวงศ์ หมิงขึน้ ครองราชย์ ชาวจีนฮัน่ มีการส�ำรวจจ�ำนวนประชากรพบว่า มีชาวฮัน่ ราว ๘๐๐ หมืน่ ครัวเรือน หรือราว ๆ ๗๐ กว่าล้านคน อาณาจักรต้าหมิงกว้างใหญ่ ทิศเหนือติดมองโกล ทิศตะวันออกติดเกาหลี ตะวันออกเฉียงเหนือติดแมนจู ทิศใต้ติดเมี้ยวหรือม้งนั่นเอง เรื่องราวของชนเผ่าม้งเริ่มต้นขึ้นที่นี่ พวกเมี้ยว (ม้ง) ในสมัยราชวงศ์หมิงมีประชากรไม่เกิน ๒ ล้านคน อาณาจักร ต้าหมิงทางทิศใต้ประกอบไปด้วย ยูนนาน ฮูนนาน เสฉวน มลฑลเหล่านี้มีอยู่จริง แต่ไม่ ครอบคลุมพืน้ ทีๆ่ พวกเมีย้ วอาศัยอยู่ เช่น พวกเมีย้ วจะอาศัยอยูท่ างทิศตะวันตกเฉียงใต้ ในเขตติดต่อของยูนนาน เป็นต้น ชาวฮัน่ ในราชวงศ์หมิง เรียกตนเองว่า ชนพืน้ ราบ และ เรียกพวกเมีย้ ว (ม้ง) และชนต่างเผ่าว่า ชนป่าเถือ่ น พวกเมีย้ วในปี ๑๓๗๒ นัน้ ครอบครอง พื้นที่ราบลุ่มและบ่อเงินที่ส�ำคัญหลายแห่ง นิยมการประดับประดาร่างกายด้วยเครื่อง เงิน นิยมการร้องร�ำท�ำเพลง สรวลเสเฮฮา ดื่มเหล้า และเชี่ยวชาญยาพิษเป็นอย่างมาก อันเป็นเหตุให้มกี ารกล่าวขานกันมาจนถึงทุกวันนี้ (ยาพิษในหนังจีนเรือ่ งเดชคัมภีรเ์ ทวดา ก็เกี่ยวกับชนเผ่าเมี้ยว (ม้ง) นี่แหล่ะ) การทีพ่ วกเมีย้ ว (ม้ง) มีอสิ ระเช่นนี้ เป็นผลพวงมาจากสมัยราชวงศ์หยวนของชน เผ่ามองโกลทีข่ นึ้ ปกครองแผ่นดินของชาวจีนฮัน่ ชาวมองโกลแม้จะป่าเถือ่ นและโหดร้าย แต่กับชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่ในประเทศจีน กลับไม่อยู่ในข่ายความต้องสงสัยของ มองโกลว่าจะเป็นภัยคุกคามแก่พวกตนแต่อย่างใด ดังนั้นชนกลุ่มน้อยโดยส่วนใหญ่จึง มีอิสรภาพในการจะครอบครองพื้นทีท�ำมาหากินเดิมของตน และอยู่กันอย่างเรียบง่าย เว้นแต่วันดี คืนดี พวกมองโกลจะส่งคนมาขอเสบียงระหว่างการท�ำศึกกับชาวฮั่น ปี ๑๓๖๙ เริ่มศักราชหย่งเล่อ ราชส�ำนักหมิงได้ส่งผู้แทนพระองค์มาท�ำการ ส�ำรวจพืน้ ทีใ่ นเขตมณฑลเสฉวน ยูนนาน ฮูนนาน ไกวเจา เพือ่ จะแต่งตัง้ ผูต้ รวจการประจ�ำ มลฑลเข้ามาท�ำหน้าทีแ่ ทนพวกมองโกล (แต่เดิมมองโกลปกครองหัวเมืองเหล่านีโ้ ดยการ แต่งตัง้ ให้ ๑ หัวเมือ มี ๑ แม่ทพั ภาคของมองโกลประจ�ำการ) และปลายปี ๑๓๗๐ มลฑล ต่าง ๆ เหล่านี้ก็ถูกจัดระเบียบการปกครองตามแบบฉบับราชวงศ์หมิงเป็นที่เรียบร้อย (ไม่นบั รวมชนกลุม่ น้อยต่าง ๆ ทีม่ อี าณาเขตติดกับมณฑลเหล่านี้ เช่น เมีย้ ว (ม้ง) เป็นต้น) เดือน ๘ ปี ค.ศ.๑๓๖๘ จูหย่วนจาง หรือ ฮ่องเต้หมิงไท่จง (หรือจู่) ได้ขับไล่ ชาวมองโกลออกไปจากแผ่นดินจีนฮัน่ จนหมดสิน้ และสถาปนาตนเองขึน้ เป็นฮ่องเต้แห่ง

162ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ต้าหมิง (ราชวงศ์หมิง) และสถาปนาเมืองหลวงขึ้นที่นานกิง ช่วงแห่งการเปลี่ยนขั้วการ ปกครองนั้น หมิงไท่จงได้เปลี่ยนแปลงระบบการปกครองใหม่จนหมดสิ้น อาทิยกเลิก ต�ำแหน่งใหญ่ ๆ เช่น เสนาบดี เป็นต้น มีการประหารชีวติ ผูน้ ยิ มมองโกลเป็นจ�ำนวนมาก มีการประหารชีวิตเหล่าขุนนางเก่าแห่งราชวงศ์หยวนให้สิ้นทั้งตระกูล ประชาชนที่ถูก สังหารโหดในครัง้ นัน้ มีไม่ตำ�่ กว่า ๑ ล้านคน ส่วนเหล่าขุนนางและคนในตระกูลถูกสังหาร ไปไม่ตำ�่ กว่า ๓๐,๐๐๐ คน ถือเป็นการเปลีย่ นแปลงการปกครองทีโ่ หดเหีย้ มครัง้ หนึง่ ใน หน้าประวัติศาสตร์จีน และแล้วความอิสระของชนเผ่าเมี้ยว (ม้ง) ก็เริ่มถูกคุกคาม ปี ค.ศ.๑๓๗๕ ศักราชหย่งเล่อปีที่ ๗ เดือน ๔ ผูต้ รวจการประจ�ำมลฑลฮูนนาน (ผู้ตรวจการท่านนี้ในบันทึกมีชื่อว่า เหลียงหวังเว่ย) ได้ท�ำเรื่องไปยังราชส�ำนักหมิงว่า พื้นที่ทางตะวันออกของมลฑลฮูนนานนั้นอุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชไม้นานาพันธุ์ สัตว์ป่า ชุกชุน อีกทั้งยังมีบ่อเงินอีกมากมายหลายแห่ง แต่ไม่อาจเข้าไปส�ำรวจและตั้งรกรากให้ กับชาวฮั่นได้ เพราะที่นั่นเป็นที่อาศัยของชนป่าเถื่อนที่เรียกตัวเองว่า เมี้ยว (ม้ง) ราชส�ำนักหมิงอนุญาตให้เหลียงหวังเว่ยน�ำชาวฮัน่ ไปอยูร่ วมกับพวกเมีย้ ว (ม้ง) เพื่อจะได้แลกเปลี่ยนสินค้าที่มีประโยชน์ในเขตของพวกเมี้ยว (ม้ง) และในช่วงปี ค.ศ.๑๓๗๖ เหลียงหวังเว่ย ได้สง่ ราษฎรชาวฮัน่ ให้เข้ามาอาศัยอยู่ กับพวกเมีย้ ว (ม้ง) ในเขตทางทิศตะวันออกของฮูนนาน โดยชาวฮัน่ กลุม่ แรกทีเ่ ข้ามานัน้ ส่วนใหญ่เป็นพ่อค้า แม่ขาย เพื่อหวังแลกเปลี่ยนท�ำการค้ากับชาวเมี้ยว (ม้ง) แต่เรื่อง มันก็ไม่ได้ง่ายอย่างที่คิด เนื่องจากวัฒนธรรมของเมี้ยว (ม้ง) กับชาวฮั่นนั้นแตกต่างกัน ท�ำให้เกิดความไม่พอใจระหว่างชาวเมี้ยว (ม้ง) กับชาวฮั่นเป็นระยะๆ ศักราชหย่งเล่อปีที่ ๑๒ ก็เกิดเหตุอันน่าสลดใจขึ้น เมื่อชาวฮั่นในหมู่บ้านหลี่ เทียนอันกล่าวหาว่า พวกเมี้ยว (ม้ง) ลักลอบขโมยม้าของกองคาราวานพ่อค้าชาวจีนที่ เดินทางมากับผู้แทนพระองค์จากเมืองนานกิง เรื่องนี้ท�ำให้มีตัวแทนเมี้ยว (ม้ง) เข้าไป ร่วมเจรจาความว่า เมี้ยว (ม้ง) ไม่ได้ท�ำอย่างที่ถูกกล่าวหา แต่ศาลชาวฮั่นไม่รับฟัง และ มีคำ� สัง่ ให้ประหารตัวแทนม้งคนนัน้ ต่อหน้าตัวแทนพระองค์แห่งต้าหมิงทันที เหตุครัง้ นี้ สร้างความไม่พอใจให้กบั ผูน้ ำ� ชาวม้งในเขตฮูนนานเป็นอย่างมาก แต่กไ็ ม่อาจท�ำอะไรได้ ได้แต่ปรึกษากันแล้วก็เก็บความแค้นเอาไว้ในใจ ศักราชหย่งเล่อปีที่ ๑๒ เดือน ๗ เหลียงหวังเว่ย ได้ทำ� เรือ่ งร้องเรียนไปยังราชส�ำนัก หมิงว่า พวกเมีย้ ว (ม้ง) คิดเป็นกบฎต่อราชส�ำนัก โดยได้ทำ� การสังหารผูแ้ ทนพระองค์ในการ ออกตรวจราชการประจ�ำหัวเมืองในเขตมลฑลฮูนนาน (นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่า ชาติพันธุ์น่านศึกษา

163


ผู้ตรวจการหรือผู้แทนพระองค์ไม่ได้ถูกพวกเมี้ยว (ม้ง) สังหาร แต่ถูกเหลียงหวังเว่ยฆ่า แล้วรายงานไปยังราชส�ำนักเพื่อหวังปราบพวกเมี้ยว (ม้ง) ในเขตของตนให้สิ้น) จาก รายงานของเหลียงหวังเว่ย ท�ำให้ฮอ่ งเต้หมิงไท่จงทรงเริม่ ครุน่ คิดถึงชนกลุม่ น้อยต่างๆ ที่ อาศัยอยูใ่ นประเทศจีน แต่พระองค์ยงั ไม่ทรงตัดสินพระทัยว่าจะทรงท�ำเช่นไร เพราะว่า สถานการณ์ภายในของราชวงศ์หมิงยังไม่มั่นคงพอ แต่เพราะสาเหตุนี้เอง ที่ท�ำให้ชาว เมี้ยว (ม้ง) ต้องเผชิญชะตากรรมที่น่าอนาถในภายภาคหน้า ที่มา : www.tojsiab.com

ย้อนรอยเท้า ประวัติศาสตร์ชนชาติ ม้ง,แม้ว (เหมียว) จาก ประเทศจีน Had ชาวเหมียว (หรือชาวแม้ว) มีถิ่นฐานอยู่ในเมืองและมณฑลต่างๆใน ประเทศจีนหลายแห่ง เช่น กุ้ยโจว หูหนาน ยูนนาน ซื่อชวน กว่างซี หูเป่ย ห่ายหนาน ถิน่ ทีม่ ชี าวเหมียวรวมตัวกันอยูม่ ากทีส่ ดุ คือ บริเวณรอยต่อทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของ เมืองเฉียนใต้ กับเมืองเซียงเอ้อ โดยเฉพาะที่เมืองเซียงซี นอกจากนีย้ งั มีชาวเหมียวกลุม่ เล็กๆ กระจัดกระจายอยูห่ บุ เขาเหมียวในมณฑล กว่างซี บริเวณรอยต่อของเมืองเตียนเฉียนกุย้ กับชวนเฉียนเตียน จากการส�ำรวจจ�ำนวน ประชากรครั้งที่ ๕ ของจีนในปี ค.ศ.๒๐๐๐ ชนกลุ่มน้อยเผ่าเหมียว มีจ�ำนวนประชากรทั้งสิ้น ๘,๙๔๐,๑๑๖ คน พูดภาษา เหมียว จัดอยูใ่ นตระกูลภาษาจีน-ทิเบต สาขาภาษาเหมียว-เหยา (แม้ว-เย้า) แขนงภาษา เหมียวตั้งแต่อดีตชาวเหมียวอพยพย้ายถิ่นที่อยู่หลายต่อหลายครั้ง ชุมชนชาวเหมียวจึง กระจัดกระจายไปมาก เมือ่ แยกกันอยูเ่ ป็นเวลานาน ท�ำให้ภาษาทีใ่ ช้มคี วามแตกต่างกัน ปัจจุบันภาษาเหมียวแบ่งได้ ๓ ส�ำเนียงคือ • ส�ำเนียงเซียงซีตะวันออก • ส�ำเนียงเฉียนตงกลาง • ส�ำเนียงชวนเฉียนเตียนตะวันตก ส�ำเนียงชวนเฉียนเตียนตะวันตกนีย้ งั แบ่งออกได้อกี ๗ ส�ำเนียงย่อย ชาวเหมียว ทีอ่ าศัยอยูใ่ นเขตชุมชนกลุม่ น้อยอืน่ บางทีพ่ ดู ภาษาของชนกลุม่ ทีใ่ หญ่กว่าเช่น ภาษาจีน ภาษาต้ง ภาษาจ้วง มีการขุดค้นทางโบราณคดีที่เป็นชุมชนโบราณของเผ่าเหมียว พบ ศิลาจารึกที่คาดว่าจะเป็นอักษรของชาวเหมียว แต่ไม่มีการสืบทอดและสูญหายไป

164ชาติพันธุ์น่านศึกษา


กระทั่งปี ค.ศ.๑๙๕๖ รัฐบาลจีนได้ประดิษฐ์อักษรส�ำหรับชนเผ่าเหมียวขึ้นโดยใช้อักษร ลาติน และใช้อย่างกว้างขวางจนปัจจุบัน ประวัติศาสตร์การตั้งถิ่นฐานของชนชาวเหมียวมีมานานหลายพันปี จากหลัก ฐานทางประวัติศาสตร์ สืบย้อนไปเมื่อสี่พันปีก่อน ในบันทึกเอกสารโบราณมีการกล่าว ถึงชนเผ่ากลุม่ เล็กกลุม่ น้อยทีอ่ าศัยอยูบ่ ริเวณทีร่ าบลุม่ แม่นำ�้ ฮวงโหและแม่นำ�้ แยงซีเกียง รวมเรียกชนเผ่าเหล่านี้ว่า “หนานหมาน” ในจ�ำนวนนี้มีชนชาวเหมียวรวมอยู่ด้วย นัก วิชาการบางคนให้ความเห็นว่าชื่อ “ชือโหยว” ที่ปรากฏในนิทานปรัมปราโบราณที่ ชาวเหมียวให้ความเคารพบูชานั้น มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับบรรพบุรุษของชาวเหมียว บางท่านให้ความเห็นว่าเหมียวสามฝ่ายที่กล่าวถึงในสมัยโบราณเป็นบรรพบุรุษของ ชาวเหมียวในปัจจุบัน บ้างเชื่อว่าชาวเหมียวในปัจจุบันสืบเชื้อสายมาจากชาว “เหมา” (髳 Máo) ในสมัยอินโจว (殷周 ) อย่างไรก็ตามปัจจุบันยังไม่มีข้อสรุปแน่ชัดเกี่ยวกับ ก�ำเนิดทีม่ าของชนชาวเหมียว แต่หลักฐานทีเ่ พียงพอทีจ่ ะสรุปได้ในขณะนีก้ ค็ อื เมือ่ สอง พันกว่าปีกอ่ น ในสมัยฉินฮัน่ (秦汉时代 ) ชาวเหมียวตัง้ ถิน่ ฐานเป็นชุมชนขึน้ แล้วใน บริเวณพื้นที่ที่เป็นเมืองเซียงซี (湘西) และเมืองเฉียนตง (黔东) ในปัจจุบัน ในอดีต เรียกชื่อว่าบริเวณ อู่ซี (五溪) ในบริเวณดังกล่าวมีชนกลุ่มน้อยอาศัยอยู่รวมกันมากมาย รวมเรียกชื่อว่า อู่ซีหมาน (五溪蛮) หรืออู่หลิงหมาน (武陵蛮) จากนั้นชนกลุ่มน้อยเหล่านี้ กระจัดกระจายอพยพไปทางตะวันตก และตั้งถิ่นฐานมาจนปัจจุบันด้านเศรษฐกิจ และสังคมของชาวเหมียว สังคมชาวเหมียวเป็นแบบสังคมบุพกาลมาช้านาน จนถึง สมัยถังและซ่ง เริ่มเข้าสู่การมีชนชั้นทางสังคม และด้วยอิทธิพลทางเศรษฐกิจของ ระบบสังคมศักดินาของชาวฮั่น ผลักดันให้เกิดระบบเศรษฐกิจสังคมแบบเจ้าศักดินา ขึ้ น ในชุ ม ชนชาวเหมี ย ว ในเวลานี้ ก ารเกษตรและงานหั ต ถกรรมพั ฒ นาขึ้ น มาก เกิ ด มี ก ารซื้ อ ขายแลกเปลี่ ย นสิ น ค้ า กั น ขึ้ น เริ่ ม มี ก ารก� ำ หนดเวลาที่ แ น่ น อนที่ ช าว เหมียวและชาวฮั่นจะมาแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างกัน ในรูปแบบของ “ตลาดนัด” ในสมัยหยวน ระบบสังคมแบบเจ้าศักดินาพัฒนาและชัดเจนขึ้นเรื่อยๆ จนถึงสมัยหมิง สังคมชาวเหมียวเป็นแบบเจ้าศักดินาอย่างชัดเจนถึงจุดสูงสุด จากนัน้ ก็เริม่ เข้าสูก่ ารล่มสลาย ต่อมาระบบการถือครองกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ เริม่ ก่อ ตัวขึ้น ในสมัยหมิงเริ่มด�ำเนินนโยบายการรวบรวมที่ดินกลับคืน โดยด�ำเนินการในเขต มณฑลหูหนาน (湖南) ซึ่งครอบคลุมไปถึงถิ่นที่อยู่ของชุมชนชาวเหมียวด้วย ท�ำให้ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

165


ระบบเศรษฐกิจแบบการถือครองกรรมสิทธิ์ที่ดินพัฒนาไปอย่างราบรื่น การรวบรวม ทีด่ นิ กลับคืนของจักรพรรดิคงั ซีและหย่งเจิง้ ในสมัยราชวงศ์ชงิ น�ำมาซึง่ การล่มสลายของ ระบบเจ้าศักดินา และก่อเกิดระบบการถือครองกรรมสิทธิ์ที่ดินขึ้น ช่วงหลังสงครามฝิน่ ในปี ค.ศ.๑๘๔๐ ระบบสังคมเศรษฐกิจแบบเจ้ากรรมสิทธิท์ ดี่ นิ ยังคงเดินหน้าพัฒนาต่อไป จนปลายศตวรรษที่ ๑๙ อ�ำนาจของระบบจักรวรรดินิยมแผ่ ขยายเข้าสูช่ มุ ชนชาวเหมียว ระบบเศรษฐกิจสังคมของชาวเหมียวจึงเปลีย่ นไปเป็นแบบ กึง่ อาณานิคมกึง่ ศักดินาหลังการก่อตัง้ สาธารณรัฐประชาชนจีน ระบบสังคมชาวเหมียว เปลี่ยนแปลงไปสู่ระบอบประชาธิปไตย และพัฒนาเข้าสู่ระบบสังคมนิยมในเวลาต่อมา ก่อเกิดนโยบายการปกครองตนเองของชนกลุม่ น้อยขึน้ นับแต่ปี ค.ศ.๑๙๕๑ เป็นต้นมา เริ่มมีการก่อตั้งเขตปกครองตนเองและอ�ำเภอปกครองตนเองเผ่าเหมียวขึ้น หลายแห่ง จนปัจจุบันชาวเหมียวมีสิทธิและมีส่วนร่วมในการปกครอง ตลอดจนพัฒนา ระบบสังคมเศรษฐกิจของตนให้เจริญรุดหน้าทัดเทียมกับชนชาวจีนทั่วไปภายใต้การ สนับสนุนของรัฐบาล และการร่วมแรงร่วมใจของชาวเหมียว ท�ำให้เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา วัฒนธรรม อนามัยของชาวเหมียวพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้นมาก มีการก่อตั้ง โรงงานอุตสาหกรรมขึ้นมากมาย จนเกิดเป็นเมืองอุตสาหกรรมขึ้นอย่างเมืองข่ายหลี่ (凯里) จีโ๋ ส่ว (吉首) ส่วนด้านการเกษตรมีการใช้เครือ่ งจักรกลมากขึน้ ท�ำให้ผลผลิตที่ ได้มปี ริมาณเพิม่ มากขึน้ ชุมชนชาวเหมียวไม่วา่ ใกล้ไกลเพียงใด มีการพัฒนาระบบไฟฟ้า และการจราจรเข้าถึงทุกแห่งหน น�ำความเจริญเข้าสู่ชุมชนอย่างถ้วนทั่ว ที่ส�ำคัญมีการ สร้างทางรถไฟเข้าไปถึงชุมชนชาวเหมียว เช่น สายกุ้ยคุน (贵昆) เซียงเฉียน (湘黔) จือหลิ่ว(枝柳) เฉียนกุ้ย (黔桂) เป็นต้น การสร้างทางรถไฟเข้าไปถึงชุมชนชาวเหมียว เป็นเส้นทางเชือ่ มต่อความเจริญ จากภายนอกเข้าสูช่ มุ ชนชาวเหมียว ในขณะเดียวกันก็เป็นหนทางทีช่ าวเหมียวมีโอกาส ติดต่อกับชุมชนภายนอกอย่างสะดวกสบาย ชาวเหมียวให้ความส�ำคัญกับการศึกษา นอกจากจะก่อตัง้ โรงเรียนตัง้ แต่ประถมจนถึงมัธยมปลายแล้ว ยังก่อตัง้ มหาวิทยาลัยขึน้ เพื่อผลิตบัณฑิตชาวเหมียวให้มีความรู้ด้านวิชาชีพครู แพทย์ ประวัติศาสตร์ วรรณคดี ศิลปะ เทคโนโลยี เพือ่ ให้เป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนาชุมชน นอกจากนีม้ กี ารก่อตัง้ โรง พยาบาล สถานีอนามัยเพื่อดูแลด้านสุขภาพและรักษาโรค โรดระบาดร้ายแรงต่างๆ ใน อดีตหมดไป

166ชาติพันธุ์น่านศึกษา


การประกอบอาชีพของชาวเหมียวหลากหลายขึน้ ไม่วา่ จะเป็น การเกษตร ป่าไม้ ประมง เลี้ยงสัตว์ ท�ำให้ครอบครัวและชุมชนมีรายได้ ส่งผลให้ชาวเหมียวในปัจจุบันมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นด้านศิลปวัฒนธรรม ด้วยอารยธรรม ทีย่ าวนาน ก่อเกิดวัฒนธรรมทีง่ ดงามและหลากหลายสืบทอด มาแต่บรรพบุรุษรุ่นสู่รุ่น วรรณกรรมพื้นบ้านที่ส�ำคัญได้แก่ เพลงกลอน ต�ำนาน นิทาน พื้นบ้าน เล่าสืบต่อเป็นวรรณกรรมมุขปาฐะตกทอดจนถึงปัจจุบัน ฉันทลักษณ์กลอน เพลงชาวเหมียวเป็นแบบกลอนห้า กลอนเจ็ด และกลอนอิสระ ส่วนใหญ่เน้นเรื่องของ จังหวะ แต่ไม่เน้นการสัมผัส ท่วงท�ำนองเพลงเรียบง่ายไม่ซับซ้อน จังหวะก็ไม่เข้มงวด มากนัก ความสัน้ ยาวของเพลงไม่แน่นอน เพลงของชาวเหมียวแบ่งได้เป็น เพลงโบราณ เพลงธรรมชาติ เพลงมนตรา เพลงงาน เพลงวนเวียน เพลงรัก และเพลงเด็ก เช่น เพลง ชื่อ 《老人开天地》 “ผู้เฒ่าเบิกพิภพ” เพลงชื่อ《九十九个太阳和九 十九个月亮》 “เก้าสิบเก้าตะวันกับเก้าสิบเก้าจันทรา” บทเพลงเหล่านี้ไม่เพียง แต่สะท้อนสภาพชีวิตของชาวเหมียวที่ต้องต่อสู้และผูกพันอยู่กับธรรมชาติ แต่ยังเป็น หลักฐานในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประวัติศาสตร์และเรื่องราวของชนชาวเหมียวได้ เป็นอย่างดีชาวเหมียวรักการร้องร�ำท�ำเพลงเป็นชีวิตจิตใจ บทเพลง ดนตรี และละคร เหมียวมีววิ ฒ ั นาการและสืบทอดกันมาช้านาน ท�ำนองเพลงเกร็ดต่างๆ ถูกน�ำมาแต่งเป็น เพลงประกอบระบ�ำที่ประดิษฐ์ขึ้นใหม่มากมาย เครื่องดนตรีเหมียวหลัก ๆ เป็นจ�ำพวก เครือ่ งตีและเครือ่ งสาย มีกลองไม้ กลองหนัง และกลองโลหะ นอกจากนีย้ งั มีเครือ่ งดนตรี ประเภทเครื่องเป่า เช่น ขลุ่ย ปี่น�้ำเต้า และปี่หลายขนาดที่ชาวเหมียวประดิษฐ์ขึ้นจาก วัสดุธรรมชาติ มีการเป่าเพลงใบไม้ และพิณปากเป่า ระบ�ำเหมียวที่ส�ำคัญมีระบ�ำขลุ่ย น�้ำเต้า ระบ�ำเก้าอี้ ระบ�ำลิงตีกลอง เป็นต้น เสียงดนตรีที่เป็นเอกลักษณ์ของชาวเหมียว คือปีน่ ำ�้ เต้า ทัง้ ระบ�ำงดงามรืน่ เริง ดนตรีไพเราะมีเอกลักษณ์ของชนเผ่า ซึง่ เป็นทีช่ นื่ ชอบ ของผูค้ นทัว่ ไปงานหัตถกรรมชาวเหมียวก็เป็นศิลปะประจ�ำเผ่าอีกอย่างทีม่ ชี อื่ เสียงไปทัว่ เช่น งานปักผ้า ทอผ้า ย้อมผ้า ตัดกระดาษและเครื่องประดับต่างๆ สืบทอดกันมานาน หลายชั่วอายุคน จนถึงยุคปลดปล่อย มีพัฒนาการถึงขั้นสามารถย้อมลวดลายรูปภาพได้แล้ว ผลิตภัณฑ์หัตถกรรมของชาวเหมียวเป็นสินค้าส่งออกทั้งในและต่างประเทศสร้างราย ได้อย่างงดงาม งานหัตถกรรมที่เป็นเอกลักษณ์โดดเด่นอีกอย่างของชาวเหมียวคือการ ท�ำเครื่องประดับเงิน ชาวเหมียวนิยมประดับประดาเครื่องเสื้อผ้า เครื่องแต่งกายและ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

167


ตามร่างกายด้วยเครื่องเงิน ไม่ว่าจะเป็นเครื่องประดับศีรษะเงิน สร้อยพวงระย้า ก�ำไล ชุดเสื้อผ้าเงิน เป็นต้น ล้วนมีแบบและลวดลายสวยงามละลานตาภูมิปัญญาด้านการ แพทย์ของชาวเหมียวที่สั่งสมมาแต่บรรพบุรุษรุ่นต่อรุ่นได้รับการยอมรับจากวงการ แพทย์แผนปัจจุบัน ต�ำราการแพทย์ของชาวเหมียวแบ่งโรคในร่างกายมนุษย์เป็น ๓๖ ชนิด โรคภายนอก ๗๒ โรค มีวิธีรักษา ๒๐ วิธี ต�ำราแพทย์แผนเหมียวที่เป็นที่ยอมรับ อย่างกว้างขวาง เช่น ต�ำราชื่อ《苗医验方》Miáo yīyàn fānɡ “ต�ำราตรวจ รักษาแผนเหมียว” เป็นต�ำราการแพทย์ที่เขียนโดย สือฉี่กุ้ย (石启贵 Shí Qǐɡuì) ต�ำราชือ่ 《苗族药物集》Miáo Zú yàowù jí “รวมต�ำรายาแผนเหมียว” ของผูเ้ ขียน ลูเ่ คอหมิน่ (陆科闵 Lù Kēmǐn) ปลายศตวรรษที่ ๑๙ วิวฒ ั นาการทางการแพทย์ แผนเหมียวพัฒนาถึงขัน้ สามารถรักษาด้วยการผ่าตัดได้แล้ว นอกจากนีย้ งั มีตำ� รายารักษา อาการกระดูกหัก พิษงู พิษธนู การรักษาบาดแผลด้วยสมุนไพร ผลการรักษาหายขาด และรวดเร็ว เป็นที่ยอมรับไปทั่วด้านขนบธรรมเนียมของชาวเหมียว เอกลักษณ์โดดเด่นของชาวเหมียวที่ไม่ว่าผู้ใดพบเห็นก็รู้ได้ทันทีว่ามิใช่ชนเผ่าใด ไหนเลย คือ เครือ่ งแต่งกาย ชายชาวเหมียวสวมเสือ้ ผ้าป่านปักลวยลายงดงาม มีผา้ คลุม บ่าที่เป็นผ้าสักหลาดขนแกะปักลาย นอกจากนี้ในหลายๆพื้นที่การแต่งกายอาจแตก ต่างกันไปบ้าง บ้างสวมเสือ้ ผ่าอกล�ำตัวสัน้ สวมกางเกงขายาว รัดเอวด้วยผ้าหรือเข็มขัด ขนาดใหญ่ พันศีรษะด้วยผ้าสีน�้ำเงิน ในฤดูหนาวพันรอบขาด้วยผ้าหรือเชือกรัดแข้ง ใน สมัยโบราณ ชายชาวเหมียวไว้ผมยาว เกล้าเป็นมวยไว้กลางศีรษะเสียบด้วยปิ่นไม้หรือ เหล็ก ใส่ตมุ้ หูทงั้ สองข้าง สวมก�ำไลข้อมือ บางทีป่ ล่อยยาวลงมาแล้วถักเปีย แต่นบั ตัง้ แต่ ปลายสมัยชิงเป็นต้นมาชายชาวเหมียวไม่เกล้าผมอย่างสมัยก่อน แต่นิยมปล่อยยาวลง มาแล้วถักเปียทั้งสองข้างมากกว่า ส่วนการแต่งกายของสตรีเหมียวในแต่ละท้องที่แตก ต่างกันมากเป็นสิบ ๆ แบบ แต่ส่วนใหญ่สวมเสื้อผ่าอก ปกใหญ่ ล�ำตัวสั้น สวมกระโปรง จีบรอบ บ้างยาวกรอมส้น บ้างสั้นถึงโคนต้นขา บางท้องที่สวมกางเกงขายาวและ กว้าง และปักลวดลายดอกไม้ขนาดใหญ่ โพกศีรษะด้วยผ้าลายตาราง สวมตุ้มหู ห่วงคล้องคอ และก�ำไลเงิน เครื่องประดับศีรษะของสตรีชาวเหมียวมีรูปแบบหลากหลายมาก บ้าง มวยผมทรงกลม ทรงแหลม ไว้กลางศีรษะแล้วประดับประดาด้วยเครื่องประดับเงิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งชาวเหมียวที่เฉียนตง เฉียนหนาน ครอบศีรษะด้วยหมวกเงิน มียอด ปลายแปลมงอโค้งขึ้นด้านบนคล้ายกับเขาวัว ชุดเสื้อผ้าก็ ประดับประดาด้วยเครื่องเงิน จนเต็มตัวเรียกกันว่า ชุดเงิน

168ชาติพันธุ์น่านศึกษา


(银衣yínyī) นับเป็นเครื่องแต่งกายที่ทรงคุณค่ายิ่งนักเรื่องอาหารการกิน ชาวเหมียวที่เมืองเฉียนตง(黔东Qiándōnɡ) เฉียนหนาน (黔南 Qiánnán) เซียงซี (湘西Xiānɡxī) ห่ายหนาน (海南 Hǎinán) และทีก่ วางสี (广西Guǎnɡxī) กินข้าวเป็นอาหารหลัก นอกจากนีย้ งั มีขา้ วโพดและมันเป็นอาหารเสริม ส่วนชาวเหมียว ในบริเวณเมืองเฉียนซี (黔西Qiánxī) เฉียนเป่ย (黔北Qiánběi) ชวนหนาน (川南 Chuānnán) เตียนตง (滇东Diāndōnɡ) เตียนเป่ย (滇北 Diānběi) กินข้าวโพด มันฝรัง่ ข้าวโอ๊ตเป็นอาหารหลัก อาหารพิเศษของชาวเหมียวคือผักดอง วิธที ำ� คือเอาข้าว เหนียวคลุกกับผักหมักไว้ในโอ่งปิดฝาสนิท เก็บไว้ประมาณ ๒ เดือนก็นำ� ออกมาประกอบ อาหารได้ ชาวเหมียวชอบการดืม่ สุราสังสรรค์เฮฮา ไม่วา่ จะเป็นเทศกาล งานพิธกี ารใดๆ หรือมีแขกมาเยือน ชาวเหมียวจะใช้สุราต้อนรับแขกด้วยความยินดีสถาปัตยกรรม สิง่ ปลูกสร้าง บ้านเรือนของชาวเหมียวแตกต่างกันในแต่ละท้องที่ ชาวเหมียวทีเ่ มืองเฉียน ตงและเฉียนหนานก่อสร้างบ้านด้วยไม้ บ้างสร้างเป็นบ้านชัน้ เดียว บ้างสร้างเป็นบ้านสอง ชั้น หรือใต้ถุนสูง หลังคาเป็นแบบจั่วสองหน้า บ้างมุงด้วยกระเบื้อง บ้างมุงด้วยหญ้ามัด เป็นตับ บนหลังคาเป็นทีต่ ากพืชและอาหารแห้ง ใต้ถนุ เป็นทีเ่ ก็บสิง่ ของต่างๆ และใช้เป็น คอกสัตว์ ในสมัยก่อนที่ประชาชนมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินเป็นของตนเอง ชาวเหมียวสร้าง บ้านแบบมีรั้วบ้าน ก่อด้วยอิฐหรือหิน ชาวเหมียวที่บริเวณเมืองเหวินซานของมณฑล ยูนนานใช้ไม้ไผ่สานถี่ ๆ แล้วฉาบด้วยโคลนก่อเป็นก�ำแพงรั้ว ตัวฝาบ้านก็ใช้วิธีเดียวกัน แล้วมุงหลังคาด้วยหญ้าแห้งมัดเป็นตับ แบ่งเป็นสองห้อง ใช้เป็นทีพ่ กั อาศัยและคอกสัตว์ ส่วนชาวเหมียวทีเ่ มืองจาวทง (昭通Zhāo tōnɡ) สร้างบ้านโดยใช้ทอ่ นไม้ขดั กันเป็นก ระโจม แล้วมุงด้วยหญ้าแห้ง ก�ำแพงท�ำด้วยไม้สานแล้วฉาบด้วยโคลน ชาวเหมียวทีเ่ กาะ ห่ายหนานสร้างบ้านลักษณะเป็นห้องแถวทรงยาว แบ่งเป็นสามห้อง มีชายคาบ้านยาว ใช้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจวัฒนธรรมการแต่งงานของชาวเหมียวยึดถือการมีสามีภรรยา เดียว การสืบทอดมรดกยึดถือสายเลือดสายตรงเพศชายเป็นหลัก ในขณะเดียวกันเพศ หญิงก็มีสิทธิและสถานภาพในครอบครัวเช่นกัน ลูกคนเล็กมีหน้าที่เลี้ยงดูพ่อแม่ยามแก่ เฒ่า ชาวเหมียวตัง้ ชือ่ ลูกชายโดยใช้คำ� ศัพท์ทเี่ ป็นชือ่ พ่อเป็นค�ำหลังของชือ่ ลูกคล้องต่อกัน เป็นลูกโซ่ เป็นชื่อที่ระบุการสืบเชื้อสาย แต่การเรียกขานกันตามปกติจะเรียกเฉพาะชื่อ เจ้าตัวเท่านั้น นอกจากนี้ยังรับอิทธิพลของชาวฮั่นในการตั้งชื่อ โดยก�ำหนดค�ำที่ระบุถึง คนในรุ่นเดียวกัน จะใช้ค�ำเดียวกันเป็นส่วนประกอบของชื่อในงานเทศกาลรื่นเริงต่างๆ หนุ่มสาวชาวเหมียวมีโอกาสพบปะและเลือกคู่รักคู่ครองของตน แต่บางท้องที่ก็มีการ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

169


แต่งงานแบบคลุมถุงชนที่พ่อแม่เป็นฝ่ายเลือกคู่ครองให้ โดยผู้ใหญ่จะจับคู่ตามที่เห็น ว่าเหมาะสมกันทั้งฐานะ ครอบครัว วงศ์ตระกูล หลังแต่งงานเจ้าสาวชาวเหมียวจะไม่ ย้ายไปอยูบ่ า้ นเจ้าบ่าว โดยเฉพาะทีเ่ มืองเฉียนซียงั คงรักษาขนบธรรมเนียมแบบดัง้ เดิมนี้ อยู่ ในบางท้องทีย่ งั นิยมขนบธรรมเนียมการแต่งงานแบบ “สองครอบครัวแลกเจ้าสาว” หรือ “การแต่งงานกับทัง้ พีส่ าวน้องสาว” กันอยูด่ า้ นศาสนาความเชือ่ และเทศกาลส�ำคัญ ชาวเหมียวนับถือผีและวิญญาณของหมืน่ ล้านสรรพสิง่ บูชาวิญญาณบรรพบุรษุ นับถือธรรมชาติ เชื่อว่าทุกสรรพสิ่งมีวิญญาณแรงกล้าที่มิอาจล่วงเกินได้ ชาวเหมียวจะ อธิษฐานอ้อนวอนขอพร รักษาโรค ขอบุตร ขอโชคลาภ การคุ้มครอง และปกปักรักษา จากเทพทั้งมวล การท�ำพิธีบูชาเทพเจ้าต้องมีหมอผีประจ�ำเผ่าท�ำหน้าที่เป็นสื่อกลาง ระหว่างมนุษย์กบั เทพเจ้า พิธกี รรมบูชาเทพเจ้า ผีและวิญญาณบรรพบุรษุ ซึง่ ถือเป็นพิธี ที่ยิ่งใหญ่และศักดิ์สิทธิ์ พิธีไหว้ผี พิธีไล่ผี พิธีกินวัว พิธีกินหมู พิธีกินผี พิธีล้มวัว เป็นต้น ล้วนเป็นพิธีที่ยิ่งใหญ่ส�ำคัญของชาวเหมียว นอกจากนี้สิ่งของตามธรรมชาติ เช่น ต้นไม้ ก้อนหินรูปร่างแปลกประหลาด หรือทีม่ ขี นาดใหญ่โต หรือสิง่ ทีม่ นุษย์สร้างขึน้ เช่น บ่อน�ำ้ เก้าอี้ ล้วนต้องบูชาวิญญาณของสิ่งเหล่านี้ทั้งสิ้น สิ่งของที่ใช้บูชา ได้แก่ อาหาร และ เครื่องดื่มต่าง ๆ เช่น เหล้า เนื้อ ไก่ เป็ด ปลา ข้าวเหนียว เป็นต้น หลังจากการเผยแผ่ศาสนาคริสต์เข้ามา มีชาวเหมียวบางส่วนหันมานับถือพระ เยซูเทศกาลส�ำคัญของชาวเหมียวมีมากมาย ชาวเหมียวในแต่ละท้องทีม่ เี ทศกาลแตกต่าง กันไปบ้าง ชาวเหมียวที่เฉียนตง เฉียนหนาน กว่างซี เฉลิมฉลองวันปีใหม่เหมียวในวันที่ ๑ เดือน ๑๑ ตรงกับวันกระต่ายและวันวัวตามปฏิทินเหมียว มีกิจกรรมรื่นเริงมากมาย เช่น แข่งม้า ล่อวัว ระบ�ำเพลงขลุ่ยน�้ำเต้า ระบ�ำกลอง และการเยี่ยมเยือนเพื่อนบ้าน ส่วนชาวเหมียวทีเ่ มืองกุย้ หยางจะมารวมตัวกันทีบ่ ริเวณใกล้นำ�้ พุใจกลางเมืองกุย้ หยางใน ทุกๆ วันที่ ๘ เดือน ๔ เพื่อจัดงานรื่นเริง เต้นร�ำ พบปะสังสรรค์ เพื่อร�ำลึกถึงวีรบุรุษใน ต�ำนานที่ชื่อ “ย่าหนู่” (亚努Yà nǔ) นอกจากนี้ยังมีเทศกาลส�ำคัญที่ชาวเหมียวทั่ว ทุกพืน้ ทีจ่ ดั งานรืน่ เริงถ้วนหน้า เช่น เทศกาลเรือมังกร เทศกาลภูเขาดอกไม้ (ต้นเดือน ๕ ) เทศกาลกินอาหารใหม่ (เดือน ๖ เดือน ๗ หลังการเก็บเกี่ยวข้าวใหม่) นอกจากนี้ยังมี เทศกาลที่รับอิทธิพลมาจากชาวฮั่น เช่น เทศกาลตรุษจีน เทศกาลเชงเม้ง เป็นต้น

170ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ชาวเหมียวที่ยูนนานยังมีเทศกาลส�ำคัญที่สืบทอดกันมาจนปัจจุบันคือเทศกาล เหยียบดอกไม้ ถือเป็นเทศกาลรืน่ เริงทีส่ ำ� คัญของชาวเหมียว จัดขึน้ อย่างยิง่ ใหญ่ทกุ ๆ ปี (เขียนโดย รองศาสตราจารย์ ดร.เมชฌ สอดส่องกฤษ) ที่มา : http://hmong๒๑.blogspot.com/๒๐๑๔/๐๗/blog-post.htm

จากประวัติศาสตร์เหมียว ความเรียงของ รองศาสตราจารย์ ดร.เมชฌ สอดส่องกฤษ ค�ำว่าเหมียวเป็นสภาพชนเผ่าเดียวกัน ชาวม้ง เป็นสาขาหนึง่ ของชนชาติจนี เป็นกลุม่ จีนเก่ มีชอื่ เรียกอีกชือ่ หนึง่ ว่า แม้ว (เหมียว) แต่พวกนีเ้ รียกตนเองว่า ม้ง บรรพบุรษุ ของชาวม้งเคยอาศัยอยู่บริเวณแม่น�้ำเหลือง แถบมณฑลยูนนาน กวางสี กวางเจา ในประเทศจีน เมื่อราว ๒,๐๐๐ ปีก่อนคริสตกาลสมัยนั้น ม้งเคยต่อต้านการขยายตัว ของจีน ในที่สุดก็เป็นฝ่ายพ่ายแพ้และถูกบังคับให้ยอมรับ วัฒนธรรมจีน แต่ก็ได้มี ม้ง จ�ำนวนมากถอยร่นเข้าไปอยู่ในพื้นที่ ที่ยากแก่การเข้าถึง ในสมัย ๑,๐๐๐ ปีตอ่ มา ยุคของขงจือ้ เอกสารจีนเล่มหนึง่ ได้กล่าวถึงชนพวกนี้ ว่า เป็น "พวกอนารยชนแห่งขุนเขา" และเป็นพวกกบฎทีพ่ งึ รังเกียจของจีนในระยะแรก ของการรวมเป็นเผ่าพันธุ์ชาวม้งได้สร้างวัฒนธรรมประจ�ำเผ่า ของตนเองไว้อย่างมั่นคง แล้ว ซึ่งยังคงปรากฏอยู่จนทุกวันนี้ (ขจัดภัย ๒๕๓๘,น.๒๒)

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

171


การแต่งกายของชายหญิงชาวม้งประจ�ำเผ่า ในช่ ว งพุ ท ธศตวรรษที่ ๒๓ และ ๒๔ ชาวม้งได้อพยพมาทางตอนใต้ เข้ า สู ่ ตั ง เกี๋ ย และประเทศญวน ได้ มี การสู้รบกับพวกญวนแต่ต่อมาพวกม้ง ก็ได้ถอนตัวออกจากที่ราบ ซึ่งมีอากาศ ชื้นด้วยความสมัครใจของพวกเขาเอง ค่อย ๆ ถอยกลับขึ้ สู่ภูเขาและได้อยู่ต่อ มาจนปัจจุบัน นอกจากนี้ก็มีม้งอีกพวก หนึ่งอพยพเข้าสู่พม่าและตั้งถิ่นฐานอยู่ บริเวณภูเขาเช่นเดียวกัน มีชาวม้งบางส่วนได้อพยพจาก ประเทศลาวและพม่าเข้าสู่ประเทศไทย มาอาศัยอยูท่ างเหนือของประเทศไทย ม้งในประเทศไทยแบ่งได้เป็น ๒ กลุม่ คือม้งน�ำเงิน (ม้งลาย ม้งด�ำ ม้ง ดอก) และม้งขาว การแบ่งม้งเป็น ๒ สาขาดังกล่าวนีก้ โ็ ดยอาศัยความ แตกต่างทางภาษา เครื่องแต่งกาย และชื่อที่พวกเขาเรียกตัวเอง หาฟืน ม้งในประเทศไทยอาศัยกระจัด กระจายกันอยูใ่ นจังหวัดต่างๆทางภาค เหนือ เช่นในจังหวัดน่าน เชียงราย เชี ย งใหม่ และยั ง พบหมู ่ บ ้ า นม้ ง ตั้ ง ถิ่ น ฐานอยู ่ ใ นจั ง หวั ด ตาก แพร่ เพชรบูรณ์ และพิษณุโลก ชาวม้งใน ประเทศไทยมีสายสัมพันธ์กบั พวกม้งขาวในประเทศจีนตอนใต้ ซึง่ เป็นพวกทีอ่ พยพมาก ทีส่ ดุ ในช่วงปลายศตวรรษที่ ๑๙ (Lebar and others ๑๙๖๔, p.๗๗) ม้งในประเทศไทย พูดภาษาทีม่ คี วามคล้ายคลึงกับภาษาทีใ่ ช้อยูท่ างตอนใต้ของประเทศจีน ภาษาพูดของม้ง กลุ่มย่อยต่าง ๆ ในประเทศไทย สามารถจะใช้ ติดต่อกัน ได้แม้ว่าจะมีความแตกต่างกัน

172ชาติพันธุ์น่านศึกษา


สภาพหมู่บ้านม้ง การตั้งถิ่นฐานของชาวม้ง จะตั้งบ้าน เรือนบนภูเขาสูงห่างไกลจากชาวเขาเผ่า อื่น ๆ บ้านเรือนปลูกเป็นโรงติดกับพื้นดิน ฝาเรือนท�ำจากไม้ฟากตัง้ คนมีฐานะจะใช้ไม้ กระดาน ตัง้ เรียง กันขนาบด้วย ไม้ไผ่ หลังคา ใช้ไม้ไผ่ผ่าครึ่งตามทางยาว บางหมู่บ้าน มุงหลังคาด้วยใบคาหรือใบก้อ ภายในบ้านมีเตาไฟ โดยใช้ดนิ ก่อส�ำหรับวางภาชนะ ครก ต�ำข้าวอยูใ่ นบ้านทางด้านหน้า ข้างๆครกมีรา้ นยกสูง ๑ ศอก ใช้เป็นทีเ่ ก็บข้าวไร่ ข้าวโพด เครือ่ งมือเพาะปลูก ประตูหลังมีแท่นบูชาวิญญาณบรรพบุรษุ หรือผีเรือน ติดกับตัวบ้าน เป็นโรงม้า คอกหมู เล้าไก่ สร้างด้วยไม้ไผ่ ไม่มีรั้วบ้านหรือรั้วหมู่บ้าน เหมือนชาวอาข่า (ก้อ) (ดูเพิ่มเติม บุญช่วย ๒๕๐๖, น.๕๗๒-๕๗๔ และ ขจัดภัย ๒๕๓๘, น.๓๐-๓๒) ระบบเครือญาติของม้งยึดถือระบบวงศ์ตระกูล (หรือแซ่) โดยนับถือตระกูล ทางฝ่ายชาย ตระกูลที่ส�ำคัญ ๑๑ ตระกูล ได้แก่ ซ้ง ลี้ ซอง วั่ง มัว เฒ้า ฮู วู โล (เลา) คิน และย่าง แต่ตามต�ำนานของม้ง กล่าวว่าม้งมีเพียง ๑๘ แซ่ สกุลโบราณทีส่ บื ถอดมาสู่ รุน่ หลัง เมือ่ แผ่นดินล่มสลายกระจายหนีหาย จนวันนีพ้ นี่ อ้ งม้งตัง้ หลักถิน่ ฐานในแผ่นดิน ในประเทศแหลมสุวรรณภูมปิ ระเทศไทยคือหนึง่ ในพืน้ ทีท่ มี่ พี นี่ อ้ งชาวม้งอาศัยอยูอ่ ย่าง หนาแน่น ๑๕๓,๙๕๕ คน หรือร้อยละ ๑๖.๖๗ ของจ�ำนวนประชากรชาวเขาทั้งหมดใน ประเทศไทย วันนีแ้ ซ่สกุลทัง้ ๑๘ แซ่เริม่ สูญหายเปลีย่ นแปลงตามการสมัย เมือ่ พีน่ อ้ งม้ง รุ่นหลังหันมาใช้ชื่อสกุลแบบภาษาไทยเพิ่มมากขึ้น ๑. แซ่ย่าง Yaj ๒. แซ่ว่าง Vaj ๓. แซ่ลี Lis ๔. แซ่ซ่ง Xyooj ๕. แซ่ท่อ Thoj ๖. แซ่เฮ่อ Hawj ๗. แซ่จาง Tsab ๘. แซ่มัว Muas ๙. แซ่จ๋าว Tsom ๑๐. แซ่เล่า Lauj ๑๑. แซ่วื่อ Vwj ๑๒. แซ่หาญ Ham ๑๓. แซ่ฟ่า Faj ๑๔. แซ่เช่ง Tsheej ๑๕. แซ่กง koo ๑๖. แซ่จื้อ Tswb ๑๗. แซ่กื่อ Kwm ๑๘. แซ่พ่า Phaj ส�ำหรับในประเทศไทย ตระกูลของม้งกระจัดกระจายทัว่ ไปซึง่ แต่ละตระกูล จะมี พิธกี รรมทางศาสนาของตัวเอง ระบบครอบครัวของม้ง โดยปกติชายจะมีภรรยาคนเดียว อย่างไรก็ตามก็มีข้อห้าม เช่น ห้ามแต่งงานกับภรรยาของบิดา ห้ามแต่งงานกับสมาชิก ของครอบครัวทีใ่ ช้นามสกุลเดียวกัน ห้ามแต่งงานกับญาติชนั้ หนึง่ และชัน้ สองหรือพีน่ อ้ ง ข้างเคียง เป็นต้น ผู้ชายม้งถือว่าการแต่งงาน คือ การหาแรงงานมาเพิ่มเติม เมื่อชาย ชาติพันธุ์น่านศึกษา

173


ต้องการภรรยาเขาจะไปสูข่ อกับบิดามารดาของสตรีผนู้ นั้ พร้อมกับน�ำเงินทีไ่ ด้ ตกลงกัน ไปให้ เงินชนิดนี้เรียก “เงินซื้อเมีย” (บุญช่วย ๒๕๐๖, น.๖๐๑) สตรีผู้นั้นจะเป็นภรรยา ของตนทันที (ขจัดภัย ๒๕๓๘, น.๓๙) หน้าที่ของภรรยาม้งต้องบ�ำเรอความสุขให้สามี ต้องท�ำงานบ้านทุกประเภท เช่น ท�ำอาหาร เลีย้ งสัตว์ ตักน�ำ้ เก็บฟืน ตัดไม้ ถางหญ้า กรีดฝิน่ ปัน่ ฝ้าย ทอผ้า เลีย้ งเด็ก ส่วนผู้ชายจะนั่งจิบน�้ำชา ผู้ชายที่มีภรรยาซึ่งไม่สามารถมีบุตรสืบตระกูล สามารถหา ภรรยาคนใหม่ได้ และต้องมาช่วยภรรยาคนแรกท�ำงาน (บุญช่วย ๒๕๐๖, น.๕๙๙) การสืบมรดกของม้ง ทรัพย์สินส่วนตัวจะแยกจากของครอบครัว เมื่อหัวหน้าครอบครัว เสียชีวิต ทรัพย์สินของครอบครัว เช่น บ้านของบิดา และหิ้งผีบรรพบุรุษตกเป็นของ หัวหน้าครอบครัวคนใหม่ ได้แก่ ลูกชายคนเล็กทีส่ ดุ ทีแ่ ต่งงานแล้ว ส่วนทรัพย์สนิ ส่วนตัว จะแบ่งกันระหว่างทายาท เช่น เงินสด เครื่องประดับ หรือเครื่องเงิน ลูกชายที่อาวุโส ที่สุดจะได้ก่อน (ขจัดภัย ๒๕๓๘, น.๔๑-๔๒ และ Lebar and others ๑๙๖๔, p.๘๐) ระบบการปกครองของม้ ง จะมี หั ว หน้ า หมู ่ บ ้ า นซึ่ ง จะมี ก ารรวมกลุ ่ ม ของ ผู้ชาย หัวหน้าหมู่บ้านอาจมีมากกว่าหนึ่งคน ตระกูลที่มีสมาชิกจ�ำนวนมากแสดงให้ เห็นถึงความมั่งคั่ง อย่างไรก็ตามการเป็นหัวหน้าหมู่บ้านของม้งไม่มีก�ำหนดวางไว้ เมื่อได้รับต�ำแหน่งแล้วก็จะด�ำรงต�ำแหน่งตลอดไปจนสิ้นสภาพ เมื่อตายหรือลาออก หรือที่ประชุมหมู่บ้านเห็นว่าไม่เหมาะสมจะมีมติให้ลาออก (ขจัดภัย ๒๕๓๘, น.๓๓) แต่ในปัจจุบันระบบการปกครองแบบภาครัฐเข้ามามีอิทธิพลในกระบวนการสร้างผู้น�ำ ในรูปแบบใหม่จึงได้ท�ำลายรูปแบบวิธีคิดเดิม ๆ จนหมดสิ้น ในการปกครองของพวกม้ง จะยึดถือจารีตประเพณี โดยเชือ่ ว่าผีฟา้ เป็นผูบ้ ญ ั ญัตจิ ารีตต่าง ๆ ถ้าใครท�ำผิดจารีตผีฟา้ จะลงโทษ นอกจากนัน้ ผูท้ ำ� ผิดจารีตอาจถูกปรับไหม โดยการเลีย้ งผีฟา้ ตอบแทน หากมี กรณีพิพาทระหว่างตระกูลจะมีการตั้งคณะกรรมการขึ้นตัดสิน ฝ่ายที่แพ้คดีจะถูกปรับ ไหม โดยแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนหนึ่งให้หัวหน้าหมู่บ้าน อีกส่วนหนึ่ง แบ่งให้ผู้ ชนะคดี (ขจัดภัย ๒๕๓๘, น.๓๕-๓๖) ความเชื่อทางศาสนาของม้ง มีความเชื่อในผีบรรพบุรุษ และวิญญาณ ผีที่ม้ง นับถือมี ๒ ชนิด คือ ผีฟา้ หมายถึง ผูส้ ร้างแผ่นดิน มนุษย์และสัตว์ บันดาลให้เกิดและตายได้ ผีเรือน คือ วิญญาณของบรรพบุรษุ ท�ำหน้าทีป่ กปักรักษามิให้เกิดอันตรายอ�ำนวยความสุข ความร�่ำรวย และอาจท�ำให้เจ็บป่วย และยากจนได้เช่นกัน (บุญช่วย ๒๕๐๖, น.๕๙๔)

174ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ผีเรือนของม้งมี ๖ ตนเรียงล�ำดับตามอาวุโส คือ ผีปู่ย่าตาทวด ผีเสากลางบ้าย ผีเตาไฟ ผีเตาข้าวหมู ผีประตู และผีห้องนอน (พอลและอีเลน ลูวิส ๒๕๒๘, .๑๓๑) ม้งเชือ่ ว่ามนุษย์ตายไปแล้ววิญญาณยังคงเวียนว่ายอยูร่ ะหว่างบ้านของตนกับหลุมฝังศพ ชาวม้งจึงท�ำแท่นบูชาผีเรือนไว้ทกุ บ้านและมีการเซ่นไหว้เป็นประจ�ำ นอกจากนัน้ ม้งยัง เชื่อในผีร้าย เช่น ผีป่า (นะก่อ) ผีไร่ (นาเต๊) ผีกระสือ (ดั้งจ่อ) เมื่อมีผีป่าเข้าสิงร่างม้งจะ มีพธิ ขี บั ไล่ พิธนี เี้ รียกว่า “ฉะด้า” คือ เอาดินเหนียวมาปัน้ เป็นรูปมนุษย์และสัตว์วางบน แผ่นไม้สานแล้วยกไปทิง้ ข้างทางเดิน นอกจากนัน้ ยังมีการ เซ่นผีปา่ โดยการฆ่าสุนขั เอา โลหิตสุนัขทามีดไม้ เอาศีรษะและเท้าสุนัข มัดแขวน กับปีกไก ศรีษะไก่ ห้อยไว้ที่ประตู ห่างจากหมู่บ้านราว ๑ กิโลเมตร (บุญช่วย ๒๕๐๖, น.๕๙๕-๕๙๗) ผูป้ ระกอบพิธที างศาสนาของม้ง คือหมอผี เชือ่ ว่าเป็นผูม้ อี ำ� นาจเหนือธรรมชาติ มีหน้าทีเ่ ซ่นสังเวยผีตา่ ง ๆ รักษาผูป้ ว่ ยขับไล่ผที มี่ าสิงมนุษย์ อ่านลางและท�ำนายความฝัน ท�ำเครื่องรางของศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ ในหมู่บ้านหนึ่งอาจมีหมอผีหลายคน หรือหัวหน้า หมู่บ้านบางคนอาจเป็นหมอผีด้วยก็ได้ (ขจัดภัย ๒๕๓๘, น.๔๗) ม้งสองกลุ่มในไทยจะแต่งกายต่างกัน ความแตกต่างในเรื่องนี้ดูได้จากเครื่อง แต่งกายของหญิงม้งขาว และม้งน�ำ้ เงิน ม้งน�ำ้ เงิน ผูห้ ญิงจะสวมกระโปรงจีนพืน้ สีนำ�้ เงิน และมีลวดลายเป็นสีขาวจาง ๆ ทีช่ ายกระโปรงปักลวดลายสีตา่ ง ๆ และมีผา้ ปิดข้างหน้า สีดำ� อยูข่ า้ งหน้า พวกม้งขาวจะนุง่ กางเกงสีนำ�้ เงินมีผา้ ปิดข้างหน้าสีนำ�้ เงินและด�ำทัง้ ข้าง หน้าและข้างหลังบางครัง้ จะนุง่ กระโปรงเรียบๆ สีขาวไม่มปี กั หญิงม้งทัง้ สองกลุม่ นีจ้ ะใส่ คอเสื้อปักลวดลายเหมือนกันแต่ของม้งขาวจะใหญ่กว่าม้งน�้ำเงิน ผู้หญิงม้งขาวจะใช้ผ้า โพก ผมทุกวัน ม้งน�้ำเงินจะเกล้าผมสูงไม่ใช้ผ้าโพกผมนอกจากมีงานฉลอง ผู้ชายม้งขาว จะมีผา้ สีขาวอยูป่ ลายแขนเสือ้ สวมกางเกงสัน้ กว่าม้งน�ำ้ เงิน สวมเสือ้ สัน้ เปิดท้องสีนำ�้ เงิน ส่วนม้งลาย ผูช้ ายจะสวมเสือ้ ยาวไม่เปิดพุง กางเกงสีดำ� ยาวถึงตาตุม่ (ดูบญ ุ ช่วย ๒๕๐๖, น.๕๗๑ และขจัดภัย ๒๕๓๘, น.๒๘-๒๙) ระบบเศรษฐกิจ ชาวม้งท�ำการเกษตรเป็นส่วนใหญ่ เช่น ปลูกข้าวไร่ ข้าวโพด มันฝรั่ง ยาสูบ ผัก ฝิ่น ชาวแม้วนิยมการปลูกฝิ่นหมุนเวียนกับการปลูกข้าวโพด ข้าวโพดจะปลูกราว เดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม โดยที่ ฝิ่นจะปลูกในเดือนกันยายน พฤศจิกายน ฝิ่นที่ผลิตได้ส่วนใหญ่จะถูกจ�ำหน่ายไปและเก็บไว้บริโภคบางส่วน เงินสด ที่ได้มาจะน�ำไปซื้อข้าว สิ่ง ของ จ�ำเป็น เสื้อผ้า เกลือ น�้ำมันก๊าด ไม้ขีดไฟ ถ่ายไฟฉาย หรือสินค้าฟุ่มเฟือย ฝิ่นบางส่วนจะใช้ในการแลกเปลี่ยนสินค้าจากพ่อค้าเร่ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

