¨´ËÁÒ¢‹ Ò Ç
ÊÒÃѵ¶Ð
http://www.flickr.com/photos/svjetlost/8000747781/
¡Ã¡®Ò¤Á 2556
www.thaiyogainstitute.com
ÊÒÃѵ¶Ð ÊÒÃºÑ Þ
¤Ø  ¡Ñ ¹ ¡‹ Í ¹ »¯Ô · Ô ¹ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁà¤Ã× Í ¢‹ Ò Â ของฉั น ...ป น เป น บุ ญ
â¤Р¸ÃÃÁÐ ÊÁ´Ø Å ªÕ Ç Ô µ หนึ ่ ง วั น ...ในไม ก ี ่ ว ั น ที ่ เ หลื อ ซึ ่ ง ไม ใ ช เ รื ่ อ งบั ง เอิ ญ
ÍÐá¹ÇâµÁÕ ่
ความตื ่ น รู จ ากข อ จำกั ด สู อ ิ ส ระแห ง การเคลื ่ อ นไหว
http://beingtherapies.co.uk/#/price-list/4546585402
§Ò¹ÇÔ ¨ Ñ Â §Ò¹ÈÖ ¡ ÉÒ ÇÔ ¨ Ñ Â
2 2 3 4 6
โยคะช ว ยให ค วามจำ ความคิ ด ความอ า นดี ข ึ ้ น
10
มั ช ฌิ ม นิ ก าย อุ ป ริ ป ณ ณาสก อานาปานสติ ส ู ต ร
11
นิ ย มะ๕ กั บ ผลต อ ร า งกายและจิ ต ใจ
14
ต น ไม แ ห ง ความว า ง
17 19
¾ÃÐäµÃ» ® ¡á¡‹ ¹ ¸ÃÃÁ µÓÃÒâÂ¤Ð´Ñ ้ § à´Ô Á º·¡Å͹
àÃ× ่ Í §àÅ‹ Ò ¨Ò¡ÍÔ ¹ à´Õ Â
·Õ ่ » ÃÖ ¡ ÉÒ
กวี คงภั ก ดี พ งษ แก ว วิ ฑ ู ร ย เ ธี ย ร ธี ร เดช อุ ท ั ย วิ ท ยารั ต น นพ.ยงยุ ท ธ วงศ ภ ิ ร มย ศ านติ ์ นพ.สมศั ก ดิ ์ ชุ ณ หรั ศ มิ ์
¡ÃÃÁ¡ÒÃ
กฤษณ ฟ ก น อ ย ชนาพร เหลื อ งระฆั ง ชุ ต ิ ม า อรุ ณ มาศ วรพจน คงผาสุ ข วรรณวิ ภ า มาลั ย นวล วิ ล ิ น ทร วิ ภ าสพั น ธ สมดุ ล ย หมั ่ น เพี ย รการ
ÊÓ¹Ñ ¡ §Ò¹
พรทิ พ ย อึ ง คเดชา วั ล ลภา ณะนวล สุ จ ิ ต ฏา วิ เ ชี ย ร
¡Í§ºÃÃ³Ò¸Ô ¡ ÒÃ
จิ ร วรรณ ตั ้ ง จิ ต เมธี ณั ต ฐิ ย า ป ย มหั น ต ณั ฏ ฐ ว รดี ศิ ร ิ ก ุ ล ภั ท รศรี ธนวั ช ร เกตน ว ิ ม ุ ต ธี ร ิ น ทร อุ ช ชิ น พรจั น ทร จั น ทนไพรวั น วิ ส าขา ไผ ง าม วี ร ะพงษ ไกรวิ ท ย ศั น สนี ย นิ ร ามิ ษ สุ จ ิ ต ฏา วิ เ ชี ย ร
ÈÔ Å »¡ÃÃÁ
กาญจนา กาญจนากร
¤Ø  ¡Ñ ¹ ¡‹ Í ¹
ÊÒÃѵ¶Ð ฉบับนี้ครูเปลลาไปปฏิบัติธรรมทางสำนักงานก็เลยตองเขามาขัดตาทั พ ชวยทำหนาที่รวบรวมบทความ นำเสนอในสารัตถะนี้ ใหเครือขายครูไดอาน ไดติดตามขาวคราวความเคลื่อนไหว ที่เกิดขึ้นในโยคะวิชาการ
»¯Ô · Ô ¹ ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁ
â¤ÐÍÒÊ¹Ð¢Ñ ้ ¹ ¾× ้ ¹ °Ò¹à¾× ่ Í ¤ÇÒÁÊØ ¢ ÊÓËÃÑ º ¼Ù Œ à ÃÔ ่ Á µŒ ¹ ÇÑ ¹ ÍÒ·Ô µ  · Õ ่ 28 ¡Ã¡¯Ò¤Á àÇÅÒ 9.00 – 15.00 ¹.
ที่ชั้น 6 หอง 262 คณะมนุษยศาสตร มศว ประสานมิตร คาลงทะเบียน 650 บาท สนใจโทร.สอบถามรายละเอียดไดที่ สถาบันโยคะวิชาการ â¤Ðã¹Êǹ¸ÃÃÁ ³ Ëͨ´ËÁÒÂà赯 ¾ Ø · ¸·ÒÊ ¿ÃÕ ·Ø ¡ àÂ็ ¹ ÇÑ ¹ ¾Ø ¸ áÅÐ ¾ÄËÑ Ê àÇÅÒ 17.00 – 18.30 ¹. áÅÐ ÇÑ ¹ àÊÒà · Õ ่ 27 ¡Ã¡¯Ò¤Á àÇÅÒº‹ Ò Â 2– 4 âÁ§àÂ็ ¹
รวมสมทบคากิจกรรมไดดวยการบริจาค ลงทะเบียนรวมกิจกรรมไดที่ www.bia.or.th
â¤ÐÊÃŒ Ò §ÊØ ¢ ³ ËŒ Í §ÍÒÈÃÁÊØ ¢ ÀÒÇÐ ÊÊÊ ·Ø ¡ ÇÑ ¹ ¾ÄËÑ Ê àÇÅÒ 17.00 – 18.30 ¹. áÅÐ ÇÑ ¹ àÊÒà àÇÅÒ 10.30 – 12.00 ¹.
