โยคะสารัตถะ มกราคม 54

Page 1

วิถชี วี ติ เพือ่ สุขภาวะ

จดหมายข่าว

www.thaiyogainstitute.com

คุยกันก่อน ปฏิทนิ กิจกรรม กิจกรรมของเครือข่าย เล้งเล่าเรือ่ ง แนะนาหนังสือ โลกอาสนะ ตาราดัง้ เดิม

โยคะพืน้ ฐาน, โยคะในสวนธรรม, ... เจริญสติภาวนา, ธรรมะ-โยคะเพือ่ ผูป้ ว่ ย สวามีเวทะ, คุณแม่ราธา ครูโยคะ หรือ ยมะ นิยมะ จากจิตวิทยาสู่พุทธธรรม มองมุมกลับ กลับมุมมอง การเดินทางย้อนกลับบนเส้นทางของสางขยะ

ฉบับเดือน มกราคม 2554

2 2 3 5 5 7 8

จดหมายข่าว โยคะสารัตถะ วิถชี วี ติ เพือ่ สุขภาวะ ที่ปรึกษา แก้ว วิฑรู ย์เธียร ธีรเดช อุทยั วิทยารัตน์ นพ.ยงยุทธ วงศ์ภริ มย์ศานติ ์ นพ.สมศักดิ ์ ชุณหรัศมิ ์ กองบรรณาธิ การ กวี คงภักดีพงษ์, จิรวรรณ ตัง้ จิตเมธี, จีระพร ประโยชน์วบิ ลู ย์, ชนาพร เหลืองระฆัง, ณัตฐิยา ปิยมหันต์, ณัฏฐ์วรดี ศิรกิ ุลภัทรศรี, ธนวัชร์ เกตน์วมิ ตุ , ธัญยธรณ์ อรัณย์ชลาลัย, ธีรนิ ทร์ อุชชิน, พรจันทร์ จันทนไพรวัน, รัฐธนันท์ พิรยิ ะกุลชัย, วรรณวิภา มาลัยนวล, วัลลภา ณะนวล, วิสาขา ไผ่งาม, วีระพงษ์ ไกรวิทย์, ศันสนีย์ นิรามิษ, สมดุลย์ หมันเพี ่ ยรการ, สุจติ ฏา วิเชียร

สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธหิ มอชาวบ้าน 201 ซอยรามคาแหง 36/1 บางกะปิ กทม.10240 โทรศัพท์ 02 732 2016-7, 081 401 7744 โทรสาร 02 732 2811 อีเมล์ yogasaratta@yahoo.co.th เว็บไซท์ www.thaiyogainstitute.com

สิ่ งตีพิมพ์

news 1101 1


สวัสดีปีใหม่ 2554 จากแบบสอบถาม ผูอ้ ่านตอบรับ ตัวพวกเรา (tacit knowledge) ออกมาแบ่งปนั กัน ให้เกิด ดีกบั คอลัมน์ต่างๆ มีกเ็ พียง ปกิณกะสุขภาพ กับ สะกิดสะเกา ประโยชน์ต่อผูอ้ ่นื (explicit knowledge) ทีค่ นตอบรับน้อยหน่อย เราก็จะปรับปรุงนะครับ ขณะเดียวกัน เราก็ทาให้สานักงานมีความเป็ นสากล ปี 2554 สถาบันฯ ก็ยงั คงดาเนินงานไปตามภารกิจ มีความโปร่งใส ตัง้ แต่ตน้ ปี ใหม่น้ี เราได้เปิ ดบัญชีใหม่ ธนาคาร ทีต่ งั ้ ไว้ 1) พัฒนาครู 2) พัฒนาวิชาการ และ 3) เผยแพร่ ไทยพาณิชย์ สาขา เดอะมอลลล์ 3 รามคาแหง ชื่อบัญชี knowledge based yoga ให้กบั สังคม โดยเฉพาะปี น้ี เราตัง้ ใจ มูลนิธหิ มอชาวบ้าน (สถาบันโยคะวิชาการ) ภาษาอังกฤษใช้ จะทาเรื่อง ตาราโยคะ เราตัง้ ใจจะเชิญชวนเพื่อนๆ เครือข่าย ว่า Folk Doctor Foundation บัญชีกระแสรายวัน เลขที่ 173 ช่วยกันทาเรื่ององค์ความรู้ ซึง่ ไม่ได้หมายถึงต้องเป็ นอะไรที่ 300 2791 บัญชีออมทรัพย์เลขที่ 173 232 9491 ยุ่งๆ ยากๆ แต่หมายถึง ประสบการณ์ ภูมริ ตู้ ่างๆ ทีม่ อี ยู่ใน ______________________________________________________________________________________________

จิ ตสิ กขา วันเสาร์ท่ี 15 มกราคม 9.00 – 12.00 น. คุยกัน ประสบการณ์การพัฒนาจิตของแต่ละคนในช่วง 1 เดือนทีผ่ ่าน เรื่องของ “อริยสัจ 4 - สมุทยั ” พร้อมกับ “แลกเปลีย่ น มา” ทีส่ านักงาน สถาบันฯ ซอยรามคาแหง 36/1 --------------------------------------------------------โยคะอาสนะขัน้ พืน้ ฐานเพือ่ ความสุข จัดขึน้ ในวันอาทิตย์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สุขมุ วิท ที่ 16 มกราคม 2554 เวลา 9.00-15.00 น. ทีห่ อ้ ง 262 ชัน้ 6 23 (ซอยประสานมิตร) ---------------------------------------------------------เชิญอัพเดทข่าวสถาบันฯ เป็ น fan ในเฟสบุ๊คที่ http://www. และทาง Twitter ที่ http://twitter.com/yogathai facebook.com/pages/thaiyogainstitute/208189084154 --------------------------------------------------------โยคะในสวนธรรม สถาบันฯ ร่วมกับ หอจดหมายเหตุพทุ ธ 19 ม.ค. โยคะในสวนธรรม ณัตฐิยา – ณัฐทพัสส์ ทาส อินทปญั โญ เชิญเข้าร่วมกิจกรรม “โยคะในสวนธรรม” ปี 22 ม.ค. โยคะในสวนธรรม วรรณวิภา มาลัยนวล 2554 นี้ มีการปรับตารางเป็ นทุกวันเสาร์ทส่ี ข่ี องเดือน เวลา 16 ก.พ. โยคะวนสวนธรรม รัฐธนันท์ – กฤษณ์ 10.00 – 12.00 น. และ ทุกเย็นวันพุธทีส่ าม ของเดือน เวลา 26 ก.พ. โยคะสลายเครียด กฤษณ์ ฟกั น้อย - เพื่อนครูรุ่น 10 17.00 – 18.30 น. ณ หอจดหมายเหตุพทุ ธทาส สวนวชิรเบญ ไม่เสียค่าใช้จา่ ย มีการตัง้ กล่องรับบริจาค เพื่อช่วย ทิศ ถ.วิภาวดีรงั สิต (หลังตึก ปตท. ห้าแยกลาดพร้าว) สมทบค่าสาธารณูปโภคให้กบั ฝา่ ยอาคาร และค่าเดินทาง มาร่วมฝึกเทคนิคโยคะ พร้อมกับทาความเข้าใจ วิทยากร โยคะตามตาราดัง้ เดิม ซึง่ เป็ นวิถไี ปสูโ่ มกษะ และทาความ เข้าใจว่า โยคะเชื่อมโยง เกือ้ กูลกับการปฏิบตั ธิ รรมได้แค่ไหน อย่างไร ตามกาหนดการ* ดังนี้ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เดือน ธันวาคม 2553 มีผบู้ ริจาคสนับสนุนการทางานของสถาบันฯ ดังนี้ เพื่อนครู ทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมจิตสิกขาประจาเดือนธันวาคม สรุป ยอดบริจาคประจาเดือนธันวาคม 2553 ทัง้ สิ้ น news 1101 2