175


เวลาว่างจากการเพาะปลูก ม้งจะเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ ไก่ หมู ม้า สุนัข (หมายุย) หรือออกไปล่าสัตว์ ดักสัตว์ เก็บของป่า เช่น หนังสัตว์ กล้วยไม้ น�้ำผึ้ง หวาย เป็นต้น (ขจัดภัย ๒๕๓๘, น.๔๒-๔๕) ส�ำหรับผู้หญิงม้ง เมื่อมีเวลาว่างจะนิยมทอผ้าจาก “ปาง” หรือต้นป่านป่า ด้านความเป็นอยู่ในบ้านเวลาพวกม้งรับประทานอาหารจะนั่งบนตั่งเตี้ย ๆ มี ถาดไม้สานต่อขาสูงจากพื้นดินประมาณ ๑ ศอก ใช้วางถ้วยอาหาร ใช้ตะเกียบพุ้ยข้าว และหยิบอาหารอย่างชาวจีน (บุญช่วย ๒๕๐๖, น.๕๙๒) การศึกษาเกี่ยวกับความเชื่อดั้งเดิมของชุมชน นับเป็นสิ่งมีค่ามีความหมาย ต่อการเข้าใจวิถีชีวิตของชุมชนที่ผ่านมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นการตีความผ่าน รหัสของคนโบราณที่ใส่ไว้ในรูปของพิธีกรรม ไม่ว่าจะเป็นพิธีกรรมด้านการแสดง หรือ ประเพณีด้านอื่น ๆ ที่สะท้อนความเชื่อของกลุ่มชนนั้น ๆ ถึงแม้ว่าโลกทัศน์เก่ากับโลก ทัศน์ใหม่จะมีความแตกต่างกันตามยุคสมัย แต่ความเป็นคนไม่เคยเปลี่ยน ดังนั้นการ เรียนรู้ที่แท้จริงและถูกวิธีจะท�ำให้เข้าใจแก่นแท้ที่ลึกซึ้งของชุมชนที่ขับเคลื่อนเลื่อน ไหลผ่านมาตามคติความเชื่อในแต่ละกลุ่มชน ซึ่งสามารถน�ำมาปรับใช้ใน สังคมปัจจุบัน ได้เป็นอย่างดี ทั้งยังอาจส่งทอดความดีงามของอดีตไปสู่อนาคตได้อีกด้วย วัฒนธรรม ของชาติพันธุ์ม้ง มีโลกทัศน์ที่เป็นฐานหลักเกี่ยวกับความเชื่อดั้งเดิมในเรื่องผี ในฐานะ ผู้เป็นเจ้าแห่งสรรพสิ่งและให้คุณให้โทษกับมนุษย์ได้ และต่อมาได้นับถือศาสนาต่าง ๆ ทั้งศาสนาพุทธและศาสนาคริสต์ตามความคิดความเชื่อของแต่ละกลุ่มชน ซึ่งกระแส ความเชื่อเรื่องผีและศาสนานั่นเอง ที่เป็นตัวก�ำหนดกฎเกณฑ์ทางสังคม เป็นรากฐาน ทางจริยธรรมทีม่ งุ่ ให้ผคู้ นประพฤติปฏิบตั ติ ามเพือ่ ความสงบร่มเย็นของชุมชน ความเชือ่ จึงเป็นแนวคิดส�ำคัญในฐานะที่เป็นฐานรากของชาวม้ง ความเชื่อที่เป็นโลกทัศน์ของ วัฒนธรรมชาวม้ง ความเชิงอภิปรัชญา ชาวม้งเชือ่ ว่าเทพเจ้า (เซ้า) เป็นผูส้ ร้างโลกมนุษย์ และสรรพสิง่ ต่าง ๆ โดยทีโ่ ลกแห่งผีกบั โลกมนุษย์มคี วามเชือ่ มโยงสัมพันธ์กนั อย่างแนบ แน่นและเชื่อมั่นในผีบรรพบุรุษว่าเป็นผีดีที่คอยปกป้องคุ้มครองมนุษย์จากภัยอันตราย และโชคร้ายต่าง ๆ ซึ่งสิ่งที่เชื่อมประสานโลกแห่งผีกับโลก มนุษย์ ขวัญ คือ กระบวนชีวติ ทัง้ หมดตัง้ แต่เกิดจนตาย เป็นสิง่ ทีม่ คี วามส�ำคัญทีส่ ดุ ใน ชีวติ มนุษย์ มนุษย์ดำ� เนินและประกอบกิจการต่าง ๆ ซึง่ สิง่ ทีเ่ ชือ่ มประสานโลกแห่งผีกบั โลกมนุษย์คอื ขวัญ ขวัญคือกระบวนชีวติ ทัง้ หมดตัง้ แต่เกิดจนตาย เป็นสิง่ ทีม่ คี วามส�ำคัญ ทีส่ ดุ ในชีวติ มนุษย์ มนุษย์ดำ� เนินและประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ได้เพราะมีขวัญเป็นเครือ่ ง

176ชาติพันธุ์น่านศึกษา


น�ำทาง มนุษย์จึงพยายามที่จะไม่ให้ขวัญหนี ขวัญเสีย หรือถูกผีร้ายแย่งชิงเอาไป หาก ขวัญถูกผีแย่งเอาไป ต้องท�ำพิธอี วั เน้ง ด้วยการเซ่น หมู,ไก่ หรือวัว เพือ่ แลกเอาขวัญสัตว์ ไปให้ผแี ละน�ำ ขวัญมนุษย์กลับคืนสูร่ า่ งเดิม ชาวม้งเชือ่ ว่าเมือ่ มนุษย์ตายไปจะกลายเป็น ผีบรรพบุรษุ คอยคุม้ ครองลูกหลานต่อไป ความเชือ่ ที่ เป็นโลกทัศน์เชิงจริยศาสตร์ ชาวม้ง ยึดมัน่ ในความกตัญตู อ่ ผีบรรพบุรษุ และต้องเซ่นสรวงประจ�ำทุกปี และถือหลักจริยธรรม ตามความเชือ่ เรือ่ งผี โดยหลักจริยธรรมส�ำหรับชีวติ นัน้ ต้องกตัญแู ละ เคารพเชือ่ ฟังบิดา มารดา มีความรัก ความสามัคคีกันระหว่างพี่น้อง สามีภรรยาต้องรัก ให้เกียรติ และไม่ ทอดทิ้งกัน ห้ามคนแซ่ตระกูลเดียวกันแต่งงานกันเด็ดขาด ส่วนหลักจริยธรรมในชุมชน นัน้ ชาวม้งต้องเคารพเชือ่ ฟังผูอ้ าวุโสทีเ่ ป็นผูร้ ใู้ นชุมชน และนับถือกันตามล�ำดับแซ่อย่าง เคร่งครัด ต้อง ช่วยเหลือกันภายในชุมชน โดยทีช่ าวม้งสามารถประยุกต์ความเชือ่ หลาย กระแสที่เข้ามาสู่ชุมชนให้ เข้ากันได้กับประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิม ด้วยการไม่ทอดทิ้ง และรักษาแนวคิดความเชือ่ ดัง้ เดิมตามวิถมี ง้ และไม่ปดิ กัน้ ความเชือ่ ใหม่ ๆ แต่สงั่ สอนลูก หลานให้ปฏิบตั ติ ามประเพณีดงั้ เดิมอย่างเคร่งครัด เพือ่ ให้ผบี รรพบุรษุ พอใจและปกป้อง คุ้มครองลูกหลานให้มีความสุขความเจริญตลอดไป การแสวงหาจุดร่วมของแนวคิดสองกระแสระหว่างความเชื่อดั้งเดิมในเรื่องผี วิญญาณกับความเชื่อ ทางศาสนาที่สามารถหลอมรวมชุมชนให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความ สุขและพึ่งพาอาศัยกันได้อย่างผสม กลมกลืนและไม่ขัดแย้ง จึงนับว่าเป็นสิ่งที่มีคุณค่า อย่างยิ่ง โดยเฉพาะในสถานการณ์ของสังคมไทย ที่มีแนวคิดแบ่งแยกแตกส่วนเป็น ฝักฝ่ายอย่างรุนแรงเช่นทีป่ รากฏอยูใ่ นปัจจุบนั งานศึกษาครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษา ถึงรากฐานทางความเชื่อและโลกทัศน์ของชุมชน บ้านดอยติ้ว (กรณีศึกษา)จังหวัดน่าน และเพื่อแสวงหา จุดร่วมของความเชื่อหลายกระแสที่สามารถยึดโยงให้ชุมชน ไปสู่ บทเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในบริบทของโรงเรียนประจ�ำ (โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ จังหวัดน่าน) เป็นโรงเรียนประจ�ำทีส่ ามารถอยูร่ ว่ มกันได้อย่างสันติสขุ ภายใต้กรอบ คิดพหุวัฒนธรรมได้อย่างไร

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

177


มีนิยายปรัมปราของชาวม้งซึ่งได้เล่า สืบต่อกันมา กล่าวไว้ว่า ถิ่นก�ำเนิดของม้ง อยู่ที่มุมหนึ่งของโลก เป็นดินแดนที่มีอากาศ หนาวเย็น ปกคลุมด้วยหิมะ น�้ำตามล�ำธารจับ ตัวเป็นน�้ำแข็ง มีเวลากลางคืนและกลางวัน ยาวนานถึง ๖ เดือนจึงเป็นการน่าเชือ่ ว่าชาวม้ง เคยอาศัยอยู่ในบริเวณ มองโกเลีย หรือแม้แต่ ทางเหนือของสแกนดิเนเวีย หรือบริเวณขัว้ โลก เหนือ อย่างไรก็ตาม โดยทีเ่ ห็นว่า ม้ง มีลกั ษณะ หน้าตา ภาษา และความเชื่อทางศาสนาไม่ เหมือนใคร บาทหลวงซาวีนา จึงเชื่อว่า ม้งไม่ เหมือนชนชาติใด ๆ ในทวีปเอเชีย และมีแหล่งก�ำเนิดจากทีแ่ ห่งหนึง่ ในแคว้นเมโสโปเตเมีย จากประวัติศาสตร์ของจีน สันนิฐานได้ว่า ชาวม้งอยู่ในประเทศจีนมาก่อนชาวจีน และ มีอาณาจักรของตนเองอยู่อย่างสงบสุขมาเป็นเวลานาน ต่อมาชาวจีนได้อพยพเข้ามาตั้งรกรากในบริเวณลุ่มแม่น�ำฮวงโห (แม่น�้ำเหลือง) และได้แผ่ขยายอาณาเขตออกมาด้วยการสูร้ บขับไล่ชนชาติตา่ ง ๆ ทีเ่ ป็นบรรพบุรษุ ของ ชนชาติไทย ชนชาติม้ง และชนชาติอื่น ๆ การต่อสู้ระหว่างบรรพบุรุษของชนชาติม้ง และชนชาติจีนได้เป็นไปอย่างรุนแรงและยืดเยื้อ ในสมัยราชวงศ์แมนจู (เหม็ง) หรือค ริสศตวรรษที่ ๑๗ กษัตริยใ์ นราชวงศ์เหม็งได้เปลีย่ นนโยบายเป็นการปราบปรามให้ชาว ม้งยอมจ�ำนนโดยสิ้นเชิง จึงได้มีการต่อสู้อย่างรุนแรงในหลายแห่ง เช่น ที่เมืองพังหยุน ในปี ค.ศ.๑๔๖๖ ในมณฑลไกวเจา ในระหว่าง ปี ค.ศ.๑๗๓๓-๑๗๓๕ ในมณฑลเสฉวน และไกวเจา ระหว่างปี ค.ศ.๑๗๖๓-๑๗๗๕ ส�ำหรับการสู้รบกับจีนครั้งหลังสุด เป็นช่วง เวลาประมาณ ปี ค.ศ.๑๘๕๕-๑๘๘๑ ชาวม้งได้พ่ายแพ้ ส่วนหนึ่งจึงหลบหนีเข้าไป อยู่ตามป่าตามเขา ร่นไปทางตะวันตก มณฑลเสฉวนและทางใต้ มณฑลตังเกี๋ย และมณฑลยูนนาน ระหว่างการสูร้ บศึกสงครามชาวม้งได้อาศัยภูเขาเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยเพือ่ ป้องกันการรุกรานจากศัตรูและเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ ประกอบ กับความเป็นชนชาติทรี่ กั อิสระ ท่ามกลางธรรมชาติอนั ร่มเย็นและกว้างใหญ่ไพศาล การ อาศัยอยู่ตามภูเขาสูงจึงได้กลายเป็นวิถีการด�ำเนินชีวิตของชนชาติม้งในช่วงเวลาต่อมา ซึ่งมีการกล่าวกันว่า "น�้ำเป็นของปลา ฟ้าเป็นของนก แต่ภูเขาเป็นของม้ง" ชาวม้งได้

178ชาติพันธุ์น่านศึกษา


อพยพผ่านประเทศเวียดนาม ลาว และในที่สุด ถึงประเทศไทย จากการบอกเล่าของ ผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่หลายท่านทีม่ อี ายุรว่ มร้อยปี กล่าวว่าพวกเขาเกิดในแผ่นดินไทย และส่วนใหญ่ กล่าวว่ารุ่นพ่อแม่ของพวกเขาเป็นนักรบเดินทางมาจากประเทศจีน ขณะที่ศูนย์วิจัย ชาวเขาทีเ่ ชียงใหม่มคี วามเห็นว่า ชาวม้งกลุม่ แรก ๆ ได้อพยพเข้ามาสูป่ ระเทศไทยประมาณ เมื่อ ปี ค.ศ.๑๘๕๐ ฉะนั้น ชาวม้งจึงน่าจะเข้ามาอยู่ในประเทศไทยได้ประมาณ ๑๕๐ ปี มาแล้ว โดยมีเส้นทางอพยพเข้ามา ๓ จุดใหญ่ ๆ คือ ๑. เป็นจุดทีช่ าวม้งเข้ามามากทีส่ ดุ อยูท่ างทิศเหนือสุดหรือแนวเมืองคาย - ห้วย ทราย - เชียงของ ๒. อยู่ในแนว สายบุรี (ลาว) - อ. ปัว จ. น่าน ๓. เป็นจุดทีเ่ ข้ามาน้อยทีส่ ดุ อยูใ่ นแนว ภูเขาคาย (ใกล้เวียงจันทร์) - จังหวัดเลย จากการส�ำรวจของ คณะท�ำงานเฉพาะกิจเพื่อพัฒนาระบบข้อมูลกลางชุมชน บนพืน้ ทีส่ งู กองสงเคราะห์ชาวเขา กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการ สังคม ปี ค.ศ.๒๕๔๑ ได้สรุปจ�ำนวนประชากรชาวม้งว่ามีประมาณ ๑๒๖,๓๐๐ คน อาศัยอยู่ใน ๑๓ จังหวัดเขตภาคเหนือ คือ ก�ำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก น่าน พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ล�ำปาง สุโขทัย พะเยา และ เลย ชาวม้งในประเทศไทยมีอยู่ด้วยกัน ๓ กลุ่ม คือ ๑. ม้งจั๊ว (ม้งเขียว หรือ น�้ำเงิน) ๒. ม้งเดอะ (ม้งขาว) ๓. ม้งจ้ายบ๊าง (ม้งลาย) ประวัติและความเป็นมา (History of the Hmong people) อย่างไรก็ดยี งั ไม่มผี ใู้ ดสามารถสรุปได้วา่ ชนชาติมง้ มาจากทีไ่ หน แต่สนั นิษฐาน กันว่า ม้ง คงจะอพยพมาจากที่ราบสูงธิเบต ไซบีเรีย และมองโกเลีย เข้าสู่ประเทศจีน และตั้งหลักแหล่งอยู่แถบลุ่มแม่น�้ำเหลือง (แม่น�้ำฮวงโห) เมื่อราว ๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว ซึ่งชาวเขาเผ่าม้งจะตั้งถิ่นฐานอยู่ในมณฑลไกวเจา ฮุนหน�ำ กวางสี และมณฑลยูนาน ม้ งอาศัยอยู่ในประเทศจีนมาหลายศตวรรษ จนกระทั่ง ประมาณคริสตศตวรรษที่ ๑๗ รา ชวงค์แมนจู (เหม็ง) มีอำ� นาจในประเทศจีน กษัตริยจ์ นี ในราชวงค์เหม็งได้เปลีย่ นนโยบาย เป็นการปราบปราม เพราะเห็นว่าม้งที่เป็นผู้ชายส่วนใหญ่แล้วรูปร่างหน้าตาคล้ายกับ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

179


คนรัสเซีย ท�ำให้คนจีนคิดว่าม้งเป็นคนรัสเซีย จึงเป็นเหตุให้มีการปราบปรามม้งเกิดขึ้น โดยให้ชาวม้งยอมจ�ำนนและยอมรับวัฒนธรรมของจีนจึงได้มกี ารต่อสูก้ นั อย่างรุนแรงใน หลายแห่งเช่นในเมืองพังหยุนในปี พ.ศ.๒๐๐๙ และการต่อสูใ้ นมณฑลไกวเจาในระหว่าง พ.ศ.๒๒๗๖ - พ.ศ.๒๒๗๘ และการต่อสูใ้ นมณฑลเสฉวนในระหว่าง พ.ศ.๒๓๐๖–๒๓๑๘ ชาวม้ง ประสบกับความพ่ายแพ้สูญเสียพลรบ และประชากรเป็นจ�ำนวนมาก ในที่สุด ม้ง ก็เริ่มอพยพถอยร่นสู่ทางใต้และกระจายเป็นกลุ่มย่อย ๆ กลับขึ้นอยู่บน ที่สูงป่าเขาในแคว้นสิบสองจุไทย สิบสองปันนาและอีกกลุ่มได้อพยพไปตามทิศตะวัน ออกเฉียงเหนือของราชอาณาจักรลาว บริเวณทุ่งไหหิน เดียนเบียนฟู และอพยพเข้าสู่ ประเทศไทยเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๔๐๐ เศษ เป็นต้นมา ชาวม้ง ส่วนใหญ่ในประเทศไทย ตัง้ ถิน่ ฐานอยูต่ ามภูเขาสูง หรือทีร่ าบเชิงเขาใน เขตพืน้ ที่ จังหวัดเชียงราย พะเยา น่าน เชียงใหม่ แม่ฮอ่ งสอน แพร่ ล�ำปาง ก�ำแพงเพชร เลย พิษณุโลก เพชรบูรณ์ สุโขทัย และตาก มีจำ� นวนประชากรทัง้ สิน้ ประมาณ ๑๕๑,๐๘๐ คน

โดยสรุปต�ำนาน ม้ง

ทั่วไปเกี่ยวกับชนเผ่าม้ง ม้งเป็นชนเผ่าหนึ่งที่รักความสงบและความยุติธรรม โดยแต่เดิมชอบอยู่อย่าง โดดเดี่ยวตามบริเวณเทือกเขาที่สูงมีอากาศที่หนาวเย็นในประเทศต่างๆทางทิศเหนือ ทิศตะวันออกและทิศตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย ส่วนในทางมนุษยวิทยาถือว่าม้ง เป็นชนเผ่าที่มีขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมใกล้เคียงกับชนชาติจีนหรืออีกนัย หนึ่งคือจัดอยู่สายตระกูลจีน ธิเบต(Sino Tibetan Stock) ซึ่งมีชนชาติเย้าหรือเมี่ยน รวมอยู่ด้วยค�ำว่า “ม้ง” (Mong) หรือ “ฮม้ง” (Hmong) จากการให้ความหมายของ “นายกั้งซุ แซ่ย่าง” ซึ่งเป็นผู้เฒ่าผู้แก่ที่น่าเคารพคนหนึ่งของชาวม้ง (ปีให้ข้อมูลปี ค.ศ.๒๐๐๐ รวมมีอายุได้ ๖๖ ปี อาศัยอยู่ที่ บ้านใหม่หนองหอย อ�ำเภอแม่ริม จังหวัด เชียงใหม่) ได้ให้ความหมายไว้ว่า “ม้ง” หรือ “ฮม้ง” คือ กลุ่มหรือความเป้ฯชนชาติ ในตัวเอง แต่ในขณะเดียวกันม้งชอบเรียกตัวเองว่า “เป๊ะม้ง” และตามด้วยสายสกุล ของตัวเอง เช่น เป๊ะม้งย่าง ก็หมายถึงสายสกุลแซ่ย่างเป็นต้น ค�ำว่า “เป๊ะ” แปล ตรงตัวได้ว่า “สาม” และบางทีก็หมายถึง “พวกเรา” “เป๊ะ”นี้มีต้นสายปลายเหตุ มาจากนิยายปรัมปราที่เป็นการให้เกียรติแก่กษัตริย์ม้งพระองค์หนึ่งซึ่งมีอยู่ ๓ เศียร (ดูรายละเอียดประวัตมิ ง้ ) ถึงแม้วา่ ชนเผ่าม้งจะเป็นชนกลุม่ หนึง่ ทีร่ กั ความสงบและความ

180ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ยุติธรรมแต่ในยามศึกศึกสงครามจะเป็นนักรบที่กล้าหาญต่อสู้อย่าดุดันและเหี้ยมโหด เด็ดขาด แต่ม้งจะถูกเรียกจากชนชาติอื่น ๆ ว่า “แม้ว” “เมี่ยว” หรือ “เมี๊ยวจซึ” (ออกเสียงตัวจอควบกล�้ำกับซึ) ซึ่งในภาษาจีนแปลว่า “หนูตาบอด” สาเหตุเนื่องจาก การก่อท�ำศึกสงครามกันระหว่างชนชาติจีนและม้งในอดีตที่ยาวนานซึ่งนับได้ว่าม้งเป็น ศัตรูตัวฉกาจตัวหนึ่งของชนชาติจีนมาโดยตลอด และด้วยจ�ำนวนประชากรม้งที่น้อย กว่าจึงมักจะแพ้สงครามอยู่เสมอ ๆ และต้องแตกทัพหนีกระจายเอาตัวรอดเหมือนหนู ตาบอด ละทิง้ ชาติของตัวเองเพือ่ เอาชีวติ รอด ดังนัน้ ม้งจึงไม่นยิ มชมชอบให้ใครมาเรียก สรรพนามตัวเองว่า “แม้ว” “เมี๊ยว”หรือ “เมี๊ยวจซึ” ประวัติศาสตร์และความเป็นมาของชนเผ่าม้ง ตามต�ำนานเล่าขานกันว่า ชนเผ่าม้งอาศัยอยูใ่ นดินแดนทีห่ นาวเหน็บมีกลางวัน หกเดือนและกลางคืนหกเดือน ม้งเป็นชนชาติหนึง่ ทีแ่ ปลกแยกไปจากคนเอเชีย และโดย แท้จริงแล้วม้งอาจจะมิใช่คนเอเชีย เป็นกึง่ ฝรัง่ กับเอเชีย หรือกึง่ คอเคเซียมกึง่ มองโกลอย นอกจากนัน้ ม้งยังมีนทิ านปรัมปราเล่าถึงต�ำนานการสร้างโลก สร้างมนุษย์และความเชือ่ เกี่ยวกับการคืนชีพของกษัตริย์ม้ง จากการที่ได้พูดคุยกับผู้เฒ่าผู้แก่และผู้ที่มีความรู้ เกี่ยวกับชนเผ่าม้งจากการเล่านิยายปรัมปราและนิทาน (เนื่องจากม้งไม่มีภาษาเขียน เป็นของตัวเองและไม่เคยมีการบันทึกเหตุการณ์ต่าง ๆ เป็นลายลักษณ์อักษรจึงใช้วิธี การบอกเล่าแบบรุ่นสู่รุ่น) ซึ่งไม่สามารถจ�ำชื่อกษัตริย์และผู้น�ำของจีนได้มากนัก แต่ พอจะสรุปได้ดังนี้ มีกษัตริย์ม้งผู้ครองเมืองหนึ่งมีพระมเหสี ๗ พระองค์ กษัตริย์พระองค์นี้เกิด ความไม่พอใจพระธิดาองค์หนึง่ จึงได้ทำ� การเนรเทศพระธิดาองค์ดงั กล่าวออกไปจากนคร พระธิดาฯ ได้ตกทุกข์ได้ยากมากจึงกราบวิงวอนขอความช่วยเหลือจากเทวดา เทวดาจึง ประทานผลไม้ให้รวมทั้งได้ช่วยให้พระธิดามีพระราชโอรสสามพระองค์ ต่อมาเมื่อพระ โอรสองค์เล็กประสูติออกมาปรากฏว่ามีสามเศียรในร่างเดียว และก่อนที่พระธิดาจะ สิน้ พระชนม์ได้บอกชือ่ ผูค้ รองเมืองและทิศทางการกลับสูเ่ มืองให้ทงั้ โอรสทัง้ สามพระองค์ ทราบ และบอกว่าเจ้าผู้ครองเมืองนั้นแท้จริงก็คือปู่ของพระโอรสทั้งสามนั่นเอง และได้ ให้พระโอรสทัง้ สามขอสิง่ ทีอ่ ยากได้จากผูเ้ ป็นพระมารดา องค์ทมี่ สี ามเศียรได้ขอให้มสี ติ ปัญญาเฉลียวฉลาด ภายหลังเมือ่ พระมารดาเสด็จสวรรคตแล้วทัง้ สามพระองค์กไ็ ด้ออก เดินทางตามหาปู่ตามรับสั่งของพระมารดาเมื่อทรงพบปู่แล้วก็ทรงเล่าเรื่องทั้งหมดให้ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

181


ผู้เป็นปู่ทราบและได้ท�ำการศึกษาเล่าเรียนหนังสือ พระโอรสองค์ที่มีสามเศียรทรงพระ ปรีชาสามารถกว่าอีกสองพระองค์ กษัตริย์จึงได้ตรัสว่าหากพระองค์สวรรคตให้แต่งตั้ง หลานที่มีสามเศียรนี้ขึ้นครองราชแทน เมื่อข่าวทราบถึงพระมเหสีทั้งเจ็ดของกษัตริย์ เจ้าครองเมือง พระมเหสีทงั้ เจ็ดก็ทรงไม่พอใจเป็นอย่างยิง่ หาลูท่ างจะประทุษร้ายหลาน ทัง้ สามของพระราชา ทัง้ สามพระองค์จงึ ได้หลบหนีออกจากนครไปและได้ไปร�ำ่ เรียนวิชา ความรู้ต่าง ๆ กับพระอาจารย์คนหนึ่ง เมื่อร�่ำเรียนจนเก่งกล้าซึ่งวิชาความรู้แล้วจึงได้ร�่ำ ลาอาจารย์ออกเดินทางต่อ ประจวบเหมาะกับในช่วงเวลาดังกล่าวได้เกิดช่วงเริม่ ต้นของ การก่อศึกสู้รบท�ำสงครามกันระหว่างชนเผ่าม้งกับชนชาติจีน หลังจากการท�ำสงคราม เป็นระยะเวลาที่ยาวนานก็ไม่ปรากฏว่ามีผู้ใดพ่ายแพ้หรือชนะ แต่สภาวการณ์ของชน ชาติม้ง (ในขณะนั้นยังมีเมืองและประเทศของตนเองจึงยังมีชาติเป็นของตัวเองอยู่) เสียเปรียบอย่างเห็นได้ชัด กษัตริย์ทรงเห็นว่าหากปล่อยให้เหตุการณ์เป็นเช่นนี้อีก ชนชาติมง้ อาจเสียทีได้ จึงได้มรี บั สัง่ ให้ตามหาหลานชายทีม่ สี ามเศียรมาครองราชบัลลังค์ ออกรบแทนเนื่องจากตนเองก็ชราภาพมากแล้วประกอบกับหลานที่มีสามเศียรคนนี้ เป็นคนเฉลียวฉลาด ปฏิภาณ ไหวพริบดีเป็นเลิศ เมื่อหลานชายขึ้นครองราชย์แล้วก็ได้ ท�ำการต่อสู้กับกองทัพจีนด้วยความหาญกล้าและไม่เสียทีข้าศึกง่าย ๆ เหมือนดังเช่น แต่ก่อนอีก ไม่มีฝ่ายใดแพ้ ชนะ แต่ผู้คนพากันล้มตายเป็นจ�ำนวนมาก กษัตริย์ทั้งสอง ฝ่ายจึงได้ท�ำสัญญาตกลงสงบศึกแล้วมีการแบ่งเขตแดนการปกครองกัน ให้กษัตริย์ม้ง ปกครองเมืองป้างเต่อหล่าง (สันนิษฐานว่าปัจจุบันคือประเทศมองโกเลีย) และกษัตริย์ จีนปกครองเมืองปี่เจิ้ง ความสงบสุขจึงกลับคืนมาอีกครั้ง ต่อมาเมื่อกษัตริย์ทั้งสองพระองค์เสด็จสวรรคตและกษัตริย์องค์ใหม่ขึ้น ครองราชแทน ต่างฝ่ายก็ต่างอ้างกรรมสิทธิ์ในดินแดนต่าง ๆ ว่าเป็นของตัวเอง จึ ง มี ก ารตรวจสอบหลั ก ฐานการแบ่ ง เขตแดนจากกษั ต ริ ย ์ ทั้ ง สองพระองค์ ก ่ อ น ปรากฏว่าเมื่อครั้งที่ทหารจีนและทหารม้งท�ำการแบ่งเขตแดนนั้น ทหารจีนใช้เสาดิน ปักหลักเป็นหลักฐาน ส่วนทหารม้งใช้กอหญ้ามัดเป็นจุด ๆ และทหารจีนได้แอบเผากอ หญ้าม้งจนไหม้เป็นจุนหมด ดังนัน้ เมือ่ เกิดการตรวจสอบขึน้ จึงไม่เหลือสัญลักษณ์ทแี่ สดง อาณาเขตดินแดนของม้งอีก กลายเป็นสาเหตุของการประทุก่อศึกสงครามขึ้นมาใหม่ ขณะเดียวกันชนชาติม้งได้แตกแยกออกเป็นสามกลุ่ม มีสองกลุ่มได้ยอมสวามิภักดิ์กับ กษัตริย์จีน เป็นผลให้ชนชาติม้งต้องพ่ายแพ้สงครามอย่างย่อยยับและได้แตกกระจาย อพยพเข้าสู่เวียดนามแลถอยร่นลงมาทางตอนใต้ของประเทศจีนคือ ยูนาน ดังนั้น

182ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ความเป็นชาติผนื แผ่นดินของม้งและการมีพระมหากษัตริยเ์ ป็นผูน้ ำ� ของชนชาติมง้ จึงได้ สิ้นสุดลงที่นครป้างเตอหลาง อันเป็นนครอันเป็นที่รักของชนชาติม้งในอดีต หรือนครที่ ชาวจีนเรียกกันว่า “เมี้ยวจซึ” แต่นั้นมา ตังแต่นนั้ มาม้งก็ไม่มปี ระเทศชาติ รวมทัง้ ราชธานีและกษัตริยเ์ ป็นของตนเองอีก นอกจากหัวหน้าหรือผู้น�ำที่ส�ำคัญ ๆ เท่านั้น ในกลุ่มที่อพยพลงมาทางใต้ของจีนมณฑล ยูนานในปัจจุบนั นี้ ได้มผี นู้ ำ� ม้งเกิดขึน้ อีกหลายคน ผูน้ ำ� คนแรกนัน้ แม้แต่คมหอก คมดาบ ก็ไม่สามารถทีจ่ ะระคายผิวได้ จุดเดียวทีจ่ ะสามารถท�ำให้ผนู้ ำ� ม้งคนนีต้ ายได้กค็ อื จุดตรง ทวารหนัก ซึ่งจุดนี้ทหารจีนไม่อาจล่วงรู้ได้เลย จึงวางแผนออกอุบายให้สาวชาวจีนซึ่งมี ใบหน้าและรูปร่างที่สวยงามนางหนึ่งมาแต่งงานกับผู้น�ำม้งคนนี้ เมื่อแต่งงานอยู่กินกัน นั้น สาวจีนผู้นี้ได้ปรนนิบัติผู้น�ำม้งได้อย่างดียิ่ง จนเป็นที่พอใจของผู้น�ำม้งเป็นอันมาก วันหนึ่งสาวชาวจีนก็ได้แกล้งถามผู้น�ำม้งว่าท�ำไมในเวลาออกศึกสู้รบท�ำสงครามจึงไม่มี อะไรท�ำอันตรายได้เลย และด้วยความไว้ใจผู้น�ำม้งจึงตอบโดยไม่ได้เฉลียวใจว่าแท้จริง แล้วจุดทีส่ ามารถท�ำให้ตายได้อยูท่ ที่ วาร เมือ่ สาวจีนรูค้ วามจริงกระจ่างชัด จึงได้วางกล อุบายว่าไหน ๆ ก็รว่ มทุกข์รว่ มสุขกันมานานแล้วแต่เหลืออย่างเดียวทีไ่ ม่เคยได้ปรนนิบตั ิ ผูน้ ำ� ม้งเลยก็คอื การช่วยช�ำระท�ำความสะอาดให้ผนู้ ำ� ม้งหลังการขับถ่าย และด้วยความ ไว้ใจประกอบกับความรักที่มีให้สาวชาวจีนอย่างเต็มล้นจึงได้ยินยอมให้สาวชาวจีน ปรนนิบัติ เมื่อท�ำกิจธุระเสร็จจึงยินยอมให้สาวจีนมาช่วยช�ำระล้างทวารให้ และเมื่อสบ โอกาสสาวชาวจีนผู้นั้นก็ได้ใช้มีดที่เตรียมไว้จ้วงแทงทวารของผู้น�ำม้งจนตายและตั้งแต่ นัน้ มาชนชาติมง้ ก็แตกและหนีกระจายอีกครัง้ หนึง่ ต่อมามีผนู้ ำ� ม้งอีกคนหนึง่ คนนีช้ อื่ ว่า “ว่างพัว้ ะซึ” และได้ทำ� ศึกสงครามกับจีนแต่แพ้สงครามผูน้ ำ� ของจีนคือ “ซอยี”่ ได้สมรส กับภรรยาของผูน้ ำ� ม้ง และต่อมาก็มผี นู้ ำ� ม้งอีกคนหนึง่ ชือ่ ว่า “หว่างหวือ ย่าง” ได้ทำ� ศึก สงครามกับผู้น�ำจีน (ซ่อยี่) และได้รับชัยชนะ จึงสถาปนาตัวเองเป็นผู้น�ำม้งขึ้นปกครอง เมืองแทน และได้สมรสกับภรรยาของซอยี่ (เดิมเป็นภรรยาของว่างพัวะซึ) ครองเมือง จนเสียชีวติ ลงได้มตี ระกูลแลแซ่เฒ่าขึน้ มาเป็นผูน้ ำ� ครองเมืองแทน (ปัจจุบนั ตระกูลสายนี้ มีอยู่เขตเชียงใหม่) และได้ท�ำศึกสงครามกับจีนมาเป็นเวลานานไม่มีผู้แพ้ชนะ จึงได้ท�ำ สัญญาสงบศึกอีกครัง้ และท�ำการส่งลูกหลานแต่งงานข้ามชนชาติกนั ขึน้ ทัง้ นีผ้ นู้ ำ� ม้งคนนี้ มีเต่าหินอยู่ตัวหนึ่งทุกปีตกไข่ ๑ ฟอง ๙ ปี ตก ๙ ฟอง ซึ่งคนจีนเชื่อว่าเป็นสาเหตุที่จีน ไม่สามารถชนะสงครามกับม้งได้ ชนชาติจนี จึงออกอุบายเพือ่ ยืมเต่าหินนัน้ ไปแล้วท�ำการ ต้ม ๓ วัน ๓ คืน จึงน�ำกลับมาส่งแล้วติดตามผลปรากฏว่าเต่าหินไม่สามารถตกไข่ได้อีก ชาติพันธุ์น่านศึกษา

183


ชนชาติจีนจึงได้ท�ำสงครามกับม้งอีกครั้งหนึ่ง เมื่อเกิดการสู้รบฝ่ายทายาทจีนที่ได้ส่งมา แต่งงานกับชนชาติม้งได้ท�ำการกบฎต่อสู้จากในเมืองออกในขณะเดียวกันกองทัพจีน ก็ได้กรีฑาทัพจากข้างนอกบุกเข้ามาในตัวเมืองด้วย ในทีส่ ดุ ม้งแพ้สงครามและถูกฆ่าล้าง เผ่าพันธุ์ที่นี่ ส่วนที่เหลืออพยพเข้าสู่ลาว ประมาณ ๓๐๐ ปี หรือประมาณ พ.ศ.๒๒๐๐ เป็นการท�ำศึกสงครามกับชนชาติจีนเป็นครั้งสุดท้ายในประวัติศาสตร์ของชนชาติม้ง เมือ่ ชนชาติมง้ ถูกไล่ลา่ จึงล่าถอยอพยพขึน้ สูภ่ เู ขา เนือ่ งจากเหตุการณ์บงั คับให้ ต้องหนี่ขึ้นที่สูง หากยังอาศัยอยู่ในที่ราบจะถูกฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ส่วนที่เหลือจะถูกตรวน โซ่ทคี่ อและแขน จากนัน้ ผูน้ ำ� ของจีนและม้งก็ได้ทำ� การสาปแช่งกันไว้วา่ ในเมือ่ ม้งเป็นพี่ จีนเป็นน้อง แต่ทำ� ไมต้องฆ่าล้างเผ่าพันธุก์ นั ขนาดนี้ เมือ่ ม้งตายไปจะกลับมาเกิดเป็นเสือ และจะท�ำร้ายคนจีน (ม้งตระกูลแซ่ย่าง แซ่หางเชื่อว่าเมื่อเสียชีวิตแล้วจะกลายเป็นเสือ ความเชื่อนี้ยังมีหลงเหลืออยู่บ้างในปัจจุบัน) ส่วนผู้น�ำจีนได้สาปแช่งว่า หากวันใดม้ง กลับลงมาสู่พื้นราบจะเจ็บไข้ได้ป่วยล้มตาย จากนั้นม้งจึงอยู่อาศัยแต่บนภูเขาไม่ยอม ลงสู่พื้นราบอีก ผู้น�ำม้งจึงกล่าวว่าในเมื่อไม่สามารถกลับลงมาสู่พื้นที่ราบได้อีกแล้วสิ่ง ที่จ�ำเป็นต้องใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้แก่ เกลือ ไหม ด้าย ฝ้ายต่าง ๆ จะหาจากที่ไหนได้ ผู้น�ำจีนตอบผู้น�ำม้งว่าไม่ว่าชนชาติม้งจะไปถึงไหน คนจีนจะน�ำสิ่งจ�ำเป็นเหล่านี้ตามไป ขายให้ถงึ ทีน่ นั้ ฉะนัน้ จึงเห็นได้วา่ ไม่วา่ จะเป็นอดีตหรือกระทัง่ ปัจจุบนั นีไ้ ม่วา่ ชนชาติมง้ จะอยูไ่ กลสุดยอดเขา ปลายฟ้าเพียงใดชนชาติจนี ก็จะน�ำฝ้าย ไหม ด้าย เกลือไปขายถึงที่ นั่นเป็นคู่ตลอดกาลหลายชั่วอายุคน ส่วนค�ำสาปแช่งของผู้น�ำจีนที่มีต่อม้ง หลังจากนั้น ม้งลงสู่พื้นราบก็จะเกิดการเจ็บป่วยล้มตายตามค�ำสาปแช่ง ท่านผู้เฒ่า “จ้งเปา แซ่ย่าง” (ขณะนี้คือปี ๒๐๐๐ ท่านผู้เฒ่ามีอายุได้ ๘๖ ปี อาศัยอยู่ท่ีบ้านใหม่หนองหอย อ�ำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่) ได้เล่าให้ฟังว่าเมื่อ ประมาณเจ็ดสิบกว่าปีมาแล้วเมือ่ สมัยทีต่ วั เองยังเป็นหนุม่ อยูต่ นเองและพรรคพวกทีเ่ ป็น พี่น้องม้งด้วยกันมีความจ�ำเป็นต้องลงมาหาซื้อ เกลือ เสื้อผ้า และของใช้ที่จ�ำเป็นต่าง ๆ ในตัวเมืองอ�ำเภอฝาง และอ�ำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ เพือ่ น�ำกลับขึน้ ไปใช้ ปรากฏว่า บางคนต้องล้มป่วยเสียชีวติ ระหว่างทาง หรือพอกลับถึงบ้านบนภูเขาก็มอี าการเจ็บป่าย ล้มหมอนนอนเสื่อเป็นเวลาเดือน ๆ ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวน่าจะเป็นช่วงประมาณปี พ.ศ. ๒๔๗๕ – ๒๕๐๐ และว่ากันว่าค�ำสาปแช่งดังกล่าวจะสิ้นสุดลงประมาณ ปีพ.ศ. ๒๕๐๐ และก็เป็นเช่นนัน้ จริงดังจะเห็นได้วา่ หลังจากนัน้ ชาวม้งก็เริม่ ค่อย ๆ ลงกลับลงมาสูพ่ นื้ ที่ ราบได้ตามล�ำดับในช่วง ๓๐ ปีหลัง ๆ นี้เท่านั้นเอง เริ่มมีการส่งบุตรหลานเข้ามาเรียน

184ชาติพันธุ์น่านศึกษา


หนังสือในตัวเมืองมากขึ้น รวมทั้งเศรษฐกิจการค้าต่าง ๆ ก็เริ่มมีปฏิสัมพันธ์กับสังคม พืน้ ราบมากขึน้ จะเห็นได้วา่ ความเจริญและโครงการพัฒนาต่าง ๆ ก็เพิง่ จะเริม่ เข้าไปใน หมู่บ้านม้งได้เพียงไม่กี่ปีที่ผ่านมาแค่นั้นเอง ย้อนกลับไปยังกลุ่มม้งที่ได้อพยพเข้าสู่ประเทศลาว ก่อนจะอพยพเคลื่อนสู่ ประเทศไทยพอจะสรุปคร่าวได้ดังนี้ ส�ำหรับกลุ่มม้งที่อพยพเข้าสู่ประเทศลาว ส่วนมาก จะอยู่เย็นเป็นสุขถึงแม้ว่าจะได้มีการท�ำสงครามครั้งใหญ่ในช่วงประมาณ ๓,๕๐๐ ปี ที่ผ่านมาก็ตามคือประมาณปี พ.ศ.๒๑๘๐ แต่ก็เป็นสงครามใหญ่ครั้งเดียวเท่านั้น (นี้ไม่ได้รวมถึงการท�ำสงครามการปฏิวัติในประเทศลาวช่วงปี พ.ศ.๒๑๘๐ ในสมัยของ นายพลวัง่ เปา) ซึง่ ได้ทำ� สงครามกับลือ้ หรือไทลือ้ เป็นเวลานานเพราะลือ้ มีจำ� นวนทหาร มากกว่าชนชาติมง้ หลายสิบเท่า ทัง้ สองฝ่ายล้มตายเสียหายอย่างมาก ซึง่ ม้งก�ำลังตกอยู่ สภาวการณ์เสียเปรียบอย่างมาก ในขณะนัน้ ม้งกลุม่ หนึง่ ได้อพยพหนีภยั สงครามเข้าไปใน ถ�ำ้ ได้พบเห็นปืนใหญ่อยู่ ๓ กระบอก ๒ กระบอกใหญ่ไม่สามารถทีจ่ ะขยับเคลือ่ นไหวได้ มีเพียงกระบอกเล็กที่สามารถขยับได้ แต่ไม่สามารถดึงได้ จึงได้บนบานควายเผือกตัวผู้ ๑๓ ตัว จึงสามารถดึงปืนกระบอกเล็กออกมาได้ และอนุภาพของการยิงที่ร้ายแรงมาก เพราะถือเป็นปืนเทวดา จากนั้นจึงท�ำการสู้รบกับไทลื้อต่อ จากค�ำบอกเล่าของผู้เฒ่า ผูแ้ ก่ตา่ งๆ (เนือ่ งจากประวัตศิ าสตร์ไม่มตี วั หนังสือไว้บนั ทึกเป็นลายลักษณ์อกั ษรจึงอาศัย การเล่าปากต่อปากรุน่ ต่อรุน่ ๆ ไป) ได้กล่าวว่ามีการสูร้ บมาถึงเมืองเชียงแสน แต่หลักฐาน ไม่เด่นชัดว่าในปัจจุบันคืออ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายหรือไม่ ในที่สุดไทลื้อแพ้ สงครามสงบศึก ม้งถอยทัพกลับเข้าสูป่ ระเทศลาวแต่ระหว่างการถอยทัพกลับนีไ้ ทลือ้ หัก หลังรวบรวมพลครัง้ ใหญ่ทำ� สงครามกับม้งอีกครัง้ และการท�ำสงครามในครัง้ นัน้ เกิดการ ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยม้งท�ำการฆ่าไทลื้ออย่างเหี้ยมโหดในประวัติศาสตร์ม้งเท่าที่เคยมีมา ของการท�ำสงครามของม้ง เด็กเล็กเด็กแดงถ้าเป็นผู้ชายจะถูกฆ่าหมด แม้แต่สตรีที่ตั้ง ท้องก็ต้องฆ่าแม่ด้วยจนไทลื้อแพ้สงครามในที่สุดและถูกฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ส่วนหนึ่งได้ อพยพมาเข้าสู่ประเทศไทย และผู้น�ำม้งคนสุดท้ายเสียชีวิตในสนามรบครั้งนี้ก็คือ สาย ตระกูลแซ่หาง ซึ่งเป็นครั้งสุดท้ายของการท�ำสงครามของม้ง จากนัน้ ชนเผ่าม้งอพยพเข้าสูป่ ระเทศไทยโดยประมาณ ๒๐๐ กว่าปีทผี่ า่ นมา จาก หลักฐานทีน่ า่ เชือ่ ถือได้ชใี้ ห้เห็นว่าการท�ำสงครามระหว่างม้งกับไทลือ้ คือ เชือ้ สายตระกูล แซ่หาง ซึ่งปัจจุบันยังมีอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่และที่ส�ำคัญคือพิธีบวงสรวง เซ่นไหว้ ด้วย ควายเผือกในปัจจุบนั ถึงก็ยงั คงมีอยูแ่ ต่ดว้ ยระยะเวลาทีผ่ า่ นมาเนิน่ นานในปี พ.ศ.๒๕๓๘ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

185


ในจัดพิธบี ชู าเพือ่ ระลึกและขอบคุณปืนสามกระบอกดังกล่าวทีอ่ ำ� เภอเชียงดาว จังหวัด เชียงใหม่ปรากฏว่าคงเหลือแค่การเซ่นไหว้ทไี่ ม่มพี ธิ รี ตี องมากเหมือนเดิมอีก จากใช้ควาย เผือก ๑๓ ตัวก็เหลือแค่ ๑ ตัวพร้อมด้วยดอกไม้ กระดาษเงินกระดาษทอง และสถาน ที่ก็ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นผาและถ�้ำที่เคยพบปืนสามกระบอกนั้นอีก ขอเพียงเป็นแหล่งที่มี หน้าผาและถ�้ำก็สามารถใช้ประกอบพิธีกรรมได้ ประวัติศาสตร์ชนชาติม้งจากการศึกษาของนักวิชาการ ดร.ลิ ติ่ง กุย (Dr.Li Ting Gui) อ้างโดยเลอภพ (๒๕๓๖) ได้สรุปว่าการอพยพ ครั้งใหญ่ ๆ ในอดีตของชนชาติม้งตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีอยู่ทั้งสิ้น ๔ ครั้งด้วยกันคือ ครัง้ ที่ ๑ อพยพออกจากบริเวณทางใต้ของสองฝัง่ แม่นำ�้ เหลือหรือแม่นำ�้ ฮวงโห (Southern Poition of the Yellow River) ราว ๆ ๕,๐๐๐ ปีทผี่ า่ นมา ม้งได้อาศัยอยู่ ๒ ฝัง่ ทางตอนใต้ของแม่นำ�้ เหลือง ในขณะนัน้ ม้งมีชอื่ เรียกว่า จูล่ ี่ (Tyuj Liv) ชนกลุม่ จูล่ นี่ เี้ ป็น ชนกลุ่มแรกที่รู้จักใช้ทองสัมฤทธิ์ (Brouze) รู้จักปลูกข้าว และการเลี้ยงปลาในนาข้าว ประชากรทุกคนมีความผาสุขภายใต้การปกครองของกษัตริย์ “ชิยู” (Chi Yu) ในขณะ เดียวกันได้มีชนกลุ่มหนึ่งคือ “ชาวฮั่น” (Huaj) ได้อพยพมาจากทางทิศตะวันตกเข้ามา อยู่ในบริเวณของชนชาติจ่ลู ี่ ผู้น�ำของชนกลุ่มฮั่นคือ ฮั่นหย่า (HranYuan) ทั้งสองกลุ่มนี้ อยูด่ ว้ ยกันไม่นานเกิดความขัดแย้งกันจนถึงขัน้ สูร้ บกัน ผลสุดท้ายชนชาติจลู่ พี่ า่ ยแพ้แก่ ชนชาติฮนั่ ทัง้ นีเ้ พราะชนชาติฮนั่ มีประชากรเยอะกว่า ในขณะทีช่ นชาติจลู่ เี่ ป็นเกษตรกร ชาวไร่ ชาวนา จึงได้ถอยร่นลงมาทางใต้ใกล้กับแม่น�้ำแยงซี (Tangrse River) ครั้งที่ ๒ อพยพออกจากบริเวณปกครองม้ง (San Miao) หลังจากที่ชาวจู่ลี่ได้ อพยพลงมาทางตอนใต้ ได้มกี ารรวมกับชนพืน้ เมือง “ซานเมียว” (San Miao) ขึน้ ชาวม้ง และชนพื้นเมืองมีความรักใคร่อย่างแน่นแฟ้น ชาวม้งจึงเรียกกลุ่มนี้ว่า “จีน” (Suay) แต่กลุม่ ฮัน่ ยังคงติดตามมารุกรานคอยท�ำร้ายฆ่าฟันชาวม้งหรือจูล่ อี่ ยูเ่ รือ่ ยๆ ชาวม้งจึงได้ แตกออกเป็น ๓ กลุ่ม หนีลงทางใต้ ในปัจจุบันนี้คือ มณฑลกวางสี (Guang-ti) มรฑล กวางโจและมณฑลยูนาน (Yuu-nan) อีกส่วนหนึ่งหนีร่นลงมาทางตะวันตกมุ่งหน้าไป ยังซานเหวย (San Wei) ซึ่งกลับกับประเทศมองโกเลีย และตอนหลังก็ได้อพยพลงมา อยู่ในมณฑลยูนาน (Yuu-nan) ครั้งที่ ๓ อพยพออกจากการปกครองของกษัตริย์จู (Chou Kingdom/ Chou State)

186ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ประมาณ ๑,๐๐๐ ปีกอ่ นคริสตกาลประชาชนได้แก่กลุม่ ชน ๗ กลุม่ ซึง่ แยกตัว เองออกเป็นประเทศปกครองและในจ�ำนวน ๑ ใน ๗ ประเทศเหล่านัน้ มีมง้ เป็นประเทศ หนึ่ง มีกษัตริย์ชื่อว่า “จู” ซึ่งมีอยู่สองคนในตระกูลซังหรือแซ่โซ้ง คนที่หนึ่งชื่อ “ชงยี่” คนที่สองชื่อ “ซงจี” ปี ค.ศ.๒๒๑ ได้มีชนกลุ่มชิน (Chin) ได้เข้ามาต่อสู้แย่งชิงประเทศ ของกษัตริย์จูจนพ่ายแพ้ ชาวม้งได้แตกระส�่ำระสายไปตามที่ต่าง ๆ มีกลุ่มหนึ่งลุกขึ้น ต่อสู้ อีกกลุม่ หนึง่ ถอยร่นลงไปอยูก่ บั กลุม่ ม้งในมณฑลกวางโจ เสฉวน และมณฑลยูนาน ต่อมาในปี ค.ศ.๑๖๔๐-๑๙๑๙ ได้มีชาวม้งกลุ่มหนึ่งอพยพลงมาอยู่ในกลุ่มประเทศ อินโดจีน (Indochina) ทางตอนใต้ของจีนซึง่ ก็ได้แก่กลุม่ ประเทศเวียตนาม ลาว และไทย ครั้งที่ ๔ ค.ศ.๑๙๗๐-๑๙๗๕ การอพยพออกจากประเทศลาว ระบบการ ปกครองคอมมิวนิสต์ได้แผ่ขยายสู่กลุ่มประเทศอินโดจีน ท�ำให้กลุ่มม้งในลาวต้องแตก กระจายไปทัว่ โลก การอพยพของชนชาติมง้ ในครัง้ นีน้ บั ได้วา่ มากทีส่ ดุ และอพยพไปไกล ทีส่ ดุ เท่าทีเ่ คยมีมาในประวัตศิ าสตร์ของชนชาติมง้ ชาวม้งมากมายได้อพยพย้ายไปอาศัย อยูใ่ นประเทศสหรัฐอเมริกา ฝรัง่ เศส ออสเตรเลีย แคนาดา อาร์เจนตินา และอิตาลี (ขอ หลี้ภัยประเทศที่ ๓) การอพยพเข้าสู่ประเทศไทย ชนชาติม้งกลุ่มแรกที่อพยพเข้าสู่ประเทศไทยนั้นไม่มีหลักฐานใด ๆ บ่งชี้ได้ ชัดเจนแต่จากเอกสารของ สถาบันวิจยั ชาวเขาคาดว่าเริม่ ต้นอพยพเข้ามาทางตอนเหนือ ของประเทศไทย ในราวปี พ.ศ.๒๓๘๗-๒๔๑๗ จุดทีช่ นเผ่าม้งเข้ามามีอยูด่ ว้ ยกัน ๓ จุดคือ จุดที่ ๑ เข้ามาทางห้วยทราย-เชียงของ อ�ำเภอ เชียงของ จังหวัดเชียงราย ซึ่งอยู่ทางทิศเหนือสุด เป็นจุดที่เข้ามาก่อน และเข้ามามากที่สุด หลังจากนั้นแยกย้าย กระจัดกระจายไปตามแนวทองของเส้นเขามุ่งไปทางทิศตะวันตกสู่จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ตากและสุโขทัย จุดที่ ๒ เข้ามาทางไชยบุรี ปัว และทุ่งช้าง เขตอ�ำเภอทุ่งช้าง จังหวัดน่าน แล้วบางกลุม่ ได้อพยพลงสูท่ างใต้และทางตะวันตกเข้าสูจ่ งั หวัดแพร่ พิษณุโลก เพชรบูรณ์ ก�ำแพงเพชร และจังหวัดตาก จุดที่ ๓ เข้าทางภูคา-นาแห้ว และด่านซ้าย อ�ำเภอนาแห้ว และอ�ำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย แล้วบางกลุ่มได้เข้ามาสู่จังหวัดเพชรบูรณ์ในที่สุด (สุนทรี, ๒๕๒๔ : อ้างโดย ประสิทธิ์, ๒๕๓๑) ชาติพันธุ์น่านศึกษา

187


นอกจากทัง้ สามจุดนีแ้ ล้ว จุดหนึง่ ทีช่ าวม้งได้อพยพผ่านมาแต่ไม่มใี ครกล่าวถึง คือ เข้ามาทางอ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ โดยผ่านมาทางประเทศพม่า ช่องดอยอ่างขาง ซึ่งเป็นที่กล่าวขานกันว่า ม้งกลุ่มนี้คือกลุ่มที่หลงทางจากการอพยพจากจุดที่ ๑ ส่วน สาเหตุของการหลงทางครั้งนี้จากการบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ได้เล่ากล่าวไว้ว่ากลุ่มม้งที่ อพยพมาก่อนเกิดความไม่ซื่อเมื่อมาถึงทางแยก (สองแพร่ง) ได้น�ำกิ่งไม้ขวางทางเส้นที่ ตนเดินผ่าน กลุ่มหลังตามมาเข้าใจว่าทางที่น�ำกิ่งไม้มาขวางนั้นมิใช่เส้นทางที่กลุ่มก่อน อพยพผ่าน จึงอพยพผ่านอีกเส้นทางหนึง่ ซึง่ ขึน้ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ คือมุง่ เข้าสู่ ประเทศพม่าตอนใต้ กลุ่มนี้มีน้อยได้กระจายสู่จังหวัดแม่ฮ่องสอนและจังหวัดเชียงใหม่ ฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือ

ประเภทของม้งในประเทศไทย ม้งในประเทศไทย ประกอบด้วย ๓ กลุ่มใหญ่ๆด้วยกันคือ

www.flickr.com/photos/lindadevolder/๑๑๒๓๘๘๔๔๗๕/

http://www.openbase.in.th/node/๕๕๗๖

188ชาติพันธุ์น่านศึกษา


๑.ม้งจั้วะ (Blue Hmong) แปลได้ว่า “ม้งน�้ำเงิน” หรือม้งเขียว มักถูกเรียกในชื่อภาษาไทยว่า “แม้วด�ำ แม้วลาย แม้วน�้ำเงิน” เป็นต้น ลักษณะที่เด่นชัดทางเครื่องแต่งกายคือ ผู้ชายนุ่งกางเกง สีด�ำเป้ายาวมาก ส่วนผู้หญิงนุ่งกระโปรงลายดอกภาษาพูดบางค�ำจะแตกต่างไปจาก ม้งขาว ตลอดจนค�ำพูดของม้งน�้ำเงินยาวกว่าม้งขาว

http://www.globalwanderings.co.uk/ethnic_minorities/hmong.shtml

http://www.mobsiab.com/ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

189


๒.ม้งเด้อะ (White Hmong) แปลว่า ม้งขาว หรือแม้วขาว ลักษณะของเครือ่ งแต่งกายทีเ่ ด่นชัดคือ ผูช้ ายนุง่ กางเกงที่มีขนาดเป้าสั้น ขาเป็นรูปทรงกระบอกหรือกางเกงขาก๊วยของจีน ส่วนผู้หญิง นุ่งกางเกงเช่นเดียวกับผู้ชาย สมัยก่อนผู้หญิงนุ่งกระโปรงสีขาวล้วน ในสมัยปัจจุบันนุ่ง กระโปรงเฉพาะงานพิธีทางประเพณีที่ส�ำคัญๆเท่านั้น เช่นเทศกาลปีใหม่ พิธีแต่งงาน และส�ำหรับแต่งศพสตรีม้งเป็นต้นจากประวัติศาสตร์ของชนเผ่าม้งได้มีการสันนิษฐาน กันว่า “ม้งจั้วะ” และ “ม้งเด๊อะ” ก็คือม้งกลุ่มเดียวกัน หากแต่ภายหลัง เมื่อปรากฏ ว่าม้งแพ้สงครามให้กับชนชาติจีนและถูกชนชาติจีนตามล่าฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในดินแดน ของม้ง ที่ม้งเรียกว่า “นครป้าเตอหลาง” หรือที่ชาวจีนเรียกว่า “นครซือไคฟั่ว” หรือ “ม้งจซึไคฟั่ว”(จซึ ออกเสียงตัวจอควบกล�้ำกับซึ) หรือประเทศมองโกเลียในปัจจุบัน ม้งกลุ่มนี้ (ซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นครอบครัวของกลุ่มทหารม้ง) ได้ท�ำการเปลี่ยนเครื่อง แต่งกายให้แปลกไปจากเดิมเพื่อมิให้ถูกการไล่ล่าจากชนชาติจีน โดยเฉพาะผู้หญิง น�ำผ้าใยกัญชงที่ฟอกแล้วเป็นสีขาวแต่ยังไม่ได้ลงขี้ผึ้งย้อมลายให้เป็นสีด�ำมาตัดเป็น กระโปรงใส่ ซึ่งเป็นชุดสีขาวล้วนๆ

http://www.destinythai.com

190ชาติพันธุ์น่านศึกษา


๓.ม้งกั่วป๊า (White Hmong) แปลว่า ม้งแขนปล้อง หรือแขนลาย มีเครื่องแต่งกายที่เห็นเด่นชัดคือผู้ชาย แต่งกายเหมือนผู้ชายม้งเด๊อะ แต่ผู้หญิงจะแตกต่างจากสตรีม้งเด๊อะ คือที่แขนเสื้อจะมี ผ้าเย็บเป็นลายปล้องตัดขวางตัง้ แต่บา่ ลงไปถึงข้อมือของแขนทัง้ สองข้าง ม้งกัว่ ป๊า พบตาม ศูนย์อพยพของประเทศไทย ซึง่ ได้อพยพมาจากประเทศลาวหลังปี พ.ศ.๒๕๑๙ ใช้ภาษา พูดเหมือนม้งเด๊อะ (๒๕๓๑ : อ้างโดยเลอภพ , ๒๕๓๖) จริง ๆ แล้วม้งกลุ่มนี้ก็เป็นม้ง ประเภททั่วไปเหมือนม้งสองกลุ่มแรก เพียงแต่แต่งตัวแปลกไปกว่า สันนิษฐานว่าอาจ เพื่อป้องกันตัวเองจากการถูกไล่ล่าของชาวจีนเช่นกัน ส�ำหรับม้งในประเทศไทยจากการส�ำรวจ คาดว่าน่าจะมีประมาณ ๑๔ แซ่ด้วย กันคือ แซ่ว่าง แซ่ย่าง แซ่ลี แซ่เฒ่า แซ่โซ้ง แซ่เฮ้อ แซ่วื้อ แซ่จาง แซ่คาง แซ่เล้า แซ่กง แซ่หาง และ แซ่เส สาเหตุของการมีแซ่ในม้งและจีนคือ แซ่จะสือ่ ถึงต้นตระกูลทีส่ บื ทอด กันมาของแต่ละสายจากนิยายปรัมปราที่พอจะจ�ำได้อย่างเลือนลางได้ว่าหลังจากโลก โลกาวินาศถูกน�ำ้ ท่วม (เป็นทีน่ า่ สังเกตว่าไปตรงกับเหตุการณ์นำ�้ ท่วมในสมัยของโนอาห์ ทีม่ บี นั ทึกไว้ในคัมภีรไ์ บเบิล้ ) จนผูค้ นล้มตายหมดเหลือเพียงสองพีน่ อ้ ง คือชายหนึง่ และ หญิงหนึ่ง ครั้นจะมีการแต่งงานกันก็เป็นพี่น้อง จึงได้ปรึกษากันว่าจะท�ำเช่นไรจึงจะมี ตระกูลมนุษย์สบื เชือ้ สายต่อไปในโลกใบนี้ จึงเห็นดีวา่ ควรน�ำแผ่นหินทรงกลมคนละแผ่น มาแล้วโยนให้กลิ้งบนพื้นเข้ามาหากัน หากปรากฎว่าของน้องสาวกลิ้งหงายและของพี่ ชายกลิง้ มาคว�ำ่ ทับของน้องสาวก็สามารถแต่งงานกันได้ เมือ่ น�ำมากลิง้ ปฏิบตั จิ ริงปรากฏ ว่าของน้องสาวหงายและของพีช่ ายก็กลิง้ มาทับหินของน้องสาวพอดี ทัง้ สองจึงได้ทำ� การ แต่งงานกัน ต่อมาน้องสาวก็ตั้งครรภ์และคลอดออกมาเป็นก้อนเนื้อทรงกลมที่ไม่มี อวัยวะใด ๆ ติดมาด้วยเลย ไม่วา่ จะเป็นแขน ขา หรือส่วนใด ๆ ของร่างกายก็ตาม จึงได้ ปรึกษกับพระอินทร์ พระอินทร์ทรงตรัสว่าให้ท�ำการสับก้อนเนื้อที่คลอดออกมานั้น เป็นชิ้น ๆ แล้วน�ำไปแขวนบนยอดต้นย่าง เป็นตระกูลแซ่ย่าง แขวนบนยอดต้นพร้าเป็น ตระกูลแซ่โซ้ง แขวนบนต้นม้า เป็นตระกูลแซ่มัว แขวนบนยอดว่าง เป็นตระกูลแซ่ว่าง ยอดเล่อเป็นตระกูลแซ่กอื เป็นต้น หลังจากนัน้ รุง่ อรุณของวันใหม่ทลี่ านทุง่ ก็มคี วันไฟเต็ม ไปหมดอันเกิดจากก้อนเนือ้ เล็ก ๆ ทีถ่ กู สับและน�ำไปแขวนนัน้ มีชวี ติ ขึน้ มาและกลายเป็น ครอบครัวใหม่ขนึ้ มา นีเ่ ป็นนิยายปรัมปราทีเ่ ล่ากันฟังในกลุม่ ม้ง อย่างไรก็ดผี บู้ ริหารเวป ไซด์นี้ (Webmaster) ได้เคยได้ยนิ พีช่ ายเล่าให้ฟงั ว่าม้งคนหนึง่ ทีเ่ ดินทางมาจากอเมริกา เมื่อปี พศ.๒๕๔๒ ได้เล่าให้ฟังว่าโดยแท้จริงแล้วม้งมีชื่อนามสกุลเฉพาะของตนเอง ชาติพันธุ์น่านศึกษา

