โยคะสารัตถะ กุมภาพันธ์ 2556

Page 1

¨´ËÁÒ¢‹ Ò Ç

ÊÒÃѵ¶Ð

photo : http://www.pinterest.com

¡Ø Á ÀÒ¾Ñ ¹ ¸ 2556

www.thaiyogainstitute.com


ÊÒÃѵ¶Ð ÊÒÃºÑ Þ

·Õ ่ » ÃÖ ¡ ÉÒ

2 3 5

¡ÃÃÁ¡ÒÃ

¤Ø  ¡Ñ ¹ ¡‹ Í ¹ »¯Ô · Ô ¹ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁà¤Ã× Í ¢‹ Ò Â ¨Ò¡à¾× ่ Í ¹¤ÃÙ ปาฏิ ห าริ ย  ท ี ่ ส ร า งได ด  ว ยตั ว เอง World Householders’ Yoga Convention

¾Õ ่ à ÅЪǹ¤Ø  วิ ว าทะ

º·¡Å͹ photo : http://www.pinterest.com

เธอจะค น พบความสุ ข ในชี ว ิ ต ได อ ย า งไร

ªÇ¹¤Ô ´ ¹Í¡¨Í

6 8 12 14

The OThers

15

กล า มเนื ้ อ

16

Ãкº»ÃÐÊÒ··Õ ่ ¤ ÃÙ â ¤ФÇÃÃÙ Œ µÓÃÒâÂ¤Ð´Ñ ้ § à´Ô Á

มรรค๘โยคะของปตั ญ ชลี และข อ สั ง เกตเรื ่ อ งยมะ-นิ ย มะ

18

กวี คงภั ก ดี พ งษ แก ว วิ ฑ ู ร ย เ ธี ย ร ธี ร เดช อุ ท ั ย วิ ท ยารั ต น นพ.ยงยุ ท ธ วงศ ภ ิ ร มย ศ านติ ์ นพ.สมศั ก ดิ ์ ชุ ณ หรั ศ มิ ์ กฤษณ ฟ ก น อ ย ชนาพร เหลื อ งระฆั ง ชุ ต ิ ม า อรุ ณ มาศ วรพจน คงผาสุ ข วรรณวิ ภ า มาลั ย นวล วิ ล ิ น ทร วิ ภ าสพั น ธ สมดุ ล ย หมั ่ น เพี ย รการ

ÊÓ¹Ñ ¡ §Ò¹

พรทิ พ ย อึ ง คเดชา วั ล ลภา ณะนวล สุ จ ิ ต ฏา วิ เ ชี ย ร

¡Í§ºÃÃ³Ò¸Ô ¡ ÒÃ

จิ ร วรรณ ตั ้ ง จิ ต เมธี ณั ต ฐิ ย า ป ย มหั น ต ณั ฏ ฐ ว รดี ศิ ร ิ ก ุ ล ภั ท รศรี ธนวั ช ร เกตน ว ิ ม ุ ต ธี ร ิ น ทร อุ ช ชิ น พรจั น ทร จั น ทนไพรวั น วิ ส าขา ไผ ง าม วี ร ะพงษ ไกรวิ ท ย ศั น สนี ย  นิ ร ามิ ษ

ÈÔ Å »¡ÃÃÁ

กาญจนา กาญจนากร

1


¤Ø  ¡Ñ ¹ ¡‹ Í ¹

ÊÒÃѵ¶Ð

ลมหนาวที่พัดพามาใหรูสึกอยางผาน ๆ เปนเดือนแหงความรักทั้งทางสากล และชาวพุทธศาสนิกชน รวมถึงปใหมของชาวจีนที่ยังคงสืบสานประเพณีที่ดีงามในการ แสดงความกตัญู และเสริมความเปนศิริมงคลใหกับชีวิต ติดตามอานเรื่องราวของเพื่อนครู จากการรวมกิจกรรม และ ประสบการณใน ดินแดนภารตะไดในฉบับนี้ เผื่อสรางแรงบันดาลใจใหใครบางคน และพี่เละยังคงมาวิวาทะ ตอในเรื่องของทาศลภาสนะ โปรดติดตามอานไดในฉบับนี้

»¯Ô · Ô ¹ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁ

6 13 20 23 24 27

â¤Ðã¹Êǹ¸ÃÃÁ ³ Ëͨ´ËÁÒÂà赯 ¾ Ø · ¸·ÒÊ ¿ÃÕ àÂ็ ¹ ÇÑ ¹ ¾Ø ¸ àÇÅÒ 17.00 – 18.30 ¹. 6 ก.พ. ครูเป (วิไลวรรณ สุพรม) 13 ก.พ. ครูเอ (ปวริศา จันทรา) โยคะในสวนธรรม 20 ก.พ. ครูออด (วรรณวิภา มาลัยนวล) โยคะในสวนธรรม â¤Ðã¹Êǹ¸ÃÃÁ ³ Ëͨ´ËÁÒÂà赯 ¾ Ø · ¸·ÒÊ ¿ÃÕ àÂ็ ¹ ÇÑ ¹ ¾Ø ¸ àÇÅÒ 14.00 – 16.00 ¹. 23 ก.พ. ครูหนึ่ง (จิรภา เหลืองเรณู) â¤ÐÍÒÊ¹Ð¢Ñ ้ ¹ ¾× ้ ¹ °Ò¹à¾× ่ Í ¤ÇÒÁÊØ ¢ ÊÓËÃÑ º ¼Ù Œ à ÃÔ ่ Á µŒ ¹ วันอาทิตยที่ 24 เวลา 9.00 – 15.00 น. ที่ชั้น 6 หอง 262 คณะมนุษยศาสตร มศว ประสานมิตร คาลงทะเบียน 650 บาท â¤Ðã¹Êǹ¸ÃÃÁ ³ Ëͨ´ËÁÒÂà赯 ¾ Ø · ¸·ÒÊ ¿ÃÕ àÂ็ ¹ ÇÑ ¹ ¾Ø ¸ àÇÅÒ 17.00 – 18.30 ¹. 27 ก.พ. ครูไนท (วิไล กรศักยา) โยคะในสวนธรรม

2


ÊÒÃÑ µ ¶Ð

»¯Ô · Ô ¹ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁ

photo : http://www.gettyimages.com

¤‹ Ò Â»ÃÒ³ÒÂÒÁÐ เนื้อหาในการอบรม ภาคปฏิบัติ กลไกหายใจพื้นฐาน หายใจดวยหนาทอง (กระบังลม) หายใจดวยทรวงอก(กลามเนื้อซี่โครง) เตรียมความพรอมกอนฝกปราณายามะ นาฑีสุทธิ (การหายใจสลับรูจมูกหรือ อนุโลม-วิโลม) ฝกเทคนิคเพื่อชวยเกื้อหนุนการฝกปราณ: มุทรา พันธะ กิริยา ฝกปราณ อุชชายีและฝกภัสตริกา (หากมีเวลาพอ) ภาคทฤษฎี เขาใจสรีระวิทยาของการหายใจ ปราณยามะตามตำราปตัญชลีโยคะสูตร และ ตำราหฐประทีปกา วัน / เวลา / สถานที่ในการอบรม วันพฤหัสบดีที่ 21 – วันศุกรที่ 22 กุมภาพันธ 2556 (คาย 2 วัน 1 คืน) ณ บานกานนิสา บางบัวทอง วิทยากร ครูกวี คงภักดีพงษ และ ทีมวิทยากรจาก สถาบันโยคะวิชาการ คาลงทะเบียน 2,750 บาท/คน/หลักสูตร รับนักเรียน 15 คน

3

ËÅÑ ¡ ÊÙ µ äÃÙ â ¤Ðà¾× ่ Í ¡ÒÃ¾Ñ ² ¹Ò¨Ô µ ͺÃÁ 90 ªÑ ่ Ç âÁ§ รุนที่ 19 Ts56a วัตถุประสงค 1. เรียนรูโยคะในเชิงวิชาการ อางอิงตำราดั้งเดิม โดยเฉพาะ ๒ เลมหลัก ไดแก ปตัญชลีโยคะสูตร และ หฐประทีปกา 2. เขาใจโยคะดวยการฝกปฏิบัติเทคนิคตางๆ ของโยคะ เขาถึงแกนของโยคะอันไดแก สมาธิ 3. ตระหนักถึงคุณคาของโยคะผานประสบการณ ตรงของตน 4. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองมาอยูบนวิถีโยคะ มากขึ้น 5. สามารถเผยแพรศาสตรโยคะตอไปยังผูอื่น เนื้อหาภาคปฏิบัติ ทาอาสนะพื้นฐาน 14 ทา ตามตำราดั้งเดิม (และเพิ่มทาตามความเหมาะสม) เทคนิคปราณายามะพื้นฐาน อนุโลม อุชชายี ภัสตริกา เทคนิคมุทราพื้นฐาน วิปริตกรณี สิงหะ เทคนิคพันธะพื้นฐาน อุฑฑียาน มูล ชาลันธร เทคนิคกิริยาพื้นฐาน กปาลภาติ ชลเนติ ตราฏกะ กิจกรรมเพื่อเรียนรูแบบโยคี