1,000.- บาท 1,000,.- บาท


๑๗.๐๐-๑๘.๐๐ น. ทาวัตรเย็น ชีวิตสิ กขา เครือข่ายเพื่อการเรียนรูแ้ ละเข้าใจชีวติ จัด โครงการ เจริญสติ ภาวนา เพือ่ เข้าใจความจริงของชีวิต ๑๘.๐๐-๒๐.๐๐ น. ธรรมะเพื่อความเข้าใจความจริงของชีวติ ๒๐.๐๐-๒๑.๐๐ น. โยคะกับการภาวนาและการผ่อนคลาย ณ อาคารอเนกประสงค์ ชัน้ ๓ วัดสวนแก้ว นนทบุรี วันเสาร์ที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๔ ระหว่างวันที่ ๒๑-๒๓ มกราคม ๒๕๕๔ ๐๔.๓๐-๐๖.๐๐ น. ทาวัตรเช้า และ เจริญสติภาวนา *ฝึกเจริญสติภาวนาตามแนวทางหลวงพ่อเทียน โดย ๐๖.๐๐-๐๗.๓๐ น. โยคะกับการภาวนา พระอธิการครรชิต อกิญจโน วัดปา่ สันติธรรม จ.ชัยภูมิ ๐๗.๓๐-๐๘.๓๐ น. อาหารเช้า *ฝึกโยคะกับการภาวนา โดย ครูดล/ธนวัชร์ เกตน์วมิ ุต ๐๘.๓๐-๑๑.๐๐ น. ฝึกเจริญสติภาวนา ส่งอารมณ์กรรมฐาน เครือข่ายชีวติ สิกขา การเตรียมตัว การแต่งกาย สวมใส่เสือ้ ผ้าสะดวก ๑๑.๐๐-๑๒.๐๐ น. อาหารกลางวัน และสบายในการนังพื ่ น้ , สีและแบบสุภาพ, อุปกรณ์ของใช้ ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย ส่วนตัว ควรเตรียมผ้าพันคอ หรือเสือ้ คลุมเนื่องจากห้อง ๑๓.๐๐-๑๕.๓๐ น. ฝึกเจริญสติภาวนา ส่งอารมณ์กรรมฐาน ปฏิบตั ธิ รรมเป็ นห้องปรับอากาศ รับไม่เกิน ๕๐ ท่าน ฟรี! ๑๕.๓๐-๑๗.๐๐ น. รับน้าปานะและพักผ่อนตามอัธยาศัย ลงทะเบียนที่ jivitasikkha@gmail.com โทร ๐๘๙-๙๘๓- ๑๗.๐๐-๑๘.๐๐ น. ทาวัตรเย็น ๔๐๖๔, ๐๘๗-๖๗๘-๑๖๖๙ สอบถามเส้นทางวัดสวนแก้ว ได้ ๑๘.๐๐-๒๐.๐๐ น. ธรรมะเพื่อความเข้าใจความจริงของชีวติ ๒๐.๐๐-๒๑.๐๐ น. โยคะกับการภาวนาและการผ่อนคลาย ที่ โทร. 02-595-1444, 02-595-1945-7 วันอาทิ ตย์ที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๕๔ กาหนดการอบรม ๐๔.๓๐-๐๖.๐๐ น. ทาวัตรเช้า และ เจริญสติภาวนา วันศุกร์ที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๔ ๐๖.๐๐-๐๗.๓๐ น. โยคะกับการภาวนา ๐๘.๓๐-๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียนทีอ่ าคารอเนกประสงค์ ชัน้ ๒ ๐๙.๐๐-๐๙.๓๐ น. สมาทานศีล ๘ รับคาแนะนาในการปฏิบตั ิ ๐๗.๓๐-๐๘.๓๐ น. อาหารเช้า ๐๘.๓๐-๑๑.๐๐ น. ฝึกเจริญสติภาวนา ส่งอารมณ์กรรมฐาน ธรรม ทีอ่ าคารอเนกประสงค์ ชัน้ ๓ ๑๑.๐๐-๑๒.๐๐ น. อาหารกลางวัน ๐๙.๓๐-๑๑.๐๐ น. ฝึกเจริญสติภาวนา ส่งอารมณ์กรรมฐาน ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย ๑๑.๐๐-๑๒.๐๐ น. อาหารกลางวัน ๑๓.๐๐-๑๕.๐๐ น. ส่งอารมณ์กรรมฐาน สรุปการปฏิบตั ิ ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย รับพรเมื่อความเป็ นสิรมิ งคลของชีวติ ๑๓.๐๐-๑๕.๓๐ น. ฝึกเจริญสติภาวนา ส่งอารมณ์กรรมฐาน ๑๕.๓๐-๑๗.๐๐ น. รับน้าปานะและพักผ่อนตามอัธยาศัย .............................................................................. โครงการอบรม ธรรมะและโยคะเพื่อผูป้ ่ วย ครังที ้ ่ ๑๖ โดย ชีวิตสิ กขา เครือข่ายเพื่อการเรียนรูแ้ ละเข้าใจชีวติ ณ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) ถนนวิภาวดีรงั สิต วันเสาร์ท่ี ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๗.๐๐ น. ภาวะเจ็บปว่ ยทางร่างกายทีเ่ กิดขึน้ ไม่เพียงต้องการ การดูแลเยียวยาทางกายภาพทีด่ ี และเหมาะสมกับโรคเท่านัน้ หากยังต้องการองค์ประกอบร่วมทัง้ ทางด้านจิตใจ สังคมและ ปญั ญา เพื่อช่วยให้ผปู้ ว่ ยอยู่ได้อย่างมีสขุ ภาวะทีด่ แี ละสมศักดิ ์ ศรีของความเป็ นมนุษย์ เพราะถึงแม้ทางกายภาพอาจจะไม่ สมบูรณ์ แต่ศกั ยภาพทางด้านจิตใจและปญั ญา ยังสามารถ พัฒนาได้ไปจนถึงขัน้ สูงสุด ดังนัน้ ทัง้ ตัวผูป้ ว่ ยและผูด้ แู ล ผูป้ ว่ ยเองต่างก็ตอ้ งการความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติใน การรับมือกับความเจ็บปว่ ยทีเ่ กิดขึน้ เพื่อให้สามารถวางใจได้ news 1101 3

ว่าแม้กายจะปว่ ยแต่ใจไม่ปว่ ยเลย ค่อย ๆ ถอดถอนจากผูเ้ ป็ น ั ยใน ทุกข์ สูผ่ เู้ ห็นทุกข์ จวบจนกระทังสามารถสร้ ่ างเหตุปจจั การเตรียมพร้อม ทีจ่ ะเผชิญกับช่วงเวลาเปลีย่ นผ่านสาคัญ ทีส่ ดุ ของชีวติ อย่างเกือ้ กูล ร่วมสร้างกุศลสะสมบุญด้วยการ *ฝึกโยคะกับการภาวนาและกระบวนการเรียนรูแ้ ละเข้าใจ ความจริงของชีวติ *ฝึกเจริญสติภาวนา และรับธรรมะในการวางใจเพื่อเยียวยา ความเจ็บปว่ ย ไม่มคี ่าใช้จ่ายในการเข้าร่วมอบรม สามารถเข้าร่วม ได้ทงั ้ ผูป้ ว่ ย ผูด้ แู ลผูป้ ว่ ย และผูส้ นใจทัวไป ่ การเตรียมตัว เตรียมเสือ่ หรือผ้าปูรองนอนเพื่อฝึก โยคะ (เครือข่ายฯ มีเสือ่ เตรียมไว้จานวนหนึ่ง)


