โยคะสารัตถะ เดือนธันวาคม 2554

Page 1

วิถชี วี ติ เพือ่ สุขภาวะ

จดหมายข่าว

www.thaiyogainstitute.com คุยกันก่อน ปฏิทนิ กิจกรรม กิจกรรมของเครือข่าย คุณถาม เราตอบ คุณถาม เราตอบ 2 จากเพือ่ นครู จากเพือ่ นครู 2 แนะนําหนังสือ แนะนําหนังสือ 2 พระไตรปิฎกแก่นธรรม เล้งเล่าเรือ่ ง ตําราดัง้ เดิม

ไปเรียนโยคะทีอ่ นิ เดีย หิมาลายันโยคะสมาธิ

อายุ60+ สนใจฝึกโยคะ ท่าโยคะเฉพาะคนเป็นอัมพฤกษ์ โยคินีน้ําเน่า ด้วยคิดถึงครู บ้านก้านมะยม มรรคาแห่งชีวติ ว่าด้วยทีต่ งั ้ แห่งวิตก เรียนรูเ้ ล็กๆ เกลศะ กรรมะ สัมสการะ และกรรมาศยะ

ฉบับเดือน ธันวาคม 2554 2 2 2 4 5 6 7 7 8 9 10 11

จดหมายข่าว โยคะสารัตถะ วิถชี วี ติ เพื่อสุขภาวะ ที่ปรึกษา แก้ว วิฑรู ย์เธียร ธีรเดช อุทยั วิทยารัตน์ นพ.ยงยุทธ วงศ์ภริ มย์ศานติ ์ นพ.สมศักดิ ์ ชุณหรัศมิ ์ กองบรรณาธิ การ กวี คงภักดีพงษ์, จิรวรรณ ตัง้ จิตเมธี, จีระพร ประโยชน์วบิ ลู ย์, ชนาพร เหลืองระฆัง, ณัตฐิยา ปิ ย มหันต์, ณัฏฐ์วรดี ศิรกิ ุลภัทรศรี, ธนวัชร์ เกตน์วมิ ุต, ธีรนิ ทร์ อุชชิน, พรจันทร์ จันทนไพรวัน, รัฐธ นันท์ พิรยิ ะกุลชัย, วรรณวิภา มาลัยนวล, วัลลภา ณะนวล, วิสาขา ไผ่งาม, วีระพงษ์ ไกรวิทย์, ศันสนีย์ นิรามิษ, สมดุลย์ หมันเพี ่ ยรการ, สุจติ ฏา วิเชียร

สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธหิ มอชาวบ้าน 201 ซอยรามคําแหง 36/1 บางกะปิ กทม.10240 โทรศัพท์ 02 732 2016-7, 081 401 7744 โทรสาร 02 732 2811 อีเมล์ yogasaratta@yahoo.co.th เว็บไซท์ www.thaiyogainstitute.com

สิ่ งตีพิมพ์ news 1112 1


คุยกันก่อน พบกันเดือนธันวาคม เดือนสุดท้ายของปี ตลอดปี ท่ี จิตให้เจริญยิง่ ๆ ขึน้ ไป เคลื่อนเข้าใกล้เป้าหมาย อันได้แก่ ผ่านมานี้ เราต้องเผชิญกับเรือ่ งราว เผชิญกับภัยต่างๆ การเห็นจิตตามความเป็ นจริง ขอบคุณปี พุทธศักราชสองพัน มากมาย หวังว่าพวกเราทีส่ นใจโยคะ สนใจการพัฒนาจิต จะ ห้าร้อยห้าสิบสี่ ได้ใช้เหตุเหล่านี้ มาเป็ นเครื่องมือในการพัฒนาจิต ยกระดับ ____________________________________________________________

ปฏิทน ิ กิจกรรม โยคะอาสนะขัน้ พืน้ ฐานเพือ่ ความสุข สําหรับผูเ้ ริม่ ต้น น. ทีช่ นั ้ 6 ห้อง 262 คณะมนุษยศาสตร์ มศว ประสานมิตร เดือนธันวาคม จัดวันอาทิตย์ท่ี 18 ธ.ค. เวลา 9.00 – 15.00 ค่าลงทะเบียน 650 บาท ---------------------------------------------------------กิจกรรมจิ ตสิ กขาประจําเดือนธันวาคม งด เนื่องจากมีความ – พฤศจิกายน) มาจัดซ่อมในเดือนธันวาคมแทน ความจําเป็ นต้องเลื่อนกิจกรรมทีง่ ดไปในช่วงนํ้าท่วม (ตุลาคม --------------------------------------------------------------เสาร์ท่ี 24 ธ.ค. 10.00 – 12.00 น. โยคะในสวน โยคะในสวนธรรม ณ หอจดหมายเหตุพุทธทาส พุธที่ 21 ธ.ค. 17.00 – 18.30 น. โยคะในสวนธรรม ธรรม โดย มานิสาร์ โสมภีร์ (ครูเจีย๊ บ (2) ไม่เสียค่าใช้จา่ ย โดย สุจติ ฏา วิเชียร (ครูเจีย๊ บ) ------------------------------------------------------------สถาบันไกวัลยธรรม เมืองโลนาฟลา รัฐมหาราษฎร์ อินเดีย กายวิภาคของเทคนิคโยคะ จิตวิทยาโยคะ การสอนโยคะ ค่า เปิ ดอบรมครูโยคะ หลักสูตรประกาศนี ยบัตร ประจําปี เล่าเรียน 1,000 USD ประมาณ 31,000 บาท (รวมอาหารวัน พ.ศ. 2555 ในวันที่ 1 พฤษภาคม – 15 มิถุนายน เรียนวัน ละ 3 มือ้ + ทีพ่ กั ) ค่าตั ๋วเครื่องบินประมาณ 25,000 บาท และ จันทร์ – วันเสาร์ ตัง้ แต่ 7.00 – 17.00 น. เป็ นเวลา 5 สัปดาห์ ค่าใช้จ่ายส่วนตัวประมาณ 10,000 บาท รวม 66,000 บาท (สัปดาห์สดุ ท้ายสอบข้อเขียน และ สอบสัมภาษณ์) ปี 2555 นี้ มีครูทต่ี งั ้ ใจจะไปเรียน 1 ท่านแล้ว ขอเชิญผูส้ นใจ ภาคปฏิบตั คิ อื อาสนะ ปราณายามะพืน้ ฐาน มุทราพันธะ เรียนให้แจ้งชื่อทีส่ ถาบันฯ เราจะรวบรวมเพื่อนครูไทยทีจ่ ะไป กริยาพืน้ ฐาน ภาคทฤษฎี ได้แก่ โยคะตามตําราดัง้ เดิม โยคะ เรียนด้วยกัน และช่วยทําจดหมายแนะนําตัวจากสถาบันโยคะ กับคุณค่าทางด้านการศึกษา โยคะกับพลศึกษา สรีรวิทยา ฯ ถึง สถาบันไกวัลยธรรม -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ขณะนี้ทุกท่านทีม่ ี ไอโฟน, ไอเพด, สามารถดาวน์โหลดอ่าน คู่มือหมอชาวบ้าน ฟรี ได้แล้ว พบกับ DoctorMe แอปพลิเค ชันด้านสุขภาพบน iOS ตัวแรกของคนไทย ให้คุณรูว้ ธิ ดี แู ล

ตัวเองจากอาการเจ็บปว่ ยเบือ้ งต้นด้วยตนเอง เช่น เป็ นไข้ เจ็บคอ ปวดหัว ปวดท้อง ฯลฯ โหลดอ่านได้ทวโลก ั่ ที่ doctorme.in.th ครับ

..........................................................................................

news 1112 2


หิ มาลายันโยคะสมาธิ เชิญร่วมปฎิบตั ธิ รรมกับ ท่านสวามี เวทะ ภารตี ในบรรยากาศธรรมชาติทส่ี วนสาม พราน วันศุกร์ท่ี 3 ถึง วันอาทิตย์ท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2555 เป็ นเวลากว่า 15,000 ปี ทห่ี มิ าลายันบรรพจารย์ได้ นําทางผูแ้ สวงหาทางด้านจิตวิญญาณให้คน้ พบ “ครูผรู้ ู้ ภายใน” ของแต่ละคนซึง่ เป็ นประตูเชื่อมต่อไปยังการรูแ้ จ้ง ใน คอร์สปฎิบตั ธิ รรมนี้ ท่านจะได้เรียนรูเ้ กีย่ วกับปรัชญาอันลึกซึง้ ของการฝึกโยคะอาสนะ และความสัมพันธ์อนั ศักดิสิ์ ทธิของ ์ อาจารย์กบั ศิษย์ซง่ึ เป็ นเรื่องทีม่ มี ติ อิ นั ลึกลํ้า และได้สมั ผัสพลัง แห่งความเงียบสงบในการปฎิบตั สิ มาธิร่วมกับ: สวามี เวทะ ภารตี หนึ่งในศิษย์ทใ่ี กล้ชดิ และเป็ น เสาหลักในการเผยแพร่คาํ สอนของสวามี รามา ซึง่ ท่านได้พบ ในปี ค.ศ. 1969 สวามี เวทะ ภารตี ได้เริม่ สอนปตัญชลีโยคะ สูตรและพระเวทตัง้ แต่อายุ 9 ขวบและสามารถดึงความสนใจ ของผูฟ้ งั ไว้ได้ ด้วยความรูท้ ล่ี กึ ซึง้ ในคัมภีรโ์ บราณเหล่านี้ ในช่วง 65 ปี ทผ่ี ่านมา ท่านได้เดินไปทัวโลกเพื ่ ่อสอนการ ปฎิบตั โิ ยคะสมาธิ และนําผูค้ นเข้าสูสภาวะทีน่ ิ่งสงบภายใน ท่านสามารถนําการฝึกสมาธิได้ถงึ 17 ภาษา สวามี เวทะรัก และนับถือประเทศไทยและชาวไทยเป็ นอย่างมาก ท่านเตรียม ตัวทีจ่ ะเข้าปลีกวิเวกเป็ นเวลา 5-7 ปี โดยจะเริม่ ในปี ค.ศ. 2013 นอกจากนี้ท่านยังจะได้พบกับวิทยากรรับเชิญพิเศษ อาชูโทช ชาร์มา ผ่านการฝึกฝนด้านโยคะอาสนะ, ปราณายามะ และเทคนิคการผ่อนคลาย จากโรงเรียน หลากหลายในเมืองฤษีเกศ (Rishikesh) ประเทศอินเดีย อาชู โทชเป็ นผูเ้ ชีย่ วชาญทีส่ ามารถสอนโยคะแก่ผเู้ รียนทัง้ ในระดับ เริม่ ต้นและในระดับก้าวหน้า ในปี ค.ศ. 1992, ท่านได้พบกับ สวามี รามา และได้ถูกส่งตัวให้มาศึกษาด้านการปฎิบตั สิ มาธิ และโยคะอาสนะ ตามแนวทางของหิมาลายันโยคะสมาธิกบั สวามีเวทะ อาชูโทสได้เริม่ เดินทางไปยังประเทศต่าง ๆ ใน แถบยุโรป เอเซีย และอเมริกาตอนเหนือเพื่อสอนโยคะอาสนะ ให้แก่ผสู้ นใจตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1996 ดร. สตีเฟน พาร์คเกอร์ อาจารย์และนักจิตวิทยา บําบัดจากเมือง มินเนสโซต้า (Minnesota) ประเทศอเมริกา ด้วยประสบการณ์กว่า 26 ปี ในปี ค.ศ. 1970 สตีเฟน ได้พบ กับสวามี เวทะผูซ้ ง่ึ เป็ นแรงบันดาลใจให้ท่านแสวงหาทางด้าน จิตวิญญาณอย่างลึกซึง้ มากขึน้ โดยการฝึกปฎิบตั สิ มาธิทุกวัน สตีเฟน เป็ นครูโยคะทีข่ น้ึ ทะเบียนและได้รบั การรับรองจาก Yoga Alliance หลังจากผ่านคอร์สการฝึกถึง 500 ชม ท่านได้ เดินทางไปทัวแถบเหนื ่ อของประเทศอเมริกา และเยีย่ มเยือน news 1112 3

