¨´ËÁÒ¢‹ Ò Ç
ÊÒÃѵ¶Ð
http://500px.com/photo/22708497
àÁÉÒ¹ 2556
www.thaiyogainstitute.com
ÊÒÃѵ¶Ð
¤Ø  ¡Ñ ¹ ¡‹ Í ¹ »¯Ô · Ô ¹ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁà¤Ã× Í ¢‹ Ò Â
ศิ ล ปะภาวนา ค า ยท อ งเที ่ ย วธรรมชาติ โยคะวิ ถ ี ท างเลื อ ก ค น พบความสมบู ร ณ เ พี ย บพร อ ม
ÊÒÃºÑ Þ
·Õ ่ » ÃÖ ¡ ÉÒ
2 2 4
¡ÃÃÁ¡ÒÃ
แห ง ชี ว ิ ต ภายใน
¹Ò¹Ò·Ñ È ¹Ð ¨Ò¡à¾× ่ Í ¹¤ÃÙ เรื ่ อ งเล า จากอิ น เดี ย
à¡็ º µ¡
6 7
ค า ยปราณายามะ
12
อั ง คุ ต ตรนิ ก าย ป ญ จก-ฉั ก กนิ บ าต
15
¾ÃÐäµÃ» ® ¡á¡‹ ¹ ¸ÃÃÁ µÓÃÒâÂ¤Ð´Ñ ้ § à´Ô Á
ยมะ๕ : การพั ฒ นาสภาวะจิ ต ด า นใน (ตอนที ่ ๒ )
18
ฉั น รู
22 23
º·¡Å͹ ธรรมดา
1
http://bednij.livejournal.com/?skip=40
กวี คงภั ก ดี พ งษ แก ว วิ ฑ ู ร ย เ ธี ย ร ธี ร เดช อุ ท ั ย วิ ท ยารั ต น นพ.ยงยุ ท ธ วงศ ภ ิ ร มย ศ านติ ์ นพ.สมศั ก ดิ ์ ชุ ณ หรั ศ มิ ์ กฤษณ ฟ ก น อ ย ชนาพร เหลื อ งระฆั ง ชุ ต ิ ม า อรุ ณ มาศ วรพจน คงผาสุ ข วรรณวิ ภ า มาลั ย นวล วิ ล ิ น ทร วิ ภ าสพั น ธ สมดุ ล ย หมั ่ น เพี ย รการ
ÊÓ¹Ñ ¡ §Ò¹
พรทิ พ ย อึ ง คเดชา วั ล ลภา ณะนวล สุ จ ิ ต ฏา วิ เ ชี ย ร
¡Í§ºÃÃ³Ò¸Ô ¡ ÒÃ
จิ ร วรรณ ตั ้ ง จิ ต เมธี ณั ต ฐิ ย า ป ย มหั น ต ณั ฏ ฐ ว รดี ศิ ร ิ ก ุ ล ภั ท รศรี ธนวั ช ร เกตน ว ิ ม ุ ต ธี ร ิ น ทร อุ ช ชิ น พรจั น ทร จั น ทนไพรวั น วิ ส าขา ไผ ง าม วี ร ะพงษ ไกรวิ ท ย ศั น สนี ย นิ ร ามิ ษ
ÈÔ Å »¡ÃÃÁ
กาญจนา กาญจนากร
¤Ø  ¡Ñ ¹ ¡‹ Í ¹
ÊÒÃѵ¶Ð
อากาศรอนสมชื่อ “ฤดูรอน” แตอยาปลอยให “ใจรอน” ตามอากาศ สวัสดีเดือนเมษา ใคร ๆ ก็รูวาเปนเดือนแหงเทศกาลอีกวาระหนึ่ง เปนชวงเวลาของการใหศีลใหพรและรับศีลรับพร จากประเพณีการรดน้ำดำหัวญาติผูใหญหมั่นคอยระลึก และแสดงความกตัญูกตเวที ซึ่งเปน ประเพณีที่ดีงามของเราชาวสยาม
»¯Ô · Ô ¹ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁ 3 4 10 11 17 18 24 25 27
â¤Ðã¹Êǹ¸ÃÃÁ ³ Ëͨ´ËÁÒÂà赯 ¾ Ø · ¸·ÒÊ ¿ÃÕ àÂ็ ¹ ÇÑ ¹ ¾Ø ¸ áÅоÄËÑ Ê àÇÅÒ 17.00 – 18.30 ¹.
พุธที่ 3 เม.ย. 56 ครูบี บุษกร แกวมรกต หัวขอ โยคะยุคใหมการเดินทางของโยคะสูดินแดนตะวันตก พฤหัสบดีที่ 4 เม.ย. 56 ครูนุม ปวีณนุช สรอยสองสี พุธที่ 10 เม.ย. 56 ครูหนู อสมาพร สัตยาบัน พฤหัสบดีที่ 11 เม.ย. 56 ครูโอ อทิตยา อภิชาตินันท หัวขอ โยคะธรรมชาติบำบัด พุธที่ 17 เม.ย. 56 ครูหนู อสมาพร สัตยาบัน พฤหัสบดีที่ 18 เม.ย. 56 ครูจิ๊ป รติภรณ หงษจุย หัวขอ “สุข สงบ เย็น ดวยโยคะและ อานาปานสติ” พุธที่ 24 เม.ย. 56 ครูกุง วิมลรัตน พุทธาศรี พฤหัสบดีที่ 25 เม.ย. 56 ครูเบนซ วรพจน คงผาสุข หัวขอ โยคะในสวนธรรม â¤Ðã¹Êǹ¸ÃÃÁ ³ Ëͨ´ËÁÒÂà赯 ¾ Ø · ¸·ÒÊ ¿ÃÕ àÊÒÃ Ê Ñ » ´ÒË · Õ ่ 4 àÇÅÒ 14.00 – 16.00 ¹. เสารที่ 27 เม.ย. 56 ครูเบิรด ธงชัย จิรัฐติพันธุ หัวขอ โยคะและการเจริญสติ â¤Ðà´็ ¡ ³ ÈÙ ¹  à ÃÕ Â ¹ÃÙ Œ ÊÊÊ. «Í§ÒÁ´Ù ¾ ÅÕ ÊÓËÃÑ º à´็ ¡ »ÃжÁµŒ ¹ ÍÒÂØ 7–10 »‚ ÇÑ ¹ àÊÒà · Õ ่ 11 ¾ÄÉÀÒ¤Á 2556 àÇÅÒ 10.30 – 12.00 ¹.
รับจำนวนจำกัด 20 คนเทานั้น สนใจสอบถามขอมูลเพิ่มเติม และ แจงลงทะเบียนไดที่ สถาบันโยคะวิชาการ โทร.02 732 2016-7, 081 401 7744
2
»¯Ô · Ô ¹ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁ
ÊÒÃÑ µ ¶Ð การอบรมเชิงปฏิบัติการ รวมสืบคน เรียนรู โลกภายในดวยตัวคุณเอง
“Yoga Detective Workshop” ณ บานกานนิสา บางบัวทอง นนทบุรี
ระหวางวันที่ 24-26 พฤษภาคม 2556
จัดโดย สถาบัน โยคะวิชาการ
รับจํานวนจํากัด 20 คน
สอบถามขอมูลเพิ่มเติม สถาบันโยคะวิชาการ โทร. 02 732 2016 – 7, 081 401 7744 www.thaiyogainstitute.com ลงทะเบียนออนไลนไดที่ Yoga Detective 3
¡Ô ¨ ¡ÃÃÁà¤Ã× Í ¢‹ Ò Â
ÈÔ Å »ÐÀÒÇ¹Ò : ¾Ñ ´ ¸ÃÃÁ ¤ÅÒÂ㨠à¾× ่ Í ¼Ù Œ » † Ç Â â´Âà¤Ã× Í ¢‹ Ò ÂªÕ Ç Ô µ ÊÔ ¡ ¢Ò วันหยุดสุดสัปดาหของทานอาจมีคุณคา ทางใจสำหรับใครอีกหลายคนผูซึ่งไมมีโอกาสไดใช เวลา พักผอนในวันหยุดเหมือนทาน เขาเหลานั้น อาจกำลังเผชิญกับโรคภัยที่เบียดเบียน เขาเหลานั้นอาจกำลังเฝามองบุคคลอันเปนที่รัก กำลังทุกขทรมานจากโรคราย มารวมกันเปนสวนหนึ่งของกำลังใจดวย การวาดภาพสีอะครีลิค พรอมขอความธรรมะดีๆ ใหปรากฏลงบนแผนพัดสปริง เพื่อนำไปเปน ใบอนุโมทนาบัตร มอบใหกับผูมีจิตศรัทธาที่รวม บริจาคเงินเขารวมกองทุนชวยเหลือผูปวยโดย เครือขายชีวิตสิกขา หรือ เพื่อนำไปมอบใหเปน กำลังใจกับผูปวยและญาติตามโรงพยาบาล ในกิจกรรมคลินิกธรรมะที่จิตอาสาของเครือขาย ไดจัดรวมกับโรงพยาบาลตางๆอยูเปนประจำอยาง ตอเนื่อง
ÊÒÃѵ¶Ð
การรวมตัวของจิตอาสากลุม ‘เพื่อนดี’ ในเครือขายชีวิตสิกขา เพื่อทำกิจกรรมจิตอาสา สำหรับ กองทุนชวยเหลือผูปวยเพื่อสนับสนุน งานคลินิกธรรมะและคลินิกสุขใจ ในกรณีที่ จิตอาสาในงานคลินิกธรรมะและอาสา ขางเตียงที่ไดพบผูปวยที่ตองการความชวยเหลือ ที่กำลังรอคอย อยูอยางสิ้นหวังทามกลางกระแส แหงความเจ็บปวย ขอเชิญชวนผูสนใจรวมกิจกรรมที่ลาน กิจกรรมชั้น1หอจดหมายเหตุพุทธทาสอินทปญโญ สวนวชิรเบญทัศ(สวนรถไฟ) ถนนนิคมรถไฟสาย๒ แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ ไดทุกวันเสารสัปดาหที่สี่ของทุกเดือน สำหรับเดือนนี้พบกันวันเสารที่ 27 เมย. 2556 เวลา 10.00-13.00 น. ที่ลานกิจกรรมชั้น 1 ติดตอลงทะเบียนรวมกิจกรรมไดที่ website ของธนาคารจิตอาสา http://www.jitarsabank.com/event/view/248 หรือ คุณออด 084-6439245 ระหวางเวลา 9.00-16.00 น.