การแต่งกายสวมใส่เสือ้ ผ้าสบายและสะดวกเพื่อการ ๑๓.๐๐-๑๕.๐๐ ฝึกการเจริญสติภาวนาแนวหลวงพ่อเทียน ฝึกโยคะ ไม่จาเป็ นต้องใส่ชุดขาว ๑๕.๐๐-๑๖.๓๐ วิถแี ห่งบัวบาน – วางใจรับมือกับความ หมายเหตุ ทางเจ้าภาพจัดเตรียมอาหารกลางวัน (มีมงั สวิรตั )ิ ปว่ ยระยะสุดท้ายของคุณบัว พระวิทยากร พระอธิการครรชิต เครื่องดื่ม และของว่างตลอดการอบรม อกิณจโน วัดปา่ สันติธรรม จ.ชัยภูมิ ส่งใบลงทะเบียนได้ท่ี jivitasikkha@gmail.com สอบถาม ๑๖.๓๐-๑๗.๐๐ สรุปธรรมะปฏิบตั ิ และรับพรเพือ่ ความเป็ น รายละเอียดเพิม่ เติมได้ทเ่ี บอร์ 084– 643 - 9245, 087 - 678- สิรมิ งคลของชีวติ 1669, 089 – 899 - 0094 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร อยู่ถดั จาก สถานีโทรทัศน์ช่อง ๑๑ และอยู่ก่อนถึงทางเข้ามหาวิทยาลัย โปรแกรมอบรม หอการค้าไทย *การเดินทางโดยรถประจาทางสาย 24, 69, ๐๘.๓๐-๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน ๐๙.๐๐-๑๒.๐๐ น. ฝึกโยคะกับการภาวนา & ธรรมะกับความ 92, 107, 138, 129, 184, ปอ. 92, ปอ.504 ท่านทีโ่ ดยสารรถยนต์สว่ นตัวสามารถนามาจอดได้ท่ี เข้าใจความจริงของชีวติ โดย ครูดล/ธนวัชร์ เกตน์วมิ ุต หน้าสโมสรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร กรุณานาผ้าปูรองฝึกส่วนตัวมาเอง ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ พิจารณาอาหารกลางวัน ………………………………………………………………………………………………. California Wow Xperience, สถาบันโยคะวิชาการ, Yoga ขอเชิญชวนให้ผสู้ นใจมาพบและรับฟงั ธรรมบรรยาย Elements Studio มีความยินดีขอเชิญฟงั บรรยาย จากท่ า นสวามี ซ่ึ ง เป็ นสิ่ ง ที่ ส ามารถน าไปปฏิ บ ั ติ ใ ช้ ใ น ชีวติ ประจาวันได้ในทุกยุคทุกสมัย และมาสัมผัสกับความสงบ สมาธิ : เส้นทางภายในสู่ความสาเร็จภายนอก เยือกเย็น ความอ่อนโยน และ ความมีเมตตาของท่านด้วย โดย สวามี เวทะ ภารตี สถาบันโยคะสมาธิ หิมาลายัน สวามี เวทะ ภารตี ได้เ ริ่ม สอนปตัญ ชลีโ ยคะสูต ร ตัง้ แต่อายุ 9 ขวบ และเริม่ บรรยายธรรมให้แก่สาธารณะชนใน แถบอินเดียตอนเหนือเมื่ออายุ 13 ปี นับตัง้ แต่ นัน้ ท่านได้ เดินทางไปทัวโลกเพื ่ ่อเผยแพร่ธรรมะ และวิธกี ารปฏิบตั สิ มาธิ รวม ๖๒ ปี ท่านสามารถพูดได้ 17 ภาษา สารองที่นัง่ ติด ต่ อ สถาบัน โยคะ เริ่มลงทะเบีย น เวลา 17.30 น, กรุณามาถึงสถานที่ก่อน 18.00 น. สาหรับ สุภาพสตรี กรุณาสวมกางเกงขายาว ทางสมาคมฯ จัดทีจ่ อด รถไว้ 150 คัน แต่ หากเป็ น ไปได้กรุณาอย่ านายานพาหนะ ณ สมาคมธรรมศาสตร์ (ชัน้ ๒) ซอยงามดูพลี ถนนพระราม 4 ส่วนตัวมา มีมอเตอร์ไซด์รบั จ้างให้บริการที่ปากซอยงามดู วันเสาร์ท่ี 29 มกราคม 2554 เวลา 18.30 -20.00 น. พลีและปากซอยสาธรซอย 1 ใกล้สถานีรถไฟใต้ดนิ ลุมพินี …………………………………………………………………………………… สถาบันโยคะสมาธิ หิมาลายัน และ สถาบันโยคะวิชาการ มีความยินดีขอเรียนเชิญฟงั บรรยาย ความรัก : ก้าวแรกของการเจริญเติ บโตของชีวิตภายใน โดย คุณแม่ ราธา ภารตี

news 1101 4

วันเสาร์ท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 10.00-11.30 น ณ แอลพีเอ็น วอเตอร์คลิฟคอนโดมิเนียม (ติดเซ็นทรัลพระราม 3) คุณแม่ราธาเชื่อว่า ความรักเป็ นการเดินทางทีย่ าว ไกลของการค้นพบตัวตนทีแ่ ท้จริง และเป็ นก้าวแรกของการ เจริญเติบโตและพัฒนาเป็ นมนุษย์ทส่ี มบูรณ์แบบ ความรักยัง เป็ นส่วนสาคัญของการปฏิบตั สิ มาธิ, ของการใช้ชวี ติ บนโลกนี้ และเป็ นส่วนทีข่ าดไม่ได้ในความสัมพันธ์กบั คนอื่น ๆ คุณแม่ ราธามีความยินดีทจ่ี ะแบ่งปนั มุมมองในเรื่องของความรักทีม่ า จากประสบการณ์โดยตรงของคุณแม่เอง


คุณแม่ราธา เป็ นลูกศิษย์ทช่ี ดิ ใกล้กบั ท่านสวามีเวทะ สวามีเวทะในเวลาหลายปี ต่อมา คุณแม่กไ็ ด้ตดั สินใจ ั ภารตี มากทีส่ ดุ ท่านหนึ่ง หลังจากได้พบกับท่านสวามีและฟง ละทิง้ ชีวติ ทางโลกและออกบวชเพื่อทีจ่ ะอุทศิ ชีวติ ของตนเอง การบรรยายเรื่องการปฎิบตั สิ มาธิจากท่านในปี 2514 คุณแม่ก็ ให้กบั งานของสถาบันหิมาลายัน ตระหนักว่าการปฏิบตั สิ มาธิเป็ นส่วนทีข่ าดหายไปในชีวติ การ สารองทีน่ งั ่ ติดต่อสถาบันโยคะวิชาการ สอบถาม พบในครัง้ นี้เป็ นการยืนยันว่า คุณแม่ได้พบเส้นทางของตนเอง รายละเอียดทีต่ งั ้ ของแอลพีเอ็น วอเตอร์คลิฟ คอนโดมิเนียม แล้ว หลังจากการเรียนรูแ้ ละทางานภายใต้คาแนะนาของท่าน โทร 081-932-5413, 089-681-1078 ....................................................................................... โดย ล.เล้ง เสียงกระดิง่ หยก (ไม่ใช่มงั กรบิน) ทีจะต้องขวนขวาย หาหนังสือมาอ่านให้มากกว่านี้ นอกจาก ครูโยคะ หรือ ยมะ-นิ ยมะ นัน้ ยังไม่แน่ใจว่าจะมีคนสนใจอ่านหรือไม่ ในชีวติ เรา มีคนมากมาย ยังมีอกี หัวข้อหนึ่งทีน่ ่าสนใจคือเรื่องราวของครูโยคะ ทีเ่ รียงราย ... รอบตัวเรา และแนวทางการสอนทีเ่ ล้งได้มโี อกาสไปชิม (เอ้ย! ลองเรียน อยากจะอยู่ดี และก็มสี ขุ มา) เคยตัง้ ชื่อว่า “ลองลิม้ ชิมโยคะ กับ ล. เล้ง” เมื่อตอน ต้องรูท้ ุกอย่าง ... ดังนี้เอง นาเสนอประเด็นนี้ในชัน้ เรียนหลักสูตรครูโยคะระยะยาว ของ เราต้องยึดหลัก ไม่ทาร้ายใคร สถาบันฯ เมื่อหลายปี ก่อน ตอนนัน้ ได้เปรียบเทียบ การสอน และไม่คดิ ... จะเบียดเบียน (อหิงสา) โยคะของสถาบันไกวัลยธรรม, ของกฤษณมาจารยา และ ของ เราจะเรียนรู้ ทีร่ กั ษาสัตย์ (สัตยะ) ซานตาครูส (ชื่อจริงคือ Yoga Institute, Santa Cruz East, และยืนหยัดมัน่ ... คงในพรหม (พรหมจริยา) เมืองมุมไบ) เพื่อว่าเมื่อเรียนจบหลักสูตรของสถาบันฯ แล้ว เราไม่โลภ และไม่อยากได้ อยากไปเรียนต่อ จะได้พอเห็นแนวทางต่อไป เหมือน สิง่ ทีไ่ ม่ ... ใช่ของเรา (อัสเตยะ) รายการแนะแนว การศึกษาประมาณนัน้ สิง่ สุดท้ายนัน้ ไม่ตอ้ งมีมาก อย่างไรก็ตาม มันก็มคี วามเสีย่ งเรื่องอคติ ความชอบ ไม่ควรอยาก ... เกินความจาเป็น (อปริครหะ) / ไม่ชอบ (ส่วนตัว) ทีม่ ตี ่อการเรียน การสอน ในแต่ละแบบ ( นี่คอื ยมะ นี่คอื ยมะ อคติตามธรรมดาของมนุษย์ทย่ี งั มีกเิ ลสอยู่ ถ้าชอบก็เชียร์ ถ้า ทีเ่ รารู้ ... แล้วก็ทา ไม่ชอบก็ไม่เชียร์) ก็เลยยังยึกยักไม่ยอมสรุปสักที สิง่ ทีด่ ี ๆ ก็จะบังเกิด ดังนัน้ ในปี น้ี ถ้าท่านผูอ้ ่านสนใจประเด็นไหน ช่วย และประเสริฐกับ ... ตัวเราเอง คาร้อง วรรณวิ ภา มาลัยนวล แจ้งมาทีส่ านักงานด้วยค่ะ พิ มพ์ A1 .....ถ้าอยากอ่านเรือ่ ง ยมะ-นิ ยมะ ทานอง Oh! MyDarling Clemontine พิ มพ์ A2 ......ถ้าอยากอ่านเรือ่ งครูโยคะ เนื้ อร้องเพลง ยมะ: ทัศนะคติ ต่อสิ่ งแวดล้อม นี้ เป็ นเพลงทีพ่ อ่ี ๊อดแต่งขึน้ เพื่อใช้สอนวิชา Y G 211 ความรู้ (จะอีเมล์ จะเวบไซท์ จะเฟซบุค จะโทรได้ทงั ้ นัน้ ) เล้งรอคาตอบอยู่นะคะ เบือ้ งต้นเกีย่ วกับโยคะ ทีม่ หาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ขอบคุณค่ะ (ประสานมิตร) เล้งได้ไปช่วยสอนวิชานี้และรูส้ กึ ว่า สิง่ ทีไ่ ด้ เล้ง เรียนรูจ้ ากชัน้ เรียนนี้สนุกและมีประโยชน์ อยากจะแบ่งบันให้ ท่านผูอ้ ่าน แต่การเขียนบทความเกีย่ วกับ ยมะ-นิยมะ นี้เห็น ___________________________________________________________________________________________________________________________