ÊÒÃѵ¶Ð ภาคทฤษฎี สรีรวิทยา กายวิภาค สำหรับผูที่จะเปน ครูโยคะเพื่อการพัฒนาจิต ประวัติศาสตร พัฒนาการของโยคะ ปรัชญาอินเดีย ตำราโยคะดั้งเดิม ปตัญชลีโยคะสูตร, หฐประทีปกา จิตสิกขา ทีมวิทยากร ครูกวี คงภักดีพงษ และ ทีมวิทยากรจากสถาบัน โยคะวิชาการ ลักษณะกิจกรรม แบงการอบรมออกเปน 3 คายรวม90ชม. คายที่ 1 วันเสารที่ 23 – วันอังคารที่ 26 มีนาคม 56 ( 4 วัน 3 คืน ) คายเปด วิถีโยคะ เนนอาสนะ ยมะ นิยมะ คายที่ 2 วันเสารที่ 27 – วันจันทรที่ 29 เมษายน 56 ( 3 วัน 2 คืน )

เดินทางเขาสูภายใน เนนปราณายามะ มุทรา พันธะ กิริยา คายที่ 3 เสารที่ 1 – จันทรที่ 3 มิถุนายน 56 ( 3 วัน 2 คืน ) คายปด การรูและเขาใจตนเอง ผูเรียนนำเสนอโยคะตามความเขาใจของตน รับจำนวนจำกัด : 24 ทาน คาลงทะเบียน 19,900 บาท/คน ตลอดหลักสูตร เปนบรรยากาศสบายๆ สำหรับผูรักโยคะ อยูในชุมชนกัลยาณมิตรเปนพื้นที่ของคนใสใจ ซึ่งกันและกัน ตระหนักถึงความลึกซึ้งของโยคะ เห็นภาพรวมที่เนนการพัฒนาจิตไปสูการบรรลุธรรม เห็นประโยชน เขาใจวาโยคะตองพึ่งตนเอง และ เกิดฉันทะที่จะปฏิบัติ ทดลองกับตนเองขวนขวาย ศึกษาเรียนรูเพิ่มเติม อานตำรา

ÃÒÂÅÐàÍÕ Â ´¡Ó˹´¡Òä‹ Ò Â·Õ ่ 1

หมายเหตุ : กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม / รายละเอียดในคายที่ 2 และ 3 จะแจงใหทราบอีกครั้ง

4


ÊÒÃѵ¶Ð

¡Ô ¨ ¡ÃÃÁà¤Ã× Í ¢‹ Ò Â

photo : http://www.gettyimages.com

¡Ô ¨ ¡ÃÃÁÈÙ ¹  à ÃÕ Â ¹ÃÙ Œ Ê Ø ¢ ÀÒÇÐ

ประจำเดือนกุมภาพันธ 2556 (สสส) กิจกรรมโยคะสรางสุขเพราะโยคะไมใชเปนเพียง แคการออกกำลังกายอยางที่หลายคนเขาใจ แตเปนการพัฒนากาย จิต อารมณ บุคลิกภาพ ฯลฯ ใหเกิดความสมดุล มารวมคนหาองครวมของศาสตรโยคะ ผานการ เรียนรูและฝกฝนกับครูโยคะที่มากดวยประสบการณ จากสถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบาน พบกันทุกวันพฤหัสบดี เวลา 17.00-18.30 น. และวันเสาร เวลา 10.30-12.00 น. ณ หองอาศรมสุขภาวะ (เริ่มตั้งแตวันเสารที่ 9 ก.พ. 56) รับจำนวนจำกัด ไมเกิน 20 ทาน กรุณาสำรองที่นั่งลวงหนา เรียนฟรีตลอดเดือน ก.พ. 56 !!! สอบถามรายละเอียดและสำรองที่นั่งเขารวม กิจกรรมไดที่ activity.thc@thaihealth.or.th หรือ 0-2343-1500 ตอ 2

5

¡ÃÕ ¹ äÅ¿Š ¿ µ à¹Ê

ขอเชิญชวนเดิน-วิ่งเทิดพระเกียรติ สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 1 วันที่ 24 กุมภาพันธ 2556 พรอมแนะนำการสมัครที่สามารถ โหลดใบสมัครไดจากเวบลิงคนี้ http://www. greenlifefitness.net/news/28/170-charity-run.html หรือ สอบถามรายละเอียดไดที่ กรีนไลฟฟตเนส โทร. 02 899 7310 และ 02 899 7317


¨Ò¡à¾× ่ Í ¹¤ÃÙ

»Ò¯Ô Ë ÒÃÔ Â · Õ ่ Ê ÃŒ Ò §ä´Œ ´ Œ Ç ÂµÑ Ç àͧ กวาที่ฉันจะรูตัววามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ก็ตอเมื่อนาทีที่กลับมาถึงหอง- -โลกสี่เหลี่ยมที่ คุนเคย แลวเอื้อมมือเปดเพลงแผนเดิมๆ เมื่อเพลงแรกที่ชื่อวา ‘ปาฏิหาริย’ แววดังขึ้นมา.. “ฉันยังรอคอยปาฏิหาริย เชื่อวาวันหนึ่งจะมาถึง ครึ่งหนึ่งของฉันที่มันขาดหายไป ใครที่รักกันจริงคนนั้น คนที่เคยฝนเขาจะมาอยูขางกันจริงๆ” ซึ่งทุกๆครั้งที่ฟงเพลงนี้ฉันก็มักจะมีภาพเงา ของใครสักคนหนึ่งเปนสีเทาจางๆและมีเครื่องหมาย คำถามวางอยูบนหนาเขาเสมอวาเขาคือใคร - ที่เปนอีกครึ่งหนึ่งของเราเพียงแตมันไมใชครั้งนี้ ที่ฉันฟงเพลงเดิมดวยหัวใจที่เปลี่ยนไป เพราะจูๆ ฉันก็กลับรูสึกวาครึ่งหนึ่งของชีวิตที่ขาดหายไปของ ฉันมันสามารถเติมเต็มไดดวยการรูจักคุณคาใน ตัวเอง ดวยการทำสิ่งที่ดีที่มีประโยชนตอผูอื่น - ดวยโยคะ มันอาจดูเปนเรื่องธรรมดาสำหรับใครอื่น หากจะบอกเลาถึงการเปลี่ยนแปลงของชีวิต แตสำหรับฉัน - - วงกลมอันเวาแหวงที่กลิ้งไปยัง ทิศทางตางๆ เพื่อคนหาสามเหลี่ยมที่ขาดหาย มาชั่วชีวิตการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ถือเปนรื่องที่นา ประหลาดใจนัก

ÊÒÃѵ¶Ð

photo : http://www.tumblr.com

ฉันจึงนึกยอนไปถึงชวงเวลา 3 วัน 2 คืน ที่ผานมา นึกถึงตนทางอันเปนที่มาของการเกิด แรง กระเพื่อมในหัวใจ ที่มาจากการที่ฉันไดมี โอกาสไปเขารวมกิจกรรมคาย Yoga Teacher Makeover : " The Choice เสื่อจริง ตัวจริง " นำโดยวิทยากร 3 ทาน คือ ครูออด, ครูหนึ่ง และหมอดุล อันเปนการอบรมที่มิไดสรางกรอบเพื่อบอก วาผูเรียนจะตองเปนครูโยคะอยางวิทยากรทั้ง 3 ทานเทานั้นจึงจะมีศักยภาพในการสอนแตเปนการ ชวนใหผูเรียนยอนกลับมามองดูตัวเองเพื่อคนหา และดึงศักยภาพที่หลับไหลอยูในตัวเองออกมา เปนการเติบโตที่งอกงามในแบบของเราเองซึ่ง แนนอนวาเราอาจตองกาวผานความกลัวที่ซุกซอน อยูภายใตภูเขาน้ำแข็งไปใหได การอบรมดำเนินไปโดยครูทั้ง 3 ทานนำ หลากกิจกรรมมาใหผูเรียนไดรวมกันทำ ไดคนหา ตัวตนของตัวเอง ไดตั้งคำถามกับตัวเอง ถึงเปา หมายและทิศทางในการสอนโยคะและอะไรที่เปน หมอกจางๆ ที่ขวางกั้นไว ไดนั่งฟงวิทยากรทั้ง 3 ทานเลาเรื่องราว ของประสบการณการสอน ครั้งที่ยากลำบาก กวา จะผานมันมาได ซึ่งชวยใหเมล็ดพันธุบางเมล็ด