สำรองที่เขารวมกิจกรรมไดที่ activity.thc@thaihealth.or.th หรือ โทร.02 343 1500 ตอ 2 และ 081 731 8270 ͺÃÁ¤ÃÙ â ¤Ðà¾× ่ Í ¡ÒÃ¾Ñ ² ¹Ò¨Ô µ ËÅÑ ¡ ÊÙ µ à 230 ªÑ ่ Ç âÁ§ ÃØ ‹ ¹ ·Õ ่ 1 3 ª‹ Ç §àÇÅÒͺÃÁ: 10 ¡Ã¡®Ò¤Á ¶Ö § 2 ¾ÄÈ¨Ô ¡ Ò¹ 2556 àÃÕ Â ¹ : àÂ็ ¹ ÇÑ ¹ ¨Ñ ¹ ·Ã ¾Ø ¸ áÅÐ ¾ÄËÑ Ê / ÇÑ ¹ àÊÒÃ à µ็ Á ÇÑ ¹ ʶҹ·Õ ่ à ÃÕ Â ¹ : ¤³ÐÁ¹Ø É ÂÈÒʵà ÁÈÇ ÊØ ¢ Ø Á ÇÔ · 23 ໇ Ò ËÁÒ¢ͧ¡ÒÃͺÃÁ :
1 ผูเรียนไดฝกปฏิบัติโยคะพื้นฐานอยางสม่ำเสมอ จนเปนสวนหนึ่งของวิถีชีวิต 2 ไดศึกษาโยคะตามตำราดั้งเดิม ตลอดจนเรียนวิชาที่เกี่ยวของ เชน สรีระวิทยา ประวัติศาสตรโยคะ ปรัชญาอินเดีย ทัศนะชีวิต 3 สามารถเผยแพร การปฏิบัติโยคะเพื่อพัฒนาจิต ใหกับผูอื่นได
2
ÊÒÃÑ µ ¶Ð
ÃÒÂÅÐàÍÕ Â ´
- ฝกปฏิบัติ ทาอาสนะพื้นฐาน ปราณายามะ มุทรา พันธะ กิริยา ตามตำราดั้งเดิม - เขาเรียนไมต่ำกวารอยละ 80 - เขาคายวิถีโยคะ 1 ครั้ง และคายกิริยาโยคะ 1 ครั้ง เรียนรูทัศนะชีวิต ผานกิจกรรม และเขียนบันทึกการทำความดีทุกวัน ตลอดชวงการอบรม - ฝกสอนเทคนิคโยคะพื้นฐาน 20 นาที ตอนปลายภาค - เรียนวิชา สรีระวิทยาของเทคนิคโยคะ, ตำราโยคะดั้งเดิม, ประวัติศาสตรโยคะ, ปรัชญาอินเดีย และสอบขอเขียนผาน - ผูเรียนเลือกทำรายงาน หรือวิจัย ในหัวขอที่ตนสนใจ สงตอนปลายภาค พรอมรายงานหนาชั้น ไมเกิน 20 นาที - ทำการบาน เขียนสรุปเนื้อหาจากหนังสือเรียน 14 เลม - ผูที่ผานเกณฑการอบรมจะไดรับประกาศนียบัตร จากทางสถาบันฯ ÃÑ º ¨Ó¹Ç¹¨Ó¡Ñ ´ : 24 ทาน ¤‹ Ò Å§·ÐàºÕ  ¹ : 39,900 บาท/คน ตลอดหลักสูตร
¡Ô ¨ ¡ÃÃÁà¤Ã× Í ¢‹ Ò Â http://www.countryliving.com/antiques/shops-and-shows/ antique-shows-0510#slide-22
»˜ ¹ ¹ํ ้ Ò ã¨ã¹â¤Ã§¡Òà “¢Í§©Ñ ¹ ...»˜ ¹ ໚ ¹ ºØ Þ ”
3
ของรัก ของชอบใจ ของใช ของสะสม หรือของดี ที่เปนของฉัน มารวมแบงปน เพื่อแปรเปลี่ยนเปน...บุญ มูลนิธิพันดารา ขอเชิญทานผูมีจิตเมตตา รวมแบงปนสิ่งของ เสื้อผา หรือของใชที่ยังอยูในสภาพดี เพื่อนำไปเปลี่ยนใหเปนบุญ โดยการประมูลหรือจำหนาย รวมหาทุนในการกอสราง พระศานติตารามหาสถูป สถานปฏิบัติธรรมและพระสถูปเพื่อสันติภาพของสรรพชีวิต ทานสามารถรวมบุญปนสิ่งของไดที่มูลนิธิโดยตรง หรือสงทางไปรษณียถึง มูลนิธิพันดารา 695 ซอยลาดพราว 11 เขตจตุจักร กรุงเทพ 10900 สอบถามไดที่ 1000tara@gmail.com โทร 0878299387; 0833008119 ขอขอบคุณที่รวมปน รวมแปร และรวมเปลี่ยน เพื่อศาสนติของโลก...รวมกัน
ÊÒÃѵ¶Ð
http://weheartit.com/kadee?page=4&before=2714272012
â¤Р¸ÃÃÁÐ ÊÁ´Ø Å ªÕ Ç Ô µ
Ë¹Ö ่ § ÇÑ ¹ ã¹äÁ‹ ¡ Õ ่ Ç Ñ ¹ ·Õ ่ à ËÅ× Í «Ö ่ § äÁ‹ ã ª‹ à Ã× ่ Í §‘ºÑ § àÍÔ Þ ’
วันนี้ไดนัดหมายเพื่อนจิตอาสา 3 คน กับผูจัดกิจกรรมของเครือขายพุทธิกาอีกคน รวมเปนสี่คนเพื่อไปพูดคุยกับพี่พยาบาลที่โรงพยาบา ลแหงหนึ่ง เมื่อไปถึงตามเวลานัดหมายและไดมี โอกาส พบกับพี่ทุมพยาบาลวิชาชีพที่มีหนาที่ประจำ ในการดูแลผูปวยที่มาทำการฉายรังสี พี่ทุมเลาวาไดอานเรื่องราวอาสาขางเตียง ของเครือขายฯ สนใจจึงโทรเขาไปที่เครือขายโดย ไมไดเคยรูจักมากอนเลย เพียงภาพผูปวยที่พี่ทุม คลุกคลีอยูประจำนั้นสะทอนความรูสึกของตัวเองวา อยากมีโอกาสพูดคุยกับผูปวยใหมากกวานี้ แตดวย ภาระงานที่มีมากและเจาหนาที่ทางการแพทยมี จำนวนนอยไมเพียงพอที่จะมาชวยพูดคุยเยียวยา รักษาใจผูปวยได และการจะทำเรื่องนี้ใหเปน กระบวนการทางสายงานก็มีความซับซอนตองใช เวลามาก จึงเกิดความคิดที่อยากจะให มีอาสามา ชวนผูปวยทำกิจกรรม ซึ่งอาจจะชวยทำใหผูปวย รูสึกลดความกังวลไปไดบาง นี่เลยเปนที่มาใหเรา ไดพบกันในวันนี้ หองพักผูปวยที่พี่ทุมพาเรา ทั้งกลุมเขาไปดูเปนทางแคบๆลักษณะเปน ‘ซอก’ ระหวางตึกเกากับตึกใหมระหวางชองแคบนั้นทาง
เจาหนาที่นำเกาอี้มายาวสีฟาใสมาวางใหหลายตัว เรียงตอกัน ทางเขาทั้งสองดานเปนประตูกระจก จึงทำใหมองดูเหมือนเปนหองขนาดแคไมเกินสอง เมตร แตยาวเปนสี่เหลี่ยมผืนผาดานหนึ่งของประตู มีโตะใชวางทีวีที่กำลังเปดรายการแขงขันรองเพลง อีกดานหนึ่งเปนโตะสำหรับวางกับขาวกับปลา สำหรับผูปวย พัดลมเพดานสองตัวกำลังทำงาน เครื่องแอรที่อยูดานบนปดสนิท พี่ทุมบอกวามันเสีย ใชการไมไดแลว อากาศบริเวณนั้นจึงคอนขาง อบอาว เราพบผูปวยหญิงสองรายกำลังนั่งดูทีวี อีกรายกำลังนอนหลับยาวบนเกาอี้ อีกสองรายเปน ผูชายที่กำลังนั่งอานหนังสือ พี่ทุมแนะนำพวกเราวา เปนจิตอาสาที่จะมาทำกิจกรรมใหกับผูปวยที่นี่ เราเลยไดมีโอกาสนั่งคุยกันสักพักคนที่รออยูในหอง ไดรับการฉายรังสีเสร็จแลวกำลังรอคนที่ยังไมเสร็จ เพื่อกลับพรอมกันในชวงบาย ระหวางนั่งคุยกัน พอถึงเวลา11โมงก็มีอาหารมาสงและผูปวยทุกคน ก็ไปตักอาหารมาทานกัน เวนแตรายที่กำลังนอน หลับเธอลุกขึ้นมาใบหนาดู ซีดเซียวหลังการฉายรังสี พี่ทุมชวนใหทานอาหาร เธอบอกวาเจ็บคอ ทานไมลงแตดวยเมตตาและไมตรี ในน้ำเสียงของพยาบาลอยางพี่ทุม
4