191


แต่เมื่อม้งพ่ายสงครามให้แก่จีน (ไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นช่วงเวลาใด) เพื่อเป็นการ ป้องกันชนชาติม้งลุกฮือต่อสู้กับจีนอีก ชนชาติจีนจึงได้แบ่งม้งออกเป็นกลุ่ม ๆ แล้วให้ นายพลตามกองพลต่าง ๆ เป็นผู้ดูแล ดังนั้นเมื่อม้งมาเจอกันก็จะถามกันว่ามาจากไหน อีกฝ่ายก็จะตอบว่ามาจากกองพลของนายพลว่าง หรือนายพลย่าง จนกลายเป็นแซ่ของ ตนเองในที่สุด จึงไม่ทราบว่ากรณีไหนน่าเชื่อถือกว่ากัน อย่างไรก็ดีทั้งสองกรณีนี้ต่างก็ เป็นการเล่าสู่กันฟังเท่านั้น แต่กรณีแรกอาจน่าเชื่อถือกว่าเนื่องจากเป็นนิทานปรัมปรา ที่ผู้เฒ่าผู้แก่ม้งมักจะเล่าให้ลูกหลานฟัง ข้อสันนิษฐานบางประการเกี่ยวกับเครื่องแต่งกายม้ง ๑. เครื่องแต่งกายชุดประจ�ำเผ่าม้ง มีเครื่องแต่งกายที่แตกต่างระหว่างม้งจั๊วะและม้งเด๊อะส�ำหรับผู้ชายจะเห็นได้ ชัดในชุดของผู้ชายม้ง โดยที่กางเกงของผู้ชายม้งจั๊วะจะมีลักษณะเป็นกางเกงหย่อนลง มามาก ขากางเกงบริเวณส่วนบนกว้างมากและมีขอบปลายแคบผิดกับกางเกงของชาย ม้งเด๊อะซึง่ เหมือนกางเกงขาก๊วยจีนหรือทีท่ างภาคเหนือเรียกว่า กางเกงสามดูก ส่วนเสือ้ ม้งเด๊อะชายจะสัน้ กว่าม้งจัว๊ ะ การสวมเสือ้ จะป้ายจากด้านขวาไปด้านซ้าย ส�ำหรับเครือ่ ง แต่งกายหญิงม้งจัว๊ ะกระโปรงอัดพลีทจีบตลอดตัว มีลวดลายขีผ้ งึ้ ฉาบติดไว้ เทคนิคแบบ บาเต๊ะต่อชายกระโปรงด้วยลวดลายปิดรอบตัวแต่กระโปรงม้งเด๊อะจะเป็นสีขาวทั้งผืน จีบรอบตัว แต่ปัจจุบันนี้การแต่งเต็มชุดจะกระท�ำกันเฉพาะในงานที่ส�ำคัญ ๆ เท่านั้น ส่วนผู้หญิงม้งเด๊อะนุ่งกางเกงจีนเหมือนชายขณะที่เสื้อเป็นแขนยาวมีคอปกกะลาสี ชายเสือ้ ยาว มีขอ้ แตกต่างในรายละเอียดปลีกย่อยและวดลายต่างๆระหว่างม้งเด๊อะและ ม้งจั๊วะ (ศูนย์วิจัยชาวเขา , ๒๕๒๖ : ๑๓๕ – ๑๓๖) ๒. เครื่องประดับ ม้งนิยมประดับเครือ่ งเงินต่าง ๆ เช่นก�ำไลคอ ก�ำไลมือ สร้อยประกอบก�ำไลคอ และแหวน เครื่องประดับเช่นเดียวกับเครื่องแต่งกายที่ได้กล่าวมาข้างต้นหลังจากม้ง แพ้สงครามในครัง้ นัน้ (ณ นครป้างเต่อหล่าง) ชนชาติมง้ ก็ถกู ทหารจีนตรวนโซ่ทคี่ อ แขน และขา เพือ่ เป็นสัญลักษณ์แห่งความพ่ายแพ้และแสดงถึงความเป็นทาสรับใช้ของชาวจีน เมื่อกาลเวลาล่วงเลยผ่านไปเด็กม้งรุ่นใหม่ ๆ ก็มักจะเกิดความสงสัยจึงถามพ่อแม่ถึงโซ่

192ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ตรวนที่สวมใส่อยู่บ่อย ๆ และด้วยความรักในความเป็นชนชาติม้งไม่อยากให้ลูกหลาน ทราบถึงความพ่ายแพ้ทมี่ ตี อ่ จีนจึงตอบว่าเป็นเครือ่ งประดับมีไว้สวมใส่เพือ่ ความสวยงาม ของร่างกาย ม้งรุ่นต่อมาที่ไม่ทราบความเป็นจริงจึงได้น�ำเงินมาตีเป็นก�ำไลคอ ก�ำไลมือ และก�ำไลแขนแทนเหล็กให้ลกู หลานใส่ และตัง้ แต่นนั้ มาก�ำไลเงินต่าง ๆ เหล่านัน้ ก็กลาย เป็นเครื่องประดับ

ที่มา : http://www.บ้านร่องกล้า.com

การแต่งกายของชาวเขาในประเทศไทย

เผ่าม้ง ผูห้ ญิง ใส่กระโปรง ทอด้วยป่านใยกัญชง (ต้นคล้ายกัญชา แต่ดอกและใบใช้สบู ไม่ได้) การท�ำกระโปรงของหญิงม้ง โดยการใช้เล็บสะกิดใยกัญชงออกเป็นเส้น แล้วฝั่น ต่อกันเป็นม้วนใหญ่ น�ำไปฟอกด้วยน�ำ้ ด่างขีเ้ ถ้า จะได้ดา้ ยสีขาวอมเหลือง น�ำไปทอเป็น ผ้ามีผวิ สัมผัสหยาบหนา แต่นมุ่ เป็นมัน มีความกว้างประมาณ ๔๐ เซนติเมตร น�ำไปเขียน ด้วยขี้ผึ้ง เป็นลวดลายเรขาคณิต น�ำไปย้อมสีน�้ำเงินอมด�ำ แล้วน�ำไปต้มให้ขี้ผึ้งละลาย เป็นการท�ำบาติกแบบโบราณน�ำผ้าทีย่ อ้ ม แล้วมาพับเป็นพลีทเล็ก ๆ แล้วใช้ไม้กดทับไว้ ให้จบี อยูต่ วั แล้วใช้ดา้ ยร้อยระหว่างจีบจากด้านหนึง่ ไปยังด้านหนึง่ เป็นเอวของกระโปรง ใช้ผ้าขาวต่อเป็นเอว ใช้ผ้าสีต่าง ๆ กุ๊นตกแต่งกระโปรง และ ปักด้วยด้ายสีต่าง ๆ เสื้อเอวเกือบจะลอยแขนยาว มีปกเสื้อด้านหลัง ผ่าหน้า หรือทับไปทางซ้าย ท�ำด้วยผ้าสีด�ำ มีตกแต่งลวดลาย ผ้าคาดเอวสีด�ำมีพู่แดงเป็นชายครุย มีสนับแข็งสีด�ำ ผมขมวดเป็นมวย ใส่หมวดผ้าหรือโพกผ้าสีด�ำ ใส่ต่างหูเงิน ห่วงคอท�ำด้วยเงิน ๓ - ๔ วงซ้อนกันด้านหลังเสื้อตกแต่ง ด้วยเหรียญเงินเก่า ผูช้ ายนุง่ กางเกงด�ำเป้าต�ำ่ เสือ้ ด�ำแขนยาวเอวลอย (มีเสือ้ ข้างในสีขาว) ผ้าคาด เอวสีแดง คาดทับด้วยเข็มขัดเงิน ห่วงเงินคล้องคอ ๑ ห่วง หมวกผ้าด�ำมีจกุ แดงตรงกลาง แม้ว เป็นชาวเขาเผ่าหนึ่งที่อยู่ในประเทศจีนซึ่งชอบอพยพโยกย้ายที่อยู่ไป เรือ่ ย ๆ แม้วเป็นค�ำทีใ่ ช้เรียกกันทัว่ ไป ซึง่ เพีย้ นมาจากค�ำว่า “เมีย้ ว” ชาวเขาเผ่าแม้วจะ เรียกตัวเองในหมู่พวกเดียวกันว่า “ม้ง” ม้งแบ่งเป็น ๓ กลุ่มย่อย คือ ๑. ม้งขาว ๒. ม้งเขียว ๓. ม้งด�ำ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

193


ม้งขาว หญิง สวมกระโปรงผ้าป่านดิบยาวลงมาถึงหัวเข่า มีผ้าพันหน้าแข้งตั้งแต่ ข้อเท้าถึงหัวเข่า แต่ปจั จุบนั นีห้ นั มาใส่กางเกงสีดำ� กว้าง ๆ แบบจีน คาดเอวด้วยผ้าสีแดง ปล่อยชายผ้าสีเ่ หลีย่ มทิง้ ยาวลงมาด้านหน้าและด้านหลัง คอปกเสือ้ กว้างแบบทหารเรือ โพกหัวด้วยผ้าสีคราม หรือสีด�ำ ชาย นุง่ กางเกงด�ำกว้าง ๆ เป้าหย่อนลงมาไม่มากนัก สวมเสือ้ ป้ายอกมีผา้ คาดเอว ผ้ากันเปื้อนม้งขาว

เสื้อผู้หญิงม้งขาว

เสื้อผู้ชายม้งขาว

194ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ม้งเขียว หญิง ยังสวมกระโปรงสีฟา้ เข้ม ประดับลายภาพวาดด้วยขีผ้ งึ้ และมีปกั ลวดลาย ในส่วนล่างของกระโปรง มีผ้าคาดเอวสีแดง ผ้าห้อยลงมาสีด�ำ เสื้อเป็นสีต่าง ๆ คอปก เสือ้ เล็ก กว่าม้งขาว ๔ นิว้ ขอบปกเป็นรูปโค้ง ไม่มผี า้ โพกหัว แต่มผี า้ ถักบาง ๆ แถบเป็น ลายดอกไม้สีแดง พันรอบมวยผม ชาย ใส่กางเกงด�ำเหมือนม้งขาว แต่เป้ากางเกงหย่อนลงมาจนเกือบถึงพื้นดิน แบบอาหรับ ปลายขารัดที่ข้อเท้า สวมหมวกท�ำด้วยผ้าแพรต่วนไม่มีขอบ

ผ้ากันเปื้อนม้งเขียว

ผ้าคาดเอวผู้ชายม้งเขียว

เสื้อผู้ชายม้งเขียว

หมวกผู้ชายม้งเขียว

กางเกงผู้ชายม้งเขียว

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

195


กระโปรงม้งเขียว

ลาวม้งเขียวในชุดปีใหม่

สามีภรรยาม้งเขียว

ส่วนม้งด�ำนั้น ยังไม่ปรากฏว่ามีในประเทศไทย ในลาวจะมีน้อยมากเพราะ เป็นการยากที่จะแยกว่าเป็นม้งด�ำ เพราะจะรับทั้งแบบการแต่งกายและภาษาจาก ม้งขาวและเขียวไว้ ส่วนมาก จะเรียกตามสีของเสื้อผ้าที่สวมใส่

196ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ส่ ว นม้ ง ด� ำ นั้ น ยั ง ไม่ ป รากฏว่ า มี ใ น ประเทศไทย ในลาวจะมี น ้ อ ยมาก เพราะ เป็นการยากที่จะแยกว่าเป็นม้งด�ำ เพราะจะ รับทั้งแบบการแต่งกายและภาษาจากม้งขาว และเขียวไว้ ส่วนมากจะเรียกตามสีของเสื้อผ้า ที่สวมใส่ เป่าแคนม้งส่งดวงวิญญาณสู่บรรพชน เมื่อเอ่ยถึงเครื่องดนตรีของชาวม้ง ชื่อของ “เฆ่ง” ในภาษาม้ง หรือ “แคน” ในภาษาไทยจะต้องมาเป็นอันดับแรกอย่างแน่นอน เพราะเครื่องดนตรีชิ้นนี้ด�ำรงอยู่ คู่กับชนเผ่าม้งมานานหลายชั่วอายุคน และท�ำหน้าที่ส�ำคัญในการน�ำทางดวงวิญญาณ ผู้ล่วงลับให้เดินทางกลับไปหาบรรพชน ชาวม้งที่อยู่อีกภพหนึ่ง เสียงแคนที่ถูกบรรเลง ทุกบทเพลงล้วนมีความหมายสอดแทรกบอกเล่าเรื่องราวต่าง ๆ ให้กับดวงวิญญาณ ได้รบั รู้ เป็นเสมือนเครือ่ งดนตรีทสี่ อื่ ระหว่างโลกมนุษย์และโลกวิญญาณ ดังนัน้ หากงาน ศพใดไม่มเี สียงแคนงานศพนัน้ ก็จะไม่สมบูรณ์เพราะดวงวิญญาณไม่สามารถไปสูส่ คุ ติได้ แคนม้งแบบดัง้ เดิมจะท�ำด้วยไม้ไผ่ ๖ ล�ำ ขนาดไม่เท่ากัน ประกอบด้วย เสียงตัว โน้ต ๖ เสียง คือ โด เร มี ฟา ซอล และลา เสียงโดจะเกิดจากไม้ไผ่ทมี่ ขี นาดสัน้ และล�ำปล้อง หนาที่สุดในบรรดาไม้ไผ่ทั้ง หก หลังจากนั้น ขนาดของไม้ไผ่จะบางลงและยาวมากขึ้น เรื่อย ๆ โดยไม้ไผ่ที่ยาวที่สุดจะมีขนาดบางที่สุดเป็นแหล่งก�ำเนิดเสียงโน้ตลา ซึ่งเป็น โน้ตเสียงสูงที่สุดในบรรดาหกเสียง แต่ละปล้องไม้ไผ่จะเจาะรูหนึ่งรู ด้านในมีลิ้นโลหะ เพื่อให้เกิดเสียงต่าง ๆ ไม้ไผ่ทั้งหกจะถูกยึดรวมกันไว้ด้วย “เต้า” ซึ่งท�ำจากไม้เนื้อแข็ง (ดูภาพประกอบ) เวลาเล่นจะใช้ปากเป่าที่ปลายเต้าแล้วใช้นิ้วมือเปิดปิดรูบนล�ำปล้อง ไม้ไผ่แต่ละล�ำสลับกันไปมาท�ำให้เกิดเป็นเสียงเพลง ส่วนแคนสมัยใหม่จะท�ำจากท่อ พีวีซีซึ่งเพิ่มความดังของเสียงได้มากกว่าและมี เสียงเบส (เสียงทุ้ม) เยอะกว่าแคนไม้ไผ่ แต่ความไพเราะและความนิยมจะสูแ้ บบไม้ไผ่ไม่ได้ ราคาของแคนทัง้ สองแบบพอ ๆ กัน ประมาณ ๓,๕๐๐ บาทในปัจจุบัน คนม้งเล่าถึงต�ำนานเครือ่ งดนตรีสบื ต่อกันมาว่า ในอดีตกาลมีคนม้งอยูค่ รอบครัวหนึง่ มีพนี่ อ้ ง ๗ คน วันหนึง่ ผูเ้ ป็นบิดาสิน้ ชีวติ ลง และบรรดาพีน่ อ้ งทัง้ ๗ คนต้องการจัดงานศพ เพือ่ เป็นเกียรติให้กบั ผูเ้ ป็นบิดา แต่ไม่รวู้ า่ จะท�ำอย่างไรดี จึงได้ขอค�ำปรึกษาจากเทพเจ้า ชาติพันธุ์น่านศึกษา

197


“ซียี” ซึ่งคนม้งมีความเชื่อว่าเป็นเทพเจ้าที่พระเจ้าส่งมาเพื่อช่วยเหลือมวลมนุษย์ ในโลกและเป็นผู้มีบทบาทส�ำคัญในการก�ำหนดพิธีกรรมที่ส�ำคัญของคนม้ง เทพเจ้าซียี ได้แนะน�ำให้คนหนึง่ ไปหาหนังสัตว์มาท�ำกลองไว้ตแี ละอีกหกคนไปหาล�ำ ไม้ไผ่ทมี่ ขี นาด และความยาวไม่เท่ากันมาคนละอัน เรียงล�ำดับตามขนาด และอายุของแต่ละคน เมื่อ เตรียมพร้อมแล้วให้คนหนึ่งตีกลอง และอีก ๖ คน ที่เหลือเป่าล�ำไม้ไผ่ของตนบรรเลง เป็นเพลงเดียวกัน และเดินวนไปรอบ ๆ คนที่ตีกลองพร้อมกับมอบบทเพลงต่าง ๆ ให้ เมื่อเทพเจ้าซียีกล่าวเสร็จ พี่น้องทั้งเจ็ดจึงได้กลับไปจัดงานศพให้บิดาตามที่เทพเจ้าซียี แนะน�ำ ต่อมามีพนี่ อ้ งคนหนึง่ ได้ตายจากไป เหลือคนไม่พอทีจ่ ะเป่าล�ำไม้ไผ่ทงั้ หก พีน่ อ้ ง ที่เหลือ ๖ คน จึงได้ขอค�ำปรึกษาจากเทพเจ้าซียีอีกครั้ง เทพเจ้าซียีจึงแนะน�ำให้รวม ล�ำไม้ไผ่ทั้งหกมาเป็นชุดเดียวกัน แล้วให้คนเดียวเป่าเท่านั้น ส่วนคนอื่นให้ท�ำหน้าที่ ถวายเครื่องบูชา ตระเตรียมอาหาร และท�ำหน้าที่อื่นไป ต่อมารูปแบบพิธงี านศพดัง กล่าวก็ได้รบั การถือปฏิบตั มิ าเรือ่ ย ๆ จนกลายเป็น ประเพณีในการจัดงานศพของคนม้งมาจนกระทัง่ ทุกวันนี้ ฉะนัน้ ในธรรมเนียมม้งจึงห้าม มิให้ฝกึ เป่าแคนภายในบ้าน ส่วนใหญ่จะฝึกในทีห่ า่ งไกลจากหมูบ่ า้ นซึง่ มักจะเป็นทีพ่ กั พิง ตามไร่สวน นอกจากงานศพแล้ว ชาวม้งยังนิยมเป่าแคนในงานรื่นเริง เช่น งานปีใหม่ โดยเนือ้ หาของบทเพลงทีเ่ ป่าจะมีความหมายแตกต่างออกไป รวมทัง้ มีทา่ เต้นประกอบ การเป่าเพื่อดึงดูดความสนใจของคนดู แตกต่างจากการเป่าในงานศพซึ่งจะย่อตัวและ เป่าวนรอบศพเท่านั้น ชาย เด็กหนุ่มชาวม้งวัย ๒๑ ปีจากบ้านขุนแม่ว้า อ�ำเภอแม่แจ่ม จังหวัด เชียงใหม่ เป็นหนึ่งในเด็กรุ่นใหม่ที่สนใจการเป่าแคนม้งมาตั้งแต่อายุ ๑๔ ปี เล่าถึงจุด เริ่มต้นของความสนใจในเครื่องดนตรีชนิดนี้ให้ฟังว่า... “ผมเห็นคนในหมู่บ้านเขาเล่นกันก็เลยอยากลองบ้าง พ่อไปซื้อแคนมาจาก จังหวัดตาก จริง ๆ ทีห่ มูบ่ า้ นของผมก็มขี าย แต่เป็นแบบดัง้ เดิมท�ำจากไม้ไผ่ ผมอยากได้ แบบใหม่ที่ท�ำจากท่อพีวีซี เพราะเสียงของพีวีซี จะดังกว่าและเสียงเบสจะเยอะกว่า ผมเคยเห็นเขามาเล่นโชว์แล้วเสียงดังสนุกดี เลยอยากเล่นบ้าง” สิ่งแรกที่ต้องเริ่มฝึก คือ รู้จักชื่อเรียกของรูทั้งหกซึ่งให้เสียงแตกต่างกัน หลัง จากนั้นต้องฝึกเป่าลม ตามด้วยฝึกโน้ต ซึ่งแต่ละขั้นต้องใช้เวลาฝึกฝนนานหลายเดือน หรืออาจนานนับปี หากผูฝ้ กึ ฝนมีเวลาฝึกน้อย ชายเล่าถึงขัน้ ตอนยากทีส่ ดุ ของการเรียน เป่าแคนม้งให้ฟังว่า...

198ชาติพันธุ์น่านศึกษา


“สิง่ ทีย่ ากทีส่ ดุ คือ การเรียนภาษาพูดของแคนผ่านการจ�ำ เพราะบทเพลงทีเ่ ป่า ออกมามีความหมายทุกค�ำ แต่ประโยคที่ใช้ในเพลงจะแตกต่างจากภาษาพูดของคนม้ง ในชีวติ ประจ�ำวัน คล้าย ๆ กับเป็นบทกวีหรือค�ำสอนซึง่ ผูเ้ รียนต้องจดจ�ำประโยคเหล่านี้ ให้ได้ หลังจากนั้นจึงมาเป่าเป็นโน้ตเพลงให้ออกเสียงตรงกับประโยคเหล่านั้นซึ่งเป็น สิ่งที่ยากมากเพราะไม่มีการเขียนบันทึกโน้ตเพลงเหล่านี้ออกเป็นตัวอักษร ต้องใช้การ ท่องจ�ำ และจดจ�ำเสียงที่ถูกต้องจากครูเพียงอย่างเดียว ผมฝึกอยู่ปีกว่า กว่าจะเล่นได้ เป็นเพลง แต่กย็ งั ไม่ถกู ต้องทัง้ หมด นอกจากนีย้ งั ต้องฝึกเต้นไปด้วย ผมไปเรียนมา ๗ ท่า ต้องควบคุมจังหวะลมให้ดีและท่าเต้นต้องได้ด้วย เวลาซ้อมต้องซ้อมกระโดดด้วยเพื่อ ให้ลมหายใจคงที่” ความยากของการฝึกฝนท�ำให้ผู้เรียนจ�ำนวนมากเกิดความท้อและ ล้มเลิกไปในที่สุด ชายก็เคยเป็นหนึ่งในนั้นเช่นกัน “ตอนแรกท้อจะไม่เล่นแล้ว เพราะต้องเรียนทุกวันตอนกลางคืน หลังจากเสร็จ งานในไร่นาหรือกลับจากโรงเรียนไม่งั้นก็จะลืมได้ง่าย ๆ เพราะเป็นเสียงที่เราไม่คุ้นเคย เราไม่ได้ใช้ทุกวันไม่มีกระดาษเขียนต้องจ�ำเสียงเอา ถ้าวันรุ่งขึ้นไปโรงเรียนก็ลืมแล้ว ถ้าไม่ได้เรียนต่อเนื่องก็ยาก ผมต้องเข้าไปเรียนในเมือง ช่วงปิดเทอมถึงจะได้กลับบ้าน ไปเรียนเป่าแคนท�ำให้ไม่ต่อเนื่อง และคิดอยากเลิกอยู่หลายครั้ง แต่พ่อไม่ให้เลิกเพราะ อุตส่าห์ซื้อแคนให้แล้ว” ผลจากยุคสมัยที่เปลี่ยนไปและสภาพเศรษฐกิจบีบรัดท�ำให้คนม้งรุ่นใหม่ โดยเฉพาะใน จังหวัดเชียงใหม่ไม่ค่อยนิยมเป่าแคนเหมือนในอดีต ต่างจากชาวม้งใน จังหวัดเชียงรายและน่านซึ่งปัจจุบันยังมีคนนิยมเล่นเยอะ เพราะท�ำไร่นาฤดูเดียว หรือ มีช่วงเวลาว่างจากไร่นาให้ศึกษาดนตรีมากกว่า ปัจจุบันในจังหวัดเชียงรายและน่านมี โรงเรียนเปิดสอนการเป่าแคนม้งโดยเฉพาะ ท�ำให้เด็กรุ่นใหม่มีโอกาสเล่นเครื่องดนตรี ชนิดนี้กันมากขึ้น โดยส่วนใหญ่ผู้ชายจะนิยมเป่าแคนม้งมากกว่าผู้หญิงซึ่งมีภารกิจงาน บ้านรัดตัว ปัจจุบนั การเป่าแคนยังคงมีความส�ำคัญมากในงานศพของชาวม้ง โดยแต่ละงาน ต้องมีคนเป่าแคนเก่งระดับชัน้ ครูมาช่วยกันเป่าอย่างน้อยสามถึงสีค่ นสลับกัน เพราะต้อง มีเสียงแคนบรรเลงตลอดเช้ากลางวัน และเย็นตลอดระยะเวลางานสามถึงสี่วัน ดังนั้น คนเป่าแคนเก่ง ๆ จะได้รบั เชิญให้เดินทางไปร่วมงานศพตามหมูบ่ า้ นชาวม้งเสมอ เพราะ หากไม่มีแคนบรรเลง ดวงวิญญาณที่ล่วงลับของชาวม้งก็ไม่อาจจะเดินทางกลับไป หาบรรพบุรษุ ทีร่ ออยู่ ในอีกภพหนึง่ ได้ แคนหรือเฆ่งของชาวม้งจึงเป็นเครือ่ งดนตรีสำ� คัญ ที่ลูกหลานชาวม้งจะต้องร่วม กันสืบทอดต่อไป ชาติพันธุ์น่านศึกษา

199


เนื้อเพลงเฆ่งในพิธีงานศพโดยทั่วไปจะมีล�ำดับการเป่าดังนี้ ดี๋ (ntiv) ซึ่งเป็นการโหมโรง ปลั่วจี๋เฆ่งจี๋ จรั่ว (pluas cim qeej cim nruag) รัวกลองพร้อมกันไปกับเพลงเฆ่ง ลื๋อฆะจรั่ว (lwm qab nruag) การลอดใต้คานที่แขวนกลองของผู้เป่าเฆ่ง ซุตัว (xub tuag) เป็นการแนะน�ำเพลงเฆ่ง ฆัวซุตัว (quas xub tuag) เป็นการลงท้ายบทแนะน�ำเพลง ยซ่าเฆ่งตัว (zaj qeej tuag) เริ่มต้นเนื้อเพลง ฆัวยซ่าเฆ่งตัว (quas zaj qeej tuag) เป็นการร่ายเนื้อเพลงเพื่อเข้าสู่ปรโลก เฆ่งตร๋อฆ้าง (qeej rov qaab หรือ raib leev) เป็นขั้นตอนการกลับจากปรโลก ยซายตร้อยซายเหนง (zais roj zais neev) เป็นขัน้ ตอนการกลบเกลือ่ นเส้นทางกลับ จากปรโลก เพื่อมิให้มีวิญญาณติดตามมาได้ เส่าเฆ่ง (xaus qeej) ลงท้ายบทเพลง ประเภทของบทเพลงที่ใช้ในพิธีงานศพมีดังนี้ เฆ่งตูสา (qeej tu sav) เพลงแรกหลังจากผู้ตายได้สิ้นลมหายใจแล้ว เฆ่งฆฮัวะเก (qeej qhuab ke) เพลงน�ำทางดวงวิญญาณไปสู่ปรโลก เฆ่ง นเจเหน่ง (qeej nce neeg) เพลงเคลื่อนย้ายศพขึ้นหิ้ง (แคร่ลอย) เฆ่ง เฮลอเด๋อ (qeej hlawv ntawv) เพลงเผากระดาษเงินกระดาษทองให้ผู้ตาย เฆ่ง เสอเก๋ (qeej sawv kev) เพลงเคลื่อนย้ายศพออกจากบ้าน นอกจากจะใช้ในพิธี งานศพแล้ว ยังมีการใช้เฆ่ง เพื่อความบันเทิงในงานรื่นเริงต่าง ๆ ด้วย โดยเฉพาะการ เต้นร�ำเฆ่งในงานฉลองเทศกาลปีใหม่ม้ง ซึ่งบทเพลงเฆ่ง เพื่อความบรรเทิงจะมีล�ำดับ การเป่าดังนี้ ดี๋ (ntiv) โหมโรง ซุ (xub) แนะน�ำ นู่ นตรื่อ (nuj nrws) เนื้อเรื่อง ฆัวนู่ นตรื่อ (quas nuj nrws) ทวนเนื้อเรื่อง ปลั่ว (pluas) สรุป เส่า (xaus) ลงท้าย

ที่มา :: http://www.hilltribe.org/autopage/show_page.php?h=๓๙&s_id=๕๖&d_id=๕๓

200ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ลักษณะและการท�ำแคนม้ง แคนม้ง เป็นเครื่องดนตรีชาวเขาเผ่าม้ง ซึ่งปัจจุบันได้อพยพเข้ามาอยู่อาศัย ทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ซึ่งชาวไทยทั่วไปเรียกพวกเขาว่า แม้ว ส�ำหรับ ค�ำว่า แคน เรียกเป็นภาษาม้งว่า เก้ง มี ๒ ขนาด เรียกว่า แคนเล็ก กับ แคนใหญ่ ใช้เป่า พร้อม ๆ กันในพิธีกรรม โดยเฉพาะงานศพ มีข้อบังคับว่าต้องเป่าส่งวิญญาณผู้ตาย ติดต่อกันถึง ๗ วัน เพราะเชื่อกันมาแต่เดิมว่าวิญญาณของบรรพชน จะเดินทาง มารับวิญญาณของผู้ตายไปอยู่ด้วย ณ สถานที่แห่งหนึ่ง ซึ่งต้องใช้เวลาเดินทางถึง ๗ วัน ถ้าเป็นเวลาปกติตอ้ งการคลายเครียด ประเทืองอารมณ์ หรือเกีย้ วสาว ก็สามารถน�ำมาใช้ เป่าได้เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับความถนัดของผู้เป่าว่าจะใช้แคนเล็กหรือแคนใหญ่ ที่มา:: http://tkapp.tkpark.or.th/stocks/content/developer๑/thaimusic/๕๗_canmong/web/index.html

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

201


การท�ำแคนม้ง วิธีการท�ำแคนม้ง วัสดุอุปกรณ์ ๑. ไม้เนื้อแข็งส�ำหรับท�ำเต้าแคน ๒. ไม้ไผ่ส�ำหรับท�ำลูกแคน ๖ ล�ำ ๓. แผ่นทองเหลืองส�ำหรับท�ำลิ้นแคน ๔. เปลือกไม้ส�ำหรับท�ำแหวนรัดแคน ๕. อุปกรณ์ชุดท�ำแคน ขั้นตอนการท�ำแคน ๑. ไม้ไผ่สำ� หรับท�ำลูกแคนนัน้ เป็นไผ่ชนิดพิเศษ ต้องตัดมารมควันเหนือเตาไฟ ในบ้าน เพื่อให้แห้งได้ที่และปราศจาก การเจาะกินของแมลง ๒. ไม้เนือ้ แข็งท�ำเต้าแคนและเปลือกไม้ทำ� แหวนรัดนัน้ จะต้องน�ำมาเก็บไว้ระยะ หนึ่งให้แห้งได้ที่ก่อน ๓. ถากไม้ที่ท�ำเต้าแคนให้ได้รูปทรงตามต้องการ ผ่าหรือเลื่อยกึ่งกลางของล�ำ เต้าแคนออกเป็นสองซีกตลอดล�ำ แล้วท�ำการขุดเนื้อด้านในออกให้กลวง ตกแต่งและ ขัดให้สวยงาม ๔. น�ำเต้าแคนทีผ่ า่ นัน้ มาประกบกัน โดยใช้กาวหรือยางไม้ตดิ ประกบ แล้วเจาะรู ที่เต้าแคน ๖รู เพื่อเตรียมใส่ลูกแคน พร้อมกับท�ำแหวนรัดรอบล�ำเต้าแคน ๕. วัด ตัด ดัด ตกแต่ง เจาะรู ขุดเนื้อด้านในของลูกแคนให้เรียบร้อย น�ำมาใส่ เข้าไปในรูเต้าแคน จัดให้เป็นระเบียบ ท�ำแหวนรัดรอบลูกแคน ๖. ทดสอบเป่าและแต่งระดับเสียงให้เข้ากัน ท�ำปลอกทองเหลืองปิดบริเวณที่ ใช้ปากเป่า แล้วท�ำสายสะพาย ตกแต่งให้สวยงาม

202ชาติพันธุ์น่านศึกษา


แคนม้ง

แคนม้ง

ที่มา :: http://www.m-culture.in.th/album/๑๓๑๖๗๕/ http://www.scribd.com

เรือนเย้าใช้พื้นดินที่บดอัดแน่นเป็นพื้นเรือน ชาติพันธุ์น่านศึกษา

203


เรือนม้ง เผ่า ม้ง (Hmong) หรือ แม้ว (แม้วเป็นชื่อที่คนไทยเรียกชาวม้ง แต่ม้งเรียก ตัวเองว่าม้ง และไม่ชอบให้ใครเรียกตัวเองว่าแม้ว) ชาติพันธุ ์ จีน - ธิเบต กลุ่มเดียวกับเย้า ภาษาพูด จีน-ธิเบต ถิ่นฐานเดิม จีนตอนกลาง บริเวณมณฑลฮูนาน และไกวเจา การอพยพเข้าสู่ไทย จากถิน่ เดิมในจีนตอนกลาง ชาวม้ง อพยพหนีภยั การรุกรานจากจีนสูจ่ นี ตอนใต้ แถบมณฑลกวางสีและยูนนาน เมือ่ ยังถูกรุกรานอีกจึงอพยพเข้าสูเ่ วียดนาม และเข้าสูล่ าว และเข้าสู่ไทย ๓ จุด คือ ทางอ�ำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงรายทางหนึ่ง ทางอ�ำเภอ ทุ่งช้าง จังหวัดน่านทางหนึ่ง และทางอ�ำเภอนาแห้วและอ�ำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย อีกทางหนึ่ง กระจายตัวอยู่ใน เชียงราย ตาก เชียงใหม่ น่าน เพชรบูรณ์ พิษณุโลก และ อื่น ๆ รวม ๑๓ จังหวัด จากข้อมูลของกรมประชาสงเคราะห์ ล่าสุดเมื่อ พ.ศ.๒๕๔๐ มีม้งอยู่ในประเทศไทยประมาณ ๑๒๖,๐๐๐ คน การตัง้ ถิน่ ฐาน ม้งตัง้ หมูบ่ า้ นบนทีส่ งู ประมาณ ๑,๐๐๐ - ๒,๐๐๐ เมตร ห่างไกล จากชาวเขาเผ่าอืน่ เลือกท�ำเลทีไ่ ม่ชนั มากนัก มีสนั เขาขนาบอยูโ่ ดยรอบ ใกล้ลำ� ธาร ส�ำหรับ ตักน�้ำไปใช้ โดยใช้ไม้ไผ่ล�ำใหญ่ยาวประมาณ ๑ เมตร ทะลวงในออก ตักน�้ำสะพายหลัง

การเลือกท�ำเลที่ตั้งหมู่บ้านของม้ง ท�ำไร่เลื่อนลอย ปลูกข้าวเพื่อบริโภค ปลูกข้าวโพดเพื่อเลี้ยงสัตว์ ปลูกฝิ่นเพื่อ ขายเป็นรายได้ ม้งรับวัฒนธรรมความเชื่อจากชาวจีน นับถือผีบรรพบุรุษเช่นเดียวกับจีน ยอมรับการมีเมียหลายคนของชาย หญิงท�ำงานหนัก ท�ำงานทุกอย่าง ผู้ชายจะเฝ้าบ้าน

204ชาติพันธุ์น่านศึกษา


สูบฝิ่น หากเมียท�ำไม่ไหวก็จะออกไปหาเมียใหม่มาช่วย เมียอยู่ด้วยกันเหมือนญาติ ช่วยกันท�ำงานและปรนนิบัติผัวและพ่อผัว ไม่ทะเลาะกัน ใช้แซ่เป็นสกุลเช่นเดียวกับจีน วันปีใหม่ก็เป็นวันเดียวกับจีน และชายเป็นใหญ่ในครอบครัว ม้งเลือกทีต่ งั้ หมูบ่ า้ นทีไ่ ม่ลาดชันและสันเขาขนาบโดยรอบเพราะมีความเชือ่ ว่า - คนในหมู่บ้านจะประสบโชคดีและไม่เจ็บป่วย - ไม่มีโจรผู้ร้ายรบกวนหมู่บ้าน - การท�ำมาหากินได้ผลดี และยังเชื่อว่าถ้าสันเขาด้านขวาทอดยาวกว่าด้านซ้าย คนในหมู่บ้านจะได้ ลูกสาวมากกว่าลูกชาย ถ้าสันเขาด้านซ้ายทอดยาวกว่าด้านขวา คนในหมู่บ้านจะได้ ลูกชายมากกว่าลูกสาว ในการปลูกเรือน ม้งก็มีความเชื่อบางอย่างเช่น - ห้ามปลูกเรือนซ้อนหรือเหลือ่ มกันทางสูงหรือต�ำ่ และห้ามสร้างหันหน้าเรือน เข้าหากัน ประตูตรงกัน จะท�ำให้ท�ำมาหากินไม่เจริญ - ห้ามน�ำไม้ถกู ฟ้าผ่ามาสร้างเรือนหรือน�ำไปใช้อย่างอืน่ แม้แต่ทำ� ฟืน เพราะเป็น สิ่งอัปมงคล - ให้หันยอดไม้ขึ้นทางจั่วเสมอ ห้ามสลับหัวสลับหาง คนในบ้านจะขัดแย้งกัน บ่อย ๆ - ม้งสร้างบ้านเรือนคล้ายเย้า คือสร้างเรือนติดพืน้ ดิน ใช้พนื้ ดินทีป่ รับระดับเรียบ บดอัดแน่นเป็นพื้นเรือน ใช้แคร่และตั่งส�ำหรับนั่งนอน ซึ่งเป็นรูปแบบบ้านเรือนของจีน - ม้งจะเลือกท�ำเลปลูกเรือนให้หนั หน้าสูแ่ หล่งน�ำ้ หรือ ทางสัญจร หรือ หุบเขา ให้ด้านหลังติดเนินเขา ถือเป็นมงคล - โครงสร้างเฉพาะเสาหลักเป็นไม้จริง โครงสร้างรองใช้ไม้ไผ่ หลังคามุง หญ้าคาหรือฟากไม้ไผ่ - ฝาเรือนเป็นไม้กระดาน หรือไม้ไผ่สาน หรือ ฟากตั้ง หรือฟากขัด - ผังเป็นแบบบ้านเรือนชาวจีน แบ่งพื้นที่เป็นสามส่วน ทางเข้าตรงกลาง ส่วน ตรงกลางตรงทางเข้า จะเป็นบริเวณที่ตั้งหิ้งบรรพบุรุษและบริเวณที่ใช้ส�ำหรับรับแขก หรือนั่งล้อมวงพูดคุยกันในครอบครัวรอบเตาผู้ชาย - เตาไฟจะแยกเตาส�ำหรับชาย - หญิง เตาผู้ชายอยู่ด้านหน้าบริเวณรับแขก ชาติพันธุ์น่านศึกษา

205


ใช้ส�ำหรับต้มน�้ำชา และผิงไฟให้ความอบอุ่น เตาผู้หญิงอยู่ด้านหลังใกล้ประตูหลังบ้าน ส�ำหรับหุงหาอาหาร บางบ้านมีเตาส�ำหรับสัตว์แยกต่างหากอีกหนึ่งเตา - ครกต�ำข้าว (เป็นครกกระเดื่อง) อยู่ในตัวเรือน - หน้าบ้านใต้ชายคาเป็นบริเวณท�ำงาน เช่นเย็บผ้า ทอผ้า และรับแขก - ม้งจะปรับระดับดินบริเวณบ้านให้เรียบ ใช้งานอเนกประสงค์ เช่น ตากพืช กองผลผลิตเกษตร เลี้ยงสัตว์ ตากผ้า ฯลฯ - ข้างบ้านใช้เก็บฟืน และของอื่นๆ - โรงม้า คอกหมู เล้าไก่ สร้างไว้รอบบ้าน ไม่นิยมสร้างรั้วบ้าน

บ้านเรือนม้งปลูกบนพืน้ ทีท่ ไี่ ม่ชนั มากนัก เพราะต้องการปรับพืน้ ทีร่ อบบ้านให้ เรียบเพื่อใช้งานอเนกประสงค์

206ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ผังพื้นและรูปแบบเรือนม้งที่สร้างเหมือนโรงตั้งติดดินไม่ยกพื้น (ที่มา : สุพล ปวราจารย์, เรือนชาวเขา)

หมู่บ้านม้ง

ผู้หญิงชาวม้งใช้ตะกร้าสานสะพายหลังเพื่อใส่ชอง ชาติพันธุ์น่านศึกษา

207


ชาวม้งเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์

ชายหญิงชาวม้งในชุดประจ�ำเผ่า

ม้งด�ำ

ประวัติความเป็นมา ชุมชนบ้านดอยติ้ว ที่ตั้ง บ้านดอยติ้ว ตั้งอยู่หมู่ที่ ๗ ต�ำบลศรีภูมิ อ�ำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน อยู่ ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอท่าวังผา ประมาณ ระยะทาง ๓๐ กิโลเมตร และห่างจากตัว จังหวัดน่าน ประมาณ ๗๒ กิโลเมตร ประวัติความเป็นมา จากค�ำบอกเล่าของ พ่อสมพล เล่าสัจจะสกุล อายุประมาณ ๕๕ ปี ชุมชน บ้านดอยติ้วเดิมนั้นเป็นชุมชนเมี้ยน และมีพี่น้องชาวม้งอพยพมาภายหลังเมื่อประมาณ ปี พ.ศ.๒๕๐๖ ได้อพยพมาจากประเทศจีนการเริ่มแรกของการก่อเกิดชุมชนขนาดเล็ก อยูห่ ลายจุด จุดหนึง่ ทีผ่ คู้ นรูจ้ กั กันคือ โรงเรียนบ้านดอยติว้ ปัจจุบนั ในปี พ.ศ.๒๕๑๒ ได้ เกิดสงครามอุดมการณ์ทางการเมืองกลุม่ ลัทธิคอมมิวนิสต์ผคู้ นก็เลยอพยพไปอยูป่ า่ กลาง แต่ในช่วงกลางของสงครามมีชาวม้งจ�ำนวนหนึง่ ทีไ่ ม่สามารถปรับตัวอยูใ่ นชุมชนป่ากลาง ได้จงึ ย้ายกลับมาต่อสูก้ บั คอมมิวนิสต์รว่ มกับชุมชนบ้านสบขุน่ (พีน่ อ้ งชาติพนั ธุ)์ รัฐบาล หนุนหลังเพื่อความอยู่รอดจะชนะสงครามหลังรัฐบาลประกาศให้กลุ่ม พกค.มอบตัวใช้ นโยบายหันกลับมาพัฒนาประเทศไทยจนปัจจุบันชุมชนชาวม้งก่อร่างสร้างชุมชนจัด ตั้งเป็นหมู่บ้านเพียงพี่น้องม้ง ส่วนเมี้ยนนั้นก็อพยพไปจัดตั้งชุมชนอยู่ชุมชนป่ากลาง การเรียกชื่อหมู่บ้าน ติ้ว นั้นยังไม่มีข้อมูลที่ชัดเจนมีเพียงค�ำบอกเล่าของผู้เฒ่า ผู้แก่ ว่าได้ชื่อมาตามชื่อแม่น�้ำซึ่งคนสมัยนั้นเดินทางผ่านไปจังหวัดพะเยา ในระหว่าง ทางเดินนัน้ จะมีทพี่ กั ริมน�ำ้ ทีเ่ รียกกันว่าติว้ คนพืน้ เมืองข้างล่างเรียกปันติว้ อย่างไรก็ตาม ทั้งหมดอาจเป็นการสื่อสารที่ไม่ตรงกันในเรื่องการใช้ภาษา

208ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ทิศเหนือ ติดต่อกับ เขตพื้นที่ลุ่มน�้ำหน่วยจัดการต้นน�้ำแหน ทิศใต้ ติดต่อกับ เขตพื้นที่ลุ่มน�้ำหน่วยจัดการต้นน�้ำงาว ทิศตะวันออก ติดต่อกับ เขตพื้นที่ลุ่มน�้ำหน่วยจัดการต้นน�้ำสบสาย ทิศตะวันตก ติดต่อกับ เขตบ้านสบขุ่น ต�ำบลป่าคา อ�ำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน พื้นที่ ๗,๒๐๐ ไร่ ระยะทาง บ้านดอยติ้วอยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอท่าวังผา ประมาณ ระยะทาง ๓๐ กิโลเมตร และห่างจากตัวจังหวัดน่าน ประมาณ ๗๒ กิโลเมตร สภาพภูมิประเทศ สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นสันเขาสูง สภาพป่าที่ เสื่อมสภาพ มีที่ราบตามเชิงเขา ไม่มีแม่น�้ำไหลผ่าน การสาธารณูปโภค มีไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มีประปาจากดอยวาวลงมา ใช้ในหมู่บ้าน หน้าแล้งจะค่อนข้างประสบปัญหาขาดแคลนน�้ำ ประชากร ประชากรเป็นชนเผ่าม้ง มีจ�ำนวนประชากรทั้งหมด ๑,๓๘๔ คน อาชีพและรายได้ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ท�ำไร่ข้าว ท�ำไร่ ข้าวโพด สวนลิน้ จี่ และหาของป่า รายได้สว่ นมากขึน้ อยูก่ บั ผลผลิตทางการเกษตร เฉลีย่ รายได้ประมาณครอบครัวละประมาณ ๓,๐๐๐ - ๕,๐๐๐ บาทต่อปี บางครอบครัวก็มี การปลูกผักไว้บริโภคเอง เพือ่ ลดค่าใช้จา่ ยในครัวเรือนและเมือ่ บริโภคไม่หมดก็สามารถ จ�ำหน่ายเป็นรายได้เสริม รวมทั้งชาวบ้านี่เป็นผู้หญิงหลังจากเก็บเกี่ยวพืชผลทาง การเกษตรแล้ว เวลาว่างจะรับจ้างปักผ้าลายมาเป็นรายได้เสริมแก่ครอบครัวอีกทาง หนึ่งด้วย

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

209


แผนที่ ก ายภาพทางด้ า นภู มิ ศ าสตร์ ของบ้าน ดอยติ้ว ลักษณะพื้นที่บ้านดอยติ้วเป็นสันเขา และมีพื้นที่ราบมีอยู่น้อย จากการลงไปศึกษา ส�ำรวจทรัพยากรพื้นที่ท�ำการเกษตร ไร่ สวน โดยพื้นที่ท�ำการเกษตร จะเป็นเขตอุทยานซึ่ง ทางรัฐอนุญาตให้ท�ำ ไร่นี้ไม่มีโฉนด (เอกสาร สิทธิ์) พื้นที่เกษตรมีพืชเศรษฐกิจหลายตัว ที่ชาวบ้านนิยมปลูกพืชที่ปลูกมากที่สุดคือ ข้าว ข้าวโพด ที่เหลือนั้นมีการปลูกพืชสวน จ�ำพวก ลิ้นจี่ พืชตัวใหม่ที่ชาวบ้านเริ่มปลูก คือ ยางพารา กาแฟ อีกทั้งมีการขยายพื้นที่ ป่าอย่างต่อเนือ่ งในการบุกปรับพืน้ ทีป่ า่ ให้กลายเป็นพืน้ ทีป่ า่ ข้าวโพด ชุมชนนัน้ สามารถ ที่จะปลูกข้าวโดยใช้น้�ำจากฟ้าในหนึ่งปีและส่วนใหญ่เป็นการปลูกข้าวเจ้าเพื่อใช้ในการ บริโภคเป็นปีๆ กิน ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ประชาชนทั้งหมู่บ้านนับถือศาสนาพุทธ แต่ยังมีความเชื่อในเรื่องป่า ผีไร่ ไสยศาสตร์ ซึ่งจะเห็นได้จากการจัดพิธีสงเคราะห์ การปัดเป่าเมื่อมีคนเจ็บป่วย ประเพณี พิธีกรรม ชาวเขาเผ่าม้ง พิธีกรรมของชนเผ่า ศิลปวัฒนธรรมม้ง บ้านร่องกล้า ต�ำบลเนินเพิ่ม อ�ำเภอนครไทย จังหวัด พิษณุโลก ในที่นี้กล่าวถึงประเพณี และพิธีกรรมต่าง ๆ ซึ่งรวบรวมข้อมูล จากโครงการ ศึกษาศักยาภาพการท่องเทีย่ วโดยชุมชนมีสว่ นร่วม บ้านร่องกล้า ต�ำบลเนินเพิม่ อ�ำเภอ นครไทย จังหวัดพิษณุโลก และท�ำการวิเคราะห์ขอ้ มูลในเชิงคุณค่า วิเคราะห์ในแง่การน�ำ ข้อมูลไปใช้ การวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงประวัติศาสตร์ และการวิเคราะห์ข้อมูลในแง่ที่ เป็นชีวประวัติ และน�ำมาใช้ประกอบเป็นการท่องเที่ยว เชิงประวัติศาสตร์ เชิงประเพณี วัฒนธรรมชนเผ่า และเชิงทรัพยากรธรรมชาติ

210ชาติพันธุ์น่านศึกษา


พิธีกรรม คือ การแสดงออกถึงความเชื่อตั้งแต่เกิดจนถึงตาย มีพิธีกรรม เกี่ยวกับชีวิต พิธีกรรมตามฤดูกาล ตามเทศกาลหรือวันส�ำคัญที่กระท�ำสืบต่อกันมา พิธีกรรมทีค่ ้นพบมีดังนี้ ๑. พิธีกินข้าวใหม่ ความเป็นมาของพิธีกินข้าวใหม่ เพราะข้าวใหม่เป็นข้าวทีม่ คี วามหอม นุม่ และอร่อยมาก บุคคลหรือครอบครัว ที่มีความสามารถท�ำข้าวใหม่ได้ และเชิญชวนญาติพี่น้อง หรือแขกผู้มีเกียรติมาร่วม รับประทานได้ ถือว่าบุคคลนัน้ เป็นคนขยันท�ำมาหากิน และเป็นคนมีจติ ใจกว้างขวางใน สังคม เพราะข้าวใหม่นนั้ กว่าจะท�ำมากินได้ ต้องผ่านกระบวนการหลายขัน้ ตอน และใช้ เวลานาน ดังนั้นพิธีกินข้าวใหม่ จึงถือเป็นพิธีที่ส�ำคัญพิธีหนึ่ง ขั้นตอนการท�ำข้าวใหม่ ๑. เลือกเกี่ยวข้าวที่เริ่มสุก เมื่อปลายรวงข้าวเริ่มเหลือง ๒. น�ำข้าวที่เกี่ยวได้มานวด ให้ได้ข้าวเปลือก ๓. น�ำข้าวเปลือกมาคั่ว จนเมล็ดข้าวแข็ง ๔. น�ำมาตากลมให้เย็น ๕. น�ำมาต�ำด้วยครกกระเดื่อง ๖. น�ำมาหุงโดยใช้กะทะใบบัวต้ม ช่วงนี้ต้องระวังอย่างมาก เพราะข้าวจะเละ เกินไป ๗. น�ำกระชอนใบใหญ่มาตั้งไว้บนกะละมัง แล้วตักข้าวในกะทะใส่ในกระชอน ๘. น�ำข้าวที่เสด็ดน�้ำแล้วมานึ่งในรังถึงจนสุก ๙. เก็บน�้ำข้าวไว้ดื่ม หอม อร่อยมาก ๑๐. ฆ่าไก่ หรือหมู จ�ำนวนตามต้องการ และฐานะของเจ้าภาพ พิธีการกินข้าวใหม่ เมื่อเตรียมข้าวของพร้อมแล้ว ๑. จัดตั้งโต๊ะอาหาร ๒. เจ้าภาพจะท�ำพิธีเรียกบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว มาร่วมกินข้าวใหม่ก่อน ชาติพันธุ์น่านศึกษา

211


๓. เชิญแขกผู้หลักผู้ใหญ่และญาติพี่น้องที่มานั่งประจ�ำโต๊ะอาหาร ๔. เชิญแขกผูห้ ลักผูใ้ หญ่ในโต๊ะอาหาร อาจมีใครคนใดคนหนึง่ ยืนขึน้ เพือ่ กล่าว ขอบคุณ และอวยพรให้แก่เจ้าภาพว่า “ขอขอบคุณมาก ที่ท่านจัดโต๊ะอาหารข้าวใหม่ โต๊ะนี้ให้พวกเราได้มาร่วมรับประทานในวันนี้ ขออวยพรให้ท่านและครอบครัว จงประสบแด่ความสุขความเจริญตลอดไป ท่านจัดโต๊ะอาหารให้พวกเรารับประทานหนึ่งโต๊ะ ขอให้เหลือร้อยโต๊ะพันโต๊ะ ให้ท่าน และครอบครัวไว้รับประทานต่อไปเถิด” ๕. หลังกล่าวขอบคุณและอวยพรแล้ว ร่วมรับประทานอาหารข้าวใหม่ตาม อัธยาศัย ๒. พิธีลงสีดา (ua neeb)

ความเป็นมา พิธีอัวเน้ง หรือพิธีลงสีดา เป็นพิธีกรรมเกี่ยวกับความเชื่อ เรื่องของการถ่าย ชีวิตกัน ระหว่างคนกับสัตว์ มักจะเป็นคนที่เจ็บป่วย หรือที่มีเคราะห์ร้าย ดวงไม่ดี ขั้นตอน / วัสดุอุปกรณ์ สิ่งที่ต้องเตรียมในการประกอบพิธีอัวเน้ง ได้แก่ ๑. กระถางส�ำหรับปักธูป เทียน ใช้ธูป ๓ ดอก ๒. กระดาษเงิน กระดาษทอง ๓. ถ้วยข้าวสาร ใส่ไข่ไก่ ๑ ฟอง ๔. ตะเกียง ๑ ดวง หรือเทียนไข ๑ เล่ม ๕. กัวะ ๒ คู่ (เขาวัว หรือเขาควาย ผ่าครึ่ง) ๖. น�้ำ ๓ จอก ๗. ข้าวตอก ๑ กอง (ข้าวเปลือกคั่วให้แตก) ๘. หมู ๑ ตัว ในการท�ำพิธีเริ่มต้นด้วยการน�ำกระถางธูป เทียน (หรือตะเกียง) ข้าวตอก กระดาษเงิน กระดาษทอง น�้ำ กัวะ ถ้วยข้าวสารใส่ไข่ไก่ น�ำสิ่งของทั้งหมดนี้มาตั้งโต๊ะ

212ชาติพันธุ์น่านศึกษา


พิธีกรรม หมอผีจะเริม่ ด้วยการจุดกระดาษเงิน กระดาษทอง แล้วร่ายบทสวดเป็นภาษาม้ง ต่อมาหมอผีจะเข้ามานัง่ ทีม่ า้ นัง่ ยาวทีเ่ ตรียมไว้ และร่ายบทสวดต่อ ในขณะทีร่ า่ ยบทสวด หมอผีจะเคาะเจียเน้ง (ห่วงวงกลมทีล่ กู กระพรวนติดอยู)่ และกระโดดไปมาบนม้านัง่ ยาวนี้ จากนั้นจะเสี่ยงทาย การท�ำพิธีด้วยการโยนกัวะ หมอผีจะดูว่าการโยนกัวะดีหรือไม่ แล้วท�ำพิธีต่อไปเรื่อย ๆ โดยหมอผีจะร่ายบทสวดและเคาะเจียเน่งตามไปด้วย ขณะท�ำ พิธีอาจจะมีการเคลื่อนย้ายตัวไปมาตามบทสวด เช่น นั่งแล้วกระโดดหรือยืนแล้วนั่ง ท�ำเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ ในการประกอบพิธีนี้จะใช้เวลานานหรือไม่ ขึ้นอยู่กับการโยนกัวะ เสี่ยงทาย พิธีกรรมจะด�ำเนินไปจนกว่า การเสี่ยงทายจะดี เมือ่ การเสีย่ งทายออกมาดีแล้ว หมอผีจะสัง่ ให้นำ� หมูไปฆ่าแล้วหมอผีจะใช้กวั ะ แตะเลือดหมูมาทาที่ด้านหลังคนป่วย ซึ่งการท�ำเช่นนี้เป็นการป้องกันมิให้ภูติผีเห็นคน ป่วย การฆ่าหมูเป็นการไถ่ดวงวิญญาณ หรือตอบแทนผีนั้นเอง หมูทใี่ ช้ในการท�ำพิธนี นั้ จะตัดส่วนหัวให้กบั ผูท้ ที่ ำ� หน้าทีเ่ ป็นหมอผีนำ� ไปต้มกิน และหมอผีจะน�ำกระดูกส่วนคางไปแขวนไว้ทหี่ งิ้ บูชาทีบ่ า้ น เมือ่ สิน้ ปีหมอผีจะน�ำกระดูก ส่วนคางนี้ไปรวมกัน แล้วเผาไปพร้อมกับกระดาษเงินกระดาษทอง เพื่อเป็นการปลด ปล่อยดวงวิญญาณของหมูให้ไปเกิดใหม่ หมายถึงดวงวิญญาณหมูทถี่ กู จองจ�ำ ได้หมดภาระหน้าทีท่ ที่ ดแทนดวงวิญญาณ ของมนุษย์แล้ว ๓. พิธีใส่ก�ำไลคอ (Kab ke coj xauvsiav)

ความเป็นมา การล้อมก�ำไลคอ จะท�ำกับเด็กทีเ่ กิดใหม่ในทันทีทเี่ กิด การล้อมก�ำไลคอถือว่า เป็นการล้อมสกัดชีวิตของคนที่เกิดมาอยู่ในโลกมนุษย์ ไม่ให้ดับสูญไปในช่วงเวลาอันไม่ สมควร ชาวม้งเชื่อว่าเมื่อใส่ก�ำไลคอแล้วจะสามารถป้องกันภูติผีได้ แม้ว่าพิธีกรรมนี้จะ เรียกว่า “ใส่ก�ำไลคอ” แต่เมื่อใส่สามารถใส่ได้ ทั่งที่คอ ข้อมือ หรือข้อเท้าก็ได้ ขั้นตอน / วัสดุอุปกรณ์ สิ่งที่ต้องเตรียมในการประกอบพิธีใส่ก�ำไลคอ ได้แก่ ๑. ธูป ๓ ดอก ชาติพันธุ์น่านศึกษา

213


๒. เทียนไข ๒ เล่ม ๓. ไข่ไก่ ๑ ฟอง ๔. หมู ๑ ตัว หรือไก่ ๒ ตัว ในการท�ำก�ำไล ผู้ที่เป็นพ่อแม่จะเตรียมไว้ตั้งแต่แม่ก�ำลังตั้งท้องอยู่ ก�ำไล สามารถท�ำได้จากสิ่งของ ๓ สิ่ง ได้แก่ เงินแท้ ทองเหลือง หรือด้ายเส้นใหญ่ (คล้ายด้าย สายสิญจน์) ก็ได้ การท�ำก�ำไล จะท�ำเป็นวงใหญ่ให้คล้องคอได้พอดี อาจตกแต่งให้เกิด ความสวยงามได้ เช่น เป็นกระเป๋า เล็ก ๆ หรือเป็นห่วงเล็ก ๆ ก็ได้ พิธีกรรม การประกอบพิธีต้องให้หมอผีเป็นผู้ประกอบให้ โดยเจ้าของบ้านเป็นผู้นัด หมาย หมอเจ้าของบ้านจะเตรียมเครื่องไว้เมื่อตรงกับวันนัดหมายหมอผีก็จะมาท�ำพิธี โดยหมอผีจะเริ่มพิธีที่ประตูบ้านที่อยู่ตรงกับหิ้งไหว้ผี (ชาวม้งจะมีประตูหลายที่แต่จะ ใช้ประตูที่ตรงกับหิ้งไหว้ผี เพราะถือว่าเป็นประตูเข้า-ออกไปท�ำมาหากิน แล้วจะท�ำให้ เกิดโชคดี) น�ำไข่ไปวางลงในถ้วยใส่ข้าวสารแล้วจุดเทียนและธูป น�ำไก่หรือหมู ที่ยัง มีชีวิตอยู่มาท�ำพิธีตรงนี้ด้วยเหมือนกัน เมื่อท�ำพิธีที่ประตูเสร็จแล้วก็จะน�ำไก่หรือหมู ไปฆ่า แล้วน�ำไปต้ม (เหมือนไก่ไหว้เจ้าของคนจีน) แล้วน�ำมาท�ำนายว่าการประกอบพิธนี ี้ ดีหรือไม่ดี โดยดูลักษณะของส่วนขาและตาของไก่ เมื่อหมอผีดูแล้วจะท�ำนายออกมา ถ้าค�ำท�ำนายไม่ดกี จ็ ะประกอบพิธนี ใี้ หม่ หากท�ำนายว่าดี ก็จะใส่กำ� ไลคอได้เลย โดยคนแก่ หรือผู้มีอาวุโสจะเป็น ผู้ใส่ให้ ขณะที่ใส่ก็จะให้ศีลให้พรและเงินทองด้วย เมื่อใส่ก�ำไลคอ เสร็จแล้วก็จะมีการกินเลี้ยงเป็นอันเสร็จพิธี ๔. พิธีสู่ขวัญตั้งชื่อ (Hu plig tis npe)

ความเป็นมา การสู่ขวัญตั้งชื่อจะท�ำการสู่ขวัญหลังเด็กเกิดได้สามวัน สมมติว่าเด็กเกิด วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๔๖ จะมีพิธีสู่ขวัญตั้งชื่อในวันที่ ๔ มกราคม ๒๕๔๖ โดยมากชื่อ ทีต่ งั้ ขึน้ นัน้ พ่อแม่เด็กจะเป็นผูต้ งั้ ให้เอง แต่ถา้ พ่อแม่เด็กไม่ทราบว่าจะตัง้ ชือ่ ว่าอย่างไรดี จะไพเราะจะเป็นสิริมงคล ก็จะให้ทางฝ่ายญาติที่เป็นผู้หลักผู้ใหญ่ตั้งให้ หรือหมอขวัญ ตั้งให้ก็ได้ ชื่อที่ตั้งจะมีพยางค์เดียว เช่น “ตั่ว” แปลว่าคนที่หนึ่ง หรือ “เหย่อ” แปลว่า น้องคนสุดท้อง เป็นต้น

214ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ขั้นตอน / วัสดุอุปกรณ์ ผู้เป็นพ่อและแม่ต้องเตรียมในการตั้งชื่อสู่ขวัญประกอบด้วย ๑. ไก่ ๓ ตัว ๒. ไข่ไก่ ๑ ฟอง ๓. ธูป ๓ ดอก ๔. ข้าวสาร ๑ ถ้วย ๕. หมอสู่ขวัญ พิธีกรรม เช้าวันที่สาม ของวันเกิด ๑. เตรียมไก่ ๒ ตัว ให้หมอขวัญถือไว้ ๒. ตั้งขันที่ใส่ข้าวสาร ไข่ไก่ ธูป ตั้งไว้ที่ประตูบ้าน ๓. หมอขวัญท�ำพิธีสู่ขวัญ ๔. หลังพิธีสู่ขวัญ น�ำไก่ไปฆ่าถอนขนท�ำความสะอาด แล้วน�ำไปต้มพร้อมไข่ ๕. น�ำไก่ที่ต้มและไข่ไปใส่ถาดตั้งที่ประตูอีกครั้งหนึ่ง ๖. หมอขวัญประกอบพิธีขวัญอีกครั้งหนึ่ง ๗. หลังเสร็จพิธีสู่ขวัญ หมอขวัญจะท�ำนายดวงชะตาของเด็กจากไก่ โดยยึด จาก สิ่งของต่อไปนี้ - ตีนไก่ - ตาไก่ - กะโหลกไก่ - กระดูกไก่ - ลิ้นไก่ ๕. พิธีสร้างสะพานต้อนรับขวัญ (TuamChoj Tosplig) ความเป็นมา พิธีสร้างสะพานต้อนรับขวัญ สาเหตุมาจากที่เด็กมีอาการเจ็บป่วยสุขภาพ ร่างกายไม่คอ่ ยสมบูรณ์ โดยไม่มสี าเหตุหรือเจ็บป่วย ได้ทำ� การรักษาทางอืน่ จนหมดแล้ว ยังไม่หาย หรือผู้หญิงไม่มีลูกหรือมีแต่แท้งลูกเป็นประจ�ำ ขั้นตอน / วัสดุอุปกรณ์ ผูเ้ ป็นพ่อแม่ตอ้ งเตรียมในการสร้างสะพานสร้างได้ ๓ ลักษณะ คือสร้างสะพาน ชาติพันธุ์น่านศึกษา

215


ข้ามล�ำธาร หรือการสร้างสะพานบริเวณทางสามแยก หรือการสร้างสะพานในบ้านแล้ว แต่กรณี ที่หมอสีดามองเห็น และต้องใช้อุปกรณ์ดังนี้ ๑. หมู ๑ ตัว ๒. เหล้า ๑ ขวด ๓. ไม้ส�ำหรับสร้างสะพาน ๓ แผ่น พิธีกรรม เมื่อเตรียมข้าวของพร้อมแล้ว ๑. ออกไปสร้างสะพาน ณ ที่หมาย ๒. เมื่อสร้างสะพานเสร็จแล้วก็โยงสายสิญจน์จากหัวสะพานมาท้ายสะพาน ๓. ฆ่าหมูเพื่อประกอบอาหาร ๔. รอใครสักคนหนึ่งที่ต้องเดินผ่านมาจากเส้นทางนี้ คืออาจจะไปไร่มา หรือ ไปธุระ ที่อื่นมาก็ได้ ก็ถือว่าคนคนนั้นแหละคือคนที่น�ำขวัญมาให้ ๕. เมื่อได้บุคคลที่น�ำขวัญมาแล้ว ทางเจ้าภาพก็จะให้บุคคลนั้นพาเด็กคนที่จะ ท�ำพิธีต้อนรับขวัญไปอยู่ที่หัวสะพาน ๖. จากนั้นพ่อแม่ที่อยู่ทางสะพานจะถามว่า “ท่านเป็นใคร จะไปไหน” ๗. คนทีน่ ำ� ขวัญมาจูงมือเด็กและตอบว่า “ข้าพเจ้าเป็นนักท่องเทีย่ วได้ทอ่ งเทีย่ ว ไปทุกหนทุกแห่งและได้พบเด็กคนนีร้ อ้ งไห้หาพ่อแม่อยูท่ างซีกโลกโน้น ข้าพเจ้าจึงได้พา มาส่ง ท่านใช่พ่อและแม่ของเด็กคนนี้หรือไม่” ๘. ทางพ่อแม่เด็กจะตอบรับว่า “ทุกข์หมดโศกแล้วจะได้สบายอยูด่ มี สี ขุ ตลอด ไป” ๙. คนพาขวัญจูงมือเด็กพาเดินข้ามสะพานไป ส่งให้พอ่ แม่เด็กทีอ่ ยูท่ า้ ยสะพาน พ่อและแม่ของเด็กกล่าวขอบคุณที่พาขวัญมาส่งให้ ๑๐. จัดอาหารกินเลี้ยงกัน ถือว่าเป็นอันเสร็จพิธี ๖. พิธีขอพ่อบุญธรรมแม่บุญธรรม (Thov niam qhuav txiv qhuav) ความเป็นมา สาเหตุจากการที่เด็กชอบร้องไห้งอแง โดยไม่มีสาเหตุ หรือเจ็บป่วยโดยได้ ท�ำการรักษาทางอืน่ จนหมดแล้วก็ยงั ไม่หาย หรือเด็กชอบปัสสาวะรดทีน่ อนเป็นประจ�ำ

216ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ขั้นตอน / วัสดุอุปกรณ์ ผู้เป็นพ่อและแม่ต้องเตรียมในการขอพ่อบุญธรรมแม่บุญธรรมประกอบด้วย ๑. ไก่ต้มสุก จ�ำนวน ๑ ตัว ๒. เหล้า จ�ำนวน ๑ ขวด ๓. ย่ามใส่ของ จ�ำนวน ๑ ใบ พิธีกรรม ๑. พ่อและแม่ของเด็กจะแต่งตัวอย่างดี ๒. พ่อแม่เด็กจะเอาเด็กใส่เป้ขนึ้ สะพายหลัง ออกเดินทางไปตามทางในหมูบ่ า้ น ๓. ถ้าคนในหมู่บ้านพบเห็นและทักก่อนถือว่าคนคนนั้นคือ พ่อบุญธรรม และ แม่บุญธรรมของเด็ก ๔. พ่อบุญธรรมและแม่บญ ุ ธรรม จะพาเข้าบ้านของพ่อบุญธรรมและแม่บญ ุ ธรรม ๕. เมือ่ เข้าถึงในบ้านของพ่อบุญธรรมและแม่บญ ุ ธรรม พ่อแม่เด็กจะจัดตัง้ โต๊ะ อาหารโดยมีไก่ที่ต้มสุก ใส่ย่ามมาผ่าใส่จานและรินเหล้าให้ ๑ แก้ว ๖. พ่อแม่ของเด็กจะแจ้งวัตถุประสงค์ที่พาเด็กมาว่า “ด้วย (เด็กชาย.., เด็ก หญิง…) มีอาการ (เล่าตามอาการเจ็บป่วย) สาเหตุมาจากเด็กจะเอาพ่อบุญธรรม และ แม่บุญธรรม จึงได้พาเด็กมา เพื่อขอให้พ่อบุญธรรมและแม่บุญธรรม ช่วยผูกแขนให้ลูก ข้าพเจ้าหายจากอาการเจ็บป่วย และอยู่สุขสบายดีต่อไป” ๗. จากนั้นพ่อบุญธรรมและแม่บุญธรรม จะท�ำการปัดเป่าสิ่งชั่วร้ายทั้งหลาย ให้ออกไปจากเด็ก แล้วผูกแขนและกล่าวอวยพรให้เด็ก ๘. หลังจากผูกแขนแล้วก็เอาไก่และเหล้ามากินกันถือว่าจบพิธี ๗. พิธีสู่ขวัญตั้งชื่อสู่วัยผู้ใหญ่ (Kab ke hu npe laus)

ความเป็นมา คนชาวม้งถือว่าพิธีสู่ขวัญตั้งชื่อสู่วัยผู้ใหญ่เป็นพิธีที่มีสิริมงคลที่ดี การเปลี่ยน ชือ่ นีจ้ ะเปลีย่ นในช่วงระยะเวลากลาง ๆ ของชีวติ คนต้องเป็นผูช้ ายทีแ่ ต่งงานและมีบตุ ร แล้วเท่านั้น เช่นชื่อเดิมว่า “ป๋อ” ว่า คนที่หนึ่ง เมื่ออายุระหว่าง ๒๕ – ๓๐ ปี แต่งงาน และมีบุตรแล้ว จะเปลี่ยนชื่อเป็น หน่อป๋อหนึ่งพยางค์เป็นสองพยางค์เป็นส่วนใหญ่ ไม่ได้จ�ำกัดว่าจะต้องมีชื่อเดิมผสมอยู่ด้วยเสมอไป อาจจะตั้งชื่อใหม่เลยก็ได้ แต่ที่นิยมก็ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

217


คือ ต้องมีชอื่ เดิมผสมอยูด่ ว้ ย การตัง้ ชือ่ สูว่ ยั ผูใ้ หญ่นี้ ส่วนใหญ่จะให้เกียรติแก่พอ่ ตา (พ่อ ของภรรยา) เป็นคนเลือกชื่อให้ ขั้นตอน / วัสดุอุปกรณ์ ผู้เป็นพ่อและเป็นแม่ต้องเตรียมในการตั้งชื่อสู่ขวัญ ๑. หมู ๒ ตัว ๒. เหล้า ๓ แกลลอน พิธีกรรม เมื่อแขกและญาติพี่น้องมาพร้อมแล้ว ๑. ฆ่าหมูเพื่อท�ำอาหาร ๒. เมื่ออาหารพร้อมแล้ว เชิญแขกและญาติขึ้นประจ�ำโต๊ะอาหาร ๓. เจ้าภาพจะรินเหล้าให้แขกและญาติทขี่ นึ้ นัง่ ประจ�ำโต๊ะอาหารคนละ ๑ แก้ว ๔. เจ้าภาพจะแจ้งวัตถุประสงค์ที่ได้เชิญแขกมาในครั้งนี้ให้ทราบและขอให้ แขกและญาติที่เชิญมานั้นให้ช่วยเลือกชื่อให้คนที่จะเปลี่ยนชื่อนั้น ๕. แขกและญาติที่เชิญมาจะท�ำการปรึกษาหารือ เพื่อเลือกชื่อใหม่ให้แก่ คนนั้น ถ้าคนที่จะเปลี่ยนชื่อนั้นยังมีพ่อตาอยู่ แขกและญาติที่เชิญมาจะให้เกียรติแก่ พ่อตา ให้เป็นคนเลือกก่อน และส่วนใหญ่พ่อตาเลือกชื่อได้อย่างไรคนส่วนใหญ่จะเอา ด้วยเสมอ ๖. หลังจากเลือกชื่อได้แล้วเจ้าภาพจะเชิญแขกและญาติ ๆ ที่นั่งประจ�ำโต๊ะ อาหารให้ดื่มเหล้า ๑ รอบ และในช่วงนี้เองจะท�ำการสู่ขวัญเรียกตามชื่อใหม่ที่เลือก ได้แล้ว ๗. หลังพิธีสู่ขวัญ เจ้าภาพจะเชิญแขกและญาติ ๆ ที่นั่งประจ�ำโต๊ะอาหารดื่ม เหล้าอีก ๓ รอบ ๘. ในกรณีทพี่ อ่ ตาเป็นคนเลือกชือ่ ใหม่ให้ลกู เขย หลังจากเสร็จขัน้ ตอน ข้อ ๑ - ๗ แล้วจะต้องฆ่าหมูตัวที่ ๒ เพื่อท�ำอาหารจัดเลี้ยงขอบคุณพ่อตาอีกครั้งหนึ่ง จึงจะถือว่า เสร็จพิธี

218ชาติพันธุ์น่านศึกษา


๘. พิธีล้อมขวัญของครอบครัว (Koos plig.)