6


ÊÒÃѵ¶Ð ในตัวเราไดมีกำลังใจชุมชื่นขึ้นมาเมื่อเรียนรูวาดอก ไมที่เรามองเห็นวามันสวยงามนั้นกวาที่จะเบงบาน กวาที่จะมีวันนี้ ความงามเหลานั้น ก็ผานอะไรตอ มิอะไรมามากมายเชนกัน การไดรวมทำกิจกรรมทั้งกิจกรรมกลุม กิจกรรมเดี่ยว ที่วิทยากรจัดเรียงไว ไดทำใหเรา เรียนรูที่จะมองตัวเองและมองผูอื่นในมุมที่ตางออก ไป ไดเรียนรูถึงความเหมือนและความตางของ คนเราที่คงไมสรางปญหาใดๆ หากเราเปดหัวใจ ใหกวางที่จะยอมรับและเหนือสิ่งอื่นใดการไดกาว ผานความกลัวคือการเรียนรูครั้งสำคัญสำหรับฉัน ในวันสุดทายของคาย ครูออดนำพรีเซนเทชั่นมาเปดใหพวกเราดู เปนรูป ดักแดหลายๆ ตัว และตอมาดักแดเหลานั้นก็คอยๆ กลายเปนผีเสื้อแสนสวย แตมีอยูตัวหนึ่งที่ไม สามารถเติบโตไดและตายอยูในดักแดนั้น ครูออดชวนใหพวกเราคิดวา

7

ดักแดนั้นก็เหมือนความกลัวที่หอหุมตัวเราเอาไว หากเราไมเขมแข็งพอที่กาวผานความกลัวได เราก็จะตองตายอยูภายใตความกลัวของเราเอง แลวสุดทายการไดโบยบินเพื่อหวานโปรยเมล็ดพันธุ แหงโยคะหรือการทำสิ่งดีๆ ก็จะเปนเพียงฝน ฉันยิ้มกับตัวเองเบาๆ ระหวางรดน้ำตนไมตรงระเบียงในตอนเชา รูสึกถึงใจที่เคยแหวงวิ่นกำลังคอยๆ ถูกเติมเต็มขึ้น.. จากตัวฉันเอง และขณะเดียวกันก็รูสึกเหมือน ดักแดที่เคยหอหุมตัวฉันไวอยางแนนหนาตลอดมาก็ คอยๆ เบาบางลงๆ เปดเพลงปาฏิหาริยคลอเบาๆ ขณะแตงตัวจะไปทำงานและนึกในใจวา.. บางทีปาฏิหาริยก็อาจไมใชเรื่องเหนือจริงจนเกินไป ในวันที่เราเริ่มเรียนรูที่จะสรางมัน.. ดวยมือของตัวเอง เชนนั้นแลว.. การไดโบยบินสำหรับฉัน คงไมไดเปนเพียงแคฝนกระมัง


¨Ò¡à¾× ่ Í ¹¤ÃÙ

World Householders’ Yoga Convention 25-26 Yoga Exhbition, Panel Discussion, Personal experience Yoga Institute Santacruz เตยไดมีโอกาสไปรวมงานนิทรรศการของ The Yoga Institute ซานตาครูสมาเมื่อวันที่ 26 ธันวาคมที่ผานมาคะ เลยมีเรื่องเลาเล็กๆ นอยๆ มาฝาก งานนิทรรศการนี้ชื่อวา World Householders’ Yoga Convention ที่จริงเขาจัดสอง วันคือ วันที่ 25-26 ธันวามคม เปดใหเขาชมตั้ง แตแปดโมงเชาถึงสองทุม ไมเสียคาใชจายแตกอน จะเลาเรื่องงานนิทรรศการ อยากจะเลาบรรยากาศ ที่มุมไบใหทราบซักเล็กนอยกอนคะ พวกเราเดินทางไปถึงมุมไบชวงค่ำวันที่ 25 ธันวาคมวันคริสตมาสพอดีคะหลังจากแลกเงิน กันที่ Thomas Cook ภายในบริเวณสนามบิน เรียบรอยแลวก็เดินออกมาเจอครูฮิโรชิและคุณราทด ไกดของเราไปรับที่สนามบินแลวพาไปที่โรงแรม โฮเต็ล แอ็คคอรด ซึ่งอยูใกลกับ The Yoga Institute เดินเพียงไมเกินสิบนาทีก็ถึงคะ ครูฮิโรชิเลย ใหพวกเราอยูที่นี่ ออ หลายคนอาจจะอยากทราบ วาอากาศหนาวไหมฮาๆ เทาบานเราเลยคะสามสิบ องศา มีรูปบรรยากาศภายในตลาดมาใหดูคะ

ÊÒÃѵ¶Ð

บรรยากาศยามค่ำคืนของที่นี่คอนขางจอแจทีเดียว คนเดินกันไปมาขวักไขว เทาที่เห็นมีแตผูชายนะคะ ไมคอยผูหญิงเดินไปมา ครูฮิโรชิบอกวา ผูหญิงก็จะ อยูบาน ถาจะออกมาขางนอก ตองมีสามีหรื ญาติ พี่นองออกมาดวยเทานั้นจะไมออกมาเดินคนเดียว แถมชวงนี้เพิ่งมีขาวสะเทือนขวัญวามีหญิงสาวชาว อินเดียถูกขมขืนโดยชายหาคนเนื่องจากไปขึ้นรถบัส คันหนึ่ง สุดทายหญิงสาวเคราะหราย ไปเสียชีวิต ที่สิงคโปร ครูเลยย้ำหนักย้ำหนาเรื่องความปลอดภัย วาใหระวังตัวมากๆ ที่อินเดียไมเหมือนเมืองไทย อยาคิดวาจะทำแบบที่อยูเมืองไทยได อาจเกิดแหตุ การณไมคาดฝนได กลับมาเรื่องตลาด กันตอคะที่นี่ผักผลไมสด เปลงปลั่ง อวบอิ่มนากินไปเสียหมดแตถาให อรอย ก็เปนสมคะ กลวยก็โอเคแตชวงนี้องุนยังไมคอย หวาน ครูก็ซื้อผลไมใหเรามากินกัน เรื่องราคาเตย จำไมคอยไดคะ รูแตวาไมคอยแพง แตรสชาติใชได เลย สมบานเขาจะเปนเปลือกหนาๆ ปอกเปลือก ออกมาก็ยังมีเยื่อขาวๆ ติดอยูที่ผลสมคอนขางมาก แตรสชาติดีเหลือเชื่อคะ ทานไดหมดเลย พอตก กลางคืนอากาศเริ่มเย็น เหมือนเราไดทานสมเย็นๆ ที่เอาไปเขาตูเย็นเลยคะ แหม พูดแลวน้ำลายสอ ขึ้นมาเลย รสดีจริงๆ คะ

8


ÊÒÃѵ¶Ð พอเสร็จจากชมตลาดแลวครูฮิโรชิก็พาไปทานอาการ ที่รานอาหารในโรงแรมเปนลานขางนอกรับลมเย็น คะ ครูฮิโรชิสั่งเปนอาหารมังสวิรัติใหเตยสั่งการลิค นาน แตกับอยางอื่นครูสั่งใหหมดเลยคะ อาหาร อรอยมาก อรอยจนถายรูปไมทันเลยคะเพราะหมด เสียกอน พอหนังทองตึงก็ไดเวลา ไปนอนเอาแรง เพื่อเตรียมไปงานนิทรรศการที่ซานตาครูสพรุงนี้ เชาคะ บรรยากาศขณะทานอาหารเย็น สวนนี่ เปนหองนอนที่โฮเต็ล แอ็คคอรดคะ อยูกันสองคน กับพี่กลวย สบายๆ ตอนเชาเราโทรไปสั่งอาหารคะ เขาจะเอามาสงใหเหมือนเราสองคนเหมือนมหารานี ยังไงยังงั้น เปนแซนดวิชผัก มีชีส มะเขือเทศ กรุบกรอบ และแตงกวาที่กินแลวสดชื่นมากๆ คะ มีน้ำสัมใหคนละแกว ไจ (ชานมใสเครื่องเทศแบบ อินเดีย) คนละหนึ่งเหยือก (เทไดหนึ่งแกวคะ) ขนมปงฟูๆ คนละสองแผนพรอมเนย และฟรุตเคก คนละชิ้น เราทานกันอยางเอร็ดอรอยสุดทายก็ตอง รีบ ทานเพราะมัวแตถายรูปจนครูฮิโรชิตองขึ้น มาตามคะ เดินออกจากโรงแรมไดยังไมทันเหนื่อย ครูฮิโรชิพาลัดเลาะไปมาสักพักก็ถึง The Yoga Institute ซานตาครูสแลวคะ ที่นี่มีมากมายหลาย กิจกรรมเลย ถาเราเดินมาก็จะเห็นรานคา รานขายหนังสือคะ มาถึงซุมแรกเลยก็เจอเจาหนา ที่คอยอธิบายใหเราทราบ เขาบอกเลยวาหลายๆ โรคที่เกิดขึ้นนั้นเกิดมาจากความบกพรองทาง อารมณ หลักๆของซุมนี้จะบอกใหเรานำวิถีชีวิต แบบโยคะมาใชในชีวิตประจำวันเพื่อชีวิตที่ดีขึ้น ซึ่งหมายรวมถึงทัศนคติที่มีตอการใชชีวิตของตัวเอง การอยูในสังคมกับผูอื่น การรับประทานท เหมาะสม (มิตะหาระ) เราควรดำเนินกิจกรรม ตางๆ ในชีวิตอยางไรบาง เชน ควรเดินอยางนอย วันละสามสิบนาทีขณะที่ทองวาง หรือหาเวลา ผอนคลายในทา Savasana, Nispandabhava, Dradhasana เปนตน