ÊÒÃѵ¶Ð ชวนคุยและโนมนาวใหผูปวยเห็นวาจำเปนที่รางกาย ตองไดรับสารอาหารเพื่อใหการรักษาทำไดในวันตอ ไปนั้นเปนอยางไร เราสังเกตเห็นวา สุดทายผูปวย ทานนี้ ก็ลุกไปตักอาหารมาทานรวมกับเพื่อนๆดวย แววตาที่สดใสมากกวาเดิม พี่ทุมเลาวา ผูปวยเหลานี้ตองเขามาฉาย รังสีทุกวัน คนหนึ่งประมาณ 20-30 ครั้งแลว แตอาการของโรค และผูปวยเปนคนตางจังหวัด ทางรพ.ไมมีที่เพียงพอใหพักคางได ผูปวยจึงตอง เดินทางไปกลับกันเองทุกวัน แตดวยความกรุณา ของคุณหญิงหมอทานหนึ่ง ซึ่งพี่ทุมเองก็ไมทราบ นามของทาน คุณหญิงหมอทานสละบานหลังหนึ่ง ใหเปนที่พักคางของผูปวยกลุมนี้โดยไมคิดคาใชจาย พรอมทั้งประสานงานกับทางรพ.ใหมีรถรับสงผูปวย ในตอนเชา เพื่อใหไดมาฉายรังสีทุกวัน และรับกลับ ไปพัก ที่บานทานในชวงบายและคางคืนในระหวาง วันทำการ ผูปวยจะกลับบานในเย็นวันศุกร และมา ใหมในเชาวันจันทร เปนเชนนี้ไปทุกคนจนกวาจะ ครบคอรสการรักษา ในชวงกลางวันทานขอใหทาง รพ.จัดอาหารใหผูปวยไดทานมื้อกลางวัน คุณหญิง หมอทานนี้สละทรัพยเพื่อผูปวยแบบนี้มานานมาก พอสมควรแลวโดยใชทุนทรัพยสวนตัวรับภาระคาใช จายในเรื่องที่พักและอาหารมื้อเชาและเย็น เรารับฟงเรื่องราวดวยความอิ่มเอิบวา วันนี้ ไดมีโอกาสรับรูเรื่องดีๆ ที่มีคุณคา ทำใหนึกถึง ถอยคำที่เพิ่งอานพบในหนังสือ‘มากกวาคำวา.. อาจารย’ คูมือการดูแลนักศึกษาแพทยในศตวรรษที่ 21 ที่จัดทำโดยคณะแพทยศาสตร ม.มหิดล เพื่อให กับอาจารยที่ปรึกษาของคณะขอความหนึ่งที่วานั้น คือ “ความลับของการรักษาคนไขนั้น คือ ความรัก คนไข” ตอนนั้นนึกยอนกลับมาถามตัวเองวาแลว ความลับของการสอนโยคะคืออะไร? หลังจากที่เรา วางแผนงานกันเสร็จไดเวลาเที่ยงพอดี พี่ทุมบอกวา วันนี้มีพระอาจารยประนอม ทานจะมาบรรยาย ธรรมที่โรงพยาบาลมีใครสนใจจะไปฟงไหมทานจะ
5
เริ่มบรรยายตอนเที่ยงสิบหนานาทีสองคนที่ในกลุม ขอปลีกตัวกลับไปเนื่องจากติดภารกิจ จึงเหลือสามคนรวมพี่ทุมไปฟงพระดวยกัน พี่ทุมพา เรา ไปที่หองประชุมแวะทักทายพระอาจารยที่ทาน มาสอนกรรมฐานใหบุคคลากรที่นี่ และจากนั้นพาเรา ไปหาที่นั่งรับประทานอาหารกลางวันเพื่อฟงไปดวย ทานไปดวยได ระหวางนั้นพระอาจารยประนอมทาน ก็เริ่มบรรยาย เราไดยินเสียงทานผานเครื่องเสียง ชัดเจนทานเรียกผูรวมปฏิบัติธรรมในหองนั้นวา ‘โยคี’ ทานบอกวา ไมไดหมายถึงคนที่ฝกโยคะทำทา ตางๆ จะเรียกวาเปนโยคี แตโยคีคือผูเพียรเผากิเลส เพียรอยางไร ? เสียงพระอาจารยเนิบๆ ทุมๆนาฟง ขยายความตอ เสียงนั้นทำใหตองชะงักการกินไป ชวงหนึ่ง ทานวา ขอแรกคือ โยคีมีความเพียรที่จะ ’ละ’ สิ่งที่ไมดี ไมเปนกุศลที่มีอยูในตนเองออกไป ขอสองคือโยคีมีความเพียรที่จะ ’ระวัง’ สิ่งที่ไมดี ไมเปนกุศลที่ยังไมเกิดวาอยาใหเกิด ขอสามคือโยคี มีความเพียรที่จะ’รักษา’ สิ่งที่ดีและเปนกุศลที่มีอยู แลวในตนใหคงอยู และสุดทายขอสี่โยคีมีความเพียร ที่จะ ‘ทำ’ สิ่งที่ดีและเปนกุศลที่ยังไมมีใหบังเกิดขึ้น ในเวลานั้นนาทีนั้นทำใหรูสึกวา วันนี้ไมใช เรื่อง ‘บังเอิญ’ เลยที่เราถูกชวนใหมาที่นี่ เรื่องราว ของพี่พยาบาลที่รักคนไขและอยากชวยเหลือ เรื่อง ของคุณหญิงหมอที่เราไมเคยรับรูถึงความกรุณาที่ไม มีขอบเขต และเรื่องราวของโยคีที่พระอาจารย เลือก ประเด็นมาพูดคุยในวันนั้น ภาพคนหาคนที่มารวม กลุมกัน เมื่อเชา สองคน...แยกจากไปกอนที่จะไดเจอ พระอาจารย หนึ่งคน...แยกไปชวงครึ่งหนึ่งของการ บรรยายธรรมของพระอาจารย อีกหนึ่งคน...แยกออก ไปเมื่อ กอนการบรรยายจะสิ้นสุด สุดทายเหลือนั่ง อยูคนสุดทายคนเดียวจนจบการบรรยายธรรม นี่คงไมใชเรื่องบังเอิญเชนกัน ที่ใครสักคนจะมีโอกาสไดฟงธรรมบรรยายเรื่องใดเรื่อ งหนึ่งจนจบ และคงไมใชเรื่องบังเอิญที่ ใครสักคน จะได โอกาสเรียนรูโยคะฝกฝนโยคะและไดรับผลแหง การเปนโยคีในที่สุด. ครูออด
ÍÐ’á¹ÇâµÁÕ
http://www.nhotyoga.com
ÊÒÃѵ¶Ð
"Connective Tissue : ¤ÇÒÁµ× ่ ¹ ÃÙ Œ ¨ Ò¡¢Œ Í ¨Ó¡Ñ ´ ÊÙ ‹ Í Ô Ê ÃÐáË‹ § ¡ÒÃà¤Å× ่ Í ¹äËÇ"
“ฝกโยคะเชานี้รูสึกตึงไปทั้งตัว(ยกเวนหนา ที่เริ่ม เหี่ยว) คงเปนเพราะกลามเนื้อถูกจำกัดในที่แคบ จากการนั่ง เครื่องบินแบบไปเชาเย็นกลับ สองวัน ติดตอกัน กรุงเทพ-นครศรีฯ กรุงเทพฯ-ภูเก็ต ทำอาสนะชวงแรกๆ จึงรูซึ้งถึงความสำคัญ ของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ทั้งเอ็นพังผืดกลามเนื้อสวน ตางๆที่ตึงแสนตึงขณะกำลังถูกเหยียดและยืด ออก เคยสังเกตไหมครับวาทำไมฝกโยคะตอนเชา จึง เหยียดยืดไดนอยกวาฝกชวงเย็นมถามตออีกนิดวา แลวทำไมตำราทุกเลมจึงบอกใหตื่นมาฝกโยคะ แตเชา ชวนกันแชรความเห็นแลวจะเอามุมมองแบบ อนาโตมี มารวมแชรครับ”นั่นเปนขอความที่โพสต ลงไปในเพจ www.facebook.com/iLoveYoga Anatomy ซึ่งมีความเห็นตอบกลับมาอยางนาสนใจ ดังนี้ ความคิดเห็นที่ 1 “ทานอนอาจทำให กลามเนื้อบางมัดอยูใน shorthen length
6