ความเป็นมา พิธีการล้อมขวัญของครอบครัว สาเหตุจาก การสร้างก�ำลังใจให้แก่ครอบครัว ด้วยความเชือ่ ทีเ่ ชือ่ ว่า คนเราทุกคนจะมีขวัญประจ�ำตัวอยูท่ กุ คน เมือ่ เป็นเช่นนัน้ คนเรา ยังไม่สามารถอยู่เป็นที่ได้ ยังจะต้องแยกไปโน่นไปนี่ ขวัญก็เช่นเดียวกัน ยิ่งไปกว่านั้น ถ้าขวัญของใคร ได้ไปเที่ยวหรือไปตกอยู่ ณ ที่ใด โดยไม่ได้มาอยู่กับเนื้อกับตัว จะท�ำให้ ผู้นั้นมักมีการเจ็บป่วย ด้วยเหตุนี้จึงต้องมีการล้อมขวัญของครอบครัวขึ้น ปีละ ๑ ครั้ง ส่วนใหญ่จะท�ำกันในต้น ๆ ปี ขั้นตอน / วัสดุอุปกรณ์ ๑. หมู ๑ ตัว ๒. กระดาษปรุ๊ฟ ๑ กิโลกรัม ๓. ธูป ๑ มัด ๔. ไก่ ๒ ตัว ๕. ไข่ไก่ (ตามจ�ำนวนสมาชิก) ๖. หมอสีดา ๑ คน พิธีกรรม เมื่อเตรียมข้าวของพร้อมแล้ว ๑. เรียกสมาชิกในครอบครัวมารวมยืนเป็นกลุ่มในบ้าน ๒. ท�ำพิธไี ล่สงิ่ ชัว่ ร้ายภายในบ้านออก โดยจุดคบเพลิงและใช้รำ� ข้าวละเอียดคัว่ จนแห้งโยนใส่คบเพลิงจนลุกไหม้อย่างน่ากลัว หมอสีดาท�ำเสียงค�ำรามเหมือนเสือโคร่ง และวิ่งไล่สิ่งชั่วร้ายภายในบ้านไป ๆ มา ๆ อยู่พักใหญ่ต้อนไล่ไปสิ้นสุดที่ประตูบ้าน ๓. หมอสีดาจะเอาเชือกผูกคอหมู แล้วเอาเชือกวนล้อมคนในบ้านนัน้ ไว้ ตีฆอ้ ง เดินล้อมคนในบ้าน โดยวนขวา ๓ รอบ วนซ้าย ๓ รอบ ๔. โยนไม้กลับเสี่ยงทายขวัญ มารวมกันหรือไม่มา ๕. ฆ่าหมู (ก่อนทีห่ มูจะถูกฆ่า) หมอสีดาจะเผากระดาษให้หมูจำ� นวนหนึง่ เพือ่ เป็น เงินซือ้ ชีวติ เขาโดยพูดกับหมูวา่ “ข้าพเจ้าไม่ได้เลีย้ งเจ้ามาเพือ่ เป็นเพือ่ น แต่ขา้ พเจ้าเลีย้ ง เจ้ามาเพื่อให้เจ้าไปช่วยข้าพเจ้า ต้อนขวัญให้กลับมาอยู่กับเนื้อกับตัวเป็นเวลา ๑ ปี ชาติพันธุ์น่านศึกษา

219


เมือ่ ครบก�ำหนดแล้ว ข้าพเจ้าก็จะให้เจ้าไปเกิดใหม่เจ้าอย่าได้ถอื โทษ โกรธเคืองข้าพเจ้า เลย” ๖. ท�ำพิธีสู่ขวัญ ๗. หมอสีดาจะนั่งม้านั่งเข้าทรงท่องเที่ยวไปในเมืองผี เพื่อต้อนรับขวัญและ ล้อมขวัญของสมาชิกในบ้าน ให้มารวมกันไว้ ใช้เวลาประมาณ ๒ - ๓ ชั่วโมง เป็น อย่างน้อย จึงจะเสร็จพิธี ๙. พิธีงานศพ (Kab ke pam tuag)

ความเป็นมา เมื่อมีคนตายเกิดขึ้นในบ้าน ชาวม้งจะน�ำศพมาแต่งชุดม้งใหม่ ๆ (ชุดม้งนี้ สามารถท�ำไว้ลว่ งหน้าได้ คือเตรียมชุดม้งไว้กอ่ น กรณีทตี่ ายอย่างกระทันหัน อาจจะใส่ชดุ ม้งทีใ่ หม่กว่าทุก ๆ ชุดทีม่ ใี นบ้านก็ได้) ส�ำหรับการแต่งกายให้ศพด้วยชุดใหม่ และเครือ่ ง ประดับนั้น ชาวม้ง เชื่อว่า ยิ่งแต่งกายและใส่เครื่องประดับให้กับศพมากเท่าไร่ยิ่งดี เพราะชาวม้งเชือ่ ว่า เมือ่ ผูต้ ายไปเกิดใหม่ จะมีฐานะร�ำ่ รวยมีทรัพย์สนิ เงินทองมากเท่านัน้ การเตรียมกระดาษเงินกระดาษทองไว้ไหว้ศพ ก็เพื่อให้คนตายได้มีเงินทอง โดยการเผากระดาษเงินกระดาษทองไปให้คนตาย ผู้ที่จะบอกได้ว่าคนตายรับรู้ว่าญาติ พีน่ อ้ งส่งของไปให้หรือไม่ให้กค็ อื “Cuab Tsav” ทีส่ ามารถพูดคุยและคอยบอกคนตายได้ การไหว้ศพจะท�ำพิธีไหว้ ๓ เวลา คือ ตอนเช้า ตอนกลางวัน และตอนเย็น เวลาไหว้ จะจุดธูป ๑ ดอก หรือ ๓ ดอกก็ได้ โดยจะมีหมอแคนเป่าแคนและมีคนร้องเพลงม้งใน พิธีศพตลอดระยะเวลาที่ตั้งศพไว้ การจะเก็บศพไว้กวี่ นั นัน้ อยูท่ ฐี่ านะของญาติ ถ้าญาติมฐี านะดีกจ็ ะเก็บไว้ ๗ วัน ถ้าฐานะไม่ค่อยดีจะเก็บศพไว้ ๓ วัน ก่อนน�ำศพไปฝัง ๑ วัน จะมีพิธีไหว้ศพ คือ ญาติ พีน่ อ้ งจะน�ำกระดาษเงินกระดาษทองมาไหว้ เวลาไหว้จะน�ำกระดาษนัน้ มาคล้องตัว และ จุดธูปไหว้แล้วจะน�ำกระดาษนั้นไปเผา การท�ำพิธีที่เรียกว่า “คัวจือ” การจะเสี่ยงดูว่าดวงวิญญาณของคนตาย จะ รับรู้การส่งกระดาษเงินกระดาษทองไปให้แล้วหรือไม่ นอกจากนี้ยังมีพิธีอีกอย่างหนึ่ง ทีเ่ รียกว่า “เต๊อะเก๋” เป็นพิธี ทีใ่ ช้ไม้ไผ่ผา่ ครึง่ เป็น ๒ อัน แล้วน�ำมาเสีย่ งโยน ถ้าไม้ไผ่หงาย หรือคว�่ำทั้ง ๒ อันแสดงว่าดวงวิญญาณไม่รับรู้ ถ้าไม้ไผ่คว�่ำ ๑ อัน หงาย ๑ อัน แสดงว่า ดวงวิญญาณรับรู้แล้ว การที่ดวงวิญญาณไม่รับรู้จะต้องโยนไม้ไผ่ใหม่ จนกว่าการ

220ชาติพันธุ์น่านศึกษา


เสี่ยงทายจะรับรู้ เมื่อเสร็จพิธีแล้วจะน�ำศพไปฝัง โดยเคลื่อนย้ายไปที่ที่เตรียมไว้ส�ำหรับฝัง ก่อนท�ำพิธีฝังจะเตรียมวัวไว้ฆ่าเพื่อเซ่นดวงวิญญาณให้กับคนตาย จะได้มีความสุข ไม่รบกวนญาติพี่น้องที่ยังมีชีวิตอยู่ การฆ่าวัว เมือ่ ฆ่าเสร็จแล้ว จะน�ำเนือ้ วัวแจกจ่ายให้กบั ผูท้ มี่ าร่วมงานฝังศพนัน้ จากนัน้ ก็จะน�ำศพไปฝัง การขุดหลุมฝังศพจะเลือกพืน้ ทีท่ มี่ ภี เู ขาโอบล้อมรอบ ถึงว่าเป็น สภาพที่มีความสมบูรณ์ดี เมื่อจะยกศพลงหลุม หากเป็นพ่อหรือแม่ตาย ก็จะให้ลูก ๆ ช่วยกันยกโลงศพ ในส่วนที่เป็นด้านศีรษะของผู้ตาย เพราะเชื่อว่าเป็นการดูแลและ ตอบแทนบุญคุณ เป็นครั้งสุดท้าย ส่วนญาติให้ยกในส่วนที่เหลือ พื้นหลุมศพจะมีความ ลาดเอียง โดยด้านศีรษะจะสูง ส่วนด้านเท้าจะต�ำ่ กว่า เพราะชาวม้งเชือ่ ว่า การวางนอน ในลักษณะนี้ เป็นการนอนแบบสบายเมื่อตอนที่ยังมีชีวิตอยู่ การกลบหลุมศพ เมือ่ กลบหลุมศพแล้ว จะมีการท�ำเครือ่ งหมายไว้ อาจจะเป็น รั้วล้อมรอบ หรือท�ำดินให้สูงขึ้นมาเพื่อให้ผู้อื่นเห็นชัดเจนว่าเป็นหลุมฝังศพ การฆ่าวัวเพื่อเซ่นไหว้ก่อนฝังศพ หากพี่ชายตายจะให้น้องสาวเป็นผู้หาวัวมา ให้ฆ่า แต่ต้องเป็นพี่น้องที่เกิดจากท้องเดียวกัน หากเป็นพี่สาวตาย ก็จะให้พี่ชายหรือ น้องชายเป็นผู้หามาให้ ๑๐.ประเพณีปีใหม่ (Noj peb caug.)

ความเป็นมา ของประเพณีปีใหม่ สืบเนื่องมาจากการท�ำมาหากินโดยปกติเอง การท�ำมา หากินของพีน่ อ้ งชาวไทยภูเขาเผ่าม้ง จะมุง่ ท�ำงานตลอดปีโดยไม่มกี ารหยุดพักผ่อน จะมี เวลาว่างงาน ช่วงประมาณเดือนพฤศจิกายน–ธันวาคม เล็กน้อย เพราะเป็นปลายฤดูฝน เข้าสู่ฤดูร้อน และเป็นเวลาสิ้นสุดของปี ๑ รอบพอดี คนเฒ่าคนแก่เขาจึงได้จัดให้มีการ กินปีใหม่ในช่วงนี้ คือจะถือว่า ปีเก่าสิ้นสุดลง ในแรม ๑๕ ค�่ำเดือน ๑๒ ทางจันทรคติ และวันขึ้น ๑ ค�่ำของเดือน ๑ หรือเดือนอ้าย เป็นวันขึ้นปีใหม่เป็นประจ�ำทุกปีไป จุดมุง่ หมายก็เผือ่ เป็นการพักผ่อน เพือ่ พบปะ สังสรรค์กนั ในหมูผ่ หู้ ลักผูใ้ หญ่ ส่วนหนุม่ ๆ สาว ๆ จะไปเที่ยวต่างจังหวัด หรือต่างหมู่บ้าน หรือเล่นโยนลูกช่วง ตีลูกช่วงสนุกสนาน กันในหมู่บ้านก็ได้ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

221


ขั้นตอน การเตรียมวัสดุ การเพื่อกินปีใหม่ ๑. ข้าวของเกี่ยวกับพืชไร่ ต้องขนมาบ้านให้หมด ๒. ข้าวสาร ๓. ฟืน ๔. ไก่ ๕. หมู ๖. ไข่ไก่ ๗. กระดาษสีเทา แผ่นประมาณกระดาษหนังสือพิมพ์ ๘. กระดาษเงิน กระดาษทอง ๙. ธูป ๑๐. เทียน พิธีกรรม ในวันแรม ๑๕ ค�่ำเดือน ๑๒ ถือว่าเป็นวันสิ้นสุดปี จะท�ำพิธีการ ดังนี้ ๑. ปัดเป่า กวาดสิ่งชั่วร้ายทั้งหลาย ภายในครอบครัวให้ไปกับปีเก่า ๒. เรียกญาติพี่น้องที่เป็นแซ่เดียวกัน มารวมกันเป็นกลุ่มใหญ่ แล้วท�ำพิธี ปัดเป่า สิ่งชั่วร้ายอีกครั้งหนึ่ง ๓. ท�ำพิธีสู่ขวัญ ๔. ท�ำพิธีเซ่นเจ้าที่ในบ้าน ๕. ท�ำพิธีเรียนบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว มารวมรับประทานอาหาร ๖. วันขึ้น ๑ ค�่ำเดือน ๑ ถือเป็นวันขึ้นปีใหม่ ถ้าใครตื่นเช้า วันนี้จะเป็นคนตื่น เช้าตลอดไปในปีนี้ ถ้าใครตืน่ สายก็จะสายตลอดไป วันนีม้ พี ธิ กี รรมขัน้ ตอนหนึง่ เพือ่ เรียก บรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว มาร่วมรับประทานอาหาร และไหว้บรรพบุรุษเท่านั้น ๗. ตั้งแต่วันขึ้น ๑ ค�่ำเป็นต้นไป ผู้เฒ่าผู้แก่จะปล่อยให้หนุ่ม ๆ สาว ๆ ไปเล่น โยนลูกช่วง ตีลูกขนไก่ เป็นเวลา ๓ – ๙ วัน เป็นอย่างน้อย บางปีมีถึง ๑๑ วัน การโยน ลูกช่วงระหว่างคู่หนุ่มสาว มีข้อแม้ว่า ถ้าเกิดจากแม่ที่มีนามสกุลแซ่เดียวกัน จะโยนลูก ช่วงด้วยกันไม่ได้

222ชาติพันธุ์น่านศึกษา


๑๑. ประเพณีการแต่งกาย (Kev hnav tsoos.) ประวัติความเป็นมา ประเพณีการแต่งกาย ชาวม้งแบ่งออกเป็น ๒ เผ่า คือเผ่าม้งขาว และเผ่าม้งด�ำ การแต่งกายจะแตกต่างกันคือ ผูช้ ายม้งด�ำ จะนุง่ กางเกงโสร่ง เป้ายาวมีผา้ สีแดงรัดเอว ปลายผ้ารัดเอวปักด้วย ลวดลาย เสื้อแขนยาว สาบเสื้อปักด้วยลวดลาย ล�ำตัวสั้น ส่วนผู้หญิง จะนุ่งกระโปรง ปักด้วยลวดลายอย่างสวยงาม มีผ้าสีด�ำรัดเอว เสื้อแขนยาว ล�ำตัวเสื้อยาว มีปกคอเสื้อ ด้านหลังเป็นรูป สี่เหลี่ยมปักด้วยลวดลาย ม้งขาวผู้ชาย จะนุ่งกางเกงขาก๊วยยาวมีผ้าสีแดงรัดเอว ปลายผ้าปักด้วย ลวดลายเช่นเดียวกัน เสือ้ แขนยาวล�ำตัวสัน้ ส่วนผูห้ ญิง จะนุง่ กระโปร่งสีขาวล้วน มีผา้ รัด เอวปักด้วยลวดลาย เสื้อแขนยาวล�ำตัวยาว ปกคอด้านหลัง เป็นรูปสี่เหลี่ยมปักด้วย ลวดลาย เครื่องแต่งกายและเครื่องประดับ ประกอบด้วย ๑. กางเกง กระโปรง ๒. เสื้อ ๓. ผ้าเช็ดตัว ๔. รองเท้า ถุงเท้า ๕. ผ้าโพกศีรษะ หรือหมวก ๖. เงินประดับคอ ๗. เงินปักด้วยลวดลาย การแต่งกาย แต่งตามโอกาสต่าง ๆ ดังนี้ ๑. ในวันปีใหม่ ในวันปีใหม่คนส่วนใหญ่จะแข่งกันแต่งตัวให้สวยทีส่ ดุ เด่นทีส่ ดุ เพื่อแสดงถึงความสวยงามต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ตามลายผ้าที่ปักมาเป็นปี ตลอดจนถึง เครื่องประดับต่าง ๆ ที่แสดงถึงฐานะความมั่งมีของตนเอง ๒. การไปร่วมพิธีการแต่งงาน ชาติพันธุ์น่านศึกษา

223


๓. การไปร่วมงานอื่น ๆ ๔. การไปร่วมงานศพ

๑๒. ประเพณีการแต่งงาน การเกี้ยวพาราสีในสมัยโบราณ หนุ่มสาวชาวม้งห้ามเกี้ยวพาราสีกันในบ้าน เพราะจะผิดผี ฉะนั้น หนุ่มสาวจึงมักเกี้ยวพาราสีกันนอกบ้าน ใกล้ ๆ หมู่บ้าน ในตอน เย็นพวกหนุม่ ๆ จะหอบผ้าห่มคนละผืน ไปอยูน่ อกบ้านของสาวคนรัก เมือ่ พบว่าพ่อแม่ ของสาวนอนหลับแล้ว หนุ่มคนรักจะเข้าไปอยู่ข้าง ๆ ห้องนอนของสาว จะกระซิบเรียก เบา ๆ ให้สาวคนรักออกมาเพื่อไปพลอดรักกันนอกบ้าน บางทีก็จะใช้เครื่องดนตรีที่ เรียกว่า “จาง” เป่าเบา ๆ เรียกสาวออกมา ถ้าการกระซิบเสียงดัง พ่อแม่ได้ยนิ ก็จะดุดา่ หนุม่ ฝ่ายหนุม่ จะนัง่ เงียบไม่ให้ตอบ ถ้าตอบจะถูกปรับเป็นเงิน ๔ เท (ประมาณ ๔๐ บาท) ประเพณีปีใหม่ม้ง ประเพณีขึ้นปีใหม่หรือประเพณีฉลองปีใหม่ ซึ่งเป็นงานรื่นเริงของชาวม้งของ ทุก ๆ ปี จะจัดขึ้นหลังจากได้เก็บเกี่ยวผลผลิตในรอบปีเรียบร้อย และเป็นการฉลองถึง ความส�ำเร็จในการเพาะปลูกของแต่ละปี ซึ่งจะต้องท�ำพิธีบูชาถึงผีฟ้า - ผีป่า – ผีบ้าน ที่ ให้ความคุ้มครอง และดูแลความสุขส�ำราญตลอดทั้งปี รวมถึงผลผลิตที่ได้ในรอบปีด้วย ซึง่ แต่ละหมูบ่ า้ นจะท�ำการฉลองกันอย่างพร้อมเพรียงกัน หรือตามวัน และเวลาทีส่ ะดวก ของแต่ละหมูบ่ า้ น ซึง่ โดยมากจะอยูใ่ นช่วงเดือนธันวาคมของทุกปี ประเพณีฉลองปีใหม่ ม้งนี้ชาว ม้งเรียกกันว่า “น่อเป๊โจ่วฮ์” แปลตรงตัวได้ว่า “กินสามสิบ” สืบเนื่องจาก ชาวม้งจะนับช่วงเวลาตามจันทรคติ โดยจะเริ่มนับตั้งแต่ขึ้น ๑ ค�่ำ ไปจนถึง ๓๐ ค�่ำ (ซึ่ง ตามปฏิทนิ จันทรคติจะแบ่งออกเป็นข้างขึน้ ๑๕ ค�ำ่ และข้างแรม ๑๕ ค�ำ่ ) เมือ่ ครบ ๓๐ ค�ำ่ จึงนับเป็น ๑ เดือน ดังนั้นในวันสุดท้าย (๓๐ ค�่ำ) ของเดือนสุดท้าย(เดือนที่ ๑๒) ของปี จึงถือได้วา่ เป็นวันส่งท้ายปีเก่า ช่วงวันฉลองปีใหม่สว่ นใหญ่จะตกอยูป่ ระมาณช่วงเดือน พฤศจิกายน ถึงเดือนมกราคม ในวันดังกล่าวหัวหน้าครัวเรือนของแต่ละบ้าน จะประกอบ พิธกี รรมทางศาสนา เพือ่ ความเป็นสิรมิ งคลของครัวเรือน ถัดจากวันส่งท้ายปีเก่าไป ๓ วัน คือวันขึ้น ๑ ค�่ำ ๒ ค�่ำและ ๓ ค�่ำของเดือนหนึ่ง จัดเป็นวันฉลองปีใหม่อย่างเป็นทางการ ซึง่ ทุกคนจะหยุดหน้าทีก่ ารงานทุกอย่างในช่วงวันดังกล่าวนี้ และจะมีการจัดการละเล่น ต่าง ๆ ในงานขึ้นปีใหม่ เช่น การละเล่นลูกช่วง การตีลูกข่าง การร้องเพลงม้ง

224ชาติพันธุ์น่านศึกษา


พิธีกรรม

การเกิด ในอดีตม้งมีความเชือ่ ว่า การตัง้ ครรภ์เกิดจากผีพอ่ ผีแม่ให้เด็กมาเกิด เวลาใกล้ คลอดหญิงมีครรภ์จะไม่ไปไหนมาไหนโดยล�ำพัง จะต้องมีเพื่อนไปด้วยอย่างน้อย ๑ คน การคลอดบุตรเป็นไปตามธรรมชาติ โดยหญิงตั้งครรภ์จะนั่งอยู่บนม้านั่งขนาดเล็ก หน้าห้องนอนเอนตัวพิงสามี ปิดประตูบ้านห้ามเด็กเข้าไปยุ่งในบ้าน หลังจากคลอดเสร็จจะท�ำความสะอาดเด็ก ตัดรกด้วยกรรไกร ถ้าเป็นเด็กชาย จะน�ำรกไปฝังไว้ที่เสากลางบ้าน ซึ่งเป็นเสาที่มีผีเสาสถิตอยู่ เพราะเด็กผู้ชายควรจะรู้ เรื่องผี ถ้าบุตรเป็นหญิงจะฝังรกไว้ใต้แคร่นอนของมารดา เพราะต้องการให้ลูกสาวรู้จัก รักนวลสงวนตัว และรู้จักการบ้านการเรือน เด็กที่เกิดได้ ๓ วัน บิดาจะท�ำพิธีตั้งชื่อ โดยต้องน�ำไก่มาเซ่นไหว้ผีบรรพบุรุษ ๒ ตัวและขอบคุณผีพ่อผีแม่ที่ส่งเด็กมาเกิด พร้อมทั้งบอกผีบ้านขอให้คุ้มครองเด็ก และรับไว้เป็นสมาชิกของครอบครัวของวงศ์ตระกูล ม้งเชื่อว่าถ้าเด็กที่เกิดมายังไม่ครบ ๓ วัน ยังไม่เป็นมนุษย์ หรือยังเป็นลูกผีอยู่ จึงยังไม่ตั้งชื่อให้ หากเด็กนั้นตายลงจะไม่ท�ำบุญศพให้ตามประเพณี และสามารถน�ำไป ฝังได้เลย ในปัจจุบันนี้ม้งที่เป็นผู้เฒ่า ผู้ใหญ่บางคนยังมีความเชื่อนี้อยู่ แต่ม้งที่ได้รับ การศึกษา จะไม่ค่อยมีความเชื่อเช่นนี้ แต่เด็กหรือบุตรที่เกิดมาจะต้องมีการท�ำพิธีตาม ประเพณีของม้งทุกประการ ส่วนการเกิดในปัจจุบนั นี้ ส่วนใหญ่จะไปคลอดทีโ่ รงพยาบาล เท่านั้น ม้งจะไม่คลอดเองตามธรรมชาติ เนื่องจากเกรงว่าอาจจะเกิดอันตรายต่อหญิง ตั้งครรภ์ได้ด้วย การตาย ม้งเชื่อว่าพิธีศพที่ครบถ้วนถูกต้อง จึงจะส่งวิญญาณผู้ตายไปสู่สุคติ และควรที่ จะตายในบ้านของตน หรือบ้านญาติกย็ งั ดี เมือ่ ทราบแน่ชดั ว่าบุคคลนัน้ ใกล้เสียชีวติ แล้ว บรรดาญาติสนิทจะมาชุมนุมพร้อมเพียงกัน เพือ่ ทีจ่ ะได้มาดูแลคนทีใ่ กล้จะเสียชีวติ ม้งมี ความเชื่อว่าการตายในบ้านของตนเองนั้นเป็นผู้มีบุญมาก เพราะได้เห็นลูกหลานของ ตนเองก่อนตาย ผู้ตายจะได้นอนตายตาหลับพร้อมกับหมด ห่วงทุกอย่าง เมื่อแน่ใจว่า สิ้นลมหายใจแล้ว ญาติจะยิงปืนขึ้นไปบนฟ้า ๓ นัด เป็นสัญญาณบอกว่ามีการตายเกิด ขึ้นในบ้านหลังนั้น ชาติพันธุ์น่านศึกษา

225


การท�ำผี หรือการลงผี (การอั๊วเน้ง) เป็ น การรั ก ษาอี ก ประเภทหนึ่ ง ของม้ ง การอั๊ ว เน้ ง (การท� ำ ผี ห รื อ ลงผี ) การอัว๊ เน้งนัน้ มีอยู่ ๓ ประเภท คือ การอัว๊ เน้งข่อยชัว๊ ะ การอัว๊ เน้งเกร่ทงั่ การอัว๊ เน้งไซใย่ ซึ่งการอั๊วเน้งแตกต่างกันออกไป การรักษาก็แตกต่างกันไปด้วย การจะอั๊วเน้งได้เมื่อมี คนในครอบครัวเจ็บป่วยโดยไม่รู้สาเหตุเป็น การรักษาอีกประเภทหนึ่ง ดังนั้นม้งมักจะ นิยมอั๊วเน้งเพื่อการเรียก ขวัญที่หายไปหรือมีผีพาไปให้กลับคืนมาเท่านั้น ซึ่งม้งเชื่อว่า การเจ็บป่วยเกิดจากขวัญที่อยู่ในตัวหายไป เครื่องมือท�ำผี ๑. ไม้คู่เสี่ยงทาย (กั๊วะ) ท�ำมาจากไม้หรือเขาสัตว์ต่าง ๆ มีลักษณะพิเศษ คือ หากว่าท�ำจากไม้ ไม้นั้น จะต้อง เป็นหน่อไม้ที่โผล่พ้นจากดินนิดหนึ่ง จึงจะตัดเอาไปท�ำไม้คู่เสี่ยงทายได้ แต่ถ้า ท�ำจากเขาสัตว์ จะต้องเป็นเขาสัตว์ที่แก่ตายเอง เพราะม้งมีความเชื่อว่า กั๊วะ นั้นเป็น เครื่องมือในการสื่อสารกับผีปู่ผีย่า ดังนั้นจะต้องมีความศักดิ์สิทธิ์และมี ความแม่นย�ำ ในการติดต่อสื่อสาร ดังนั้น ม้งจึงไม่นิยมท�ำไม้คู่เสี่ยงทายจาก เขาสัตว์ที่ถูกยิงตาย กั๊วะเป็นเครื่องมือ ในการสื่อสารระหว่างคนกับผีปู่-ผีย่าได้ทุกกรณี การใช้กั๊วะติดต่อระหว่างคนกับผี โดยทั่ว ๆ ไปนั้น สามารถที่จะปรากฏผลดังนี้ คือ • ถ้าหงายทั้งคู่ หมายถึงภาษาคนติดต่อกับผีหรือคนตายไม่ได้ • ถ้าคว�่ำทั้งคู่ หมายถึง ภาษาคนติดต่อกับผีหรือคนตายได้แต่ผีไม่ยอมรับ • ถ้าคว�่ำอัน หงายอัน หมายถึง สามารถติดต่อกับผีได้ และผีก็ยอมรับเอา ของนั้น ๆ ไปกินไปใช้ด้วย (กั๊วะ ใช้ส�ำหรับอั๊วเน้งเท่านั้น) ๒. ฆ้อง (จั๊วะเน้ง) เป็นอุปกรณ์อย่างหนึ่งที่ม้งใช้ในการประกอบพิธีการท�ำผี หรือการอั๊วเน้ง ซึ่ง อุปกรณ์ชนิดนี้มีความส�ำคัญมาก ในการท�ำผีจะขาดไม่ได้เลย และเป็นสัญณาณในการ บ่งบอกว่ามีการอัว๊ เน้งเกิดขึน้ หากได้ยนิ เสียงฆ้อง (จัว๊ เน้ง) นีก้ แ็ สดงว่าบ้านหลังนัน้ มีการ อั๊วเน้ง เพื่อรักษาคนป่วยในครอบครัวนั้น ซึ่งในปัจจุบันนี้ก็ยังใช้อยู่ แต่ละขั้นตอนใน การท�ำผีจะลดขบวนการลงไปบ้าง ในส่วนที่ไม่ส�ำคัญเท่าไรนัก แต่จะยึดในส่วนที่ส�ำคัญ ไว้เท่านั้น

226ชาติพันธุ์น่านศึกษา


๓. เก้าอี้ในการนั่งท�ำผี (จ๋องเน้ง) เป็นอุปกรณ์ที่คนม้งใช้ในการท�ำผีหรือการอั๊วเน้ง ซึ่งการท�ำผีทุกครั้งจะต้องมี เก้าอีส้ ำ� หรับคนทีเ่ ป็นพ่อหมอนัง่ ขณะท�ำผี เพือ่ ช่วยลดความเมือ่ ยล้าของพ่อหมอ ในการ ท�ำผีหรือการอัวะเน้ง ซึ่งเก้าอี้หรือจ๋องเน้งนั้นมีความส�ำคัญมากในการอั๊วเน้งจะขาดไม่ ได้ และเก้าอี้ในการนั่งท�ำผีนั้นจะช่วยให้พ่อหมอมี สมาธิในการท�ำผีดีขึ้น ซึ่งปัจจุบันนี้ ม้งยังใช้ในการอั๊วเน้งอยู่ ไม่ได้สูญหายไป ๔. เหรียญกษัตริย์ (จื้อเน้ง) เป็นอุปกรณ์อย่างหนึง่ ทีม่ ง้ ใช้ในการท�ำผี (อัว๊ เน้ง) ซึง่ เหรียญกษัตริย์ หรือจือ้ เน้ง นัน้ เป็นหัวใจส�ำคัญในการติดต่อสือ่ สารระหว่างโลกมนุษย์กบั ยมโลก ซึง่ ม้งจะท�ำพิธที ำ� ผี (อั๊วเน้ง) แต่ละครั้งนั้นเป็นการรักษาโรคต่าง ๆ ของผู้ป่วย ดังนั้นม้งจ�ำเป็นต้องมีเหรียญ กษัตริย์นี้ เพื่อในการติดต่อกับยมโลก หรือถือได้ว่าเป็นอุปกรณ์ส�ำหรับในการเดินผ่าน ด่าน แต่ละด่านเพื่อเข้าไปถึง ยมโลก และตกลงกับยมโลก เพื่อที่จะให้ยมโลกยอมรับ เงือ่ นไขต่าง ๆ ซึง่ เงือ่ นไขนัน้ ก็จะมีอยูว่ า่ ถ้ายมโลกยอมรับ เงือ่ นไขแล้วจะบ�ำเหน็จรางวัล ให้กบั ยมโลก หรือผีปู่ ผียา่ ต่าง แต่ผตี า่ งเหล่านีต้ อ้ งท�ำให้คนป่วยนัน้ หายจากโรคเหล่าโรค ทีเ่ ป็นอยู่ ฉะนัน้ การอัว๊ เน้งของม้งจะขาดเหรียญกษัตริยไ์ ม่ได้เลย มีความจ�ำเป็นมาก ซึง่ ในปัจจุบันนี้ม้งยังคงใช้อยู่ และยังคงประกอบพิธีกรรมในการรักษาคนป่วยเหล่านี้อยู่

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

227


ข้อมูลกลุ่มภูมิปัญญา ปราชญ์ชุมชน

นายสมพล เล่าสัจจะสกุล ที่อยู่ ๗/๗ ต.ศรีภูมิ อ.ท่าวังผา จ.น่าน ความสามารถ จักสาน พ่อหมอในวัฒนธรรมประเพณี

นายมงคล เพชรรัตนพันธ์ ที่อยู่ ๔ /๗ ต.ศรีภูมิ อ.ท่าวังผา จ.น่าน ความสามารถ เป็นผู้ประกอบพิธีกรรม เช่น ท�ำผี สะเดาะเคราะห์ สู่ขวัญ เป่าแคน

นายเต๋ง แซ่จ๊ะ ที่อยู่ ๒๘/๗ ต.ศรีภูมิ อ.ท่าวังผา จ.น่าน ความสามารถ ท�ำผี ตีมีด ท�ำปืน ท�ำธนู พ่อหมอในวัฒนธรรมประเพณี

228ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ชนิดพันธุ์พืชศึกษาคือ ไผ่ช้าง

จากการสัมภาษณ์ผเู้ ฒ่าผูแ้ ก่ ให้ประวัตไิ ผ่ชา้ งว่าเจ้าหน้าทีน่ ำ� ไผ่ชา้ งมาปลูกก่อน หลังจากนั้นชาวบ้านก็ได้น�ำมาเพาะพันธุ์และปลูกในพื้นที่บ้านของตนเองปลูกมานาน แล้ว ชาวม้งบ้านดอยติ้วเรียกไผ่ช้างอีกชื่อว่า ไผ่หนานจ๋อ เป็นไผ่ที่มีหน่อขนาดใหญ่ ที่สุดในประเทศไทย มีความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ เหมาะที่จะปลูกเป็นพืชเศรษฐกิจมาก ทีส่ ดุ ให้หน่อใหญ่เนือ้ มาก ใช้ในอุตสาหกรรมแปรรูปหน่อไม้ดอง หน่อไม้อบแห้ง หน่อไม้ กระป๋อง ส่วนล�ำต้นมีความใหญ่อลังการ สามารถปลูกโชว์ในรีสอร์ท โรงเรียน วัด สถาน ที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ ให้มีความสนใจความสวยงามได้ดี ส่วนล�ำไม้เหมาะใช้ท�ำเฟอร์นิเจอร์ ที่สวยงามอลังการ ลักษณะไผ่ช้างบ้านดอยติ้ว เป็นไผ่ใหญ่ยักษ์มาก ในบรรดาไผ่ด้วยกัน หากสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม จะโตเร็ว ล�ำยาว เรียวตรง ไม่มีขน เนื้อมีความหนา ๑ - ๓ เซนติเมตร น�้ำหนักต่อล�ำ ๒๐๐ - ๔๐๐ กิโลกรัม หน่อโตเต็มที่ชั่งได้ ๔๐ - ๗๐ กิโลกรัม รสชาติอร่อย ปรุงอาหาร ได้หลากหลายเมนู เนื้อไม้ใช้ประโยชน์ได้ดี โดยเฉพาะการท�ำเฟอร์นิเจอร์ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

229


กรอบคิดในการศึกษา การศึกษาเชิงส�ำรวจโดยกลุ่มนักเรียน ในรูปแบบ สภา ชาติพันธุ์ม้งการกลับบ้านอย่างมีความหมาย (กรณีศึกษาชุมชนบ้านดอยติ้ว) การศึกษาในครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีวิจัยด้วยกระบวนทัศน์ เชิงปรัชญา จัดล�ำดับข้อมูลด้วยวิธีพรรณนาวิเคราะห์ มุ่งเน้นการจัดเก็บระบบข้อมูล ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวม้งในชุมชนบ้านดอยติ้ว อ�ำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน ด้าน โลกทัศน์และความเชื่อจากภาคสนามเป็นหลักโดยการสังเกตและสัมภาษณ์ผู้รู้ที่เป็น ปราชญ์ชาวบ้าน และหมอทรงผู้ประกอบพิธีกรรม และการค้นคว้าเอกสารและงาน วิจัยที่เกี่ยวข้องในด้านปรัชญา โลกทัศน์ ความ เชื่อ และประเพณีพิธีกรรมประกอบ การวิเคราะห์เพื่อให้งานวิจัยเชิงโครงงานศึกกาษาของนักเรียนมีความสมบูรณ์และ ถูกต้องตามหลักวิชาการ ประชากรตัวอย่าง คือ ผู้รู้ ปราชญ์ชาวบ้าน และผู้ประกอบพิธีกรรมตาม ความเชื่อมาอย่างต่อเนื่องซึ่งมีความรู้ความเชี่ยวชาญในประเพณีและพิธีกรรมตาม ความเชื่อเป็นอย่างดี จ�ำนวน ๒๐ คน ภายในชุมชนบ้านดอยติ้วการวิเคราะห์ข้อมูล โดยให้นักเรียนสรุปและเก็บข้อมูลในชุมชนและน�ำกลับมาวิภาคสรุปร่วมกันพร้อมทั้ง ชวนนักเรียนท�ำการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยงข้อง น�ำข้อมูลทีไ่ ด้จากการสัมภาษณ์ การสังเกตการณ์ในภาคสนามมาแยกวิเคราะห์จดั หมวด หมู่ ถอดค�ำสัมภาษณ์ผรู้ แู้ ละหมอทรงมาเรียบเรียงและลงรายละเอียดแนวคิดและวิธคี ดิ ด้านภูมิปัญญาของแต่ละคน ทั้งข้อมูลเชิงต�ำนาน ประวัติศาสตร์ ของชาติพันธุ์ม้ง และ บรรยายด้วยวิธีการพรรณา วิเคราะห์ สรุป อภิปรายผล และวิจารณ์ผลการศึกษา ๑. สรุปผลการศึกษา ๑.๑ ความเชื่อเชิงอภิปรัชญาของชาวม้ง ชาวม้งในชุมชนบ้านดอยติ้ว มีความเชื่อในเรื่องโลก (จักรวาล) ธรรมชาติ และ มนุษย์วา่ ถูกสร้างโดยเทพเจ้า (เซ้า) ซึง่ สถิตอยูใ่ นโลกอืน่ เซ้าเป็นเทพเจ้าผูม้ เี มตตากรุณา และคอยให้ ค�ำแนะน�ำปรึกษาชีแ้ นะแก่ชาวบ้านทัง้ หลายเวลาเกิดปัญหาหรือเรือ่ งร้าย ๆ ขึน้ ในครอบครัวและ ชุมชน แต่เซ้าไม่ใช่เทพทีช่ าวม้งต้องเคารพย�ำเกรงแต่อย่างใด เนือ่ ง จากชาวม้งเชื่อว่า เซ้าเมื่อสร้าง โลกและมนุษย์เสร็จ ก็ไม่ได้ก�ำหนดให้มนุษย์ต้องด�ำเนิน ชีวิตตามที่ท่านประสงค์แต่อย่างใด เซ้าจึงไม่มีความผูกพันกับมนุษย์ตั้งแต่เกิดจนตาย

230ชาติพันธุ์น่านศึกษา


หรือสามารถให้คุณให้โทษกับมนุษย์ได้โดยตรง แต่เซ้า ก็เป็นที่พึ่งให้กับมนุษย์ได้ใน กรณีที่เกิดอุปสรรคปัญหาหรือภัยอันตรายขึ้นกับมนุษย์ ท่านก็จะให้ ค�ำแนะน�ำปรึกษา เพือ่ ให้ผา่ นพ้นจากอุปสรรคปัญหาหรือภัยอันตรายเหล่านัน้ ซึง่ แนวคิดดังกล่าว จัดเป็น แนวคิดกลุม่ วิญญาณนิยม คือเชือ่ ว่าสรรพสิง่ เกิดขึน้ ด�ำเนินเคลือ่ นไหวไปตามอ�ำนาจของ สิ่งเหนือธรรมชาติ ส�ำหรับชาวม้งแล้ว ผีบรรพบุรุษ คือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ทุกคนต้องเคารพ ย�ำเกรงและกราบไหว้เซ่นสรวงบูชาไม่ให้ขาดตกบกพร่อง ในฐานะที่ผีเหล่านี้สามารถ ให้คุณให้โทษกับชาวม้งได้ และเป็นผู้มีพระคุณของชาวม้งเมื่อครั้งท่านยังมีชีวิตอยู่ การเซ่นสรวงบูชาผีบรรพบุรุษจึงปรากฏ ใน ๒ ลักษณะ คือ ๑) เพื่อเป็นการระลึกถึงพระคุณผีในฐานะที่เป็นผู้สร้างบ้านเรือน สร้างชุมชน และสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้เกิดมีขึ้นในบ้านและชุมชน ๒) เพื่อขอให้ผีเหล่านี้ปกป้องคุ้มครองดูแลไม่ให้ผู้คนในชุมชนประสบภัย อันตราย หรืออุปสรรคปัญหาต่าง ๆ เช่น ความเจ็บป่วย เป็นต้น ในการด�ำเนินชีวิตและ การประกอบอาชีพเกษตรกรรมและการท�ำมาค้าขายต่าง ๆ ตลอดจน ให้มีความเจริญ รุง่ เรืองในชีวติ ครอบครัว ชุมชน และสังคมของชาวม้ง การทีช่ าวม้งจะสือ่ สารกับโลกแห่ง ผีได้นั้นต้องอาศัยหมอทรง หมอทรงคือผู้เชื่อมประสานระหว่างโลกแห่งผีกับโลกมนุษย์ เป็นผู้น�ำสารของมนุษย์ไปบอกกล่าวเพื่อให้ผีทราบ ว่ามนุษย์ต้องการอะไร อยากให้ผี ช่วยเหลือหรือเยียวยาแก้ไขในเรื่องอะไรที่มนุษย์ก�ำลังมีความทุกข์ ร้อนอันเกิดจากเหตุ เภทภัยหรือขึดที่เกิดขึ้นกับบุคคลหรือชุมชนหมู่บ้าน ผีก็จะให้ความช่วยเหลือ แก่เหล่า มนุษย์ โดยมีข้อแม้ว่ามนุษย์จะต้องเซ่นไหว้บูชาด้วยสัตว์ คือ หมู ไก่ หรือวัว ตามแต่ที่ มนุษย์ ได้บนเอาไว้ เพือ่ แลกกับความสุขสบายหรือสามารถผ่านพ้นจากภัยพิบตั หิ รือขึด ทีผ่ คู้ นหรือชุมชน ก�ำลังเผชิญอยูใ่ นขณะนัน้ ความเชือ่ ทีช่ าวม้งเชือ่ อย่างสนิทใจ คือความ เชื่อเรื่อง ขวัญ ขวัญคือวิญญาณ ซึ่ง หมายถึงกระบวนชีวิตทั้งหมดของมนุษย์ มนุษย์ ด�ำเนินเคลื่อนไหวและท�ำกิจกรรมทุกอย่างได้โดยมี ขวัญเป็นรากฐาน ขวัญจึงเปรียบ เสมือนสมองหรือเครื่องจักรตามแนวคิดของจักรกลนิยม เพียงแต่ ขวัญเป็นมากกว่า เครือ่ งจักร ขวัญคือชีวติ ทีเ่ มือ่ ร่างกายแตกดับไปแล้ว ก็ยงั สามารถไปเกิดในโลกแห่งผีได้ ไปเกิดในภพภูมิใหม่ตามกรรมดีกรรมชั่วที่แต่ละคนกระท�ำไว้ในปัจจุบันชาติได้ และไป เป็นผีบรรพบุรษุ เพือ่ คอยปกป้องคุม้ ครองดูแลลูกหลานได้ เพราะฉะนัน้ เมือ่ ขวัญหนีหรือ ขวัญเสีย เพราะมนุษย์เผลอไปลบหลู่ดูหมิ่นผีบรรพบุรุษ หรือถูกผีร้ายกลั่นแกล้งหมาย เอาชีวิต ชาวม้งจึงท�ำพิธีอัวเน้ง เพื่ออ้อนวอนบูชาผีให้คืนขวัญหรือวิญญาณของมนุษย์ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

231


กลับคืนมาสูร่ า่ ง และตอบแทนด้วย การมอบขวัญหรือวิญญาณของสัตว์คอื หมู ไก่ หรือ วัวให้กับผีเป็นการแลกเปลี่ยน ๑.๒ ความเชื่อเชิงจริยศาสตร์ของชาวม้งในชมุชนดอยติ้ว ชาวม้งในชุมชนดอยติว้ มีความเชือ่ เรือ่ งผีเป็นรากฐานในการด�ำเนินชีวติ เพราะ ฉะนั้น ในกระบวนชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย จึงต้องมีหลักส�ำหรับด�ำเนินชีวิตเพือ่ ให้ถูกต้อง ตามหลักความเชื่อนั้นด้วย ซึ่งหลักความประพฤติดังกล่าวถือเป็นหลักคุณธรรมและ จริยธรรม ทีท่ กุ คนต้องปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัดและมีโทษก�ำกับ ตัง้ แต่รา้ ยแรงสูงสุดคือ อาจถึงแก่ความตายเพราะผีท�ำร้าย และระดับเบาคือถูกต�ำหนิและตักเตือนโดยผู้น�ำใน ชุมชน ซึง่ แนวคิดเชิงจริยศาสตร์แบบนีอ้ ยู่ ในรูปของจารีตประเพณีทปี่ ฏิบตั สิ บื ต่อกันมา อย่างไม่ขาดสาย จัดเป็นแนวคิดแบบสัมพัทธนิยม คือ แนวคิดทีว่ า่ ความดี ความชัว่ ความถูก ความผิด ไม่เป็นสิ่งแน่นอนตายตัวอย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด หากอยู่ที่เงื่อนไขของสังคม นั้น ๆ ว่าสิ่งที่แต่ละคนกระท�ำนั้นเป็นสิ่งถูกหรือผิด ซึ่งก็เป็นไปตามกฎเกณฑ์ ระเบียบ แบบแผนตามที่จารีตนั้น ๆ วางเอาไว้ แนวคิดเชิงจริยศาสตร์ในระดับปัจเจก ชาวม้ง จะมีหลักการด�ำเนินชีวิตผูกพันอยู่กับครอบครัว เพราะถือว่าครอบครัวคือศูนย์กลาง แห่งจักรวาล เป็นสถานทีเ่ ชือ่ มต่อระหว่างโลก มนุษย์กบั โลกแห่งผี เพราะฉะนัน้ ชาวม้ง จึงสอนให้ลูกหลานเคารพ บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ตามล�ำดับ รุ่นอย่างเคร่งครัด ไม่ลบหลู่ดูหมิ่นผู้อาวุโส ไม่ให้ร้ายพี่น้อง ให้มีความรักความสามัคคีระหว่างกัน ของคน ในครอบครัว ให้ช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหว่างเครือญาติ พี่น้องจะต้องไม่ทะเลาะเบาะ แว้งกัน และช่วยเหลือกิจการงานกันอย่างเต็มที่ และไม่ทอดทิง้ กัน ส่วนสามีภรรยาต้อง รักและให้เกียรติกัน ต้องช่วยกันท�ำมาหากิน ไม่งอมืองอเท้า ชีวิตคู่ถึงจะมีความเจริญ รุ่งเรือง ส�ำหรับแนวคิดเชิงจริยศาสตร์ในระดับชุมชนนัน้ ชาวม้งในชุมชนดอยติว้ เชือ่ ใน หลักการปกครองตามล�ำดับอาวุโสเป็นหลัก คือการเคารพเชือ่ ฟังให้เกียรติผทู้ สี่ งู วัยกว่า และนับถือกันตามแซ่ตระกูลอย่างเคร่งครัด ซึง่ หลักการเชือ่ ฟังผูอ้ าวุโสนีเ้ อง ทีท่ ำ� ให้ชาวม้ง สามารถเรียนรู้ และสืบทอดภูมปิ ญ ั ญาทีเ่ ป็นวิถแี ห่งม้งมาได้จนถึงปัจจุบนั เพราะผูอ้ าวุโส จะเป็นแบบอย่างในการปฏิบัติตนตามหลักความเชื่อ และน�ำพาคนอื่น ๆ ให้เรียนรู้และ ปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัด รวมถึงการตัดสินคดีหรือข้อขัดแย้งต่าง ๆ ภายในชุมชน ชาวม้ง ก็จะถือเอาค�ำตัดสินของผู้อาวุโสสูงสุดซึ่งทุกคน เคารพนับถือเป็นที่ยุติ ทั้งฝ่ายที่ชนะ และแพ้จะไม่มีการละเมิดค�ำตัดสินนั้น และยอมรับโดยดุษฎี ท�ำให้ชาวม้งในชุมชนดอย ติ้วและชาวม้งทั่วประเทศอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุขมาโดยตลอด

232ชาติพันธุ์น่านศึกษา


๑.๓ ความกลมกลืนของความเชื่อสองกระแสคือความเชื่อทางศาสนากับ ความเชื่อแบบวิญญาณนิยมของชาวม้งในชุมชนดอยติ้ว ชาวม้งในชุมชนดอยติ้ว นับถือศาสนาพุทธเป็นหลัก และนับถือศาสนาคริสต์ บ้างอีกจ�ำนวนหนึ่ง ส�ำหรับชาวม้งที่นับถือศาสนาพุทธนั้น ไม่ได้มีการปฏิบัติตนตาม แนวทางแห่งพุทธศาสนิกชนปฏิบัติกันโดยทั่วไป เป็นเพียงการนับถือตามที่หน่วยงาน ภาครัฐแนะน�ำเวลาไป ติดต่อขอท�ำบัตรประชาชนเท่านั้นเอง จึงไม่มีความเข้าใจหลัก ค�ำสอนทางศาสนาพุทธว่าสอนเรือ่ ง อะไร มีเป้าหมายสูงสุดคืออะไร มนุษย์ตอ้ งปฏิบตั ติ น อย่างไรจึงจะถือว่าเป็นบุญหรือบาป เป็นต้น หากชาวม้งที่เป็นชาวพุทธ ยังคงปฏิบัติตน ตามค�ำสอนของบรรพบุรุษเรื่องการกราบไหว้เซ่นสรวง บูชาผีบรรพบุรุษตามปกติ และ เชื่อว่า พระพุทธเจ้าน่าจะหมายถึงผีที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คล้าย ๆ เทพเจ้า (เซ้า) ตามความ เชื่อของชาวม้งนั่นเอง จะเห็นได้ว่า ชาวม้งในชุมชนดอยติ้วรักความสงบสันติ สามารถ อยู่ร่วมกันได้อย่างเป็นปกติสุข ถึงแม้จะมีความเชื่อที่แตกต่างกัน ม้งทุกคนยังคงรักษา คุณค่าแห่งวิญญาณนิยมใน เรือ่ งผีบรรพบุรษุ ว่าเป็นรากเหง้าแห่งวิถชี วี ติ ทีท่ กุ คนจะต้อง ตระหนักและด�ำรงรักษาคุณค่าทีเ่ ป็นอัตลักษณ์นไี้ ว้ตลอดไป ไม่วา่ ความเชือ่ ของคนรุน่ ใหม่ จะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร และจะผ่านเข้ามาสู่ชุมชนในรูปแบบใด ชาวม้งก็จะยังยึด มั่นในวิถีแห่งม้งเหมือนดังเช่นที่เคยปฏิบัติมา ในปัจจุบันชาวม้งก็มีการปรับเปลี่ยน การประกอบพิธีกรรมให้สามารถท�ำได้ในทุกฤดูกาล ไม่จ�ำเป็นต้องเป็น เดือนสิบเอ็ด เหมือนในอดีตที่ผ่านมา ซึ่งถือเป็นการปรับเปลี่ยนพิธีกรรมให้สามารถยืดหยุ่นได้ ไม่จ�ำเป็นต้องเคร่งครัดไปตามแบบอย่างของบรรพบุรุษที่เคยปฏิบัติมาตั้งแต่ครั้งอดีต ในขณะเดียวกันก็รกั ษาประเพณีเอาไว้ไม่ให้เลือนหายไปกับยุคสมัยทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง อย่างรวดเร็ว ส�ำหรับชาวม้งแล้ว แนวคิดสมัยใหม่สามารถกลืนปนอย่างกลมกลืนเข้ากับ วิถี วัฒนธรรมดัง้ เดิมได้ และชาวม้งยินดีตอบรับกระแสวัฒนธรรมใหม่ทผี่ า่ นเข้ามากับลูก หลานม้งที่ไป เรียนหรือท�ำงานในสังคมเมือง กระแสวัฒนธรรมศาสนาที่ผ่านเข้ามาใน รูปความเชื่ออีกแบบหนึ่ง หรือกระแสโลกยุคโลกาภิวัฒน์ที่ผ่านเข้ามาในรูปความเจริญ รุ่งเรืองทางวัตถุ โดยชาวม้งมีความฉลาดในการเลือกเสพและปรับใช้กระแสวัฒนธรรม เหล่านัน้ ให้เข้ากันได้กบั วัฒนธรรมดัง้ เดิมของ ชาวม้งอย่างสนิทแนบแน่น และไม่ให้สญ ู เสีย อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมแต่อย่างใด