หลายประเทศในแถบยุโรปและเอเซียเพื่อจัดสัมนาด้านโยคะ สมาธิ และการปฏิบตั ทิ างด้านจิตวิญญาณตามแนวทางของหิ มาลายันโยคะสมาธิ อาจารย์กมั ปนาท บัวฮมบุรา ผูเ้ ชีย่ วชาญใน ศาสตร์และศิลป์แห่งการเยียวยารักษา ผ่านทางคลื่นเสียงของ คริสตัล ซิงกิง้ โบวล์ (Crystal Singing Bowl) นอกจากนี้ อาจารย์ยงั ได้อุทศิ ชีวติ ของตนเอง ในการให้ความช่วยเหลือ เด็กกําพร้าและเด็กด้อยโอกาส ผ่านโครงการบ้านทอฝนั ซึง่ ั บนั ท่านเป็ นผูก้ ่อตัง้ และดํารงตําแหน่งเป็ นผูอ้ าํ นวยการในปจจุ ครูเล็ก เอกชัย สถาพรธนพันฒน์ ครูสอนโยคะ รุ่นใหม่และนักบําบัดเยียวยา ด้วยการนําศาสตร์แห่งการรักษา ทางด้านตะวันออกหลายแขนง มาผสมผสานเข้ากับการฝึก ปฎิบตั โิ ยคะเพื่อช่วยเหลือผูป้ ว่ ยด้วยโรคร้ายแรง ครูเล็กจะนํา ท่านมาสัมผัสกับหัวใจของกิจกรรม กีรตัน (Kirtan) การขับ ร้องบทเพลงสรรเสริญสิง่ ศักดิสิ์ ทธิและสั ์ จธรรมสูงสุด ครูเก๋ รสสุคนธ์ ซันจวน หนึ่งในผูเ้ ชีย่ วชาญเรื่อง โยคะเด็กและครอบครัว ครูเก๋เป็ นผูเ้ ชื่อมันอย่ ่ างแท้จริงว่า โยคะสามารถช่วยการพัฒนาการของเด็กให้มคี ุณภาพในด้าน อารมณ์ ทัศนคติ และความสัมพันธ์ในมิตติ ่าง ๆ กับผูค้ นใน สังคม ครูเก๋ จะมาถ่ายทอดประสบการณ์โดยตรงจากการ ทํางานกับเด็กๆ หลากหลายผ่านทางศิลปะแห่งโยคะ ในราคาเพียง 4,900 บาทเท่านัน้ (ไม่รวมค่า เดินทาง) ผูส้ นใจกรุณาติดต่อ svbretreat2012@gmail.com 086-755-3869, 089-681-1078 และ 081-932-5413 สําหรับผูท้ ส่ี นใจ และอยากจะได้รบั ประโยชน์จาก คอร์ส ปฎิบตั ธิ รรมนี้อย่างจริงใจ แต่ไม่สามารถจ่ายในราคา เต็มได้ ทางเราได้รบั เงินบริจาคมาส่วนหนึ่งทีจ่ ะช่วยให้ท่าน สามารถลงทะเบียนเข้าร่วมงานได้ในราคาพิเศษที่ 1,000 บาท กรุณาแจ้งให้เจ้าหน้าทีล่ งทะเบียนทราบว่าท่านต้องการ ความช่วยเหลือพิเศษนี้ สัมผัสกับความรักและปญั ญาญาณของหิมาลายันคุรุ “มนุษย์ทุกคนคือสถาปนิกผูก้ าํ หนดชะตากรรมของตัวเอง” ตารางกิ จกรรม วันศุกร์ท่ี 3 กุมภาพันธ์ 8.45 : ออกเดินทางจากจุดนัดพบ 10.00-11.30 : ลงทะเบียน ณ สวนสามพราน 11.30-12.00 : ปฐมนิเทศน์ 12.00-13.30 : รับประทานอาหารกลางวัน (มังสวิรตั )ิ 13.30-14.00 : พัก/เช็คอินเข้าทีพ่ กั


14.00-16.00 : การฝึกนังและหายใจที ่ ถ่ ูกวิธสี าํ หรับการปฎิบตั ิ 20.30-22.00 : กีรตัน (Kirtan) – การขับร้องเพลงสรรเสริญ สมาธิ (อาชูโทช ชาร์มา) เพื่อยกระดับของจิต (ครูเล็ก เอกชัย) 16.00-16.30 : พักปิ ดวาจา และการพิจารณาไตร่ตรองส่วนตัว 22.00-22.15 : ปฎิบตั สิ มาธิสนั ้ ๆ 16.30-18.30 : ปฎิบตั สิ มาธิกบั สวามี เวทะ ภารตี วันอาทิตย์ท่ี 5 กุมภาพันธ์ 18.30-19.30 : รับประทานอาหารเย็น (มังสวิรตั )ิ – 5.30-6.00 : ตื่นนอนและธุระส่วนตัว รับประทานในความเงียบอย่างมีสติ 6.00-8.15 : โยคะอาสนะ, โยคะนิทรา และปฏิบตั สิ มาธิ 19.30-20.00 : พัก (อาบนํ้าชําระร่างกาย) 8.15-9.15 : รับประทานอาหารเช้า (มังสวิรตั )ิ 20.00-22.00 : คริสตัล ซิงกิง้ โบวล์ – การเยียวยาผ่านคลื่น 9.15-9.45 : พัก (เก็บสัมภาระ) เสียง (อาจารย์กมั ปนาท) 9.45-11.30 : โยคะเด็กและครอบครัว – สร้างสรรค์พน้ื ฐานที่ 22.00-22.15 : ปฎิบตั สิ มาธิสนั ้ ๆ สมบูรณ์แก่คนรุ่นใหม่ (ครูเก๋ รสสุคนธ์) วันเสาร์ท่ี 4 กุมภาพันธ์ 11.30-12.30 : คําถาม/คําตอบ และปิ ดคอร์ส (ดร. สตีเฟน 5.30-6.00 : ตื่นนอนและธุระส่วนตัว พาร์คเกอร์/อาชูโทช ชาร์มา) 6.00-8.15 : โยคะอาสนะ, โยคะนิทรา และปฏิบตั สิ มาธิ (อาชู 12.30-13.30 : รับประทานอาหารกลางวัน (มังสวิรตั )ิ โทช ชาร์มา, โสภา ธมโชติพงศ์) 14.00 : เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ 8.15-9.30 : รับประทานอาหารเช้า (มังสวิรตั )ิ สวามี รามา ค.ศ. 1925-1996 ถือกําเนิด ณ เชิงเขา 9.30-10.00 : พัก หิมาลัย ได้รบั การเลีย้ งดูจาก เบงกอลลี บาบา ผูเ้ ป็ นอาจารย์ 10.00-12.00 : มิตลิ ้าํ ลึกของปรัชญาโยคะอาสนะ และความ และมีโอกาสได้ฝึกปฎิบตั ทิ างด้านจิตวิญญาณ กับเหล่า สําคัญของการมีสติรบั รูท้ ล่ี มหายใจ (ดร. สตีเฟน พาร์คเกอร์) อาจารย์ทอ่ี าศัยอยูใ่ นแถบเทือกเขาหิมาลัย รวมถึงอาจารย์ 12.00-13.30 : รับประทานอาหารกลางวัน (มังสวิรตั )ิ ใหญ่ของท่านในประเทศทิเบต หลังจากผ่านการฝึกฝนอย่าง 13.30-14.00 : พัก หรือ ฝึกการหายใจย่อยอาหาร (ไม่บงั คับ, เข้มข้น เบงกอลลี บาบา ได้สง่ ท่านมายังประเทศตะวันตกเพื่อ ั โสภา ธมโชติพงศ์) เผยแพร่ปญญาญาณอั นเป็ นนิรนั ดร์จากหิมาลัย และเพื่อ 14.00-16.00 : การปฎิบตั สิ มาธิดว้ ยมันตรา และความสัมพันธ์ เชื่อมต่อปรัชญาตะวันออกเข้ากับปรัชญาตะวันตก นอกจากนี้ ระหว่างครูกบั ศิษย์ (ดร. สตีเฟน พาร์คเกอร์) สวามี รามา ยังเป็ นนักพัฒนาเพื่อเพื่อนมนุษย์ทย่ี ากไร้ ท่าน 16.00-17.00 : พักปิ ดวาจา และการพิจารณาไตร่ตรองส่วนตัว ได้จดั ตัง้ มหาวิทยาลัยการแพทย์และพยาบาล, โรงพยาบาล, 17.00-19.00 : ปฎิบตั สิ มาธิกบั สวามี เวทะ ภารตี และโครงการพัฒนาชุมชนมากมาย ให้แก่คนยากไร้ในเมือง 19.00-20.00 : รับประทานอาหารเย็น (มังสวิรตั )ิ เดห์ราดูน (Dehradun) ประเทศอินเดีย 20.00-20.30 : พัก (อาบนํ้าชําระร่างกาย) ......................................................................................................