9

สวนรูปที่เห็นครูฮิโรชิยืนดูปายอยูนั้นเปนเรื่องของ รูปแบบความคิด เราควรจะเปนเพียงผูดูความคิด และเรียนรูเรื่องของ Swadyaya เพราะเราสูญเสีย ศรัทธามามาก สวนการจัดการกับ ความโกรธ เจาหนาที่อธิบายวาใหเราแทนที่ความโกรธดวย ความรึ้กตรงกันขาม แลวความโกรธนั้นจะหายไป และสุดทายในเรื่องของอาหารสำหรับจิตใจนั้น เขาพูดถึงสองเรื่องคืออนิจจัง ทุกสิ่งทุกอยาง นั้นเปลี่ยนแปลงไดเสมอ และ Pratipaksa Bhavana เราเปนสวนเล็กๆ สวนหนึ่งของโลกใบนี้ ของจักรวาลนี้ เปนสวนหนึ่งของกระบวนการตางๆ ซุมถัดมาแสดงใหเราเห็นวาถาเรามีความผอนคลาย จะชวยพัฒนาความจำได ซึ่งโยคะก็ชวยทำให เกิดสภาวะผอนคลายไดดี ในซุมนี้เราไดเลนเกม ทดสอบความจำดวยการที่เจาหนาที่ใหดูภาพวงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมประมาณสิบรูป ประมาณสิบ วินาทีแลวใหเราวาดลงกระดาษเอสี่ ทดสอบความ จำของเรา เราก็ทำไดมากนอยตามแตความ สามารถ ในการจำของแตละคนคะ ถัดมาอีกซุม เราจะเห็นรูปสาธุกำลังนั่งสมาธิอยู ซึ่งดูเหมือน จะมีสมาธิตั้งมั่นดี นาเคารพเลื่อมใสแตพอ เจาหนาที่กดปุมดูใหเราฟงความคิดของสาธุก็เห็น วาสาธุกำลังกำลังที่มีเจาหนูตัวหนึ่งมากัดผาที่สาธุ ตากไว เห็นไหมวาสิ่งที่เราเห็น ก็ไมใชสิ่งที่เปน เสมอไป ซุมถัดมาจะเห็นวาเขาพูดเรื่องการมี สุขภาพที่ดีวาเปนผลจากการใชวิถีชีวิตแบบโยคะ โยคะเองบงชี้ถึงรากของปญหาสุขภาพตางๆ ซึ่งก็มาจากจิตใจ เครื่องมือที่สำคัญที่สุด ในการฝก โยคะคือกายและใจ และสุดทายการทำงานอยาง ประสาน สอดคลองทั้งกาย ใจ และจิตวิญญาณ จะสรรสรางชีวิตใหเรา สวนซุมนี้เกมากคะ เหมาะสำหรับเด็กๆ เราจะเห็นวาดานหลังเจาหนาที่มีรูปสัตวตางที่ กำลังทำอาสนะตางๆอยูเขาจะมีภาพใหพรอมคำ อธิบายประกอบเล็กนอยคะ เชน ทาปลา พราหมรี รวมถึงการมีคนมาสาธิตอาสนะที่เราสนใจใหดูดวย อยางเชนสิมหะอาสนะ เปนตน


ÊÒÃѵ¶Ð

นอกจากนี้ยังมีฮอลลใหผูรวมงานลองฝกอาสนะรว มกันดวย นี่เปนภาพจากดานหนาหองสวยงามมาก เลยคะ พอมาฝกปฏิบัติเลยไมไดถายรูปในหอง มาใหดูคะ แตเขาใหเราลองทำตราฏกะ จากนั้นให นั่งขัดสมาธิ หลับตาลงเบาๆ อยูกับลมหายใจ ประมาณหานาที และใหลองนั่งทาพักเพื่อผอน คลาย และทำพราหมรี ซึ่งพอทำทั้งหมดแลวก็รูสึก ผอนคลายอยางบอกไมถูก อาจเปนเพราะวาไดพัก จากการชมนิทรรศการมายาวนานดวย พอไดมา นั่งผอนคลายก็รูสึกเหมือนมีแรงขึ้นมา แตยังไม จบเทานี้คะ เราเขาไปชมพิพิธภัณฑที่เลาเรื่องราว ความเปนมาของโยคะในยุคตางๆ ใหทราบ ใหเรา เห็นวาเครื่องที่ใชในพิธีปูชามีอะไรบาง จากนั้นเรา ก็ไปเซ็นสมุดเยี่ยมชมของสถาบัน เปนอันจบการ เยี่ยมชมงานวันนี้คะ สวนใหญรูปถายหมูอยูกับกลองครูฮิโรชิคะ เตยก็ถายบางเล็กๆ นอยๆตหวังวาทุกคนจะพอเห็น บรรยากาษของงานประชุมในครั้งนี้นะคะ ก็เรียก ไดวาเปนงานนิทรรศการครั้งแรกของสถาบันที่มีมา ยาวนานเกือบรอยป ทำไดนาประทับใจมากคะ เจาหนาที่ทุกคนตางใหความรวมมือยินดีและเต็มใจ ในการใหขอมูลเปนอยางมาก ถามอะไรซอกแซก แคไหนตอบไดหมด มีผูคนมากมายจากหลายที่ มาเขารวมงานในครั้งนี้คะ

ที่นาสนใจมากอีกอยางหนึ่งคือ นิทรรศการของเขา พูดไปไกลกวาเรื่องของอาสนะมาก แตมองไปถึง องครวม ถึงทั้งหมดของชีวิต รากเหงาของปญหา ที่มาที่ไป สุขภาพกายสุขภาพใจ โยคะเขาไปเกี่ยว ของอยางไร และจะชวยไดอยางไร ซึ่งพอถามครู ฮิโรชิ ครูก็บอกวาคนอินเดียสวนใหญ เขาก็ฝกโยคะ กันแบบที่เราฝกนี่ละ ที่มีพื้นฐานความเขาใจจาก ปตัญชลีโยคะสูตร ซึ่งสวนใหญก็มีพื้นฐาน มาจาก ไกวัลยธรรมและจากที่ The Yoga Institute ที่นี่ อีกอยางพอไดมาที่นี่แลว เจอคนมากมายที่รูจักครู ฮิโรชิคะ เขาชื่นชมครูฮิโรชิอยางมากในเรื่องของ การสนใจโยคะและปรัชญาอินเดีย รวมถึงการพา ผูคน เดินทางมาที่นี่อยางตอเนื่อง ซึ่งเตยเห็นแลว ก็รูสึกชื่นชมครูในจุดนี้อยูมากๆ เชนกันที่ครูมีความ อุตสาหะและอยากใหพวกเราไดเห็นและมีประสบ การณกับสถาบันโยคะที่เกาแกขนาดนี้วาเขาเปน อยางไรในวันนี้ ครูบอกวาที่นี่แทบจะไมโฆษณาเลย การรูจักที่นี่เปนเพียงจากปากตอปาเทานั้น ของดี แบบนี้จะอยูไดยาวนานคงทนและยั่งยืนกวา ก็ขอจบการเลาสูกันฟงเกี่ยวกับการมาเยี่ยม ชมนิทรรศการในครั้งนี้ดวยรูปสวัสดีงามๆ จากเตย และพี่จูน รุน 12 คะ

10


ÊÒÃѵ¶Ð

ฉบับตอๆ ไปตั้งใจจะทยอยเลาถึงการ ประชุมใหญ ของไกวัลยธรรมเรื่องโยคะกับเยาวชน แลวก็เรื่อง ของการเขาคอรสกริยาหลังการประชุม ตอดวย ทริปสุดมันสที่นั่งรถจากไกวัลยธรรมไปขึ้นรถไฟที่ มุมไบ ดวยรถไฟตูนอนสามชั้น นั่งแชไปสิบแปด ชั่วโมงถึงเดลีแลวนั่งรถตอไปอีกสี่ชั่วโมงเพื่อไป หริทวารแลวขึ้นไปที่ฤษีเกศเพื่อพบกับอุณหภูมิ หนาวสุดขั้วที่ 2.7 องศาหนาวที่สุดในรอบ 45ป แลวพวกเราจะรับมือกับความหนาวอยางไรเมื่อตอง นั่งกระเชาไปยอดเขาแลวตองถอดรองเทาเดินขึ้น วัดกับอุณหภูมิลบหนึ่งองศา และสุดทายเรื่องราว ของการมารักษาแบบธรรมชาติบำบัดที่อาศรมนิศา รโกปจารคนเดียวสองอาทิตย จะเกิดอะไรขึ้นบาง แลวคอยติดตามกันคะ นมัสเต เตย ณ หองพักอันแสนสบายที่อาศรมนิศาร โกปจาร เมืองปูเน