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

233


๒. อภิปรายผลและวิจารณ์ผลการศึกษา ๒.๑ ความเชื่อ : อัตลักษณ์ที่เป็นรากฐานความเข้มแข็งของชาวม้งในชุมชน ดอยติว้ ความเชือ่ ทีเ่ ป็นโลกทัศน์เชิงอภิปรัชญาทีว่ า่ เทพเจ้า (เซ้า) เป็นผูส้ ร้างโลก ธรรมชาติ และมนุษย์ โดยเทพเจ้า (เซ้า) น่าจะเป็นผีเช่นเดียวกับผีอนื่ ๆ มากกว่าจะเป็นเทพเจ้าตาม คติความเชือ่ ทางศาสนาทัว่ ไป และความเชือ่ เรือ่ งผีทงั้ หลายว่าเป็นสิง่ เหนือธรรมชาติทใี่ ห้ ทัง้ คุณ และโทษแก่เหล่ามนุษย์ โดยโลกแห่งผีไม่ได้ดำ� รงอยูอ่ ย่างอิสระแยกจากโลกมนุษย์ แต่ดำ� รงอยูอ่ กี มิตหิ นึง่ ทับซ้อนอยูใ่ นโลกมนุษย์นนั่ เอง ความเชือ่ ดังกล่าวน�ำไปสูแ่ นวคิด ที่ให้ชาวม้งต้องเซ่นสรวง บูชาผีเพื่อให้ผีโปรดปรานและน�ำความผาสุกมาให้ ชาวม้งเป็นกลุม่ ชนทีม่ พี ธิ กี รรมเฉพาะกลุม่ ในการเซ่นไหว้ผี โดยแบ่งผีออกเป็น สองพวก คือ ผีดี กับ ผีร้าย ผีดีคือเหล่าผีบรรพบุรุษที่สิงสถิตอยู่ภายในบ้านของชาว ม้งแต่ละครอบครัว ตั้งแต่ผีบรรพบุรุษ ผีเน้ง (ผีประจ�ำหิ้ง) ผีประจ�ำประตูหลัก (ผีเฝ้า ประตู) ผีประจ�ำเตาไฟ ใหญ่ เป็นต้น ส�ำหรับเครื่องที่ใช้ประกอบในพิธีเซ่นไหว้ผี ได้แก่ ธูป กระดาษเงิน กระดาษทอง และ หมู ไก่ หรือวัว (ตามแต่วา่ ได้บนสัตว์ประเภทใดไว้ใน การเซ่นไหว้ผ)ี ส�ำหรับผีรา้ ย ไม่ได้กล่าวถึง การเซ่นไหว้บชู า แต่เวลาทีถ่ กู ผีรา้ ยเบียดเบียน ท�ำร้าย ก็จะขอหมอทรงอัวเน้ง เพื่อให้ผีบรรพบุรุษ ช่วยเหลือแก้ไขให้หลุดพ้นจากเหตุ เภทภัยทีถ่ กู ท�ำร้ายนัน้ ซึง่ เครือ่ งประกอบในพิธกี รรมก็เหมือนกับ พิธเี ซ่นไหว้ผตี ามปกติ ส่วนความเชื่อที่เป็นโลกทัศน์เชิงจริยศาสตร์นั้น ก็มีผลมาจากความเชื่อเรื่อง ผีนั่นเอง ชาวม้งได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์ให้แต่ละคนประพฤติปฏิบัติตามไว้มาตั้งแต่ครั้ง บรรพกาลที่ด�ำรงเป็นชนเผ่า โดยแยกเป็นหลักจริยธรรมในการเคารพบูชาผี คือ การไม่ ลบหลูด่ หู มิน่ ผีทงั้ หลาย แต่ละครอบครัวต้องประกอบพิธเี ซ่นไหว้ผบี รรพบุรษุ เป็นประจ�ำ ทุกปี เพื่อเป็นการระลึกถึงพระคุณ ที่ผีเหล่านั้นปกป้องคุ้มครองสมาชิกในครอบครัวให้ อยู่เย็นเป็นสุข ป้องกันอันตรายจากผีร้าย และ สิ่งไม่ดี (ขึด) ทั้งหลาย และช่วยให้การ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมประสบผลส�ำเร็จเป็นอย่างดี ส�ำหรับหลักจริยธรรมส�ำหรับ ปฏิบตั ติ อ่ กันนัน้ ชาวม้งได้สงั่ สอนให้ลกู หลาน เคารพบิดามารดา ปูย่ า่ ตายาย และเคารพ นับถือผู้อาวุโส โดยนับถือกันตามล�ำดับแซ่ตระกูลอย่างเคร่งครัด พี่น้องต้องมีความรัก ความสามัคคีต่อกัน ต้องช่วยเหลือกันเวลามีกิจกรรมเกิดขึ้นใน ครอบครัวพี่หรือน้อง และต้องไม่ทอดทิ้งกัน สามีภรรยาต้องปฏิบัติต่อกันด้วยความรัก ต้องไม่ดูถูกกัน ต้อง ช่วยเหลือกิจการงานกัน ต้องช่วยกันท�ำมาหากิน และไม่ดุด่าว่ากล่าวกัน ส�ำหรับหลัก จริยธรรมในชุมชนนั้น ชาวม้งถือว่า ผู้อาวุโส คือ ผู้ที่ชาวม้งต้อง เคารพให้เกียรติ และ ปฏิบตั ติ ามค�ำสัง่ สอนของท่าน ชาวม้งจะนับถือกันตามล�ำดับแซ่ตระกูล โดยอาศัยความ

234ชาติพันธุ์น่านศึกษา


อาวุโสเป็นล�ำดับแรก หากเกิดคดีความหรือความขัดแย้งใด ๆ เกิดขึ้น จะต้องขอให้ผู้ อาวุโสทีแ่ ต่ละคนหรือแต่ละครอบครัวเคารพศรัทธาร่วมกันเป็นผูต้ ดั สิน เมือ่ ท่านตัดสิน ออกมาอย่างไรให้ถอื เป็นข้อยุติ ต้องปฏิบตั ติ ามและไม่นำ� มาเป็นประเด็นให้เกิดความขัด แย้งกันอีก ซึ่งเป็นการปกครองตามล�ำดับความอาวุโสที่ได้ผลดีเป็นอย่างยิ่ง ความเชื่อ เหล่านี้จัดเป็นอัตลักษณ์เฉพาะกลุ่มของชาวม้งในชุมชนดอยติ้ว ที่หล่อหลอมความเป็น ชนชาติม้งให้ด�ำรงชาติพันธุ์มาได้อย่างยาวนาน ท่ามกลางกระแสวัฒนธรรมภายนอกที่ หลั่งไหลเข้าสู่ชุมชนและท้าทายวิถีแห่งม้งมาโดยตลอด การที่ชาวม้งยังคงอัตลักษณ์ที่เป็นรูปแบบวิถีชีวิตตามคติความเชื่อต้านทาน กระแสโลกมาได้จนทุกวันนี้ แสดงให้เห็นว่าความเชือ่ เป็น รากฐานส�ำคัญทีช่ าวม้งเชือ่ ถือ ด้วยความบริสทุ ธิใ์ จ เพราะถึงแม้จะมีแนวคิดสมัยใหม่ทเี่ ชือ่ ถือและเสพติดในเทคโนโลยี ไหลบ่าเข้ามาสู่ชุมชนตามความเจริญของบ้านเมืองและผ่านมาทางลูกหลานที่ไปเรียน และท�ำงานในสังคมเมือง ก็ไม่อาจท�ำให้ความเชื่อดั้งเดิมสั่นคลอนแต่อย่างใด หากใน ความเป็นจริงชาวม้งในชุมชนหนองหอยยังคงยึดถือประเพณีเกีย่ วกับผีมาอย่างต่อเนือ่ ง เป็นประจ�ำทุกปี โดยแสดงออกผ่านประเพณีปใี หม่มง้ และประเพณีเซ่นไหว้ผบี รรพบุรษุ ที่ลูกหลานทุกคนจะต้องกลับมาร่วมพิธีแม้จะอยู่ที่แห่งใดก็ตาม ๒.๒ การผสานความเชื่อหลายกระแสเพื่อความเป็นเอกภาพของชาวม้งใน ชุมชนดอยติว้ ชาวม้งในชุมชนดอยติว้ ยึดถือปฏิบตั ติ ามคติความเชือ่ เรือ่ งผีตามแบบแผน ประเพณีที่บรรพบุรุษสืบทอดต่อกันมาอย่างยาวนาน แต่ต่อมาก็มีความเชื่อทางศาสนา พุทธ ความเชือ่ ทางศาสนาคริสต์ และความเชือ่ แบบบริโภคนิยมสมัยใหม่ไหลผ่านเข้ามา สูช่ มุ ชน ซึง่ วัฒนธรรมเหล่านีผ้ า่ นเข้ามาโดยบุคคลภายนอกทีเ่ ข้ามาติดต่อกับผูค้ นภายใน ชุมชน หรือจากการเข้ามาเผยแพร่ศาสนาของนักบวช หรือจากลูกหลานของชาวม้งที่ ไปศึกษาเล่าเรียนและท�ำงานในสังคมเมือง ซึ่งเมื่อมีชาวม้งภายในชุมชนเชื่อถือศรัทธา ศาสนาเหล่านัน้ หรือวัยรุน่ ม้งบางกลุม่ หลงใหลในกระแสบริโภคนิยม ท�ำให้กลุม่ ผูอ้ าวุโส (ผูร้ )ู้ พากันปรึกษาหารือเพือ่ รับมือกับกระแสวัฒนธรรมใหม่ ทัง้ นีเ้ พือ่ ไม่ให้วฒ ั นธรรมม้ง ดั้งเดิมเลือนหายและไม่ต่อต้านต่อวัฒนธรรมใหม่จนเกินพอดี จะเห็นได้ว่าชาวม้งใน ชุมชนดอยติ้วสามารถต้านทานกระแสความเชื่อหลาย กระแสที่ไหลผ่านเข้าสู่ชุมชนได้ เป็นอย่างดี ทั้งนี้โดยไม่จ�ำเป็นต้องใช้วิธีการรุนแรง หากแต่ยอมรับกระแสเหล่านั้น ใน ขณะเดียวกันก็ปลูกฝังให้ลูกหลานปฏิบัติตามคติความเชื่อแบบดั้งเดิมไม่ให้สูญหาย ซึ่ง ถือว่าเป็นการผสานความเชือ่ หลายกระแสให้เป็นจุดเน้นเพือ่ สร้างเอกภาพให้ชมุ ชนดอย ติ้วเกิดความเข้มแข็งมั่นคงขึ้นไปอีก ชาติพันธุ์น่านศึกษา

235


๓. ข้อเสนอแนะ ความเชื่อในชุมชนดอยติ้วถือเป็นอัตลักษณ์ที่โดดเด่นเฉพาะกลุ่มอย่างยิ่ง และมี อิทธิพลต่อวิถชี วี ติ ของชาวม้งทุกคน ซึง่ ปรากฏในรูปแบบประเพณีและพิธกี รรมทีช่ าวม้ง จัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี เช่น ประเพณีปีใหม่ม้ง ประเพณีเซ่นไหว้ผีบรรพบุรุษ ที่ชาวม้ง ทุกคนถือเป็นหน้าที่ที่จะต้องเข้าร่วมพิธีอย่างพร้อมเพียงตามแซ่ตระกูลของตน รวมถึง หลักจริยธรรมในการเชื่อถือศรัทธา ผู้อาวุโสตามล�ำดับแซ่ตระกูล และปกครองกันตาม ล�ำดับความอาวุโส ซึ่งอัตลักษณ์ทางความเชื่อดังกล่าวยังคงได้รับการปกป้องดูแลจาก รุ่นสู่รุ่นอย่างเหนียวแน่นอย่างนี้ เพราะอะไรรูปแบบแห่งอัตลักษณ์นี้ถูกถ่ายทอดใน ลักษณะใด และจะยังได้รับการรักษาเอาไว้โดยลูกหลานต่อไปอีกหรือไม่ เป็นเรื่องที่น่า สนใจอย่างยิ่งในการจะศึกษาวิจัยเกี่ยวกับอัตลักษณ์ของชาวม้งในชุมชนดอยติ้ว หรือ ชาวม้งในที่อื่น ตลอดจนกลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ ที่สามารถรักษาอัตลักษณ์เฉพาะกลุ่มเอา ไว้ได้อย่างเหนียวแน่น รวมถึงการท�ำวิจัยเปรียบเทียบอัตลักษณ์ระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ เพือ่ ให้เห็นวิวฒ ั นาการแห่งอัตลักษณ์ทรี่ กั ษาความเป็นชาติพนั ธุข์ องแต่ละกลุม่ ว่ามีความ เหมือนหรือแตกต่าง กันอย่างไรในการรักษาและการถ่ายทอดอัตลักษณ์ประจ�ำกลุม่ ตน ให้มั่นคงจนถึงปัจจุบัน

236ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ตอนที่ ๔ : เยาวชนเมี่ยน ถอดเป็นบทเรียนกับชุมชนเมี่ยน บ้านสันเจริญ อ.ท่าวังผา ๒๕ - ๒๖ ตุลาคม ๒๕๕๗ ตอน : สี่ชุมชนของฉัน การกลับบ้านอย่างมีความหมาย กรณีศึกษา ชนเผ่าเหมี่ยน (เหยา) เย้า ชุมชนสันเจริญ จังหวัดน่าน ยูนนาน กว่างซี กุย้ โจว ลักษณะเด่น ของการกระจายถิ่นฐานของชาวเหยาคือ อาศัยอยูก่ ระจัดกระจายมาก และในแต่ละ พื้นที่ก็มีจ�ำนวนประชากรไม่มาก จากการ ส� ำ รวจจ� ำ นวนประชากรครั้ ง ที่ ๕ ของ จีนในปี ๒๐๐๐ ชนกลุ่มน้อยเผ่าเหยา มี จ�ำนวนประชากรทั้งสิ้น ๒,๖๓๗,๔๒๑ คน พูดภาษาเหยา แต่การแบ่งสายตระกูล ภาษาค่อนข้างซับซ้อน เพราะภาษาใน แต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกันมาก ถึงขั้น ที่ภาษาเหยาในต่างพื้นที่กันไม่สามารถสื่อสารเข้าใจกันได้ บางกลุ่มพูดภาษาจีนและ ภาษาจ้วงไม่มีภาษาเขียน ส่วนใหญ่ใช้ภาษาจีน ปัจจุบันนักวิชาการจีนส่วนใหญ่มีแนว โน้มยอมรับการจัดกลุ่มภาษาเหยาว่า จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต สาขาภาษา เหมียว-เหยา (แม้ว-เย้า) เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของชาวเหยา มีความเชื่อหลากหลายทฤษฎี บ้าง เชือ่ ว่ามีกำ� เนิดมาจากชาว “ซานเยว่” (山越Shānyuè ค�ำนีม้ คี วามหมายว่า “ชาวเขา”) บ้างเชื่อว่ามาจากชาว “อู่ซีหมาน” (五溪蛮Wǔxī Mán) บ้างเชื่อว่าชาวเหยาเกิด จากชนหลายกลุม่ รวมตัวกัน แต่ทฤษฎีทเี่ ป็นทีน่ า่ เชือ่ ถือและเป็นทีย่ อมรับก็คอื ชาวเหยา ในปัจจุบันมีความสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์ใกล้ชิดกับชนเผ่าโบราณชื่อ “จิงหมาน” ( 荆蛮Jīnɡ Mán) และ “ฉางซาอู่หลิงหมาน” (长沙武陵 蛮Chánɡshā Wǔlínɡ Mán) หลังจากทีจ่ นิ๋ ซีฮอ่ งเต้รวมชนหลากหลายชาติพนั ธุเ์ ข้าเป็นประเทศ ได้สง่ ขุนนาง ชาวฮัน่ จากราชส�ำนักกลางเข้าสูพ่ นื้ ทีท่ มี่ ชี นกลุม่ น้อยต่าง ๆ อาศัยอยู่ ซึง่ ได้นำ� ความเจริญ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

237


ตลอดจนเครือ่ งไม้เครือ่ งมือและเทคโนโลยีการผลิตทีท่ นั สมัยเข้าไปเผยแพร่และถ่ายทอด ให้กับชนกลุ่มน้อย ในช่วงนี้ชาวอู่หลิงหมานที่เมืองฉางซาก็ได้รับความเจริญและได้รับ การพัฒนานี้ด้วยเช่นกัน จนถึงสมัยซีฮั่นชาวอู่หลิงหมานต้องส่งภาษีเข้าสู่ราชส�ำนัก ถึงสมัยโฮ่วฮัน่ (后汉Hòu Hàn) ชาวหมานยังคงต้องส่งภาษีให้ราชส�ำนักอยู่ ในสมัยนัน้ เรียกภาษีนว้ี า่ “ภาษีเหยา” ถึงรัชสมัยพระเจ้าหย่งเหอ หยวน (ค.ศ.๑๓๖) การเก็บภาษีจาก ชาวอูห่ ลิงหมานหนักหนาสาหัสมาก สร้างความไม่พอใจและความขัดแย้งเป็นอย่างมาก จนเกิดการลุกขึ้นต่อต้านอยู่หลายต่อหลายครั้ง ในสมัยหนานเป่ย (南北朝Nánběicháo) บรรพบุรษุ ของชาวเหยาได้ขยาย อาณาเขตตั้งถิ่นฐานกว้างใหญ่ออกไปกว่าเดิม ทิศตะวันออกจรดโซ่วชุน ( 寿春 Shòuchūn ปัจจุบันคือเขตมณฑลอานฮุย 安徽Ānhuī) ทิศตะวันตกจรดซ่างลั่ว (上洛Shànɡluò ปัจจุบนั คือเขตมณฑลส่านซี 陕西Shǎnxī) ทางตอนเหนือจรด หรูองิ่ (汝颍Rǔyǐnɡ ปัจจุบนั คือเขตตะวันออกของมณฑลเหอหนาน (河南东 部Hénán dōnɡbù) และตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑลอานฮุย 安徽西北部 Ānhuī xīběibù) ในยุคนี้ชาวฮั่นและเหยาติดต่อสัมพันธ์ทางการค้าและวัฒนธรรม กันอย่างใกล้ชดิ ในสมัยถังชาวเหยาตัง้ ถิน่ ฐานอยูบ่ ริเวณมณฑลหูหนาน (湖南Húnán) และมณฑลกว่างตง (广东 Guǎnɡdōnɡ) เป็นหลัก ส่วนกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีความ เกี่ยวข้องกับชาวเหยาชื่อ “โม่เหยาหมาน” (莫徭蛮Mòyáomán) ตั้งถิ่นฐานอยู่ บริเวณมณฑลกว่างซี ชาวโม่เหยาด�ำรงชีพด้วยการท�ำการเกษตร สมัยซ่งราชส�ำนักได้ ส่งขุนนางเข้าปกครอง ท�ำให้ชาวเหยาเริ่มเข้าสู่ระบบสังคมศักดินาในเวลาต่อมา ในสมัยหยวน หมิง และชิง ชาวเหยาตั้งถิ่นฐานแผ่ขยายออกไปกว่าเดิมมาก ครอบคลุมพื้นที่ต่าง ๆ ของมณฑลกว่างตง กว่างซี หูหนาน ยูนนาน กุ้ยโจว ด้วยเหตุ ที่ตั้งชุมชนกระจัดกระจายกันมากนี้เอง เป็นเหตุให้ระบบเศรษฐกิจของชาวเหยาจึงขึ้น อยู่กับการพัฒนาของถิ่นที่ตั้งนั้น ๆ บางแห่งพัฒนาไปอย่างรวดเร็วใกล้เคียงกับชาวฮั่น แต่บางแห่งก็ยังเป็นไปอย่างช้า ๆ ยังคงท�ำการเกษตรเลี้ยงสัตว์ ล่าสัตว์ กระทั่งบางแห่ง ยังคงด�ำรงชีวิตแบบสังคมบุพกาลอยู่ก็มี ผลจากการกดขี่ข่มเหงของสังคมศักดินา ชาวเหยาถูกไล่ล่าและถูกฆ่าล้างเผ่าพันธุ์จนต้องถอยร่นหนีกระจัดกระจายอพยพไป อยู่บริเวณประเทศเวียดนาม ลาว และไทย กระทั่งศตวรรษที่ ๒๐ มีชาวเหยาบางส่วน ได้รับความช่วยเหลือและได้อพยพไปเป็นพลเมืองของประเทศสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส และแคนนาดา

238ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ด้านเศรษฐกิจและสังคม การพัฒนาระบบเศรษฐกิจและสังคมของชาวเหยา ในยุคก่อนการก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นไปอย่างไม่สม�่ำเสมอและราบรื่นนัก ชาวเหยาในขณะนั้นด�ำรงชีพด้วยการท�ำการเกษตรเพาะปลูกเป็นหลัก และท�ำป่าไม้ เก็บของป่าเป็นอาชีพเสริม แต่ก็มีชาวเหยาบางกลุ่มที่อาศัยอยู่ในภูมิประเทศที่เป็นป่า เขาประกอบอาชีพป่าไม้ เก็บของป่าเป็นอาชีพหลัก แล้วท�ำการเกษตรเป็นอาชีพรองก็มี แต่ชาวเหยาจะประกอบอาชีพแบบพอกินพอใช้ในครอบครัวเท่านัน้ ไม่ได้ทำ� เพือ่ จ�ำหน่าย ถึงแม้วา่ งานหัตถกรรม อุตสาหกรรมขนาดเล็ก และการค้าได้มกี ารพัฒนาขึน้ มาบ้าง แต่ ก็ทำ� เป็นเพียงอาชีพเสริมของครอบครัวเท่านัน้ ระบบสังคมของชาวเหยาเริม่ พัฒนาเข้า สู่สังคมศักดินา เริ่มมีการถือครองกรรมสิทธิ์ที่ดินแล้ว ในบริเวณที่มีชาวเหยา ชาวจ้วง ชาวฮัน่ และชาวไตอาศัยอยูป่ ะปนกัน ทีด่ นิ ท�ำกินล้วนตกอยูใ่ นก�ำมือของชนเผ่าอืน่ ความ ขัดแย้งระหว่างชนชั้น และชนเผ่ามีความสลับซับซ้อนทวีความรุนแรงขึ้น อย่างเช่น ชาวเหยาที่ยูนนานตกอยู่ภายใต้การปกครองของชาวไตเป็นเวลานาน ชาวเหยาจึงมี ชีวิตอยู่ด้วยการพึ่งพาอาศัยและรับจ้างเป็นเบี้ยล่างให้กับชนชั้นปกครองมาโดยตลอด ชาวเหยาในบางพืน้ ทีโ่ ดยเพาะในพืน้ ทีห่ า่ งไกล การท�ำการเกษตรยังใช้เครือ่ งไม้ เครือ่ งมือแบบโบราณอยู่ ผลผลิตทีไ่ ด้ตำ�่ มาก ทีด่ นิ ท�ำกินก็เป็นกรรมสิทธิข์ องชนกลุม่ อืน่ ทีเ่ ข้มแข็งกว่า เช่น ชาวจ้วงและชาวฮัน่ ชาวเหยาต้องรับจ้างหรือเช่าทีด่ นิ จากชนสองกลุม่ นี้ ถู ก กดขี่ ข ่ ม เหงและขู ด รี ด อย่ า งหนั ก มี ที่ ดิ น ส่ ว นเล็ ก น้ อ ยที่ เ ป็ น ที่ ดิ น สาธารณะที่ สามารถใช้ ป ระโยชน์ ร ่ ว มกั น ในชุ ม ชน เช่ น ชุ ม ชนชาวเหยาที่ ห มู ่ บ ้ า นหนานตาน (南丹Nándān) มณฑลกว่างซี (广西Guǎnɡxī) เรียกชือ่ ทีด่ นิ นีว้ า่ “โหยวกัวตี”้ (油锅地Yóuɡuōdì) หรือ “โหยวกัวเถียน” (油锅田Yóuɡuōtián) มีความหมาย ตามภาษาเหยาว่า “หม้อข้าวของสายตระกูลพ่อ” ในทุก ๆ สายตระกูลของชาวเหยาประกอบไปด้วยครอบครัวย่อย ๆ นับสิบ ครอบครัว สมาชิกของ “โหยวกัวเถียน” มีหน้าที่ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีหน้าที่รักษา กฎข้อบังคับและขนบธรรมเนียมของกลุ่ม ในชุมชนชาวเหยามีธรรมเนียมการ “ยกย่อง ผู้อาวุโส” และธรรมเนียม “หลักศิลา” ซึ่งก็หมายถึงผู้มีอ�ำนาจสูงสุดของชนเผ่า มีหน้า ที่รับผิดชอบการรักษากฎระเบียบ แบบแผนธรรมเนียมประเพณี จัดการเกี่ยวกับชีวิต ความเป็นอยู่และการท�ำมาหากิน การรักษาความปลอดภัย ตลอดจนตัดสินคดีความ และข้อพิพาทต่างๆ เพื่อความอยู่ดีมีสุขของชุมชน ชาวเหยาจะร่วมกันคัดเลือกผู้ที่จะ มาเป็น “หลักศิลา” โดยจะคัดเลือกผูอ้ าวุโสทีเ่ ป็นทีย่ อมรับและเคารพนับถือของชุมชน ส่วนใหญ่ มีความบริสุทธิ์ยุติธรรม มีความรู้และประสบการณ์ที่หลากหลาย ชาติพันธุ์น่านศึกษา

239


ก่อนการก่อตัง้ สาธารณรัฐประชาชนจีน ชาวเหยาทีช่ มุ ชนจินซิว่ (金秀Jīnxiù) มณฑลกว่างซี (广西Guǎnɡxī) จารึกกฎระเบียบและขนบธรรมเนียมข้อปฏิบตั ขิ อง ชนเผ่าโดยการแกะสลักลงบนแผ่นศิลาหรือแผ่นไม้ ใช้เป็นกฎหมายที่ศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำ ชุมชน หากมีผู้กระท�ำความผิด ผู้ที่ท�ำหน้าที่เป็น “หลักศิลา” สามารถสืบสาวเอาความ และลงโทษตามบทบังคับแห่งหลักศิลาได้ บทลงโทษมีตั้งแต่ขั้นต�่ำจนถึงประหารชีวิต ต่อมาชนชัน้ ทางสังคมของชาวเหยาเริม่ แตกต่างและแบ่งแยกกันมากขึน้ ประกอบกับการ ปกครองของกว๋อหมินตัง่ มอบให้ “หลักศิลา” มีอำ� นาจหน้าทีใ่ นการปกครองชุมชน ในขณะ ที่หลักศิลาซึ่งนับได้ว่าเป็นชนชั้นสูงของชุมชนมิได้เป็นผู้มีความบริสุทธิ์ยุติธรรมดังเดิม แต่กลับใช้อ�ำนาจกดขี่รังแก ขูดรีดประชาชน เกิดการขัดแย้งและต่อต้านหลักศิลาขึ้น หลักศิลาไม่ได้เป็นผูท้ สี่ มาชิกชุมชนยอมรับนับถืออีกต่อไป ขนบปฏิบตั เิ กีย่ วกับกฎหมาย ชนเผ่าที่มีมาแต่ดั้งเดิมจึงลดความศักดิ์สิทธิ์ลงไปในที่สุด หลังการก่อตั้งสาธารณรัฐ ประชาชนจีน รัฐบาลมีนโยบายเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองของสังคมชนกลุ่มน้อย ต่าง ๆ ในประเทศ และด้วยเหตุที่ชาวเหยาตั้งชุมชนกระจัดกระจาย การปกครองแบบ ดั้งเดิมของชาวเหยาในแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกันมาก รัฐบาลพยายามทุกวิถีทางที่ จะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบสังคมและการปกครองของชนเผ่าเหยาในแต่ละท้องที่ ล้มล้างระบบสังคมศักดินา ช่วยเหลือในการประกอบอาชีพ เพิ่มพูนปริมาณการผลิต นับตั้งแต่ศตวรรษที่ ๒๐ ปีที่ ๖๐ เป็นต้นมา รัฐบาลก่อตั้งชุมชนที่มีชาวเหยาอาศัยอยู่ ทั้งที่อยู่รวมเป็นกลุ่มชนชาวเหยาเป็นหลัก และที่อยู่ปะปนกับชนกลุ่มอื่นก่อตั้งให้เป็น ชุมชนปกครองตนเองขึ้นรวมทั้งสิ้น ๑๒ แห่ง ได้แก่ มณฑลกว่างซี มี เขตปกครองตนเองชาวเหยาอ�ำเภอตูอาน (都安瑶族自治县Dū’ān Yáo Zú zìzhìxiàn) เขตปกครองตนเองชาวเหยาอ�ำเภอจินซิ่ว (金秀瑶族自治县Jīnxiù Yáo Zú zìzhìxiàn) เขตปกครองตนเองชาวเหยาอ�ำเภอปาหม่า (巴马瑶族自治县Bāmǎ Yáo Zú zìzhìxiàn) เขตปกครองตนเองชาวเหยาอ�ำเภอฝูโจว (富川瑶族自治县Fùchuān Yáo Zú zìzhìxiàn)

240ชาติพันธุ์น่านศึกษา


มณฑลกว่างตง มี เขตปกครองตนเองชาวเหยาอ�ำเภอเหลียนหนาน (连南瑶族自治县Liánnán Yáo Zú zìzhìxiàn) เขตปกครองตนเองชาวเหยาอ�ำเภอหรู่หยวน (乳源瑶族自治县Rǔyuán Yáo Zú zìzhìxiàn) มณฑลหูหนาน มี เขตปกครองตนเองชาวเหยาอ�ำเภอเจียงหัว (江华瑶族自治县Jiānɡhuá Yáo Zú zìzhìxiàn) มณฑลยูนนาน มี เขตปกครองตนเองชาวเหยาอ�ำเภอเหอโข่ว (河口瑶族自治县 Hékǒu Yáo Zú zìzhìxiàn) มณฑลกว่างซี มี เขตปกครองตนเองหลายเผ่าอ�ำเภอหลงเซิ่ง อ�ำเภอฝางเฉิง อ�ำเภอหลงหลิน (龙胜、防城、隆林各族自治县 Lónɡshènɡ、Fánɡchénɡ、Lónɡlín ɡèZú zìzhìxiàn) มณฑลกว่างตง มี เขตปกครองตนเองชาวเหยาชาวจ้วงอ�ำเภอเหลียนซาน (连山壮族瑶族自治县Liánshān Zhuànɡ Zú Yáo Zú zìzhìxiàn) นอกจากนี้หมู่บ้านชาวเหยาที่กระจัดกระจายในพื้นที่ต่าง ๆ ก็ได้ยกระดับให้ เป็นหมู่บ้านชาวเหยาขึ้นด้วยเช่นกันในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมา ด้วยความช่วยเหลือ และสนับสนุนของรัฐบาล ชุมชนชาวเหยาเริม่ พัฒนาทีด่ นิ ท�ำกิน สร้างระบบชลประทาน เขือ่ นและแหล่งน�ำ้ พัฒนาระบบไฟฟ้าพลังน�ำ้ ปลูกป่าพืชเศรษฐกิจ ตลอดจนระบบการ จราจร ท�ำให้ระบบเศรษฐกิจและสังคมของชาวเหยาพัฒนาดีขึ้นมาก ดังจะเห็นได้จาก ผลิตภัณฑ์อาหารและยาสูบที่มาจากเขตปกครองตนเองชาวเหยาอ�ำเภอฝูโจวนับเป็น สินค้าอันดับต้น ๆ ที่ส�ำคัญของประเทศจีนเลยทีเดียว ในปี ๑๙๘๗ ปริมาณผลิตผล การเกษตรที่มาจากชุมชนชาวเหยาสูงถึงสองร้อยล้านหยวน ชาวเหยาที่อ�ำเภอเหลียน หนาน หรูห่ ยวนของมณฑลกว่างตง พัฒนาเศรษฐกิจจนถึงขัน้ ส่งออกสินค้าสูต่ ลาดทัง้ ใน ชาติพันธุ์น่านศึกษา

241


และต่างประเทศ ส่วนชาวเหยาทีอ่ ำ� เภอจินซิว่ อ�ำเภอเจียงหัว มีพนื้ ทีป่ า่ ไม้อดุ มสมบูรณ์ สินค้าด้านวัสดุกอ่ สร้างทีท่ ำ� จากไม้ ยางพารา เมล็ดพันธุ์ เห็ดหอม เห็ดหูหนู ส่งออกจาก ชุมชนชาวเหยาในทั้งสองอ�ำเภอเพื่องานก่อสร้างและอาหารภายในประเทศทั่วทุกหน ทุกแห่ง สภาพชีวติ ของชาวเหยาจากเดิมทีเ่ คยล�ำบากยากจน ขัดสนรายได้ ด�ำรงชีวติ ด้วย การเก็บของป่าตามธรรมชาติเป็นอาหารประทังชีวิต ก่อไฟฟอนผิงกันหนาวกลับดีขึ้น อย่างเห็นได้ชดั ในด้านการศึกษามีการก่อตัง้ โรงเรียนประถม มัธยมหลายแห่ง ทัง้ ยังมีการ จัดให้มหี อ้ งเรียนส�ำหรับชาวเหยาโดยเฉพาะ วันคืนที่ “มีเพียงเสียงหมูหมากาไก่รอ้ งขัน ไร้สำ� เนียงท�ำนองอักษรจ�ำนรรจ์” ถูกความมุง่ มัน่ และภูมปิ ญ ั ญาของชาวเหยาขจัดปัดเป่า ขับไสให้อนั ตรธานเลือนลางจางหายไปจากชุมชนชาวเหยาสิน้ หนทางหวนกลับ ปัจจุบนั การคมนาคม ไปรษณีย์ การสือ่ สาร สถานีวทิ ยุโทรทัศน์พฒ ั นาขึน้ ชาวเหยามุง่ มัน่ พัฒนา ตนเองเพื่อชุมชนของตน นับเป็นคุณูปการอันยิ่งใหญ่ต่อประเทศจีนที่ประมาณค่ามิได้ ด้านศิลปวัฒนธรรม รอยทางแห่งอารยธรรมที่ด�ำเนินมาอย่างยาวนาน ชาวเหยา ได้สั่งสมงานด้านศิลปวัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมชนเผ่าที่ทั้งงดงามทั้งทรงคุณค่า มากมาย ชาวเหยามีตำ� นานเกีย่ วกับเทพผูใ้ ห้กำ� เนิดจักรวาลมาแต่ครัง้ บรรพกาล ต�ำนาน ตั้งแต่ก่อนยุคราชวงศ์ฉิน (秦Qín) ชื่อ《山海经》Shān hǎi jīnɡ “คัมภีร์ ซานห่ายจิง” เป็นต�ำนานโบราณของชนเผ่าเหยาที่กล่าวถึงเทพผู้สร้างโลก สะท้อนให้ เห็นถึงความเชื่อและสังคมของชาวเหยาที่ถือก�ำเนิดมาตั้งแต่ก่อนสมัยฉิน นอกจากนี้ ชาวเหยายังมีต�ำนานเกี่ยวกับการก�ำเนิดโลกและเทพผู้ให้ก�ำเนิดมนุษย์อีกมากมาย ที่ ส�ำคัญได้แก่ เรือ่ ง《盘古开天地》Pánɡǔ kāi tiāndì “ผานกูผ่ เู้ บิกพิภพ” เรือ่ ง《伏羲子妹造人民》Fúxī zǐmèi zào rénmín “ฝูซผี ปู้ น้ั มนุษย์” เป็นต้น “เพลง” มีความส�ำคัญส�ำหรับชาวเหยามาก มีการสั่งสม สืบสานและสืบทอด ต่อกันมายาวนาน มีรปู แบบทีล่ ำ้� ลึกซับซ้อน มีเนือ้ หาทีห่ ลากหลาย เช่น บทเพลงพรรณนา การก�ำเนิดของชาวเหยาและสรรพสิ่งบนโลก บทเพลงบันทึกต�ำนานเผ่าเหยา บทเพลง เกี่ยวกับการด�ำรงชีวิต เพลงล่าสัตว์ เพลงเพาะปลูก ตลอดจนเพลงที่เกี่ยวกับกิจกรรม และขนบธรรมเนียมต่าง ๆ รวมไปถึงเพลงรัก เพลงบูชา และเพลงออกศึก เป็นต้น บ้างก็ บรรยายความยากล�ำบาก การท�ำมาหากิน การต่อต้านข้าศึกรุกราน บทเพลงส�ำคัญทีไ่ ด้รบั ยกย่องให้เป็นอัญมณีแห่งวรรณศิลป์ของชนเผ่าได้แก่ 《盘王歌》Pánwánɡ ɡē “เพลงพระเจ้าผานหวาง” บทเพลงนี้มีความยาวถึง ๓,๐๐๐ บรรทัด นอกจากนี้สมบัติ ด้านวรรณศิลป์ของชนชาวเหยายังมีอกี มาก เช่น นิทาน สุภาษิตค�ำพังเพย เรือ่ งเล่าขบขัน

242ชาติพันธุ์น่านศึกษา


กลอนกระทู้ ปริศนาค�ำทาย เป็นต้น วรรณกรรมเหล่านีน้ อกจากจะเป็นบทบันทึกเรือ่ งราว ชนเผ่าได้เป็นอย่างดีแล้ว ยังเป็นเครือ่ งสะท้อนภูมปิ ญ ั ญา ความคิด ทัศนคติและจริยธรรม ของชนชาวเหยาที่มีต่อโลกและสรรพสิ่ง เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่และ ส�ำคัญอีกชิน้ หนึง่ ทัง้ ยังเป็นศิลปะด้านวรรณคดีทเี่ ป็นแบบอย่างและทรงคุณค่าต่อวงการ อักษรศาสตร์จีนอเนกอนันต์ ดนตรีนาฏศิลป์ของชาวเหยามีเอกลักษณ์โดดเด่นเป็นหนึ่ง การร่ายร�ำระบ�ำ ฟ้อนมีที่มาจากการท�ำงานเพาะปลูก ล่าสัตว์ และจากศาสนา ระบ�ำที่มีชื่อเสียงเช่น ระบ�ำกลองยาว ระบ�ำกลองเหล็ก ระบ�ำบูชาพระเจ้าผาน นอกจากนีย้ งั มีระบ�ำพืน้ บ้านทีม่ ี ความหลากหลายไปตามแต่ละชุมชน เช่น ระบ�ำสิงโต ระบ�ำมังกรยอดหญ้า ระบ�ำดอกไม้ ระบ�ำจุดธูป ระบ�ำไหว้ครู ระบ�ำบรรพบุรุษ เป็นต้น เพลงของชาวเหยาก็มีท่วงท�ำนอง ลีลา และเนื้อหาที่ล�้ำลึก หลากหลาย เช่น เพลงเศร้าโศก เพลงทุกข์ยาก มีท่วงท�ำนอง เศร้าสร้อย กดดัน บาดลึกจิตใจผู้ได้ยินได้ฟัง ส่วนเพลงรักใคร่มีท่วงท�ำนองสนุกสนาน เร่าร้อน สดใส ชื่นใจ ชวนให้หลงใหลยิ่งนัก ปัจจุบันทั้งเพลงเหยาและระบ�ำเหยาได้รับ ความนิยมถึงขีดสุด ดนตรีนาฏศิลป์จีนปัจจุบันก็ได้ใช้ระบ�ำและเพลงของชาวเหยาเป็น แบบอย่างในการแสดงไม่นอ้ ย ในขณะเดียวกันเพลงและระบ�ำชาวเหยาไม่ได้เป็นศิลปะ การแสดงประจ�ำเผ่าทีล่ ะเล่นกันในหมูบ่ า้ นห่างไกลอีกต่อไป ยิง่ ไปกว่านัน้ ยังได้ขนึ้ สูเ่ วที ใหญ่ระดับชาติและนานาชาติ ได้รับความนิยมชมชอบของมวลชนทั่วไป ตัวอย่างเพลง มีที่มาจากดนตรีของชนเผ่าเหยาก็คือ เพลงชื่อ 《瑶族舞曲》Yáo Zú wúqǔ “เพลงระบ�ำเผ่าเหยา” ถือเป็นเพลงที่ได้รับความนิยมชมชอบและเป็นที่รู้จักกันอย่าง กว้างขวางของวงการดนตรีจีนเลยทีเดียว งานหัตถกรรมของชาวเหยา เช่น ผ้าพิมพ์ ผ้าย้อม ผ้าปัก ผ้าทอมือ งานจักสาน ไม้ไผ่ งานแกะสลัก วาดภาพ งานปั้นก็มีรูปแบบหลากหลายและงดงามไม่แพ้ใคร ชาวเหยาเรียนรู้ภาษาฮั่นเพื่อจดบันทึกเรื่องราวและสร้างสรรค์งานด้าน วรรณกรรมของชนเผ่ามาตั้งแต่สมัยถังและซ่งแล้ว เอกสารโบราณ วรรรณคดี ต�ำนาน ศาสนา ค�ำสอน กฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่นล้วนได้รับการบันทึกเป็น ภาษาฮั่น นับเป็นหลักฐานการศึกษาอารยธรรมของแผ่นดินจีนที่ส�ำคัญและมีคุณค่ายิ่ง ด้านขนบธรรมเนียมประเพณี เครื่องแต่งกายของชาวเหยาทั้งชายและหญิง นิยมแต่งกายด้วยผ้าสีคราม และเขียว ชายนิยมสวมเสื้อผ่าอกแขนสั้น ไม่มีปก สวม กางเกงขายาว หรือขาสามส่วน ชายชาวเหยาที่อ�ำเภอหนานตาน(南丹Nándān) ชาติพันธุ์น่านศึกษา

243


มณฑลกว่างซี (广西Guǎnɡxī) นิยมสวมกางเกงสีขาว ปักลวดลายที่ชายกางเกง ส่วนชายชาวเหยาที่อ�ำเภอเหลียนหนาน มณฑลกว่างตงนิยมไว้ผมมวย แล้วปักด้วยขน ไก่ฟ้า หรือพันศีรษะด้วยผ้าสีแดง หญิงชาวเหยานิยมสวมเสื้อผ่าอก ไม่มีปก บ้างสวม กางเกงขายาว บ้างสวมกระโปรงสั้น หรือกระโปรงจีบรอบ ตามกระดุม ชายแขนเสื้อ ชายกระโปรง คอเสือ้ นิยมปักลวดลายดอกไม้ดว้ ยสีสด เครือ่ งประดับศีรษะของชาวเหยา มีความหลากหลายมาก แตกต่างกันไปตามถิ่นที่อยู่อาศัย แต่โดยมากนิยมประดับด้วย เครื่องประดับเงิน เช่น ปิ่นปักผม แผ่นเงินรูปทรงต่าง ๆ หรือไม่ก็สร้อยลูกปัดเงิน และ มีสร้อยไข่มุกพันรอบศีรษะ เป็นต้น อาหารหลักของชาวเหยาได้แก่ ข้าวโพด ข้าวเจ้าและมัน อาหารประเภทพืชผัก มีถั่วเหลือง ฟักทอง พริก อาหารจ�ำพวกเนื้อสัตว์ได้แก่ เป็ดไก่และหมูที่เลี้ยงเอง อาหาร พิเศษทีช่ าวเหยาในกวางตุ้งใช้ตอ้ นรับแขกผู้มาเยือนคือ “นกจานเด็ด” ส่วนอาหารจาน พิเศษของชาวเหยาที่อ�ำเภอกุ้ยเป่ย (桂北Guìběi) คือ “ซุบชาทอด” ชาวเหยาจะใช้ น�ำ้ มันร้อนทอดใบชาให้กรอบ แล้วเอาไปต้มเป็นซุบใส่ขงิ สดพริกสด เกลือปรุงรส เลิศรส ยิ่งนักเมื่อกินกับข้าวทอด ข้าวโพดคั่ว โชยกรุ่นกลิ่นชาทอด เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ของชาวเหยาอย่างแท้จริง บ้านเรือนชาวเหยาบ้างสร้างเป็นกระท่อมไม้ไผ่ บ้างสร้างเป็นกระท่อมไม้ หลังคามุงหญ้า บางท้องที่สร้างบ้านด้วยปูน หลังคากระเบื้อง ชาวเหยาสร้างบ้านแบ่ง เป็นสามห้อง ตรงกลางเป็นห้องโถง ส่วนห้องริมทัง้ สองห้อง ด้านหน้าก่อเป็นเตาไฟ ด้าน ในเป็นห้องนอน ด้านข้างด้านหนึง่ สร้างเป็นเพิงส�ำหรับเป็นทีอ่ าบน�ำ้ และห้องน�ำ้ อีกด้าน หนึ่งสร้างเป็นเพิงส�ำหรับคอกสัตว์เลี้ยง ชาวเหยาจะไม่แต่งงานกับชนเผ่าอื่น ประเพณี การแต่งงานของชาวเหยาคือการแต่งลูกเขยเข้าบ้าน หนุม่ สาวมีอสิ ระในการเลือกคูค่ รอง โดยในเทศกาลส�ำคัญหนุม่ ๆ จากต่างหมูบ่ า้ นจะเดินทางมาเยือน รวมตัวกันในลานรืน่ เริง ร้องเพลงโต้ตอบและเลือกคู่ หากถูกตาต้องใจกันก็มอบของขวัญให้กัน แล้วจึงขอความ เห็นชอบจากพ่อแม่ เชิญแม่สื่อให้เป็นผู้สู่ขอทาบทามและแต่งงานกัน ประเพณีงานศพของชาวเหยามีความแตกต่างกันไปบ้างตามแต่ละพื้นที่และ ตามแต่ละสาย ชาวเหยาเหมี่ยน (勉支Miǎnzhī) ประกอบพิธีศพโดยการฝัง ชาว เหยาปู้นู่ (布努支Bùnǔzhī) เดิมทิ้งศพไว้ตามหน้าผาให้สลายไปเอง ปัจจุบันก็ใช้ วิธฝี งั ชาวเหยาลาเจีย (拉珈支Lājiāzhī) ศพของคนอายุหนุม่ สาวขึน้ ไปใช้วธิ เี ผา แต่ ศพเด็กทารกใช้วธิ แี ขวนไว้ให้แห้ง ชาวเหยาทีอ่ ำ� เภอเหลียนหนานมัดศพไว้กบั เก้าอี้ แล้ว หามเป็นเกี้ยวไปประกอบพิธีฝัง โดยบรรจุโลงก่อนแล้วฝัง

244ชาติพันธุ์น่านศึกษา


เทศกาลของชาวเหยามีมากมาย แบ่งเป็นเทศกาลใหญ่และเทศกาลเล็ก เทศกาลใหญ่ ได้ แ ก่ เทศกาลบู ช าพระเจ้ า ผานหวาง ( 盘王节 Pánwánɡjié) เทศกาลตรุษจีน เทศกาลต๋านู่ (达努节Dánǔjié) เทศกาลจงหยวน (中元节 Zhōnɡyuánjié) เทศกาลเชงเม้ง (清明节 Qīnɡmínɡjié) เป็นต้น เทศกาลเล็กมี แทบทุกเดือน เทศกาลต๋านู่ที่อ�ำเภอตูอาน มณฑลกว่างซีจัดอย่างยิ่งใหญ่ เทศกาลนี้จัด ขึน้ เพือ่ เป็นการร�ำลึกถึงการต่อสูเ้ รือ่ งทีด่ นิ ท�ำกินของชาวเหยาในอดีต ส่วนเทศกาลบูชา พระเจ้าผานจัดสามปีหรือห้าปีครั้ง ช่วงเวลาจัดงานคือวันที่ ๑๖ เดือนสิบ เทศกาลนี้ จะเชิญหมอผีประจ�ำเผ่าท�ำพิธีบูชาบวงสรวง มีการระบ�ำกลองยาว ระบ�ำกลองเหล็ก เพื่อบูชา เพื่อเป็นการขอพรจากพระเจ้าผานให้ปกปักรักษาชาวเหยาให้อยู่เย็นเป็นสุข การนับถือศาสนาของชาวเหยาค่อนข้างกระจัดระจายไม่เป็นอันหนึ่งอัน เดียวกัน บางท้องที่เชื่อและนับถือผีที่มีอยู่ทุกหนทุกแห่งตามธรรมชาติ บ้างนับถือ วิญญาณบรรพบุรษุ และบ้างก็นบั ถือโทเทมประจ�ำเผ่า บางท้องทีม่ หี มอผีประจ�ำเผ่า แต่ ชาวเหยาส่วนใหญ่นับถือลัทธิเต๋ามากกว่า พิธีกรรมเกี่ยวกับงานศพ การบูชาบวงสรวง ล้วนประกอบพิธีตามข้อก�ำหนดของเต๋าทั้งสิ้น โดย รองศาสตราจารย์ ดร.เมชฌ สอดส่องกฤษ http://metchs.blogspot.com/๒๐๑๑/๑๑/๕๑.html

โดยสรุ ป ชาวเมี่ ย น (เย้ า ) ถิ่ น ฐานเดิ ม อยู ่ ใ นประเทศจี น แถบแม่ น้� ำ แยงซี “เมี่ยน” เป็นชื่อที่ทางราชการตั้งให้ หรือบางครั้งจะเรียกว่า “อิ้วเมี่ยน” แปลว่า มนุษย์ ได้รับการจัดให้อยู่ในเชื้อชาติมองโกลอยด์ คือ อยู่ในตระกูลจีนธิเบต บรรพชน ได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ราบรอบทะเลสาปตงถิง แถบแม่น�้ำแยงซี ยอมอ่อนน้อมให้ชนชาติ ผู้ปกครองรัฐ และไม่ยินยอมอยู่ภายใต้การบังคับกดขี่ของรัฐ จึงได้ท�ำการอพยพ เข้าไปในป่าลึกบนภูเขาสูง ได้ตั้งถิ่นฐานสร้างบ้านด้วยมือของเขาเอง เพื่อปกป้อง เสรีภาพจึงถูกขนานนามว่า ม่อ เย้า ซึ่ง เหยา ซี เหลียน ได้บันทึกไว้ในเหลียงซู ต่อมาในสมัยราชวงศ์ซ่ง ค�ำเรียกนี้ีถูกยกเลิกไปเหลือแต่ค�ำว่า "เย้า" เท่านั้น จุดเด่น ของชนเผ่าเมี่ยน (เย้า) บ้านปางค่าใต้ ต�ำบลผาช้างน้อย อ�ำเภอปง จังหวัดพะเยา ได้แก่ พาสปอร์ตทีย่ าวทีส่ ดุ ในโลก (ปัจจุบนั ในพืน้ ทีโ่ ครงการหลวงมีชาวเมีย่ นอาศัยอยูใ่ นพืน้ ที่ ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงปังค่า อ�ำเภอปง จังหวัดพะเยา) ชาติพันธุ์น่านศึกษา

245


ภาษา ภาษาของเมีย่ นจัดอยูใ่ นภาษาตระกุลจีนธิเบต สาขาแม้ว-เย้า ภาษาพูดของเมีย่ น พัฒนาจากกลุ่มภาษาหนึ่งของชาวหมาน และแพร่กระจายไปสู่เขตต่างๆ ตามท้องถิ่น ที่มีชาวเมี่ยนอพยพไปถึง ภาษาเมี่ยนได้กระจายไปทั่วเขตมณฑลกวางสี กวางตุ้ง กุยจิ๋ว ฮูหนาน จากการติดต่อกลับชนเผ่าอื่น ๆ เป็นระยะเวลานาน จึงท�ำให้ภาษาในปัจจุบัน ผ่านการพัฒณากลายเป็นภาษาถิ่นย่อย ๓ ภาษา คือ ภาษาเมี่ยน ภาษาปูนู และภาษา ลักจา ส�ำหรับภาษาเขียนของเมี่ยน มักจะมีความเห็นโดยทั่วไปว่าชาวเมี่ยนมีแต่ภาษา พูด ไม่มีภาษาเขียน จึงได้ยืมภาษาฮั่นมาใช้ ชาวเมี่ยนที่รู้ภาษามีไม่มากนัก แต่ภาษาฮั่น ก็ยังมีบทบาท และอิทธิพลต่อชนชาติเมี่ยนมาก ชาวเมี่ยนมีวิธีการใช้ตัวเขียนภาษาฮั่นเป็นของตัวเอง ตัวเขียนนี้แตกต่างกัน กั บ ตั ว หนั ง สื อ ฮั่ น แบบมาตรฐาน เพราะชาวเมี่ ย นได้ คิ ด สร้ า งตั ว หนั ง สื อ ไว้ ใช้ เ อง โดยดัดแปลงจากของฮั่น ท�ำให้ได้ภาษาเขียนใหม่ที่มีลักษณะเฉพาะ ซึ่งมีลักษณะผสม ระหว่างภาษาเมี่ยนกับภาษาฮั่น คือ มีรูปแบบการเขียนแบบกู้สูจื้อ ตามท้องถิ่นของ ชาวเมี่ยน และรูปแบบตัวหนังสือฮั่นในอักษรฮั่น ซึ่งเป็นตัวเดียวกันในอักษรเมี่ยน จะเขียนคนละอย่างกัน แต่อักษรที่ประดิษฐ์ขึ้นนี้มีจ�ำนวนไม่มากและใช้เขียนข้อความ ให้สมบูรณ์ไม่ได้ ต้องใช้ปนกับตัวหนังสือฮั่น ค�ำศัพท์ในภาษาเมี่ยนจะอ่านเป็นส�ำเนียง ชาวเมีย่ น โดยเฉพาะภาษาเมีย่ นในประเทศไทยคล้ายกับภาษาจีน ถิน่ กวางตุง้ ยิง่ เฉพาะ บทสวดในพิธีเลี้ยงผีจะมีส�ำนวนดังกล่าวชัดเจนมาก สภาพทางเศรษฐกิจ ๑ ด้านการประกอบอาชีพ ๑.๑ ท�ำการเกษตร ๑.๒ การค้าขาย ๑.๓ การรับจ้าง ๑.๔ ธุรกิจส่วนตัว ๑.๕ จักรสารเก้าอี้หวาย

246ชาติพันธุ์น่านศึกษา


พื้นที่อยู่อาศัยชุมชนเมี่ยนในพื้นที่จังหวัดน่าน ๑. บ้านวังไผ่ ๖๗ หมู่ ๘ ต.นาไร่หลวง อ.สองแคว จ.น่าน ๕๕๑๖๐ โทรศัพท์ ๐๕๔- ๗๗๙๑๙๔ ๒. น�้ำโค้ง ๓. บ้านน�้ำสมุน ๔. บ้านห้วยริ้น ๕. บ้านห้วยเฮือ ๖. บ้านปากกลาง ๗. บ้านสันติภาพ (น�้ำรุ๊) หมู่ ๗ ต.บ่อ อ.เมือง จ.น่าน ๕๕๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๕๔-๗๓๐๐๙๘, ๐๕๔-๗๗๙๗๔๒ ๘. บ้านสันเจริญ ๒๐๒ หมู่ ๖ ต.ผาทอง อ.ท่าวังผา จ.น่าน ๕๕๑๔๐ โทรศัพท์ ๐๕๔-๗๗๙๓๐๒ ๙. บ้านน�้ำลักใต้ ต.ผาทอง อ.ท่าวังผา จ.น่าน ๕๕๑๔๐ โทรศัพท์ ๐๘๙-๒๖๓๘๙๔๗ ๑๐. บ้านน�้ำลักเหนือ ต.ผาทอง อ.ท่าวังผา จ.น่าน ๕๕๑๔๐ โทรศัพท์ ๐๘๙-๒๖๓๘๙๔๗ ๑๑. บ้านน�้ำพัน หมู่ ๙ ต.นาไร่หลวง อ.สองแคว จ.น่าน ๕๕๑๖๐ โทรศัพท์ ๐๕๔-๗๗๙๔๓๔ ๑๒. บ้านปางปุก หมู่ ๒ ต.นาไร่หลวง อ.สองแคว จ.น่าน ๕๕๑๖๐ ๑๓. บ้านน�้ำกิ ต.ผาทอง อ.ท่าวังผา จ.น่าน ๕๕๑๔๐ โทรศัพท์ ๐๘๗-๑๗๒๙๗๗๙ ๑๔. บ้านห้วยไร่ หมู่ ๓ ต.แม่คนึง อ.เวียงสา จ.น่าน ๕๕๑๑๐

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

247


วิถีชีวิต และลักษณะบ้านเรือน วิถีชิวิตด้านการละเล่นไม้โกงกาง (ม่าเกะเฮ้า) โครงสร้างทางสังคม ชุมชนของเมี่ยนในอดีตนั้นพึ่งตนเองค่อนข้างสูง ทัง้ ในด้านการด�ำรงชีวติ และการจัดการภายในชุมชน จะมี ต�ำแหน่งฝ่ายต่าง ๆ ทีม่ คี วามส�ำคัญ และเอือ้ ต่อการจัดการ ในชุมชน ครอบครัวของเมี่ยนเป็นครอบครัวที่ขยาย มี สมาชิกในครอบครัวมาก เพราะถือว่าเป็นแรงงานส�ำคัญ หัวหน้าครอบครัว คือ ผูช้ ายอาวุโสสูงสุด อาจเป็นปู่ หรือพ่อ โดยมีบุตรชายคนโตเป็นผู้สืบสกุลคนต่อไป

เมื่อมีการแต่งงานฝ่ายชายจะเป็นฝ่าย เสียค่าสินสอด และค่าใช้จา่ ยต่าง ๆ ผูห้ ญิง เมี่ ย นจะออกจากตระกู ล เดิ ม ของตน โดยเลิ ก ใช้ แซ่ เ ดิ ม เปลี่ ย นมานั บ ถื อ ผี และใช้แซ่ของสามี และไปอยู่บ้านสามี ด้วย แต่มีข้อยกเว้นเช่นผู้ชายไม่มีทรัพย์ มากพอที่จะจ่ายค่าสินสอด รวมทั้งค่าเลี้ยงแขก จึงยอมไปอยู่กับฝ่ายหญิงแทนอาจเป็น เวลา ๑๕-๒๐ ปี จึงจะน�ำภรรยาไปอยู่ด้วยได้ หรือในกรณีที่ฝ่ายหญิงจะต้องดูแลพ่อแม่ ฝ่ายหญิง จะต้องจ่ายค่าทรัพย์เป็นจ�ำนวนมากแก่ฝ่ายชาย เพื่อที่จะฝ่ายชายมาอยู่ร่วม ครัวเรือน เพราะถือว่าเป็นแรงงานส�ำคัญเพิม่ ขึน้ และฝ่ายชายจะต้องใช้ตระกูลของฝ่าย หญิง เมื่อมีลูกชาย ลูกชายจะต้องใช้สกุลของแม่ จากนั้นจะกลับสู่ระบบการสืบตระกูล ของฝ่ายชายดังเดิม

248ชาติพันธุ์น่านศึกษา


วิถีชิวิตด้านการละเล่น ในชี วิ ต ประจ� ำ วั น ของเมี่ ย น การละเล่นที่แสดงออกถึงความรื่นเริง ตามประเพณี และเทศกาลต่าง ๆ กล่าว ได้ว่าในปัจจุบันแทบจะไม่มีโดยสิ้นเชิง โดยเฉพาะการละเล่นในวัยผู้ใหญ่หรือ วัยหนุ่มสาว ส่วนการละเล่นของเด็ก ๆ มีเพียงไม่กี่อย่าง เช่น การเล่นไล่จับกัน ซึ่งเล่น รวมกันทัง้ เด็กชายและหญิง การเล่นลูกข่าง การเดินไม้โกงกาง เมีย่ นไม่มกี ารละเล่นตาม ประเพณีประจ�ำเทศกาลทีม่ รี ปู แบบชัดเจน โดยเฉพาะการละเล่นของเมีย่ น มักเป็นการละ เล่นทีอ่ าศัยเล่นในโอกาสของงานพิธกี รรมต่าง ๆ และก็มกั จะเป็นพิธแี ต่งงานกับวันปีใหม่ เท่านั้น ที่สามารถแสดงการละเล่นได้อย่างสนุกสนานเต็มที่ การละเล่นของเมี่ยน ได้แก่ หนังสติ๊ก (ถางกง) : ท�ำมาจากไม้ เมี่ยนจะน�ำไม้ประมาณเท่ากับแขนที่ปลาย แยกออกจากกัน น�ำมาแต่งให้สวยและพอกับมือจับ เอาหนังยางมามัดให้สามารถดึงแล้ว ยิงได้ วิธกี ารเล่น น�ำก้อนหินมาวางตรงทีเ่ ป็นยาง ดึงแล้วปล่อยใช่เล่นยิงแข่งกัน ปืนไม้ไผ้ (พ้าง พ้าง) : เป็นของเล่นทีเ่ ด็กนิยมเล่นกันมาก วิธกี ารท�ำ คือ เอาไม้ไผ่ลำ� ใหญ่ขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลาง ๑-๒ เซนติเมตร มาท�ำเป็นกระบอกปืน และเหลาไม้อีกอันมาใช้ส�ำหรับ เป็นตัวยิง จะน�ำผลของต้นไม้ชนิดหนึ่งมาเป็นกระสุนในการเล่น เมี่ยนเรียกว่าพ้าง พ้าง เปี้ยว กระบอกสูบน�้ำ (เฮ้าดงแฟะ) : เป็นการละเล่นอีกอย่างหนึ่งที่ท�ำมาจากไม้ไผ่ ใช้ไม้ไผ่ที่ค่อนข้างแก่ท�ำเป็นตัวกระบอก และท�ำที่สูบโดยการตัดรองเท้าแตะเก่าๆ หรือ เอายางมามัดเป็นวงกลมเสีบบกับที่สูบ การเล่นจะใช้กระบอกสูบน�้ำขึ้นมาแล้วก็ดันน�้ำ ออกใส่กับเพื่อนๆ ที่เล่นด้วย จะเล่นในช่วงฤดูร้อน ไม้โกงกาง (ม่าเกะเฮ้า) : ไม้โกงกางท�ำมาจากไม้ไผ่ ซึ่งจะมีความสูงประมาณ ๒ เมตร ตรงขาเหยียบจะสูงขึน้ มาจากพืน้ ประมาณ ๕๐ ซม. หรือจะสูงกว่านีก้ ไ็ ด้ แล้วแต่ ความต้องการของแต่ละคน ซึง่ เป็นการละเล่นทีถ่ อื ว่าสนุกสนานมากในวัยเด็ก สามารถ เล่นได้ทุกฤดูกาล วิธีการเล่น คือ ขึ้นไปเหยียบแล้วก็วิ่งแข่งกัน ชาติพันธุ์น่านศึกษา

249


ขาหยั่งเชื่อก (ม่าเกะฮาง) : เป็นขาหยั่งที่ท�ำมาจากเชือก การละเล่นก็จะน�ำ ไม้ไผ่มาตัดเหลือไว้แค่ข้อต่อที่กั้นระหว่างป้องเท่านั้น เจาะรูแล้วน�ำเชือกสอดทั้ง ๒ ข้าง การเล่นก็เหมือนกับขาหยั่งธรรมดาเพียงแค่ใช้ขาเหนีบที่เชือกเท่านั้นเอง ลูกข่าง (ตะโหลย) : การละเล่นลูกข่างเป็นการละเล่นที่ให้ความสนุกสนาน เพลิดเพลิน และเป็นการละเล่นของผูช้ าย โดยเมือ่ ถึงเวลาทีเ่ ว้นว่างจากการท�ำไร่ทำ� สวน ผูช้ ายจะออกจากบ้านตัง้ แต่เช้า เพือ่ จะไปตัดไม้เนือ้ แข็งส�ำหรับมาท�ำเป็นลูกข่าง เมือ่ กลับ มาถึงบ้านก็จะเริ่มท�ำลูกข่างโดยเหลาปลายไม้ให้แหลม ๆ บางคนจะใส่เหล็กตรงปลาย เพื่อให้ลูกข่างหมุนได้นาน จากนั้นก็จะมาเล่นกัน โดยแบ่งเป็นสองฝ่ายๆ ละกี่คนก็ได้ ลูกแก้ว (ปู้สี่) : ลูกแก้วนี้ถือว่าเป็นของเล่นอีกอย่างหนึ่งของเด็กเมี่ยน เมื่อ ถึงช่วงฤดูกาลหนึ่ง เด็กเมี่ยนก็จะเปลี่ยนของเล่นไปตามฤดูกาลนั้น การเล่นลูกแก้วนี้ก็ ถือว่าเป็นอีกอย่างหนึ่งของการละเล่น การเล่นลูกแก้วนี้จะน�ำลูกแก้วมาตีแข่งกันโดย ใช้มือเล่น จะมีหลุมอยู่หลุมหนึ่งเพื่อการเล่น ก้านกล้วย (น้อมจิวแฝด) : จะน�ำก้านกล้วยมาตัดใบทิ้ง ตัดก้านให้เป็นแฉกๆ ให้ตั้งขึ้นหลาย ๆ อัน แล้วใช้มือปัดลงเร็ว ๆ ก็จะมีเสียงเกิดขึ้นมาอย่างไพเราะ การเล่น ชนิดนี้เป็นการละเล่นที่มีความปลอดภัยมากที่สุด เด็กเล็ก ๆ จะนิยมเล่นมาก ลักษณะบ้านเรือน ชาวเมี่ยนนิยมสร้างบ้านที่สูงกว่าระดับน�้ำทะเลประมาณ ๑,๐๐๐-๑,๕๐๐ เมตร ปัจจุบันชาวเมี่ยนบางกลุ่มอาศัยอยู่พื้นที่ราบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสะดวกในการ ประกอบอาชีพ และการปกครองของทางราชการ บ้านของเมี่ยนมักหันหลังสู่เนินเขา หากอยูพ่ นื้ ราบมักหันหน้าออกสูถ่ นน ผังบ้านเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า ปลูกคร่อมดินมีหอ้ ง นอนแบ่งแยกย่อยเป็นหลาย ๆ ห้อง ภายในบ้าน พ่อแม่แยกห้องให้ลูกสาวเมื่อเห็นว่า ลูกสาวเริ่มเป็นสาวแล้ว ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการเลือกคู่ของหญิงสาวตามประเพณี การเทีย่ วสาว มีหอ้ งครัวแยกไปอีกห้องหนึง่ และมีบริเวณห้องใหญ่เป็นทีโ่ ล่งมีแคร่ หรือ เตียงไว้นั่งเล่น หรือส�ำหรับแขกมุมใดมุมหนึ่งของห้อง ในบ้านไม่มีหน้าต่าง แต่มีประตู เข้าออกหลายทาง ประตูที่ส�ำคัญที่สุด คือประตูผี หรือประตูใหญ่ เป็นประตูที่ใช้ติดต่อ กับวิญญาณ หรือแสดงการเพิม่ หรือลดสมาชิกของตระกูล เมือ่ มีพิธศี พหรือแต่งงานจะ ต้องใช้ประตูนี้เป็นทางเข้าและออก เวลาปกติ ทุกคนสามารถเดินเข้าออกทางนีไ้ ด้ ประตูจะตรงกันข้ามกับหิง้ ผี หรือ