ÊÒÃѵ¶Ð เปนเวลานาน บวกกับขณะนอนกลามเนื้อไมได ขยับจึงลดการไหล เวียนเลือดจาก muscle contraction สงผลให flexibility ลดลง” ความคิดเห็นที่ 2 “ผมวาตอนเชาเห็นอะไรใน รางกาย มากวาตอนเย็นชวยใหเราลดความ พยายาม ชอบเชามากกวาความรูอานาโตมี ไมมีครับ” ความคิดเห็นที่ 3 “ตอนเชาอากาศดี จิตแจมใส ทองไสวาง(เหมาะทำกริยา มุทราพันธะ) ฝกวินัย ใจอดทน(กับความตึง) ฝกเสร็จสามารถ ไปทำภารกิจ ตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพครับ” ความคิดเห็นที่ 4 “ขณะนอนมีการเคลื่อนไหว นอยหรือมีการยืด ยึด หยุด คางทาเดิมนาน เชาตื่นมา จึงตองมีการยืดเหยียดกลามเนื้อ เอ็น ขอตางๆ อยางถูกวิธี กอนจะเคลื่อนไหวเขาสู กิจวัตรประจำ วัน คลายเปนการวอรมกอนลง สนาม เย็นความยืด หยุนมากกวาจึงยืดเหยียดไดดี กวาแตก็ตองประมาณกำลังอยาใหออนลาเกินไปคะ” ทุกความเห็นลวนชวยขยายมุมมองของ การฝกใหชัดเจนแจมชัดมากขึ้น และคราวนี้ผม ขอแชรในมุมมองแบบ back to the origin of movement ตามสไตล โยคะ อะ’แนวโตมีฉีกแนว ความรูอนาโตมี บนวิถีโยคะ บางครับ เมื่อสองปกอนที่ไดไปเขาคายเวิรกชอปโยคะอะนาโต มี กับ David Keil เขาชวนใหเราเขาใจถึง เนื้อเยื่อ ที่สำคัญที่สุด ของกลไกการเคลื่อนไหวระดับ รากหญา นั่นคือ connective tissue หรือเนื้อเยื่อ เกี่ยวพัน นั่นเอง “ Everything that is physical is related to Connective tissue “ เดวิดโปรยไวในสไลดโชว เขาเริ่มตนอยางนาสนใจวา รางกายเรา เกิดขึ้นมาจากสองสิ่งที่แตกตางกัน คือ สเปรมและไข กอกำเนิดเปนเซลลใหม หนึ่งเซลล จากหนึ่งเซลลนั้นเองที่แบงตัว เติบโตจนกลายเปน รางกายของเราขึ้นมา แลวทำไมเวลาที่เราจะเรียน รูรางกายของเรา เราจึงเรียนรูแบบแยกเปนสวนๆ ทั้งที่มันถือกำเนิดขึ้นมาจากหนอกำเนิดเพียงหนึ่ง
7
เดียว จะดีกวาไหมถาเรามองรางกายอยาง เปนองครวม เขาเริ่มตนบทเรียนโครงสรางรางกาย จากการเชื่อมโยงใหเห็นถึงเนื้อเยื่อที่สำคัญที่สุด ในการเชื่อมตอทุกการเคลื่อน ไหว เนื้อเยื่อที่วา นั่นคือ เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน หรือ Connective tissue กลามเนื้อก็คือ เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (ชนิดหนึ่ง) กระดูกหรือผิวหนังก็ใช หลอดเลือดเสนประสาทก็มี tendon (เอ็น) คือ เนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่ เกาะเกี่ยวกลามเนื้อไวกับกระดูก ligament คือ เนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่ยึดกระดูก แตละชิ้นตรงขอตอเขาไวดวยกัน fascia คือเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ที่เปนเหมือน เปลือกหรือ wrap หุมกลุมกลามเนื้อ ซึ่งอาจ เรียกงายๆไดวาเยื่อหุมกลามเนื้อ cartilage คือ เนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่หุม ระหวางขอตอกระดูกสองชิ้น (นึกถึงเอ็นขอไก กรุบๆ ที่เราชอบแทะกันครับ) scar tissue หรือรอยแผลเปน ก็เปนเนื้อ เยื่อ เกี่ยวพันที่รางกายสรางขึ้นมาเพื่อซอม สรางรองรอยแหงการบาดเจ็บ ขยายความใหพอเห็นภาพที่ชัดเจนขึ้น กลามเนื้อแตละมัดจะเรียงตัวกันเหมือนเชือก เกลียวที่เกิดจากดายแตละเสน มามัดรวมกันมีปลอก หรือเปลือกหุมคือ เยื่อหุมกลามเนื้อโอบมัด กลุม กลามเนื้อแตละมัดเอาไว พอเราเอามัดกลามเนื้อมาตัดแบบภาคตัด ขวางเราจะเห็นการเรียงตัวของกลุมกลามเนื้อมีลักษ ณะคลายผลทับทิมที่ ถูกผาซีก เม็ดทับทิมแตละเม็ด ก็คือเสนใยกลามเนื้อแตละมัด เยื่อที่กั้นระหวาง เม็ดทับทิมก็คือ เยื่อหุมกลามเนื้อ (fascia) นั่นเอง ไมตองมองไปอื่นไกล เยื่อหุมกลามเนื้อ ที่วาก็คือพังผืดขาวๆ บางๆ ที่เราเห็นมันหุมซี่โครง หมูตุน นั่นเอง ปลายของกลามเนื้อ คือ เอ็น (tendon) ซึ่งมีความเหนียวกวา เพื่อใหแรงยึดเกาะกับกระดูก ไดดี กลามเนื้อจะไดไมฉีก ขาดหลุดมาจากกระดูก ขณะเคลื่อนไหว สวนขอตอแตละขอ ก็เกาะเกี่ยว กันดวย เอ็นอีกชนิดนึง (ligament)
http://jadebeall.smugmug.com/keyword/yoga%20asana%20photography#!i=1133936733&k=fxfbzGM
ÊÒÃѵ¶Ð การเคลื่อนไหวรางกาย ก็คือการเคลื่อนไหว ของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันทั้งหมด ไมวาจะเปนกลามเนื้อ เยื่อหุมกลามเนื้อ เอ็น หรือปลอกหุมรอบขอตอ โครงขาย (web) ของเนื้อเยื่อเกี่ยวพน หรือ connective tissue ที่กลาวมาทั้งหมดนี้เอง ที่เปนเหมือนหนอกำเนิดของ การเคลื่อนไหว รวมถึงอาสนะ เจาะใหลึกลงไปอีกนิด เนื้อเยื่อเกี่ยวพันถูก สรางขึ้นมาจากกลุมโปรตีน 2 ชนิด แบบคูตรงขาม คือ collagen ซึ่งใหคุณสมบัติในเชิงความ แข็งแรง และ elastin ซึ่งมีคุณสมบัติในเชิงความยืดหยุน อิสระในการขยับเหยียดยืด Oh .. My Buddha !!! ในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ก็มี สถิระ และสุขะ คุณสมบัติทั้งสองอยางนี้เอง ที่จะมากจะนอย ผันแปรไปตามชนิดตางๆ ของเนื้อ เยื่อเกี่ยวพันวาแบบไหนตองการเดนดานความ แข็งแรง หรือแบบไหนจะเดนเดงดานความยืดหยุน เชน เอ็น จะมีความเหนียวของ collagen มากกวามี ความตานทานตอการยืด