11


¾Õ ่ à ÅЪǹ¤Ø Â

ÇÔ Ç Ò·Ð (ÍÕ ¡ ) ผมขออนุญาต "วิวาทะ"ในประเด็นที่มีผูถาม ไปในโยคะสารัตถะฉบับลาสุด คือการทำศลภาสนะ (หรือตั๊กแตน) ซึ่งถามวา "ทาตั๊กแตนยกขาไมขึ้น ทำยังไงดีคะ? (ยกขางเดียวได ยกสองขางไมได)" ตอคำถามหรือประเด็นนี้ ผมมองวา เรา สามารถคิด(เพื่อหาคำตอบ)ไดจากหลายแงมุมเลย ทีเดียว ที่นาสนใจ(อยางนอยก็สำหรับผม)คือบาง ประเด็นที่คลายจะเปนคำตอบ หากเราไมหยุด เพียงแคนั้น มันอาจกอเกิดคำถามอื่นๆตามมาให เราขบคิด จนไดเห็น(และอาจเขาใจ) โลกของ อาสนะที่ "ไรขอบเขต" ตามที่จารึกในปตัญชละ โยคสูตระ (บทที่ ๒ โศลก ๔๗) ไดชัดขึ้น ผมขอเริ่มดวยการอางวิธีปฏิบัติ "ศลภาสนะ"จากคัมภีร"เฆรัณฑะ สัมหิตา"ซึ่งระบุ ไววา "นอนคว่ำหนาลงกับพื้น วางมือ(นาจะ) บนพื้นใกลหนาอก จากนั้นยกขาขึ้น (กลางอากาศ) สูง(จากพื้น)ประมาณหนึ่งศอก" (ตำราฉบับแปลบาง เลมบอกวาหนึ่งคืบซึ่งเทียบเทาประมาณ๙นิ้ว) จากขอความในคัมภีรคงไมตองสงสัยวา การทำศลภาสนะหรือทาตั๊กแตน อยางไรเสียเราคง ตองยกขาทั้งสองขึ้นจากพื้น

ÊÒÃѵ¶Ð

photo : http://www.clubmetropolitan.net

คำถาม (อยางที่บอกวาบางคำตอบอาจกอเกิด คำถาม อื่นๆตามมาถาเราฉุกคิด) มีอยูวา "ทำไม ตองยกขาใหสูงขึ้นจากพื้นหนึ่งศอก(หรือหนึ่งคืบ ก็ตามแต) ถามอีกแบบก็คือ "จะยกขาสูงกวานั้น หรือนอยกวานั้นไดไหม" (ผมขออนุญาตยังไมแลก ในประเด็นนี้ เพราะอยากใหมีการวิวาทะกันดูครับ) ไหนๆ ก็อางอิงการฝกอาสนะจากคัมภีร ดั้งเดิมเปนตัวอยางแลว ผมขอยกตัวอยางอีกหนึ่ง ทาจากคัมภีรเลมเดียวกัน คือ "ภุชังคาสนะ" หรือ ทางู ซึ่งในคัมภีรกลาวไววา"ใหรางกายตั้งแตสะดือ ลงไปถึงนิ้วเทาแตะ (หรืออาจหมายถึงวางบน)พื้น วางฝามือบนพื้น ยกศีรษะ รางกายสวนบน ขึ้นประหนึ่งงู ทานี้เรียกวา "ทางู" ทานี้จะเพิ่ม ความรอนใหรางกายเปนนิตยขจัดปดเปาสรรพโรค การฝกทานี้จะทำใหภุชคีเทวี(เทวีแหงงู หรือ กุณฑลินี) ตื่นขึ้น" หลายปกอน ผมเคยตั้งขอสังเกตกับเพื่อน พองนองพี่ในแวดวงอาสนะบางคนวา คัมภีรไมได ระบุไววาเราจะตองวางมือตรงตำแหนงไหนคลายๆ กับวากุญแจสำคัญของทางูอยูที่ "รางกายสวนลาง ตั้งแตสะดือถึงนิ้วเทาแนบกับพื้น"

12


ÊÒÃѵ¶Ð เอาละ เราอาจตั้งขอสังเกตวา การสอน อาสนะ(โดยเฉพาะในอดีต)เปนการสอนแบบใกลชิด ระหวางศิษยกับครู เพราะฉะนั้นรายละเอียดในการ ทำทวงทาจะอาศัยตำราคงไมเหมาะ (อยาวาแต ในยุคแรกๆ คงไมมีตำราคัมภีรวาดวยการฝก อาสนะดวย) ถึงกระนั้นก็ตาม พอมาในยุคหลังๆ แมจะมีการเรียบเรียงคัมภีรวาดวยการฝกอาสนะ ซึ่งในความเปนจริงคงไมสามารถระบุทุกสิ่งที่เกี่ยว กับการฝกอาสนะลงไปได โดยเฉพาะในแงของ วิธีฝกโดยละเอียด ประเด็นก็คือเวลาโยคีทานจะจารึกวิธีฝก อาสนะ(แบบรวบรัด ยนยอ หรือสังเขป) เพื่อเปน คูมือติดตัวในยามที่ไมไดอยูหรือฝกกับครู สิ่งที่ ผุดขึ้นมาในหัว(และใจ)กอนจะจดจารลงไป ใชหรือไมวา นาจะเปนเรื่องที่ทานรูสึกวา"สำคัญ" เชนนี้เอง ผมจึงรูสึกวา คียเวิรดของทางู อยูที่ "การใหรางกายสวนที่อยูต่ำกวาสะดือลงไป แนบหรือกดกับพื้น" สวนเราจะวางฝามือคว่ำ หรือ หงาย จะวางลงไปบนพื้นขางหัวไหล หนาอก หรือ เหนือสะดือเล็กนอย อาจไมใชสาระหรือหัวใจสำคัญ ของทวงทานี้ เผลอๆ เกิดใครบางคนอยากยกตัวใหสูง ขึ้นดวยการวางมือใหต่ำกวาอกลงไป พอยกแขน จนสุด(พูดงายๆ วาใชแขนออกแรงดันรางกายให สูงขึ้น - โปรดสังเกตวาในคัมภีรบอกวา "ใหยก ศีรษะขึ้นจากพื้น" โดยไมไดบอกวาใชสวนไหนยก) ก็มีความเปนไปไดวาตัวเราจะสูงจากพื้นมากกวาวา งมือไวขางหนาอก แตพูดก็พูดเถอะ ถารางกายดานหนา ไมยืดหยุนพอ แมตัวเราจะสูงขึ้นจากพื้น แตดวย ความที่ความแอนโคงนอยรางกายสวนที่ จะ สามารถ แนบกับพื้นได จะเปนประมาณตนขาหรือ อยางเกงก็ขาหนีบลงไปครับ

13

นั่นยอมหมายถึงวา โอกาสที่ความรอน ที่วาจะเพิ่มขึ้น และกุณฑลินีจะถูกปลุกใหตื่นก็นอย ลงไปดวย พูดเลนๆ วา กุณฑลินีอาจตื่นขึ้นแบบ งัวเงีย (ฮา) - หากมองจากแงมุมที่วาตำแหนง ของรางกายที่สัมพันธกับความรอนคือทองบริเวณ กระเพาะหรือแถวๆ สะดือ ซึ่งนาจะเปนเหตุผลวา เพราะเหตุใดในการทำทางูเพื่อกระตุนไฟหรือความ รอนในรางกายจึงตองใหสะดือแนบหรือกดกับพื้น ขอพักสายตา(ทั้งผมและคนที่(จะ)อาน "วิวาทะ" นี้กอนนะครับ ยังมีประเด็นที่ผมอยาก จะแลกเกี่ยวกับทาตั๊กแตนที่นองเขาปุจฉาไป ขอบคุณครับ (พี่)เละ


ÊÒÃѵ¶Ð

º·¡Å͹

à¸Í¨Ð¤Œ¹¾º¤ÇÒÁÊآ㹪ÕÇԵ䴌Í‹ҧäà ã¹àÁ×่Í·Ø¡¢ à¾Õ§¹Ô´à´ÕÂÇ à¸Í¡็¹ÑºÇ‹ÒÁѹ໚¹·Ø¡¢ ¢³Ð·Õ่ÊØ¢¹Ô´à´ÕÂǹÑ้¹ à ¸ Í ä Á‹ à ¤  Á Í § à Ë็ ¹