4
ÊÒÃѵ¶Ð
http://www.flickr.com/photos/paolarenno/1956191816/
¤‹ Ò Â·‹ Í §à·Õ ่  ǸÃÃÁªÒµÔ â¤ÐÇÔ ¶ Õ · Ò§àÅ× Í ¡ ชวนมาผอนคลายกับธรรมชาติ และอากาศบริสุทธิ์พรอมเรียนรู โยคะวิถีทางเลือก ณ โปงกอนเสา 4 – 5 เมษายน 2556 ( 2 วัน 1 คืน ) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ ครูเอ โทร. 085 516 4949 คุณจา โทร. 081 938 8833
5
¤Œ ¹ ¾º¤ÇÒÁÊÁºÙ à ³ à ¾Õ Â º¾ÃŒ Í Á áË‹ § ªÕ Ç Ô µ ÀÒÂã¹ หิมาลายันโยคะสมาธิ (ประเทศไทย)มีความ ยินดีขอเรียนเชิญทาน “คนพบความสมบูรณเพียบ พรอมแหงชีวิตภายใน” เชิญรวมปฎิบัติคอรสโยคะสมาธิกับทาน สวามี ริธาวัน ภารตี และ อาชูโทช ชารมา ใน บรรยากาศธรรมชาติที่ บานผูหวาน สามพราน นครปฐม วันเสารที่18 ถึงวันอาทิตยที่19 พค.56 • มิติล้ำลึกของศาสตรแหงโยคะนิทรา • หฐโยคะ; หนทางแหงการนำสูสมาธิ และปรัชญาแหงการดำรงชีวิต • อนัตตา (ความไมใชตัวตน)/อาตมัน (ความ สมบูรณแบบ) - นิพพาน (สภาวะแหงการรูแจง) /พรหมัน (สภาวะแหงสัจธรรมสูงสุด) – การรวม เปนหนึ่งกับพระเจา ในราคาเพียง 2,000 บาทเทานั้น(ไมรวมคาเดินทาง) ผูสนใจกรุณาติดตอ svbretreat2012@gmail.com 086-755-3869, 081-700-3011 and 089212-6296 หมายเหตุ: มีผูแปลเปนภาษาไทยตลอดงาน “มนุษยทุกคนคือสถาปนิกผูกำหนดชะตากรรม ของตัวเอง”
¹Ò¹Ò·Ñ È ¹Ð
ÊÒÃѵ¶Ð
phttp://elegantea.tumblr.com/post/45079540931
ดิฉันอานคอลัมน“พี่เละชวนคุย”เลยขอ อนุญาติรวมคุยกับ“พี่เละ”(คุณธีรเดช) แบบสนุกๆ ดวยคนนะคะ คุณธีรเดชใหขอมูลเรื่องความเปน สถิระในทาตั๊กแตน (ศลภาสนะ) ไดละเอียดสามารถ จินตนาการตามไปไดเลย วาตั๊กแตนที่ยกขาสอง ขางไมไหว ควรตองมีตนทุนของรางกายอยางไร จากประสบการณตนทุนของรางกายที่ เปนอุปสรรคในการฝกแลวไมเกิด สถิระและสุขะ เทาที่สังเกตุแตอาจไมตรงเสมอไป เชน 1.ลำตัวเตี้ย สะโพกผาย ตนขาใหญ (ผูหญิง) 2.หลังสวนลาง(LOWER BACK)แข็งตึง(ผูชาย) 3.ขอมือเล็ก ออนแรง (ผูหญิงและเด็ก ) 4.ลำตัวสูง ขายาว กลามเนื้อหนาทองออนแรง (ชาย ,หญิง) 5.ขาดทักษะ บุคคลที่มีขอจำกัดรางกายเหลานี้อาจเปน ผูฝก ศลภาสนะ คอนขางยาก ดิฉันจึงขออนุญาติ แนะนำ (ผูอานทานใด ไมเห็นดวย ก็ไมเปนไรคะ) หลักการฝกแบบ THERAPEUTIC YOGA เขามา ชวยทำใหการฝก ศลภาสนะไดประโยชนขึ้นโดยการ ใชเครื่องมือชวยพยุงรางกาย ไมวุนวายเลยโดยการ ใชผาหมหนา มวนหนา ๆ ขนาดศูนยกลาง
ประมาณ 3 นิ้วหรืออาจใชหมอน ขางกลมๆ ของเด็ก สอดไวใตสะโพก(HIP BONE) ขณะนอน คว่ำในทาตั๊กแตน สวนแขนสองขางวางไวขาง ลำตัว แบบ สบายๆ กอน ยังไมตองกำมือ จากนั้น ใสใจไวที่ตนขา และสะโพก เพื่อกำหนดรูวาเราจะใชกลามเนื้อ บริเวณนี้ แตดิฉันจะใหผูฝก หายใจเขาพรอมกับ ยกขา สองขางขึ้น ขณะเดียวกัน เหมือนเกร็งกลามเนื้อกน และตนขาพรอมกัน ผาที่มวนอยูจะทำหนาที่ ยืดหยุน ใหกลามเนื้อตนขา และสะโพก ทำงานไดดี เมื่อวางขาสองขางลงจึงหายใจออก พยายามฝกโดย ใชอุปกรณชวย จนรูสึกเขาใจและมั่นคง หลังจาก นั้น จึงเอาอุปกรณออกและฝกแบบสมบูรณ การฝกแบบนี้ยังเปนการปองกัน ความผิดพลาด บางอยาง รางกายไมบาดเจ็บ อีกนัยหนึ่ง รางกายมีปญหาหรือขอบกพรอง นับวา เปนสวนหนึ่งที่ทำให เราตองยอมและ พัฒนา รางกายใหเกิดผล ถาเรามองตนเอง เขาใจตนเอง ไมปดกั้นความคิด ทำใหเรามีสถิระ สุขะ กับการฝก ดีทีเดียว คุณธีรเดชหรือทานผูอานคิดเชนนั้นไหม ? ครูหนู ชมชื่น สิทธิเวช
6
¨Ò¡à¾× ่ Í ¹¤ÃÙ
ÊÒÃѵ¶Ð
àÃ× ่ Í §àÅ‹ Ò ¨Ò¡ÍÔ ¹ à´Õ Â
â´Â¤ÃÙ à µÂ
7
(µ‹ Í ¨Ò¡©ºÑ º ·Õ ่ á ÅŒ Ç )
วันที่ 28 ธันวาคม วันที่สองของการ ประชุม เตยกับพี่กลวยรีบตื่นแตเชาพอเดินออกมา ก็เจอรถริกชอวที่ไกวัลเตรียมไวรับสงผูเขารวม ประชุม พอเรากระโดดขึ้นรถปุปก็ตองกอดกันกลม พอลมหนาวปะทะมา พอถึงก็รีบไปเขาคลาสของทานสวามี อนุภาวนันดาตอนหกโมงครึ่ง สวามีสอนเรื่องตัวเรา ตัวกู อัตตา เวทนา มายา สมมติ การดับการปรุง แตงของจิต การตระหนักรูสภาวะของตนเอง ซึ่ง นอกจากการฟงบรรยายแลวเรายังไดนั่งสมาธิ ฝก ปฏิบัติไปดวย ซึ่งนาสนใจมาก พอทานอาหารเชาเสร็จเราก็เขาไปฟงคลาส ตอนเกาโมงเชาเกี่ยวกับหนทางการเรียนรูระบบองค รวม ซึ่งจะตองประกอบไปดวยสมอง สองมือและ หัวใจ ไมใชแคจากสมองอยางเดียว ใจความสำคัญ ที่เขาพุดถึงคือเราจะตองพาตัวเราไปสูการมีสติ ตระหนักรูซึ่งทำไดผานการเฝาดูหรือการทำสมาธิ เทานั้น ขณะทำสิ่งใดตองอยูกับสิ่งนั้นรอย เปอรเซ็นต แตในชีวิตคนเรามักไมไดเปนเชนนั้น บางคนไมชอบทำบางอยางแตก็ยังทำ และทุกครั้ง ที่เราตอบโตกับใครหรืออะไรก็ตาม สิ่งนั้นจะสงผล ตอพลังปราณของเรา เปนอกุศลเราเกิด
ÊÒÃѵ¶Ð
เราเกิดใหมทุกครั้ง กับทุกการตอบโต ถาเราเอา ผัสสะออกไดหมดเราจะบรรลุโดยใชมรรคแปดของ โยคะเขาสูสภาวะอันเปนหนึ่งเดียว การอาน ปตัญชลีโยคะสูตร การทำสมาธิและการปฏิบัติ โยคะจะเอื้อใหสมองผลิตคลื่นอัลฟาทำใหเรามอง เห็นสิ่งตางๆ อยางที่เปนตามความเปนจริง เพียง แคเฝาสังเกตเทานั้น เฝาดูสิ่งที่เกิดขึ้นใน ปจจุบันขณะ เชนเดียวกัน ขณะอยูในอาสนะ หรือ ฝกปราณายามะ เราไมคิดสิ่งอื่นใด เรากำลังเฝา ดูตัวเราอยางไมตัดสินแลวเราจะเชื่อมตอกับพลัง ปราณซึ่งจะคอยเยียวยาเราในทุกครั้งที่นอนหลับ เปนระดับของการทำงานเพื่อความอยูรอดของ มนุษย ขณะฝกโยคะนั้น อหังการจะหายไปเรา เพียงอยูกับจิตใตสำนึก มีขอควรคำนึงวาเราสามารถรูสึกสงบสุขได อยางตอเนื่องหรือไม ความสงบสุขภายในตัวเราเอง ผูบรรยายกลาวตอวาเมื่อมีความตั้งใจจะมีพลังงานต ามมา หากแตการทำตามใจตน จะเปนแรงสงให กับกรรมที่ไมดี ดังนั้นจึงตองมีการทำสมาธิ และ การฝกโยคะเพื่อใหเกิดการปรับเปลี่ยนจากภายใน จากการฟงการบรรยายเตยพบวา อยาง ไรก็ตามเราตองปฏิบัติควบคูไปอยางตอเนื่องและ
จริงจัง ทำซ้ำแลวซ้ำเลาจึงจะเห็นผล ที่เกิดจาก ความเพียร ซึ่งจะทำใหเราเขาใจในสิ่งที่ ผูบรรยาย กลาวถึงการเฝาดูสภาวะที่เกิดขึ้นภายในไดอยางเขา ใจจากประสบการณตรง ไมเชนนั้นแลวเรา ก็คงได แตครุนคิดวา แลวมันจะเปนอยางไร การเฝาด zู คืออะไร ดูแลวไมตัดสินเปนอยางไร จากนั้นเราไปตอกันที่หองบรรยายเรื่อง Harness Divinity มีการพูดถึงเรื่องสภาพ การใช ชีวิตของคนในปจจุบันที่ใชเทคโนโลยีเสียมากจนแทบ จะลืมการสื่อสารระหวางบุคคล แมกระทั่งคูรัก ที่อยูดวยกันในมือยังถือไอแพดสื่อสารกับคนอื่น ปจจุบันเด็กเกิดมาพรอมกับเทคโนโลยีมากเกินไป ผูคนมากมายหาที่พึ่ง ถาหาไมไดก็เลือกที่ จะไป พึ่งพา เหลายาและบุหรี่ ดังนั้นมีความจำเปนมาก ที่จะตองนำพวกเขาใหกลับมามีความตระหนักรู มีสติสัมปชัญญะ ตระหนักรูถึงพระเจาภายในตัวเรา นอกจากนี้ยังพูดอีกวาโยคะเปนหนทางที่จะพาเราไป เหนือเรื่องของกายภาพ และเปนเรื่องขององครวม ที่อยูในวิถีชีวิต ยังไมจบคะ วันนี้ยังมียาวไกล จบจากหองนี้เตย ไปฟงการนำเสนอผลงานนึงที่นาสนใจในหัวขอโยคะ บำบัดคะ เปนการนำเสนอที่มีคนยกมือ ถามเยอะ