หรือพูดงายๆวาเหนียวกวา สวน กลามเนื้อ และเยื่อหุมกลามเนื้อตองการความ ยืดหยุนมากกวา จึงสามารถขยับเคลื่อนไดมาก กวาเอ็น นอกจากนี้ ถานับตามโครงสรางพื้นฐาน กระดูกเอง ก็เปนเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดหนึ่ง เพียงแตไดรับการพอกพูนดวย แรธาตุเชน แคลเซียม จนมีคุณสมบัติดานความแข็งแรงจนแทบไมเหลือ ความยืดหยุนไวเลยตอนนี้เรามาดูกันตอวา ปจจัยอะไรบาง ที่มีผลตอ การขยับของโครงขายเนื้อเนื่อเกี่ยวพันนี้ กลามเนื้อที่ตึงๆเกร็งๆเปนเพราะการใชงาน กลามเนื้อมากเกินไป มีการหดตัวของไฟเบอร กลามเนื้อ แตแทบไมถูก เหยียดยืดคืนกลับหดคาง อยูอยางนั้น เอ็นที่อยูตรงปลายและขอตอ จึงเกิด ตึงเกร็งเพิ่มขึ้น ที่เรามักไดยินคนบนวา เอ็นขอไหลติด เอ็นรอยหวายตึง สวนเยื่อหุมหรือเปลือกที่หุมกลามเนื้อนั้น ถาไมไดขยับเคลื่อนไหว อยูในอิริยาบถเดิมนานๆ จะเกิดการติดยึด เหมือน คนใสถุงมือที่มีขนาด เล็กกวามือ จะขยับนิ้วก็อึดอัด ติดขัดไมสะดวก 8
ÊÒÃѵ¶Ð ประกอบกับความตึงของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันนี้ ยังขึ้นกับอุณหภูมิ ความเย็นจะทำใหกลามเนื้อ และเนื้อเยื่อเกี่ยวพันหดสั้น ตอนตื่นใหมๆ หลังจาก นอนคางในทาเดิมมาแถมเปดแอรฉ่ำปอดมาทั้งคืน นั่นพอจะทำใหเราเห็นภาพแลววา ตื่นมาฝกตอนเชา ทำไมกลามเนื้อมันจึงตึงเกร็งไปหมดทั้งตัวเชนนี้ จะทำใหเอ็นและเยื่อหุมกลามเนื้อไหวเคลื่อนได สะดวก เราก็ตองขยับมันบอยๆ ใหรอบขอตอหลวม และเปนอิสระตอ กันมากขึ้น กลามเนื้อจึงตองอาศัยเวลาวอรมอัพบริหาร ขอตอ ใหพรอมขยับเพื่อรับวันใหม แลวทำไม ยังใหตื่นมาฝกโยคะตั้งแตเชา ?.. ทั้งๆที่ระยะเหยียด ถูกจำกัดเชนนี้ นี่เองเปนกุศโลบาย หรืออุบายอันเปนกุศลที่ ครูบาอาจารยไดแอบซอนนัยยะเอาไว ถาวากันตาม คุณสมบัติของเอ็นแลว ระยะเหยียดของเอ็น สามารถถูกยืดออกไมเกิน 4% ของความยาวของ กลามเนื้อ ที่เหยียดยืดออก สูงกวานั้นจะเกิดการ ฉีกขาด และบาดเจ็บ พูดงายๆวา ถาเรายืดกลาม เนื้อออกไป 10 เซนติเมตร เอ็นจะถูกยืด ไดไมเกิน 0.4 เซน หรือ 4 มิลลิเมตร เทานั้น การฝกโยคะ ภายใตขอจำกัด จึงไมเปนเพียง การปลุกเราใหตื่นจากความขี้เกียจแตยังเปนการปลุ ก ความตื่นรูให เกิดขึ้นในทุกอณูของรางกายดังที่ทาน ไอเยนการไดกลาวไว ในหนังสือประทีปแหงชีวิตวา "เราสามารถเรียนรูจากอาสนะ ไดเหมือนกับ ทุกรูขุมขน เปนดั่งดวงตาภายใน" ยิ่งมีขอจำกัด ยิ่งพยายามจะยืดกลามเนื้อ มากขึ้นยิ่งตองเพิ่มความระมัดระวังกับระยะเหยียด อันแสนจำกัด ของเอ็นที่ ปลายทาง มิเชนนั้นจุดจบ อาจเปนจุดเจ็บ..ที่ไมจบ นับเปนภูมิปญญาแบบ ตะวันออกที่แยบยลไปกับความรูแบบตะวันตกโดยแท
9
แอบเสริมอีกนิดวา การฝกโยคะแตเชา ขณะที่ทองยังวางนอกจากจะเอื้อใหเกิดการกดนวด อวัยวะภายใน และสามารถ ทำเทคนิคเสริมอื่นๆ เชน มุทรา พันธะ ไดดีแลวในแงการเผาผลาญ ยังเปน การดึงแปงและไขมันเดิมที่สะสมไวออกมาใชงานอีก ดวย (ถาฝกหลังรับประทานอาหาร รางกายจะดึง พลังงาน จากมื้อลาสุดที่เพิ่งกินเขาไป ของเกา ไมถูกใช..ยังไงก็ไมมีทางผอม) ถึงแมจะไมใชเปาหมาย หลักของการฝก แตผลทางออมในการลดไขมัน สวนเกิน ก็เปนอีกแรงจูงใจใหใครหลายคนอยาก ตื่นมาฝกโยคะแตเชา เราเรียนรูเรื่องของรางกาย ขอจำกัดทั้งหมด เพื่อเขาใจและเคารพรางกาย ไมใชเอาชนะ เมื่อนั้น เราจะพบกับอิสระ แหงการเคลื่อนไหว (สุขะ) ที่แสน สถิระ (มั่นคง) ในทุกทาที่เคลื่อนไหว สุดทาย ของสามชั่วโมงแรก แหงการเรียนรู ในวันนั้น เดวิดบอกกับเราวา “การฝกอาสนะ จึงเปนการเรียนรูที่จะสรางพื้นที่วางและยืดระยะ เหยียดใหกับเนื้อเยื่อเกี่ยวพันตางๆ โดยมีเปาหมาย คือ เพื่อเอื้อตอการฝกหายใจ” อันเปนมรรคาหรือ หมุดหมายองกถัดไป ตามที่จดจารไวในตำราแมบท แหงโยคะ ปตัญชลี โยคะสูตร พรุงนี้.. ตื่นแตเชา มาฝกโยคะกันเถอะ !! ธำรงดุล
ÊÒÃѵ¶Ð http://spyspy.tumblr.com/
§Ò¹ÈÖ ¡ ÉÒÇÔ ¨ Ñ Â
â¤Ъ‹ Ç ÂãËŒ ¤ ÇÒÁ¨Ó ¤ÇÒÁ¤Ô ´ ¤ÇÒÁÍ‹ Ò ¹´Õ ¢ Ö ้ ¹
เริ่มหลงๆ ลืมๆ? ลองไปเรียนโยคะดู แค 20 นาที ความจำของคุณจะดีขึ้น และคุณจะมีความคิดที่คมขึ้น นี่คือสิ่งที่นักวิจัยคนพบ การทำโยคะยังสงผลดีตอการทำงานของ สมองเมื่อเทียบกับการไปเตนแอโรบิค 20นาทีจริงๆ แลวเหงื่อที่ไดจากโรงยิมไมไดชวยใหคุณจำไดดีขึ้น ทั้งไมไดชวยใหคุณมีสมาธิเพิ่มขึ้นแตอยางใด ทั้งนี้นักวิจัยของมหาวิทยาลัยอิลลินอยส ไดทดลองกับนักศึกษาระดับปริญญาตรีเพศหญิง จำนวน 30 คน โดยใหฝกหฐโยคะ 20 นาที ซึ่งมีทั้งการฝกอาสนะ หายใจ แลวมาทดสอบ การทำงานของสมอง เทียบกับ นักศึกษากลุมเดิม ไปวิ่ง ไปเดินบนสายพาน ใหหัวใจเตนเร็วขึ้นรอยละ 70 เปนเวลา 20 นาทีเทากัน แลวมาทดสอบ การทำงานของสมอง ผลที่ไดคือความทรงจำความเร็วในปฏิกริยา ตอบสนอง ความสามารถในการรับรูพัฒนา ขึ้นหลังฝกโยคะ สวนหลังจากการออกกำลังกาย การทำงานของสมองไมมีความเปลี่ยนแปลงแตอยาง ใด (จากJournal of Physical Activity&Health,2013;10: 488-95).