14


ÊÒÃѵ¶Ð

มีภาพยนตรเรื่องหนึ่งชื่อ The Others นิโคล คิดแมน แสดงเปนเจาของคฤหาสนโบราณ ในอังกฤษ ลูกทั้งสองของเธอเปนโรคแพแสง คฤหาสนทั้งหลังจึงตองปดมานทั้งวันทั้งคืน เรื่องเกิดขึ้นเมื่อลูกสาวทั้งสองของเธอเห็นผี มีทั้ง เด็ก คนแก ผูหญิง ผูชาย บางคืนก็เห็นเด็กผูชาย มาเปดมานในหองนอนของเธอ ตัวเธอคิดวาลูก โกหก แตบางครั้ง ก็เจอเขากับตัวเอง แตสิ่งที่นา ตกใจกวานั้นเธอพบวาคนรับใชทั้งสามคนใน คฤหาสน ความจริงไดตายไปเกือบรอยปแลว หมายความวาเธออยูกับผีมาโดยตลอด เรื่องมา ถึงจุดไคลแมกซเมื่อเธอไดยินเสียงกรีดรองของลูก ทั้งสอง สัญชาตญาณแมบอกเธอวา ลูกกำลัง อยูในอันตราย แตอันตรายจากอะไรในเมื่อเธอเอง กำลังเผชิญอยูกับผีคนรับใชทั้งสาม แสดงวาลูกของเธอ กำลังเผชิญกับผีอีกกลุมหนึ่ง เธอรวบรวมความกลา....เดินขึ้นบันไดไปชวยลูกจาก ผีกลุมนี้ในหองชั้นบน.......สิ่งที่เธอไดเห็นเมื่อเปดปร ะตูหองก็คือ คนกำลังนั่งลอมวง สวนลูกทั้งสอง ของเธอ...ยืนอยูขางๆ สาวแกตาบอด ซึ่งเปนคนที่ สามารถไดยินเสียงของเธอ และ ลูกสาว

15

ªÇ¹¤Ô ´ ¹Í¡¨Í

ถึงตอนนี้.....เธอก็รูแลววา สาวแกนั้นเปน คนทรงที่กำลังสื่อสารกับผี...และ..ผีนั้น ก็ไมใชใคร ที่ไหน หากไดแกเธอ ซึ่งเปนเจาของคฤหาสน และ ลูกสาวของเธอทั้งสองนั่นเองเธอไดพบวา..."ผี" ที่เธอและลูกทั้งสองกลัวมาตลอดนั้น จริงแลว ก็คือ " คน" ที่เพิ่งยายมาอยุใหม..... เธอและลูกไมรู วา ตัวเองตายไปแลว เลยไปคิดวาคนที่มาอยุใหมเปนผี เรื่องนี้สอนวา......อะไร ๆ ที่เรากลัวนั้น อีกดานหนึ่งเขาก็กลัวเราเหมือนกัน เชน เวลา เราสะดุงเพราะเจองู งูก็สะดุงเพราะเราดวยเชนกัน สิ่งที่เรากลัว เอาเขาจริง ๆ ก็อาจไมไดนากลัว อยางที่เราคิด ในทำนองเดียวกัน ผูคนกลัวงานการ ลมเหลว นักเรียนกลัวเรื่องสอบ ก็เพราะไป วาดภาพเอาเองวา ถาเกิดลมเหลวหรือสอบตก ชีวิตจะจบเห แตที่จริง ชีวิตก็ยังดำเนินตอไปได ถึงแมความลมเหลวเกิดขึ้นแลวก็ตามมองใหลึก ลงไป เราไมไดกลัวสิ่งที่อยุนอกตัว จริงๆ แลว เรากลัวความคิดของเราเอง


Ãкº»ÃÐÊÒ··Õ ่ ¤ ÃÙ â ¤ФÇÃÃÙ Œ

¡ÅŒÒÁà¹×้Í จากที่กลาวในตอน " ผลจากศรทั้งสอง" ระบบประสาทสั่งการหรือระบบประสาทมอเตอร มีหนาที่สั่งการและควบคุมการปฏิบัติงานใหอวัยวะ ตางๆ มีการตอบสนองตอขอมูลที่ไดรับ อยาง เหมาะสมเพื่อรักษาสมดุลของรางกายประกอบดวย 2 ระบบที่สำคัญคือ ระบบประสาทรางกาย (somatic nervous system) ควบคุมและสั่งการ ไปที่กลามเนื้อลาย และระะบบประสาทอัตโนมัติ (autonomic nervous system) ควบคุมและสั่ง การไปที่กลามเนื้อเรียบ กลามเนื้อหัวใจและตอม ตางๆ ซึ่งจะเห็นไดวาสวนประกอบที่สำคัญ ของ อวัยวะสำแดงผลของระบบประสาทสั่งการก็คือ กลามเนื้อ นั่นเอง กลามเนื้อเปนเซลลที่ถูกพัฒนาไป เพื่อทำ หนาที่เดนดานพลังงานกล โดยมีการหดตัวและ คลายตัว เพื่อทำใหเกิดการเคลื่อนไหวของรางกาย และอวัยวะตางๆ เซลลกลามเนื้อมีลักษณะคลาย เซลลประสาทที่สามารถกระตุนไดและเกิดศักยทำ งานที่กระจายไปทั่วเยื่อหุมเซลลกลามเนื้อ แตตาง จากเซลลประสาทที่วาศักยทำงานในกลามเนื้อจะไป กระตุนการหดตัวในกลามเนื้อ ซึ่งเกิดจากโปรตีน ยืดหดตัวซึ่งมีอยูในกลามเนื้อ อาจแบงชนิดของกลามเนื้อไดหลายประเภท ตามตำแหนงการทำงานและโครงสรางดังนี้

ÊÒÃѵ¶Ð

1.แบงตามการควบคุมการทำงาน 1.1 กลามเนื้อทำงานใตอำนาจจิตใจ (voluntary muscle) เราสามารถควบคุมไดโดยสมองสวนสั่งการสงคำสั่ง ลงมาควบคุม สวนมากเปนการทำงานของกลาม เนื้อลาย 1.2 กลามเนื้อทำงานนอกอำนาจจิตใจ (involuntary muscle) เราไมสามารถควบคุมได ไดแก การทำงานของกลามเนื้อเรียบและกลามเนื้อ หัวใจ ซึ่งควบคุมการทำงานโดยระบบประสาท อัตโนมัติ การทำงานของกลามเนื้อลายบางครั้งก็ อยูนอกอำนาจจิตใจ เชนการตอบสนองแบบ รีเฟล็กซ (reflex) 2.แบงตามโครงสราง เปนการแบงตามลักษณะที่เห็นไดในกลอง จุลทรรศน แบงได 2 พวก คือ 2.1 Striated muscle หรือ Striped muscle เห็นเปนลายตามขวางในกลองจุลทรรศน ไดแก กลามเนื้อลายและกลามเนื้อหัวใจ 2.2 Unstriated muscle ไมเห็นลายตาม ขวาง ไดแก กลามเนื้อเรียบ 3.แบงตามการทำงานและที่อยู 3.1 กลามเนื้อลาย (skeleton muscle

16


ÊÒÃѵ¶Ð หรือ striated muscle) ประกอบเปนกลามเนื้อ สวนใหญของรางกาย พบอยูตามแขนขาและลำตัว มีหนาที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวและควบคุมการทำ งานของรางกาย 3.2 กลามเนื้อเรียบ (smooth muscle) อยูตามอวัยวะภายในที่กลวง เมื่อหดตัวจะทำใหเกิด การเคลื่อนไหวของสิ่งที่อยูภายใน 3.3 กลามเนื้อหัวใจ (cardiac หรือ heart muscle) ทำงานนอกอำนาจจิตใจ แตมีลายเหมือน กลามเนื้อลาย คุณสมบัติทั่วๆไปของกลามเนื้อ 1. สามารถตอบสนองตอสิ่งกระตุนหรือสิ่ง แวดลอม เรียกวามี excitability 2. มีความสามารถหดตัวได หลังจากถูกกระตุน เรียกวามี contractibility 3. สามารถยืดออกไดมากโดยไมฉีกขาด เรียกวามี extensibility 4. หดกลับสูที่เดิมได เรียกวามี elasticity ในฐานะผูฝกโยคะอาสนะ กลามเนื้อที่เกี่ยวของ อยางที่เห็นเปนรูป ธรรมมาก คือ กลามเนื้อลาย (skeleton muscle) ซึ่งจะอยูรวมกันเปนมัดๆ ในรางกายมีทั้งหมด 792 มัด มีน้ำหนักประมาณ 40% ของน้ำหนักตัว ทำงานภายใตอำนาจจิตใจเปนสวนใหญ และทำงาน ในรูปของรีเฟล็กซดวย การทำงานจะรวมกับกระดูก เพื่อทำใหเกิดการเคลื่อนไหว เชน ยกแขนขา เปลี่ยนอริยาบถ และรักษาทาทางของรางกาย การ หดตัวของกลามเนื้อเกิดขึ้นจากการมีกระแส ประสาทเกิดขึ้นในเสนประสาทมอเตอรสงมาที่ ปลายประสาท เกิดการหลั่งสารสื่อประสาท ทำให เกิดการเปลี่ยนแปลงความสามารถในการซึมผาน ของเยื่อหุมเซลลตอไอออนตางๆ เกิดศักยไฟฟาที่ เปลี่ยนแปลงเปนพลังงานกล คือ การหดตัวของ กลามเนื้อ หลังจากนั้นก็ตองมีกระบวนการที่ทำให เกิดการคลายตัวของกลามเนื้อ เพื่อใหกลามเนื้อ กลับสูสภาพกอนการทำงาน(1)