8
ÊÒÃѵ¶Ð มาก แทน แทน แทน ซึ่งหัวขอนั้นก็คือ โยคะกับการหลั่งเร็วคะ ซึ่งสุดทายไดรับรางวัล Best Paper ในการประชุมครั้งนี้ดวยนะคะ เตยจะขอเอาบทคัดยอมาเลาใหฟงกันสั้นๆ กลาวคือผูศึกษาตองการทราบวาโยคะสามารถนำม าใชเปนทางเลือกเพื่อรักษาอาการหลั่งเร็วไดหรือไม เมื่อเทียบกับยา fluoxetine ซึ่งผลการวิจัยจาก คนไข จำนวน 68 คนพบวามีสถิติแสดง ใหเห็น อยางเปนนัยยะสำคัญวาโยคะสามารถชวยได ปลอดภัย และเปนการแพทยทางเลือกที่ยอมรับได ทั้งนี้ผูวิจัยจะทำการทดลองในจำนวนคนไขที่มากขึ้น เพื่อนำไปใชประโยชนตอไป หลังจากนั้นเราพักทานขาวกัน สองชั่วโมง แลวไปฟงการนำเสนอผลงานจาก ครูฮิโรชิ และพี่แอล ศศินี จากหลักสูตรครูยาวรุน 11 คะ ครูฮิโรชิพูดการศึกษาผลการติดตามนักเรียนชาว ญี่ปุนจำนวนยี่สิบคนที่มาเรียนที่สถาบันโยคะไกวัลย ธรรม ทั้งในสวนของหลักสูตรอนุปริญญา DYEd, เกียรติบัตรโยคะ C.C.Y. และหลักสูตรครูขั้น แอดวานซ ตั้งแตปพ.ศ. 2545-2555 ครูไดกลาว
9
วาปจจุบันโยคะเปนที่รูจักกันแพรหลายภายในไมก ทศวรรษที่ผานมานี้ แตจะมีผูเรียนโยคะกี่คน ใน ตางประเทศที่ไดรับผลประโยชนที่แทจริงจากโยคะ อีกทั้งยังมีความยากลำบากจากการขาดแคลนความ รูเกี่ยวกับพื้นฐานของวัฒนธรรมอินเดีย และถึงแม กลุมการวิจัยจะคอนขางเล็กแตผลการศึกษาพบวาผู เรียนโยคะชาวญี่ปุนสามารถเขาใจแนวคิดของโยคะ วิธีการของโยคะผลของการฝกโยคะจากตำราโยคะ ดั้งเดิมกอปรกับการตีความบนพื้นฐานของเหตุผลใน ปจจุบันสมัย ซึ่งหลายคนพบวา อาสนะนั้นแตกตาง จาก การออกกำลังทั่วไป และปราณายามะทำงาน กับระบบประสาทอัตโนมัติซึ่งสงผลตอสภาวะของจิต ทั้งสองอยางนี้เปนหลักใหญใจความของโยคะที่ไป เหนือกวาเรื่องของกายภาพเพียงอยางเดียว และยัง นำไปสูการเจริญเติบโตทางจิตวิญญาณของปจเจก ดังนั้นบางคนที่มีความสนใจมากขึ้นเกี่ยวกับเรื่องจิต วิญญาณตามแบบวัฒนธรรมญี่ปุนควรจะศึกษาเรื่อง ราวที่สอดคลองกันระหวางโยคะแบบดั้งเดิมควบคูไ ปกับพุทธศาสนาในญี่ปุนไปดวย ดังนั้นบางคนที่มีความสนใจมากขึ้นเกี่ยวกับเรื่องจิต วิญญาณตามแบบวัฒนธรรมญี่ปุนควรจะศึกษาเรื่อง ราวที่สอดคลองกันระหวางโยคะแบบดั้งเดิมควบคูไ ปกับพุทธศาสนาในญี่ปุนไปดวย
ÊÒÃѵ¶Ð สวนพี่แอล นำเสนอในเรื่องของ การนำฝก โยคะแบบดั้งเดิมใหกับแมชี จากการศึกษาพบวา แมชีเกือบทั้งหมดเขาใจและรับผลจากการฝกโยคะได เปนอยางดี เมื่อฝกอาสนะแลวสงผลใหผอนคลาย ความเหนื่อยลาและสงบจิตสำรวมใจไดรวดเร็วขึ้น ตลอดจนชวยใหการปฏิบัติสมาธิเปนไปไดดียิ่งขึ้น ผูฝกคนพบความเหมือนระหวางมรรคแปดของโยคะ กับศีลแปดในศาสนาพุทธ การฝกอาสนะและ ปราณายามะเอื้อตอวิถีชีวิตและยังสรางความสมดุล ใหกับกายและใจ ตลอดจนสงเสริมใหเกิดการ ตระหนักรูในทุกดานของชีวิต ทั้งกายภาพ จิตใจ อารมณ จิตวิญญาณ แมชีจึงนำเอาโยคะแบบดั้งเดิม มาใชปฏิบัติตอไปและเริ่มนำไปสอนเยาวชนที่มา ปฏิบัติธรรมอีกดวย พอจบวิชาการหนักๆ ไปก็ไปตอดวย การแสดง Kirtan/Bhajanโดย H.B.P. Baba MaharajSatarkarที่มีนักรองและนักดนตรีเกือบยี่สิบคน ถาสนใจเขาไปคลิกดูกันไดในหนาเพจของไกวัลยธรร มนะคะ “Kaivalyadhama Yoga Institute” เตยก็ ฟงบางไมไดฟงบาง มัวแตคุยอยูกับครูฮิโรชิ เรื่อง การเรียนตอดิพโพลมา และการเปนครูโยคะก็ควร จะมีความรูเปนพื้นฐานสำคัญซึ่งครูก็ย้ำแลวย้ำอีก หลังจากนั้นพออากาศเริ่มหนาวมากๆ ก็ชวนครู ไปทานอาหารค่ำกอนกลับโรงแรมตอไป ทางไกวัล จัดรถริกชอวสงเรากลับโรงแรมมหาราชาทุกวันคะ ปลอดภัยหายหวง วันที่ 29 ธันวาคมวันที่สามของงานประชุมเชนเคย คะวันนี้ตื่นแตเชาไปฟงทานสวามีอนุภาวนันดา เหมือนเดิม วันนี้ทานบอกวา การที่เวลาเราเศรา แลวเราคิดวาตองมีคนรับผิดชอบนั้นมันไมจริง เพราะเราจะตองรับผิดชอบตอทุกสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิต ของเรา เรามักเฝาแตทำตามเสต็ปของชีวิตที่ จะตองเติบโต เขาเรียนมหาวิทยาลัย ทำงานโดยไม เคยใชชีวิตจริงๆ ทานบอกใหเราเปนอิสระจากตัวตน และใหยอมรับในสิ่งที่เราเปน
จากนั้นกลาวถึงโศลกที่วาประยัตนไศถิลยะ อนันตสมาปติภยาม ใหเราเปนอิสระจากการ พยายาม แลวใหเราฝกนั่งสมาธิ รวมกันกอน จบคลาส ซึ่งขณะนั่งสมาธิพบวาสงบนิ่งสบายดี เลย คิดวาวันรุงขึ้นก็จะเขาฟงทานสวามีอีก หลังจากทานขาวเชาวันนี้ก็เขาไปฟง บรรยาย เรื่องการตระหนักรูภายใน: หนทางสู ความเปนเลิศซึ่งหลักๆ นั้นพูดถึงเรื่องของทัศนคติ ที่จะใหไดมาซึ่งความนิ่ง เฝาดูตนเอง เพราะเรามัก คิดถึงอยางอื่นตลอดเวลา ดังนั้น การฝกโยคะจะทำ ใหเราเขาใจแตละสวนของรางกายไดอยางดี ตอดวยการบรรยายเรื่องโยคะบำบัดจาก ดร.บาเลการ ที่เปนครูสอนวิชาอนาโตมี ตอนที่เตย ไปเรียน CCY เมื่อปที่แลวดวย ดร.บาเลการ กลาววา โยคะในแงมุมบำบัดนั้น ชวยชำระลาง ปญหาที่หยั่งรากลึกในจิต วินิจฉัยสภาวะ ของกาย -จิต ดวยวิถีทางของโยคะ นาฑีสุทธิ เปนตน จากนั้นดร.บาเลการแนะนำการฝกลมหายใจที่เหมาะ สมกับโรคจากประสบการณที่รักษาคนไขที่ไกวัลยธร รมมาดังนี้ ผูที่เปนโรคซึมเศราใหฝกภัสตริกะ ผูที่ เปนนอนไมหลับใหฝกพราหมรี ผูที่เปนโรคกลัว หรือโฟเบียใหฝกเปลงเสียงโอม ผูที่มีความเครียด หรือวิตกกังวลใหฝกอนุโลมวิโลม
10