10
ÊÒÃѵ¶Ð
http://pinterest.com/pin/537406168004927065/
http://pinterest.com/pin/240590805065003712/
¾ÃÐäµÃ» ® ¡á¡‹ ¹ ¸ÃÃÁ
¾ÃÐäµÃ» ® ¡ àÅ‹ Á ·Õ ่ ñô (¾ÃÐÊØ µ µÑ ¹ µ» ® ¡ àÅ‹ Á ·Õ ่ ö) ÁÑ ª ¬Ô Á ¹Ô ¡ Ò ÍØ » ÃÔ » ˜ ³ ³ÒÊ¡ ø.ÍÒ¹Ò»Ò¹ÊµÔ Ê Ù µ Ã
จาก http://www.84000.org/tipitaka/ pitaka2/v.php?B=14&A=3924&Z=4181
[๒๘๒] ขาพเจาไดสดับมาอยางนี้สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคประทับอยูที่ปราสาท ของอุบาสิกาวิสาขามิคารมารดา ในพระวิหาร บุพพาราม เขตพระนครสาวัตถีพรอมดวยพระสาวก ผูเถระมีชื่อเสียงเดนมากรูปดวยกัน เชน ทานพระ สารีบุตร ทานพระมหาโมคคัลลานะ ทานพระ มหากัสสป ทานพระมหากัจจายนะ ทานพระมหา โกฏฐิตะ ทานพระมหากปณะ ทานพระมหาจุนทะ ทานพระเรวตะ ทานพระอานนท และ พระสาวกผู เถระมีชื่อเสียงเดนอื่นๆ ก็สมัยนั้นแล พระเถระทั้งหลายพากันโอวาท พร่ำสอนพวกภิกษุอยู คือ พระเถระบางพวกโอวาท พร่ำสอนภิกษุ ๑๐ รูปบางบางพวกโอวาทพร่ำสอน ๒๐ รูปบาง บางพวกโอวาทพร่ำสอน ๓๐ รูปบาง บางพวกโอวาทพร่ำสอน ๔๐ รูปบางฝายภิกษุนวกะ
11
ÊÒÃѵ¶Ð เหลานั้น อันภิกษุผูเถระโอวาทพร่ำสอนอยูยอมรูชัด ธรรมวิเศษอยางกวางขวางยิ่งกวาที่ตนรูมากอน ฯ [๒๘๓] ก็สมัยนั้นแลพระผูมีพระภาคมีภิกษุ สงฆหอมลอมประทับนั่งกลางแจง ในราตรีมี จันทรเพ็ญ วันนั้นเปนวันอุโบสถ ๑๕ ค่ำ ทั้งเปน วันปวารณาดวย ขณะนั้น พระผูมีพระภาคทรง เหลียวดูภิกษุสงฆ ซึ่งนิ่งเงียบอยูโดยลำดับ จึงตรัส บอกภิกษุทั้งหลายวา ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราปรารภ ในปฏิปทานี้ เรามีจิตยินดีในปฏิปทานี้ เพราะฉะนั้น แล พวกเธอจงปรารภความเพียร เพื่อถึงคุณที่ตน ยังไมถึง เพื่อบรรลุคุณที่ตนยังไมบรรลุ เพื่อทำให แจงคุณที่ตนยังไมทำใหแจงโดยยิ่งกวาประมาณเถิด เราจักรออยูในเมืองสาวัตถีนี้แล จนถึงวันครบ ๔ เดือนแหงฤดูฝน เปนที่บานแหงดอกโกมุท (คือวันเพ็ญ) พวกภิกษุชาวชนบททราบขาววา พระผูมี พระภาคจักรออยูในเมืองสาวัตถีนั้น จนถึงวันครบ ๔ เดือนแหงฤดูฝน เปนที่บานแหงดอกโกมุท จึงพา กันหลั่งไหลมายังพระนครสาวัตถี เพื่อเฝาพระผูมี พระภาค ฝายภิกษุผูเถระเหลานั้นก็พากันโอวาท พร่ำสอนภิกษุนวกะเพิ่มประมาณขึ้น คือ ภิกษุผู เถระบางพวกโอวาทพร่ำสอนภิกษุ ๑๐ รูปบาง บางพวกโอวาทพร่ำสอน ๒๐ รูปบาง บางพวก โอวาทพร่ำสอน ๓๐ รูปบาง บางพวกโอวาท พร่ำสอน ๔๐ รูปบาง และภิกษุนวกะเหลานั้น [๒๘๔] ก็สมัยนั้นแลพระผูมีพระภาคมีภิกษุ สงฆหอมลอมประทับนั่งกลางแจง ในราตรีมีจันทร เพ็ญ เปนวันครบ ๔ เดือนแหงฤดูฝน เปนที่บาน แหงดอกโกมุท วันนั้นเปนวันอุโบสถ ๑๕ ค่ำ ขณะนั้น พระผูมีพระภาคทรงเหลียวดูภิกษุสงฆ ซึ่ง นิ่งเงียบอยูโดยลำดับ จึงตรัสบอกภิกษุทั้งหลายวา ดูกรภิกษุทั้งหลาย บริษัทนี้ไมคุยกัน บริษัทนี้เงียบ เสียงคุย ดำรงอยูในสารธรรมอันบริสุทธิ์ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุสงฆนี้บริษัทนี้เปน เชนเดียวกันกับบริษัทที่ควรแกการคำนับ ควรแก การตอนรับ ควรแกทักษิณาทานควรแกการกระทำ อัญชลี เปนเนื้อนาบุญของโลกอยางหาที่อื่นยิ่งกวา มิได ภิกษุสงฆนี้บริษัทนี้เปนเชนเดียวกันกับบริษัท ที่เขาถวายของนอย มีผลมาก และถวายของมาก
มีผลมากยิ่งขึ้น ภิกษุสงฆนี้ บริษัทนี้เปนเชน เดียวกันกับบริษัท อันชาวโลกยากที่จะไดพบเห็น ภิกษุสงฆนี้ บริษัทนี้เปนเชนเดียวกันกับบริษัทอัน สมควรที่แมคนผูเอาเสบียงคลองบาเดินทางไปชม นับเปนโยชนๆ [๒๘๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ยอมมีภิกษุใน ภิกษุสงฆนี้ ผูเปนพระอรหันตขีณาสพ อยูจบ พรหมจรรยแลว ทำกิจที่ควรทำเสร็จแลว ปลงภาระ ไดแลว บรรลุประโยชนตนแลวโดยลำดับ สิ้น สัญโญชนในภพแลว พนวิเศษแลวเพราะรูชอบ แมภิกษุเชนนี้ในหมูภิกษุนี้ ก็มีอยู ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ยอมมีภิกษุในภิกษุสงฆนี้ ผูเปนอุปปาติกะ เพราะสิ้นสัญโญชนสวนเบื้องต่ำทั้ง ๕ จะไดปรินิพพานในโลกนั้นๆมีอันไมกลับมาจาก โลก นั้นอีกเปนธรรมดา แมภิกษุเชนนี้ในหมูภิกษุนี้ ก็มีอยู ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ยอมมีภิกษุในภิกษุสงฆ นี้ ผูเปนพระสกทาคามีเพราะสิ้นสัญโญชน ๓ อยาง และเพราะทำราคะ โทสะ โมหะใหเบาบางมายังโลก นี้อีกครั้งเดียวเทานั้น ก็จะทำที่สุดแหงทุกขได แมภิกษุเชนนี้ในหมูภิกษุสงฆนี้ ก็มีอยู ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ยอมมีภิกษุในภิกษุสงฆนี้ ผูเปน พระโสดาบัน เพราะสิ้นสัญโญชน ๓ อยาง มีอันไม ตกอบายเปนธรรมดา แนนอนที่จะไดตรัสรูใน เบื้องหนา แมภิกษุเชนนี้ในหมูภิกษุนี้ ก็มีอยู ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ยอมมีภิกษุในภิกษุสงฆนี้ ที่เปน ผูประกอบความเพียรในอันเจริญสติปฏฐาน ๔ อยู แมภิกษุเชนนี้ในหมูภิกษุนี้ ก็มีอยู ฯ [๒๘๖] ดูกรภิกษุทั้งหลายยอมมีภิกษุในภิกษุ สงฆนี้ที่เปนผูประกอบความเพียร ในอันเจริญ สัมมัปปธาน ๔ อยู แมภิกษุเชนนี้ในหมูภิกษุนี้ก็มี อยู ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ยอมมีภิกษุในภิกษุสงฆนี้ ที่เปนผูประกอบความเพียรในอันเจริญอิทธิบาท ๔ อยู แมภิกษุเชนนี้ในหมูภิกษุนี้ ก็มีอยู ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ยอมมีภิกษุในภิกษุสงฆนี้ ที่เปนผูประกอบความเพียรในอันเจริญอินทรีย ๕ อยู แมภิกษุเชนนี้ในหมูภิกษุนี้ ก็มีอยู ฯ