17

โดยขบวนการที่ทำใหเกิดการหดตัวและ คลายตัวของกลามเนื้อที่กลาวขางตนนั้น ตองใช พลังงาน คือ พลังงานที่เกิดจากปฏิกริยาเคมี ที่มี สารตั้งตนเชน น้ำตาล ทำปฏิกริยากับออกซิเจน ไดเปน สารประกอบ ATP คารบอนไดออกไซด ความรอน และกรด ซึ่งสารประกอบATP เมื่อผาน ปฏิกริยา hydrolysis จะไดพลังงานออกมา ดัง สมการขางลาง(2) Glucose+O2 = ATP+CO2+Heat+Pyruvic acid ATP (hydrolysis) = Energy+ADP+Phosphate จะเห็นไดวาแมการฝกโยคะอาสนะ ไมใชการ ออกกำลังกาย แตการหดเกร็งและเหยียดยืด กลามเนื้อ ก็ลวนตองใชพลังงานทั้งสิ้น และ Glucose ที่เปนสารตั้งตนของขบวนการสรางพลังงาน ก็เกิดจากการสลายไกลโคเจนหรือไขมันในรางกาย จึงอธิบายอยางตรงไปตรงมาไดวาทำไมผูที่ฝกโยคะ อาสนะเปนประจำ จึงมีรูปรางที่กระชับไดสัดสวน หรือมีการสลายไขมันในรางกายนั่นเอง ยังมีกลามเนื้ออีกชนิดหนึ่ง ที่มีความสำคัญ ตอการฝกโยคะคอนขางมาก นั่นก็คือ กลามเนื้อ กระบังลม ซึ่งจะไดกลาวถึงในตอนตอไป. ขอควรรูประจำฉบับนี้ : การหดตัวของกลามเนื้อ 1.การหดตัวแบบ Isotonic คือการหดตัวที่ความยาวของกลามเนื้อหดสั้นเขา และยกน้ำหนัก มีงานเกิดขึ้น โดยที่ความตึงในกลามเนื้อเทาเดิมตลอดการทำงาน งานที่กลามเนื้อทำ = น้ำหนักที่ใชถวงคูณดวยระยะทาง(เชนระยะทางที่ยกขึ้น) 2.การหดตัวแบบ Isometric คือการหดตัวที่ความยาวของกลามเนื้อไมมีการเปลี่ยนแป ลง แตใหความตึงตัวเพิ่มขึ้น และไมมีงานเกิดขึ้น เชน ถวงน้ำหนักมากเกินไปจนกลามเนื้อไมสามรถยกน้ำหนักไ ด หรือ ความตึงจากการหดตัวที่ใชตานแรงอื่น เชน แรงโนมถวงของโลก เพื่อใหรางกายทรงตัวในทายืน(1) หนังสืออางอิง (1) ประสาทสรีรวิทยา: ราตรี สุดทรวง,วีระชัย สิงหนิยม (2) Anatomy and Physiology of Yogic practices: M.M GORE

เหยี่ยว ตะวันตก-ตะวันออก


µÓÃÒâÂ¤Ð´Ñ ้ § à´Ô Á

ÊÒÃѵ¶Ð

http://www.casadoyoga.com.br

ÁÃä ø â¤Тͧ»µÑÞªÅÕáÅÐ ¢ŒÍÊѧࡵàÃ×่ͧÂÁÐ-¹ÔÂÁÐ ความตอนที่แลวพูดถึงโยคสูตรประโยค ๒:๒๙ คือ“ยมะ-นิยมาสนะ-ปราณายามะ -ปรัตยาหาระ-ธารณา-ธยานะ-สมาธโย’ษฏาวังคานิ” คางไวยังไมจบโดยมีใจความสำคัญสรุปไดวา ปตัญชลีไดเสนอการฝกฝนโยคะอยางเปนระบบดวย มรรค ๘ ประการของโยคะ ไดแก ยมะ นิยมะ อาสนะ ปราณายามะ ปรัตยาหาระ ธารณา ธยานะ และสมาธิ มีแนวคิดวามรรคทั้ง ๘ นี้มีการ เรียงลำดับขั้นที่แนนอนตายตัว ดังนั้นหากจะฝกมรรคใดมรรคหนึ่ง ก็ควรมี การฝกมรรคกอนหนานั้นมาจนชำนาญเสียกอน ดวยแนวคิดเชนนี้จึงมีเสียงคัดคานโดยเฉพาะใน เรื่องการฝกโยคะอาสนะและปราณายามะโดยมิได พยายามที่จะฝกยมะ-นิยมะ แตการคัดคานนี้ดูจะไม มีเหตุผลหรือน้ำหนักเพราะวา การฝกยมะ-นิยมะ ไมไดเปนขอบังคับพื้นฐานสำหรับการฝกอาสนะและ ปราณายามะในหฐโยคะ โดยสังเกตจากยมะ-นิยมะไมไดปรากฏเปน มรรคที่จำเปนในตำราหฐโยคะทั้งหลายและยังมี การพูดถึงยมะ-นิยมะคอนขางนอยในตำราหฐโยคะ เหลานั้นอีกดวย

18


ÊÒÃѵ¶Ð สวนสาเหตุที่หฐโยคะใหความ สำคัญกับ ยมะ-นิยมะไมมากนักจนถึงขนาดยกขึ้นมา เปนขอบังคับหรือเปนมรรคอาจเปนไปไดวาขอ ปฏิบัติตางๆของยมะ-นิยมะเปนประโยชนตอทุกๆ คน อยางชัดเจนอยูแลว สำหรับผูปฏิบัติโยคะ ยมะ นิยมะไดกลายเปนขอบังคับที่จะตองเต็มใจประพฤติ ปฏิบัติอยูแลว นอกจากนี้การฝกอาสนะ ปราณา ยามะ ฯลฯ ของหฐโยคะจะสงผลใหเกิดการ ปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่ดีขึ้นซึ่งเปนการฝก ยมะ-นิยมะในตัวของมันเองตามธรรมชาติอยูแลว สวนเนื้อหาที่เหลือของประโยคนี้กลาวตอไปวาแม วาในมรรค ๘ ของปตัญชลีที่มีการแจกแจงขั้นตอน จากมรรคหนึ่งไปสูอีกมรรคหนึ่งเรียงตามลำดับ อยางที่กลาวไวในประโยคนี้จะไมไดเปนขอบังคับที่ จำเปนและตองทำตามแบบนี้เสมอ แตเมื่อใดก็ตาม ที่ปตัญชลีเห็นวามรรคที่จำเปนตองฝกตอเนื่องเรียง ลำดับกัน (เพื่อใหเกิดประสิทธิผลในการฝกแลว) ทานจะระบุชี้ใหเห็นอยางชัดเจนดังเชน การฝก ปราณายามะมีความจำเปนตองมีการฝกอาสนะเปน พื้นฐาน ตามที่ไดกลาวถึงคำวา “ตัสมินสติ” ใน โยคสูตรประโยค ๒:๔๙ ที่อธิบายถึงนิยามความ หมายของปราณายามะ และไดกลาวไวอีกวามี ลำดับ ขั้นตอนที่แนนอนในการฝกธารณา-> ธยานะ -> สมาธิ โดยดูจากคำ3วา “ตตระ” ใน โยคสูตรประโยค ๓:๒ ของธยานะ และคำวา “ตเทวะ” ในประโยค ๓:๓ ของสมาธิ อยางไรก็ตาม ไมมีการบังคับใหมีการฝกเรียงตามลำดับทั้ง ๘ ประการเชนนั้น เพราะอาจจะเปนเรื่องไรสาระและไมสะดวกในทาง ปฏิบัติ ยกตัวอยาง หากยังไมไดฝกยมะก็ไมควรที่ จะฝกนิยมะ นั่นคือจะตองประสบความสำเร็จใน การฝกมรรคขอแรก(ยมะ)จนเชี่ยวชาญกอนจึงจะฝก มรรคขอถัดไป(นิยมะ)ได ถาแนวคิดนี้ไดรับการ ยอมรับ การปฏิบัติเศาจะ ซึ่งเปนการทำความ สะอาด รางกาย(ของนิยมะ)ก็ไมสามารถทำไดหาก ผูปฏิบัติยังไมไดประพฤติตามขอหามของยมะได