250ชาติพันธุ์น่านศึกษา


เมี้ยนเตีย ก่อนสร้างบ้านต้องเอาดวงเกิดของหัวหน้าครอบครัว ไปดูว่าประตูผีน้ีจะหัน หน้าไปทางทิศใด ก็จะตัง้ บ้านตามทางทีส่ อดคล้องกับดวงของผูน้ ำ� ครอบครัว ครอบครัว ส่วนใหญ่เป็นครอบครัวขยาย เมือ่ ผูช้ ายเมีย่ นแต่งงานจะนิยมน�ำภรรยาของตนมาอยูก่ บั ฝ่ายพ่อแม่ของตนเอง ผูอ้ าวุโสฝ่ายชายจะเป็นผูน้ ำ� ครอบครัวและมีอำ� นาจสูงสุดในบ้าน ยกเว้นเฉพาะ ในเรื่องงานครัว ซึ่งเป็นหน้าที่ของฝ่ายหญิง ส่วนในเรื่องอื่น ๆ แล้วผู้อาวุโสจะเป็นผู้ ตัดสิน แต่กอ่ นการตัดสินใจมักจะมีการปรึกษาหารือกับสมาชิกในบ้าน คือบุตรชายคนโต และภรรยาก่อน ส่วนการรักษาพยาบาล ดูแลบุตร หรือเจ็บป่วยเล็กน้อยของสมาชิก สตรีเมี่ยนจะมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรมากกว่าผู้ชาย และปลูกสมุนไพรไว้ใช้เอง ผู้หญิง เมี่ยนจะท�ำงานหนัก พอมีเวลาว่างก็ปักผ้าส�ำหรับใช้เอง หรือเป็นรายได้พิเศษ จึงมักจะ ไม่ค่อยเห็นผู้หญิงเมี่ยนว่างเลย เมี่ยนให้ความนับถือและสืบเชื้อสายทางฝ่าย โดยลูก จะใช้แซ่ตามพ่อ และวิญญาณบรรพษุรุษของพ่อชาวเมี่ยน มีอิสระในการเลือกคู่ครอง นิยมทีจ่ ะแต่งงานกับคนในกลุม่ ชาย และหญิงทีใ่ ช้แซ่เดียวกัน แต่อยูค่ นละกลุม่ เครือญาติ ย่อยสามารถแต่งงานได้

เรือนเย้าเรือนเมี้ยน (เย้า) เอกลักษณ์ของเย้าคือ ผู้หญิงเย้าจะ แต่งกายสวยงามด้วยมีไหมพรมสีแดงอยูร่ อบ คอลงมาถึงอกและเอว ผู้หญิงเย้ามีทักษะใน ศิลปะการเย็บปักถักร้อยมายาวนาน

หมู่บ้านเย้าในจังหวัดเชียงราย ชาติพันธุ์น่านศึกษา

251


เผ่า เมี้ยน (Mien) หรือ เย้า หรือ แข่เย้า (ชื่อที่ชาวเย้าใช้เรียกตนเอง) ชาติพันธุ ์ จีน - ธิเบต กลุ่มเดียวกับแม้ว ภาษาพูด จีน - ธิเบต ไม่มีภาษาเขียน ใช้อักษรจีนบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ถิ่นฐานเดิม จีนตอนกลาง บริเวณมณฑลฮูนาน เกียงสี และไกวเจา การอพยพสู่ไทย จากถิ่นฐานเดิม ชาวเย้าอพยพหนีภัยจากชาวจีนสู่จีนตอนใต้ แถบ มณฑลกวางตุ้ง กวางสีและยูนนาน เข้าสู่เวียดนาม เข้าสู่ลาว และเข้าสู่ประเทศไทยทาง ตอนเหนือของจังหวัดน่านทางหนึง่ และทางตอนเหนือของเชียงราย พะเยา อีกทางหนึง่ ส่วนหนึ่งแต่เป็นจ�ำนวนน้อยอพยพเข้าสู่พม่า ข้อมูลล่าสุดเมื่อ พ.ศ.๒๕๔๐ มีชาวเย้าอยู่ ในประเทศไทยประมาณ ๔๘,๐๐๐ คน การตั้งถิ่นฐาน ชาวเย้ามักจะตั้งถิ่นฐานบนภูเขาสูงประมาณ ๑,๐๐๐ เมตร เหนือระดับน�ำ้ ทะเล และจะเลือกทีต่ งั้ ใกล้ลำ� ธารทีไ่ หลแรง เพือ่ ท�ำระบบประปาภูเขา คือ น�ำเอาไม้ไผ่ปล้องใหญ่ผ่ามาต่อกันเป็นรางน�้ำน�ำน�้ำมาใช้ในหมู่บ้าน ต่างจากแม้ว มูเซอ และอีก้อ ซึ่งจะต้องเดินไปตักน�้ำในล�ำธารมาใช้ที่บ้าน ชาวเย้ามักตั้งบ้านเรือนเป็นหลักแหล่งนานกว่าเผ่าอื่น ๆ จึงอพยพหาถิ่นฐาน ใหม่ ปัจจุบันกระจายตัวอยู่ตามจังหวัดต่าง ๆ ทางภาคเหนือ เช่น เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา น่าน ล�ำปาง แพร่ ฯลฯ อาชีพ ปลูกข้าว ข้าวโพด พืชผักต่าง ๆ เลี้ยงสัตว์ (ไก่ หมู ม้า ฬ่อ) และค้าขาย ทั้งการค้าขายระหว่างเผ่าต่าง ๆ และการค้าขายกับชาวพื้นราบตลอดจนนักท่องเที่ยว ในปัจจุบัน ชาวเย้าค้าขายเก่งจนได้รับการขนานนามว่า พ่อค้าแห่งขุนเขา ความเชือ่ เย้านับถือผีบรรพบุรษุ เช่นเดียวกับจีน มีการท�ำแท่นบูชา และนับถือ ผีอื่น ๆ เหมือนกันเช่น ผีเรือน ผีฟ้า ผีดิน ผีลม ผีป่า ลัทธิความเชื่อและวิธีปฏิบัติต่าง ๆ รับมาจากจีน ใช้แซ่เป็นสกุลเช่นเดียวกับจีน วันปีใหม่ก็เป็นวันเดียวกับจีน และชายเป็น ใหญ่ เป็นผูต้ ดั สินใจเรือ่ งราวต่างๆในครอบครัว เมือ่ ชายแต่งงานแล้วก็จะน�ำภรรยาเข้ามา อยู่ในบ้าน กลายเป็นครอบครัวขยายคล้ายธรรมเนียมจีน ทุกคนท�ำงานหนักเท่า ๆ กัน และกินอาหารพร้อมกัน

252ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ตัวเรือน - เย้าปลูกเรือนติดพื้นดิน ใช้พื้นดินที่ปรับระดับเรียบบดอัดแน่นเป็นพื้นเรือน ใช้แคร่และตั่งส�ำหรับนั่งนอน - โครงสร้างเฉพาะเสาหลักเป็นไม้จริง โครงสร้างรองใช้ไม้ไผ่ หลังคามุงหญ้า คาหรือฟากไม้ไผ่ - ฝาเรือนเป็นไม้กระดาน หรือไม้ไผ่สาน หรือ ฟากตั้ง - ผังเป็นแบบบ้านเรือนชาวจีน แบ่งพื้นที่เรือนเป็นสามส่วน ทางเข้าตรงกลาง ส่วนตรงกลางตรงทางเข้า จะเป็นบริเวณทีต่ งั้ หิง้ บรรพบุรษุ และบริเวณทีใ่ ช้สำ� หรับรับแขก หรือนั่งล้อมวงพูดคุยกันในครอบครัว รอบเตาผู้ชาย - เตาไฟจะแยกเตาส�ำหรับชาย-หญิง เตาผู้ชายอยู่ด้านหน้าบริเวณรับแขก ใช้ ส�ำหรับต้มน�้ำชา และผิงไฟให้ความอบอุ่น เตาผู้หญิงอยู่ด้านหลังใกล้ประตูหลังบ้าน ส�ำหรับหุงหาอาหาร - ครกต�ำข้าวอยู่ภายในตัวเรือน บริเวณบ้าน - หน้าบ้านใต้ชายคาเป็นบริเวณท�ำงาน เช่นเย็บผ้า ทอผ้า และรับแขก - ข้างบ้านใช้เก็บฟืน - ใกล้บ้านสร้างโรงม้า ยุ้งข้าว คอกหมู เล้าไก่ - ท�ำสวนครัวด้านข้างหรือหลังบ้าน ปลูกมะละกอ สับปะรด อ้อย พืชที่ใช้ท�ำ อาหาร ซึ่งไม่พบในเผ่าอื่นมากนัก

ลักษณะของเรือนเย้า

)ที่มา: สุพล ปวราจารย์, เรือนชาวเขา( ชาติพันธุ์น่านศึกษา

253


เรือนเย้าที่มีลักษณะเป็นโรง ตั้งอยู่ติดดินไม่ยกพื้น

ผู้หญิงเย้านั่งท�ำงานบริเวณ รอบบ้าน โดยเฉพาะบริเวณด้านหน้า เรือนใต้ชายคาแต่หากยามเช้าอากาศ หนาวก็จะย้ายที่ออกท�ำงานด้านข้าง เพื่อรับแดด

สภาพทั่วไปของหมู่บ้านเย้าในจังหวัดน่าน

254ชาติพันธุ์น่านศึกษา

เรือนเย้าจะเปิดประตูหลังด้านข้างเรือน

เตาผู้หญิงในเรือนเย้าใช้หุงหา อาหาร ในขณะที่เตาผู้ชายใช้ส�ำหรับต้ม น�้ำชงชาและอบอุ่นร่างกาย

เย้าปลูกเรือนยาวไปตามถนนหรือ เส้นทางสัญจร


วัฒนธรรมประเพณี

ประเพณีการแต่งงาน การเลือกคูค่ รอง (หล่อเอ๊าโกว่) : เมือ่ เริม่ เป็นหนุม่ เป็นสาว อายุประมาณ ๑๕ ปี ขึน้ ไป ในการเลือกคูค่ รองนัน้ เผ่าเมีย่ นฝ่ายชายจะเป็นฝ่ายเข้าหาฝ่ายหญิง หนุม่ สาวเมีย่ น มีอิสระในการเลือกคู่ครอง หนุ่มอาจจะเข้าถึงห้องนอนเพียงคืนเดียว หรือไปมาหาสู่ อยู่เรื่อย ๆ ถ้าทางฝ่ายสาวไม่ขัดข้องก็ย่อมได้เสรี ในการเลือกคู่ของเมี่ยน มีขอบเขตอยู่ เพียง ๒ กรณีเท่านั้น คือ ควรแต่งกับคนต่างแซ่ หรือบางทีคนแซ่เดียวกัน ถ้าชอบพอกัน ก็สามารถอนุโรมได้ไม่เข้มงวดมากนัก แต่ที่เข้มงวด คือ ดวงของหนุ่มสาวทั้งสองต้อง สมพงษ์กัน โดยทั่วไปแล้วพี่ควรจะแต่งก่อนน้อง หากน้องจะท�ำการแต่งก่อนพี่ ก็ต้อง จ่ายค่าท�ำขวัญให้กับพี่ที่ยังไม่ได้แต่งงาน เมื่อทั้งสองฝ่ายมีความรักต่อกัน ฝ่ายชายจะ เป็นฝ่ายไปบอกพ่อแม่หรือเครือญาติมาติดต่อสู่ขอตามประเพณีต่อไป การสูข่ อ (โท้นนิ่ แซง) : เมือ่ หนุม่ ตกลงปลงใจจะแต่งงานกับสาวใดแล้ว ฝ่ายชาย จะต้องหาใครไปสืบถามเพื่อ ขอทราบวัน เดือน ปีเกิดของฝ่ายหญิง ถ้าพ่อแม่ฝ่ายหญิง ยินยอมบอกก็แสดงว่า พวกเขายอมยกให้ หลังจากนั้นก็จะน�ำเอาวัน เดือน ปี เกิด ของ หนุ่มสาวคู่นั้น ไปให้ผู้ช�ำนาญเรื่องการผูกดวงดูว่าทั้งคู่มีดวงสมพงศ์กันหรือไม่ ถ้าดวง ไม่สมพงศ์กันฝ่ายชายจะไม่มาสู่ขอ พร้อมแจ้งหมายเหตุให้ฝ่ายหญิงทราบ เมื่อดูแล้ว ถ้าเกิดดวงสมพงศ์กัน พ่อแม่จึงจัดการให้ลูกได้สมปรารถนา เริ่มด้วยการส่งสื่อไปนัด พ่อแม่ฝ่ายสาวว่า ค�่ำพรุ่งนี้จะส่งเถ้าแก่มาสู่ขอลูกสาว แล้วพ่อแม่ฝ่ายหญิงจะต้องจัด ข้าวปลาอาหารไว้รับรอง ระหว่างที่ดื่มกินกันนั้น เถ้าแก่ก็จะน�ำก�ำไลเงินหนึ่งคู่มาวางไว้ บนส�ำรับ เมื่อเวลาดื่มกินกันเสร็จ สาวเจ้าเข้ามาเก็บถ้วยชาม หากสาวเจ้าตกลงปลงใจ กับหนุ่มก็จะเก็บก�ำไลไว้ หากไม่ชอบก็จะคืนก�ำไลให้เถ้าแก่ ภายใน ๒ วัน เถ้าแก่จะรอ อยู่ดูให้แน่ใจแล้วว่าสาวเจ้าไม่คืนก�ำไลแล้วเถ้าแก่จึงนัดวันเจรจา เมื่อถึงเวลาซึ่งวันเดินทางไปนี้ส�ำคัญมาก เพราะมีข้อห้ามและความเชื่อใน การเดินทางหลายอย่าง เช่น ขณะเดินทางระหว่างทางหากพบคนก�ำลังปลดฟืนลงพื้น สัตว์วิ่งตัดหน้า ไม้ก�ำลังล้ม คนล้ม ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ คือ สิ่งที่ส่อไปในทางที่ไม่ดีจะไม่มี โชคตามความเชื่อ แต่ถ้าไม่พบสิ่งเหล่านี้ระหว่างทาง ก็สามารถเดินทางไปบ้านฝ่าย หญิงได้ และถ้าไปถึงบ้านฝ่ายหญิง แล้วพบสาวเจ้าก�ำลังกวาดบ้าน หรือพบคนก�ำลัง เจาะรางไม้ หรือเตรียมตัวอาบน�้ำอยู่ พ่อแม่ของฝ่ายชายก็จะเลิกความคิดที่จะไป สู่ขอเหมือนกัน เพราะเชื่อว่าเป็นสิ่งไม่ดีจะท�ำให้คู่บ่าวสาวต้องล�ำบาก เมื่อพ่อแม่ฝ่าย ชาติพันธุ์น่านศึกษา

255


ชายเดินทางไปถึงบ้านฝ่ายหญิง โดยไม่ได้พบอุปสรรคใดๆ แล้วครอบครัวของฝ่าย ชายจะต้องน�ำไก่ ๓ ตัว ประกอบด้วย ไก่ตัวผู้ ๒ ตัว และไก่ตัวเมีย ๑ ตัว แล้วน�ำไก่ ตัวผู้ ๑ ตัวมาปรุงอาหาร เพื่อเป็นการสู่ขอ แล้วร่วมกันรับประทาน พ่อแม่ฝ่ายหญิง จะเชิญญาติอย่างน้อย ๒ - ๓ คน มาร่วมเป็นพยาน ระหว่างที่รับประทานอาหารกัน อยู่นั้น ก็เริ่มเจรจาค่าสินสอดตามประเพณี ซึ่งส่วนใหญ่ ค่าสินสอดจะก�ำหนดเป็น เงินแท่งมากกว่า หรือบางครั้งอาจจะใช้เงินก็ได้ตามฐานะ ส�ำหรับไก่อีก ๒ ตัว หลังจาก ฆ่ า แล้ ว จะน� ำ มาเซ่ น ไหว้ บ รรพบุ รุ ษ ของตระกู ล ทั้ ง สองฝ่ า ย เพื่ อ เป็ น การแจ้ ง ให้ บรรพบุรุษทั้งสองฝ่ายให้รับรู้ในการหมั้น พร้อมทั้งฝ่ายชายจะมอบด้ายและผ้าทอ หรืออุปกรณ์ในการปักชุดแต่งานไว้ใช้ส�ำหรับงานพิธีแต่งให้กับฝ่ายหญิง เพื่อใช้ปัก ชุดแต่งงาน เจ้าสาวจะต้องปักชุดแต่งงานให้เสร็จจากอุปกรณ์ที่ฝ่ายชายเตรียมไว้ใน ตอนหมั้นและเจ้าสาวจะไม่ท�ำงานไร่ จะอยู่บ้านท�ำงานบ้านและปักผ้าประมาณ ๑ ปี ส่วนเจ้าบ่าวต้องเตรียมอาหารที่จะใช้เลี้ยงแขกและท�ำพิธีกรรมเช่น หมู ไก่ และจัด เตรียมเครื่องดนตรี จัดบุคคลที่จะเข้าท�ำพิธีกรรมทางศาสนา และอุปกรณ์การจัดงาน ทั่วไป หลังจากหมั้นแล้วบ่าวสาวจะอยู่ด้วยกันที่บ้านฝ่ายใดก็ได้แล้วแต่จะตกลงกัน พิธีแต่งงานใหญ่ (ต่ม ชิ่ง จา) : พิธีนี้เป็นพิธีใหญ่ซึ่งจะต้องใช้ค่าใช้จ่ายสูง คนที่จัดพิธีใหญ่นี้ส่วนมากจะเป็นผู้ที่มีฐานะดี จะใช้เวลาในการท�ำพิธี ๓ คืน ๓ วัน ซึ่ง จะต้องใช้เวลาเตรียมงานกันเป็นปี คือ ต้องเลี้ยงหมู เลี้ยงไก่ไว้ให้พอกับการเลี้ยงแขก พิธีแต่งงานเล็ก (ชิ่งจาตอน): พิธีต่าง ๆ จะเป็นการกินเลี้ยงฉลองอย่างเดียว ไม่มพี ธิ กี รรมอะไรมาก จะใช้เวลาท�ำพิธเี พียงวันเดียว เจ้าสาวไม่ตอ้ งสวมทีค่ มุ ทีม่ นี ำ�้ หนัก มากและพิธีเล็กนี้ไม่ต้องสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก จุดส�ำคัญของการแต่งงานของเมี่ยน คือ ตามที่เจ้าบ่าวตกลงสัญญาจ่ายค่าตัวเจ้าสาวกับพ่อแม่ของเจ้าสาวไว้ เพื่อเป็นการ ทดแทนที่ได้เลี้ยงดูเจ้าสาวมา และฝ่ายเจ้าบ่าวจะต้องบอกวิญญาณบรรพบุรุษของ ตนเองยอมรับ และช่วยคุม้ ครองเจ้าสาวด้วย ประการสุดท้ายเจ้าบ่าวและเจ้าสาวจะต้อง ดืม่ เหล้าทีท่ ำ� พิธแี ล้วร่วมแก้วเดียวกัน การแต่งงานของเมีย่ นนัน้ จะต้องท�ำตามประเพณี ทุกขั้นตอนอย่างพิถีพิถัน และเป็นไปในลักษณะที่ให้เกียรติซึ่งกันและกันทั้งสองฝ่าย ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ (เจี๋ย เซียง เหฮียง) พิธฉี ลองปีใหม่ของเมีย่ นจะจัดเป็นประจ�ำทุก ๆ ปี หลังจากปีเก่าได้ผา่ นพ้นไป แล้ว เช่นเดียวกับชนเผ่ากลุม่ อืน่ ๆ ทัว่ ไป แต่เนือ่ งจากเผ่าเมีย่ นใช้วธิ นี บั วัน เดือน ปี แบบจีน

256ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ดังนั้นวันฉลองปีใหม่จึงเริ่มพร้อมกันกับชาวจีน คือ วันตรุษจีน ภาษาเมี่ยนเรียกว่า เจีย๋ ฮยัง๋ ก่อนทีจ่ ะถึงพิธี เจีย๋ งฮยัง๋ นี้ ชาวบ้านแต่ละครัวเรือน จะต้องเตรียมสิง่ ของเครือ่ ง ใช้ที่จ�ำเป็นทั้งของใช้ส่วนตัว และของใช้ในครัวเรือนให้เรียบร้อยก่อน เพราะเมื่อถึงวัน ขึ้นปีใหม่แล้ว จะมีกฏข้อห้ามหลายอย่างที่เผ่าเมี่ยน ยึดถือและปฏิบัติกันต่อ ๆ กันมา วันขึ้นปีใหม่นี้ ญาติพี่น้องของแต่ละครอบครัว ซึ่งแต่งงานแยกครอบครัว ออกไปอยู่ที่อื่น ก็จะพากันกลับมาเยี่ยมพ่อแม่ และญาติพี่น้องของตนเอง ซึ่งเป็นการ พบปะสังสรรค์ และท�ำพิธีบวงสรวงบรรพบุรุษร่วมกัน (เสียงเมี้ยน) พิธีนี้จะเริ่มวันที่ ๓๐ ซึง่ ถือว่าเป็นวันส่งท้ายปีเก่า และต้อนรับปีใหม่ และเป็นการแสดงความขอบคุณแก่ วิญญาณ บรรพบุรุษที่ได้คุ้มครองดูแลเรา ในรอบปีที่ผ่านมาด้วยดี หรือบางครอบครัวที่ มีการบนบานเอาไว้ก็จะมา ท�ำพิธีแก้บน และเซ่นไหว้กันในวันนี้ ประเพณีเจี๋ยเจียบเฝย หรือ เชียดหาเจียบเฝย (วันสาร์ทจีน) ตรงกับวันที่ ๑๔–๑๕ เดือน ๗ ของจีน วันเชียดหาเจียบเฝยของเมี่ยนจะมี ๒ วัน คือ วันที่ ๑๔ หรือเรียกว่า "เจียบเฝย" และวันที่ ๑๕ เรียกว่า "เจียบหือ" ก่อนถึง เชียดหาเจียบเฝย ๑ วัน คือวันที่ ๑๓ หรือที่เรียกกันว่า "เจียบฟาม" ชาวบ้านจะเตรียม ของใช้ส�ำหรับท�ำพิธี เช่น กระดาษเงิน กระดาษทอง และหาฟืนมามาเก็บไว้มาก ๆ เพราะว่าในวันท�ำพิธนี หี้ า้ มไปท�ำไร่ และเก็บฟืน ส่วนคนทีไ่ ปนอนค้างคืนไนไร่กจ็ ะทยอย กันเดินทางกลับบ้านในวันนี้ นอกจากนี้ยังท�ำขนมที่เรียกกันว่า "เจียบเฝยยั้ว" วันที่ ๑๔ หรือ เจียบเฝยนี้ เชื่อกันว่าเป็นวันของคน ชาวบ้านจะไม่ไปไร่เข้าป่า ล่าสัตว์ ไม่ท�ำงานใด ๆ วันนี้จะมีการเซ่นไหว้บรรพบุรุษตามความเชื่อที่มีมาแต่โบราณ เพราะเป็นที่เทพเจ้า เทพธิดา วิญญาณบรรพบุรุษเฉลิมฉลองครั้งยิ่งใหญ่ มีการท�ำบุญ กันทุกบ้านเรือน มีการขออภัยโทษแก่ดวงวิญญาณต่าง ๆ ให้เป็นอิสระ ลูกหลานจะ ต้องมีการท�ำพิธีบวงสรวง เผากระดาษเงิน กระดาษทองส่งไปให้วิญญาณบรรพบุรุษได้ ใช้จ่าย วันที่ ๑๕ วิญญาณบรรพบุรุษจะได้คุ้มครองดูแลลูกหลาน วันที่ ๑๕ หรือ "เชียดหาเจียบหือ" หรือเรียกอีกอย่างว่า "เมี้ยน ป้าย เหย" เชื่อ กันว่าเป็นวันของผีจะมีการปลดปล่อยผีทกุ ตัวตน เพือ่ ให้มารับประทานอาหารทีผ่ คู้ นท�ำ พิธใี ห้ วันนีช้ าวบ้านจะอยูก่ บั บ้านไม่ให้ออกไปไหน ห้ามคนเข้าออกหมูบ่ า้ น ห้ามเด็ดใบไม้ ใบตองทัง้ สิน้ เพราะเชือ่ ว่าวิญญาณจะใช้ใบไม้ใบตองเหล่านีห้ อ่ ของกลับไปเมืองวิญญาณ จะมีการพูดว่าใบไม้ ๑ ใบ เป็นที่อยู่อาศัยของวิญญาณ ๑ ตัว เมี่ยนจึงไม่เก็บใบไม้ต่าง ๆ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

257


ในวันนี้ ในวันนี้ก็เป็นอีกวันที่ชาวเมี่ยนไม่ไปท�ำไร่นา เพราะดวงวิญญาณต่าง ๆ ออก เดินทางกลับบ้านเมืองของตน เมีย่ นเชือ่ ว่าถ้าออกไปไหนมาไหนละก็อาจจะชนถูก และ เหยียบถูกโดยที่เราไม่รู้ และอาจท�ำให้เราป่วยเมื่อเราไปไปท�ำถูกดวงวิญญาณเหล่านั้น วันที่ ๑๖ ก็จะเริ่มปฏิบัติงานตามปกติ เพราะเชื่อว่าวิญญาณที่ถูกปล่อยมานั้น ถูกเรียกกลับไปหมดแล้ว ดวงวิญญาณไม่สามารถมารบกวนเราได้แล้ว ดวงวิญญาณ จะถูกเรียกกลับแล้ว ก็ต้องไปอยู่ตามที่ต่างๆ ที่ตนอยู่ เมี่ยนจะท�ำพิธีเจี๋ยเจียบเฝย อย่างนี้เป็นประจ�ำทุกปี เพื่อให้ดวงวิญญาณได้มารับอาหารไปกินใช้ในแต่ละปี และให้ ดวงวิญญาณมาช่วยคุ้มครองครอบครัว ตลอดกระทั้งหมู่บ้านของชาวเมี่ยน ประเพณีการบวช (กว๋าตัง) ค�ำว่า "กว๋า ตัง" ในภาษาเมี่ยนมีความหมายว่าแขวนตะเกียง ซึ่งเป็นการ ท�ำบุญเพื่อให้เกิดความสว่างขึ้น และเมี่ยนเองก็จะถือว่าผู้ที่ผ่านพิธีนี้แล้ว จะมีตะเกียง ๓ ดวง พิธีนี้ได้รับอิทธิพลมาจากลัทธิเต๋า เป็นพิธีที่ท�ำเฉพาะผู้ชายเท่านั้น ถือเป็นการ สร้างบุญบารมีให้กับตนเอง ท�ำบุญอุทิศให้บรรพบุรุษ และเป็นผู้สืบสกุล ไม่มีหลักฐาน ปรากฏแน่ชัดว่า พิธีกรรมนี้มีประวัติความเป็นมาอย่างไร มีเพียงแต่ค�ำบอกเล่าจากการ สันนิษฐานของผู้อาวุโสว่า พิธีกว๋าตัง นี้มีมานานมากแล้ว คงจะเป็น "ฟ่ามชิงฮู่ง" เป็นผู้ บัญญัตใิ ห้ชาวเมีย่ นท�ำพิธนี ี้ เมือ่ ประมาณ ๒๓๖๑ ปีมาแล้ว เพราะ ฟ่ามชิงฮูง่ เป็นผูส้ ร้าง โลกวิญญาณและโลกของคน ฟ่ามชิงฮู่ง จึงบอกให้ท�ำพิธีกว่าตัง เพื่อช่วยเหลือคนดี ที่ตายไปให้ได้ขึ้นสวรรค์ หรือไปอยู่กับบรรพบุรุษของตนเอง จะได้ไม่ตกลงไปในนรก ที่ยากล�ำบาก พิธีนี้เป็นพิธีบวชพิธีแรกซึ่งจะท�ำให้กับผู้ชายเมี่ยน โดยไม่จ�ำกัดอายุ ในประเพณีของเมี่ยน โดยเฉพาะผู้ชายถ้าจะเป็นคนที่สมบูรณ์จะต้องผ่านพิธีบวชก่อน พิธีกว๋าตัง หมายถึงพิธีแขวนตะเกียง ๓ ดวง เป็นพิธีที่ส�ำคัญมาก เพราะถือว่า เป็นการสืบทอดตระกูล และเป็นการท�ำบุญให้บรรพบุรุษด้วย ในการประกอบพิธีกว๋า ตังนี้ จะต้องน�ำภาพเทพพระเจ้าทั้งหมดมาแขวน เพื่อเป็นสักขีพยานว่าบุคคลเหล่านี้ว่า ได้ท�ำบุญแล้ว และจะได้ขึ้นสวรรค์เมื่อเสียชีวิตไป จุดส�ำคัญของพิธีนี้คือ การถ่ายทอด อ�ำนาจบุญบารมีของอาจารย์ผู้ประกอบพิธีกรรม ซึ่งในขณะท�ำพิธีนี้จะมีฐานะเป็น อาจารย์ (ไซเตีย๋ ) ของผูเ้ ข้าร่วมพิธอี กี ฐานะหนึง่ และผูผ้ า่ นพิธนี จี้ ะต้องเรียกผูท้ ถี่ า่ ยทอด บุญบารมีนี้ว่า อาจารย์ตลอดไป ผู้เป็นอาจารย์ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นผู้ประกอบพิธีกรรม เสมอไป แต่ต้องผ่านการท�ำพิธีกว๋าตัง หรือพิธีบวชขั้นสูงสุด"โต่ว ไซ" ก่อน

258ชาติพันธุ์น่านศึกษา


เมือ่ ผ่านพิธนี แี้ ล้ว จะท�ำให้เขาเป็นผูช้ ายทีส่ มบูรณ์ เขาจะได้รบั ชือ่ ใหม่ ชือ่ นีจ้ ะ ปรากฏรวมอยู่รวมกับท�ำเนียบวิญาณของบรรพบุรุษของเขา ซึ่งเป็นการสืบต่อตระกูล มิให้หมดไป เมื่อเขาเสียชีวิตเขาสามารถไปอยู่กับบรรพบุรุษที่ (ย่าง เจียว ต่ง) และ อาจจะหลงไปอยู่ในที่ต�่ำซึ่งเป็นที่ที่ไม่ดีหรือนรกก็ได้ ส�ำหรับชายที่แต่งงานแล้วเวลาท�ำ พิธีบวช ภรรยาจะเข้าร่วมพิธีด้วย โดยจะอยู่ด้านหลังของสามี และการท�ำพิธีสามารถ ท�ำได้พร้อม ๆ กันหลาย ๆ คนก็ได้ แต่คนที่ท�ำนั้นจะต้องเป็นญาติพี่น้องกัน หรือนับถือ บรรพบุรุษเดียวกัน เมี่ยนเรียกว่า (จ่วง เมี้ยน) หลังจากผ่านพิธีนี้แล้ว ผู้ท�ำพิธีจะได้รับ ชื่อผู้ใหญ่ และชื่อที่ใช้เวลาท�ำพิธีด้วยเรียกว่า (ฝะ บั๋ว) ในการเข้าพิธีบวชนี้ในหมู่บ้าน เครือญาติ จะมีการตรวจสอบหลักฐานของแต่ละคนจาก "นิน่ แซงเป้น" คือ บันทึกวันเดือน ปีเกิดหรือสูติบัตร (เอ้โต้ว) คือ การปฏิบัติต่อกันมา และ "จาฟินตาน" คือ บันทึกรายชื่อ ของบรรพบุรุษที่แต่ละคนถือครองอยู่ ศาสนา ความเชื่อ และพิธีกรรม ชาวเมี่ยนส่วนใหญ่จะนับถือเทพยดา วิญญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณทั่วไป ทุกบ้านจะมีหิ้งบูชา เป็นที่สิงสถิตของวิญญาณบรรพบุรุษ และมีความเชื่อในเรื่องที่ อยู่เหนือธรรมชาติ และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ตลอดจนการนับวันเดือนปี สิ่งที่เกี่ยวข้องกับชีวิต ประจ�ำวัน โชคลางและการท�ำนาย พิธกี รรมทีส่ ำ� คัญ จะมีพธิ กี รรมการตัง้ ครรภ์ พิธกี รรม การเกิด การสู่ขวัญ การบวช การแต่งงาน พิธีงานศพ ขึ้นปีใหม่ และวันกรรม วันเจี๋ย เจียบเฝย (สาร์ทจีน) พิธีซิบตะปูงเมี้ยน เมี่ยนได้เริ่มน�ำเอาลัทธิเต๋ามาเป็นแนวทางใน การปฎิบัติเมื่อครั้งอพยพทางเรือในช่วงคริสศตวรรษที่ ๑๓ ความเชื่อของเมี่ยนจึงผสม ผสานกันระหว่างความเชื่อเรื่องเทพ และวิญญาณ ชึ่งมีความคิดพื้นฐานในการยอมรับ เรื่องอ�ำนาจของเทพ เจ้าป่าเจ้าเขาหรือสิ่งเหนือธรรมชาติเป็นหลัก ชาวเมี่ยนเชื่อว่า ใน ชีวิตคนจะมีขวัญ (เวิ่น) ซ่อนอยู่ในสวนต่าง ๆ ของร่างกายซึ่งมีทั้งหมด ๑๑ แห่ง คือที่ เส้นผม, ศีรษะ, ตา, หู, จมูก, ปาก, คอ, ขา, แขน, อก, ท้อง, และเท้าเมื่อเสียชีวิต ไปขวัญ จะเปลี่ยนเป็นวิญญาณหรือผี (เมี้ยน) และจะสิงสถิตย์อยู่ในธรรมชาติ เช่น ในภูเขา แม่นำ�้ หรือทัว่ ไป ซึง่ ปกติอำ� นาจของวิญญาณหรือของเหนือธรรมชาติ ในโลกจะ มีความสัมพันธ์อนั ดีกบั มนุษย์ แต่ถา้ ไปท�ำให้ผโี้ กรธแล้วผี จะท�ำให้เกิดความทุกข์ทรมาน และมีความเสียหายได้ เมี่ยนมีทัศนคติว่าความมั่นคง และความปลอดภัยของมนุษย์ทั้ง ขณะด�ำรงชีวิตอยู่และหลังจากตายไปแล้วล้วนจะขึ้นอยู่กับวิญญาณหรือภูตผีเพราะ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

259


เมี่ยน เชื่อว่ามนุษย์อยู่ในความคุ้ม ครองของวิญญาณหรือภูตผี การสร้างความสัมพันธ หรือติดต่อกับวิญญาณภูตผีกระท�ำได้โดยผ่านพิธีกรรมเท่านั้น ความเชื่อเกี่ยวกับสถานที่ ความเชือ่ เกีย่ วกับสถานทีห่ รือสุสานถือเป็นเรือ่ งทีส่ ำ� คัญส�ำหรับเมีย่ นมาก เช่น สุสานหรือหลุมฝังศพของเมีย่ น ก่อนทีจ่ ะท�ำการไปฝังกระดูก หรือศพจะมีการท�ำพิธถี าม ดวงวิญญาณของผู้ตาย และเจ้าที่ก่อนว่าจะพักอยู่ไหนโดยอาจารย์ผู้ประกอบพิธีจะใช้ ไข่ไก่ดิบ ๑ ฟอง แล้วโยนไข่ไปเรื่อย ๆ จนกว่าไข่จะแตก ถ้าไข่แตกที่ไหนก็แสดงว่า ท�ำเลตรงนัน้ ดี และสามารถฝังกระดูกได้ แต่ถา้ ไข่ไม่แตกก็ตอ้ งโยนต่อไปเรือ่ ย ๆ จนกว่า ไข่จะแตก พื้นที่ฝังกระดูกหรือบริเวณสุสานของบรรพบุรุษ จะต้องท�ำพิธีและไปดูแล สุสานให้ดี หากท�ำเลที่ตั้งสุสานของบรรพบุรุษไม่ดีหรือที่เมี่ยนเรียกว่า ออน ต้อย ลูกหลานก็ไม่เจริญ ความเชื่อเกี่ยวกับป่าเขาต่าง ๆ เมีย่ นเชือ่ ว่าดอยทุกดอย ป่าทุกป่าจะมีเจ้าป่าเจ้าเขาและวิญญาณอยูจ่ ำ� นวนมาก เมื่อเดินทางเข้าไปในป่าอาจชนใส่ เหยียบใส่ หรือท�ำผิดโดยที่เราไม่รู้ตัว ซึ่งอาจ ท�ำให้ดวงวิญญาณเจ้าป่าเจ้าเขาเหล่านี้ได้รับความเดือดร้อน และอาจจะจับเอาขวัญ ของเราไปหรือท�ำให้เราเจ็บป่วยได้ ดังนั้นจึงจะต้องท�ำพิธีกรรมขอขมาต่อดวงวิญญาณ เจ้าป่าเขา ความเชื่อเกี่ยวกับหนองน�้ำ เมี่ยนเชื่อว่าในหนองน�้ำจะมีผีหรือดวงวิญญาณสิงสถิตย์อยู่มากมาย เช่น จ่าง ต๋อง ซุ้ย, เยี่ยน ฟิว เมี้ยน ถ้าเกิดหนองน�้ำแห่งไหนมี จ่าง เมี้ยน อาศัยอยู่ หากคน ไปรบกวน หรือท�ำผิดต่อ จ่าง เมี้ยน อาจจะท�ำให้ไม่สบายต้องท�ำพิธีถาม โบว้ กวา (เสี่ยงทาย) ว่าได้ไปรบกวนอะไร พอรู้แล้วก็จะต้องท�ำพิธีขอขมา ความเชื่อเกี่ยวกับแม่น�้ำ ในแม่น�้ำเมี่ยนมีความเชื่อว่ามีดวงวิญาณ อื่อ ฮอย ฮู่ง หรือ ซุ้ย โก้ว เมี้ยน อาศัยอยู่ มีความเชื่อว่าห้ามผู้หญิงในช่วงอยู่ไฟเอาเสื้อผ้าไปซัก อาบน�้ำ หรือข้ามแม่น�้ำ เพราะถือว่าผูห้ ญิงในช่วงอยูไ่ ฟร่างกายยังไม่สะอาด หากมีความจ�ำเป็นต้องข้ามแม่นำ�้ ก็

260ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ต้องเอากระดาษผี (เจ่ย ก๋อง) มาเผาเพื่อเป็นการบอกกล่าว และขอขมาต่อเทพที่อาศัย อยู่ในแม่น�้ำก่อนจึงจะข้ามน�้ำได้ ความเชื่อเกี่ยวกับจอมปลวก เมี่ยนเชื่อว่าในจอมปลวกนั้นมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์อาศัยอยู่ และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อาศัย อยู่ในจอมปลวกนี้เป็นสิ่งที่คุ้มครองให้เราเดินทางปลอดภัย เมื่อเดินทางผ่านไปจะ ต้องเก็บเอาใบไม้ใบหญ้า มาวางไว้บนจอมปลวก เพราะถือว่าเป็นการมุงหลังคาให้กับ จอมปลวกเพื่อไม่ให้จอมปลวก โดนแดดโดนฝน การที่จะทราบได้ว่าปลวกอันใดที่เป็น สถานที่ศักดิ์สิทธิ์อาศัยอยู่ จะสังเกตได้ว่าหลังจากที่คนเอาใบไม้ใบหญ้าไปวางไว้แล้ว หากจอมปลวกนัน้ ยังมีการสร้างดินทับใบไม้ใบหญ้าอยูล่ ะก็แสดงว่าทีน่ นั้ มีความศักดิส์ ทิ ธิ์ จริง เวลาเดินทางผ่านต้องระมัดระวังห้ามปัสสาวะใกล้ ๆ กับจอมปลวกหรือบางคน ดวงไม่ดีแค่เดินผ่าน เมื่อกลับมาถึงบ้านก็ไม่สบายต้องท�ำพิธีขอขมา ความเชื่อเกี่ยวกับ นรก-สวรรค์ เมี่ยนเชื่อว่าในขณะป็นมนุษย์อยู่นั้นหากท�ำแต่เรื่องที่ไม่ดี เมื่อเสียชีวิต วิญญาณจะตกนรกและวิญญาณจะไม่ได้ไปเกิดใหม่ เมือ่ มีญาติเสียชีวติ หลังจาก งานศพ ผ่านไปไม่นาน ลูกหลานก็จะมีการท�ำพิธีเชิญวิญญาณคนตายมาถามว่าเป็นอย่างไรบ้าง อยู่สุขสบายหรือไม่ หากวิญญาณตกนรกหรืออยู่ ล�ำบากก็จะบอกให้ลูกหลานทราบ เมือ่ รูว้ า่ วิญญาณบรรพบุรษุ ตกนรกลูกหลานต้องท�ำพิธเี อาวิญญาณขึน้ จากนรก ท�ำพิธนี ี้ เรียก เซียว เต่ย หยัวน การขึ้นสวรรค์เชื่อว่าคนที่จะขึ้นสวรรค์ได้นั้น คือ คนที่ผ่านพิธี บวชใหญ่ (โต่ว ไซ) เพราะถือว่าเป็นคนทีม่ บี ญ ุ บารมี และภรรยาจะได้บญ ุ บารมีจากสามี ซึ่งก็สามารถขึ้นสวรรค์ได้ พิธีส่งผีป่า เรียกว่า พิธฝี งู เยีย่ นฟิวเมีย้ น หมายถึง การส่งผีปา่ พิธกี รรมนีเ้ ป็นพิธกี รรมของ เมี่ยนที่มีมาแต่ดั้งเดิมแล้ว และได้สืบทอดมาจนถึงทุกวันนี้ เมี่ยนเชื่อว่าพิธีกรรมนี้เป็น อีกพิธกี รรมหนึง่ ทีช่ ว่ ยในการทีค่ น ๆ หนึง่ ไปท�ำผิดต่อผีปา่ หรือลบหลูโ่ ดยไม่ได้ตงั้ ใจ แล้ว เมื่อผีป่าเกิดความโกรธจึงท�ำให้เกิดการเจ็บป่วยขึ้นมา และจะไม่สามารถรักษาได้ โดย ทั่วไปจึงต้องท�ำพิธีเพื่อขอขมา การท�ำพิธีนี้จะเริ่มมาตั้งแต่การท�ำพิธีกรรมย่อย โดยเมื่อมีคนที่เกิดอาการเจ็บ ป่วยขึ้นมา ไม่สามารถรักษาให้หายได้โดยการกินยา คนในครอบครัวนั้นก็ต้องไปท�ำพิธี ชาติพันธุ์น่านศึกษา

261


ถามหมอผี โดยการไปท�ำพิธี (โบ้วจุย๋ ซากว๋า) ก่อน คือ ท�ำพิธถี ามวิญญาณบรรพบุรษุ ว่าที่ เกิดอาการป่วยนี้ เกิดจากสาเหตุใด เมือ่ ท�ำการถามเสร็จแล้ว หมอผีกจ็ ะบอกคนป่วยว่า คนป่วยนัน้ ได้ทำ� ผิดต่อผีปา่ คนป่วยก็จะได้รวู้ า่ ตนนัน้ ได้ทำ� ผิดอย่างไรต่อผีปา่ และท�ำผิด ต่อสิ่งไหน จากนั้นหมอผีก็จะบอกให้กับคนป่วย และครอบครัวให้ไปท�ำพิธีส่งผีป่า โดย หมอผีจะบอกว่าจะต้องน�ำอะไรในการเซ่นไหว้เพื่อขอขมา หลังจากนั้นคนในครอบครัว ก็จะหาวัน เพื่อที่จะไปท�ำพิธีส่งผีป่าต่อไป การส่งผีป่านี้จะต้องเตรียมอุปกรณ์ตั้งแต่อยู่บ้าน อุปกรณ์ก็จะมีสัตว์ที่ใช้ เซ่นไหว้ กระดาษเงินกระดาษทอง (เจ่ยก๋อง) เอาไปเพือ่ เป็นเงินทองทีจ่ ะเอาไปเผาส่งให้ กับผีปา่ และยังมี (จ๋าว) เป็นอุปกรณ์ทใี่ ช้ถามความต้องการ เวลาส่งเงินทองให้กบั ผีปา่ ว่า เพียงพอหรือว่ายังไม่เพียงพอ จ๋าวเป็นอุปกรณ์ที่ท�ำมาจากไม้ไผ่ ถ้าไม้ไผ่หงายทั้ง ๒ อัน ก็แสดงว่าผีป่าพอใจกับเงินทองที่คนป่วยส่งไปให้แล้ว ถ้าไม้ไผ่ไม่หงายอย่างที่ต้องการ ทัง้ ๒ อัน ละก็ตอ้ งท�ำการถามต่อไปเรือ่ ย ๆ จนกว่าผีปา่ พอใจ การส่งวิญญาณผีปา่ นี้ จะ เริม่ ท�ำตัง้ แต่อยูบ่ า้ นเลย ก่อนทีจ่ ะออกไปในป่าเพือ่ ทีจ่ ะท�ำพิธสี ง่ ผีปา่ นัน้ หมอผีกจ็ ะสวด ยันต์ป้องกันผีร้ายไว้ให้คนละอัน คนที่จะไปนั้นจะต้องได้รับยันต์ป้องกันผีป่าจากหมอผี คนละอัน โดยหมอผีจะท�ำการสวดคาถาก่อน เพื่อจะให้คุ้มครองคนที่จะไปด้วยในขณะ เดินทาง ต้องเอาติดไว้กับเสื้อที่เราใส่อยู่ เพื่อเป็นการป้องกันสิ่งชั่วร้ายต่างๆ เมื่อไปถึงในป่าที่ที่จะท�ำพิธีแล้ว ผู้ช่วยหมอผีก็จะท�ำการเตรียมพื้นที่แล้วก็ จัดเครื่องเซ่นไหว้ แล้วก็ฆ่าไก่เพื่อที่จะท�ำพิธีต่อไป ไก่นั้นจะมีทั้งหมด ๓ ตัว ตัวหนึ่งจะ เป็นไก่ที่ฆ่าเพื่อเซ่นไหว้ให้กับ (ใส เตี๋ย) ซึ่งเป็นวิญญาณบรรพบุรุษของคนป่วย เพื่อให้ วิญญาณบรรพบุรุษช่วยคุ้มครองคนป่วยและครอบครัวของคนป่วย อีก ๒ ตัว เป็นไก่ที่ ฆ่าเพื่อเซ่นไหว้ให้กับผีป่า เพื่อขอขมากับผีป่าที่ท�ำให้โกรธและไปลบหลู่ถูกผีป่าโดยไม่รู้ ตัวนั้นเอง จึงเป็นเหตุท�ำให้ไม่สบายและป่วยเกิดขึ้น จึงต้องท�ำการขอขมาให้ผีป่าไม่มา ท�ำร้ายอีก ขอจงปล่อยให้คนป่วยกลับมาเป็นอิสระเหมือนเดิม อย่าได้ทำ� ร้ายกันอีกต่อไป ในขณะที่ท�ำอยู่นั้นก็จะมีด้ายเส้นหนึ่งที่ใช้ผูกไว้กับ (สิเจียน) และผีป่าที่เราท�ำเป็นรูป จ�ำลองขึ้นมา แล้วท�ำการสวดขอขมาผีป่าเพื่อปล่อยให้คนป่วยนั้นให้เป็นอิสระ เมื่อ ท�ำการสวดเสร็จก็จะตัดด้ายเส้นนั้นให้ขาด เพื่อไม่ให้ผีป่ามารบกวนคนป่วยอีก เมื่อตัด เสร็จแล้วก็จะท�ำการเผากระดาษเงิน กระดาษทองให้กับผีป่าที่ต้องการจนหมด แล้วก็ น�ำร่างจ�ำลองของผีปา่ ไปทิง้ ให้ไปอยูใ่ นป่าเหมือนเดิม หลังจากนัน้ ก็จะเสร็จพิธใี นการท�ำ ผู้ช่วยหมอผีก็จะน�ำไก่มาต้มย�ำท�ำแกง แล้วก็ร่วมรับประทานกันกับทุกคนที่มาด้วยการ ส่งผีปา่ นีจ้ ะใช้เวลา ๒ ชัว่ โมงกว่า ๆ จึงเป็นอันเสร็จพิธี พอทานเสร็จตอนกลับบ้านจะห้าม

262ชาติพันธุ์น่านศึกษา


น�ำอาหารทีเ่ หลือกลับบ้าน และจะไม่แวะเข้าบ้านของชาวบ้าน เพราะถือว่าไม่เป็น่ มงคล และเมื่อกลับถึงบ้านก็ต้องล้างมือก่อนเข้าบ้าน คนที่ไปนั้นต้องท�ำตามพิธีอย่างพิถีพิถัน พิธีเรียกขวัญ การเรียกขวัญก็เป็นอีกหนึง่ พิธกี รรมทีเ่ มีย่ นให้ความเคารพนับถือมาโดยตลอด ในระยะ ๑ ปีของเมี่ยนนั้น แต่ละคนต้องท�ำการเรียกขวัญอย่างน้อย ๑ ครั้ง บางคนนั้น อาจจะเรียกขวัญปีละ ๒ - ๓ ครั้งก็มี เนื่องจากคนคนนั้นเกิดอาการป่วยเกิดขึ้น หรือ ท�ำเมือ่ ตกใจเห็นอะไรทีไ่ ม่ดี จะต้องเดินทางไกล จากบ้านไปนาน ชนเผ่าเมีย่ นจึงท�ำการ เรียกขวัญ เพื่อที่ให้ขวัญกับมาอยู่กับตัว เมี่ยนเชื่อว่าการเรียกขวัญนั้นจะช่วยขจัดความ ทุกข์ทรมานได้ และเมือ่ ท�ำแล้ว วิญญาณบรรพบุรษุ ก็จะมาคุม้ ครอง และดูแลผูเ้ รียกขวัญ เมื่อเรียกขวัญเสร็จก็จะท�ำให้คนที่สู่ขวัญนั้นสบายใจขึ้น การเรียกขวัญของเมี่ยนนั้นจะอยู่ช่วงระหว่างเทศกาลปีใหม่ของเมี่ยน เพราะ ช่วงนั้นพี่น้องในทุก ๆ บ้าน ก็จะกลับบ้านมาพร้อมหน้าพร้อมตากัน พี่น้องที่อยู่ไกล เมื่อกลับมาถึงบ้าน พ่อแม่ก็จะห่าหมอผีมาช่วยเรียกขวัญ เนื่องจากว่าคนที่อยู่ห่างไกล จากบ้านนั้นจะไม่ค่อยกลับบ้าน จึงไม่ค่อยได้เรียกขวัญเท่าไหร่นัก กว่าจะได้เรียกขวัญ ทีหนึ่งก็ต้องนานเป็นปี ช่วงเทศกาลปีใหม่นี้จึงเป็นช่วงที่เหมาะกับการเรียกขวัญให้กับ คนในครอบครัวมากทีส่ ดุ การเรียกขวัญนีจ้ ะใช้เวลาไม่มากนัก และไม่ตอ้ งใช้เครือ่ งเซ่นไหว้ มากมาย ถ้าเรียกขวัญเด็กอายุ ๑ - ๑๒ ขวบ จะใช้ไก่ตัวและไข่ไก่ฟอง กระดาษเงินและ เหล้า เป็นเครื่องเซ่นไหว้ โดยจัดไว้บนโต๊ะหน้าหิ้งบูชา (ซิบเมี้ยนเมี่ยน) จะท�ำพิธีท่อง คาถา และเผากระดาษเงินให้วิญญาณบรรพบุรุษ เพื่อขอให้ช่วยดูแลรักษา เมื่อยามที่ ไม่สบายเกิดขึ้น หรือเวลาที่ออกไกลบ้านไป และคุ้มครองขวัญให้อยู่กับตัวตลอด การเรียกขวัญของผู้ใหญ่นั้นก็จะท�ำคล้ายกันกับของเด็ก เพียงแต่แค่เปลี่ยน เครื่องเซ่นไหว้ใช้หมูแทนไก่กับไข่ นอกนั้นก็จะเหมือนกับเด็กทุกขั้นตอน การเรียก ขวัญจะใช้เวลาไม่มากนักประมาณ ๒ ชั่วโมงเท่านั้นเอง เมื่อท�ำพิธีเสร็จก็จะท�ำอาหาร ร่วมรับประทานกับอาจารย์ผู้ประกอบพิธี อาจารย์ผู้ประกอบพิธีก็จะบอกว่าขวัญเรา กลับมาหรือยัง เพื่อที่จะได้รู้ว่าเป็นอย่างไรบ้าง ดีหรือว่าไม่ดีตามประเพณี อาจารย์ ผู้ประกอบพิธีก็จะบอกเรา ถ้าหากว่าไม่ดีเราก็ต้องท�ำพิธีตามขั้นต่อไปที่อาจารย์ผู้ ประกอบพิธีบอก คนในครอบครัวก็จะหาหมอผีมาช่วยเรียกขวัญให้กับคนคนนั้น ชาติพันธุ์น่านศึกษา

263


พิธีสะพานเรียกขวัญหรือพิธีต่ออายุ โดยการสร้างสะพานให้วิญญาณข้ามกลับมาหาร่าง เป็นพิธีที่ใช้ระยะเวลา หนึ่งวันจะท�ำพิธีกันที่ชายหมู่บ้าน การจัดพิธีโดยเริ่มจาก เตรียมไม้กระดาน ซึ่งพึ่งเลื่อย จากต้นไม้สด ๆ ให้มีปุ่มไม้ยื่นจากกระดานจ�ำนวนเท่าครั้งของพิธีที่ท�ำมาแล้ว ส�ำหรับ คน ๆ นั้น เขาจะทอดกระดานแผ่นนี้ ข้ามล�ำธารหรือทอดบนพื้นดินให้ขนานกับทาง เข้าหมูบ่ า้ น ก่อนท�ำพิธี ผูป้ ระกอบพิธจี ะเตรียมเขียนสารขึน้ มาหลายฉบับ โดยฉบับหนึง่ ถึงบรรพชน ฉบับหนึ่งถึงเทพเจ้าญุตไต๋ (คือ) และอีกฉบับถึงขวัญที่หลงทางหายไป แล้ว ประทับตราม้าเร็ว (ม้าเร็วคือ) เพือ่ ให้สารนัน้ ไปถึงมือผูร้ บั โดยด่วน แล้วจึงล้มลูกแบ่งหมู ตัวนัน้ เป็นห้าชิน้ แล้วประกอบเข้ากันเป็นหมูอย่างเดิม ตัง้ ไว้ทปี่ ลายสะพานด้านหมูบ้ า้ น ตั้งเครื่องเซ่นพระเจ้าญุตไต๋ไว้ใกล้ ๆ ตัวหมู ส่วนเครื่องเซ่นอีกชุดหนึ่งตั้งไว้บนโต๊ะเล็กที่ ปลายสะพานอีกด้าน ผู้ประกอบพิธีจะท�ำการไหว้วิญญาณอุปัชฌาจารย์ (คือ) และเผา สารเป็นการส่งข้อความไปสู่ภูตภูมิ เมื่อเริ่มพิธีคนป่วยจะต้องนั่งขัดสมาธิอยู่ที่เชิงสะพานด้านหมู่บ้าน มีผ้าขาว คลี่วางพาดตัก ผู้ประกอบพิธีจะสวดมนต์หลายจบแล้วซัดข้าวสารมาจากปลายสะพาน อีกด้านหนึ่ง มายังคนป่วย ซึ่งคนป่วยจะต้องพยายามรับให้ได้บ้างด้วยผ้าขาวเพื่อจะ น�ำข้าวสารทีไ่ ด้ไปถวายผูป้ ระกอบพิธี ผูป้ ระกอบพิธจี ะมอบไก่เป็น ๆ หนึง่ ตัวให้คนป่วย พร้อมกับท่อนไม้ ซึ่งเมื่อคนป่วยรับมาแล้วก็จะต้องเดินข้ามสะพานแล้วกลับไปบ้าน ทันทีโดยไม่เหลียวหลัง แล้วผู้ประกอบพิธีขะเผาเงินกระดาษท้ายพิธี หากท�ำทุกอย่าง ถูกต้องแล้ว เชื่อกันว่าไม่ช้าไม่นาน ขวัญก็จะกลับเข้าร่างเป็นอันฟื้น คือ สุขภาพ ในปัจจุบันการท�ำพิธีนี้ถือได้ว่าเป็นพิธีที่นิยมท�ำพิธีหนึ่ง ซึ่งเป็นความเชื่อของ คนสมัยก่อนถึงปัจจุบัน ซึ่งคนส่วนใหญ่แล้วจะเชื่อคล้ายๆกัน คือ ถ้าท�ำพิธีแล้วจะ สบายใจ เพราะเชื่อว่าการท�ำพิธีนี้แล้ว จะเรียกขวัญคืนมาต่ออายุแล้วยังลบล้างสิ่งที่ ไม่ดีที่เข้ามาท�ำให้ไม่สบาย จึงมีพิธีนี้เกิดขึ้นตามความเชื่อ การแต่งกาย ชาวเมี่ยนมีชื่อเสียงในเรื่องการตีเครื่องเงิน ทั้งนี้เพราะเมี่ยนนิยมใช้เครื่อง ประดับที่เป็นเงินเช่นเดียวกับชาวชนเผ่ากลุ่มอื่น ๆ และรูปแบบเครื่องประดับแต่ล่ะชิ้น เป็นงานฝีมอื ปราณีต เมือ่ มีงานประเพณีผหู้ ญิงเมีย่ นจะประดับเครือ่ งเงินกันอย่างเต็มที่ การตัดเย็บการปักลายและการใช้สีในการปักลายเครื่องใช้ต่าง ๆ ทั้งในชีวิตประจ�ำวัน

264ชาติพันธุ์น่านศึกษา


และใช้ในพิธีกรรมต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพิธีบวช (กว๋าตัง) และพิธีแต่งงาน เช่น ผ้าต้มผาเป็นผ้าคลุมวางทับโครงไว้บนศีรษะของเจ้าสาวในพิธีแต่งงานแบบใหญ่ ฯลฯ แต่ที่เมี่ยนนิยมปักลายมีผ้าห่อเด็กสะพายหลัง (ซองปุ๋ย) และถุงใส่เงิน (ย่านบั่ว) และ สิ่งที่เมี่ยนน�ำมาตกแต่งคือ การถักเส้นด้าย คล้ายดิ้นใช้ส�ำหรับติดปลายชายเสื้อผ้าการ ใช้ผ้าตัดปะเป็นวิธีการอันเก่าแก่ของเมี่ยนที่ได้ รับอิทธิพลมาจากประเทศจีนส่วนใหญ่ เมี่ยนที่พันหัวแบบหัวแหลม (ก่องเปลวผาน) จะนิยมการตัดปะ ส่วนการใช้พู่ประดับ สตรีเมี่ยนทุกกลุ่มจะติดพู่ก้อนกลม สีแดงเป็นแถวยาวและสร้อยลูกปัดติดพู่ห้อย อาจจะใช้ไหมพรมสีแดงจ�ำนวนเส้นคู่ตั้งแต่ ๒ - ๘ เส้นติดที่ชายเสื้อสตรีตรงข้างเอว ชาวเมี่ยนให้ความส�ำคัญกับการแต่งกายให้เหมาะสมก่อนการท�ำพิธีกรรม การเย็บปักชุดจึงเป็นเรื่องของหญิงเมี่ยน ซึ่งชุดการเข้าพิธีจะคล้ายกับชุดเทวภาพเต๋า (เมี้ยน) ที่เมี่ยนน�ำถือ ซึ่งก่อนการเข้าพิธีบวช (ก๋วาตัง) หญิงเมี่ยนจะต้องเตรียมชุดไว้ให้ พร้อมก่อนการเข้าพิธกี รรม การปักผ้าชุดของผูเ้ ข้าพิธกรรมีที่มลี วดลายปัก มีผา้ จุน้ และ เส้นต้อตายสีทใี่ ช้มสี ขี าวและสีแดง เป็นส่วนใหญ่นอกจากนีอ้ าจารย์ผปู้ ระกอบพิธกี รรม และผู้เข้าพิธีกรรมต้องใช้คือผ้าชนิดต่าง ๆ มาประกอบด้วย ลักษณะการแต่งกายของผู้ชาย ประกอบไปด้วยเสื้อตัวสั้นหลวม คอกลมชิ้นหน้าห่ออกอ้อมไปติดกระดุม ลูกตุม้ เงินถึงสิบเม็ด เป็นแถวทางด้านขวาของร่างในบางทีอ่ าจนิยม ปักลายดอกทีผ่ นื ผ้า ด้วย แล้วสวมกับกางเกงขาก๊วยทั้งเสื้อ และกางเกงตัดเย็บด้วยผ้าฝ้ายทอมือย้อมคราม สีน�้ำเงิน หรือย้อมด�ำคนรุ่นเก่ายังสวมเสื้อก�ำมะหยี่ในงานพิธี แต่ยิ่งอายุมากขึ้นเสื้อของ ชายเมี่ยนก็จะลดสีสันลงทุกทีจนเรียบสนิท ในวัยชราบุรุษเมี่ยนจะใช้ผ้าโพกศีรษะใน งานพิธีเท่านั้น เครื่องแต่งกายเด็ก ทั้งเด็กหญิงและเด็กชายจะมีการแต่งกายที่คล้ายกับ แบบฉบับของการแต่งกายผู้ใหญ่ทั้งหญิง และชาย เพียงแต่เครื่องแต่งกาย ของเด็กจะ มีสีสันน้อยกว่าบ้าง เช่น เด็กหญิงอาจจะยังไม่ปักกางเกงให้ เพราะยังไม่สามารถรักษา หรือดูแลให้สะอาดได้ จึงเป็นการสวมกางเกง เด็กธรรมดาทั่วไป ส่วนเด็กชายก็เหมือน ผู้ใหญ่ คือ มีเสื้อกับกางเกงและที่ไม่เหมือนคือเด็กชายจะมีหมวกเด็ก ซึ่งทั้งเด็กหญิง และเด็กชายจะมีการปักก็มีลักษณะคล้ายกัน แต่หมวกเด็กผู้ชายจะเย็บด้วยผ้าด�ำสลับ ผ้าแดง เป็นเฉกประดับด้วยผ้าตัดเป็นลวดลายขลิบริมด้วยแถบไหมขาวติดปุยไหมพรม แดงบนกลางศีรษะ หรือมีลายเส้นหนึง่ แถวและลายปักหนึง่ แถวสลับกันอย่างละสองแถว ชาติพันธุ์น่านศึกษา