โดย กองบรรณาธิการ ทาไมครูโยคะควรอ่านหนังสือเล่มนี้ ? จากจิ ตวิทยาสู่พทุ ธธรรม พวกเราครูโยคะ นอกจากการสอนอาสนะในชัน้ แล้ว เขียนโดย รศ. ดร. โสรีช์ โพธิแก้ว ยิง่ ถ้าสอนกัน พิมพ์โดย ศูนย์จติ ตปญั ญาศึกษา นักเรียนมักจะคุยกับเราหลังสอนเสร็จด้วย มหาวิทยาลัยมหิดล ต่อเนื่องเป็ นเวลานาน มีความสนิทสนม ก็จะยิง่ คุยกันมากขึน้ news 1101 5


จนอาจกลายเป็ นว่า นักเรียนมาขอคาปรึกษาโดยเขาก็ไม่รตู้ วั และครูเองก็ไม่ได้ตงั ้ ตัว ดังนัน้ นอกจากความเข้าใจถ่องแท้ในอาสนะตาม ตาราดัง้ เดิมว่า เป็ นไปเพื่อเตรียมความพร้อมทางกายภาพ สาหรับการฝึกสมาธิ นอกจากความเข้าใจเรื่องจิต ซึง่ เป็ น กุญแจสาคัญของสุขภาพองค์รวมแล้ว ครูโยคะควรมีความรู้ มีความเข้าใจเรื่องจิตวิทยาให้การปรึกษาด้วย ซึง่ ก็คอื สาระ ของหนังสือเล่มนี้ จากจิตวิทยาสูพ่ ุทธธรรมเป็ นหนังสือจิตวิทยาให้การ ปรึกษาทีใ่ ช้หลักพุทธศาสนาเป็นแก่นแกน โดยผูเ้ ขียนมีความ แตกฉานทัง้ 2 เรื่อง ผนวกเข้าด้วยกัน และเขียนออกมาให้ ผูอ้ ่านเข้าถึงหัวใจของการปรึกษาแนวพุทธ พร้อมให้ตวั อย่าง รูปธรรมว่าทาได้อย่างไร เมื่อผูส้ นใจอ่านแล้ว สามารถนาไป ทดลองใช้กบั ผูท้ ม่ี าปรึกษาเรา ค่อยๆ เพิม่ ทักษะ ก็จะพัฒนา เป็ นผูใ้ ห้คาปรึกษาทีด่ ไี ด้ หนังสือเล่มนี้ เป็ นการรวบรวม 8 บทความของ อาจารย์โสรีช์ โพธิแก้ว แต่ละบทความแยกกันเป็ นอิสระ ซึง่ ใน การแนะนาหนังสือเล่มนี้ ของสลับลาดับ ตามความเข้าใจของ ผูแ้ นะนา ดังนี้ เริม่ จากบทที่ 2 “การปรึกษาเชิงจิตวิทยาตามหลัก พระพุทธศาสนา” ซึง่ อาจารย์โสรีชเ์ ขียนในรูปบทสนทนาถามตอบ ทาให้เข้าใจง่ายมาก เป็ นการเข้าถึงเนื้อหาอย่างตรง ประเด็น ผูเ้ ขียนฉายภาพให้เห็นว่า นักการปรึกษาแนวพุทธ หรือ Buddhist Counseling เป็ นเหมือนมัคคุเทศก์ ร่วม เดินทางกับผูค้ นจากความทุกข์ไปสูค่ วามสุข จากความเร่า ร้อนไปสูค่ วามสงบเย็น จากความยึดมันหน่ ่ วงเหนี่ยวไปสู่ อิสรภาพ เป็ นการพาคนหลงทางกลับบ้าน (หน้า 76) คาถาม ถัดมาก็คอื ดูเหมือนการให้คาปรึกษาแบบนี้เป็ นงานทีย่ ากจัง ซึง่ อาจารย์ตอบว่า หากตัง้ ว่าผูใ้ ห้การปรึกษาต้องเป็ นผูบ้ รรลุ เสียก่อนก็ยาก แต่ในความเป็ นจริง คนให้การปรึกษาเปรียบ เหมือนผูร้ ทู้ าง และ ก้าวไปพร้อมๆ กับคนทีเ่ ราจะพาเขาไป ดีกว่าเขาหน่อยเดียวตรงทีเ่ ราพอรูแ้ ผนที่ (หน้า 81) นัน่ หมายความว่า เราเองก็พฒ ั นาตน ทัง้ ในฐานะผูใ้ ห้การปรึกษา ในฐานะบุคคล ในฐานะมนุษย์คนหนึ่ง คือเรากับคนทีเ่ ราพาไป นัน้ อยู่ในกระแสเดียวกัน (หน้า 82) จากนัน้ ลองมาอ่าน บทที่ 4 ซึง่ มีแค่ 3 หน้า แต่แทง ทะลุตรงตามชื่อบทเลย “เลือดเนื้อ หัวใจ และ ชีวติ ของ นักจิตวิทยาการปรึกษา” ผูเ้ ขียนถาม 3 คาถามคือ เราจะเป็ น นักจิตวิทยาการปรึกษาไปทาไม ถ้าเราไม่สามารถช่วยผูค้ นให้ เกิดความรูส้ กึ ดีๆ กับชีวติ ? เราจะเป็ นนักจิตวิทยาการ ปรึกษาไปทาไม ถ้าเราไม่สามารถช่วยถอนรากเหง้าแห่ง news 1101 6

ความทุกข์? เราจะเป็ นนักจิตวิทยาการปรึกษาไปทาไม ถ้า การมีชวี ติ ของเราไม่มคี ุณภาพ ไม่อาจช่วยประคับประคองให้ โลกนี้น่าอยู่ (หน้า 127) บทที่ 5 ผูเ้ ขียนให้นิยามของ “จิตรักษาตามแนว พระพุทธศาสนา” การเข้าใจหลักศาสนาพุทธ 6 ข้อ ได้แก่ 1) กฏแห่งความสัมพันธ์ซงึ กันและกัน 2) ภาวะแห่งชีวติ ห้ากอง 3) สัจธรรมจริงแท้สป่ี ระการ 4) ไตรลักษณ์ 5) กฏแห่งกรรม และ 6) การย้ายจากภาวะทุกข์ ไปสูภ่ าวะแห่งความไม่ทุกข์ ในส่วนหลังของบทนี้ อาจารย์โสรีชไ์ ด้ยกตัวอย่างเรื่องราวใน พระไตรปิ ฏกทีแ่ สดงให้เห็นว่า พระพุทธเจ้าทรงให้การปรึกษา แก่ผคู้ นอย่างไร บทที่ 6 “จิตวิทยาแห่งสันติ” ซึง่ ได้เทียบเคียง ลักษณะของศาสนาพุทธ กับภาวะจิตเชิงอุดมคติของนักจิต วิทยาตะวันตกบางท่าน เช่น รอเจอร์ส, ฟอร์มม หรือ มาสโลว์ ทีร่ ะบุคุณสมบัตขิ องมนุษย์ทแ่ี ท้ไว้ว่า รูค้ วามจริง อ่อนโยน สมถะ รักมนุษย์ แยกแยะได้ชดั เจนระหว่าง ความดี-ความชัว่ หนทาง-เป้าหมาย ฯลฯ บทที่ 7 “การพิจารณาระดับจิตว่าด้วยความรักและ ความเป็ นจ้าของ” ผูเ้ ขียนได้นาประเด็นยอดนิยมทีค่ นกล่าวถึง อยู่ตลอดเวลา แต่กลับแทบไม่มใี ครเข้าใจมันจริงๆ เลย ก็คอื “ความรัก” มาอธิบาย เพราะป็ นประเด็นทีค่ นให้การปรึกษา พบบ่อย โดยทาเป็ นตารางเปรียบเทียบไว้ในหน้า 177 ความรัก สภาพ: กว้าง อิสระ โปร่งใส หลังใหลอย่ ่ างเสรี ปล่อย อาการ: แจ่มใส เบิกบาน เป็ นสุข ร่าเริง (คนดี) การแสดงออก: แจ่มใส เบิกบาน เป็ นสุข ร่าเริง (คนดี) ผล: จิตใจอันแจ่มใส ความเป็ นเจ้าของ สภาพ: คับแคบ ตายตัว หนา-หยาบ ผูกยึด ดูดติด อาการ: โกรธ ไม่พอใจ เคียดแค้น เอาชนะ ยกตนข่มท่าน (คนเลว) การแสดงออก: พูดทาร้าย พูดเอาแต่ใจตน พูดเสียดสีแดกดัน พูดทาให้ทอ้ ถอย พูดมาก หุบทุกอย่างเข้าสนองตนเอง ผล: พวกประสาท พวกโรคจิตเสือ่ ม พวกจิตทราม พวกเป็ น พิษแก่สงั คม บทที่ 8 เป็ นประวัตคิ วามเป็ นมาคร่าวๆ ของผูเ้ ขียน อ่านแล้วให้ความรูส้ กึ ใกล้ชดิ กับผูเ้ ขียนได้มากขึน้ ทาให้ผอู้ ่าน เห็นเส้นทาง ความเป็ นมา การบ่มเพาะ จนตกผลึกมาเป็ น หนังสือเล่มนี้ “จากจิตวิทยาสูพ่ ทุ ธธรรม” จากนัน้ ค่อยลองย้อนกลับไปอ่านอีก 2 บททีเ่ หลือ ทีค่ ่อนข้างเป็ นวิชาการ