ÊÒÃѵ¶Ð สวนเลคเชอรที่เขาไปฟงตอนบาย ก็ฟงรู เรื่องบางไมรูเรื่องบางเลยขออนุญาตขามไปนะคะ สำหรับคืนนี้มีการแสดง “กฤษณะคาถา” จาก Padma BhushanDr.SonalMansingh เปนการแสดงรองและเตนทีตรึงตาตรึงใจคนดูไดยา วนานตอเนื่องตลอดสองชั่วโมงกวาๆมีนักดนตรีอยู คนรองหลักเปนผูหญิงคนเดียวมีบุคลิกที่ทรงพลัง ลัง ใชสายตาและการขยับใบหนา มือ แขน ขาไดอยางนาทึ่ง บางทีเธอรองเปนภาษาอังกฤษ ทำใหเราพอเขาใจเรื่องราวของพระกฤษณะบางคะ ครูฮิโรชิบอกวาปกติการแสดงแบบนี้เขาจะเริ่มตอน เที่ยงคืนแลวไปเสร็จอีกทีตอนรุงสาง ที่เราไดดู นี่เปนฉบับยอ ตอนไดฟงถึงกับตกใจ วาเลนกันทั้ง คืนเลยเหรอ เอาเรี่ยวเอาแรงมาจากไหน เตยวา เขาเกงมากๆ ที่สงพลังจากเวทีไปยังทุกๆ คนจนถึง หลังสุดของฮอลล คนอยูกันเต็มฮอลลจนการ แสดงเลิกที่สามทุมกวา วันที่ 30 ธันวาคมวันสุดทายของงาน ประชุม ตอนเชาเตยไปฟงทานสวามีอนุภาวนันดา เหมือนเดิมคะ แตไมไดจดมา เพราะอยากใหซึมซับ เขาไปโดยไมตองจด แตปรากฎวาซึมหายเขาเซลล ไปเลยคะ ไมรูจะเอามาเลายังไง จำไดแตวาวันนี้ ฟงไมคอยรูเรื่อง แลวก็เปนเรื่องที่ชาวฮินดู เขาใจเสียเปนสวนใหญ เห็นหัวเราะกันคิกคัก สวนการบรรยายที่เหลือของวันนี้เตยก็ขอสารภาพ อีกวาฟงไมคอยออก แตดูเหมือนเขาจะยกเอา สุภาษิตของอินเดียมาพูด แลวก็พูดอะไรที่เขา อยากพูด พูดเรื่องปตัญชลีบางอะไรบางซึ่งก็ไมคอย เกี่ยวกับหัวขอเยาวชนเทาไหร จะวาไปตั้งแตมา ฟงประชุม การบรรยาย และการเสนอเอกสาร หลายๆ เรื่องก็ไมคอยเกี่ยวกับเยาวชน สักเทาไหร นะคะ มีบางพอประปราย คือกอนหนานี้ครูฮิโรชิ
11
เคยบอกวาคนอินเดียนะมี ประปราย คือกอนหนานี้ครูฮิโรชิเคยบอกวา คนอินเดียนะมีขอดีที่วาเขานะมั่นใจในตัวเองมาก กลาพูด กลาคิด กลาทำ ไมยุงเรื่องคนอื่น แตก็มี ขอเสียคือมั่นใจในตัวเองมากไปเตยมาเขาใจตอนที่ มา ฟงประชุมนี่ละ วาฟงๆ ไปแลวที่เราจับใจความ ไมได บางทีก็เปนเพราะเขามัวแตพูดเรื่องตัวเอง พูดเรื่องที่อยากพูด มั่นใจในทางของตัวเองมาก อยากจะย้ำวามากจริงๆ เวลาหมดใหหยุดพูด ก็ไมหยุด สวนชวงพิธีปดในชวงบาย ก็เปนไป อยางเรียบรอย ซึ่งเตยก็ฟงไมคอยออกอีกแลว เหมือนขอมูลลนทะลัก ประมวลผลไมไหว ขำตัวเอง เหมือนกันวาอยูๆ ก็เหมือนหูดับไปเสียอยางนั้น รูแตวาเขาพยายามบอกวาใหนำเอาโยคะมาอยูในวิถี ชีวิต หมั่นปฏิบัติเขาไว สำหรับเรื่องราวเกี่ยวกับ งานประชุมโยคะสำหรับเยาวชน ที่สถาบันโยคะ ไกวัลยธรรมครั้งที่ 7 ก็จบเพียงแตเทานี้ เตยคิดวา เปนโอกาสที่ดีที่ไดมารวมงานประชุมที่นี่ เจอสวามี ครูหลายๆ ทาน เพื่อนๆ และผูคนมากมายจากทั่ว อินเดียและประเทศอื่นๆ ที่รักโยคะ สนใจโยคะ ในแงมุมของวิชาการจากตำราโยคะดั้งเดิมและ วิทยาศาสตรรวมสมัย ไดมาเรียนรูแลกเปลี่ยน ขอมูลซึ่งกันและกันทำใหมีมุมมองที่กวางขวางขึ้น มีความเขาใจในโยคะลึกซึ้งขึ้น รูจักวัฒนธรรม ของชาวอินเดียมากขึ้น ในขณะเดียวกันก็รูจักตัวเอง มากขึ้นดวยเชนกัน อีกอยางที่รูสึกมากๆ เลยคือ รูสึกวาเราโชคดีที่ไดเกิดมาบนผืนแผนดินไทยที่แสน จะอุดมสมบูรณ ทั้งอากาศ อาหาร สภาพแวดลอม ศาสนา ผูคน สิ่งละอันพันละนอยก็เอื้อตอ ชีวิต เรามาก ที่พูดนี่ไมไดหมายความวา ไมรักอินเดีย นะคะ รักอินเดียในแบบที่เปนนั่นแหละ แตเหมือน พอเราไปอยูที่อื่นแลวมองกลับมาก็ทำใหเห็นคุณคา ถึงสิ่งที่เรามีมากยิ่งขึ้น เห็นความหมาย ของสิ่งตางๆ ที่เราอาจเคยมองขามไป ถาสนใจขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับงานประชุมก็สงอีเมล มาถามเตยไดนะคะที่ taey81@hotmail.com คะ วันนี้ลาไปกอนคะ นมัสเต
à¡็ º µ¡
ÁÒàÃÕ Â ¹»ÃÒ³ÂÒÁÐ¾× ้ ¹ °Ò¹ ¡Ñ º Ê¶ÒºÑ ¹ â¤ÐÇÔ ª Ò¡Òà อาจมีหลายคนอยากรูวา มาเรียนปราณายามะ พื้นฐานกับสถาบันโยคะวิชาการเปนอยางไร แลวได อะไร เลยขอมาแชรประสบการณใหฟงกัน เพราะมี โอกาสไดเรียนทั้งทุกเย็นวันพุธหกคาบและแบบเขา คายสองวัน ตอนที่รูวาสถาบันจะเปดคอรสนี้ก็ดีใจ สงเมลมาแจงครูกวีตั้งแตอยูอินเดีย เพราะโดย สวนตัวชอบฝกปราณายามะมาตั้งแตหมอที่อินเดีย ใหใบสั่งยามาเปนการฝกปราณายามะเพื่อดูแลรักษา สุขภาพตัวเองจากอาการผื่นภูมิแพกำเริบ ผื่นขึ้นคัน คะเยอ ซึ่งตอนเรียนปราณ ที่ไกวัลก็เปนการเรียนรู วิชาการและเทคนิคของปราณ แตดวยความที่มีเวลา ไมมากจึงไมไดลงรายละเอียดในสวนของสรีระวิทยา ของการหายใจมากนัก ที่สำคัญอยากมาทบทวน และนำเทคนิคของปราณไปถายทอดใหผูเรียนโยคะ ดวย พอเขาไปดูรายละเอียดในคอรส จะพบวา การเรียนประกอบดวยภาคทฤษฎี เพื่อใหเขาใจ สรีระวิทยาของการหายใจ ปราณยามะตามตำรา ปตัญชลีโยคะสูตรและตำราหฐประทีปกาและภาคปฏิ บัติ ที่วาดวยกลไกหายใจพื้นฐาน หายใจดวย
ÊÒÃѵ¶Ð
หนาทอง (กระบังลม) หายใจดวยทรวงอก (กลามเนื้อซี่โครง)เตรียมความพรอมกอนฝกปราณา ยามะนาฑีสุทธิ (การหายใจสลับรูจมูกหรืออนุโลม -วิโลม)ฝกเทคนิคเพื่อชวยเกื้อหนุนการฝกปราณ: มุทราพันธะกิริยาฝกปราณอุชชายี ถาอานหลักสูตรแลวเห็นไดเลยวาสถาบันตองการให ผูเรียนมีพื้นความรูเกี่ยวกับปราณายามะจากทั้งฝงข องโยคะตามตำราดั้งเดิมและฝงของวิทยาศาสตร สรีระวิทยา ซึ่งเรื่องนี้เปนที่จุดเดนของทางสถาบันโยคะวิชาการ และสถาบันโยคะไกวัลยธรรม ทำใหเราไดมองโยคะ อยางเปนวิทยาศาสตร ทำตามหลักการภายใต ความปลอดภัยของผูปฎิบัติ ซึ่งอันนี้เปนสิ่งสำคัญ เพราะคิดอยูเสมอวาควรเรียนปราณายามะกับครู เนื่องจากเรื่องนี้เปนเรื่องละเอียดออน เพราะการ ฝกอาสนะ หากปฏิบัติไมถูกตองเราสามารถ มอง เห็นและแกไขได แตการฝกปราณนั้นสงผลตอ อวัยวะภายในรางกายมากมาย อยางถุงลมเล็กๆ ภายในปอด และอวัยวะสวนอื่นๆ ที่เราไมสามารถ มองเห็น แตทั้งนี้ เราคงไมไดมาลงรายละเอียด การเรียนปราณกันทั้งหมด แตขอเอาหลักๆ ที่อยาก
12
ÊÒÃѵ¶Ð ผลจากการฝกปราณายามะ “รูปรางผอมเพรียว ใบหนาเปลงปลั่ง เสียงใส ดวงตาเปนประกาย หางไกลจากโรค สามารถควบคุม การหลั่งน้ำกาม กระตุนไฟยอย และนาฑีสุทธิ” ตำราหฐประทีปกา บทที่ ๒โศลกที่ ๗๘
เอามาพูดถึงคงหนีไมพนวา ทำไมถึงตองฝกปราณ งั้นลองมาดูกันวาตำราดั้งเดิมเขาวากันอยางไร คำตอบคือ ในตำราหฐประทีปกา บทที่ 2 โศลกที่ 2 กลาวไววา ตราบที่ยังหายใจ จิตก็ยังคง กระเพื่อม เมื่อลมหายใจหยุด จิตก็นิ่ง โยคีก็เขาสู ความนิ่งอยางแทจริงแตเราตองยึดหลักกาลามสูตร คือ อยาเพิ่งเชื่อโดยอางตำรา ดังนั้นเมื่อได การบาน จากครูใหกลับไปฝกหายใจดวยทรวงอก หายใจดวยหนาทอง แลวสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น ผลคือรูสึกไดวาชวยให เราสงบไดเร็วขึ้น จิตสงบ รูลมหายใจไดเร็วขึ้น นั่งสมาธิไดสบายขึ้น ทีนี้ในปตัญชลีโยคะสูตร บทที่ 2 โศลกที่ 49 ใหนิยามวา ปราณายามะคือชองวาง ระหวาง ลมหายใจเขากับลมหายใจออก กลาวคือการฝก ปราณายามะในโยคะ คือ การฝกใหเกิดการหยุด คั่นระหวางลมหายใจเขาออกของเรา เปนการ ฝกเพื่อควบคุมระบบหายใจ ซึ่งมีความสัมพันธ ตอเนื่องกับระบบประสาทอัตโนมัติเพื่อพัฒนาความ สามารถที่จะควบคุมระบบประสาทอัตโนมัติเพื่อไป ควบคุมอารมณ ควบคุมการทำงานของจิต หลายคนอาจจะเคยทราบวาการฝกปราณายามะ มีประโยชนมากมาย แตพอถามวามีอะไรบาง