คุณถาม – เราตอบ

เดิน หากไม่ไปกระทบกับเรื่องเข่า อายุ 60+ สนใจฝึ กโยคะ ว่ายนํ้า (ถ้าสะดวก) ถาม มีคนอยากเรียนโยคะด้วยเค้าอายุหกสิบกว่าๆและเคย ฝึกท่าโยคะพืน้ ฐานได้ทุกท่า ยกเว้นท่าทีไ่ ปกระทบ ผ่าตัดหัวเข่ามา เค้าเดินได้แต่ไม่แข็งเเรงนัก นังขั ่ ดสมาธิไม่ได้ กับเข่า ซึง่ ตัวเขาเท่านัน้ ทีจ่ ะรูว้ ่าท่าไหนเหมาะ ควรจะเน้นท่าไหนทีจ่ ะทําให้เค้ากลับมาเดินได้ตามปกติคะ? โดยให้ฝึกตามหลัก 4 ประการ นิ่ง สบาย ใช้แรงน้อย และท่าไหนทีไ่ ม่ควรสอนบ้างคะ? มีสติ ตอบ โยคะตามตําราดัง้ เดิม เน้นการมีวถิ ชี วี ติ ทีส่ มดุล คอยสังเกตอิรยิ าบถตนเอง มีความใส่ใจต่ออิรยิ าบถ คนอายุ 60+ เคยผ่าตัดหัวเข่า สามารถฝึกโยคะได้หลายๆ ในชีวติ ประจําวันของตนเอง ประการ เช่น ฯลฯ * กินอาหารอย่างโยคี ควบคุมปริมาณอาหาร กินอาหารที่ * ดูแลอารมณ์ จิตใจของตน เช่น เหมาะกับวัย * ดูแลร่างกาย ด้วยเทคนิคทีเ่ หมาะสมกับตน เช่น news 1112 4


หมันฝึ ่ กจิตให้สงบด้วยการเฝ้าดูลมหายใจ (เจ็บเข่าก็ นังบนเก้ ่ าอีไ้ ด้) หากสนใจสมาธิ ก็ฝึกสมาธิ โดยจัดอิรยิ าบถในการ ฝึกสมาธิให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายของตนเอง * ดําเนินชีวติ ไปอย่างมีคุณค่า หากิจกรรมทีเ่ หมาะสมทํา เช่น รับผิดชอบงานบ้าน (ทีเ่ หมาะสม) ศึกษา ปฏิบตั ติ ามความเชื่อทางศาสนาทีต่ นนับถือ เช่น ทําทาน

อ่าน เรียน คําสังสอนของศาสนานั ่ น้ ๆ ฯลฯ เมื่อเราดําเนินวิถชี วี ติ ไปอย่างมีความหมาย มี เป้าหมาย ประกอบกับการหมันพิ ่ จารณาไตร่ตรองทําในสิง่ ที่ เหมาะสมกับตนเอง ชีวติ ก็จะสมดุล สุขภาพกายก็จะปกติ ตามวัย สุขภาพจิตดี มีการพัฒนาปญั ญา เป็ นผูด้ าํ เนินชีวติ อย่างปกติสขุ ฝากพิจารณาครับ

......................................................................................................

คุณถาม – เราตอบ 2 ท่าโยคะเฉพาะคนเป็ นอัมพฤกษ์

ผมมองว่าการสอนโยคะเป็ นการสือ่ สารระหว่างคน 2 ฝา่ ย ฝา่ ยทีย่ นื อยูบ่ นเวที ยืนอยูห่ น้าเตียงคนไข้เรียกว่าครู กับ ถาม ั ่ ่กลางห้อง นอนอยูบ่ นเตียงเรียกว่านักเรียน วันนี้เป้ได้รบั ข่าวร้ายว่าพีท่ น่ี บั ถือคนหนึ่ง เค้าเครียด ฝา่ ยทีน่ งอยู และเทคนิคทีจ่ ะใช้สอ่ื สารเรื่องโยคะ ก็ขน้ึ กับ ทัง้ 2 จากบ้านนํ้าท่วมบวกกับเป็ นความดันสูง และไม่ค่อยดูแล ่ สุขภาพนักเป็ นอัมพฤกษ์ครึง่ ซีก(ขวา) รูส้ กึ ใจหาย และก็ ฝายนี้น่เี อง นักเรียนเป็ นยังไง โดยเฉพาะในกรณีน้ี เขาเป็ นอัม อยากช่วยเค้าโดยจะไปสอนทําโยคะ มีท่าไหนทีส่ ามารถเน้น พฤกษ์ บางทีเราบอกอะไรไม่ได้เลยจนกว่าจะเห็นตัวนักเรียน ได้ดหี รือเปล่าค่ะ นอกจากทีค่ รู H&H สอนมา วันพุธเป้จะไปดูว่าอาการหนักแค่ไหน รบกวนครู จริงๆ และแค่เห็นบางทีกย็ งั ไม่พอ จนกว่าเราจะรูว้ ่าเขาขยับ ร่างกายตรงไหนได้บา้ ง จนกว่าเราจะได้พดู คุยกับเขาแล้ว หน่อยนะคะ รักและนับถือ เป้ ประเมินว่าสภาพจิตใจเขาเป็ นอย่างไรบ้าง จึงจะเริม่ คิดเอา สดๆ นะตรงนัน้ ว่าเราน่าจะสอนเทคนิคอะไรบ้าง ในแต่ละ ตอบ ผมมองเป็ น 2 ส่วน ส่วนแรกคือหลักการของโยคะ เทคนิคจะสอนแค่ไหน อย่างไร ครูผสู้ อนเป็ นยังไง ซึง่ ประเด็นนี้ เข้าใจว่ามีแต่ตวั เรา ทีป่ รับสมดุลของร่างกาย สมดุลของอารมณ์ สมดุลของจิตใจ การแนะนําโยคะให้กบั ผูส้ นใจ ไม่ว่าเขาจะเป็ นคนปกติ เป็ น เท่านัน้ แหละทีร่ ดู้ ที ส่ี ดุ ว่า เราถนัดโยคะสไตล์ไหน เราชอบ อัมพฤกษ์ เราก็มเี ป้าหมายในการสอนอย่างเดียวกัน คือทําให้ เทคนิคใดเป็ นพิเศษ เรามีทกั ษะในการสือ่ สารเทคนิคใดแล้ว ผูเ้ รียน รูแ้ ละเข้าใจ กายใจ ของตนดีขน้ึ ทําให้ผเู้ รียนมีความ ได้ผลดี ฯลฯ ส่วนทีส่ องนี้ คงต้องเราเป็ นผูต้ อบเองนะ ผ่อนคลายกาย ใจ ได้ดขี น้ึ ทําให้ผเู้ รียน มีจติ อันสงบเป็ น ฝากพิจารณาครับ สมาธิได้ดขี น้ึ ลดความฟุ้งซ่าน ลดการปรุงแต่งจิตลง ในส่วนแรกนี้ เมื่อเราสอนท่าอาสนะเขา ไม่ว่าท่า จดหมายฉบับที่ 2 จากครูเป้ หลังจากถาม – ตอบ ฉบับแรก ไหนก็แล้ว แต่ เป้าหมายก็เพื่อ ความสมดุล ความผ่อนคลาย ถึง ครูคะ่ ครูคะขอบพระคุณมาก เป้เข้าใจแล้ว (เมล์ครูเหมือน ร่างกาย และจิตใจด้วย เมื่อเราสอนลมหายใจเขา ไม่ว่าจะเทคนิคใดก็ สรุปสอนเลยนะคะ) วันนี้ได้ไปเยีย่ มพีเ่ ขาแล้ว ลักษณะ แล้วแต่ เป้าหมายก็เพื่อ ความสมดุล ความผ่อนคลายของ ร่างกายเขาไม่มแี รงซีกซ้าย (เข้าใจผิดตอนแรก) แต่กพ็ อขยับ ขาและไหล่ได้เล็กน้อย ส่วนสภาพจิตใจเท่าทีพ่ ดู คุยประมาณ อารมณ์ และ ร่างกายด้วย เมื่อเราสอนให้เขาสงบ นิ่ง เป็นสมาธิ ไม่ว่าจะด้วย 80% เป้กล็ องจับเท้าสองข้างเขา อุณหภูมไิ ม่เท่ากัน (ข้างมี การนังสมาธิ ่ ด้วยการรูล้ มหายใจ ฯลฯ เป้าหมายก็เพื่อ ค่อยๆ ปญั หาเย็น) มือกําหลวมๆ และมีเหงื่อชืน้ แก้มไม่เท่ากัน ปาก เบีย้ วนิดๆ สิง่ ทีเ่ ป้ทาํ วันนี้คอื ให้เขาลองยืดส้นเท้า แต่เขาทํา ลดการปรุงแต่งของจิตลง จนกระทังดั ่ บไปในทีส่ ดุ ไม่ได้ เป้กล็ องจับยืดให้เขาเอง แล้วก็นวดนิ้วมือให้ จากนัน้ ก็ ส่วนทีส่ องคือ เทคนิคทีจ่ ะใช้ ่ งตรงๆ ประมาณ 2 นาที แล้วก็ให้นอนลง ให้ทาํ ในส่วนเทคนิคนี้ ผมไม่ขอตอบ โดยเหตุผลหลักทีไ่ ม่ ให้เขานังหลั เกร็งคลาย ยกเว้น ชาลันธรพันธะ แล้วก็ให้ลองผ่อนคลาย ตอบคือ ตอบไม่ได้ เนื่องจากข้อมูลไม่พอ news 1112 5


ใบหน้าใช้เวลาประมาณ 10 นาที สังเกตุได้ว่า ใบหน้าสดใส ขึน้ (ไม่รไู้ ด้คุยหรือผ่อนคลาย) ตัง้ ใจหายใจเข้าลึก ถ้ามีโอกาส

เป้จะไปลองทํามากกว่านี้ แล้วจะเมล์มาเล่าและขอคําแนะนํา จากครูนะคะ

---------------------------------------------------------------------------------------