บทที่ 3 “ปญั ญาและอวิชชา ภาวะจิตใจอันเป็ น คนตะวันตกต่อพุทธศาสนา ต่อพระอภิธรรมซึง่ อธิบายเรื่องจิต รากฐานของชีวติ และบ้านเมือง” ซึง่ ให้นิยามของปญั ญาและ ไว้อย่างละเอียดละออ อวิชชาไว้อย่างชัดเจน และบทสุดท้าย บทที่ 1 “จิตวิทยาตะวันออก” ผูเ้ ขียนแปลมาจาก Eastern Psychology ซึง่ เป็ นมุมมองของ ------------------------------------------------------------------------------------------360 องศา ประสบการณ์เรียนรูแ้ บบ east meets west มองมุมกลับ กลับมุมมอง ปี ใหม่น้ี หลายคนมักใช้เป็ นช่วงเวลาเริม่ ต้นในการ ทาสิง่ ใหม่ๆให้กบั ชีวติ การฝึกอาสนะบางท่าก็สามารถนาพาผู้ ฝึกไปพบกับสิง่ ใหม่ๆได้ จากการ “กลับมุมมอง” หลังจากเหยียดยืดร่างกายทัง้ ด้านตะวันตก และ ตะวันออก พร้อมกับหมุนรอบและเอียงตัวตามแกนโลกกัน มาแล้ว คราวนี้พเ่ี ละชวนให้มองมุมกลับด้วยการกลับมุมมอง ทีเ่ รียกว่า วิปรีตะกรณี ก่อนอื่นช่วง “ภาษาสันสกฤตวันละคา”ภูมใิ จนาเสนอ คาว่า วิ ปรีตะกรณี ซึง่ เมื่อจับ มาสแกนแยกเป็ นคาๆแล้ว จะ พบว่า วิ แปลว่า แยกออกมา หรืออยูใ่ นทิศทางทีแ่ ตกต่าง ปรี คือการเคลื่อนไหวเป็ นวงกลม หรือกลับไป กลับมาแบบสวนกัน กรณะ หมายถึงการทา รวมความแล้ว วิปรีตะกรณี จึงหมายถึง การ กระทาที่มีทิศทางสวนกับทิ ศทางปกติ หรือที่พวกเราพูด กันติ ดปากว่า กลับบนลงล่าง นัน่ เอง ก่อนจะมองมุมกลับ ลองมาตระเตรียมต้นทุนภายใน กันก่อนจะกลับมุมมอง ในแง่โครงสร้างร่างกาย ลาดับแรก คือ foundation หรืองานฐานรากทีต่ อ้ งมีพร้อม ทัง้ ความแข็งแรงและความ ยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อทุกส่วนของร่างกาย ทีส่ าคัญคือ คอ ที่ แข็งแรง เมื่ออยู่ในท่วงท่าถ้าเราสามารถสร้างสมดุลได้ดี ส่วน ของคอจะเป็ นเพียงตัวผ่านน้าหนักไปตาม center of gravity ลงสูพ่ น้ื โลก จากนัน้ ก่อนฝึก ควรมีการเตรียมพร้อมด้วยท่า เตรียมและการจัดลาดับท่าทีเ่ หมาะสม (การเรียงร้อยท่วงท่า จะได้กล่าวถึงต่อไป) รวมถึงการเตรียมร่างกายให้สามารถ หายใจได้อย่างลุ่มลึกสม่าเสมอเหมือนเดิม (อันแสดงถึงความ พอเพียรทีเ่ พียงพอ) news 1101 7

โดย สมดุลย์

ตามมุมมองแบบอาสนะ (asana aspect) การทา วิปรีตะกรณี คือการจัดร่างกายให้อยุ่ในทิศทางกลับ คือ อาสนะทีม่ ศี รี ษะอยูต่ ่ากว่าสะดือ และเมื่อฐานรากหรือต้นทุน ภายในยังไม่เพียงพอ อาจต้องอาศัยการดัดแปลงหรือ ประยุกต์ทว่ งท่าให้ง่ายขึน้ ถึงแม้ว่าผลทีไ่ ด้รบั อาจจะน้อยลง แต่มคี วามปลอดภัยมากกว่า คนทีม่ กี ารบาดเจ็บทีค่ อ เป็ นโรคความดันโลหิตสูง ต้อหิน เบาหวาน หรือคุณผูห้ ญิงทีอ่ ยูใ่ นช่วงศึกวันแดงเดือด คือมีประจาเดือน ให้งดเว้น เจาะเวลาไปหาต้นกาเนิดของท่วงท่า ในตารา เฆ รันฑะสัมหิตา ได้จดจารไว้ว่า อาทิตย์อยูท่ ช่ี ่องท้อง จันทราอยู่ เหนือเพดานปาก การกลับจันทร์ลงล่าง อาทิตย์ขน้ึ บน เรียกว่า วิปรีตะกรณี ตามมุมมองทางตะวันออก ผลทีไ่ ด้รบั เมื่อกลับตะวัน กับจันทราให้อยู่กลับทิศกันแล้วเท่ากับเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ ของเสีย โมเลกุลเล็กๆทีเ่ หลือจากการย่อยให้กลับทิศมาเจอ กับไฟ ส่วนมุมมองเชิงสรีรวิทยา การกลับทิศให้ศรี ษะต่ากว่า ตาแหน่งของหัวใจ ทาให้เลือดไหลพรูมาเลีย้ งศีรษะได้ดขี น้ึ ส่งผลถึงการทางานของต่อมไร้ทอ่ ด้วย หากมองในเชิงมโนทัศน์ (Conceptual aspect) หรือ มุมมองแบบดูดมี คี อนเซปต์ การทาวิปรีตะกรณี เป็ นการเปิ ด โอกาสให้เราเห็นโลกในมุมมองใหม่ ทัง้ โลกภายในตัวเอง คือ การเรียนรูว้ ่า เราจะจัดปรับร่างกายอย่างไรในทิศทางใหม่ ขณะอยู่ในท่วงท่า และพร้อมกับเรียนรูท้ จ่ี ะจัดปรับตัวเองให้ สัมพันธ์กบั โลกอย่างไร เมื่อร่างกายอยู่ในตาแหน่งกลับทิศ เป็ นวิธกี ารหลุดจากความคุน้ ชินเดิมๆ แต่เหรียญย่อมมี ๒ ด้านเสมอ การสลัดจากความคุน้ ชินเดิมๆ ด้านหนึ่งเราอาจตื่นตาตื่นใจ กับโลกใบใหม่ทเ่ี รา ค้นพบ แต่ในทางลบอาจเกิดความกลัวไม่มนใจ ั่ หรือเมื่อฝึก ทาจนสาเร็จ เราอาจภูมใิ จกับความกล้าทีไ่ ด้ทาในสิง่ ทีไ่ ม่เคย ทามาก่อน แต่อกี ทางหนึ่งกลับเกิดอัตตา ทะนงใน