265


ส�ำหรับหมวกเด็กหญิงมีลายปักเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งแถว หรือสองแถวและจะมีผ้าด�ำปัก ลวดลายประดับไหมพรมสีแดงสดบนกลางศีรษะและข้างหู ลักษณะการแต่งกายของผู้หญิง ประกอบไปด้วยกางเกงขาก๊วย ซึง่ เต็มไปด้วยลายปักเสือ้ คลุมตัวยาวถึงข้อเท้า มีไหมพรมอยูร่ อบคอ ผ้าคาดเอวและผ้าโพกศีรษะ การพันศีรษะต้องพันศีรษะด้วยผ้าพืน้ เป็นชั้นแรก จากนั้นก็มาพันชั้นนอกทับอีกที การพันชั้นนอกจะใช้ผ้าพันลายปัก ซึ่งมี ลักษณะการพันสองแบบคือแบบหัวโต (ก่องจุ้น) และแบบหัวแหลม (ก่องเปลวผาน) และผ้านีจ้ ะพันไว้ตลอดแม้ในเวลานอน หญิงเมีย่ นนุง่ กางเกงขาก๊วยสีดำ� ด้านหน้ากางเกง เป็นลายปักทีล่ ะเอียด และงดงามมาก ลวดลายนีใ้ ช้เวลาปัก ๑ - ๕ ปีขนึ้ อยูก่ บั ความละเอียด ของลวดลาย และเวลาว่างของผู้ปักเป็นส�ำคัญ ด้วยเหตุนี้หญิงเมี่ยนจึงอวดลายปัก ของตน ด้วยการรวบปลายเสื้อที่ผ่าด้านข้างทั้งสองมามัดด้านหลัง และใช้ผ้าอีกผืนหนึ่ง ท�ำหน้าเป็นเข็มขัดทับเสื้อ และกางเกงอีกรอบหนึ่ง โดยทิ้งชายเสื้อซึ่งปักลวดลายไว้ ข้างหลัง การตัดเย็บจะตัดเย็บด้วยผ้าฝ้ายพืน้ สีดำ� ยกเว้นเสือ้ คลุมซึง่ อาจใช้ผา้ ทอเครือ่ ง ในบางกรณี การปักลายของเมี่ยนตามบางท้องถิ่นอาจเหมือนหรือแตกต่างกันบ้างตาม ความนิยม เครื่องดนตรี เครื่องดนตรีของเมี่ยนมีลักษณะเป็นการเล่นดนตรีแบบง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน โอกาสในการเล่นดนตรีของเมี่ยนค่อนข้างจ�ำกัด คือ ดนตรีของเมี่ยนจะมีโอกาสน�ำ ออกมาเล่นได้กเ็ ฉพาะเพือ่ ใช้เป็นส่วนประกอบในการด�ำเนินพิธกี รรมใหญ่ ๆ หรือส�ำคัญ ๆ ตามต�ำราพิธกี รรมระบุไว้วา่ ต้องใช้เครือ่ งดนตรีประกอบเท่านัน้ เช่น การแต่งงาน พิธบี วช พิธีงานศพ พิธีกรรมดึงวิญญาณคนตายจากนรก (เชวตะหยั่ว) เป็นต้น และในบาง พิธีกรรมเหล่านี้ การใช้เครื่องดนตรีร่วมประกอบพิธีกรรมยังไม่อาจใช้เครื่องดนตรีครบ ทุกประเภทอีกด้วย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของพิธีกรรม และคุณสมบัติของบุคคลที่เป็น เจ้าของพิธีกรรม เช่น ดนตรีประกอบพิธีกรรมแก่ผู้ตายที่ไม่เคยผ่านการบวชใหญ่ จะใช้ ปีไ่ ม่ได้ หรือพีธดี งึ วิญญาณคนตายขึน้ จากนรก จะใช้เครือ่ งดนตรีเพียงแค่ฉาบและกลอง เท่านั้น นอกจากกรณีเพื่อเป็นส่วนประกอบทางพิธีกรรมดังกล่าวแล้ว ดนตรีของเมี่ยน ไม่มีโอกาสส่งเสียงส�ำเนียงให้ผู้อื่นได้ยินอีกแม้แต่การฝึกซ้อม

266ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ประเภทเป่า การเล่นดนตรีประกอบพิธกี รรม จังหวะและท�ำนองของดนตรีจะเปลีย่ นแปลง ไปตามขั้นตอนของพีธีกรรม หรือเหตุการณ์ในพิธีกรรม เช่น การแต่งงาน ขั้นตอน พิธีกรรมที่เจ้าบ่าวเจ้าสาวท�ำพิธีไหว้วิญญาณบรรพบุรุษ ไหว้ฟ้าดิน ดนตรีจะท�ำจังหวะ และท�ำนองอย่างหนึ่ง การเชิญแขกเข้าโต๊ะ รับประทานอาหาร หรือก�ำลังรับประทาน อาหาร ดนตรีก็จะท�ำจังหวะที่แตกต่างกันไป ผู้เข้าใจจังหวะและท�ำนองดนตรีจะสามารถ รู้เหตุการณ์ หรือขั้นตอนที่ก�ำลังด�ำเนินอยู่ ในพิธีกรรมนั้นได้ แม้มิได้เห็นด้วยตาก็ตาม เครื่องดนตรีของเมี่ยนยังไม่สามารถที่จะเอา ออกมาเล่นเหมือนกับเผ่าอืน่ ได้ ต้องใช้สำ� หรับ ในพิธีกรรมเท่านั้น ดังนั้นเมี่ยนจึงไม่ค่อยจะมี การละเล่นที่โดดเด่นเหมือนกับเผ่าอื่น ปี่ : หรือภาษาเมีย่ นเรียกว่า (จยัด) ปี่ หรือ ภาษาเมี่ยนเรียกว่า (จยัด): เมี่ยนมีปี่เพียง ๑ ชนิด ท�ำด้วยทองแดง ทองเหลือง เจาะรู ตามลักษณะของปี่โดยทั่ว ๆ ไป มีความยาวประมาณไม่น้อยกว่า ๕๐ ซม. ประเภทเครื่องตี กลอง : ภาษาเมี่ยนเรียกว่า "โฌย๋,ล่อโฌย๋" เป็นกลองสองหน้าหุ้มด้วยหนังโค มีขนาดเส้นผ่าศูยน์กลางตั้งแต่ ๓๐-๖๐ ซม. ไม้ที่ใช้ท�ำกลองต้องเป็นไม้ (ตะจูงกง) และ จะมีไม้ที่มีขนาดเล็กเสียบอยู่รอบ ๆ กลองทั้งหมด ๓๐๐ อัน ฆ้อง : ภาษาเมีย่ นเรียกว่า "มัง" ท�ำด้วยโลหะผสมทองแดง มีรปู ร่างเหมือนฆ้อง ไทยโดยทั่ว ๆ ไป มีเส้นผ่านศูยน์กลางตั้งแต่ ๑๕ - ๒๕ ซม. ฉาบ : ภาษาเมี่ยนเรียกว่า "เฉาเจ้ย, ฉาว" ท�ำจากทองเหลือง (ต่งแปะ) มี ลักษณะกลมเช่นเดียวกับฉาบของชาวไทย และมีสองอันใช้ตีประกบเข้าด้วยกัน http://www.sawadee.co.th/thailand/hilltribes/mien.html ชาติพันธุ์น่านศึกษา

267


กรณีศึกษาประวัติหมู่บ้านสันเจริญ

หมูบ่ า้ นสันเจริญ หมูท่ ี่ ๖ ต�ำบลผาทอง อ�ำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน เป็นหมูบ่ า้ น ชาวเขาชนเผ่าเย้า หรือเรียกตนเองว่า “เมีย่ น” ได้อพยพมาจากประเทศจีน ผ่านมาทาง ประเทศลาว เข้ามาอยู่อาศัยบริเวณดอยสวนยาหลวง (เป็นดอยสันเดียวกับดอยวาว) เมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๔๒๗ โดยมีผู้น�ำมาอาศัยอยู่ในบริเวณนี้ คือ นายเวิ่นเฟย แซ่ลี ต่อมาได้มกี ารอพยพทีอ่ ยูอ่ าศัยกันไปอยูต่ ามดอยตามเขาต่าง ๆ หลายทีเ่ พือ่ จะหาทีเ่ พาะ ปลูกท�ำมาหากิน ได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานที่ในบ้านสันเจริญ เมื่อประมาณปี พ.ศ.๒๕๑๓ หลังจากนั้นได้อพยพไปอาศัยอยู่ที่บ้านปางพริก เป็นระยะเวลาประมาณ ๘ ปี ที่บ้าน ปางพริก ก็ได้เกิดโรคระบาดขึ้นอย่างหนักเมื่อประมาณปี พ.ศ.๒๕๒๔ จึงมีการย้าย กลับมาตั้งถิ่นฐาน อยู่ที่บริเวณบ้านสันเจริญในปัจจุบันอีกครั้งหนึ่ง ย้อนหลังไปราว ปี พ.ศ. ๒๔๐๔ บรรพบุรุษของชาวเมี่ยนบ้านสันเจริญ อพยพม่าจากมณฑลยูนนาน สาธารณรัฐ ประชาชนจี น ลงมาทางตอนใต้ ผ ่ า น สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เคลื่ อ นย้ า ยตามสั น ดอยวาว ผ่ า น ดอยภูแว ต�ำบลและอ�ำเภอและ ผ่าน ต�ำบลริม อ�ำเภอท่าวังผา ผ่านขุนน�ำ้ กาด ขุนสะละ ขุนน�้ำพันบางกลุ่มก็ตั้งรากฐานอยู่ขุนสะละและขุนน�้ำพัน แต่บางกลุ่มได้เดินทางมาตั้งรกรากอยู่ที่บริเวณที่เรียกกันว่า "สวนยาหลวง" ซึ่งสันนิษฐานว่าน่าจะราวพ.ศ.๒๔๓๐ สวนยาหลวง เป็นดอยสูงสภาพภูมิอากาศ หนาวเย็ น เหมาะกั บ การปลู ก ฝิ ่ น ชาวบ้ า นในอดี ต จึ ง รวมตั ว กั น ปลู ก ฝิ ่ น ท� ำ ให้ ฝ ิ ่ น กลายเป็นพืชเศรษฐกิจของหมู่บ้าน และถือเป็นพื้นที่ที่ปลูกฝิ่นกว้างใหญ่มากที่สุดใน ประเทศไทย ประมาณ ๒๐,๐๐๐ ไร่ ในปี พ.ศ.๒๕๓๒ ศูนย์พัฒนาและสงเคราะห์ ชาวเขาจังหวัดน่าน เริ่มมีการส่งเสริมการปลูก กาแฟทดแทนฝิ่นในพื้นที่ที่เรียกว่า "สวนยาหลวง" และได้ทำ� การพิจารณาคัดเลือกเกษตรกรชาวเขาทีม่ คี วามสนใจเดินทาง ไปศึกษาดูงาน ที่หน่วยพัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขาบ้านห้วยแก้ว จังหวัดเชียงราย โดยมีเกษตรกรชาวเขาบ้านสันเจริญ หมู่ที่ ๖ ต�ำบลผาทอง อ�ำเภอท่าวังผา จ�ำนวน ๒๒ ครอบครัว ซึ่งชาวบ้านดังกล่าวมีความ สนใจและต้องการปลูกกาแฟ ได้มีการ รวบรวมเงินซือ้ เมล็ดพันธุก์ าแฟมาท�ำการเพาะปลูก และจัดท�ำแผนงานโครงการส่งเสริม

268ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ปลูกกาแฟ โดยจัดให้เจ้าหน้าทีข่ องศูนย์ พ์ ฒ ั นาและสงเคราะห์ชาวเขาจังหวัดน่าน (ศูนย์ พัฒนาสังคมหน่วยที่ ๒๕ จังหวัดน่าน ในปัจจุบัน) เป็นผู้ให้ค�ำแนะน�ำวิธีการเพาะปลูก และสมาชิกโครงการให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี จนสามารถเปลี่ยนพื้นที่ปลูกฝิ่น และ พื้นที่รกร้างว่างเปล่าเป็นพื้นที่ปลูกกาแฟบนภูเขาอันกว้างใหญ่ไพศาล นับร้อยพันไร่ใน ปัจจุบัน ส� ำ หรั บ วิ ถี ชี วิ ต ของ ชาวเมี่ ย นสั น เจริ ญ กั บ ป่ า ไม้ ชาวเมี ย นคุ ้ น เคยกั บ ป่ า เป็ น อย่างดี เรียนรู้ที่จะอยู่และ ใช้ ประโยชน์ จากป่าโดยไม่ท�ำลาย เรียนรู้ว่าต้นไม้ ต้นไหนตัดได้ ต้ น ไหนไม่ ค วรตั ด เพื่ อ รั ก ษา สมดุ ล ทางธรรมชาติ ทั้ ง การ ท�ำไร่แบบหมุนเวียนเพื่อให้ป่า คืนความอุดมสมบูรณ์ จะเห็นว่าชาวบ้านสันเจริญ มีการพึ่งพิงใช้ประโยชน์และมี องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากร ความหลากหลายทางชีวภาพสะท้อนให้เห็น ความแนบแน่นในวิถีคนอยู่กับป่าที่ สอดคล้องกับแนวเศรษฐกิจ พอเพียงมาอย่าง ยาวนาน และยั่งยืน แต่กระนั้นจากการที่ชาวบ้านสันเจริญถึงร้อยละ ๙๘ ท�ำสวนกาแฟ ซึ่งสร้างรายได้ ที่เพิ่มขึ้นให้แก่ชาวบ้าน ท�ำให้ชาวบ้านเริ่มสัมผัสกับวิถีชีวิตบางอย่าง ที่เริ่มเปลี่ยนแปลงไป อันเป็นหนึ่งในเหตุผลที่ ศูนย์พัฒนาสังคมหน่วยที่ ๒๕ จังหวัด น่าน มีโครงการส่งเสริมและพัฒนาสังคมตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ปี พ.ศ.๒๕๕๐ เลือกบ้านสันเจริญเป็นหมู่บ้านน�ำร่อง ซึ่งผลการด�ำเนินงานโครงการดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงความร่วมมือของ แกนน�ำชุมชนและ ชาวบ้านสันเจริญทุกคนที่มุ่งมั่นอยากเห็นชุมชนมีความอยู่เย็น เป็นสุข จึงเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ ทั้งในเวที ชุมชนและการศึกษาดูงาน เป็นอย่างยิง่ จนสามารถสร้างกระแสความตืน่ ตัวด้านเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างน้อยใน ระดับความรู้ความคิด

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

269


ลักษณะที่ตั้งของชุมชนบ้านสันเจริญ

• ทิศเหนือ • ทิศใต้ • ทิศตะวันออก • ทิศตะวันตก

ติดต่อกับ บ้านน�้ำพัน ต.นาไร่หลวง อ.สองแคว จ.น่าน ติดต่อกับ บ้านน�้ำพุร้อน ต.ผาทอง อ.ท่าวังผา จ.น่าน ติดต่อกับ บ้านน�้ำลักใต้ ต.ผาทอง อ.ท่าวังผา จ.น่าน ติดต่อกับ อ.ปง จ.พะเยา

ลักษณะภูมิประเทศของหมู่บ้าน ลักษณะภูมิประเทศของบ้านสันเจริญ เป็นที่ราบ อยู่ในหุบเขา เนื้อที่ส่วนมากเป็น ภูมิเขาที่มีความราดเอียง มีแม่น�้ำหลายสาย มีสภาพดินที่อุดมสมบรูณ์เหมาะส�ำหรับ ท�ำการเกษตรโดยเฉพาะปลูกพืชชนิดกาแฟพันธุ์อาราบิก้า จ�ำนวนเนื้อที่ทั้งหมดของหมู่บ้าน จ�ำนวน ๒๐,๖๐๐ ไร่ แยกเป็น • พื้นที่ท�ำการเกษตร จ�ำนวน ๘,๐๐๐ ไร่ • พื้นที่อยู่อาศัย จ�ำนวน ๕๐๐ ไร่ • พื้นที่สาธารณะ จ�ำนวน ๓๐๐ ไร่ • พื้นที่ป่าอนุรักษ์ จ�ำนวน ๗,๐๐๐ ไร่ • พื้นที่ป่า จ�ำนวน ๔,๘๐๐ ไร่ “กาแฟสวนยาหลวง” แห่งบ้านสันเจริญต�ำบลผาทอง อ�ำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน ถือเป็นสินค้าขึน้ ชือ่ อันดับต้น ๆ ของจังหวัดน่าน ด้วยความหอมอันโดดเด่นที่ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของกลิน่ กาแฟพันธุอ์ าราบิกา้ ซึง่ ปลูกอยูบ่ น ดอยสวนยาหลวง ที่ความสูง ๑,๐๐๐ – ๑,๓๐๐ เมตรขึ้นไป จากระดับน�้ำทะเลปานกลาง มีสภาพอากาศ หนาวเย็นตลอดทั้งปี ท�ำให้ต้นกาแฟเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์และสวยงาม ส่งผลให้ กาแฟสวนยาหลวงมีกลิ่นหอมและรสชาติดีเป็นพิเศษ โดยเฉพาะช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ของทุกปี ที่ส�ำคัญยังสามารถสร้างอาชีพและสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรในพื้นที่ ได้เป็นกอบเป็นก�ำ และช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรให้ดีขึ้นด้วย หมูบ่ า้ นสันเจริญ หมูท่ ี่ ๖ ต�ำบลผาทอง อ�ำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน เป็นหมูบ่ า้ น ชาวเขาชนเผ่าเย้า หรือเรียกตนเองว่า “เมีย่ น” ได้อพยพมาจากประเทศจีน ผ่านมาทาง ประเทศลาว เข้ามาอยู่อาศัยบริเวณดอยสวนยาหลวง (เป็นดอยสันเดียวกับดอยวาว)

270ชาติพันธุ์น่านศึกษา


เมือ่ ประมาณปี พ.ศ.๒๔๒๗ โดยมีผนู้ ำ� มาอาศัยอยูใ่ นบริเวณนี้ คือ นายเวิน่ เฟย แซ่ลี ต่อมาได้มีการอพยพที่อยู่อาศัยกันไปอยู่ตามดอยตามเขาต่าง ๆ หลายที่เพื่อจะ หาที่เพาะปลูกท�ำมาหากิน ได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานที่ในบ้านสันเจริญ เมื่อประมาณปี พ.ศ.๒๕๑๓ หลังจากนั้นได้อพยพไปอาศัยอยู่ที่บ้านปางพริก เป็นระยะเวลาประมาณ ๘ ปี ที่บ้านปางพริก ก็ได้เกิดโรคระบาดขึ้นอย่างหนักเมื่อประมาณปี พ.ศ.๒๕๒๔ จึงมี การย้ายกลับมาตั้งถิ่นฐาน อยู่ที่บริเวณบ้านสันเจริญในปัจจุบันอีกครั้งหนึ่ง ย้อนหลังไปราว ปี พ.ศ.๒๔๐๔ บรรพบุรุษของชาวเมี่ยนบ้านสันเจริญ อพยพ มาจากมณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน ลงมาทางตอนใต้ผ่านสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว เคลื่อนย้ายตามสันดอยวาว ผ่านดอยภูแว ต�ำบลและ อ�ำเภอและ ผ่านต�ำบลริม อ�ำเภอท่าวังผา ผ่านขุนน�้ำกาด ขุนสะละ ขุนน�้ำพันบางกลุ่มก็ ตัง้ รากฐานอยูข่ นุ สะละและขุนน�ำ้ พัน แต่บางกลุม่ ได้เดินทางมาตัง้ รกรากอยูท่ บี่ ริเวณที่ เรียกกันว่า "สวนยาหลวง" ซึ่งสันนิษฐานว่าน่าจะราว พ.ศ.๒๔๓๐ สวนยาหลวง เป็น ดอยสูงสภาพภูมิอากาศหนาวเย็นเหมาะกับการปลูกฝิ่น ชาวบ้านในอดีตจึงรวมตัว กันปลูกฝิ่น ท�ำให้ฝิ่นกลายเป็นพืชเศรษฐกิจของหมู่บ้าน และถือเป็นพื้นที่ที่ปลูกฝิ่น กว้างใหญ่มากที่สุดในประเทศไทย ประมาณ ๒๐,๐๐๐ ไร่ ในปี พ.ศ.๒๕๓๒ ศูนย์พัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขาจังหวัดน่าน เริ่มมีการส่ง เสริมการปลูกกาแฟทดแทนฝิน่ ในพืน้ ทีท่ เี่ รียกว่า "สวนยาหลวง" และได้ทำ� การพิจารณา คัดเลือกเกษตรกรชาวเขาที่มีความสนใจเดินทางไปศึกษาดูงาน ที่หน่วยพัฒนาและ สงเคราะห์ชาวเขาบ้านห้วยแก้ว จังหวัดเชียงราย โดยมีเกษตรกรชาวเขาบ้านสันเจริญ หมู่ที่ ๖ ต�ำบลผาทอง อ�ำเภอท่าวังผา จ�ำนวน ๒๒ ครอบครัว ซึ่งชาวบ้านดังกล่าวมี ความสนใจและต้องการปลูกกาแฟ ได้มีการรวบรวมเงินซื้อเมล็ดพันธุ์กาแฟมาท�ำการ เพาะปลูก และจัดท�ำแผนงาน

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

271


ปัจจุบันบ้านสันเจริญ ต�ำบลผาทอง อ�ำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน มีอาชีพหลัก คือการปลูกกาแฟและมีสมาชิกผูป้ ลูกกาแฟทัง้ หมด ๑๒๑ ราย มีเนือ้ ทีใ่ นการปลูกกาแฟ ทั้งหมดประมาณ ๑,๒๐๐ - ๑,๕๐๐ ไร่ ผลผลิตที่ขายไปในปี พ. ศ.๒๕๔๖ ที่เป็นกาแฟ ผลสดมีนำ�้ หนักรวมทัง้ หมด ๕๑๗,๔๔๑ กิโลกรัม และปริมาณผลผลิตจะเพิม่ มากขึน้ ทุกปี แต่ในทางตรงกันข้ามการจ�ำหน่ายผลผลิตกาแฟบ้านสันเจริญราคากลับลดลง ชนิดทีผ่ ดิ จากความเป็นจริงอย่างมาก ในอดีตทีผ่ า่ นมาสมาชิกผูป้ ลูกกาแฟบ้านสันเจริญขายกาแฟ ได้ในราคาสูงถึงกิโลกรัมละ ๑๒ - ๑๔ บาท อย่างน้อยสุดก็อยู่ที่กิโลกรัมละ ๘ - ๙ บาท มาปี พ.ศ.๒๕๔๖ และปี พ.ศ.๒๕๔๗ สมาชิกผูป้ ลูกกาแฟบ้านสันเจริญขายกาแฟ ผลสดได้ในราคาไม่เกิน ๖ - ๘ บาท ท�ำให้สมาชิกผู้ปลูกกาแฟบ้านสันเจริญเดือดร้อน เป็นอย่างมาก สมาชิกบางส่วนจึงเริ่มตื่นตัวและเริ่มที่จะหาทางออก จึงได้พยายาม รวมตัวกันอีกครั้งโดย นายเจริญศักดิ์ เลิศวรายุทธ์ ได้ติดต่อประสานงานกับหน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อเข้ามาช่วยเหลือสมาชิกได้ขายกาแฟในราคาที่ดีขึ้น เช่น ศูนย์พัฒนาและสงค์เคราะห์ชาวเขาจังหวัดน่าน เนื่องจากเป็นหน่วยงานของรัฐมีความ จ�ำกัดในเรื่องงบประมาณในการสนับสนุน เบื้องต้นจึงขอรับการสนับสนุนจากมูลนิธิ แห่งประเทศไทย สาขาท่าวังผา (โครงการA.D.P. น�้ำพุ) เข้ามาสนับสนุนอุปกรณ์และ เครื่ อ งมื อ ในการแปรรู ป กาแฟและ มี ก ารรวมกลุ ่ ม และระดมหุ ้ น ระดมทุ น และ จดทะเบียนเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปกาแฟสวนยาหลวงซึ่งได้รับการสนับสนุน กระบวนการบริหารงานกลุ่มจากส�ำนักงาน เกษตรอ�ำเภอท่าวังผา จ�ำนวนครัวเรือน และประชากร • จ�ำนวนครัวเรือน ทั้งหมด ๑๕๘ ครัวเรือน • จ�ำนวนประชากร ทั้งหมด ๖๖๔คน • แยกเป็น - ชาย ๓๖๒ คน - หญิง ๓๐๒คน ด้านสังคมและบริการ โรงเรียนประถมศึกษา จ�ำนวน ๑ แห่งมีจำ� นวนครู ๖ คนจ�ำนวนนักเรียน ๘๙ คน ผูอ้ �ำนวยการโรงเรียน นายภาคภมิ ไชยยศ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จ�ำนวน ๑ แห่ง มีจำ� นวน เด็ก ๒๘ คน หัวหน้าศูนย์ นางอรพิน หาญยุทธ ส�ำนักสงฆ์ จ�ำนวน ๑ แห่ง ประธารสงฆ์ พระรชาถิรญาโน โบสถ์คริสตจักร จ�ำนวน ๑ แห่ง ผู้น�ำศาสนา นายเกาเกว่น แซ่พร่าน อาคารหอประชุมเอนกประสงค์ จ�ำนวน ๑ แห่ง อาคารบ้านพักชั่วคราว จ�ำนวน ๑ แห่ง

272ชาติพันธุ์น่านศึกษา


บทเรียนที่ ๓ ก้าวย่างบทเรียนชุมชนของฉัน เรียนรู้จักชาติพันธ์แห่งขุนเขา (บทเรียนส่งท้ายปี ๒๕๕๗)


ตอนที่ ๑ : เยาวชนลัวะ ถอดบทเรียนชุมชนบ้านห้วยลอย อ.บ่อเกลือ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๗ กรณีศึกษา ชาวถิ่น (ลัวะ) ชาวถิน่ (ลัวะ) ตัง้ ถิน่ ฐานดัง้ เดิมอยูใ่ นจังหวัดน่านของไทย และบริเวณชายแดน แขวงสายะบุรีของประเทศลาว ชื่อ “ถิ่น” เป็นชื่อที่ทางราชการตั้งให้ (บางครั้งเรียก “ข่าถิ่น”) แต่ชนกลุ่มนี้จะเรียกกลุ่มของตัวเองว่า “ลัวะ” (Lua ) หรือ “พ่าย” (Phay ) โดยแบ่งออกตามความแตกต่างของภาษาได้ ๒ กลุ่มใหญ่ คือ ถิ่นไปรต์ และถิ่นมาลล์ ชาวถิ่นเป็นชนเผ่าที่มีจ�ำนวนมากที่สุดในจังหวัดน่าน แต่ในทางด้านวิชาการ เอกสารบางชิ้นได้ระบุว่า “ลัวะ”และ “ถิ่น” ต่าง มีภาษาที่เป็นของตนเอง นอกจากนี้ยังมีลักษณะสังคมและวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน การสื่อภาษาของทั้ง ๒ เผ่า ไม่สามารถกระท�ำกันได้ ดังนั้นชาวเขาเผ่าถิ่นและชาวเขา เผ่าลัวะจึงเป็นคนละเผ่ากันและมีความแตกต่าง กัน ประวัตคิ วามเป็นมา ชาวเขาเผ่าถิน่ ซึง่ ตัง้ ถิน่ ฐานอยูใ่ นแถบภูเขา รอยต่อระหว่าง จังหวัดน่านกับแขวงชัยบุรี ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวนัน้ มีประวัติ ความเป็นมาของเผ่าที่ยังไม่ชัดเจน เนื่องจากชาวถิ่นไม่มีภาษาเขียนของตนเอง จึงไม่มี การจดบันทึกประวัติความเป็นมาที่เป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งข้อสงสัยดังกล่าวแยกเป็น ๒ แนวทาง คือชาวเขาเผ่าถิน่ เป็นชนชาติดงั้ เดิมซึง่ ตัง้ รกรากอยูใ่ นประเทศไทยก่อนแล้ว และอีกแนวหนึง่ ว่าอพยพมาจากประเทศลาว ซึง่ ยังไม่สามารถยืนยันได้ นักวิชาการท่าน หนึง่ ได้เขียนไว้เมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๐๗ คาดคะเนว่าชาวถิน่ ได้เข้ามาตัง้ ถิน่ ฐานในประเทศไทย เมื่อ ๔๐-๘๐ ปีมาแล้ว อีกท่านหนึ่งได้เขียนไว้เมื่อปี พ.ศ.๒๕๐๖ ว่าชาวถิ่นกลุ่มแรกได้ เข้ามาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ.๒๔๗๑ และยังได้คาดคะเนไว้อีกว่าชาวถิ่น อาจจะเข้ามาอยู่ในประเทศไทยก่อนที่คนไทยจะ อพยพจากประเทศจีนมาอยู่ในแหลม อินโดจีนนี้เสียอีก บางท่านคาดว่าชาวถิ่น ได้อพยพเข้ามาในประเทศไทยในปี พ.ศ. ๒๔๑๙ ใน ระยะนั้นอยู่ในช่วงที่พวกข่ากระด้างกระเดื่อง และทางประเทศลาวได้ท�ำการปราบที่ เมืองงอย (Muangngoi) จึงท�ำให้ชาวถิน่ อพยพเคลือ่ นย้ายเข้ามาในภายหลังอีกกลุม่ หนึง่

274ชาติพันธุ์น่านศึกษา


จึงอาจจะเป็นไปได้ว่าชาวถิ่นได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ก่อนแล้วกลุ่มหนึ่ง และมีอีกกลุ่มหนึ่งได้ อพยพตามมาในภายหลังซึง่ ก็ใกล้เคียงกับทีพ่ ระวิภาค ภูวดลได้เขียนไว้เมือ่ ปี พ.ศ.๒๔๓๒ ว่าในระหว่างการส�ำรวจจัดท�ำแผนที่ประเทศไทย ในขณะที่เข้าไปส�ำรวจยังเมืองเต้ง ได้พบกับชาวเขาหลายกลุ่ม “… เผ่าที่รู้จักกันดีมี ขมุ ขแม (Kame) ปาย (Pai) ละเม็ด (Lamet) บิด (Bit) และฮก (Hok) ซึ่งครั้งหนึ่งพวกเหล่านี้เคยติดต่อแต่เฉพาะกับ หลวงพระบาง แต่หลังจากกบฎแล้วกว่า ๒๐,๐๐๐ คน ได้เดินทางไปตั้งถิ่นฐานในเขต เมืองน่าน …” ซึ่งจากงานเขียนดังกล่าว กลุ่มที่ชื่อว่า ปาย (Pai) น่าจะเป็นชาวถิ่นกลุ่ม ย่อย “ปรัย” ในปัจจุบัน ภาษา จัดอยู่ในตระกูลย่อยมอญ-เขมร ของกลุ่มภาษาออสโตรเอเชียติค ลักษณะบ้านเรีอน มักตั้งอยู่บนภูดอย บริเวณเทือกเขาสูงที่ขนานตัวสลับ ซับซ้อนกันในจังหวัดน่าน ระดับความสูงระหว่าง ๒,๕๐๐- ๓,๐๐๐ ฟุต ลักษณะบ้าน เรือนจะเป็นเรือนไม้ มุงหญ้าคา ชายคายื่นโค้งลงมาแทบถึงพื้นดิน ยกพื้นสูง มีบันไดขั้น บ้านตัวเรือนจะมีครัวไฟ และยุ้งข้าว และมีชานบ้านเชื่อมต่อถึงกัน ครอบครัว โดยทั่วไปเป็นครอบครัวเดี่ยว แต่บางครั้งก็มีครอบครัวขยาย ไม่นิยมแต่งงานกับคนนอกกลุ่ม และห้ามแต่งงานกันในกลุ่มญาติสนิท หรือคนที่ นับถือผีในตระกูลเดียวกัน เมื่อแต่งงานส่วนใหญ่ฝ่ายชายจะเข้าไปเป็นสมาชิกในบ้าน ของฝ่ายหญิง ช่วยท�ำมาหากินและเปลี่ยนมานับถือผีตามฝ่ายหญิง อาหารการกิน นิยมกินข้าวเหนียวนึ่งใส่ “แอบ” (กระติ๊บ) ไว้กินทั้งสามมื้อ มีเกลือและพริก เป็นเครือ่ งชูรสทีข่ าดไม่ได้ อาหารยอดนิยมคือน�ำ้ ปู เป็นเครือ่ งจิม้ ส�ำหรับ ผักและข้าวเหนียว ประเภทเนื้อสัตว์จะกินในโอกาสพิเศษ หรือยามเซ่นผี การแต่งกาย ชาวถิ่นไม่มีการทอผ้า จะซื้อเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มจากภายนอก ผูห้ ญิงจะนุง่ ผ้าซิน่ ตามแบบชาวไทลือ้ สวมเสือ้ ๒ ตัว ตัวในเป็นเสือ้ คอกลมแขนสัน้ หรือ ไม่มแี ขน (บางทีใช้เสือ้ ผ้าลายเรียกว่า เสือ้ ดอก) และสวมเสือ้ แขนยาวทับเป็นเสือ้ ชัน้ นอก เรียกว่า “เสื้อด�ำ” (เป็นเสื้อฝ้ายหรือเสื้อสีม่อฮ่อม) จะใช้ผ้าขาวม้าพันศีรษะ เรียกว่า “ผ้าหัว” ผูช้ าย จะแต่งกายเหมือนชายไทยทัว่ ไป สวมกางเกงขายาวหรือเสือ้ ตามสมัยนิยม อาชีพ ท�ำไร่ขา้ ว ข้าวโพด ปลูกพืชผักบางอย่าง หาของป่าล่าสัตว์ ไว้บริโภคใน ครัวเรือน ถ้าผลผลิตมีจำ� นวนมากก็จะขายในหมูบ่ า้ น อย่างอืน่ ก็มกี ารเก็บก๋ง (ดอกหญ้า ทีใ่ ช้ทำ� ไม้กวาด) เก็บใบเมีย่ ง (ชาป่า) การเลีย้ งสัตว์นยิ มเลีย้ งหมู ไก่ สุนขั ม้า ควาย ด้าน งานหัตถกรรมผูช้ ายคนมีฝมี อื ด้านการจักสาน ตะบุง ตะกร้า ช่วงหมดฤดูกาลเพาะปลูก ผู้ชายมักจะย้ายถิ่นไปท�ำงานนอกหมู่บ้าน ชาติพันธุ์น่านศึกษา

275


ด้านการศึกษา ชาวลัวะรุน่ เก่าได้เรียนหนังสือน้อยมาก ส่วนใหญ่จงึ อ่านหนังสือ ไม่ค่อยออกกัน แต่คนรุ่นใหม่ส่วนใหญ่จะมีโอกาสได้เรียนหนังสือตามสิทธิขั้นพื้นฐาน ในพืน้ ทีม่ โี รงเรียนอยู่ ๒ แห่ง สังกัด สพฐ.น่านเขต ๒ ได้แก่ โรงเรียนบ้านห้วยฟอง รองรับ นักเรียนในพืน้ ทีบ่ า้ นห้วยฟองและบ้านสะจุก และโรงเรียนบ้านเปียงซ้อ รองรับนักเรียน ในพื้นที่บ้านเปียงซ้อและบ้านบวกอุ้ม เครือ่ งดนตรี เป็นประเภทเครือ่ งเคาะทีท่ ำ� จากไม้ไผ่ ถิน่ ไปรต์จะเรียกว่า “ เประห์” ถิ่นมาลล์เรียกว่า “ปิอ์” หรือที่คนเมืองเรียกว่า “พิ” มีลักษณะแตกต่างกันเล็กน้อย ชาวถิ่นไปรต์จะตีเประห์ ในยามที่ขนข้าวกลับจากไร่มายุ้งฉางในหมู่บ้าน เนื่องจากทาง เดินจากไร่เป็นระยะทางไกลๆ และต้องลัดเลาะขึน้ ลงตามภูเขา เพือ่ ไม่ให้รสู้ กึ เหนือ่ ยล้า จึงตีเประห์มาตลอดทาง เสียงเประห์จะดังก้องกังวานไปทัง้ หุบเขา ส่วน “พิ“ หรือ “ปิอ”์ ของชาวถิ่นมาลล์ ใช้ตีให้จังหวะเพื่อความ สนุกสนานเพลิดเพลินในพิธีโสลดหลวง ความเชื่อและพิธีกรรม ชาวถิ่นไปรต์ จะนับถือผีที่เรียกว่า “ปร็อง” ถิ่นมาลล์ เรียกว่า “ซอย” หรือ “ปย็อง” มีทั้งผีตระกูล ผีบรรพบุรุษ ผีเรือนผีประจ�ำหมู่บ้าน ผีเจ้าที่ ผีไร่ บางหมู่บ้านมีการผสมผสานทางด้านศาสนาพุทธเข้ามาด้วย ส่วนพิธีกรรม ที่ยึดถือ เช่น พิธีกรรมเกี่ยวกับวงจรชีวิตและการรักษาพยาบาล คือการเซ่นผีเรือน การ ท�ำขวัญเด็กเกิดใหม่ พิธีจัดงานศพ การท�ำผี (แปงปี,เซ่นผี) เพื่อให้หายจากการเจ็บไข้ได้ ป่วย พิธกี รรมเกีย่ วกับการปลูกข้าว จะมีการสร้างตูบผีหรือศาลผีในการเตรียม พืน้ ทีทำ� ไร่ มีการเซ่นผีในทุกระยะของการปลูกข้าว ส�ำหรับชาวถิ่นมาลล์จะมีการท�ำ “โสลดหลวง” เป็นงานใหญ่ประจ�ำปีในช่วงที่ต้นข้าวเริ่มเติบโตออกใบอ่อนสวยงาม ประมาณเดือนกันยายน-ตุลาคม เพือ่ บูชาขวัญข้าว ชาวถิน่ ไปรต์จะมีการ “กินดอกแดง” คล้ายโสลดหลวง แต่ต่างระยะเวลากัน ซึ่งจะจัดในเวลาที่หมดกิจกรรมทุกอย่าง ในไร่นาแล้ว ชาวถิ่นจะมีเครื่องราง ที่เรียกว่า “เฉลว” หรือ “ตะแหลว” ท�ำด้วยไม้ไผ่สาน เป็นรูปร่างคล้ายดาว เป็นเครื่องหมายแสดงถึงข้อห้ามบางอย่างในบริเวณนั้น และเป็น เครื่องป้องกันผี มีทั้งที่ในบ้านเรือน ในหมู่บ้าน ในไร่นา นอกจากนี้ในสังคมชาวถิ่นยังมีการก�ำหนด “วันกรรม” เป็นวันที่หยุดพักจาก การท�ำงานหนัก แต่ละตระกูลจะถือก�ำหนดต่างกันไป โดยจะหยุดกิจกรรมในไร่นา และ ในครัวเรือนบางอย่าง เพือ่ อยูก่ รรม และยังมีการก�ำหนดวันกรรมประจ�ำของหมูบ่ า้ นด้วย ส่วนพิธีกรรมเนื่องในวันส�ำคัญอื่นๆ เช่น งานทอดกฐิน ผ้าป่า งานสงกรานต์ เป็นต้น

276ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ซึ่งผสมผสานเอาตามแบบอย่างชาวพุทธ แต่ก็จะมีการเลี้ยงผีเจ้าที่ตามความเชื่อดั้งเดิม ด้วยวิถคี วามเป็นอยู่ ความเชือ่ วัฒนธรรม สังคม ของชาวลัวะทีแ่ ตกต่างไปจากชนเผ่าอืน่ ๆ ท�ำให้เกิดวิถีการดูแลสุขภาพที่แตกต่างกันไป ส่งผลกระทบต่อสุขภาพทั้งด้านบวก และลบ ปัญหาสุขภาพบางเรื่องหากมองในมุมของนักสุขภาพอาจเป็นปัญหาส�ำคัญ แต่ หากมองในมุมของชาวลัวะอาจจะไม่ใช่เรือ่ งส�ำคัญ ดังนัน้ การสร้างความเข้าใจถึงบริบท ของชาวลัวะให้ถ่องแท้ก่อนจะน�ำไปสู่การเข้าถึงปัญหาสุขภาพที่แท้จริง อันจะน�ำไปสู่ การสร้างการมีส่วนร่วมทางด้านสุขภาพต่อไป ถิ่น ถิ่ น จั ด อยู ่ ใ นสาขามอญ-เขมร ซึ่ ง อยู ่ ใ นกลุ ่ ม ภาษาออสโตรเอเชี ย ติ ค มี ๒ กลุ่มย่อยคือ ถิ่น คมาลหรือมาลและถิ่นคล�ำไปร๊ต์หรือไปร๊ต์ ถิ่นทั้ง ๒ กลุ่มนี้ มี ความแตกต่างกันในภาษาพูดและขนบธรรมเนียมประเพณีส่วนการตั้งถิ่นฐานและการ แต่งกายเหมือน ๆ กัน ถิ่นอพยพเข้ามาในประเทศไทยเมื่อ ๖๐-๘๐ ปีมานี้ โดยอพยพ มาจากแขวงไชยบุรี ประเทศลาว เข้าสูป่ ระเทศไทยทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด น่าน ถิ่นในประเทศไทยอาศัยอยู่ในจังหวัดน่าน เพชรบูรณ์ และเลย บ้านเรือน ถิ่นมักตั้งบ้านเรือนอยู่บนภูเขาที่มีความสูประมาณ ๑,๐๐๐-๑,๓๐๐ เมตร เหนือจากระดับน�ำ้ ทะเล ลักษณะหมูบ่ า้ นจะตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีร่ าบบนภูเขา ซึง่ ไม่หา่ งแหล่งน�ำ้ ใช้อปุ โภคมากนัก โดยจะรวมกันนเป็นกลุม่ ๆ กลุม่ หนึง่ โดยเฉลีย่ ประมาณ ๕๐ ครอบครัว ต่อหมู่บ้านในแต่ละหมู่บ้านจะมีการกระจายเป็นกลุ่มเล็ก ๆ โดยยึดวงศ์ญาติเป็นหลัก กลุ่มย่อยหนึ่ง ๆ จะเป็นคนในตระกูลเดียวกัน ลักษณะเช่นนี้ อาจเกิดจากสภาพการ ท�ำมาหากิน และพื้นที่สิ่งแวดล้อมเป็นหลัก ลักษณะบ้านของถิ่นจะเป็นบ้านเรือนไม้ ยกพื้นสูง มีบันไดขั้นบ้าน มุงหญ้าคา ชายคายื่นโค้งลงมาแทบถึงพื้นดิน พื้นและข้างฝา ท�ำด้วยไม้ไผ่ หลังคาด้านที่ลาดลงมาจะมีครกกระเดื่องส�ำหรับต�ำข้าวตั้งอยู่ และใช้เก็บ ฟืนและสิ่งของต่าง ๆ ด้วย ตัวบ้านไม่มีหน้าต่าง มีประตูเข้าบ้าน ๒ ประตู หน้าบ้านจะ มีระเบียบหรือนอกชานที่ใหญ่ ระเบียงหน้านี้จะมีชายคายื่นลงมาปกคลุม ส่วนใต้ถุน บ้านจะเป็นคอกสัตว์ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

277


ลักษณะครอบครัว ในบ้านหลังหนึ่ง ๆ อาจประกอบด้วยครอบครัวเดี่ยวหรือครอบครัวขยาย ซึ่งเกิดจากลูกสาวที่แต่งงานน�ำสามีเข้ามาอยู่ในบ้านด้วย ยิ่งมีบุตรสาวหลายคนก็มี หลายครอบครัว โดยครอบครัวของพี่สาวคนโต สามารถแยกไปตั้งบ้านใหม่ได้ ส่วน ครอบครัวของบุตรสาวคนเล็ก จะต้องอาศัยอยู่กับพ่อแม่ตลอดไป ด้วยเหตุนี้จึงท�ำให้ ถิ่นอยากได้บุตรสาวมากกว่าบุตรชาย ซึ่งเมื่อแต่งงานแล้วต้องไปอยู่บ้านภรรยา ท�ำให้ ครอบครัวขาดแรงงาน ไม่นิยมแต่งงานกับคนนอกกลุ่ม และห้ามแต่งงานกันในกลุ่ม ญาติสนิท หรือคนที่นับถือผีในตระกูลเดียวกัน เมื่อแต่งงานส่วนใหญ่ฝ่ายชายจะเข้าไป เป็นสมาชิกในบ้านของฝ่ายหญิง ช่วยท�ำมาหากินและเปลี่ยนมานับถือผีตามฝ่ายหญิง การสืบสกุล สืบทอดสกุลฝ่ายมารดาเนื่องจากมีการนับถือผีบรรพบุรุษของฝ่ายมารดา ผู้ชายที่แต่งงานแล้วต้องตัดขาดจากผีเดิมมานับถือผีของฝ่ายภรรยา และเมื่อมีบุตร ก็นับถือผีฝ่ายมารดาเช่นกัน ดังนั้นในหมู่บ้านถิ่นหนึ่ง ๆ จะมีตระกูล ๒-๓ ตระกูล ๆ หนึ่งก็มี ๓-๕ หลังซึ่งอยู่ใกล้เคียงกัน และผู้ที่นับถือผีเดียวกันจะมีอยู่เฉพาะภายใน หมู่บ้านเท่านั้น ส่วนการใช้นามสกุลของถิ่นนั้นไม่สามารถบอกลักษณะความเป็นพี่น้อง กันได้ เพราะในหมูบ่ า้ นหนึง่ จะมีเพียง ๑ นามสกุลเท่านัน้ ส่วนนามสกุลนอกเหนือจากนี้ แสดงถึงการอพยพเข้ามาอยู่ในหมู่บ้านภายหลัง แต่ความเป็นเครือญาตินั้นต้องดูจาก การนับถือผีของแต่ละคน ถิ่นผลิตเพื่อการยังชีพไปวัน ๆ หนึ่ง การเพาะปลูกจึงเป็นอาชีพที่ส�ำคัญ โดยเฉพาะการปลูกข้าวไร่เพื่อให้พอกินตลอดปี จึงท�ำให้ถิ่นต้องมีพิธีเลี้ยงผีหลายครั้ง เพื่อให้ผลผลิตมากพอกิน ส่วนการผลิตเพื่อน�ำเงินสดนั้น ถิ่นจะหาได้จากการล่าสัตว์ หรือขายสัตว์เลี้ยง การรับจ้างและการหาของป่าไปขาย นอกจากข้าวไร่ที่ปลูกกัน ทุกหมู่บ้านแล้ว มีบางหมู่บ้านเริ่มท�ำนาด�ำบ้าง ส่วนพืชอื่น ๆ นั้น มีข้าวโพด ข้างฟ่าง และพืชผักต่าง ๆ บางหมูบ่ า้ นมีการเก็บเกีย่ วชาป่าท�ำเมีย่ งเพือ่ ขายต่อไป และบางหมูบ่ า้ น แถบต�ำบลบ่อเกลือเหนือ และบ่อเกลือใต้มกี ารท�ำเกลือเพือ่ ขายให้คนในหมูบ่ า้ นใกล้เคียง อีกด้วย ถิ่นมีความสามารถเฉพาะเผ่าของตนอีกอย่างหนึ่งคือ การจักสานเสื่อหญ้า สามเหลีย่ ม โดยจะน�ำหญ้าสามเหลีย่ มมาสานผสมกับใบตองจิงท�ำให้มลี วดลายทีส่ วยงาม สัตว์เลี้ยงที่นิยมเลี้ยงมี ไก่ หมู เพื่อใช้ประกอบพิธีกรรม และยังสามารถขายลูกหมูเป็น

278ชาติพันธุ์น่านศึกษา


รายได้อกี ด้วย สุนขั เลีย้ งไว้เฝ้าบ้าน และช่วยในการล่าสัตว์ วัว ควาย เลีย้ งไว้เพือ่ ขายแก่ คนพื้นราบ หรือเพื่อให้เช่าไปท�ำการไถนา

อ้างอิง http://th.wikipedia.org/ http://www.openbase.in.th/node/๖๔๕๕ http://www.nansdc.go.th/nansdc/Thin.htm

บทเรียนที่งดงาม....กับชุมชนที่มีแต่ภาพโอบกวดของความรักที่ผู้คนแต่ละ ชุมชนมีให้กนั ซึง่ ถือว่าเป็นการลงพืน้ ทีค่ รบตามกลุม่ เป้าหมายแล้ว ทัง้ นีใ้ นกรอบคิดการ ท�ำงานผมมองเด็กเป็นฐานในการมีส่วนร่วมตัดสินใจและการลงพื้นที่ ขอบคุณทุกคน ที่เป็นส่วนหนึ่งในการต่อจิ๊กซอภาพฝันนี้ร่วมกันจนใกล้ความจริงแล้ว .....ขอให้ทกุ คนมีความสุขกับครอบครัวและปีใหม่นขี้ อให้เป็นปีทดี่ ที สี่ ดุ ของทุก คนครับ รักและเคารพทุกท่านครับ ศึกษาชุมชนบ้านห้วยลอย ลงพื้นที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๕๗ บ้านห้วยลอยเดิมที่เป็นผู้เข้าร่วมพัฒนาชาติไทยเข้ามอบตัวต่อทางราชการ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๖ โดยตั้งหมู่บ้านครั้งแรกบนภูเขาที่เรียกว่า ภูสะคาน เมื่อประมาณ ปี พ.ศ.๒๕๒๙ ตั้งอยู่ไม่ได้นาน เนื่องจากไม่มีน�้ำใช้ จึงได้พากันย้ายลงมาอยู่บริเวณ ล�ำห้วยลอย โดยมี นายอุทิศ บุญอิน ได้เสียชีวิตมี นายวี บุญอิน เป็นผู้น�ำคนที่สองตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๒๗ - ๒๕๓๘ จนถึงหมู่บ้านได้จัดตั้งจากทางราชการ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๐ ซึ่งมี นายอาจ น่านโพธิ์ศรี ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้ใหญ่บ้าน คนแรกจนถึง พ.ศ. ๒๕๔๕ มีการเปลี่ยนแปลงผู้น�ำอีกสองคนคือ นายสุวิทย์ บุญอินทร์ ได้รับต�ำแหน่งเมื่อวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๕ เป็นต้นมา มีจ�ำนวนประชากร ทั้งหมด ๑๐๕ ครัวเรือน ๙๘ หลังคาเรือน ชาย ๒๒๐ คนหญิง ๒๐๗ คน รวมทั้งสิ้น จ�ำนวน ๔๒๗ คน

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

279


ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน มักตัง้ บ้านเรือนอยูต่ ามทีร่ าบบนภูเขา โดยมักเลือกตัง้ หมูบ่ า้ นอยูไ่ ม่หา่ งแหล่งน�ำ้ ใช้อปุ โภคมากนักส่วนมากอยูอ่ าศัยเป็นหมูบ่ า้ นขนาดเล็ก และมีการตัง้ บ้านเรือนกระจาย เป็นกลุ่มเล็ก ๆ ในหมู่ญาติร่วมตระกูลเดียวกัน ลักษณะบ้านของลัวะเป็นบ้านยกพื้น ยกสูง เรือนครัวและเล้าข้าวอยู่แยกจากตัวเรือนโดยมีชานบ้านเชื่อมต่อกัน

นั่งฟังบทเพลงป่า หรืออาจเรียกว่าเพื่อชีวิตยุคนี้จึงเป็นบทเพลงที่แต่งขึ้นใน เขตปฏิบัติงานของ พคท. โดยมีเป้าหมายเพื่อปลุกขวัญให้ก�ำลังใจ เป็นอาวุธต่อสู้ กับรัฐบาล และเผยแพร่อุดมการณ์ของลัทธิสังคมนิยม หรือเรียกบทเพลงชนิดนี้ว่า “บทเพลงปฏิวตั ”ิ (Rebellion Song) โดยมีสถานีวทิ ยุเสียงประชาชนแห่งประเทศไทย (สปท.) เป็นสื่อกลางเผยแพร่บทเพลงเหล่านี้ ในช่วงเวลาดังกล่าว บทเพลงปฏิวัติท�ำ หน้าที่เป็นเสมือนเครื่องมือส�ำคัญในการสร้างขวัญและก�ำลังใจให้ขบวนการปฏิวัติ ทั้งหมด นอกจากนั้นในเสียงเพลงที่รับฟังได้จากสถานีวิทยุ สปท. ยังเจือปนไว้ด้วย ความรู้สึกนึกคิด ทฤษฎี ความเชื่อ ตลอดจนภาพสะท้อนบางด้านของการปฏิวัติภายใต้ การน�ำของ พคท. บทสะท้อนวันนีช้ าวบ้านยังคงตกทอดรูปแบบเพลงนีไ้ ว้ได้เป็นอย่างดี เพลงป่าของพี่น้องชาวลัวะชุมชนบ้านห้วยลอย

280ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ตอนที่ ๒ : เยาวชนถิ่น ถอดบทเรียนชุมชนบ้านสะปัน อ.บ่อเกลือ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๗ ชนเผ่าถิ่น

ชนเผ่าถิ่นข้อมูลทั่วไป ถิ่นจัดอยู่ในสาขามอญ-เขมร ซึ่งอยู่ในกลุ่มภาษาออสโตรเอเชียติค มี ๒ กลุ่ม ย่อยคือ ถิน่ คมาลหรือมาล และถิน่ คล�ำไปร๊ตห์ รือไปร๊ต์ ถิน่ ทัง้ ๒ กลุม่ นี้ มีความแตกต่าง กันในภาษาพูดและขนบธรรมเนียมประเพณีส่วนการตั้งถิ่นฐานและการแต่งกายเหมือ นๆ กัน ถิน่ อพยพเข้ามาในประเทศไทยเมือ่ ๖๐-๘๐ ปีมานี้ โดยอพยพมาจากแขวงไชยบุรี ประเทศลาว เข้าสูป่ ระเทศไทยทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดน่าน ถิน่ ในประเทศไทย อาศัยอยู่ในจังหวัดน่าน เพชรบูรณ์ และเลย ภาษา เมื่อเข้าไปในหมู่บ้านถิ่นจะสื่อสารกันได้ง่าย เนื่องจากถิ่นส่วนใหญ่จะ พูดภาษาไทยพื้นเมืองทางภาคเหนือได้ การแต่งกายทั้งชายและหญิงในปัจจุบันแต่ง กายแบบคนไทย แม้ว่าจะมีเครื่องแต่งกายประจ�ำเผ่าของตน แต่ก็หาดูได้ยาก เพราะ ไม่นิยมสวมใส่กัน ส�ำหรับเรื่องการเข้าพักในบ้านเรือนของถิ่น แขกที่จะพักค้างคืน ต้อง นอนนอกชาน เข้าไปนอนในบ้านไม่ได้ ขณะที่ท�ำขวัญ ซึ่งท�ำภายในบ้าน คนแปลกหน้า ห้ามเข้าไปโดยเด็ดขาด ถ้าหากไม่รจู้ กั เขา อย่าน�ำอาหารไปท�ำเองในครัวของเขา การขึน้ บ้านใหม่ ต้องหาผู้ชายชื่อแก้วเป็นผู้ถือข้าว ผู้หญิงชื่อค�ำเป็นผู้ถือหม้อนึ่งข้าว ขึ้นไปบน ชาติพันธุ์น่านศึกษา

281


บ้านก่อนแล้วเจ้าของบ้านจึงเดินตามขึ้นไป ห้ามใส่รองเท้าเข้าไปในบ้าน หากใส่เข้าไป ถือว่าผิดผี เจ้าของบ้านจะปรับสุรา ๑ ขวด หรือไก่ ๑ ตัว ขณะรับประทานอาหาร ถ้า ยังไม่อิ่ม ห้ามลุกไป ถ้าลุกออกจากวงอาหาร เจ้าของบ้านจะเก็บส�ำรับทันที ถิ่นนิยมดื่ม เหล้าขาวและเหล้าอุ เหล้าอุนิยมใช้ในการต้อนรับแขก วิถชี วี ติ และลักษณะบ้านเรือน วิถชี วี ติ ด้านอาชีพ: ถิน่ ผลิตเพือ่ การยังชีพไปวันๆ หนึง่ การเพาะปลูกจึงเป็นอาชีพทีส่ ำ� คัญ โดยเฉพาะการปลูกข้าวไร่เพือ่ ให้พอกินตลอดปี จึงท�ำให้ถิ่นต้องมีพิธีเลี้ยงผีหลายครั้ง เพื่อให้ผลผลิตมากพอกิน ส่วนการผลิตเพื่อน�ำ เงินสดนั้น ถิ่นจะหาได้จากการล่าสัตว์ หรือขายสัตว์เลี้ยง การรับจ้างและการหาของ ป่าไปขาย นอกจากข้าวไร่ทปี่ ลูกกันทุกหมูบ่ า้ นแล้ว มีบางหมูบ่ า้ นเริม่ ท�ำนาด�ำบ้าง ส่วน พืชอื่น ๆ นั้น มีข้าวโพด ข้างฟ่าง และพืชผักต่าง ๆ บางหมู่บ้านมีการเก็บเกี่ยวชาป่าท�ำ เมีย่ งเพือ่ ขายต่อไป และบางหมูบ่ า้ นแถบต�ำบลบ่อเกลือเหนือ และบ่อเกลือใต้ มีการท�ำ เกลือเพือ่ ขายให้คนในหมูบ่ า้ นใกล้เคียงอีกด้วย ถิน่ มีความสามารถเฉพาะเผ่าของตนอีก อย่างหนึ่งคือ การจักสานเสื่อหญ้าสามเหลี่ยม โดยจะน�ำหญ้าสามเหลี่ยมมาสานผสม กับใบตองจิงท�ำให้มีลวดลายที่สวยงาม สัตว์เลี้ยงที่นิยมเลี้ยงมี ไก่ หมู เพื่อใช้ประกอบ พิธีกรรม และยังสามารถขายลูกหมูเป็นรายได้อีกด้วย สุนัขเลี้ยงไว้เฝ้าบ้าน และช่วย ในการล่าสัตว์ วัว ควาย เลี้ยงไว้เพื่อขายแก่คนพื้นราบ หรือเพื่อให้เช่าไปท�ำการไถนา ลักษณะบ้านเรือน: ถิน่ มักตัง้ บ้านเรือนอยูบ่ นภูเขาทีม่ คี วามสูประมาณ ๑,๐๐๐๑,๓๐๐ เมตร เหนือจากระดับน�้ำทะเล ลักษณะหมู่บ้านจะตั้งอยู่ในพื้นที่ราบบนภูเขา ซึ่งไม่ห่างแหล่งน�้ำใช้อุปโภคมากนัก โดยจะรวมกันเป็นกลุ่ม ๆ กลุ่มหนึ่งโดยเฉลี่ย ประมาณ ๕๐ ครอบครัวต่อหมู่บ้าน ในแต่ละหมู่บ้านจะมีการกระจายเป็นกลุ่มเล็กๆ โดยยึดวงศ์ญาติเป็นหลัก กลุ่มย่อยหนึ่ง ๆ จะเป็นคนในตระกูลเดียวกัน ลักษณะเช่นนี้ อาจเกิดจากสภาพการท�ำมาหากิน และพื้นที่สิ่งแวดล้อมเป็นหลัก ลักษณะบ้านของ ถิ่นจะเป็นบ้านยกพื้นสูง พื้นและข้างฝาท�ำด้วยไม้ไผ่ หลังคาด้านที่ลาดลงมาจะมีครก กระเดือ่ งส�ำหรับต�ำข้าวตัง้ อยู่ และใช้เก็บฟืนและสิง่ ของต่าง ๆ ด้วย ตัวบ้านไม่มหี น้าต่าง มีประตูเข้าบ้าน ๒ ประตู หน้าบ้านจะมีระเบียบหรือนอกชานทีใ่ หญ่ ระเบียงหน้านีจ้ ะมี ชายคายื่นลงมาปกคลุม ส่วนใต้ถุนบ้านจะเป็นคอกสัตว์ วัฒนธรรมประเพณี ประเพณีการแต่งงาน: ในบ้านหลังหนึ่ง ๆ อาจประกอบ ด้วยครอบครัวเดี่ยวหรือครอบครัวขยาย ซึ่งเกิดจากลูกสาวที่แต่งงานน�ำสามีเข้ามาอยู่ ในบ้านด้วย ยิ่งมีบุตรสาวหลายคนก็มีหลายครอบครัว โดยครอบครัวของพี่สาวคนโต

282ชาติพันธุ์น่านศึกษา


สามารถแยกไปตั้งบ้านใหม่ได้ ส่วนครอบครัวของบุตรสาวคนเล็ก จะต้องอาศัยอยู่กับ พ่อแม่ตลอดไป ด้วยเหตุนจ้ี งึ ท�ำให้ถนิ่ อยากได้บตุ รสาวมากกว่าบุตรชาย ซึง่ เมือ่ แต่งงาน แล้วต้องไปอยู่บ้านภรรยา ท�ำให้ครอบครัวขาดแรงงาน การสืบสกุล สืบทอดสกุลฝ่ายมารดาเนือ่ งจากมีการนับถือผีบรรพบุรษุ ของฝ่าย มารดา ผู้ชายที่แต่งงานแล้วต้องตัดขาดจากผีเดิมมานับถือผีของฝ่ายภรรยา และเมื่อมี บุตรก็นบั ถือผีฝา่ ยมารดาเช่นกัน ดังนัน้ ในหมูบ่ า้ นถิน่ หนึง่ ๆ จะมีตระกูล ๒-๓ ตระกูล ๆ หนึ่งก็มี ๓-๕ หลัง ซึ่งอยู่ใกล้เคียงกัน และผู้ที่นับถือผีเดียวกันจะมีอยู่เฉพาะภายใน หมู่บ้านเท่านั้น ส่วนการใช้นามสกุลของถิ่นนั้นไม่สามารถบอกลักษณะความเป็นพี่น้อง กันได้ เพราะในหมู่บ้านหนึ่งจะมีเพียง ๑ นามสกุลเท่านั้น ส่วนนามสกุลนอกเหนือจาก นี้แสดงถึงการอพยพเข้ามาอยู่ในหมู่บ้านภายหลัง แต่ความเป็นเครือญาตินั้นต้องดูจาก การนับถือผีของแต่ละคน

ชุมชนบ้านสะปัน (กรณีศึกษา) ลงพื้นที่ศึกษา ชุมชนบ้านสะปัน ลงพื้นที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๗ หมู่บ้านสะปัน ชุมชนบ้านสะปัน ลงพื้นที่ ๒๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๗ บ้านสะปันได้จัดตั้งมาหลายร้อยปี โดยการน�ำของเจ้าพ่อพญาตึ๋น ผู้จัดตั้ง หมู่บ้านขึ้นเป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ ต่อมามีประชากรเพิ่มขึ้น และมาจัดเขตการปกครอง ต่อ มาเมือ่ พ.ศ.๒๕๒๐ มีประชากรเข้ามาขออาศัยอยูใ่ นบ้านสะปัน และแบ่งเป็นบ้านสาขา อีก ๖ สาขา ได้แก่ บ้านเด่น บ้านห้วยข่า บ้านนาโป่ง บ้านนาปู และบ้านฐาน เหตุที่มีชื่อ บ้านสะปัน เพราะมีลำ� น�ำ้ ปัน ไหลผ่าน เดิมตัง้ อยูใ่ นเขตอ�ำเภอปัว ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๓๑ มีการแบ่งเขตการปกครองใหม่ได้ตงั้ อยูใ่ นหมูท่ ี่ ๘ ต�ำบลบ่อเกลือเหนือ กิง่ อ�ำเภอบ่อเกลือ และในปี พ.ศ.๒๕๓๘ ได้เปลีย่ นเปลีย่ นจากกิง่ อ�ำเภอบ่อเกลือเป็นอ�ำเภอบ่อเกลือ และได้ มีการแบ่งเขตการปกครองใหม่อกี เป็น หมูท่ ี่ ๑ ต�ำบลดงพญา อ�ำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ชาติพันธุ์น่านศึกษา