จากเพือ ่ นครู

ครูอ๊อด-วรรณวิภา

มาลัยนวล โยคิ นีน้าเน่ า ท่ามกลางการเดินทางหนีน้ํา (เน่า) จากซอยท่าอิฐ ก็ยงั มีพส่ี าวร่วมท้องเดียวกัน จากบางใหญ่ และ ซอยวัดลาดปลาดุกตามมาสมทบ ั่ พวกเราพร้อมใจกันมารวมตัวอยู่ทบ่ี า้ นแม่ย่านฝงธนฯ อย่างไม่น่าเชื่อ ว่านํ้าเน่าจะพัดพาเรากลับมาอยูด่ ว้ ยกันอีกครัง้ หนึ่ง หลังจากแยกย้ายไปมีครอบครัวกว่ายีส่ บิ ปี แล้วจู่ๆ นํ้าเน่าทีเ่ ราจากมาได้ไม่กว่ี นั ก็คบื คลานตามไล่หลังมาติดๆ จนทําให้เราต้องคิดอพยพกันอีกครัง้ อย่างฉุกละหุกออกมาทางเพชรบุรี นังมองสายนํ ่ ้าของแม่น้ําเพชรบุรที ไ่ี หลริน ผ่านไปอย่างรวดเร็วในแต่ละวัน ท่ามกลางความรูส้ กึ ห่วงบ้านทีค่ อ่ ยๆ คืบคลานครอบคลุม ความรูส้ กึ บางช่วงบางเวลา ห่วงอะไร ? เป็ นคําถามทีผ่ ุดขึน้ มาหลายต่อหลายครัง้ ในเมื่อครอบครัวและคนทีใ่ กล้ชดิ อยู่กบั เราทีน่ ่ี แต่ความห่วงพะวงยังคงมีอยู่ นี่คอื บททดสอบทีธ่ รรมชาติกาํ ลังทดสอบ ดูเหมือนน้าเน่ าจะสอนให้เราเรียนรูท้ ี่จะอยูอ่ ย่างตา่ มุ่งกระทาอย่างสูงอย่างแท้จริงอีกครัง้ เปิ ดกระเป๋าเสือ้ ผ้าทีพ่ อติดตัวมาได้ไม่กต่ี วั จากบ้านทีน่ นทบุรี และหลังการอพยพสองรอบ ของบางส่วนก็ตกหล่นหลงลืมไประหว่างการย้าย ทําให้รวู้ ่าพอเหลืออยูแ่ ค่น้กี อ็ ยู่ได้อย่างไม่เดือดร้อน ตรวจสอบดูเครื่องใช้สว่ นตัว พบว่าการย้ายไปมาของเราของทีใ่ ช้สว่ นตัวเริม่ ลดปริมาณลง จนค้นพบว่าเท่าทีจ่ าํ เป็ นคืออะไร น้าเน่ ากาลังเน้ นยา้ อปริคระหะ news 1112 6

คือการไม่ครอบครองวัตถุเกิ นความจาเป็ นอีกครัง้ บ้านพักทีเ่ พื่อนบ้านจากหมู่บา้ นเดียวกันเอือ้ เฟื้อช่วยเหลือ ให้มาพักอาศัยหลบลีภ้ ยั พืน้ ทีก่ ว้างขวางพอสมควร แต่กอ็ ดั แน่นด้วยคนในครอบครัวใหญ่ พร้อมด้วยสัตว์เลีย้ งพิการและไม่พกิ าร หลานสาววัยรุ่นทีห่ ลงใหลกับเกมส์คอมพิวเตอร์และทวิตเตอร์ เริม่ สร้างความหงุดหงิดก่อตัวขึน้ วันละนิดๆ จนเมื่อคืนทีผ่ ่านมา เจ้าหล่อนก็ลุกขึน้ มาท่ามกลางความมืดมิดยามเทีย่ งคืน เปิ ดเกมส์คอมฯ ผ่านทางจอโทรทัศน์ ส่องแสงกระจายวูบวาบเต็มห้องนอนรวม พร้อมด้วยเสียงตุ๊ดๆ ติด๊ ๆ และเสียงเพลงตี๊ แต่ ๆ ประกอบเกมส์ตามจังหวะของการเล่น ความรูส้ กึ หงุดหงิดเริม่ ทวีคณ ู หยิบหมอนมาบังแสงเข้าตาพยายามข่มตาหลับ นึกว่าจะลุกขึน้ ไปดุหลานให้เกมส์แตกไปเลยจะดีไหม ั แต่ดว้ ยความเข้าใจปญหาของเด็ กสาวทีค่ รอบครัวแตกแยก ทําให้หล่อนกลายเป็ นคนมีโลกส่วนตัวทีใ่ ครก็เข้าไม่ถงึ เวลากลางวันคือกลางคืน เวลากลางคืนคือกลางวันสําหรับเธอ ทําให้ความกรุณาทีเ่ กิดขึน้ ในใจ เริม่ เข้ามาทดแทนความหงุดหงิด ถามตัวเองว่านอนไม่หลับเพราะแสงจากเกมส์หน้าจอทีวี หรือไม่หลับเพราะใจเราเอง เสียงกรนของแม่ หลานชาย พีส่ าว ดังแผ่วๆ มาในโสตประสาท ตอบได้ว่าเพราะใจเราเองไม่ยอมหลับ รูส้ กึ ตัวอีกครัง้ ตื่นมาตอนเช้า นึกย้อนกลับไปถึงรูว้ ่า หลังตอบตัวเองได้แล้ว ใช้เวลาอีกนิดเดียวก็หลับไปเลยภายในไม่กล่ี มหายใจ แอบยิม้ ให้กบั วิทยุชุมชนกระจายเสียงของหมูบ่ า้ น ทีเ่ ปิ ดดังลันตอนเช้ ่ าตรู่ ก่อนลุกขึน้ มาฝึกโยคะในช่วงเช้าทีส่ ดชื่น


ั ่ ้าเพชรบุรอี กี ครัง้ ... ริมฝงนํ .......................................................................................................

จากเพือ ่ นครู 2 ด้วยคิดถึงครู ความสุขโดยทีใ่ ช้ความสุขของตนเองเป็ นเครื่องมือ เกิดสว่าง พลังสมาธิเกิดจากการปฏิบตั ิ ลงมือทํา เห็นผลทัน ในใจ เข้าใจ รูแ้ จ้ง โล่ง โปร่ง เบา ขอบคุณครูทส่ี อนให้เป็ นผูร้ ู้ ตา จักความสุข ความสุขมีอาํ นาจในตัวมันเอง มันขยายด้วยตัว วันนี้มโี อกาสสอนโยคะสมาธิ ทีศ่ นู ย์พกั พิงผูป้ ระสบ มันเอง มันคับแคบไม่ได้ มันกว้างใหญ่ไพศาล มันมีพลัง เริม่ ภัยทีเ่ กษตรฯบางพระ มีความสุขตัง้ แต่เริม่ มีความสุขขณะ เห็นหนทางสว่างของชีวติ รูว้ ่าจะเดินให้ถงึ เป้าหมายอย่างไร สอน และมีความสุขหลังทําเสร็จ ได้ขอ้ คิด เรียนรูใ้ หม่ จิต ชีวติ ควรเดินอย่างไร ขอบคุณครูอกี ครัง้ ไม่เคยลืม อาสาคือหนทางความสุขทีแ่ ท้จริง คือการช่วยผูอ้ ่นื ให้มี ครูจบ๊ิ ... ศรีราชา ................................................................. โดย กวีพทั ธ์ ประภัสสรเซ็น ในงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ เมื่อครัง้ ทีย่ งั จัด ทีค่ ุรุสภา เก๋าจริงอะไรจริง แต่ตอ้ งยอมรับว่า หลายปีทผ่ี ่านมาความเป็ นสาวก บ้านก้านมะยม ประภัสสรของผมออกอาการจางๆ ไปบ้าง ผมรูส้ กึ ว่าผลงาน โดยประภัสสร เสวิกุล ในช่วงหลังๆของเขา ไม่เข้าตาซ้ายกรรมการ (ตาของผมคน พิมพ์ท่ี เดียวนะ) สักเท่าไร พลังของพล็อต สํานวน ลีลา ไม่มอี ะไร แปลกใหม่โดนใจเมื่อเทียบกับงานระดับมาสเตอร์พซี ยุคแรกๆ อย่าง ชีค้ อํานาจ หรือ ลอดลายมังกร ประกอบกับแนวการ บ้านก้านมะยม กับอารมณ์ Nostalgia ทันทีทส่ี ายตากวาดไปถึงตัวอักษรตัวสุดท้าย ของ อ่าน และความสนใจทีเ่ ปลีย่ นไปเป็ นเชิงการเดินทางสูภ่ ายใน นวนิยายเรื่อง บ้านก้านมะยม บางสิง่ บางอารมณ์แบบที่ มากขึน้ ด้วย แล้วอะไรทีท่ าํ ให้ผมสนใจหนังสือขนาด 280 หน้า เรียกกันว่า Nostalgia หรือถวิลหาอดีตยังทุม้ อยูใ่ นใจจนกลัน้ ไม่ไหว “เมื่อกด like แล้วต้อง share” เก็บกลันตกผลึ ่ ก เล่มนี้ ก็คงเป็ นเพราะหลังจากพลิกๆ อ่านคร่าวๆ อีกอารมณ์ ถวิลหาอดีตเมื่อครัง้ ยังเป็ นเด็กนักเรียนบ้านนอกคนหนึ่งทีผ่ ุด ความรูส้ กึ ทีเ่ กิดขึน้ ออกมาดังๆ ผมซือ้ หนังสือเรื่องบ้านก้านมะยม จากร้านหนังสือ พร่างขึน้ มาพร้อมกัน บ้านก้านมะยม เป็ นชื่อโรงเรียนเล็กๆเพียงแห่ง ในสนามบินสุวรรณภูมิ ขณะกําลังฆ่าเวลารอขึน้ เครื่องบินไป เดียว ในตําบลท่าตลาด ตําบลเล็กๆ ทีอ่ าจเล็กมากจนไม่ ทํางาน สิง่ แรกทีส่ ะดุดตา ไม่ใช่ช่อื เรื่องหรือแบบปกหรอก ปรากฏจริงบนแผนทีป่ ระเทศไทย ภาพเด็กๆ วิง่ หาทีซ่ ่อนคุณหมอทีเ่ ข้ามาฉีดวัคซีนใน ครับ แต่เป็ นชื่อผูแ้ ต่ง ประภัสสร เสวิกุล ต่างหาก ประภัสสร เสวิกุล เป็ นนักเขียนในดวงใจของผม โรงเรียน เกีย่ งกันเป็ นคนสุดท้ายของแถวทีจ่ ะโดนฉีดยา และ ตัง้ แต่เริม่ อ่านวรรณกรรม สมัยทีต่ วั เองยังอยูใ่ นยุคกระโปรง อีกหลายๆตอนในเรื่องนี้ สะท้อนภาพเก่าๆ ให้แจ่มชัดใน ความทรงจําทีอ่ วลไปด้วยอารมณ์การอ่านแบบ feel good บานขาสัน้ เมื่อยีส่ บิ กว่าปี ก่อน ผมเป็ นแฟนพันธุแ์ ท้ทงั ้ นวนิยาย และเรื่องสัน้ ของ แฝงข้อคิดให้แอบยิม้ มุมปาก พร้อมนํ้าตาคลอๆ เรียกว่า อิม่ ประภัสสร เสวิกุล ตัง้ แต่เล่มแรก และยังจําได้ดถี งึ วันทีห่ อบ กําลังพอดี ประมาณหนังเรื่องแฟนฉัน ผสมกับ ครูไหวใจร้าย เรื่องราวของครูทเ่ี สียสละเพื่อชุมชน อย่างครู เอาหนังสือทัง้ หมดทีม่ ยี ส่ี บิ กว่าเล่ม แบกขึน้ รถเมล์ไปให้คุณ สายสร้อย แม่พมิ พ์ดอกไม้เหล็กทีส่ ร้างคนรุ่นต่อรุ่นเพียงลําพัง news 1112 7