ความสามารถของตน หลงใหลความท้าทายจนกลายเป็ น ร่างกาย และจิตใจทีส่ งู กว่าการทาอาสนะทีม่ กี ารเคลื่อนไหว ความเสพติดในท่วงท่า ร่างกายในทิศทางอื่นๆ หากเรายังไม่พร้อมไม่ว่าจะทางกาย ั พีเ่ ละได้ย้าๆ เน้นๆ กันอีก(หลาย)ครัง้ ว่า พึงฝึก หรือใจ ให้ลองจัดปรับท่วงท่าให้เหมาะสมด้วยปญญาภู มริ ู้ อาสนะเหล่านี้ดว้ ยปัญญา โดยการสังเกตและวิเคราะห์ผล ๓ มิใช่อตั ตากูรู้ การลงทุนมีความเสีย่ ง โปรดศึกษาข้อมูลและ ประการ คือ ร่างกาย ลมหายใจ และจิตใจทีเ่ กิดขึน้ ขณะกลับ ประเมินตนเองด้วยความเป็ นจริง ก่อนตัดสินใจลงมือทา บนลงล่างเอาไว้เสมอ ผมมองว่าการทาวิปรีตะกรณีนนั ้ เหมือนการลงทุน เมื่อผลทีไ่ ด้รบั ท่วงท่านัน้ สูงเลิศ ย่อมต้องใช้ต้นทุนภายในทัง้ ------------------------------------------------------------------------------------------โดย วีระพงษ์ ไกรวิทย์ และจิรวรรณ ตัง้ จิตเมธี แปลและเรียบเรียง เข้าสูส่ ภาวะ “ปุรุษะขยาติ” หรืออีกนัยหนึ่งเรียกอย่างเป็ น การเดิ นทางย้อนกลับบนเส้นทางของสางขยะ-โยคะ ประโยคที่ ๑:๔๕ ในโยคสูตรบอกไว้ว่า “สูกษม ทางการว่า “ไกวัลยะ4” วิ ษยตวัม จาลิ งคปรรยวสานัม” หมายความว่า ระดับของ เพื่อให้เกิดการเข้าใจคาว่า “อลิงคะ” ข้ามไปดูโยค ความละเอียดของวัตถุทเ่ี ลือกมาใช้ทาสมาธิสน้ิ สุดลงที่ “อลิง สูตรประโยคที่ ๒:๑๙ ทีบ่ อกว่า ปรรวัส หรือสภาวะต่างๆ ของ 1 การพัฒนาคุณะ(จากหยาบไปหาละเอียด) ได้แก่ วิเศษะ อวิ คะ” 5 ประโยคนี้มองเห็นได้อย่างชัดเจนว่าเป็ นประโยคทีม่ ี เศษะ ลิงคมาตระ และอลิงคะ แม้ว่าขัน้ ตอนหรือพัฒนาการ เนื้อหาสนับสนุนกระบวนการฝึกสมาธิ ตามทีไ่ ด้เคยอธิบายไว้ เหล่านี้จะได้รบั การกล่าวถึงว่าเป็นขัน้ ตอนต่างๆ ของคุณะ แต่ ในประโยคทีแ่ ล้ว (๑:๔๔) ในทีน่ ้ปี ตัญชลีได้กล่าวว่า ความ สิง่ เหล่านี้ ก็เป็ นขัน้ ตอนของวิวฒ ั นาการของประกฤติดว้ ย ละเอียดของวัตถุทใ่ี ช้ทาสมาธิ สามารถพัฒนาให้สงู ขึน้ และไป เนื่องจากประกฤติเป็ นสิง่ ทีซ่ บั ซ้อนของกลุ่มคุณะทัง้ 3 ซึง่ สิน้ สุดในขัน้ “อลิงคะ” นันก็ ่ หมายความว่าความละเอียดของ ได้แก่ สัตตวะ รชัส และ ตมัส ในอีกแง่หนึ่งคุณะทัง้ หลายนี้ วัตถุทใ่ี ช้ทาสมาธิทถ่ี ูกรับรู้ ในระหว่างเดินทางผ่านขัน้ ต่างๆ ไม่ได้เป็ นส่วนประกอบ หรือคุณลักษณะของประกฤติอย่างทีม่ ี ของกระบวนการทาสมาธินนั ้ มีความละเอียดมากขึน้ ๆ จน การพูดถึงความสัมพันธ์ของมันกันอยู่บ่อยๆ แต่คุณะเหล่านี้ก็ กระทังเข้ ่ าถึงการรับรูใ้ นระดับของ “อลิงคะ” กล่าวคือเป็ น คือตัวประกฤติเอง หากเป็ นเช่นนัน้ เราอาจกล่าวได้ว่า คุณะ ภาวะทีไ่ ม่มคี าอธิบายหรือให้เหตุผลได้อย่างสิน้ เชิง ซึง่ ผู้ เหล่านี้คอื สามด้านของสิง่ ๆ หนึ่ง เช่น ประกฤติ นันคื ่ อเหตุผล ปฏิบตั จิ ะรับรูว้ ตั ถุทใ่ี ช้ทาสมาธิในภาวะเช่นนี้ได้ เมื่อถึงทีส่ ดุ ทีว่ ่า ทาไมหนึ่งในสามคุณะถึงไม่สามารถอยู่เป็ นอิสระโดย แห่งความสมบูรณ์ของการทาสมาธิ หรือถึงขัน้ สูงสุดของ ปราศจากอีกสองคุณะทีเ่ หลือได้6 ทัง้ สามคุณะจึงอยู่ดว้ ยกัน 2 สมาธิ (Samadhi) นันเอง ่ จริงๆ แล้วแม้ว่าสภาวะนี้จะไม่ใช่ เสมอและปรากฏอยู่ในทุกๆ สิง่ เมื่อสิง่ หนึ่งมีลกั ษณะเป็ น จุดสูงสุด แต่กเ็ ป็ นสภาวะรองสุดท้ายก่อนเข้าถึงเป้าหมายของ สาตตวิกะ(สัตตวะ) ราชสิกะ(รชัส) หรือตามสิกะ(ตมัส) ย่อม โยคะ เป้าหมายสุดท้ายนัน้ จึงอยู่ห่างเพียงก้าวหนึ่งข้างหน้า ไม่ได้หมายความว่า สิง่ นัน้ ประกอบไปด้วยคุณะอย่างใดอย่าง 3 เหนือ “อลิงคะ” เป็ นการตระหนักรูถ้ งึ ปุรุษะตัตตวะ กล่าวคือ หนึ่งทัง้ ร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่หมายถึงคุณะทีม่ ลี กั ษณะอย่างใด 4 1

อลิงคะ คือ สภาวะซึ่ งไม่มีการใช้เหตุผลหรื อคาอธิบายใดๆ และไม่มีการใช้ สัญลักษณ์แทนชื่อของสิ่ งใด 2

สมาธิ (Samadhi) ตรงนี้หมายถึง ขั้นตอนที่ ๘ ของอัษฏางคโยคะหรื อมรรค ๘ ของโยคะ 3

มูลประกฤติ หรื อ ประธานะ มีความหมายเดียวกันกับอลิงคะที่ใช้ในปตัญ ชลีโยคสู ตร กล่าวคือเป็ นสภาวะที่ไม่สามารถพูดหรื ออธิบายอะไรเกี่ยวกับมัน ได้เลย (Yoga Kosa : A Dictionary of Yoga Terms, p.235)

news 1101 8

ไกวัลยะ หมายถึง ความหลุดพ้น เมื่อขจัดความไม่บริ สุทธิ์ออกไปจากจิต ทา ให้ตวั ตนมีอิสระจากกิเลสหรื อสิ่ งสกปรกที่เคลือบแฝงบดบังอยูท่ ้ งั หลาย และ สามารถแยกปุรุษะ(วิญญาณหรื อตัวรู้) ออกจากประกฤติ(สสารหรื อวัตถุที่ถูกรู้ เช่น ร่ างกาย อารมณ์ ความรู ้สึก) และมองเห็นด้วยปั ญญาว่าประกฤติเหล่านี้ ไม่ใช่ตวั เราเป็ นเพียงสิ่ งที่ถูกรับรู ้เท่านั้น (Yoga Kosa, p.95-96) 5

วิเศษะ คือ มีลกั ษณะเฉพาะที่รับรู้ได้ดว้ ยประสาทสัมผัส อวิเศษะ หมายถึง ปราศจากลักษณะเฉพาะที่ให้รับรู้ได้ ลิงคมาตระ หมายถึง มีคุณลักษณะและ เหตุผล 6

เรื่ องนี้ได้อธิบายไว้อย่างชัดเจนในภควัทคีตา ๑๔ (Bhagvadgita XIV)


อย่างหนึ่งนัน้ ปรากฏออกมาเด่นชัดกว่าคุณะอื่น ดังนัน้ ขัน้ ตอนต่างๆ ทีก่ ล่าวถึงข้างต้นนี้และทีร่ ะบุอยู่ในโยคสูตร ประโยคที่ ๒:๑๙ ก็คอื ขัน้ ตอนต่างๆ ของวิวฒ ั นาการของ ประกฤตินนเอง ั่