13
ก็ยังไมคอยแนใจนัก วันนี้อยากจะย้ำกันอีกครั้ง จากตำราหฐประทีปกา บทที่ 2 โศลกที่ 78 กลาวถึงผลจากการฝกปราณายามะไววาทำใหมีรูป รางผอมเพรียว ใบหนาเปลงปลั่ง เสียงใส ดวงตาเปนประกาย หางไกลจากโรค สามารถ ควบคุมการหลั่งน้ำกาม กระตุนไฟยอย และนาฑี สุทธิ พอไดอานแลวมีกำลังใจในการฝก ปราณายามะ กันบางไหมคะ บางคนอาจนึกสงสัยวา ทำไมจึงตองสอนมุทรา ในคอรสปราณายามะดวย เหตุผลคือเทคนิคมุทรา จะชวยเกื้อหนุนการฝกปราณายามะ ทำใหเพิ่ม ประสิทธิภาพการหายใจของเรา พัฒนากลามเนื้อ กะบังลมใหมีความยืดหยุน รวมถึงอวัยวะที่ เกี่ยว ของก็คอยๆ พัฒนาความยืดหยุน ความแข็งแรง ขึ้นเปนลำดับ มุทราที่ครูใหฝกมีทั้งตฎากิมุทรา สิมหะมุทรา วิปริตกรณี บางคนอาจคุนเคยกับ วิปริตกรณี และอาจสับสนวาคือทายืน ดวยไหล เพราะรูปแบบภายนอกคลายคลึงกัน แทที่จริง แลวทายืนดวยไหลเปนอาสนะ แตวิปริตกรณีนั้น เปนมุทรา ซึ่งมุงไปยังการกดล็อกเสน ประสาท และกลามเนื้อเฉพาะจุด เกิดการเปลี่ยนแปลง ความกดดันภายในรางกาย การฝกมุทรา มีผล โดยตรงตอความแข็งแรงของอวัยวะภายในการหลั่ง ของตอมตางๆ อยางตอมไรทอ และปมประสาท สำคัญๆ บางจุดดวย การมาเรียนแบบมีความรูวิชาการมา รองรับ การแลกเปลี่ยนประสบการณ ขณะฝก และการถามตอบในชั้นเรียนก็ทำใหเขาใจชัดแจงขึ้น ครูเนนวาใหฝกแบบใชความรูสึกเปนตัวนำ สำหรับ ผูเริ่มฝกอาจจะยังไมสามารถจับความรูสึกไดเดนชัด ก็คอยๆ ใหเวลากับตัวเอง ไมตองเรงรีบ คอยๆ เรียนรูที่จะฟงเสียงของรางกายตัวเองไป เรามี เวลาเรียนรูโยคะไปไดตลอด แตสิ่งที่สำคัญนั้น อยูที่การปฏิบัติอยางสม่ำเสมอ ใหเวลากับตัวเอง ทุกเชาหรือกอนนอน เปนเวลาที่เราจะไดอยูกับ ตัวเองอยางแทจริง
ทีนี้มาถึงประเด็นยอดฮิตจากผูเรียนคือ “ฉันหายใจผิดหรือเปลา” มีคำอธิบายดังนี้ การหาย ใจโดยสวนใหญเปนการหายใจโดยอัตโนมัติดำเนิน ไปดวยประสาทอัตโนมัติ รูปแบบการหายใจที่เกิดขึ้นในชวงหนึ่งเกิดจากการจั ดปรับตามธรรมชาติ ซึ่งหากไดลองสังเกตดูจะพบวา มนุษยเราหายใจอัตโนมัติในรูปแบบที่แตกตางกัน ตลอดเวลา ดังนั้นอยาไดกังวลไปเลย ถาเราหายใจ ผิด ปานนี้เราคงลาโลกกันไปแลว ไมไดมานั่งอาน เรื่องนี้กันอยูหรอก นอกจากนี้ ครูกวียังบอกวา สำหรับผูที่รูสึกไมคอยสบายจมูก อาจทำชลเนติได ตามความเหมาะสม พิจารณาจากรางกายของ ตนเองเปนหลักโดยสวนตัวแลวหากทำชลเนติในชวง เชาจะรูสึกโลงจมูก สัมผัสถึงลมหายใจ ที่กระทบ โพรงจมูกไดดีขึ้น และหากออกไปเผชิญ ฝุนควัน มาทั้งวัน การทำชลเนติตอนเย็น ก็ทำใหรูสึก จมูกโลง สะอาดขึ้น การทำชลเนติก็ใชน้ำอุนผสมเกลือเล็กนอย รสชาติพอปะแลมๆ ใสลงไปในกาเนติแลวคอยๆ เทน้ำจากพวยลงมา ใชแรงโนมถวงของโลกใหน้ำ คอยๆ ไหลรินเพื่อชำระลางโพรงจมูกดานหนึ่ง มายังอีกดานหนึ่ง ทำใหมีความนุมนวลกวาการ ใชไซริงคแบบที่เคยใชสมัยกอน พอไดจดจอกับสาย น้ำ อยูกับตัวเอง ทำใหจิตใจพลอยสงบไปดวย ที่สำคัญ หลังทำชลเนติอยาลืมขับน้ำ ที่คั่งคางอยู ในโพรงจมูกออกดวยกปาลภาติ จากนั้นอาจพัก ในทาจระเข หากมีน้ำหลงเหลือน้ำจะคอยๆ หยดลง มาในทาจระเข ทีนี้เขาใจวาหลายๆ คนคงฝกปราณกันมา แลว เลยอยากขอแบงปนชุด ของการฝกที่พวกเรา ฝก กอนจบคาย ซึ่งพอฝกแลวรูสึกผอนคลาย สงบ นิ่ง สบาย โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. หายใจดวยหนาทอง หายใจเขา 3 วินาที หายใจออก6วินาที(อัตราสวน 1:2 )จำนวน10รอบ 2. กปาลภาติ ถาเพิ่งเริ่มตนใหทำที่ 30, 60 หากชำนาญแลวทำไมเกิน 120 รอบตอ1นาที พักหนึ่งนาทีตอหนึ่งรอบจำนวน 3 รอบ 3. หายใจดวยทรวงอกหายใจเขา 5 วินาที หายใจออก 8-10วินาที(อัตราสวน 1:2)จำนวน 10 รอบ
ÊÒÃѵ¶Ð “ ตราบที่ยังหายใจ จิตก็ยังคงกระเพื่อม เมื่อลมหายใจหยุด จิตก็นิ่ง โยคีก็เขาสูความนิ่ง อยางแทจริง” ตำราหฐประทีปกา บทที่ ๒โศลกที่ ๒
4. อนุโลมวิโลมหายใจเขา 5 วินาทีหายใจออก 10 วินาที(อัตราสวน 1:2 )จำนวน10 รอบ 5. พักในทาศพสักครู 6. ขยับลุกขึ้นมาในอิริยาบทนั่งเพื่อ ฝกอุชชายี หายใจเขา 5วินาทีหายใจออก10 วินาที(อัตราสวน 1:2 )จำนวน 5 รอบ 7. นั่งสมาธิตอ5-10 นาที สำหรับผูที่สนใจคอรสปราณก็ติดตามทางโยคะ สารัตถะ ทางเว็บไซตหรือเฟสบุคของสถาบัน โยคะวิชาการ หากมีจัดขึ้นอีกจะแจงใหทราบ แนนอนคะ หรือจะโทรมาลงชื่อแจงความจำนง ไวที่สถาบันกอนก็ได หรือหากตองการอานเพิ่มเติม เกี่ยวกับปราณายามะ เตยขอแนะนำหนังสือ โยคะบำบัด โยคะกับการพัฒนามนุษยกับศาสตรและศิลปแหง โยคะ ที่กลาวถึงปราณายามะไดอยางละเอียด อางอิงตำราดั้งเดิม มีภาพประกอบเพื่อเสริม ความเขาใจ และขอมูลทางวิทยาศาสตร ทำใหเรา เขาใจโยคะไดลึกซึ้งยิ่งขึ้น หาซื้อไดที่สถาบันโยคะ วิชาการนะคะ วันนี้ก็ขอลากันไปเพียงแตเทานี้ หวังวาผูอานจะลองไปฝกกันดู ไดผลเปนอยางไร ชวยมาเลาใหฟงกันดวยนะคะ เตยเองคะ
14
¾ÃÐäµÃ» ® ¡ àÅ‹ Á ·Õ ่ òò ¾ÃÐÊØ µ µÑ ¹ µ» ® ¡ àÅ‹ Á ·Õ ่ ñôÍÑ § ¤Ø µ µÃ¹Ô ¡ Ò »˜ Þ ¨¡-©Ñ ¡ ¡¹Ô º Òµ ÷. °Ò¹ÊÙ µ Ã
[๕๗]ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฐานะ ๕ ประการนี้ อันสตรี บุรุษ คฤหัสถหรือบรรพชิตควร พิจารณาเนืองๆ ๕ ประการเปนไฉน คือ สตรี บุรุษ คฤหัสถหรือบรรพชิต ควรพิจารณาเนืองๆ วา เรามีความแกเปนธรรมดา ไมลวงพนความแกไปได ๑ เรามีความเจ็บไข เปนธรรมดา ไมลวงพนความเจ็บไขไปได ๑เรามีความตายเปนธรรมดา ไมลวงพนความตาย ไปได ๑ เราจะตองพลัดพรากจากของรัก ของชอบใจทั้งสิ้น ๑ เรามีกรรมเปนของตน เปน ทายาทแหงกรรม มีกรรมเปนกำเนิด มีกรรมเปน เผาพันธุ มีกรรมเปนที่พึ่ง จักทำกรรมใด ดีก็ตาม ชั่วก็ตาม เราจะเปนผูรับผลของกรรมนั้น ๑ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะอาศัยอำนาจประโยชนอะไร สตรี บุรุษ คฤหัสถหรือบรรพชิต จึงควรพิจารณาเนืองๆ
15
http://pinterest.com/pin/155092780890228461/
ÊÒÃѵ¶Ð
¾ÃÐäµÃ» ® ¡á¡‹ ¹ ¸ÃÁ