ด้วยการใช้เพียงจิตวิญญาณความเป็ นครู และก้านมะยมที่ ทางอ้อม คืออีก แง่งามเล็กๆทีค่ นในชุมชนท่าตลาดซึง่ ต่าง คอยหวด กํากับไม่ให้ลกู ศิษย์เดินผิดออกนอกลู่นอกทางจน เป็ นลูกศิษย์ของครูสายสร้อย บอกกับเราผ่านการร่วมแรงร่วม เป็ นทีม่ าของชื่อโรงเรียนนัน้ อาจไม่ใช่เรื่องใหม่ ใจกันสูเ้ พื่อรักษา โรงเรียนบ้านก้านมะยม ให้รอดพ้นจาก แต่หลายๆ เหตุการณ์ในเรื่องบ้านก้านมะยมกลับ ความเห็นแก่ตวั ของ คุณนายผูท้ รงอิทธิพลในหมู่บา้ น ที่ กระทุง้ ตะกอนของความรูส้ กึ และจิตสํานึกบางอย่างทีเ่ ราอาจ ต้องการยึดทีด่ นิ ของ โรงเรียนคืน หลงลืมไปให้ปรากฏชัดขึน้ มา สูภ่ าพแห่งความเป็ นจริง เราจะทําอย่างไร ให้ ไม้บรรทัดทีค่ รูสายสร้อยให้นกั เรียนคาบ เวลาถูกลง สัญลักษณ์ทส่ี ะท้อนให้เห็นถึงพลังของจิตวิญญาณชุมชน ภาพ โทษ ทําให้ผมอดคิดไม่ได้ว่า เราอาจใช้ไม้บรรทัดเป็ นฐาน ความเป็ นนํ้าหนึ่งใจเดียวของพลังจิตอาสา ทีร่ ่วมด้วยช่วยกัน ตัดสินคุณค่าการศึกษาคนละอันกัน โดยไม่แบ่งเขาแบ่งเรา แบ่งฝา่ ยแบ่งสี ไม่ได้จาํ กัดให้เห็นแค่ ผูบ้ ริหารการศึกษายุคดิจติ อล อาจมีความคิดว่าการ ในยามวิกฤติเท่านัน้ เรียนรูข้ องเด็กไทยจะดีขน้ึ ถ้าได้รบั แจกแท็บเบล็ตคนละเครื่อง ทัง้ ทีค่ วามเป็ นจริง ชอล์กและกระดานดําแบบทีผ่ มและเด็ก “ปาเจราจริยา โหนติ คุณุตะรานุสาสกา..” หญ้า โรงเรียนบ้านก้านมะยมเคยเรียนก็อาจสร้างคนได้ไม่ต่างกัน แพรก ดอกมะเขือ ทีศ่ ษิ ย์โรงเรียนบ้านก้านมะยมนํามาไหว้ บางครัง้ บรรจุภณ ั ฑ์ทห่ี ่อหุม้ ไว้ อาจไม่สาํ คัญเท่ากับ ครูสายสร้อย ไม่เพียงทําให้ผอู้ ่านหวนอดีตรําลึกถึงคุณครูท่ี แก่นแกนข้างใน และจิตวิญญาณของผูท้ าํ หน้าทีถ่ ่ายทอด เคยสร้างเราให้เป็ นเราทุกวันนี้ ยังอาจช่วยให้ใครหลายคนได้ การนิ่ งยอมจานน โดยไม่พยายามยืนหยัดต่อสู้ กลับมาทบทวนบทบาทความเป็น ”ครู” ทีก่ าํ ลังดําเนินอยู่อกี เพื่อสิ่ งที่ถกู ต้อง อาจเท่ากับการสนับสนุนผูท้ าผิด ครัง้ ................................................................. โดย กองบรรณาธิการ

มรรคาแห่งชีวิต สู่ความตื่นรู้และอยู่อย่างผาสุก

พระไพศาล วิสาโล อาทิตย์ยามเช้า เรื่อง สมภพ บุตราช ภาพ อาจเคยมีหลายต่อหลายครัง้ ในชีวติ .. ทีเ่ มื่อเรารูส้ กึ อยากกิน อะไรสักอย่าง จนความรูส้ กึ อยากนัน้ เป็ นแรงผลักให้ตอ้ ง พยายามดัน้ ด้นเพื่อไปให้ถงึ รับประทานมันอย่างเอร็ดอร่อย อย่างน้อยก็ให้สมกับค่าเวลาและค่าเดินทางไป และเมื่ออิม่ จึง ได้แต่ราํ พึงในใจว่า.. ก็แค่น้เี อง แล้วหลังจากนัน้ ก็เริม่ นึกถึง เมนูต่อไปในสถานทีท่ ไ่ี กลออกไปอีก จะมีสกั ครัง้ ไหม.. ทีเ่ ราเบือ่ กับความรูส้ กึ นี้ เบือ่ กับการทีช่ วี ติ ต้องถูกขับเคลือ่ นไปด้วยกิเลส มันบอกให้เราทาอย่างนัน้ มันบอกว่าเราอย่าทาอย่างนี้ ซึง่ เราเป็ นได้เพียงผูท้ าตามเสียงเพรียกเหล่านัน้ ? ... news 1112 8

“มรรคาแห่งชีวิต สู่ความตื่นรูแ้ ละอยู่อย่างผาสุก” โดย พระไพศาล วิสาโล และ อาทิตย์ยามเช้า เป็ นหนังสือทีช่ ้ี แนวทางแห่งการรูเ้ ท่าทันตัวเองจากเสียงเพรียกทีว่ ่านัน้ ด้วย การบอกเล่าเรื่องราวของชีวติ ทีใ่ ห้ขอ้ คิดถึงการ “อยู่เป็ น” เพราะหากชีวติ เปรียบเหมือนเส้นด้ายสักเส้นหนึ่ง ทีม่ ปี ลาย สองด้านคือ จุดเริม่ ต้นและจุดสิน้ สุด ซึง่ ก็คอื การเกิดและการ ตาย เราจะทําอย่างไร ทีจ่ ะให้ชว่ งชีวติ ทีอ่ ยู่ระหว่างจุดทัง้ สองนัน้ ดําเนินไปได้อย่างมีความสุข เป็ นความสุขจริงแท้... ทีม่ าจากการพอใจในสิง่ ทีเ่ รามี อย่างไม่ ต้องวิง่ วนไขว่คว้า เป็ นความสุขทีม่ าจากความสงบ.. ภายในตัวของเราเอง ดังพุทธวจนะตอนหนึ่ งในหนังสือที่กล่าวว่า.. “ ถึงแม้เงินตราจะไหลมาดังห่าฝน ความอยากของคนก็หาอิม่ ไม่ กามวิสยั ทัง้ หลายมีความสุขจริงๆน้อย มากไปด้วยทุกข์ ” ทีเ่ สมือนเป็ นเครื่องยืนยันให้เรารูว้ ่าการหาความสุขในชีวติ จากสิง่ ภายนอกนัน้ สุดท้ายเป็ นเช่นไร ...


เนื้อหาของหนังสือเล่มนี้นําเสนอโดยแบ่งออกเป็ น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็ นแง่มุมต่างๆทีใ่ ห้ขอ้ คิดผ่านเรื่องราวร่วมสมัย และ ส่วนทีส่ องเป็ นเรื่องราวจากพระไตรปิ ฎก ทีใ่ ห้แง่คดิ เพื่อเสริม เนื้อหาในส่วนแรก ซึง่ หากเป้าหมายของชีวติ เราคือ ความตื่นรูแ้ ละอยู่อย่างผาสุก ทัง้ สองส่วนจากหนังสือเล่มนี้กเ็ ปรียบเสมือนโคมไฟอีกหนึ่ง ดวงทีส่ อ่ งนําสูเ่ ส้นทางนัน้ ได้เป็ นอย่างดี

เพราะแท้จริงแล้ว.. “ จะมัวร่าเริง สนุกสนานกันทําไม ในเมื่อโลกกําลังลุกเป็ นไฟอยู่เนืองนิตย์ พวกเธอถูกความมืดมิดปิ ดบังอยู่เช่นนี้ ไยไม่แสวงหาแสงสว่างกันเล่า ” พุทธวจนะ

…………………………………………………………………………………….. พระไตรปิ ฎก เล่มที่ 12 วิตกั กสัณฐานสูตร ว่าด้วยทีต่ งั ้ แห่ง วิตก เนื้ อความโดยย่อ วันหนึ่ง พระผูม้ พี ระภาคขณะประทับอยู่ ณ พระเช ตวัน ตรัสกับภิกษุทงั ้ หลายว่า ภิกษุผขู้ วนขวายในอธิจติ ควร มนสิการถึงนิมติ 5 ประการ (ทีเ่ หมาะสม) ตามเวลาอันสมควร (หมายถึงให้เลือกพิจารณานิมติ ทีเ่ หมาะสมกับจิตใน สถานการณ์นนั ้ ๆ) วิ ธีมนสิ การนิ มิต 5 ประการ ภิกษุควรมนสิการนิมติ 5 ประการต่อไปนี้ คือ 1 เมื่อมนสิการนิมติ ใดอยู่ ถ้าวิตกฝา่ ยอกุศลอัน ประกอบด้วยฉันทะ (ราคะ) บ้าง โทสะบ้าง โมหะบ้าง เกิดขึน้ ให้เปลีย่ นไปมนสิการนิมติ อื่นทีเ่ ป็ นฝา่ ยกุศล ก็จะละวิตกฝา่ ย อกุศลได้ ทําให้จติ ตัง้ มัน่ สงบ เป็ นอารมณ์เดียว เกิดสมาธิขน้ึ ได้ เหมือนช่างไม้หรือลูกมือช่างไม้ผชู้ าํ นาญใช้ลมิ่ สลัก ตอก โยก และถอนลิม่ ใหญ่ออกจากเนื้อไม้ได้ 2 ถ้าขณะมนสิการทีเ่ ป็ นฝา่ ยกุศลนัน้ อยู่ วิตกฝา่ ย อกุศลก็ยงั เกิดขึน้ ได้อกี ให้พจิ ารณาถึงโทษของวิตกเหล่านัน้ ก็จะละวิตกเหล่านัน้ ได้ ทําให้จติ ตัง้ มันสงบเป็ ่ นอารมณ์เดียว เกิดสมาธิขน้ึ ได้ เหมือนหนุ่มสาวผูแ้ ต่งตัวสวยงามรังเกียจซาก งู ฯลฯ ทีน่ ํามาคล้องคอ 3 แม้เมื่อพิจารณาถึงโทษของวิตกฝา่ ยอกุศล เหล่านัน้ อยู่ ถ้าวิตกเหล่านัน้ ยังเกิดขึน้ ได้อกี ให้เลิกใส่ใจ เลิก มนสิการถึงวิตกเหล่านัน้ ก็จะละวิตกเหล่านัน้ ได้ เหมือนคนตา ดีไม่ตอ้ งการเห็นรูปใดๆ ทีผ่ ่านเข้ามาโดยหลับตาหรือมองไป ทางอื่นเสีย 4 แม้เมื่อเลิกสนใจ เลิกมนสิการถึงวิตกฝา่ ยอกุศล เหล่านัน้ แล้ว ถ้าวิตกเหล่านัน้ ยังเกิดขึน้ ได้อกี ให้มนสิการถึง ฐานหรือทีต่ งั ้ อันมันคงแห่ ่ งเหตุเกิดของวิตกเหล่านัน้ (วิตกั ก สังขารสัณฐาน) ก็จะละวิตกเหล่านัน้ ได้ ทําให้จติ ตัง้ มัน่ สงบ news 1112 9

ฉบับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็ นอารมณ์เดียว เกิดสมาธิขน้ึ ได้ เหมือนเดินเร็ว ชะลอ ความเร็ว เดินให้ชา้ ลง หยุด ยืน นัง่ นอน (เสียบ้าง) เพื่อละ อิรยิ าบถหยาบๆ เขาก็จะมีอริ ยิ าบถละเอียดขึน้ โดยลําดับ 5 แม้เมื่อมนสิการถึงฐานหรือทีต่ งั ้ แห่งเหตุเกิดของ วิตกฝา่ ยอกุศลเหล่านัน้ อยู่ ถ้าวิตกเหล่านัน้ ยังเกิดขึน้ ได้อกี ให้ใช้ฟนั กัดฟนั ใช้ลน้ิ กดเพดานให้แน่น ใช้จติ ข่ม กดบีบคัน้ จิต ทําให้จติ เร่าร้อน ก็จะละวิตกเหล่านัน้ ได้ ทําให้จติ ตัง้ มัน่ สงบ เป็ นอารมณ์เดียว เกิดสมาธิขน้ึ ได้ เหมือนคนมีกาํ ลังมาก จับคอคนมีกาํ ลังน้อยข่ม กด บีบ คัน้ ผูเ้ ชีย่ วชาญวิถแี ห่งทางวิตก ทรงสรุปว่า เมื่อภิกษุมนสิการนิมติ 5 ประการ (ที่ เหมาะสม) ตามเวลาอันควรดังกล่าวมาจนเกิดความชํานาญ ในวิถที างแห่งวิตก คือ ประสงค์จะมนสิการถึงวิตกใด ก็ มนสิการถึงวิตกนัน้ ได้ ไม่ประสงค์จะมนสิการถึงวิตกใด ก็ไม่ มนสิการถึงวิตกนัน้ ได้ทนั ที โดยวิธนี ้กี จ็ ะตัดตัณหาได้ คลาย เครื่องผูกคือสังโยชน์ได้ ทําทีส่ ดุ แห่งทุกข์ได้ เพราะละมานะ ได้โดยชอบ ทรงเรียกผูม้ นสิการนิมติ 5 ประการ อย่างนี้ว่า ผูเ้ ชีย่ วชาญวิถแี ห่งวิตก เมื่อทรงแสดงจบ ภิกษุเหล่านัน้ ต่างมีใจยินดี ชื่นชม พุทธภาษิตนี้ คําว่า ”มนสิ การ” ในพระสูตรนี้ หมายถึง การทําในใจ, ใส่ใจ, พิจารณา คําว่า ”นิ มิต” ในพระสูตรนี้ ไม่ใช่ ภาพ-แสง-สี-เสียงใดๆ ที่ อาจบังเกิดขึน้ ในเวลาเจริญสมาธิภาวนา เช่น เห็นสวรรค์ แสง ั บนั แต่ นิมติ ได้แก่ การณะ สว่าง ฯลฯ ดังทีเ่ ข้าใจกันในปจจุ (คือเหตุ) เช่น นิมติ อื่นทีค่ วรมนสิการ ในกรณีทจ่ี ติ มีโทสะ คือ การเจริญเมตตาภาวนา นิมติ อื่นทีค่ วรมนสิการ ในกรณีทจ่ี ติ มี ฉันทะ (ราคะ) คือ การเจริญอสุภสัญญา และ ฯลฯ


เล้งเล่าเรือ ่ ง

โดย ล.เล้ง เสียงกระดิง่ หยก (ไม่ใช่

มังกรบิน)

นิทาน 1

เรียนรู้ – เล็ก ๆ

ถาม: โยคะลดความอ้วนได้ไหม ตอบ: ปกติเจอคําถามแบบนี้ เราก็มกั จะด่วนสรุป และหลงกล ตอบตามกรอบไปว่า ได้-ไม่ได้ ตอนแรกเล้งก็เป็ นแบบนี้ แต่เมือ่ ตอนทีหนี ่ น้ าท่วม กรุงเทพไปศรีราชา จ.ชลบุรี ก็มโี อกาสได้รจู้ กั กับเพือ่ นใหม่คน หนึง่ ขอเรียกว่าเพือ่ น “เป็ ดยักษ์” ก็แล้วกันนะ เล้งเจอเป็ ด ยักษ์ตอนแวะไปเทีย่ วเกาะสีชงั แล้วเป็ ดยักษ์กถ็ ามคาถามนี้ แต่แทนทีเ่ ราจะคุยกันเรือ่ งจะทาโยคะท่าไหนถึงจะผอม (ซึง่ มันคงจะไม่ค่อยน่าเชือ่ ถือสักเท่าไร เพราะคนตอบไม่เคยมี ประสบการณ์ตรงในเรือ่ งนี้เลย ตลอดชีวติ น้ าหนักเฉลีย่ วิง่ ไป วิง่ มาที ่ 45 กิโลกรัม) เรากลับคุยกัน “เรือ่ งกิน” ซึง่ เป็ นเรือ่ ง โปรดของเราทัง้ 2 คน ดังนี้ เล้ง : ทาไมถึงอยากลดความอ้วนล่ะ เป็ ดยักษ์ : เพือ่ นทีท่ างานเค้าชอบมาเยาะเย้ยว่า “อ้วนอย่างนี้ แล้ว ยังจะชอบกินของหวานๆ อีก ดูฉนั สิ ! กินยังไงก็ไม่อว้ น” พูดแล้วก็มากินเย้ยกันให้เจ็บใจอีก เล้ง: งัน้ ก็อย่ากินของหวานเยอะๆ สิ เป็ ดยักษ์ : ก็ชอบกินนี ่ ไม่กนิ ก็หวิ นี ่ (เป็ ดไม่งบั เหยือ่ 1) เล้ง: งัน้ ก็อย่ากินให้เค้าเห็นสิ เป็ ดยักษ์: เออ! จริงด้วย (เป็ ดงับเหยือ่ 1) เล้ง: กินข้าวเย็นกีโมง ่ ไม่กนิ อาหารดึกๆ ได้ไหม เป็ ดยักษ์ : เลิกงานแล้วก็กนิ ข้าวเย็น 2 ทุ่ม ไม่กนิ รอบดึกก็ ทนไม่ไหว มันหิว (เป็ ดไม่งบั เหยือ่ 2) เล้ง: งัน้ ลองเคี้ยว 30 ครัง้ ไหม มีเพือ่ นเค้าลองแล้วลดได้ 7 กิโล (กรัม) ใน 3 เดือน เป็ ดยักษ์ : อืมม ! จริงด้วย ปกติกก็ นิ ข้าวเร็วมาก งัน้ จะลอง เคี้ยวช้าๆ ดูนะ (เป็ ดงับเหยือ่ 2) เล้ง: เคี้ยวช้าๆ อาหารจะได้แตกตัวเป็ นน้ าตาลตัง้ แต่อยู่ ในปาก ...เซล (cell) จะได้อมิ ่ น้ าตาลไวๆ ไม่ตอ้ งรอนาน ถ้ารอ แต่ให้ย่อยในกระเพาะในลาไส้ ต้องรออีกนาน ช่วงทีร่ ออิม่ นีก่ ็ กินมากเกินไปอีกแล้ว เคี้ยวนานๆ ก็จะกินอาหารน้อยลงนะ เล้งเรียนรู้ 1. เล้งโยนเหยือ่ ไป 4 ครัง้ เป็ ดกินเหยือ่ 2 ไม่กนิ 2 คาตอบของเราอาจไม่ใช่คาตอบของเป็ ด

news 1112 10

2. เป็ ดต้อง “ยินยอม” กินเอง ถ้าเรา “ยัดเยียด” เป็ ดก็ คงไม่กนิ เป็ ดไม่ใช่ไก่ในเล้า หรือ หมูในอวย