ได้กลิน่ ซึง่ เป็ นธาตุทห่ี ยาบทีส่ ดุ จึงรวมธาตุทล่ี ะเอียดกว่าอีกสี่ อย่าง(เสียง สัมผัส สี รส) เข้าไปเป็ นคุณสมบัตดิ ว้ ย ส่วนรสะ ตันมาตระคือมูลธาตุพน้ื ฐานแห่งการรูร้ ส ซึง่ เป็ นธาตุหยาบ รองลงมาจึงรวมธาตุทล่ี ะเอียดกว่าอีกสามอย่าง(เสียง สัมผัส สี) เข้าไปเป็ นคุณสมบัตดิ ว้ ยโดยไม่รวมกลิน่ เป็ นเช่นนี้ไป 10 เรื่อยๆ สาหรับอหังการ กล่าวคือสาตตวิกะอหังการ คือ “ตัว ฉัน”ล้วนๆ หรือจิตสานึกรู้ (ทีไ่ ม่ใช่ ego หรือความยึดมันใน ่ การมีตวั ตน “ตัวฉัน – ของฉัน”) ซึง่ ในปตัญชลีโยคะใช้คา ว่าอัสมิตามาตระ (ตามตัวอักษรแล้วคือ ความเป็ นตัวฉัน) สิง่ นี้เป็ นธาตุทจ่ี าเป็ นซึง่ ปรากฏในทุกสิง่ ทัง้ สิง่ มีชวี ติ และไม่มชี วี ติ ความจริงแล้วมันคือ “ความเป็ นตัวฉัน” ที่ก่อให้เกิ ด ลักษณะเฉพาะของปัจเจกขึน้ มา (ทาให้แต่ละสิ่ งมี ลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกัน) ส่วนวิวฒ ั นาการทีย่ อ้ นขึน้ ไป ก่อนหน้าอีกขัน้ หนึ่งก็คอื มหัตหรือมหาน ซึง่ เรียกกันว่าพุทธิ นันหมายความว่ ่ า ในระดับของมนุษย์ปจั เจกบุคคลจะมีธาตุ อย่างหนึ่งทีเ่ หมือนกันคือ พุทธิ ซึง่ หมายถึงสติปญั ญา อันทา ตามมุมมองของสางขยะและโยคะ ธาตุต่างๆ ให้มนุษย์สามารถมองเห็นความแตกต่าง ระหว่างตนเองและ ทัง้ หมดทีถ่ ูกสร้างขึน้ มาจากประกฤติ ท้ายทีส่ ดุ มีอยู่ดว้ ยกัน โลกภายนอก และแยกแยะสิง่ ต่างๆ ออกจากกันได้ นันคื ่ อ 7 ๑๖ อย่าง อันได้แก่ อวัยวะเพือ่ การรับรูห้ รือประสาทสัมผัส พุทธิ ทาให้เราสามารถแยกความแตกต่างและให้คาอธิบาย ทัง้ ๕ อวัยวะเพื่อการกระทาทัง้ ๕ มนัสหรือใจ ๑ และธาตุ ความแตกต่างของสรรพสิง่ ตามคุณลักษณะของคุณะทัง้ สาม 8 ั นาการเริม่ แรกของมูลประกฤติ หรือประธานะ หยาบหรือมหาภูต ๕ สิง่ เหล่านี้ถูกจัดประเภทเป็ นวิเศษะ ซึง่ ได้ นี่คอื วิวฒ ั นา หมายความว่า เป็ นสิง่ ทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะทีร่ บั รูไ้ ด้ดว้ ยประสาท หลังจากทีม่ นั (ประกฤติ)มากระทบกับปุรุษะ (จึงเกิดวิวฒ สัมผัส ส่วนขัน้ ก่อนหน้านี้ของวิวฒ ั นาการของประกฤติคอื ตัน การขึน้ ) ทาให้คุณลักษณะของสามคุณะได้แก่ สาตตวิกะ ราช มาตระ ๕ และอหังการในสางขยะหรืออัสมิตามาตระในปตัญ สิกะ และตามสิกะมีความหมายขึน้ มาเป็ นครัง้ แรก หมาย 9 ชลีโยคะ รวมแล้วเป็ น ๖ อย่าง ซึง่ เป็ นมูลธาตุพน้ื ฐานที่ ความว่านี่เป็ นจุดเริม่ ต้นทีค่ าอธิบายคุณลักษณะต่างๆ ของ ละเอียดอ่อนอันไม่อาจรับรูไ้ ด้ดว้ ยประสาทสัมผัส ดังนัน้ จึงจัด สรรพสิง่ ถูกนามาใช้ ดังนัน้ อาจกล่าวได้ว่านี่กเ็ ป็ นการปรากฏ แต่เป็นอลิงคะทีย่ งั มีคาอธิบายหรือมี อยู่ในประเภทของอวิเศษะ ซึง่ หมายความว่าเป็ นสิง่ ที่ ขึน้ ของอลิงคะแล้ว ปราศจากลักษณะเฉพาะทีใ่ ห้รบั รูไ้ ด้ เพราะในตันมาตระ ๕ คุณลักษณะอันพิเศษ โดยคาอธิบายหรือคุณลักษณะอันพิเศษ ั นาการของประกฤติ เราอาจเรียกอ ธาตุหยาบอย่างหนึ่ง จะประกอบด้วยธาตุซง่ึ ละเอียดกว่าทีอ่ ยู่ นี้อยู่ในช่วงเริม่ ต้นของวิวฒ ก่อนหน้ามัน เช่น คันธะตันมาตระ คือมูลธาตุพน้ื ฐานแห่งการ ลิงคะพิเศษในขัน้ นี้ว่า “ลิงคมาตระ” คือสภาพของธาตุทม่ี แี ค่ คุณลักษณะเท่านัน้ หากยังคงเดินทางย้อนกลับต่อไปอีกเรา จะมาถึงขัน้ มูลประกฤติ ซึง่ ในขัน้ นี้จะไม่มคี ุณลักษณะใดๆ 7

โปรดอ่านเพิ่มเติมเรื่ อง “ประกฤติ กับ ปุรุษะ : ที่มาของแนวคิดโยคะ ของปตัญชลี ตอนที่ ๒” ในโยคะสารัตถะฉบับสิ งหาคม ๒๕๕๑ หรื อดูที่ http://gotoknow.org/blog/y-now/260104 8

อวัยวะเพื่อการรับรู ้หรื อประสาทสัมผัสทั้ง ๕ ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และกาย อวัยวะเพื่อการกระทาทั้ง ๕ ได้แก่ ปาก มือ เท้า ทวาร และอวัยวะสื บพันธุ์ มนัส ๑ และธาตุหยาบทั้ง ๕ ได้แก่ ดิน น้ า ลม ไฟ และอากาศธาตุ 9

อหังการในสางขยะหรื ออัสมิตามาตระในปตัญชลีโยคะมีความหมาย เดียวกันว่า มีความรู ้สึกว่าเป็ นตัวเป็ นตน กล่าวคือทาให้บุคคลเกิดความรู ้สึกว่า “เป็ นตัวเรา” และ “เป็ นของเรา” ทาให้รู้สึกว่าเป็ นตัวผูก้ ระทากรรมและเป็ นผู ้ เสวยผลของกรรม (สุ นทร ณ รังษี, น.๒๒๔)

news 1101 9

10

มูลธาตุพ้ืนฐานแห่งการเห็นจึงรวมธาตุที่ละเอียดกว่าอีกสองอย่าง(เสี ยง สัมผัส) เข้าไปเป็ นคุณสมบัติดว้ ยโดยไม่รวมกลิ่นและรส มูลธาตุพ้ืนฐานแห่ง การสัมผัสจึงรวมธาตุที่ละเอียดกว่าอีกหนึ่งอย่าง(เสี ยง) เข้าไปเป็ นคุณสมบัติ ด้วยโดยไม่รวมกลิ่น รส และสี ส่ วนมูลธาตุพ้ืนฐานแห่งเสี ยงซึ่ งมีความ ละเอียดที่สุดในตันมาตระ ๕ จึงมีเสี ยงเป็ นคุณสมบัติเพียงอย่างเดียวโดยไม่ รวมกลิ่น รส สี และสัมผัส (สุนทร ณ รังษี, น.๒๒๕)