วา เรามีความแกเปนธรรมดา ไมลวงพนความแก ไปได ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความมัวเมาในความเปน หนุมสาวมีอยูแกสัตวทั้งหลาย ซึ่งเปนเหตุใหสัตว ทั้งหลายประพฤติทุจริตดวยกาย วาจา ใจ เมื่อเขา พิจารณาฐานะนั้นอยูเนืองๆ ยอมละความมัวเมา ในความเปนหนุมสาวนั้นไดโดยสิ้นเชิง หรือทำให เบาบางลงได ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะอาศัย อำนาจประโยชนนี้แล สตรี บุรุษ คฤหัสถ หรือ บรรพชิต จึงควรพิจารณาเนืองๆ วา เรามีความแก เปนธรรมดา ไมลวงพนความแกไปได ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะอาศัยอำนาจ ประโยชนอะไร สตรี บุรุษ คฤหัสถหรือบรรพชิต จึงควรพิจารณาเนืองๆ วา เรามีความเจ็บไข เปนธรรมดา ไมลวงพนความเจ็บไขไปได ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความมัวเมาในความ ไมมีโรคมีอยูแกสัตวทั้งหลาย ซึ่งเปนเหตุให สัตวทั้งหลาย ประพฤติทุจริตดวยกายวาจาใจ เมื่อ เขาพิจารณาฐานะนั้นอยูเนืองๆ ยอมละความมัวเมา ในความไมมีโรคนั้นไดโดยสิ้นเชิง หรือทำใหเบา บางลงได ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะอาศัยอำนาจ ประโยชนนี้แล สตรี บุรุษ คฤหัสถ หรือบรรพชิต จึงควรพิจารณาเนืองๆ วา เรามีความเจ็บไข เปนธรรมดา ไมลวงพนความเจ็บไปได ฯ
ÊÒÃѵ¶Ð ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะอาศัยอำนาจประโยชนอะไร สตรี บุรุษ คฤหัสถหรือบรรพชิต จึงควรพิจารณาเนืองๆ วา เรามีความตายเปนธรรมดาไมลวงพนความตายไป ได ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความมัวเมาในชีวิตมีอยูแกสัตวทั้งหลาย ซึ่งเปนเหตุ ใหสัตวทั้งหลายประพฤติทุจริตดวยกาย วาจา ใจ เมื่อเขาพิจารณาฐานะนั้นอยูเนืองๆ ยอมละความ มัวเมาในชีวิตนั้นไดโดยสิ้นเชิง หรือทำใหเบาบาง ลงได ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะอาศัยอำนาจ ประโยชนนี้แล สตรี บุรุษ คฤหัสถหรือบรรพชิต จึงควรพิจารณาเนืองๆ วาเรามีความตายเปน ธรรมดา ไมลวงพนความตายไปได ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะอาศัยอำนาจประโยชนอะไร สตรี บุรุษ คฤหัสถหรือบรรพชิต จึงควรพิจารณาเนืองๆ วา เราจะตองพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความพอใจ ความรักใครในของรักมีอยูแกสัตวทั้งหลาย ซึ่งเปนเหตุใหสัตวทั้งหลายประพฤติทุจริตดวยกาย วาจา ใจ เมื่อเขาพิจารณาฐานะนั้นอยูเนืองๆ ยอมละความพอใจ ความรักใครนั้นไดโดยสิ้นเชิงหรือทำใหเบาบางลงได ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะอาศัยอำนาจประโยชนนี้แลสตรี บุรุษ คฤหัสถ หรือบรรพชิต จึงควรพิจารณาเนืองๆ วา เราจะตองพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะอาศัยอำนาจประโยชนอะไร สตรี บุรุษ คฤหัสถหรือบรรพชิต จึงควรพิจารณาเนืองๆ วา เรามีกรรมเปนของตน เปนทายาทแหงกรรม มีกรรมเปนกำเนิด มีกรรมเปนเผาพันธุ มีกรรม เปนที่พึ่ง จักทำกรรมใดดีก็ตาม ชั่วก็ตาม เราจัก เปนผูรับผลของกรรมนั้น
ดูกรภิกษุทั้งหลาย กายทุจริตวจีทุจริต มโนทุจริต มีอยูแกสัตวทั้งหลาย เมื่อเขาพิจารณา ฐานะนั้นอยูเนืองๆยอมละทุจริตไดโดยสิ้นเชิง หรือทำใหเบาบางลงได ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะอาศัยอำนาจ ประโยชน นี้แล สตรี บุรุษ คฤหัสถ หรือบรรพชิต จึงควรพิจารณาเนืองๆ วา เรามีกรรมเปนของตน เปนทายาทแหงกรรม มีกรรมเปนกำเนิดมีกรรม เปนเผาพันธุ มีกรรมเปนที่พึ่ง จักทำกรรมใด ดีก็ตาม ชั่วก็ตามเราจักเปนผูรับผลของกรรมนั้น ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกนั้นยอม พิจารณาเห็น ดังนี้วา ไมใชเราแตผูเดียว เทานั้นที่มีความแกเปนธรรมดา ไมลวงพนความ แกไปได โดยที่แท สัตวทั้งปวงบรรดาที่มีการมา การไป การจุติ การอุบัติ ลวนมีความแกเปน ธรรมดาไมลวงพนความแกไปได เมื่ออริยสาวก นั้นพิจารณาฐานะนั้นอยูเนืองๆ มรรคยอมเกิดขึ้น อริยสาวกนั้นยอมเสพ อบรม ทำใหมากซึ่งมรรคนั้น เมื่อเสพอบรม ทำใหมากซึ่งมรรคนั้นอยู ยอมละสังโยชนได อนุสัยยอมสิ้นไป อริยสาวก นั้น ยอมพิจารณาเห็นดังนี้วา ไมใชเราแตผูเดียวเทานั้น ที่มีความเจ็บไขเปน ธรรมดา ไมลวงพนความเจ็บไขไปได โดยที่แท สัตวทั้งปวงบรรดาที่มีการมาการไป การจุติ การอุบัติ ลวนมีความเจ็บไขเปนธรรมดา ไมลวงพนความเจ็บไขไปได เมื่ออริยสาวกนั้น พิจารณาฐานะนั้นอยูเนืองๆ มรรคยอมเกิดขึ้น อริยสาวกนั้นยอมเสพ อบรม ทำใหมากซึ่งมรรคนั้น เมื่อเสพ อบรม ทำใหมากซึ่งมรรคนั้นอยู ยอมละสังโยชนได อนุสัยยอมสิ้นไป อริยสาวกนั้นยอมพิจารณาเห็นดังนี้วา ไมใชเราแตผูเดียวเทานั้นที่มีความตายเปนธรรมดา ไมลวงพนความตายไปได โดยที่แท สัตวทั้งปวง บรรดาที่มีการมา การไป การจุติ การอุบัติ ลวนมีความตายเปนธรรมดา ไมลวงพนความตาย ไปได เมื่ออริยสาวกนั้นพิจารณาฐานะนั้นอยูเนืองๆ มรรคยอมเกิดขึ้น อริยสาวกนั้น ยอมเสพ อบรม
16
ÊÒÃѵ¶Ð
http://cafemarocchino.org/post/36645336208
17
ทำใหมากซึ่งมรรคนั้น เมื่อเสพ อบรม ทำใหมากซึ่งมรรคนั้นอยู ยอมละสังโยชนได อนุสัยยอมสิ้นไป อริยสาวกนั้นยอมพิจารณาเห็นดังนี้วา ไมใชเราแตผูเดียวเทานั้นที่จะตองพลัดพรากจากขอ งรักของชอบใจทั้งสิ้น โดยที่แท สัตวทั้งปวงบรรดา ที่มีการมา การไป การจุติ การอุบัติ ลวนจะตอง พลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น เมื่อ อริยสาวกนั้นพิจารณาฐานะนั้นอยูเนืองๆ มรรค ยอมเกิดขึ้นอริยสาวกนั้นยอมเสพ อบรม ทำใหมากซึ่งมรรคนั้น เมื่อเสพ อบรม ทำใหมาก ซึ่งมรรคนั้นอยู ยอมละสังโยชนได อนุสัยยอมสิ้นไป อริยสาวกนั้นยอมพิจารณาเห็นดังนี้วา ไมใชเรา แตผูเดียวเทานั้นที่มีกรรมเปนของตน เปนทายาท แหงกรรม มีกรรมเปนกำเนิด มีกรรมเปนเผาพันธุ มีกรรมเปนที่พึ่ง จักทำกรรมใดดีก็ตาม ชั่วก็ตาม เราจักเปนผูรับผลของกรรมนั้น โดยที่แท สัตวทั้ง ปวงบรรดาที่มีการมา การไป การจุติ การอุบัติ ลวนมีกรรมเปนของตน เปนทายาทแหงกรรม มีกรรมเปนกำเนิด มีกรรมเปนเผาพันธุ มีกรรม เปนที่พึ่ง จักทำกรรมใดดีก็ตาม ชั่วก็ตาม จักเปนผูรับผลของกรรมนั้น เมื่ออริยสาวก นั้นพิจารณาฐานะนั้นอยูเนืองๆ มรรคยอมเกิดขึ้น อริยสาวกนั้นยอมเสพ อบรม ทำใหมากซึ่งมรรคนั้น เมื่อเสพ อบรม ทำใหมากซึ่งมรรคนั้นอยู ยอมละ สังโยชนได อนุสัยยอมสิ้นไป ฯ สัตวทั้งหลาย ยอมมีความแกเปนธรรมดา มีความเจ็บไขเปนธรรมดา มีความตายเปนธรรมดา สัตวทั้งหลายยอมเปนไปตามธรรมดา พวกปุถุชน ยอมเกลียด ถาเราพึงเกลียดธรรมนั้น ในพวกสัตว ผูมีอยางนั้นเปนธรรมดา ขอนั้นไมสมควรแกเรา ผูเปนอยูอยางนี้ เรานั้นเปนอยูอยางนี้ ทราบ ธรรมที่หาอุปธิมิได เห็นการออกบวชโดยเปนธรรม เกษมครอบงำความมัวเมาทั้งปวงในความไมมีโรค ในความเปนหนุมสาว และในชีวิต ความอุตสาหะ ไดมีแลว แกเราผูเห็นเฉพาะซึ่งนิพพาน บัดนี้ เราไมควรเพื่อเสพกามทั้งหลายจักเปนผูประพฤติไม ถอยหลัง ตั้งหนาประพฤติพรหมจรรย ฯ จบสูตรที่ ๗