นิทาน 2

อีกอาทิ ตย์ต่อมา เล้งกลับจากศรีราชา เจอฝางผิง (หลานสาวอายุ 12 ขวบ) ขอให้ช่วยการท่องศัพท์ ภาษาอังกฤษ วิญญาณครูสอนภาษาอังกฤษก็เข้าสิง อยากให้ ฝางผิงท่องศัพท์แบบทีเ่ ราคิดว่าดี ถ้าอธิบายก็คล้ายๆ แบบนี้ นะ แบบผิง: ซี เอ ที แคท แมว (อ่านตามตัวอักษรทีเ่ ห็น) แบบเล้ง: เคอะ แอ๊ะ เทอะ แคท = แมว (สะกดตามเสียงอ่าน แบบ กอ อะ กะ กอ อา กา) ผิงก็ทาํ หน้ายู่ย่ี เพราะมันดึกแล้ว เกือบ 4 ทุม่ ง่วง ด้วย แล้วอีเ๊ ล้งยังมาเซ้าซีใ้ ห้ทาํ อะไรทีไ่ ม่คนุ้ เคยไม่อยากทํา อีก ท่องแบบผิงก็ดอี ยู่แล้ว อีเ๊ ล้งก็ว่าวิธขี องเล้งดีกว่า ท่อง แบบผิง มันท่องแบบนกแก้วนกขุนทอง จริงๆ เล้งพูดแรงกว่า นัน้ คือ ท่องแบบ ควาย ควาย เพราะมันเปลืองแรงเปลือง หน่วยความจําในสมอง เจอศัพท์ใหม่ 100 คํา ก็ตอ้ งท่อง 100 ครัง้ แถมพอเจอคําศัพท์ใหม่กอ็ ่านไม่ออกอีก เพราะสะกดไม่ เป็ น อธิบายยังไงผิงก็ไม่ยอมทําตาม แล้วเล้งก็นึกถึงเพื่อน เป็ ดยักษ์ได้ว่า กับคนอื่นทีไ่ ม่ใช่ญาติ เราก็ไม่ได้บงั คับ ไม่ได้ ยัดเยียดของดีของเราให้เค้านี่นา แล้วนี่เราทําอะไรกับฝางผิง ของเราละนี่ เล้งเลยเปลีย่ นวิธใี หม่ ให้ผงิ ท่องศัพท์แบบทีผ่ งิ ชอบ ไปหนึ่งรอบ แล้วพอรอบทีส่ อง ค่อยมาทําแบบทีเ่ ล้งชอบ สรุปว่า สงครามท่องศัพท์กจ็ บลงแบบ win-win ทัง้ สองฝา่ ย ไปนอนได้ตอน 4 ทุ่มกว่าๆ แล้วตอนเย็นของอีกวัน ผิงก็มา เล่าให้ฟงั ว่า พอถึงเวลา Dictation – สอบเขียนภาษาอังกฤษ ตามคําบอก ผิงก็ใช้วธิ เี ดิมของผิง ไม่ได้ใช้วธิ ขี องอีเ๊ ล้ง ก็ยงั เขียนถูกเลย เล้งก็ไม่ได้โกรธหรือผิดหวังอะไร ก็แล้วแต่เค้า เมื่อผิงโตขึน้ ได้เรียน Phonetics วิธอี อกเสียงของฝรัง่ – ผิงก็ เข้าใจเอง เล้งเรียนรู้ 1. กับคนไกลตัว เรายินยอมให้เค้ามีสทิ ธิเลื ์ อก กับคนใกล้ตวั เรามักจะยัดเยียด เนาะ เมื่อไรเราเลิกบังคับให้เค้าทําตามเรา สันติสขุ ก็จะ เกิดขึน้ ในบ้าน แค่ “หวังดี” อาจไม่ดเี สมอไป ถ้าไม่มกี ศุ โลบายทีด่ ี


เวลาเราสอนโยคะให้คนในบ้าน บางทีทไ่ี ม่สาํ เร็จ อาจเป็ นเพราะ เราไปกดดันหรือเซ้าซีเ้ ค้ามากเกินไป ไม่ค่อย ยอมๆ หยวนๆ 2. เรามักจะคิดว่าเรารูม้ ากกว่า ก็เลย“อยาก”สอนเค้า เราไม่ค่อยได้ถามเค้า ว่าเค้า “ อยาก” เรียน รึเปล่า ถ้าเราสอน สบายๆ ใช้แรงแต่น้อย และมีสติ เรา อาจจะไม่ตอ้ งเหนื่อยใจ มากนัก

นิทาน 3 นา้ ท่วม

กล่องข้าว แก้วนํ้าของเราไปใส่ของทีจ่ ะซิอ้ เลยก็ดนี ะ ลดขยะ บรรจุภณ ั ฑ์ให้เหลือ 0 % (ศูนย์เปอร์เซ็นต์) ไปเลย อันของทีเ่ ราซือ้ นี้ ส่วนมากมันก็ผลิตมาจากโรงงาน กว่าจะผ่านกระบวนการผลิตเชิงอุตสาหกรรม มาจนถึงมือเรา ต้องใช้พลังงาน ก่อมลพิษ ก่อขยะเพิม่ ให้โลกใบนี้รบั ภาระไป ตัง้ เท่าไร อากาศและสิง่ แวดล้อมในโลกแปรปรวน ทัง้ ฝนตก สึ นามิ หิมะขัวโลกละลาย ้ และทีค่ นไทยวันนี้รจู้ กั ดี –นํ้าท่วม ! ถ้าเราแยกแยะกําจัดขยะ สร้างขยะให้น้อยทีส่ ดุ จะ ได้ไม่มาอุดท่อระบายนํ้า ไม่มาลอยตุ๊บปอ่ งๆ ตอนนํ้าท่วมให้ รําคาญใจ 3. ช่วยกันเชียร์รฐั บาลให้ขดุ ลอกคลองเก่า ขุดคลอง ลัดตัดตรงเตรียมรับนํ้าท่วมปีหน้าอันใหม่ ขุดสันดอนปาก แม่น้ํา หาเครื่องสูบนํ้าทีใ่ ช้ได้จริง (ไม่ใช่มแี ต่สายสูบแต่ไม่มี เครื่องสูบ เหมือนกับกล้องวงจรปิ ดทีส่ แ่ี ยกจราจร ทีม่ แี ต่กล่อง เปล่า) และสุดท้ายนี้ ก็ได้แต่หวังว่าสิง่ ทีเ่ ราเตรียมไว้ ต้อนรับนํ้าท่วมปี หน้าจะใช้ได้ดี หรือไม่ตอ้ งใช้กด็ ี จบแล้วจ้า

สาหรับคนที่น้าท่วมบ้านไปแล้ว คราวหน้าคุณจะ กลายเป็ นผูช้ าํ นาญเรื่องนํ้าท่วมมากขึน้ สําหรับคนทีน่ ้ํายังไม่ เคยท่วมบ้าน คราวหน้าเราก็ไม่รวู้ ่าจะโชคดีอกี รึเปล่า แต่ถา้ หากเราช่วยกันคนละไม้คนละมือ ประเทศไทยในปีหน้าน่าจะ ดีกว่านี้ ถ้าเรา 1. ปลูกต้นไม้ ปลูกปา่ – รากของต้นไม้จะช่วยชะลอ ั่ นํ้าจากภูเขา ป้องกันการกัดเซาะชายฝงทะเล ความเย็นจาก ต้นไม้จะช่วยลดโลกร้อน 2. ลดโลกร้อน ฝนจะให้ตกแต่พอดี นํ้าทะเลไม่หนุน สูงเกินไป เราอาจ Recycle ของทีย่ งั พอใช้ได้ เอามาใช้ซ้าํ เช่น ถุงพลาสติก แก้วนํ้าพลาสติก และถ้าจะให้ดี เอาปิ่ นโต .............................................................................

โดย วีระพงษ์ ไกรวิทย์ และจิรวรรณ ตัง้ จิตเมธี แปลและเรียบเรียง เกลศะ กรรมะ สัมสการะ และกรรมาศยะ ลงได้ อย่างน้ อยที่สุดก็ทาให้มนั อยูใ่ นระดับที่อ่อนกาลัง กิเลสต่างๆ ในสภาวะทีล่ ะเอียดนัน้ จะถูกขจัดออกไป จนไม่สร้างปัญหามากนักในชีวิตประจาวันของเรา การ ด้วยกระบวนการของวิวฒ ั นาการย้อนกลับของตรีคุณะ หรือ ฝึ กกริยาโยคะ1เป็ นวิ ธีที่ดีที่สุดที่จะลดกาลังของกิ เลสลง ของวิวฒ ั นาการย้อนกลับของประกฤติไปถึงจุดเริม่ ต้น ซึง่ ได้ แต่มอี กี วิธหี นึ่งในการลดกิเลสให้น้อยลง และพูดได้ว่าอาจ กระบวนการดังกล่าวนี้ เป็ นสิง่ เดียวกันกับการเข้าถึงสภาวะ ขจัดกิเลสหรือการปรุงแต่งของจิตทีส่ ร้างความทุกข์หรือ ไกวัลยะหรือเป้าหมายสุดท้ายของอัษฏางคโยคะ (โดยการฝึก ปญั หาต่อการทํางานอันราบรื่น ในชีวติ ประจําวันของเราได้ มรรคทัง้ ๘ ของโยคะนันเอง) ่ นี่คอื ความย่อของตอนทีแ่ ล้ว วิธนี ้กี ค็ อื ธยานะ คําว่า ธยานะ ไม่ได้เป็ นกิจกรรมการ ในประโยคถัดมาของโยคสูตรกล่าวไว้ว่า “ธยานะ- ใคร่ครวญภายใน หรือการทําสมาธิบาง อย่างๆ ทีเ่ ข้าใจกัน เหยาสตัท-วฤตตยะห์” ๒.๑๑ แปลว่า กิเลสทัง้ หลายในจิต แต่ทถ่ี ูกแล้วปตัญชลีนิยามคํานี้ไว้ในประโยค ๓:๒ ว่า เป็ น สามารถถูกขจัดโดยธยานะ สภาวะของปรัตไยกตานตา นันคื ่ อ เป็ นสภาวะหนึ่งของ ดังทีเ่ คยกล่าวแล้วว่า กิเลสทัง้ หลายนัน้ ไม่สามารถ ประสบการณ์ทางจิต ซึง่ ไม่แปรเปลีย่ นเลยแม้แต่น้อยตลอด ถูกขจัดออกไปได้หมด ตราบเท่าทีเ่ รายังมีชวี ติ อยู่ในโลก ระยะเวลาทีผ่ ฝู้ ึกอยูใ่ นธยานะ เมื่อเข้าถึงธยานะด้วยความ ยิง่ กว่านัน้ กิเลสในระดับขัน้ ทีล่ ะเอียดแล้วจะไม่รบกวนหรือก่อ เชีย่ วชาญอย่างน่าพอใจเช่นนัน้ แล้ว กิเลสจะค่อยๆ ลดลงและ ปญั หามากนัก ความจริงอย่างทีเ่ คยอธิบายไปแล้วว่ากิเลส อาจไม่มผี ลกระทบ การปรุงแต่งของจิตไม่อาจสร้างการ เหล่านี้ อาจเป็ นสิง่ จําเป็นต่อการดําเนินชีวติ ประจําวัน รบกวนหรือปญั หาใดๆ ต่อการดําเนินชีวติ ทางโลกของเรา ตามปกติดว้ ยซํ้า กิ เลสจะกลายเป็ นสิ่ งรบกวนหรือเป็ น ปัญหาขึน้ มา ก็ต่อเมื่อมันปรากฏตัวในรูปของการปรุง 1 แต่งของจิ ตจนทาให้เกิ ดความทุกข์ เราสามารถลดกิ เลส กริ ยาโยคะในที่น้ ีคือ การฝึ กนิยมะ ๓ ข้อ ได้แก่ ตปั ส สวาธยายะ และอิศวร ประณิธานะ (ผูแ้ ปล)