ปรากฏให้เห็นแล้ว ดังนัน้ สภาวะนี้ย่อมไม่มคี าอธิบายหรือ 11 คุณลักษณะใดๆ นันคื ่ อสภาวะอลิงคะ กระบวนการฝึกสมาธิ จึงอยูใ่ นวิถขี องการเดินทาง ย้อนกลับบนเส้นทางของวิวฒ ั นาการ ของสางขยะ-โยคะ (ประกฤติ)โดยกระทาผ่านวัตถุทใ่ี ช้ทาสมาธิ ตามมุมมองของ สางขยะ-โยคะนัน้ สิง่ ใดก็ตามทีเ่ ราสามารถรับรูห้ รือแม้แต่ คิดถึงได้สงิ่ นัน้ จะอยูใ่ นขอบเขตของประกฤติ และเราจะรับรู้ สภาวะต่างๆ ของวัตถุทใ่ี ช้ทาสมาธิทป่ี รากฏออกมาจากหยาบ ไปหาละเอียดได้โดยผ่านกระบวนการวิวฒ ั นาการ (ย้อนกลับ) ของประกฤติ ในโยคะเราต้องฝึกปฏิบตั เิ พื่อเดินย้อนกลับไป บนเส้นทางของวิวฒ ั นาการนี้ หรือเพื่อทีจ่ ะให้จติ สานึกรูข้ อง เราเดินทางผ่านกระบวนการย้อนกลับของวิวฒ ั นาการ และ 12 บรรลุถงึ ประติประสวะ (ดูโยคสูตรประโยคที่ ๔:๓๔) แม้ผปู้ ฏิบตั สิ มาธิจะเลือกวัตถุทเ่ี ห็นเด่นชัดมากมาใช้ ในการทาสมาธิ ระหว่างทางทีเ่ กิดความก้าวหน้าไปบน เส้นทางของสมาธินนั ้ วัตถุทใ่ี ช้ทาสมาธิอย่างเดิมนี้ จะถูกรับรู้ ในขัน้ ต่างๆ ของวิวฒ ั นาการทีล่ ะเอียดขึน้ ๆ กระทังในที ่ ส่ ดุ วัตถุทใ่ี ช้ทาสมาธินนั ้ หลอมรวมเข้ากับมูลประกฤติ สิง่ นี้ย่อม เกิดขึน้ กับวัตถุใดๆ ก็ตามทีน่ ามาใช้ทาสมาธิ ผูป้ ฏิบตั โิ ยคะที่ ฝึกสมาธิกา้ วหน้าไปอย่างราบรืน่ ด้วยดีกย็ ่อมเดินทางไปถึงขัน้ ของมูลประกฤติ จากนัน้ จิตสานึกรูข้ องเขาต้องก้าวข้ามหรือ ก้าวกระโดดออกจากขอบเขตของประกฤติในขัน้ สุดท้ายนี้ (ซึง่ เป็ นการก้าวข้ามทีส่ าคัญทีส่ ดุ ) และกลายเป็ นหนึ่งเดียวกับปุ รุษะตัตตวะ หากโยคีสามารถทาสิง่ นี้ได้สาเร็จเขาจะบรรลุถงึ ปุ รุษะขยาติ หรือเกิดการตระหนักรูใ้ นธาตุปุรษุ ะตามธรรมชาติ ดัง้ เดิมของมันซึง่ ก็คอื สภาวะไกวัลยะ แต่หากโชคไม่ดโี ยคีไม่

สามารถก้าวข้ามสภาวะนี้ได้สาเร็จ ก็เป็ นไปได้มากว่าเขาจะ 13 กลายเป็ นประกฤติลยะ ดังนัน้ ขัน้ สุดท้ายของความละเอียดทีเ่ ข้าถึงบนเส้น ทางแห่งการทาสมาธิตามปกติหรือประติประสวะ คือ มูล ประกฤติ หรืออลิงคะ ปุรุษะ(ตัวผูร้ )ู้ นัน้ ไม่สามารถเรียกได้ว่า มันละเอียดหรือหยาบ และการก้าวกระโดดครัง้ สุดท้ายของจิต สานึกรู้ (จิตสานึกรูห้ รือตัวจิตนี้กย็ งั เป็ นส่วนหนึ่งของประกฤติ ) เพื่อทาให้ตวั จิตสานึกรูเ้ ลือนหายไป(หรือทาให้ปุรษุ ะแยกได้ ว่าตัวจิตสานึกรูห้ รือตัวจิตนี้กเ็ ป็นเพียงสิง่ ทีถ่ ูกรูเ้ ท่านัน้ ไม่ใช่ ตัวผูร้ )ู้ และจากนัน้ จึงหลอมรวมเข้ากับปุรุษะตัตตวะซึง่ ถือ เป็ นขัน้ ทีพ่ เิ ศษ (ปุรุษะสามารถแยกออกจากประกฤติได้อย่าง 14 สิน้ เชิง) ในขัน้ นี้อศี วรประณิธานะ เป็ นประโยชน์มากในการ ช่วยให้จติ สานึกรูส้ ามารถก้าวกระโดดในขัน้ สุดท้ายนี้ได้ นัน่ 15 คือเหตุผลทีว่ ่าทาไมปตัญชลีจงึ ต้องแนะนาแนวคิดของอีศวร และรวมอีศวรประณิธานะเข้าไปเป็ นส่วนหนึ่งทีส่ าคัญมากของ เทคนิคการฝึกปฏิบตั บิ นเส้นทางแห่งโยคะ เอกสารอ้างอิ ง : ๑) Karambelkar, P. V. (1986). PATANJALA YOGA SUTRAS Sanskrta Sutras with Transliteration, Translation & Commentary. Lonavla : Kaivalyadhama, p.152-156.

13

คือการติดอยูใ่ นขอบเขตของประกฤติและไม่สามารถก้าวเข้าสู่ ไกวัลยะได้ เพราะถึงจะเป็ นที่สุดแห่งวิวฒั นาการของประกฤติแต่ก็ยงั ไม่สามารถหลุดพ้น จากเส้นทางแห่งวิวฒั นาการนี้ 14

11

สภาวะต่างๆ ของกระบวนการย้อนกลับของวิวฒั นาการประกฤติจาก ความหยาบไปหาความละเอียด ได้แก่ วิเศษะ อวิเศษะ ลิงคมาตระ และอลิงคะ โดยธาตุท้ งั ๑๖ อย่างคืออวัยวะเพื่อการรับรู ้หรื อประสาทสัมผัสทั้ง ๕ อวัยวะ เพื่อการกระทาทั้ง ๕ มนัสหรื อใจ ๑ และมหาภูต ๕ จัดอยูใ่ นประเภท “วิเศษะ” ส่ วนตันมาตระ ๕ และอหังการเป็ นธาตุที่ละเอียดมากขึ้นจัดอยูใ่ น ประเภท “อวิเศษะ” มหัตหรื อพุทธิก็เป็ นธาตุที่ละเอียดขึ้นไปอีกขั้นหนึ่งจัดอยู ในประเภท “ลิงคมาตระ” และสุดท้ายคือมูลประกฤติหรื อประธานะ ซึ่ งเป็ น ธาตุพ้ืนฐานดั้งเดิมที่ละเอียดที่สุดจัดอยูใ่ นประเภท “อลิงคะ” 12

ประติประสวะ หมายถึง จิตพัฒนาย้อนกลับสู่ สภาวะอลิงคะ และใน ท้ายที่สุดคุณะที่ละเอียดที่สุดคือสาตตวิกะหมดไป อัสมิตาหรื อการมีตวั ตน ของปั จเจกบุคคลก็จะหมดไปเช่นกัน ดังนั้นหากอัสมิตาอันตรธานไปในขั้น ลิงคมาตระย่อมไม่มีอะไรเหลือแล้วนอกจากอลิงคะเท่านั้น (Yoga Kosa, p.190)

news 1101 10

อีศวรประณิธานะ คือ หนึ่งในนิยมะ ๕ ข้อของปตัญชลีและเป็ นส่ วนหนึ่ง ในกริ ยาโยคะของท่านด้วย อีศวรประณิ ธานะ นาความสาเร็ จมาสู่ โยคีในการ พยายามฝึ กฝนโยคะเพื่อบรรลุถึงสมาธิ(smadhi – ขั้นที่ ๘ ของอัษฎางคโยคะ) อีศวรประณิธานะ เกี่ยวข้องกับเรื่ องนี้เพราะว่าแนวคิดนี้เป็ นการกระทาที่อุทิศ ตนด้วยความศรัทธาหรื อการยอมจานนอย่างถึงที่สุดและเป็ นการถอดถอน ปล่อยวางจากความยึดถือเพื่อทาให้กิเลสอ่อนกาลังลงและนาไปสู่ สมาธิ (smadhi) ในแง่น้ ียงั เป็ นการนาแนวคิดที่มีต่อพระเจ้ามาใช้ในปรัชญาโยคะ ของปตัญชลีอีกด้วย (Yoga Kosa, p.68-69) โปรดอ่าน “การบรรลุเป้ าหมาย ของโยคะด้วยอีศวรประณิธานะ” และ “เข้าใจ “อีศวร” ในแง่มุมต่างๆ ตาม แนวคิดของปตัญชลี” ในสารัตถะฉบับกันยายน และตุลาคม ๒๕๕๒ ตามลาดับ หรื อที่ http://thaiyogainstitute.com/ipaper/bookmode/281 และ http://thaiyogainstitute.com/ipaper/bookmode/586 15

อีศวร หมายถึง ปุรุษะอันบริ สุทธิ์ที่ไม่อาจแปดเปื้ อนหรื อได้รับผลกระทบ จากกิเลส กรรม และวาสนา (เปรี ยบดัง่ พระเจ้าหรื อเทพเจ้าผูบ้ ริ สุทธิ์ – ผูแ้ ปล) (Yoga Kosa, p.68)


๒) Philosophico Literary Research Department, (1991). Yoga Kosa. Lonavla : Kaivalyadhama.

news 1101 11

๓) สุนทร ณ รังษี (๒๕๓๐). ปรัชญาอิ นเดีย : ประวัติและ ลัทธิ . พิมพ์ครัง้ ที่ ๑. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.