µÓÃÒâÂ¤Ð´Ñ ้ § à´Ô Á
ÊÒÃѵ¶Ð
http://pinterest.com/pin/155092780890228582/
ÂÁÐ õ : ¡ÒÃ¾Ñ ² ¹ÒÊÀÒÇÐ¨Ô µ ´Œ Ò ¹ã¹ (µÍ¹·Õ ่ ò) ตอนที่แลวพูดถึงโยคสูตรประโยคที่ ๒:๓๐ (ตอนแรก) ซึ่งอธิบายถึงยมะ ๔ ขอแรก คือ อหิงสา (ไมเบียดเบียนทำรายสิ่งใด) สัตยะ (ความจริงในทุกมิติของชีวิต) อสเตยะ (ไมลักขโมย คือ ไมครอบครองสิ่งใดอันเรามิไดเปนเจาของ) พรหมจรรยะ (ชีวิตที่มีการฝกฝนใหควบคุมตนเองโดยเฉพาะเรื่อง ทางเพศ) การปฏิบัติยมะไมไดมีวัตถุประสงคหลักเพื่อสรางสัง คมที่มีระเบียบวินัยอันดี แตยมะเหลานี้ชวยสรางสภาวะอันสงบสุขทางจิตใจ ซึ่งเปนพื้นฐานขั้นแรกสำหรับการฝกโยคะ การทำผิดยมะใดก็ตามเปนสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงโดย ตรงเพราะจะสรางผลทางลบใหจิตใจและนำไปสูการ รบกวนจิตใจได ทำใหการฝกโยคะเปนไปดวย ความยากลำบากและไมประสบผลสำเร็จ การฝกยมะควรจะกระทำทั้ง 3 ระดับคือ ทางกาย ทางวาจา และทางใจ ถึงเราจะไมไดกระทำผิดยมะ ในทางกายและวาจา
แตแคคิดวาจะทำผิดยมะทางใจก็ถือวาเปนการ ละเมิดยมะแลว สวนใจความตอนที่สองของประโยคเดิมนี้กลาวถึง ยมะขอพรหมจรรยะตออีกวา ในชีวิตของการฝกฝนวินัยตอตนเองเชนนี้การ ควบคุมกิจกรรมทางเพศอยางเหมาะสมถือเปนเรื่อง ที่สำคัญมาก กิจกรรมทางเพศเปนแรงขับอันทรงพลังมากใน กิจกรรมตางๆ ของสิ่งมีชีวิต และก็เปนกิจกรรมที่สำคัญมากอยางหนึ่งของชีวิต ดวย หากปราศจากกิจกรรมทางเพศแลว การสืบตอหรือ ดำรงเผาพันธุก็ไมอาจจะเกิดขึ้นได ดังนั้นโดยพื้นฐานแลวกิจกรรมทางเพศจึงไมใชสิ่งที่ ควรถูกคัดคานหรือถูกประณามไปเสียทั้งหมด การอธิบายพรหมจรรยะอยางงายๆ วาเปนการควบคุมหรือละเวนจากกิจกรรมทางเพศ จึงไมถูกตอง ยิ่งกวานั้นแมแตในความกาวหนาและ การเขาถึงทางจิตวิญญาณขั้นสูงกิจกรรมทางเพศ อาจจะไมไดเปน อุปสรรคเสมอไป ในเรื่องนี้มีหลักฐานจากขอเท็จจริงวาในทุกๆ
18
ÊÒÃѵ¶Ð วัฒนธรรมของโลกมีบุคคลตัวอยางจำนวนมากที่มี ความกาวหนาทางจิตวิญญาณขั้นสูงมากและยังคงมี ชีวิตสมรสที่นารื่นรมยโดยมีความเปนไปไดวาสวน ใหญมีกิจกรรมทางเพศรวมอยูดวย แมแตในแวดวงของโยคะ(อินเดีย) ชื่อของบุคคลในกลุมนี้ก็ผุดขึ้นมาในใจไดโดยไมยาก เย็นนัก ไดแก โยเคศวรศรีกฤษณะ โยเคศวรอาทินาถ หรือมหาเทวะศังกระ โยคีวศิษฐะ โยคียาชญวัลกยะ และคนอื่นๆ อีกมาก การละเวนกิจกรรมทางเพศอยางสมบูรณอาจเปนสิ่ง จำเปนสำหรับผูฝกโยคะ ณ ระดับหนึ่งบนเสนทาง พัฒนาจิตวิญญาณของเขา แตอาจจะไมใช สิ่งจำเปนที่จะตองมีตลอดเวลาแมวาจะเปนเรื่องของ การพัฒนาจิตวิญญาณก็ตาม เมื่อผูฝกกาวหนาถึงขั้นหนึ่งแลว สวนใหญเปนไปไดวาแรงกระตุนเพื่อกิจกรรมทาง เพศจากภายในจะหายไปโดยอัตโนมัติ หรืออยางนอยที่สุดก็ลดนอยลงหากเขาปฏิบัติตาม หนทางของโยคะอยางเปนระบบและตามหลัก วิทยาศาสตรอยางถูกตอง ดังนั้นกิจกรรมทางเพศจะถูกควบคุมอยูในขอบเขตที่ จำเปนและในบางกรณีอาจหมดไปอยางสมบูรณ ในทางตรงกันขามหากแรงกระตุนภายในยังมีอยูมา กและบุคคลนั้นพยายามบังคับตัวเองใหละเวนจาก ความสุขทางเพศ เพียงเพราะวาเขาเคยไดยินวากิจกรรมทางเพศเปน สิ่งที่ไมพึงปรารถนาและเปนอุปสรรคขวางกั้นการ พัฒนาทางจิตวิญญาณ การควบคุมบังคับเชนนั้นอาจจะมีผลกระทบที่เปน อันตรายอยางมากตอเขาได มีกรณีตัวอยางที่การพยายามบังคับใหละเวน กิจกรรมทางเพศถึงกับนำไปสูความแปรปรวนทาง บุคลิกภาพโดยรวมได มันอาจจะนำไปสูความผิดปกติทางจิตใจและอาจ ถึงขนาดนำไปสูความวิกลจริตได ดังนั้นการควบคุมกิจกรรมทางเพศในพรหมจรรยะ นี้ควรจะกระทำในลักษณะที่เหมาะสมและรอบคอบ เพื่อ
19
ที่จะหลีกเลี่ยงผลที่เปนอันตรายดังกลาว ในเรื่องพรหมจรรยะนั้นการเตรียมจิตใจเพื่อทำให แรงกระตุนหรือความตองการทางเพศลดนอยลงนับ เปนสิ่งสำคัญยิ่งกวาการบังคับตนเองใหละเวนจาก กิจกรรมทางเพศในขณะที่แรงกระตุนภายในยังคงมี อยู ขอความจากคีตา(1) ตอไปนี้เกี่ยวของกับความสุขของสิ่งตางๆ (วิษยะ) โดยอาศัยความรูสึกและอวัยวะ (กรรเมนทรีย)(2) ซึ่งโดยทั่วไปแลวสามารถประยุกตใชกับเรื่องความ สุขทางเพศไดอยางเหมาะเจาะมาก “กรรเมนทริยาณิ สังยัมยะ ยะ อาสเต มนสาสมรัน I อินทริยารถาน-วิมูธาตมา มิถยาจาระ สะ อุจยเต”II (B.G. ๓: ๖) แปลวา คนหลอกตัวเองที่ไมสามารถเขาใจ ไดอยางถูกตอง แลวไปควบคุมบังคับอวัยวะแหงการกระทำ (กรรเมนทรีย) แตยังมีจิตใจที่คิดฝกใฝถึงความสุขจากการกระทำ เหลานั้น กลาวไดวานี่เปนสิ่งที่ผิด เปนพฤติกรรมที่ไมถูกตอง ผูฝกโยคะแตละคนควรจะหลีกเลี่ยงกิจกรรมทางเพศ มากนอยเพียงใดนั้นครูที่ดีสามารถใหคำแนะนำได หรือหากผูฝกมีความจริงใจที่จะตระเตรียมความ พรอมของจิตใจของเขาเพื่อการควบคุมตนเองยอม จะเปนสิ่งที่ดีกวา 1 มาจากภควัทคีตา เปนชื่อคัมภีรศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาฮินดูโดยเฉพาะสำหรับนิกาย ไวษณพหรือผูที่ยกยองพระวิษณุ (พระนารายณ) เปนพระเจาสูงสุด ชื่อคัมภีร ภควัทคีตา (ภควตฺ + คีตา)แปลวา "บทเพลง (หรือลำนำ) แหงพระผูเปนเจา" นำเรื่องราวสวนหนึ่งมาจากมหากาพยมหาภารตะประกอบดวยบท กวี ๗๐๐บท (ที่มา: เว็บไซทวิกิพีเดีย) 2 กรรเมนทรีย คือ อวัยวะแหงการกระทำ (action organs) มี ๕ อยางคือ ปาก มือ เทา ทวาร และอวัยวะสืบพันธุ (สุนทร, น.๒๒๕)
ÊÒÃѵ¶Ð แแรงขับทางเพศนี้เปนพลังที่มาบั่นทอนและรบกวน อยางมากมิใชเฉพาะตอผูที่ฝกฝนทางจิตวิญญาณ เทานั้นแตรวมไปถึงผูที่ตองการบรรลุความสำเร็จ ทาง โลกในระดับสูงดวย ดังนั้นความจำเปนที่ตองควบคุมพลังทางเพศนี้จึง เปนเรื่องสากลซึ่งไดรับการยอมรับจากคนในสังคม ทั่ว ไปโดยปริยาย สำหรับผูฝกฝนทางจิตวิญญาณแลวการควบคุมพลัง ทางเพศนี้จึงเปนสิ่งที่สำคัญที่สุดอยางมิตองสงสัย หากผูปฏิบัติจะฝกฝนเรื่องนี้อยางถึงที่สุดและเขา เพียรพยายามอยางตั้งใจจริงที่จะบรรลุถึงการ ควบคุมพลังทางเพศแลว การควบคุมทางเพศอันเหมาะสมของเขา(ซึ่งเปนสิ่ง จำเปนสำหรับความกาวหนาทางจิตวิญญาณ) ก็จะดำเนินไปดวยตัวเขาเองอยางเต็มใจและเปน ธรรมชาติ อรรถกถาจารยของโยคสูตร เลมนี้มีความเห็นที่หนักแนนวา ความจำเปนในการควบคุมตนเองเชนนี้เพื่อใหเกิด ความกาวหนาอยางแทจริงบนหนทางแหงโยคะจะ กลายเปนเรื่องที่ฝกไดงายและดำเนินไปอยางเปน ธรรมชาติหากผูฝกเขาใจในหลักการและเปาหมายที่ อยูเบื้องหลังของการควบคุมตนเองเชนนั้นและ พยายามฝกมันดวยความจริงใจ ควบคูไปกับการฝกอัษฏางคโยคะอยางเขมขน จริงใจ และสม่ำเสมอ มากเทาที่ทำไดตามเงื่อนไขแวดลอมของตัวเขา ในประโยคที่ ๒:๑ และ ๒:๒ ไดมีการชี้ชัดใหเห็นแลววา การฝกยมะกลายเปนตัวชวยยิ่งขึ้น กิเลสจะยิ่งนอยลงออนลง และวิธีที่มีประสิทธิผลมากที่สุดในการทำใหกิเลส ออนกำลังลง(กเลศะ-ตนูกรณะ) ก็คือ การฝกกริยาโยคะ(3) ยมะและนิยมะเปนมรรคลำดับแรกและลำดับที่สอง ของอัษฏางคโยคะ ขณะที่อาสนะและปราณายามะ เปนลำดับที่สามและสี่ และบอยครั้งที่มีความเห็นวา มรรคสองลำดับหลังนี้ควรจะไดรับการฝกหลังจากที่ ฝกมรรคสองลำดับ แรกจนชำนาญเพียงพอแลว