12
http://jolie.fi/moments/page/6/
ÊÒÃѵ¶Ð
13
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ยอมมีภิกษุในภิกษุสงฆนี้ ที่เปนผูประกอบความเพียรในอันเจริญพละ ๕ อยู แมภิกษุเชนนี้ในหมูภิกษุนี้ ก็มีอยู ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ยอมมีภิกษุในภิกษุสงฆนี้ ที่เปนผูประกอบความเพียรในอันเจริญโพชฌงค ๗ อยู แมภิกษุเชนนี้ในหมูภิกษุนี้ ก็มีอยู ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ยอมมีภิกษุในภิกษุสงฆนี้ ที่เปนผูประกอบความเพียรในอันเจริญมรรคมีองค ๘ อันประเสริฐอยู แมภิกษุเชนนี้ในหมูภิกษุนี้ก็มีอยู ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ยอมมีภิกษุในภิกษุสงฆนี้ ที่เปนผูประกอบความเพียรในอันเจริญเมตตาอยู แมภิกษุเชนนี้ในหมูภิกษุนี้ ก็มีอยู ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ยอมมีภิกษุในภิกษุสงฆนี้ ที่เปนผูประกอบความเพียรในอันเจริญกรุณาอยู แมภิกษุเชนนี้ในหมูภิกษุนี้ ก็มีอยู ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ยอมมีภิกษุในภิกษุสงฆนี้ ที่เปนผูประกอบความเพียรในอันเจริญมุทิตาอยู แมภิกษุเชนนี้ในหมูภิกษุนี้ ก็มีอยู ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ยอมมีภิกษุในภิกษุสงฆนี้ ที่เปนผูประกอบความเพียรในอันเจริญอุเบกขาอยู แมภิกษุเชนนี้ในหมูภิกษุนี้ ก็มีอยู ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ยอมมีภิกษุในภิกษุสงฆนี้ ที่เปนผูประกอบความเพียรในอันเจริญอสุภสัญญาอยู แมภิกษุเชนนี้ในหมูภิกษุนี้ ก็มีอยู ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ยอมมีภิกษุในภิกษุสงฆนี้ ที่เปนผูประกอบความเพียรในอันเจริญอนิจจสัญญาอ ยู แมภิกษุเชนนี้ในหมูภิกษุนี้ ก็มีอยู ฯ [๒๘๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ยอมมีภิกษุในภิกษุ สงฆนี้ ที่เปนผูประกอบความเพียรในอันเจริญ อานาปานสติอยู ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานาปานสติ อันภิกษุเจริญแลว ทำใหมากแลว ยอมมีผลมาก มีอานิสงสมาก ภิกษุที่เจริญอานาปานสติแลว ทำให มากแลว ยอมบำเพ็ญสติปฏฐาน ๔ ใหบริบูรณได ภิกษุที่เจริญสติปฏฐาน ๔ แลว ทำใหมากแลวยอม บำเพ็ญโพชฌงค ๗ ใหบริบูรณได ภิกษุที่เจริญ โพชฌงค ๗ แลว ทำใหมากแลว ยอมบำเพ็ญวิชชา และวิมุตติใหบริบูรณได ฯ (ยังมีตอ)
ใจความสำคัญตอนที่แลว (โยคสูตรประโยค ที่ ๒:๓๑) กลาวถึงเนื้อหาของยมะในประเด็นที่วา การฝกยมะควรจะประพฤติปฏิบัติดวยสัจจะปฏิญาณ อันสูงสงอยางถึงที่สุด และผูฝกสามารถประพฤติ ปฏิบัติ ยมะไดในทุกสถานการณโดยไมมีขอยกเวน และไมอยูภายใตเงื่อนไขใดๆ ไมวาจะเปนเรื่องชาติ กำเนิดในชนชั้นวรรณะหรือสถานภาพทางสังคมใด หรืออยูอาศัยในพื้นที่ใด และไมขึ้นอยูกับชวงเวลา หรือยุคสมัยใด ประโยคถัดมา ๒:๓๒ ปตัญชลีกลาว ไววา “เศาจะ-สันโตษะ-ตปะ-สวาธยาเยศวระประณิธานานิ นิยมาห” แปลวานิยมะหรือกฎแหง ความประพฤติ ประกอบดวย เศาจะ (ความสะอาด) สันโตษะ (ความพึงพอใจ) ตปะ (ความเครงครัด สมถะ) สวาธยายะ (การศึกษาตนเอง) และอีศวระประณิ ธานะ (การบูชาดวยความออนนอมยอม จำนน) เศาจะหมายถึงความสะอาด ซึ่งอรรถ กถาจารย สวนใหญอธิบายวา เปนการชำระทั้ง รางกายและ จิตใจใหสะอาดบริสุทธิ์แตในที่นี้ ดูเหมือนวา ควรจะ ทำความเขาใจคำๆ นี้ใน เบื้องตนวาเปนความ สะอาดของรางกาย แมคำวา “เศาจะ” “ศุจิตา” ฯลฯ มาจากรากศัพทวา “ศุจ” ซึ่งหมายถึง ทำความสะอาดหรือชำระใหสะอาด บริสุทธิ์
http://pinterest.com/pin/8725793000560408/
http://jolie.fi/moments/page/6/
¹Ô  ÁÐ õ ¡Ñ º ¼Åµ‹ Í Ã‹ Ò §¡ÒÂáÅÐ¨Ô µ ã¨
http://latticelight.tumblr.com/post/27432032658/ 8theye-keep-the-tradition-alive-old-tibetan
ÊÒÃѵ¶Ð
µÓÃÒâÂ¤Ð´Ñ ้ § à´Ô Á