283


• ทีม่ าของกลุม่ วิสาหกิจเฟอร์นเิ จอร์หวาย หมู่ที่ ๑ บ้านสะปัน ต�ำบลดงพญา อ�ำเภอ บ่อเกลือ จังหวัดน่าน ได้เริ่มโดยกลุ่มคนที่มี ความรู้ ความช�ำนาญ ในการท�ำเครื่องหวาย จากพื้นที่อ�ำเภอเมืองน่าน ซึ่งเดิมนั้น คน กลุ่มนี้ได้สั่งซื้อหวายจากบ้านสะปันน�ำไป ผลิตเฟอร์นิเจอร์หวายที่ อ�ำเภอเมืองน่าน ต่อมาทางรัฐบาลได้มีค�ำสั่งให้ปิดป่า จึงไม่ สามารถขนหวายจากพื้นที่อ�ำเภอบ่อเกลือ ไปท�ำเฟอร์นเิ จอร์ในอ�ำเภอเมืองน่าน ได้ ในปี พ.ศ.๒๕๒๙ ได้มีสิบต�ำรวจตรีวันลพ ต�ำรวจ สังกัดสถานีต�ำรวจอ�ำเภอปัว (อ�ำเภอบ่อเกลือยังเป็นต�ำบลของอ�ำเภอปัวอยู่) ได้น�ำ ช่างที่มีฝีมือขึ้นมาท�ำการตั้งโรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย ที่บ้านสะปันโดยมีชาวบ้าน สะปัน ไปฝึกหัดด้วย ต่อมาช่างที่มาท�ำเฟอร์นิเจอร์หวาย ได้มีครอบครัวจึงแยกตัวจาก โรงงาน ของสิบต�ำรวจตรีวันลพ มาผลิตเองและชาวบ้านบางส่วนที่มีความช�ำนาญ จึงแยกมาท�ำเองจึงท�ำให้โรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์หวายขาดคนงาน และเลิกกิจการ ไปในที่สุดหลังจากนั้นชาวบ้านได้รวมตัวกันผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย แต่ก็มีปัญหาเรื่อง ราคาเพราะถูกพ่อค้าที่มารับซื้อกดราคามาตลอด ขายถูกโดยไม่มีก�ำไรเพื่อต้องการเงิน บางคนทุนน้อยก็เลิกกิจการไป เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๕ ชาวบ้านจึงรวมตัวกันจัดตั้งกลุ่มขึ้น ซึ่งมีสมาชิกครั้งแรก ๓๐ คน ได้ด�ำเนินกิจการกลุ่มมาจนถึงปัจจุบัน

284ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ลักษณะที่ตั้งของชุมชนบ้านสะปัน • ทิศเหนือ ติดกับ อบต.บ่อเกลือเหนือ อ.บ่อเกลือ จ.น่าน • ทิศใต้ ติดกับ อบต.บ่อเกลือใต้ อ.บ่อเกลือ จ.น่าน • ทิศตะวันออก ติดกับ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว • ทิศตะวันตก ติดกับ อ.ปัว จ.น่าน

บ้านสะปันได้จดั ตัง้ มาหลายร้อยปี โดยการน�ำของเจ้าพ่อพญาตึน๋ ผูจ้ ดั ตัง้ หมูบ่ า้ น ขึ้นเป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ ต่อมามีประชากรเพิ่มขึ้น และมาจัดเขตการปกครอง ต่อมาเมื่อ พ.ศ.๒๕๒๐ มีประชากรเข้ามาขออาศัยอยูใ่ นบ้านสะปัน และแบ่งเป็นบ้านสาขาอีก ๖ สาขา ได้แก่ บ้านเด่น บ้านห้วยข่า บ้านนาโป่ง บ้านนาปู และบ้านฐาน เหตุที่มีชื่อบ้านสะปัน เพราะมีลำ� น�ำ้ ปัน ไหลผ่าน เดิมตัง้ อยูใ่ นเขตอ�ำเภอปัว ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๓๑ มีการแบ่ง เขตการปกครองใหม่ได้ตั้งอยู่ในหมู่ที่ ๘ ต�ำบลบ่อเกลือเหนือ กิ่งอ�ำเภอบ่อเกลือ และ ในปี พ.ศ.๒๕๓๘ ได้เปลี่ยนเปลี่ยนจากกิ่งอ�ำเภอบ่อเกลือเป็นอ�ำเภอบ่อเกลือ และได้มี การแบ่งเขตการปกครองใหม่อกี เป็นหมูท่ ี่ ๑ ต�ำบลดงพญา อ�ำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

285


จัดตัง้ กลุม่ ครัง้ แรก ปี พ.ศ.๒๕๔๕ สมาชิกเริม่ แรก ๓๐ คน มีเงินรายได้ ๕,๒๐๐ บาท/เดือน องค์การบริหารส่วนต�ำบลดงพญาสนับสนุนงบประมาณ ปี พ.ศ.๒๕๔๖ เป็ น เงิ น ๒๙๕,๒๐๐ บาท งบประมาณอยู ่ ดี มี สุ ข อ� ำ เภอบ่ อ เกลื อ จ� ำ นวนเงิ น ๕๖,๓๕๐ บาท ได้เข้าคัดสรรหนึ่งต�ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ได้ระดับ ๒ ดาว ณ ปัจจุบันมีเงินทุนของกลุ่ม จ�ำนวน ๒๘๐,๒๘๒ บาท โดยน�ำให้สมาชิกกู้ยืมเป็นทุน ในการด�ำเนินกิจกรรมผลิตสินค้า ที่มาของกลุ่มวิสาหกิจเฟอร์นิเจอร์หวาย หมู่ที่ ๑ บ้ า นสะปั น ต� ำ บลดงพญา อ� ำ เภอบ่ อ เกลื อ จั ง หวั ด น่ า น ได้ เริ่ ม โดยกลุ ่ ม คนที่ มี ความรู้ ความช�ำนาญ ในการท�ำเครื่องหวายจากพื้นที่อ�ำเภอเมืองน่าน ซึ่งเดิมนั้น คนกลุ่มนี้ได้สั่งซื้อหวายจากบ้านสะปันน�ำไปผลิตเฟอร์นิเจอร์หวายที่ อ�ำเภอเมืองน่าน ต่อมาทางรัฐบาลได้มีค�ำสั่งให้ปิดป่า จึงไม่สามารถขนหวายจากพื้นที่อ�ำเภอบ่อเกลือ ไปท�ำเฟอร์นเิ จอร์ในอ�ำเภอเมืองน่าน ได้ ในปี พ.ศ.๒๕๒๙ ได้มสี บิ ต�ำรวจตรีวนั ลพ ต�ำรวจ สังกัดสถานีตำ� รวจอ�ำเภอปัว (อ�ำเภอบ่อเกลือยังเป็นต�ำบลของอ�ำเภอปัวอยู)่ ได้นำ� ช่างที่ มีฝีมือขึ้นมาท�ำการตั้งโรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย ที่บ้านสะปันโดยมีชาวบ้าน สะปัน ไปฝึกหัดด้วย ต่อมาช่างที่มาท�ำเฟอร์นิเจอร์หวาย ได้มีครอบครัวจึงแยกตัวจากโรงงาน ของสิบต�ำรวจตรีวนั ลพ มาผลิตเองและชาวบ้านบางส่วนทีม่ คี วามช�ำนาญ จึงแยกมาท�ำ เองจึงท�ำให้โรงงานผลิตเฟอร์นเิ จอร์หวายขาดคนงาน และเลิกกิจการไปในทีส่ ดุ หลังจาก นั้นชาวบ้านได้รวมตัวกันผลิตเฟอร์นิเจอร์หวาย แต่ก็มีปัญหาเรื่องราคาเพราะถูกพ่อค้า ที่มารับซื้อกดราคามาตลอด ขายถูกโดยไม่มีกำ� ไรเพื่อต้องการเงินบางคนทุนน้อยก็เลิก กิจการไป เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๕ ชาวบ้านจึงรวมตัวกันจัดตั้งกลุ่มขึ้น ซึ่งมีสมาชิกครั้งแรก ๓๐ คนได้ด�ำเนินกิจการกลุ่มมาจนถึงปัจจุบัน

ชุมชน บ้านสะปัน ชุมชนชาวถิ่น ลัวะ และ ไทลื้อผสมผสานกัน บทเรียนจาก ห้องเรียนชีวิต ในความหลากหลาย พหุวัฒนธรรม

286ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ความเข้มแข็งของชุมชน จึงหมายถึง การทีป่ ระชาชนในชุมชนต่างๆ ของเมือง หรือชนบทรวมตัวกันเป็น “องค์กรชุมชน” โดยมีการเรียนรู้ การจัดการและการแก้ไข ปัญหาร่วมกันของชุมชนแล้วถึงได้เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือการพัฒนาทั้งทางด้าน เศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมและสิง่ แวดล้อมภายในชุมชนตลอดจนมีผลกระทบสูภ่ ายนอก ชุมชนที่ดีขึ้นตามล�ำดับ โดยจะเรียกชุมชนนี้ว่า กลุ่ม ชมรม สหกรณ์ บริษัท องค์กร ชาวบ้าน เครือข่ายหรืออื่น ๆ ที่มีความหมายแสดงถึงการร่วมมือช่วยเหลือกันเพื่อผล ประโยชน์ร่วมกัน และด้วยความเอื้ออาทรต่อชุมชนอื่น ๆ ในสังคมด้วย ชุมชนบ้านสะ ปันคือหนึ่งในตัวอย่างนั้นที่ประสบความส�ำเร็จอย่างดีเยี่ยม

น�้ำตกสะปันต้นธารแห่งห้วยสะปันที่ไหลลงสู่แม่น�้ำว้าลุ่มแม่น�้ำสาขาของ แม่นำ�้ น่านยังคงงดงามและสมบูรณ์ตงั้ อยูใ่ นเขต อุทยานแห่งชาติขนุ น่าน อยูใ่ นท้องทีบ่ า้ น สะปัน หมู่ที่ ๑ ต�ำบลดงพญา น�้ำตกอยู่ในล�ำน�้ำปัน เป็นน�้ำตกขนาดกลางมี ๓ ชั้นใหญ่ ความสูงของน�ำ้ ตกชัน้ ที่ ๑, ๒, และ๓ สูงประมาณ ๓, ๕, ๖, เมตร ตามล�ำดับ มีนำ�้ ไหลตก ตลอดทั้งปี เป็นน�้ำตกที่มีความสวยงามตามธรรมชาติ มากสภาพป่าไม้บริเวณน�้ำตก มีความร่มรื่นร่มเย็น สมบูรณ์สวยงามมาก ชาติพันธุ์น่านศึกษา

287


ตอนที่ ๓ : เยาวชนไทลื้อ ถอดบทเรียนชุมชนบ้านสบขุ่น อ.ท่าวังผา ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๗ ไทลื้อ Tai Lue อาศัยอยู่ใน 5 จังหวัด 9 อ�ำเภอ 17 หมู่บ้าน จ�ำนวนหลังคาเรือน 1,344 หลังคาเรือน ประชากรรวม 3,229 คน (ท�ำนียบชุมชนฯ 2540, น.68) ชาวลือ้ หรือไทลือ้ เชื่อกันว่ามีถิ่นฐาน เดิมอยู่บริเวณเขตสิบสองพันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีนตอนใต้ อย่างไรก็ตาม ปัจจุบนั มีชาวลือ้ อาศัยอยูท่ วั่ ไป ทัง้ เขตประเทศจีน พม่า ลาว และภาคเหนือ ของไทย ใน ประเทศไทยพบชาวลื้ออาศัยอยู่บริเวณ จังหวัดน่าน พะเยา เชียงราย แพร่ ล�ำพูน ล�ำปาง และเชียงใหม่ ส�ำหรับชาวไทลือ้ ในจัหวัดแพร่สนั นิษฐานกันว่าเป็นกลุม่ ทีถ่ กู กวาดต้อนมาจาก เมืองยองและเมืองเชียงแสน ตัง้ แต่รชั กาลที่ ๑ ปัจจุบนั มีหมุบ่ า้ นไทยลือ้ ๒ แห่ง คือ บ้านถิน่ ต.บ้านถิน่ อ.เมืองและทีบ่ า้ นพระหลวง ต.พระหลวง อ.สูงเม่น ชาวไทลื้ อ ในภาคเหนื อ ได้ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส ภ า พ สั ง ค ม แ ล ะ วั ฒ นธรรมกลมกลื น ไปกั บ คนเมื อ ง ลักษณะเด่นทีย่ งั เหลืออยูค่ อื ภาษาลือ้ ซึ่ ง มี ค วามใกล้ เ คี ย งกั บ ภาษาผู ้ ไ ท ไทยวน และไทลาว การแต่งกายของชาวลื้อ ผู้หญิงสวมเสื้อปัดมีสายหน้าเฉียงมาผูก ติดกัน หรือใช้กระดุม เงินขนาดใหญ่ เรียกว่า เสื้อปั๊ด มีสีด�ำหรือคราม ตัวเสื้อรัดรูป เอวลอย ชายเสื้อยกลอยขึ้น ๒ ข้าง สาบเสื้อ ขลิบด้วยแถบผ้าสีต่าง ๆ ประดับด้วย กระดุมเงิน นุ่งผ้าซิ่นลายขวาง มีลวดลายสีต่าง ๆ ต่อเชิงด้วยผ้าสีด�ำนิยมโพกศีรษะ ด้วยผ้า สีขาว หรือชมพหญิงนิยมเกล้าผม มวยตรงยอด มวยมีการม้วนผมเป็นวงกลม เรียก “มวยว้อง” นิยมเจาะหูใส่ลานเงิน สวม ก�ำไลเงิน ส่วนผู้ชายมีทั้งการนุ่งผ้า ต้อยผืนเดียวเพื่อให้เห็นลาย สักแบบไทยวนสมัยก่อน และ ชุดเต็มยศ คือ สวมเตี่ยว สะดอสีด�ำ หรือสีคราม สวมเสื้อเอวลอยสีด�ำขลิบด้วยแถบผ้าสีต่าง ๆ แต่รูปทรง เสื้อต่าง จากหญิง นิยมโพกศีรษะด้วยผ้าขาว ชาวไทลื้อ นิยมสักหมึก คือ สักลาย ผู้หญิงนิยมสักรูปดอกไม้ตรงข้อมือทั้ง ๒ ข้าง (ทรงศักดิ์ ๒๕๒๙, น.๗๐-๗๑)

288ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ของชาวไทลื้ อ คล้ า ยคลึ ง กับเรือนของไทยวน คือ เป็นเรือนไม้ใต้ถุน สู ง หลั ง คาบ้ า นทรงปั ้ น หยาหรื อ หน้ า จั่ ว มี ทั้ ง มุ ง ด้ ว ยตั บ คาแป้ น เกล็ ด (กระเบื้ อ ง ไม้ ) และดิ น ขอ (กระเบื้ อ งดิ น เผา) เรื อ นแบบดั้ ง เดิ ม มี เ ตาไฟอยู ่ ใ นบริ เ วณ ห้องนอน แต่ปจั จุบนั เปลีย่ นไป ชาวไทลือ้ ใน จังหวัดน่านนิยมท�ำหลังคาคลุมบันได ตรงฝา เรือนส่วนรับแขก มักจะท�ำ ประตูเปิดออก กับลมได้ และนิยมท�ำยุ้งข้าวติดกับตัวเรือน ใต้ถุนจะมีหูกทอผ้า มีห้างส�ำหรับนั่งเล่น รั้ว บ้านนิยมปลูกต้นไม้ ศาสนาดั้งเดิมของชาวไทลื้อ คือการ นับถือผี แต่ต่อมานับถือพุทธศาสนาด้วย พิธีกรรมที่ส�ำคัญ คือ พิธีเข้ากรรม ซึ่งเป็น พิธีการไหว้ผีและเลี้ยงผี กระท�ำกันปีละครั้ง บางแห่ง อาจท�ำ ๓ ปีครั้งหนึ่ง พิธีเข้ากรรม มี ๒ ระดับคือ พิธีเข้ากรรมเมือง คือ การเลี้ยงผีเจ้าเมืองและพิธีกรรม บ้าน คือการเลี้ยง ผีประจ�ำหมู่บ้าน ในพิธีเข้ากรรมจะมีการฆ่าวัวควาย หรือ เป็ด ไก่ สังเวยผีแต่อาจมีราย ละเอียดต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ (ทรงศักดิ์ ๒๕๒๙, น.๗๕) ชุดลงพื้นที่ศึกษา ชุมชนบ้านสบขุ่น ลงพื้นที่ ๓๐ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๗ จังหวะก้าวสุดท้ายของการลงพื้นที่ชุมชนบ้านสบขุ่น ลงพื้นที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๗ หมู่บ้านสบขุ่นเดิมมีนายพราน ๒ คนได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่นาห้วยขุ่น ได้มาพบ กับล�ำน�้ำคางจึงได้ย้ายถิ่นฐานมาอยู่ที่นี่แทนและตั้งชื่อว่า บ้านสบขุ่น หมู่บ้านสบขุ่นได้ ก่อตั้งมาแล้วประมาณ ๙๐ กว่าปี เมื่อประมาณพ.ศ.๒๕๑๖ บ้านสบขุ่นเคยเป็นพื้นที่สี แดงทีม่ ผี กู้ อ่ การร้ายเข้ามาต่อสู้ แต่กม็ ที หารคอยปกป้อง ผูก้ อ่ การร้ายทีเ่ ราเรียกอีกอย่าง หนึง่ คือ คอมมิวนิส จากการสูร้ บของคอมมิวนิสและรัฐบาลท�ำให้มผี เู้ สียชีวติ จากการเข้า มาขชุองคอมมิวนิส มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงชีวิตของคนในชุมชนคือ ชาวบ้านต้องขุด หลุมใต้ถุนบ้านเพื่อหลบกระสุนปืนใหญ่ของฝ่ายคอมมิวนิส จนครั้งหนึ่งที่คอมมิวนิสได้ ยิงกระสุนปืนM๗๙ ตกลงมาถูกอาคารเรียนจึงได้ตั้งชื่ออาคารเรียนนั้นว่า อาคาร M๗๙ นอกจากนั้นบ้านสบขุ่นเคยพบพระพุทธรูปหรือกุเจดีย์จึงได้น�ำไปตรวจสอบที่กรมศิลป์ พบว่ามีอายุประมาณ๑๘๐๐ ปี ซึ่งกุต่างๆที่บ้านสบขุ่นเรียกว่าดินอิฐ ได้อยู่ที่ศาลเจ้า หลวงวาว ชาติพันธุ์น่านศึกษา

289


ค�ำบอกเล่าจากความทรงจ�ำของผูเ้ ฒ่า...ทีเ่ จ็บปวดและงดงามในภาพอดีตพืน้ ที่ สีแดง (สงครามความขัดแย้งลัทธิทางการเมือง) ชุมชนบ้านสบขุ่น

290ชาติพันธุ์น่านศึกษา


ผลการด�ำเนินการ สรุปโครงการ สัมมนา ชาติพันธ์น่านศึกษา สภานักเรียนฯ จากการงานกิจการนักเรียนได้จัดท�ำแผนโครงการปฐมบทปฏิบัติการของ เยาวชนน่าน : การเรียนรู้คืนสู่รากเหง้าชาติพันธุ์น่านศึกษา เพื่อสร้างสานส�ำนึกจิต วิญญาณ เยาวชนพลเมืองน่าน กรณีศึกษา ๘ ชาติพันธุ์ ๘ ชุมชนผืนแผ่นดินน่าน ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ จังหวัดน่าน ร่วมประชุมท�ำความเข้าใจกระบวนการ เรียนรู้ในการลงพื้นที่ (ภาคสนาม) โดยวิธีคิดสร้างบทเรียนจากพหุวัฒนธรรม (บริบท จากตัวผู้เรียนเอง) เป็นโครงงานศึกษาชาติพันธุ์น่าน กรณีศึกษาชุมชนแห่งการเรียนรู้ ดังนี้ ๑. ชาติพันธุ์ไทลื้อ ๒. ชาติพันธุ์ลัวะ ๓. ชาติพันธุ์ม้ง ๔. ชาติพันธุ์ไทยวน ๕. ชาติพันธุ์ถิ่น ๖. ชาติพันธุ์มลาบรี ๗. ชาติพันธุ์ขมุ ๘. ชาติพันธุ์เมี่ยน และได้ลงพื้นที่ ไปแล้วในช่วงเดือนตุลาคม ๒๕๕๗ ซึ่งสามารถลงพื้นที่ไปศึกษาได้ถึง ๕ หมู่บ้านได้แบ่ง ภาคกระบวนการเรียนรู้และได้และได้ลงพื้นที่ครั้งที่ ๓ ช่วงปลายเดือนธันวาคม เป็น บทเรียนดังนี้ ความสนใจเข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่ายการเรียนรู้เพื่อการจัดการศึกษาเพื่อ การพัฒนาสภาชาติพันธุ์อย่างยั่งยืนในกระบวนการเรียนรู้ทั้งภายนอกและภายใน นักเรียนสนใจเข้าร่วมหรือไม่ จากการสอบถามผูเ้ ข้าร่วมเวทีเสนาฯ ทีส่ นใจต้องการเข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือ ข่ายการเรียนรูเ้ พือ่ การจัดการศึกษาเพือ่ การพัฒนาเมืองอย่างยัง่ ยืนในกระบวนการเรียน รูท้ งั้ ภายนอกและภายในพบว่าร้อยละ ๗๘.๓ มีความสนใจเข้าร่วมหากมีการจัดตัง้ เครือ ข่ายการเรียนรูเ้ พือ่ การจัดการศึกษาเพือ่ การพัฒนาเมืองอย่างยัง่ ยืนศึกษารากเหง้าและ ร้อยละ ๒.๒ และร้อยละ ๑๙.๖ ที่ระบุว่าไม่มีความสนใจและไม่ได้แสดงความคิดเห็น ตามล�ำดับ ความคิดเห็นชองผู้ที่มีความสนใจเข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่ายฯ ดังกล่าว ถึงกิจกรรมต่อไปที่ควรจะจัดเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยส่วนใหญ่มีการเสนอให้มี กิจกรรมต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ควรมีการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์นวัตกรรมทางด้านการจัดการศึกษา เพือ่ การ พัฒนาการกระบวนการเรียนรูท้ ยี่ ดึ โยงประเด็นปัญหาชุมชนอย่างยัง่ ยืนของแต่ละท้องถิน่ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

291


ที่ประสบผลส�ำเร็จเป็นรูปธรรมมา สู่บทเรียนสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นของจังหวัดน่าน ในมิติอื่น ๆ จัดกิจกรรมอบรมครูเพือ่ ให้เห็นถึงแนวทางต่างๆ ในการจัดการศึกษาเพือ่ การ พัฒนาเด็กและเยาวชนอย่างยัง่ ยืนทีย่ ดึ โยงประเด็นปัญหาชุมชนเป็นฐาน อยากให้ภาพ ความส�ำเร็จของการจัดการศึกษาอย่างยัง่ ยืนลงสูผ่ เู้ รียน ในระดับท้องถิน่ ทีม่ อี ำ� นาจตัดสิน ใจ ทีก่ ล้าจะเปลีย่ นแปลงการศึกษาท้องถิน่ ควรมีการส่งเสริมกิจกรรมด้านการศึกษาเพือ่ การพัฒนาฐานชาติพนั ธุอ์ ย่างยัง่ ยืน ตัง้ แต่ระดับปฐมวัย หรืออนุบาล เป็นต้นไป เป็นการ ปูพื้นฐานความเข้าใจความหลากหลายทางชาติพันธุ์น่าน มีการด�ำเนินกระบวนการ พัฒนาการศึกษาตามวิถีความเป็นคนน่าน เพื่อสังคมน่าน ให้ความรู้กับบุคลากรที่ เกีย่ วข้อง เช่น ครู เพือ่ ให้ได้เรียนรูแ้ ละเข้าใจระบบการท�ำงานในส่วนนีม้ ากทีส่ ดุ ควรมีการ จัดท�ำหลักสูตรท้องถิน่ และบูรณาการกับกิจกรรมการเรียนการสอนหลักสูตรแกนกลาง สร้างเครือข่ายการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนทั้งในระดับจังหวัด ระดับ ภูมิภาค การสร้างเครือข่ายฯ มีประโยชน์กับเด็ก เยาวชนของ อปท. เพื่อจะได้เรียนรู้ เท่าเทียมกับองค์กรอื่น ๆ ข้อเสนอแนะอื่น ๆ เวทีเสวนา เสวนาชาติพันธุ์ศึกษาน่านผู้เข้าร่วมได้ให้ ข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมมีดังต่อไปนี้ ๑. อยากให้ผู้บริหารส่วนท้องถิ่น ครูสถานศึกษา เห็นความส�ำคัญของการ ศึกษาชาติพันธุ์ พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในท้องถิ่น มากกว่าที่จะเข้ามาบริหารเพื่อ หาผลประโยชน์ทางการเมือง ๒. ขอให้จัดท�ำบทสรุปของการประชุมในครั้งนี้เสนอแต่ฝ่ายบริหารโรงเรียน เพือ่ รับทราบถึงแนวคิดและความตัง้ ใจของเด็กและเยาวชนในนามตัวแทนสภาชาติพนั ธุ์ ในเรื่องการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ที่ยึดโยงชาติพันธุ์น่านอย่างยั่งยืน ๓. เนื่องจากการพัฒนาด้านการศึกษามีความส�ำคัญ จึงควรมีการส่งเสริม การจัดกิจกรรมลักษณะอย่างต่อเนื่อง ๔. ควรมีการประชาสัมพันธ์ เชิญชวนให้ อปท. ทัว่ จังหวัดน่านเข้าร่วมกิจกรรม ในครั้งนี้ และครั้งต่อไป ๕. รูปแบบกิจกรรมขนาดเล็กมีงบประมาณค่อนข้างจ�ำกัด แม้วา่ จะมีความคิด ริเริ่ม หรือต้องการจัดกิจกรรมที่มีประโยชน์ส�ำหรับเยาวชน

292ชาติพันธุ์น่านศึกษา


๖.​การปรับเปลี่ยนทัศนคติของครูมุ่งสู่การสอนเพื่อเด็ก มากกว่าการมุ่งท�ำ วิทยฐานะ เป็นสิ่งส�ำคัญ จึงควรจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ เรียนการสอนของครูให้มองเห็นการบูรณาการณ์ฐานเรียนรูส้ ชู่ มุ ชน ภูมวิ ฒ ั นธรรมสังคม สรุปสถิติจ�ำนวนนักเรียนชาติพันธุ์ ๘ ชาติพันธุ์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ อ�ำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘

นักเรียน(ชนเผ่า) นักเรียนชนเผ่ามลาบรี นักเรียนชนเผ่าถิ่น นักเรียนชนเผ่าขมุ นักเรียนชนเผ่าไทลื้อ นักเรียนชนเผ่าเมี่ยน นักเรียนชนเผ่าลัวะ นักเรียนชนเผ่าพื้นราบ นักเรียนชนเผ่าม้ง

รวม

จ�ำนวน ๙ ๕๔ ๒๒ ๒๘ ๖๐ ๑๕๙ ๑๙๑ ๓๘๗ ๙๑๐

หมายเหตุ

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

293


A. มาลบรี B. ชุดข้อมูล ๒ C. ชุดข้อมูล ๓ D. ชุดข้อมูล ๔ E. ชุดข้อมูล ๕ F. ชุดข้อมูล ๖ G. ชุดข้อมูล ๗ H. ชุดข้อมูล ๘ I. ชุดข้อมูล ๙ I

A

B

C

D

E

F

G

H

สภานักเรียน พื้นที่เรียนรู้การอยู่ร่วมกัน แบบ พหุวัฒนธรรม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ นักเรียน ชาติพันธุ์ ม้ง ๒๐% นักเรียน ชาติพันธุ์ ไทยวน ๑๕ % นักเรียน ชาติพันธุ์ ไทลื้อ๑๐%

นักเรียน ชาติพันธุ์ ขมุ ๗ %

สภานักเรียน

นักเรียน ชาติพันธุ์ มลาบรี ๓ %

นักเรียน ชาติพันธุ์ ลัวะ ๓๐% นักเรียน ชาติพันธุ์ อื่นๆ ๕ %

294ชาติพันธุ์น่านศึกษา

นักเรียน ชาติพันธุ์ ถิ่น ๕%


ข้อมูล : ปีการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๘ ทักษะชีวิตภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม (ก้าวให้พ้นความแตกต่าง อยู่อย่างเข้าใจ) - ปรับมุมมอง “ความหลากหลาย” - เรียนรู้ความหลากหลายทางวัฒนธรรม - เคารพความหลากหลายของพหุวัฒนธรรมในสังคม - เคารพความเป็นมนุษย์(การปฏิบัติต่อผู้อื่น) - เคารพกติกาการอยู่ร่วมกัน แม้ปญ ั หาทีเ่ กิดจากความแตกต่างในสังคมเดียวกันจะมีอยูท่ วั่ ไป แต่หากมีระบบ การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ สร้างบทเรียน การเคารพและยอมรับซึ่งความแตกต่าง มีความไว้ใจและมีความปรารถนาดีต่อกัน สิ่งเหล่านี้ ล้วนเป็นส่วนส�ำคัญที่ช่วยท�ำให้ ประชาชนทุกชาติพันธุ์ สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ชุดบทเรียน : กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน โดย ครูยุทธภูมิ สุประการ

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

295



บรรณานุกรม

ภาษาอังกฤษ • Anderson, Benedict. (๑๙๙๖) Imagined Communities. London: Verso. • Gellner, Ernest. (๑๙๘๔) Nations and Nationalism. Oxford: Basil Blackwell. • Jan Nederveen Pieterse. (๒๐๐๔) “Ethnicities and multiculturalism: politics of boundaries” In Stephen May, Tariq Modood, and Judith Squires. (eds.), Ethnicity, Nationalism, and Minority Rights. Cambridge: Cambridge University Press, pp.๓๖-๔๙. • Kedourie, Elie. (๑๙๙๖) Nationalism. ๔th ed. Oxford: Blackwell. • Kymlicka, Will. (๑๙๙๘) “American Multiculturalism in the international arena.” Dissent (Fall): pp. ๗๓-๗๙. • Surin Pookajorn. The Phi Tong Luang (Mlabri) : a hunter-gatherer group in Thailand. Bangkok : Odeon Store, c๑๙๙๒. • Lebar, Frank, M. The Khmu. Final Report to National Research Council. Bangkok. • Lebar, Frank M., Gerald C. Hickey., and John K. Musgrave., (eds.) Ethnic Groups of Mainland Southeast Asia. New Heave : Human Relation Area Files Press, ๑๙๖๔. • Lindell, K., R. Samuelsson, and D. Tayanin. “Kinship and Marriage in Northern Kammu Villages and The Kinship Model”.Sociologus. ๓๙/๑:๕๙๒๘๓. ๑๙๗๙. • Proschan, Frank. Khmu Verbal Art in America : New Heaven : American Oriental Society. Ph.D. Dissertation, The University of Austin at Taxas. ๑๙๘๙. • Smalley, William. ๑๙๖๑. Outline of Khmu Structure. New Heaven : American Oriental Society. ๑๙๖๑. • Suwilai Premsrirat. “Aspect of Inter-Clausal Relation in Khmu”. Davidson, ed., Essays in Honor of H.L. Shorto, London : School of Oriental and African Studies. ๑๙๘๖. • -----------. “Khmu, A Minority Language of Thailand. (A Khmu Grammar and A Study of Thai and Khmu Cutting Words) .” Papers in South-East Asian Linguistics No. ๑๐, Pacific Linguistics. Series A-NO. ๗๕. ๑๙๘๗. • Lebar, Frank M., Gerald C. Hickey., and John K. Musgrave., eds. Ethnic Groups of Mainland Southeast Asia. New Heave: HRAF Press, ๑๙๖๔. ชาติพันธุ์น่านศึกษา

297


• Lewis, Paul, and Elaine Lewis. Peoples of the golden Triangle : Six Tribes in Thailand. London, Thames and Hudson,๓๐๐p.๑๙๘๔. • Mottin, Jean. History of the Hmong. Bangkok : Odeon Store, ๑๙๘๐. • Smalley, William. Phonemes and Orthography : Language Planning in Ten Minority Languages of Thailand (PL c.๔๓). Canberra : ANU, ๑๙๗๖. • Tapp, Nicholas. Sovereignty and rebellion : the White Hmong of the Northern Thailand. Oxford University Press, ๑๙๘๙. • Young, Gordon. The Hill Tribes of Northern Thailand. Bangkok : Siam Society, ๑๙๖๒. • Callaway, Lois and C. W. Callaway. “Mien (Yao).“ in William A. Smalley (ed). Phonemes and Orthography : Language Planning in Ten Minority Languages of Thailand. Pacific Linguistics Series C-No.๔๓. The Australian National University. ๑๙๗๖. Pp.๒๒๑-๒๓๗. • Goldman, Ann Yarwood. Lao mien embroidery : migration and change. Bangkok ; Cheney [Wash] : White Lotus, c๑๙๙๕. • Lemoine, Jacques. Yao ceremonial paintings Bangkok : White Lotus Co., c๑๙๘๒. • Lewis, Paul, and Elaine Lewis. Peoples of the golden Triangle : Six Tribes in Thailand. London, Thames and Hudson,๓๐๐p.๑๙๘๔ • Flatz, G. “The Khalo or Mae Rim Lawa, a remnant of the Lawa population of northern Thailand” Journal of the Siam Society. ๕๑ pages. ๑๙๗๑. • Hutchison, E.W. “The Lawa in Northern Siam” Journal of the Siam Society ๒๗(๒) : ๑๕๓-๑๘๒. ๑๙๓๔. • Kauffmann, H.E. “Some Social and Religious Institutions of the Lawa (N.W.-Thailand) part I” Journal of the Siam Society ๖๐(๑) : ๒๓๗-๓๐๗. ๑๙๗๒. • Kerr, A.F.G. . “The Lawa of Baw Luang Plateau : ethnologic notes” Journal of the Siam Society ๑๘(๒) ๑๙๒๔ : ๑๓๕-๑๔๖. • ------------. . “Two “Lawa” Vocabularies : The Lawa of the Baw Luang Plateau” Journal of the Siam Society ๒๑(๒) ๑๙๒๗-๒๘ : ๕๓-๖๓. • Kunstadter, P. . “The Lua? (Lawa) of Northern Thailand : Aspects of ๑๙๖๕ Social Structure, Agriculture, and Religion” Research Monograph No. ๒๑. Princeton University, ๑๙๖๕

298ชาติพันธุ์น่านศึกษา


• -----------. “Irrigation and social structure narrow valleys and individual enterprise” Paper prepared for Eleventh Pacific Science Congress, Tokyo, August-September. ๑๙๖๖. • -----------. “Subsistence Agriculture Economics of LUAAND KAREN Hill Farmers of Mae Sariang District, Northwestern Thailand”Paper prepared for Symposium on Shifting Cultivation and Economic Development. • Mitani, Y. “The Lawa or Chaubun in Changvad Petchabun” Journal of the Siam Society ๑๔(๑) ๑๙๒๑ : ๑๙-๕๑. • Schlatter, D., “Lawa (Lawa,Lua)” in Smalley, W.A. (ed.) Phonemes and Orthography : Language Planning in Ten Minority Languages of Thailand. Pacific Linguistics Series C-No. ๔๓, The Australian National University, pp. ๒๗๓-๒๘๑. ๑๙๗๖. • Seidenfaden, E. “Translator’s Note, appended on Phra Petchaburi’s article on “The Lawa or Chaubun in Changvad Petchabun” “Journal of the Siam Society ๑๔(๑) : ๑๙-๕๑. • ------------. ๑๙๒๓. “The Lawa, additional note by Major Erik Seidenfaden” Journal of the Siam Society ๑๗(๒) ๑๙๒๑.: ๑๐๑-๑๐๒. • ------------. “The Lawa of Umphai and Middle Meping” Journal of the Siam Society ๓๒(๑) ๑๙๔๐.: ๒๙-๓๖. • Young Oliver Gordon. The Hill tribes of Northern Thailand. ๒nd. Edition. Bangkok : the Siam Society. ๑๙๖๒ • Forbes, A and Henley,D.The Haw : Trader of The Golden Triangle. Asian Film House,๑๙๙๗. • Lebar, Frank M. and others. Ethnic Groups of Mainl and Southeast Asia. New Haven Human Relations Area Files Press, ๑๙๖๔. • McKinnon, J and Vienne ,B. Hill tribes today. White Lotus-Orstom, ๑๙๘๙. • The Nation. “Family Ties” ๑๐ August ๑๙๙๑. • Nanthariya Lamchiagdese. The Phonology of Lue In Lampang Province. M.A. Thesis. Bangkok : Mahidol University, ๑๙๘๔.

ชาติพันธุ์น่านศึกษา

299


ภาษาไทย • ธีรยุทธ บุญมี. พหุนิยม. กรุงเทพฯ: ไทเกอร์ พริ้นติ้ง, ๒๕๔๖. • ธีรยุทธ บุญมี. ชาตินิยมและหลังชาตินิยม. กรุงเทพฯ: สายธาร, ๒๕๔๖. • อมรา พงศาพิชญ์. วัฒนธรรม ศาสนาและชาติพันธุ์: วิเคราะห์สังคมไทยในแนว มานุษยวิทยา. พิมพ์ครัง้ ที่ ๕. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๑. • อมรา พงศาพิชญ์. ความหลากหลายทางวัฒนธรรม (วิธีวิทยาและบทบาทในประชา สังคม). พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๕. • ภาณี วงษ์เอก. การศึกษาแบบการจัดสัมมนากลุ่ม” ในการศึกษาเชิงคุณภาพเทคนิค การวิจยั ภาคสนาม.กรุงเทพ ฯ : โครงการเผยแพร่ขา่ วสารและการศึกษา ด้านประชากร สถาบันวิจัยประชากรและสังคม. มหิดล,๒๕๓๓. • ธนพรรณ ธานี. การศึกษาชุมชน.ภาควิชาพัฒนาสังคม มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น,๒๕๔๒. • บุญธรรม จิตต์อนันต์.การวิจัยทางสังคมศาสตร์.กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ,๒๕๓๖. • สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ ๒ ขอนแก่น : ขอนแก่นการพิมพ์,๒๕๓๘. • ชนเผ่ามละ “Mla” หรือที่คนอื่นเข้าใจในชื่อเผ่าตองเหลืองหรือ มลาบรี “Mlabri” โครงการ พิพิธภัณฑ์ชนเผ่าออนไลน์www.hilltribe.org • คารม ไปยะพรหม. การศึกษาวิจัยทางมานุษยวิทยาภาษาศาสตร์ ภาษามลาบรี (ผีต องเหลือง). วิทยานิพนธ์สาขาภาษาศาสตร์ สถาบันวิจยั ภาษาและวัฒนธรรมเพือ่ พัฒนา ชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๓. • ชนัญ วงษ์วิภาค. ระบบเศรษฐกิจของผีตองเหลืองในปัจจุบัน. ศิลปวัฒนธรรม ๔(๑๒ ตุลาคม ๒๕๒๖) ; หน้า ๓๔-๔๓. • มหาวิทยาลัยศิลปากร. โครงการวิจัยชาติพันธุ์ทางโบราณคดี. รายงานเบื้องต้น กลุ่ม สังคมล่าสัตว์ชนกลุ่มน้อยเผ่าผีตองเหลือง ในประเทศไทย. กรุงเทพ : โครงการวิจัย ชาติพันธุ์ทางโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, ม.ป.ป. • วิสุทธิ์ ศรีวิศาล. ระบบเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมของเผ่าผีตอง เหลืองในสังคมไทย วิทยานิพนธ์ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๘.

300ชาติพันธุ์น่านศึกษา


• สงเคราะห์ชาวเขา, กอง. กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ท�ำเนียบชุมชนบนพื้นที่สูง ๒๐ จังหวัด ในประเทศไทย ปี พ.ศ. ๒๕๔๐. นนทบุรี : สห พริ้นติ้งการพิมพ์, ๒๕๔๑ • สุรินทร์ ภู่ขจร. ผลการวิเคราะห์กลุ่มสังคมล่าสัตว์ : ชนกลุ่มน้อยเผ่า ”ผีตองเหลือง” ในประเทศไทย. กรุงเทพ : กองพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๓๑. • หมื่อนวลี. ผีตองเหลือง. กรุงเทพ : รวมสาส์น, ๒๕๓๗. • กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ. เล่าเรื่องเมืองเหนือว่าด้วยสถานที่สำ� คัญต่างๆ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว , ๒๕๒๒. • กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ. เล่าเรื่องเมืองเหนือว่าด้วยประวัติบุคคลส�ำคัญ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว , ๒๕๒๔. • กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ.เล่าเรื่องเมืองเหนือว่าด้วยประเพณีท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว , ๒๕๒๐. • ไกรศรี นิมมานเหมินท์ “เก็บผักใส่ซ้า เก็บข้าใส่เมือง” ใน ลานนาไทยคดี. กรุงเทพฯ: เจริญวิทย์การพิมพ์, ๒๕๒๑. • คณะกรรมการช�ำระประวัติศาสตร์ไทย, พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพระบรม ราชจักรีวงศ์กับนครเชียงใหม่. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน), ๒๕๓๙. • คณะอนุกรรมการตรวจสอบและช�ำระต�ำนานพื้นเมืองเชียงใหม่. ต�ำนานพื้นเมือง เชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ ๗๐๐ ปี. เชียงใหม่: โรงพิมพ์มิ่งเมือง, ๒๕๓๘. • ชมรมล้านนาคดี. ล้านนาคดีสัญจร: ตามรอยโคลงมังทรา. เชียงใหม่, ๒๕๓๓. • ชัยยศ อัษฏ์วรพันธ์. วิหารลายค�ำ วัดพระสิงห์: สถาปัตยกรรมและจิตรกรรม. เชียงใหม่ : หจก. ตรัสวิน, ๒๕๔๓. • ชูสิทธิ์ ชูชาติ . “โลกทัศน์ชาวลานนาศึกษาจากคร่าวพญาพรหม” . สังคมศาสตร์ ๒ : ๓๗-๕๗ ตุลาคม ๒๕๒๕ – มีนาคม ๒๕๒๗. • ฐาปวีส์ คงสุข (เรียบเรียง). สมุนไพรให้ความงาม. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์ประพันธ์ สาส์น จ�ำกัด, ๒๕๔๓. • ทิว วิชยั ขัทคะ (บรรณาธิการ). สมโภช ๖๐๐ ปี พระธาตุเจดียห์ ลวง. เชียงใหม่: ส.ทรัพย์ การพิมพ์, ๒๕๓๘. • บ. บุญค�้ำ. เที่ยวเมืองเชียงตุงและแคว้นสาละวิน. พิษณุโลก: โรงพิมพ์รัตนสุวรรณ, ๒๔๙๙. ชาติพันธุ์น่านศึกษา

301


• บุญยงค์ เกศเทศ. สถานภาพของสตรีไทยในวรรณกรรมรัตนโกสินทร์ตอนต้น ช่วง พ.ศ. ๒๓๒๕ – ๒๓๙๔ (รัชกาลที่ ๑ – รัชกาลที่ ๓). ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ๒๕๑๙, อัดส�ำเนา. • บุญเสริม ศาสตราภัย. อดีตลานนา. กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ์, ๒๕๒๐. • บุญเสริม สาตราภัย. เสด็จลานนา ๑-๒. กรุงเทพฯ: บริษทั อักษราพิพฒ ั น์ จ�ำกัด, ๒๕๓๒. • เบญจา ยอดด� ำ เนิ น “ความเชื่ อ และบริ โ ภคนิ สั ย ของประชาชนภาคเหนื อ ของ ประเทศไทย” ใน สังคมและวัฒนธรรมของภาคเหนือประเทศไทย. สมาคมสังคมศาสตร์ แห่งประเทศไทย ๒๕๒๐. • ประคอง นิมมานเหมินท์. มหาชาติลานนา : การศึกษาในฐานะที่เป็นวรรณกรรมท้อง ถิ่น. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๖. • ประคอง นิมมานเหมินท์. ลักษณะวรรณกรรมภาคเหนือ. สมาคมสังคมศาสตร์แห่ง ประเทศไทย, ๒๕๑๗. • จิตร ภูมศิ กั ดิ.์ ความเป็นมาของค�ำสยาม ไทย ลาว และขอมและลักษณะทางสังคมของ ชื่อชนชาติ. มูลนิธิโครงการต�ำราทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาตร์ กรุงเทพ. ๒๕๒๙. • นิพัทธเวช สืบแสง. “การเกษตรแบบยังชีพของชาวเขาเผ่าขมุ.” ข่าวสารศูนย์วิจัยชาว เขาปีที่ ๖ ฉบับที่ ๔, หน้า ๓-๑๕. ๒๕๒๕. • สุวิไล เปรมศรีรัตน์. “โลกทัศน์ในภาษาขมุ.” วารสารธรรมศาสตร์ ๑๕.๑ : ๙๔-๑๑๓. ๒๕๒๙. • -----------. ชีวิตชาวขมุจาก ๕๐ บทสนทนา. มหาวิทยาลัยมหิดล. ๒๕๓๑. • ----------.วิธีป้องกันและรักษาโรคแบบพื้นบ้านชาวขมุและสนทนาสาธารณสุขการ แพทย์ไทย-ขมุ. สถาบันวิจยั ภาษาและวัฒนธรรมเพือ่ พัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. ๒๕๓๓. • ----------. พจนานุกรมไทย-ขมุ-อังกฤษ. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนา ชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. ๒๕๓๓. • ----------. สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์ขมุ. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนา ชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพ : สหธรรมิก, ๒๕๔๑. • สงเคราะห์ชาวเขา, กอง. กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ท�ำเนียบชุมชนบนพื้นที่สูง ๒๐ จังหวัดในประเทศไทย ปี พ.ศ. ๒๕๔๐. นนทบุรี : สห พริ้นติ้งการพิมพ์, ๒๕๔๑

302ชาติพันธุ์น่านศึกษา


• คณะกรรมการปฏิบัติการจิตวิทยาแห่งชาติ. ชาวเขาเผ่าม้ง. โรงเรียนสงครามจิตวิทยา กรมยุทธการทหาร, ๒๕๑๘. • ชูพินิจ เกษมณี. “แม้ว : ถิ่นก�ำเนิดและการอพยพลงใต้.” ข่าวสารศูนย์วิจัยชาวเขา. ๖ (เมษายน-มิถุนายน ๒๕๒๕): ๑๙-๒๓. • นิพทั ธเวช สืบแสง. “ปี เดือน วันของแม้ว.” ข่าวสารสถาบันวิจยั ชาวเขา. ๑๔ (เมษายนมิถุนายน ๒๕๓๓): ๖๑-๖๓. • สถาบันวิจัยชาวเขา. แม้ว. กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงมหาดไทย, ๒๕๓๒ • สุรยิ า รัตนกุล. พจนานุกรมไทย-ม้ง. กรุงเทพ: โรงพิมพ์เกษมสัมพันธ์การพิมพ์, ๒๕๑๕. • สุจริตลักษณ์ ดีผดุง, อรนุช นิยมธรรม และคณะ. ม้งน�้ำเงินบ้านห้วยหอย อ�ำเภอ แม่แจ่ม และม้งขาวบ้านม่อนยะเหนือ อ�ำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่.มหาวิทยาลัย มหิดล, ๒๕๓๔. (อัดส�ำเนา) • สุจริตลักษณ์ ดีผดุง. สารานุกรมกลุม่ ชาติพนั ธุม์ ง้ . สถาบันวิจยั ภาษาและวัฒนธรรมเพือ่ พัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. นครปฐม : โรงพิมพ์สถาบันพัฒนาการสาธารณสุข อาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๘ • จันทบูรณ์ สุทธิและคณะ. ปี เดือน วัน เย้า. เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยชาวเขาจังหวัด เชียงใหม่. มปป. (อัดส�ำเนา) • ชอบ คชาอนันต์. “เกร็ดเล็กๆ น้อยๆ ของเย้า.” ข่าวสารศูนย์วิจัยชาวเขา. ๒ (ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๒๑) : ๒๑–๒๓. • ---------. “ระบบการเรียกชื่อเครือญาติของเย้า.” ข่าวสารศูนย์วิจัยชาวเขา. ๔ (ฉบับ ที่ ๑, ๒๕๒๓) : ๓๗–๓๙. • ---------. “เย้ากับความเชื่อเรื่องผี”. ข่าวสารศูนย์วิจัยชาวเขา. ๑ (ฉบับที่ ๓ มกราคมเมษายน ๒๕๒๒) : ๓๕–๓๙. • ชอบ คชาอนันต์ และสมเกียรติ จ�ำลอง. “เพลงและการละเล่นพืน้ บ้านของชาวเขาเผ่า เย้า”. ข่าวสารศูนย์วจิ ยั ชาวเขา. ๑๒ (ฉบับที่ ๑,๒ มกราคม-มิถนุ ายน ๒๕๓๑) : ๘๕–๙๔. • ณัฏฐวี ทศรฐ วีระพงศ์ มีสถาน. สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์เมี่ยน (เย้า). กรุงเทพ : โรง พิมพ์ สหธรรมมิก จ�ำกัด, ๒๕๔๐. • มงคล จันทร์บ�ำรุง. เย้าไทย-เย้ากวางสี. โครงการวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเย้าไทย และเย้ากวางสี, หน่วยปฏิบัติการทางภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๕. ชาติพันธุ์น่านศึกษา

303


• ---------. เรื่องของชาวเขา (เผ่าเย้า). เอกสารทางวิชาการประกอบการแต่งตั้งให้ด�ำรง ต�ำแหน่งผูช้ ำ� นาญการพิเศษ, สถาบันวิจยั ชาวเขา จังหวัดเชียงใหม่, ๒๕๓๕. ๑๔๔ หน้า. • ---------. ประเพณีการแต่งงานของชาวเขาเผ่าเย้า. เชียงใหม่ : สถาบันวิจัยชาวเขา, ๒๕๒๘. หน้า ๓๔–๔๗. (โรเนียว) • ---------. เย้าไทย-เย้ากวางสี เสื้อผ้าและเครื่องประดับ. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : โรง พิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๔. ๗๙หน้า. • สงเคราะห์ชาวเขา, กอง. กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ท�ำเนียบชุมชนบนพื้นที่สูง ๒๐ จังหวัดในประเทศไทย ปี พ.ศ. ๒๕๔๐. นนทบุรี : สห พริ้นติ้งการพิมพ์, ๒๕๔๑ • สุจริตลักษณ์ ดีผดุง. เย้า. นครปฐม : สถาบันวิจยั ภาษาและวัฒนธรรมเพือ่ พัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๙. ๑๘ หน้า. (อัดส�ำเนา) • เหยา ซุ่นอัน. “เส้นทางอพยพของชาติเย้า.” ข่าวสารศูนย์วิจัยชาวเขา. ๙ (ฉบับที่ ๔. ๒๕๒๘) : ๒๙–๓๘. • กฤษณา เจริญวงศ์. เอกสารสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง ลัวะในล้านนา. ๗-๘ มีนาคม ๒๕๓๑ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วิทยาลัยครูเชียงใหม่ สหวิทยาลัยล้านนา. • ไกรศรี นิมมานเหมินท์. กาพย์เจี้ย จามเทวี และวิลังคะ. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพ : บริษัทพี.เอ.ลิสวิ่งจ�ำกัด. ม.ป.ป. • จันทบูรณ์ สุทธิ และสมเกียรติ จ�ำลอง. “ลัวะ และวัน เดือน ปี“ ข่าวสารสถาบันวิจัย ชาวเขา ๑๓.๓-๔ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๓๒) หน้า ๔๕–๗๔. • ณัฏฐวี ทศรฐ, สุริยา รัตนกุล. สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์ละว้า. กรุงเทพ : โรงพิมพ์สห ธรรมิกจ�ำกัด , ๒๕๔๑. • ศรีศักร วัลลิโภดม. ลัวะ ละว้า และกะเหรี่ยง : ชนเผ่าในที่สูงกับความสัมพันธ์ทาง เศรษฐกิจ-การเมือง กับรัฐในทีร่ าบ เมืองโบราณ ๑๒,๑ (ม.ค.-มี.ค. ๒๕๒๙) หน้า ๕๔-๖๔. • สุริยา รัตนกุล. “วรรณกรรมที่ไม่ได้จดลงเป็นตัวหนังสือของละว้า” บทความเสนอ ในการสัมมนาเรื่อง ภาษาของชนกลุ่มน้อยใน ในประเทศไทย ที่หอประชุมจงจินต์ มหาวิทยาลัยมหิดล ๓-๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๐, ๒๙ หน้า. • สุรสั วดี อ๋องสกุล. “ลัวะในต�ำนานลานนาไทยหายไปไหน” เอกสารการสัมมนาล้านนา ศึกษา ประวัตศิ าสตร์ และโบราณคดี ณ วิทยาลัยครูเชียงใหม่, ๒๘-๓๑ มกราคม ๒๕๒๘. • โสฬส ศิริไสย์. รายงานผลการส�ำรวจจ�ำนวนประชาการของชนเผ่าละว้า. เอกสาร การวิจัยของสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อ พัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล,

304ชาติพันธุ์น่านศึกษา


๒๕๒๗. (ยังไม่ได้ตีพิมพ์) • Kraisri Nimmanahaeminde. “The Lawa Guardian Spirits of Chiangmai” ลาย คราม. จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสเฉลิมฉลองอายุ ครบรอบ ๖ รอบของนายไกรศรี นิมมาน เหมินทร์ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๒๗. ๑๙๘๔. • กองสงเคราะห์ชาวเขา. ท�ำเนียบชุมชนบนพื้นที่สูงในประเทศไทย ปี ๒๕๓๘. กอง สงเคราะห์ชาวเขา กรมประชาสงเคราะห์: กรุงเทพฯ, ๒๕๓๘. • ขจัดภัย บุรุษพัฒน์. ชาวเขา. แพร่พิทยา, ๒๕๓๘. • จวน เครือวิชฌยาจารย์. วิถีชีวิตชาวมอญ. ส�ำนักพิมพ์เมืองโบราณ, ๒๕๓๗. • จารุวรรณ พุ่มพฤกษ์. ลาวแง้ว. สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, มปป. • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ไท-กะได. ฝ่ายวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๕. • ณัฏฐวี ทศรฐ และ วีระพงศ์ มีสถาน. สารานุกรมกลุม่ ชาติพนั ธุ์ เมีย่ น(เย้า), สถาบันวิจยั ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๐. • ณัฏฐวี ทศรฐ และ สุริยา รัตนกุล. สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์ละว้า. สถาบันวิจัยภาษา และวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๙. • ณรงค์ ป้อมบุบผา. แสกเต้นสาก. โครงการส่งเสริมหนังสือตามแนวพระราชด�ำริ, ๒๕๒๖. • ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล. “ชาวไทยลื้อในล้านนา : ข้อสังเกตเบื้องต้น” ใน ไทลื้อ : เชียงค�ำ. • ชมรมล้านนาคดี วิทยาลัยครูเชียงใหม่ สหวิทยาลัยล้านนา, ๒๕๒๙. • ธีรภาพ โลหิตกุล. คนไทในอุษาคเนย์. ส�ำนักพิมพ์ผู้จัดการ, ๒๕๓๘. • บุญช่วย ศรีสวัสดิ์. ชาวเขาในไทย. โอเดียนสโตร์: พระนคร, ๒๕๐๖. • ประกอบ ผลงาม. สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์เขมรถิ่นไทย. สถาบันวิจัยภาษาและ วัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล , ๒๕๓๘. • ประเทือง เครือหงส์. ชาวน�้ำ(ชาวทะเล)ในประเทศไทย. บรรณกิจเทรดดิ้ง: กรุงเทพฯ, ๒๕๓๙. • พอล และอีวาน ลูวิส. หกเผ่าชาวดอย. แปลและเรียบเรียงโดย ศิริวรรณ สุขพานิช, หัตถกรรมชาวเขา: เชียงใหม่, ๒๕๒๘. • ไพฑูรย์ พรหมวิจิตร. เสียงเพรียกจากชาติพันธุ์. ศูนย์ชาติพันธุ์และการพัฒนา สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, มปป. • มนทิพย์ ไชยมล. “วัฒนธรรมคนป่า ชนเผ่าชอง” มติชนรายวัน อาทิตย์ที่ ๘ กุมภาพันธ์ ชาติพันธุ์น่านศึกษา

305


๒๕๔๑, หน้า ๗. • วิเชียร วงศ์วิเศษ. ไทยพวน, ๒๕๒๕. • วีระพงศ์ มีสถาน. สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์ : พวน. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรม เพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๙. • ศรีศักร วัลลิโภดม และ สุจิตต์ วงษ์เทศ. ไทยน้อย ไทยใหญ่ ไทยสยาม. ส�ำนักพิมพ์ มติชน,กรุงเทพฯ, ๒๕๓๔. • ศูนย์ศลิ ปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏนครราชสีมา. ของดีโคราช เล่มที่ ๓ สาขาคหกรรม ศิลป์, ๒๕๓๘. • สมทรง บุรุษพัฒน์. การเล่นคอนของลาวโซ่งที่บางกุ้ง. สถาบันวิจัยและวัฒนธรรมเพื่อ พัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๒๔. • สมทรง บุรษุ พัฒน์. สารานุกรมกลุม่ ชาติพนั ธุ์ :ไทยโซ่ง ,สถาบันวิจยั ภาษาและวัฒนธรรม เพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๐. • สมัย สุทธิธรรม. มูเซอ. ๒๐๒๐ เวิลร์ดมีเดีย , ๒๕๔๑ • สิริกาญจน์ เจริญธรรม. ภาษาชอง หมู่บ้านทุ่งตาอิน ต�ำบลพลวง อ�ำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาจารึกภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๐. • สุจิตต์ วงษ์เทศ. คนไทยอยู่ที่นี่ ที่อุษาคเนย์. ศิลปวัฒนธรรม กรุงเทพฯ, ๒๕๓๗. • สุจริตลักษณ์ ดีผดุง. มอญ. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล : กรุงเทพฯ, ๒๕๓๘. • สุเรขา สุพรรณไพบูลย์. ระบบเสียงภาษาชอง หมูบ่ า้ นตะเคียนทอง ต�ำบลตะเคียนทอง อ�ำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๒๕. • สุรยิ า รัตนกุล. นานาภาษาในเอเชียอาคเนย์. บริษทั โรงพิมพ์สหธรรมมิก จ�ำกัด, ๒๕๓๘. • สุริยา รัตนกุล และ สมทรง บุรุษพัฒน์. สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์ : กะเหรี่ยงสะกอ. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๙. • สุรินทร์ ภู่ขจร และคณะ. ผลวิเคราะห์กลุ่มสังคมล่าสัตว์ ชนกลุ่มน้อยเผ่า “ผีตอง เหลือง” ในประเทศไทย. กองพิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร: กรุงเทพฯ, ๒๕๓๑. • โสฬส ศิริไสย์ และคณะ. สารานุกรมชนชาติกูย สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อ พัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล: นครปฐม, ๒๕๓๘. • หมื่นวลี (นามปากกา). ผีตองเหลือง. รวมสาส์น : กรุงเทพฯ, ๒๕๓๗.

306ชาติพันธุ์น่านศึกษา


• เอกสารรวมบทความการประชุมสัมมนาวิชาการเรือ่ ง มรดกสิง่ ทอไทลือ้ กับบริบททาง สังคมวัฒนธรรมในล้านนา ณ โรงแรมริมกกจังหวัดเชียงราย.: ส�ำนักงานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม เชียงใหม่, ๒๕๓๕. • จารุวรรณ พรมวัง. การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมบางประการของชาวไทลื้อ. วิทยานิพนธ์ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๖. • ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล และแพทริเซีย แน่นหนา. ผ้าไทลื้อ : การผลิตซ�้ำทาง วัฒนธรรม. เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการ เรือ่ ง “วัฒนธรรมไทลือ้ กับการปรับ ตัวในกระแสของการเปลี่ยนแปลง” วันที่ ๑๖-๑๗ กันยายน ๒๕๓๗ ณ ห้องทองกวาว ส�ำนักบริหารวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. • ประชัน รักพงษ์. “การศึกษาวัฒนธรรมพื้นบ้านไทลื้อในภาคเหนือของสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว” เอกสารไทศึกษา ๖ ประกอบการประชุมสัมมนาเรื่อง ไทศึกษา ครั้งที่ ๖. เชียงใหม่ ๑๔-๑๗ ต.ค. ๒๕๓๙. • ประชัน รักพงษ์ และคณะ. การศึกษาหมู่บ้านไทลื้อในจังหวัดล�ำปาง. ล�ำปาง : กิจเสรี การพิมพ์, ๒๕๓๕. • เผชิญ จิณสิทธิ์ ประเพณีบวงสรวงดวงวิญญาณเจ้าหลวงเมืองล้า อ�ำเภอท่าวังผา จังหวัด น่าน.ม.ป.ป. (อัดส�ำเนา) • รัตนาพร เศรษฐกุล. . การปรับตัวของวัฒนธรรมไทลื้อในน่าน. เอกสารประกอบ การสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง"วัฒนธรรมไทลื้อกับ การปรับตัวในกระแสของการ เปลี่ยนแปลง" วันที่ ๑๖-๑๗ กันยายน ๒๕๓๗ ณ ห้องทองกวาว ส�ำนักบริหารวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. • รุจยา อาภากร, ม.ร.ว. และคณะ ไทลือ้ . กรุงเทพ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๓๐. • เริ่ม เตชะแก้ว.รายงานการค้นคว้า สถาปัตยกรรมบ้านไทยลื้อ. (เอกสารอัดส�ำเนา). วิทยาลัยครูเชียงราย, ๒๕๒๘. • สงเคราะห์ชาวเขา, กอง. กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ท�ำเนียบชุมชนบนพื้นที่สูง ๒๐ จังหวัดในประเทศไทย ปี พ.ศ. ๒๕๔๐. นนทบุรี : สห พริ้นติ้งการพิมพ์, ๒๕๔๑ • สมใจ แซ่โง้ว, วีระพงศ์ มีสถาน. ไทลื้อ. นครปฐม : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรม เพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๑. ชาติพันธุ์น่านศึกษา

307


“ชาติพันธุ์น่านศึกษา” เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนังสือ ISBN : 978-616-39-5673-6 จัดท�ำโดย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๕๖ จังหวัดน่าน ออกแบบปกและรูปเล่ม หจก.อิงค์เบอร์รี่ พิมพ์ครั้งแรก เมษายน ๒๕๕๙ จ�ำนวน 500 เล่ม พิมพ์ที่ หจก.อิงค์เบอร์รี่ 6/5 ถ.รังษีเกษม ต.ในเวียง อ.เมืองน่าน จ.น่าน 55000 หนังสือเล่มนี้จัดพิมพ์เพื่อการศึกษาเท่านั้น


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.