news 1112 11


ตามทีไ่ ด้กล่าวแล้วในประโยค ๑:๕ คําว่า อกลิษฏะ ไม่ได้หมายถึงการขจัดกิเลสอย่างสิน้ เชิง แต่คาํ ว่า กลิษฏะ และอกลิษฏะ เป็ นการแสดงถึงความเกีย่ วข้องของกิเลสใน การปรุงแต่งของจิตในเชิงเปรียบเทียบว่า การปรุงแต่งของจิต อย่างหนึ่ง เกีย่ วข้องกับกิเลสมากหรือน้อยกว่าการปรุงแต่ง ของจิตอย่างอื่นๆ ในแง่น้ดี ว้ ยกระบวนการของธยานะ กิเลสที่ เกีย่ วข้องกับการปรุงแต่งของจิตจะค่อยๆ ลดน้อยลงๆ และ ั หมดไปในทีส่ ดุ กล่าวคือ มันจะไม่สร้างปญหาต่ อการ ดํารงชีวติ ของเราจนเห็นได้ชดั ปตัญชลีกล่าวไว้ในประโยคถัดไปว่า “เกลศมูละห์ กรรมาศโย ทฤษฏาทฤษฏะ-ชันมะ-เวทนี ยะห์” ๒:๑๒ หมายถึง กิเลสคือสาเหตุขนรากฐานของ ั้ กรรมาศยะ (Karmasaya หรือกรรมาศัย) และผลของมันย่อมปรากฏได้ใน ชีวติ นี้ ซึง่ มีทงั ้ ทีร่ บั ผลในปจั จุบนั และไม่ได้รบั ผลในปจั จุบนั ตามความเห็นของอรรถกถาจารย์ ของหนังสือเล่มนี้ แต่ละหรือทุกๆ ประโยคในปตัญชลีโยคสูตรมีความเกีย่ วข้อง สัมพันธ์กบั การปฏิบตั โิ ยคะ กระนัน้ ก็ตามบางประโยคเมื่อ เปรียบเทียบแล้ว มีความเป็ นปรัชญาและทฤษฎีมากกว่า ประโยคอื่นๆ ไม่ตอ้ งสงสัยเลยว่าแม้แต่ประโยคทางปรัชญา เหล่านัน้ ก็ยงั นําเสนอความจริงหรือหลักปฏิบตั บิ างอย่าง ซึง่ มี สาระสําคัญเกีย่ วโยงกับการปฏิบตั ิ เพราะเหตุว่าหากขาด ความเข้าใจในหลักการปฏิบตั เิ หล่านัน้ แล้ว การปฏิบตั อิ าจถูก บิดเบือนได้ ดังนัน้ ประโยค ๒:๑๒ - ๒:๒๗ คือความจริงทาง ปรัชญาขัน้ พืน้ ฐานบางอย่างทีส่ าํ คัญ ซึง่ ควรจะทําความเข้าใจ ให้ถูกต้อง เพื่อทีจ่ ะทําให้การฝึกปฏิบตั โิ ยคะของปตัญชลีเกิด ความสัมฤทธิผล ์ บ่อยครัง้ ทีเดียว ทีม่ กี ลุม่ คนซึง่ นับถือและชอบ ปรัชญาเวทานตะเป็ นอย่างมากโดยเฉพาะอไทวตะเวทานตะ2 ได้อา้ งว่า โยคสูตรของปตัญชลีวางอยู่บนรากฐานทางปรัชญา เวทานตะและพวกเขาพยายามทีจ่ ะอธิบายกระบวนการและสิง่ ต่างๆ ในโยคสูตรโดยอิงกับมุมมองทางปรัชญานี้ แต่เรารูส้ กึ ว่าปตัญชลีไม่ได้ผกู ตัวเองกับแนวคิดของสํานักปรัชญาใดเป็ น การเฉพาะอย่างแน่นหนามาก ดูเหมือนท่านจะเปิ ดกว้างมาก เสียจนกระทังแนวคิ ่ ดของท่าน มีความสอดคล้องกับสํานัก ปรัชญาต่างๆ ซึง่ ไม่เฉพาะแนวปรัชญาฮินดูเท่านัน้ แต่ยงั รวมถึงแนวคิดทีต่ ่างออกไปอย่างสิน้ เชิงด้วย กล่าวคือมีความ ง่ายทีจ่ ะปรับให้เข้ากันระหว่างแนวคิดอื่น กับโยคสูตรของ ปตัญชลีนนเอง ั่ อย่างไรก็ตามนักวิชาการส่วนใหญ่มคี วามเห็น 2

อไทวตะเวทานตะ คือ ปรัชญาที่เชื่อว่าสิ่ งจริ งแท้สูงสุ ดมีเพียงสิ่ งเดียวคือพร หมัน อไทวตะ แปลว่า ไม่มีสอง ไม่เป็ นสอง (สุ นทร, น. ๒๙๐)

news 1112 12

ว่าโยคสูตรของปตัญชลี มีความเกีย่ วข้องกับปรัชญาสางขยะ มากกว่า และรับเอาแนวคิดของปรัชญาสางขยะมาใช้เป็ น พืน้ ฐานโดยทัวไปด้ ่ วย จนถึงตอนนี้ปรัชญาโยคะซึง่ หมายถึง ปตัญชลีโยคสูตรนัน้ ได้รบั การกล่าวอ้างว่าเป็ นเสศวรสางขยะ3 บ่อยมาก เรารูส้ กึ ว่ามุมมองแบบนี้น่าจะถูกต้อง บางครัง้ อาจจะมีคาํ ถามว่า แนวคิดปรัชญาสางขยะได้รบั การอธิบาย อย่างชัดเจนทีส่ ว่ นใดในโยคสูตรของปตัญชลี? และเราก็รสู้ กึ ว่าประโยค ๒:๑๒ - ๒:๒๗ นี้มคี วามเกีย่ วพันกับปรัชญาสาง ขยะมากกว่าประโยคอื่นๆ การแปลโยคสูตรประโยคนี้ จึงบอกเราว่ากิเลสทําให้ เกิดกรรมาศยะ กล่าวคือ กรรมาศยะเป็ นทีเ่ ก็บสะสมกรรมที่ กระทํามาในอดีตซึง่ ถูกเก็บในรูปของสัมสการะ สัมสการะเป็ น ั บนั ทีห่ ลงเหลืออยู4่ ผลของกรรม ผลของกรรมทัง้ อดีตและปจจุ ทัง้ ในอดีตและปจั จุบนั ย่อมได้รบั ผลในปจั จุบนั และในอนาคต นี้คอื สัจธรรม หรือความจริงอันสําคัญของทฤษฎีกฎแห่งกรรม (กรรม-สิทธานตะ) ซึง่ ไม่ได้มเี ฉพาะในปรัชญาสางขยะเท่านัน้ แต่ปรัชญาอินเดียทัง้ หลายต่างก็ยอมรับความจริงอันนี้ เกลศมูละห์ และกรรมาศยะห์ ทัง้ สองคํานี้วางไว้ ด้วยกันในฐานะเป็ นประธานของประโยค (ตามไวยากรณ์ สันสกฤต) ส่วนแรกของประโยคสามารถแปลได้ว่า กรรมาศ ยะเป็ นสาเหตุพน้ื ฐานของเกลศะ ส่วนทีเ่ หลือของประโยคก็ แปลตามความหมายของเนื้อหาทีก่ ล่าวในย่อหน้าทีแ่ ล้ว การ แปลเช่นนี้เป็ นสิง่ ทีต่ รงประเด็น เพราะเกลศะนัน้ ทํางานไม่มที ่ี สิน้ สุด และเนื่องจากความเกีย่ วข้องกันของเกลศะและกรร มาศยะ กรรมทัง้ หลายจึงถูกเก็บไว้ในรูปของสัมสการะในกรร มาศยะ คําถามพืน้ ฐานทีว่ ่า “ทําไมกรรมครัง้ แรกในชีวติ ของ คนเราถึงทิง้ ร่องรอยไว้เป็ นสัมสการะได้ กล่าวในอีกแง่หนึ่ง กระบวนการสร้างสัมสการะ และการสะสมมันในกรรมาศยะ เกิดขึน้ ได้อย่างไร? และเพราะเหตุใด?” ดูเหมือนว่าโยคสูตร ประโยคนี้จะให้คาํ ตอบทีช่ ดั เจนไว้แล้ว คําถามพืน้ ฐานดัง 3

เสศวรสางขยะ คือ ปรัชญาโยคะที่ยอมรั บทฤษฎีแนวคิดของสางขยะแต่ยงั นับถือพระอิศวร(พระศิวะ)เป็ นพระเจ้าสู งสุ ด จึงได้ชื่อว่าเสศวรสางขยะ หรื อ สางขยเทวนิยม (ฟื้ น, น. ๑๙๓) 4

ความสัมพันธ์ระหว่าง เกลศะ(กิเลส) กรรม กรรมาศยะ(กรรมาศัย) และสัม สการะ(สังขาร) อธิบายได้ดงั นี้ เนื่องจากมนุษย์มีกิเลสติดตัวมาตั้งแต่กาเนิด (เพราะจิตวิญญาณยังมีกิเลสจึงต้องการเกิ ด) กิเลสเป็ นตัวผลักดันให้กระทา กรรมต่างๆ กรรมที่ทาแล้วจะสะสมลงในจิตที่แหล่งสะสมกรรมเรี ยกว่ากรร มาศัย โดยสะสมอยูใ่ นรู ปของสังขาร สังขารเหล่านี้จะปรากฏตัวออกมาเมื่อมี สิ่ งเร้ามากระตุน้ หรื อเมื่อเกิดผัสสะทางทวารทั้ง ๖ (คือขณะที่รับรู้รูป เสี ยง กลิ่น รส สัมผัส นึกคิด) โดยทัว่ ไปแล้วเมื่อสังขารแสดงตัวออกมาเราก็จะสร้าง กรรมใดกรรมหนึ่งเพิ่มขึ้นอีก (ผูแ้ ปล)


กล่าวนี้จริงๆ แล้วยังคงปราศจากคําตอบและคําอธิบายไปชัว่ กาลนาน เช่นเดียวกับคําถามโลกแตกทีว่ ่า “ไก่เกิดก่อนไข่ หรือไข่เกิดก่อนไก่?” เอกสารอ้างอิ ง :

๑) Karambelkar, P. V. (1986). PATANJALA YOGA SUTRAS Sanskrta Sutras with Transliteration, Translation & Commentary. Lonavla : Kaivalyadhama, p.193 -197. ๒) ฟื้น ดอกบัว (๒๕๔๕). ปวงปรัชญาอินเดีย. พิมพ์ครัง้ ที่ ๑. กรุงเทพฯ : ศยาม. ๓) สุนทร ณ รังษี (๒๕๓๐). ปรัชญาอินเดีย : ประวัตแิ ละลัทธิ. พิมพ์ครัง้ ที่ ๑. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

news 1112 13


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.