แตมีขอเท็จจริงอยางหนึ่งที่ถูกมองขามไปบอยๆ ก็คือ การฝกอาสนะและปราณายามะ อยางเขมขนและจริงใจมีสวนชวยลดแรงกระตุนของ กิเลสที่ทำใหผูฝกละเมิดกฎของยมะได แนนอนวาเรื่องนี้สามารถสังเกตเห็นไดอยางชัดเจน มากกวาในอาสนะและปราณายามะของหฐโยคะ แตมันก็เปนจริงพอๆ กันสำหรับอาสนะและปราณายามะของปตัญชลี(4) ดวย ดังนั้นจึงรวมไปถึงการฝกมรรคลำดับอื่นๆ อยางสม่ำเสมอดวย นั่นคือ ปรัตยาหาระ ธารณา ธยานะ และสมาธิซึ่งจะชวยหรือเปนประโยชน ตอการปฏิบัติตามกฎของยมะ ถึงแมวาในตอนตนการฝกมรรคเหลานี้ของผูปฏิบัติ จะยังไมสมบูรณนักก็ตาม แตอยางนอยมรรคเหลานี้ก็ไมไดมีคุณคาเพียงแค ชื่อเทานั้นหากยังมีคุณคาในทางปฏิบัติดวย จะวาไปแลวการละเวนจากกิจกรรมทางเพศทางการ กระทำทางกายนั้นยังไมถือเปนการประพฤติปฏิบัติ ตามหลักพรหมจรรยะทั้งหมด ซึ่งนอกจากจะเปนอันตรายอยางรุนแรงแลวการ ทำเชนนี้ก็ยังไมใชเปาประสงคที่แทจริง(ของโยคะ) อีกดวย เพราะจิตยังคงมีการนึกคิดหรือ มีการปลอยใจไปกับความคิดเรื่องทางเพศซึ่งจะเปน สาเหตุที่แทจริงที่รบกวนสภาวะดานในและเปนการ ละเมิดยมะขอพรหมจรรยะอยางมากที่สุดของผูฝก โยคะ ยมะเปนการฝกควบคุมตนเอง การควบคุมกิจกรรมของคนๆ หนึ่งเพียงทางรางกายเปนเรื่องที่สำคัญเปนลำดับ รองเทานั้น
20
ÊÒÃѵ¶Ð สิ่งที่สำคัญยิ่งกวาและถือเปนการประพฤติปฏิบัติ ยมะอยางแทจริงคือ(การควบคุม)ทางจิตใจ ตัวอยางนักโทษผูหนึ่งอาจจะตองละเวนจากกิจกรรม ทางเพศอยางหลีกเลี่ยงไมได แตเขาอาจจะกำลังปลอยใจใหคิดถึงในเรื่องทางเพศ ซึ่งในกรณีเชนนี้ไมอาจนับวาเขาไดประพฤติตาม หลักพรหมจรรยะ ดังนั้นพรหมจรรยะตองไดรับการฝกทั้งสามระดับ ดวยกันคือ รางกาย วาจา และจิตใจ โดยทางใจนั้นเปนเรื่องที่สำคัญที่สุด เอกสารอางอิง :
photo : http://www.pinterest.com
๑) สุนทร ณ รังษี, (๒๕๓๐). ปรัชญาอินเดีย : ประวัติและลัทธิ. (พิมพครั้งที่ ๑). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, น.๒๒๕. ๒) Karambelkar, P. V. (1986).PATANJALA YOGA SUTRAS Sanskrta Sutras with Transliteration, Translation & Commentary.Lonavla :Kaivalyadhama, p. 243-246. ๓)http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8 %84%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%97%E0% B8%84%E0%B8%B5%E0%B8%95%E0%B8%B2
21
3 กริยาโยคะ คือ การฝกนิยมะในขอ ตปส สวาธยายะ และอิศวรประณิธานะ (ผูแปล) 4 การฝกอาสนะและปราณายามะของหฐโยคะ มีเทคนิคการฝกที่หลากหลายเขมขนเปนรูปธรรมชัดเจนเมื่อเทียบ กับของปตัญชลีโยคสูตรที่บอกถึงความหมาย หลักและวิธีการฝก รวมถึงผลที่ไดรับจากการฝก แตไมไดมีเทคนิคการฝกที่หลากหลาย ในแงนี้การฝกอาสนะและปราณายามะของหฐโยคะจึงเปนไปไดวาผู ฝกอาจจะปฏิบัติไดงายกวาและสามารถสังเกตเห็นผลที่มีตอการ ควบคุมพฤติกรรมตนเองตามกฎยมะไดชัดเจนกวา (ผูแปล)
ÊÒÃѵ¶Ð
ฉันปลูกไมบางดอกไวแลวในหัวใจ บ า ง วั น ก็ ส ด ใ ส บ า ง วั น ก็ ร ว ง โ ร ย ฉันเพียงเฝามองความเปนไปของมัน เพราะรูวาความเปลี่ยนแปลงเหลานั้น เ ป น เ รื่ อ ง ธ ร ร ม ด า อนัตตา
22
ÊÒÃѵ¶Ð
ฉันรู ฉั น รู . . อีกไมนานโลกจะเรียกเธอในนามของสิ่งสวยงาม แมยากแกการจับตอง ฉั น รู . . ขอบฟาที่เห็น, อีกไมนานเธอจะยึดครอง ดวยปกเสรีนี้ที่บอบบางนัก ฉั น รู . . อีกไมนานเหลาดอกไมจะรัก และพรอมเบงบานตอนรับเธอ ในทุกๆ ที่ที่เธอบินไป ฉั น รู . . แมดูหยิ่งยโสเพียงใด แตเธอมีสิทธิ์อันชอบธรรม เมื่อนึกถึงวันขางหนา ฉั น รู . . ฉั น รู เธอเฝาฝนที่จะลืมตา ตื่นจากความจริง แ ต เ ธ อ เ อ ย รู ไ ห ม โลกซอนอะไรไวภายใตบางสิ่ง เปลือกที่ไมนาปรารถนาอาจนำพาเธอไปสูความจริง วากอนจะกลายเปนผีเสื้อแสนสวยไดนั้น เธอตองผานชีวิตในรูปแบบของหนอนใหไดเสียกอน
อนัตตา
23
ÊÒÃѵ¶Ð
à´× Í ¹ ÁÕ ¹ Ò¤Á 2556 ÁÕ ¼ Ù Œ º ÃÔ ¨ Ò¤Ê¹Ñ º Ê¹Ø ¹ ¡Ò÷ӧҹ¢Í§Ê¶ÒºÑ ¹ Ï ´Ñ § ¹Õ ้ ครู ธ ี ร ิ น ทร อุ ช ชิ น (ครู เ ปา T7) ครู ว ิ ไ ล กรศึ ก ษา (ครู ไ นท T 12) สอนที ่ ส วนโมกข (27/2/56) เงิ น สมทบกิ จ กรรมโยคะในสวนธรรม 27/2/56 ครู ส ุ ร ี ย พ ร ประยงคพั น ธุ (ครู น าย T12) ครู ู ส ุ ร ี ย พ ร ประยงคพั น ธุ (ครู น ายT12) สอนที ่ ส วนโมกข (6/3/56) เงิ น สมทบกิ จ กรรมโยคะในสวนธรรม 6/3/56 เงิ น สมทบกิ จ กรรมโยคะในสวนธรรม 7/3/56 ครู ว รพจน คงผาสุ ข (ครู เ บนซ ) สอนที ่ ส วนโมกข (14/3/56) เงิ น สมทบกิ จ กรรมโยคะในสวนธรรม 14/3/56 เงิ น สมทบกิ จ กรรมจิ ต สิ ก ขา เดื อ น มี . ค. จากตู บ ริ จ าค ในสำนั ก งาน
24
ÃÇÁ
1,500 200 610 500 200 700 360 200 1,190 300 2,000 7,750
ÊÒÃѵ¶Ð
ÂÔ ¹ ´Õ Ã Ñ º ¡ÒÃÊ¹Ñ º Ê¹Ø ¹ : สถาบั น โยคะวิ ช าการดำเนิ น การโดยได ร ั บ การสนั บ สนุ น บางส ว นจากมู ล นิ ธ ิ ห มอชาวบ า น มี ร ายได จ ากค า ลงทะเบี ย นกิ จ กรรม มี ร ายได จ ากการจำหน า ยผลิ ต ภั ณ ฑ ต า งๆ นอกจากนั ้ น สถาบั น ฯ ยั ง ยิ น ดี ร ั บ การสนั บ สนุ น จากผู ส นใจร ว มเผยแพร เพื ่ อ นำเงิ น มาใช ด ำเนิ น การให บ รรลุ ว ั ต ถุ ป ระสงค ต ามที ่ ต ั ้ ง ไว สนั บ สนุ น ผ า นบั ญ ชี : ธนาคารไทยพาณิ ช ย บั ญ ชี อ อมทรั พ ย ชื ่ อ บั ญ ชี มู ล นิ ธ ิ ห มอชาวบ า น (สถาบั น โยคะวิ ช าการ) เลขที ่ บ ั ญ ชี 173-232-9491 สาขา The Mall 3 รามคำแหง
25
Ê¶ÒºÑ ¹ â¤ÐÇÔ ª Ò¡Òà ÁÙ Å ¹Ô ¸ Ô Ë ÁͪÒǺŒ Ò ¹ 201 «ÍÂÃÒÁ¤Óá˧ 36/1 ºÒ§¡Ð» ¡·Á.10240 â·ÃÈÑ ¾ · 02 732 2016-7, 081 401 7744 â·ÃÊÒà 02 732 2811 ÍÕ à ÁÅ yoga.thaiyga@gmail.com àÇ็ º ä«· www.thaiyogainstitute.com