18

อยางดีเสียกอน นั่นหมายความวาหากผูปฏิบัติ ยังไมไดประพฤติอหิงสา สัตยะ พรหมจรรยะ ฯลฯ เขาก็ไมมีสิทธิ์ที่จะอาบน้ำชำระรางกายซึ่งเปนสวน หนึ่งของเศาจะในขอแรกของนิยมะ ดังนั้นมรรคเหลานี้จึงไมจำเปน และไมควร ไดรับการพิจารณาวาเปนขั้นตอนที่ตองฝกตอเนื่อง กันตามลำดับ ยกเวนในที่ที่ปตัญชลีไดกลาวถึง อยางเฉพาะเจาะจง นั่นหมายความวาผูปฏิบัติอาจ เริ่มฝกมรรคทั้ง ๘ ไปพรอมๆ กัน ในขอบเขตซึ่ง อาจเปนไปไดในทางปฏิบัติและสอดคลองตามสภาพ ความพรอมของตัวเขาเอง หลักการเชนนี้ก็สามารถนำมาใชกับมรรค ซึ่งปตัญชลีไดบอกวาจำเปนตองฝกเปนขั้นตอนเรียง ตามลำดับดวย ดังนั้นผูปฏิบัติคนหนึ่งอาจจะ หรือ สามารถฝกปราณายามะไดแมวาเขาจะไมสามารถ ทรงตัวอยูในทาอาสนะไดเปนเวลานาน หรือแมวา เขาจะไมสามารถทำโยคะอาสนะไดเลยแตไมตองสง สัยเลยวาในกรณีเชนนี้ปราณายมะของเขายอมไมมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลนักหากเทียบกับเมื่อ เขาไดผานการฝกอาสนะมาจนชำนาญแลว และเชน เดียวกันหากผูปฏิบัติพยายามกาวไปสูขั้นของการ ฝกธารณา ธยานะ ฯลฯ ตั้งแตชวงเริ่มตนของ การ ฝกโยคะ ถึงกระนั้นก็จะเห็นไดชัดวาเขาจะไมประสบ ความสำเร็จมากนักในความกาวหนาของการปฏิบัติ บนเสนทาง(แหงโยคะ)นี้

ตัสมินสติ ในที่นี้หมายถึง ขณะที่ฝกอาสนะจนไดรับผลดีตามที่ปตัญชลีกลาวไวแลว ตอไปจึงเปนการฝกปราณายามะ (Karambelkar, p.298) ตตระ ในที่นี้หมายถึง ขณะอยูในกระบวนการของธารณา จะพัฒนาไปสูขั้นของธยานะ (Karambelkar, p.340) ตเทวะ ในที่นี้หมายถึง ขณะอยูในกระบวนการของธยานะ จะพัฒนาไปสูขั้นของสมาธิ (Karambelkar, p.341)


ÊÒÃѵ¶Ð แมวาการเชื่อมโยงตอเนื่องกัน ในมรรคเหลา นั้น จะเปนไปอยางหลวมๆและไมชัดเจน และไม จำเปนตองคงการปฏิบัติตามมรรคที่ตอเนื่องกันไป ตามลำดับ แตถาผูปฏิบัติไดฝกมรรคในลำดับกอน หนามากอน การฝกมรรคถัดมาก็ยอมจะทำไดดีกวาอยางไมตอง สงสัย ใน ทำนองเดียวกันยิ่งเขามีความชำนาญในการฝก มรรคกอนหนาไดดี เขาจะยิ่งเชี่ยวชาญในการฝก มรรคถัดไปมากขึ้นดวย อยางไรก็ตามมีขอแนะนำในทางปฏิบัติวา ผูปฏิบัติไมควรจะทอใจหรือออนไหวเกินไปตอความ สัมพันธดังกลาวของมรรคเหลานี้และระดับของ ความเชี่ยวชาญที่เขาอาจบรรลุถึงในมรรคทั้งหลาย เขาควรพยายามอยางจริงใจและดีที่สุดตามศักย ภาพของเขาในการฝกปฏิบัติมรรคทั้งหมดไปพรอมๆ กันตั้งแตตนอยางเต็มที่ เพราะหากเขาตองคอยให บรรลุความสำเร็จในการปฏิบัติยมะทั้ง ๕ ขอยอย แลว เขาจะไมสามารถเริ่มตนได และไมเกิดความ กาวหนาบนเสนทางแหงโยคะ ตัวอยางเชน เกณฑ ของความสำเร็จในการฝกยมะที่กลาวไวในประโยค ๒:๓๕-๓๙ นั้นเปนไปไดวาจะไมมีใครเคยบรรลุ ถึงมากอน ดังนั้นการรอคอยใหบรรลุถึง ความ สมบูรณของมรรคเหลานี้จึงเปนสิ่งที่ไรประโยชน

มีขอสังเกตถึงความเหมือนกันอยางเดนชัด ของมรรคทั้ง ๘ ของปตัญชลีโยคะและแนวทาง ปฏิบัติของพระพุทธเจา มีการเทียบเคียงความ คลายคลึงกันกวางๆ บางประการในธรรมชาติของ มรรคเหลานี้ของทั้งสองสำนัก ผูรูจำนวนมากใน เรื่องนี้ไดมองวา ปตัญชลีไดลอกเลียนการจัดแบง มรรคทั้ง ๘ และไดยืมบางอยางจากพุทธศาสนา (รวมถึงจากศาสนาเชนดวย)มาใชในระบบของทาน แตอาจเปนไปไดมากวา ทั้งสองฝายตาง ก็ไมไดยืมสิ่งใดมาจากอีกฝายหนึ่งโดยตรง เพราะ มีความคิดบางอยางที่นิยมทำกันอยางมากในสมัย นั้น คานิยมของการจัดแบงระบบออกเปน ๘ อยาง ดูเหมือนจะเปนสิ่งหนึ่งที่นิยมทำกันนั่นจึงเปนเหต ผล วาทำไมทั้งปตัญชลีและพระพุทธเจาดูเหมือน จะเสนอมรรค ๘ ประการเปนแนวทางการปฏิบัติ ทั้ง ๘ เหมือนกัน

เอกสารอางอิง : Karambelkar, P. V. (1986). PATANJALA YOGA SUTRAS Sanskrta Sutras with Transliteration, Translation & Commentary. Lonavla : Kaivalyadhama, p. 236-239.

19


ÊÒÃѵ¶Ð

à´× Í ¹ Á¡ÃÒ¤Á 2556 ÁÕ ¼ Ù Œ º ÃÔ ¨ Ò¤Ê¹Ñ º Ê¹Ø ¹ ¡Ò÷ӧҹ¢Í§Ê¶ÒºÑ ¹ Ï ´Ñ § ¹Õ ้ ครู ท ิ พ าภรณ ใจรั ก ษ (ครู เ ดี ย ร T12) สอนที ่ ส วนโมกข (19/12/55) เงิ น สมทบกิ จ กรรมโยคะในสวนธรรม 19/12/55 ครู จ ิ ร ภา เหลื อ งเรณู (ครู ห นึ ่ ง T12) สอนที ่ ส วนโมกข (26/12/55) เงิ น สมทบกิ จ กรรมโยคะในสวนธรรม 26/12/55 บ า นสวนสุ ข ภาพ ครู เ ขม ครู แ อ ว คุ ณ โป ง คุ ณ ยุ ท ธโรจน สุ ว รรณสุ เ มธ คุ ณ ประที ป สุ ท ธิ ป ริ ญ ญานนท เงิ น บริ จ าคค า ระฆั ง ครู ว รพจน คงผาสุ ข (ครู เ บนซ T12) สอนที ่ ส วนโมกข (23/1/56) ครู อ าทิ ต ยา อภิ ช าติ น ั น ท (ครู โ อ ) สอนที ่ ส วนโมกข (26/1/56) เงิ น สมทบกิ จ กรรมโยคะในสวนธรรม 26/1/56 จากตู  บ ริ จ าค ในสำนั ก งาน เงิ น สมทบกิ จ กรรมจิ ต สิ ก ขา เดื อ น ม.ค.

200 110 200 540 3,000 5,000 1,000 900 200 200 1,610 1,150 100

ÃÇÁ

20

14,210


Ê¶ÒºÑ ¹ â¤ÐÇÔ ª Ò¡Òà ÁÙ Å ¹Ô ¸ Ô Ë ÁͪÒǺŒ Ò ¹ 201 «ÍÂÃÒÁ¤Óá˧ 36/1 ºÒ§¡Ð» ¡·Á.10240 â·ÃÈÑ ¾ · 02 732 2016-7, 081 401 7744 â·ÃÊÒà 02 732 2811 ÍÕ à ÁÅ yogasaratta@yahoo.co.th àÇ็ º ä«· www.thaiyogainstitute.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.