สามารถใชกับเรื่องกระบวนการชำระลางใหสะอาด บริสุทธิ์ทั้งรางกายและจิตใจ ปกติคำวา “เศาจะ” จะใชสำหรับกระบวนการชำระลางที่เกี่ยวของกับ รางกายมากกวา ความจริงแลวเศาจะมีความหมายพิเศษ โดยทั่วไปวา การขจัดของเสีย การขับถายอุจจาระ (ในลำไส) และเปนไปไดมากวา คำนี้จะใชในความ หมายของกระบวนการทำความสะอาดรางกาย ดวย เหตุผลคือ ๑) มีเทคนิคโยคะตางๆ มากมายที่เปน เรื่องของการชำระลางจิตใจ ที่จริงแลววัตถุ ประสงคหลักในเบื้องแรกของระบบโยคะใดๆ ก็คือ การชำระลางจิตใจ หลังจากนั้นความสงบและความมั่นคงของ จิตใจจึงจะเกิดขึ้นได มรรคตางๆ ของระบบโยคะ ของปตัญชลีสวนใหญมีการชำระจิตใจใหบริสุทธิ์เปน วัตถุประสงคลำดับแรก นั่นคือ ยมะทั้ง๕ และนิยมะ อีก ๔ ขอที่เหลือ เทคนิคประณวชปะ(1) และมนสสถิตินิพันธนะ(2) และจิตตประสาทนะ(3) (๑:๒๘ ถึง ๓๙) (1) เทคนิคประณวชปะ การสวดโดยการออกนามของเทพเจาหรือการสวดคำมันตราซ้ำๆ ซึ่งในที่นี้หมายถึงการสวดโอมเพื่อหลอมรวมจิตใหเปนหนึ่งเดียว (Yoga Kosa,P122,189) (2) มนสสถิตินิพันธนะ คือ วิธีการผูกหรือทำจิตใหนิ่ง(ขอมูลจากประโยคที่ ๑:๓๒) (3) จิตตประสาทนะ คือ กระบวนการบรรลุถึงสภาวะอันสุขสงบของจิต (ขอมูลจากประโยคที่ ๑:๓๒)
14
ÊÒÃѵ¶Ð กระบวนการฝกสมาธิของสมาปตติ ธารณา ธยานะ และสมาธิ และแมแตอาสนะ รวมทั้ง ปราณายามะ ทั้งหมดนี้ก็นำไปสูการชำระ ลางจิตใจ ทั้งทางตรงหรือไมก็ทางออม ดังนั้นจึงไมมีเหตุผล และ จุดมุงหมายที่จะกลาว ถึงการชำระลาง จิตภายใตหัวขอเศาจะมากเขา ไปอีก และ ๒) คำวา นิยมะ มีความหมายโดย ทั่วไปวา เปนสิ่งตางๆ ที่ประพฤติปฏิบัติอยาง สม่ำเสมอเปนประจำทุกวัน ดังนั้นสิ่งตางๆ ที่อยูภายใตนิยมะที่จะตองฝกกัน จริงๆ ก็คือ สิ่งที่ตองปฏิบัติโดยรางกาย ยกเวนใน ขอสันโตษะแลว นิยมะทั้ง ๔ ที่เหลือของ ปตัญชลีมีลักษณะธรรมชาติที่ตองปฏิบัติโดยรางกาย ตปส สวาธยายะ และอีศวระ-ประณิธานะทั้งสามขอ นี้เปนองคประกอบของกริยาโยคะ และเปนกิจกรรม ที่ทำโดยรางกายเปนหลัก ไดถูกดึงออกมากลาวให เห็นอยางเดนชัดแลวในประโยคที่๒:๑ เมื่อพิจารณา ตามเหตุผลดังกลาวขางตน เศาจะจึงตองเปน กิจกรรมทางรางกาย หรือการชำระลางรางกาย แมวาปตัญชลีจะไมไดกลาวถึงเทคนิคการชำระลาง พิเศษ เพื่อชำระลางอวัยวะภายในของรางกาย เชน เนติ พัสติ เธาติ ซึ่งทั้งหมดนี้อยูในสวนของ หฐโยคะก็ตาม เทคนิคเหลานี้หรือวิธีการอื่นๆ (เชน อายุรเวท) ที่ใชในการชำระลางรางกายจากภายนอก หรือภายใน ตางก็สามารถนำมารวมอยูในเศาจะได และนำมาใชเพื่อใหมีรางกายที่สะอาดและอยูใน สภาพที่ดีที่สุด สันโตษะหมายถึงความพึงพอใจ การรวมขอ นี้ใหอยูในสวนของนิยมะดูเหมือนจะผิดที่อยูสัก หนอย เพราะสิ่งนี้เปนเรื่องของจิตใจ ขณะที่นิยมะ อีกสี่ขอที่เหลือเปนการกระทำทางรางกายเปนหลัก อรรถกถาจารยของโยคสูตรเลมนี้รูสึกวา ยมะขอ อปริคระหะและนิยมะขอสันโตษะสามารถสับเปลี่ยน ที่กันได (4) เหตุผลเดียวที่อาจอธิบายไดวา ทำไมปตัญชลี จึงจัดวางยมะนิยมะในลักษณะนี้ก็คือ ยมะนิยมะ เหลานี้ไดรับการแจกแจงตามธรรมเนียมของโยคะ โบราณ ซึ่งปตัญชลีไดชี้แจงไวแลวในประโยคที่ ๑:๑
15
อาจกลาวไดวา แมสันโตษะจะเปนเรื่องทาง จิตใจเปนหลัก แตการรวมขอนี้อยูในนิยมะนั้น ปตัญชลีตองการเนนวา การแสรงมีความสุขความ พึงพอใจในสิ่งที่มีที่เปนโดยทางใจอยางเดียวไมเพียง พอสำหรับผูปฏิบัติโยคะ เขาควรควบคุมการกระทำ ในชีวิตของเขาเพื่อที่จะแสดงใหเห็นถึงความพึงพอใจ นี้ในทางปฏิบัติจริงดวย บอยครั้งที่พบผูที่อางวา พวกเขามีความพึงพอใจตอชีวิตและไมมีความอยาก ความตองการทางโลกใดๆ แตในชีวิตจริงการกระทำ ของพวกเขากลับแสดงใหเห็นวา พวกเขายังคงมี ความอยากปรารถนาสิ่งตางๆ เชน ความมั่งคั่ง อำนาจ ฯลฯ นี่เปนสิ่งที่ตองหลีกเลี่ยงอยางแทจริง ทั้งสิ้นสำหรับผูฝกโยคะที่จริงใจ สำหรับสามขอที่เหลือของนิยมะคือ ตปส สวาธยายะ และอีศวระ-ประณิธานะ ซึ่งเปนองค ประกอบของกริยาโยคะนั้น ไดอธิบายไวในประโยค ๒:๑ อยางเพียงพอแลว อยางที่กลาวแลววา นิยมะ หมายถึง สิ่งหรือกิจกรรมอยางหนึ่งที่ตองทำ อยางสม่ำเสมอเปนประจำ การรวมทั้ง ๓ ขอของกริยาโยคะใหอยูภายใตนิยมะนั้น ปตัญชลี ตองการเนนวา ทั้ง ๓ ขอนี้เปนสิ่งจำเปนตองทำ ทุกๆ วัน ในฐานะที่เปนหนาที่ที่ตองรับผิดชอบ ไมตองสงสัยเลยวา การวางจิตใจใหเหมาะสมนั้นควร จะกระทำควบคูไปกับการปฏิบัติทางกายในแตละขอ ของนิยมะดวย เรื่องนี้ไดมีการชี้ใหเห็นแลว ในการอธิบายตอนตนของประโยค ๒:๑ แคการ ปฏิบัติ อยางเปนกลไกของกฎเหลานี้ ในระดับ รางกายนั้น ไมอาจตอบสนองตอวัตถุประสงค ที่แทจริง และไมมีคุณคาที่จะถูกเรียกวาเปนสวน หนึ่งของโยคะได
(4) ดวยเหตุผลที่วา อปริคระหะหรือการไมสะสมสิ่งของวัตถุเปนเรื่องของการควบคุมทางกาย สวนสันโตษะเปนเรื่องทางจิตใจ
วีระพงษ ไกรวิทย และจิรวรรณ ตั้งจิตเมธี
http://www.aufeminin.com/bienetre/ yoga-types-de-yoga-d20251.html
ในประโยคที่ ๒:๑ ไดมีการชี้ใหเห็นถึงความ เชื่อมโยงกับอีศวระ-ประณิธานะวา การบูชาใน รูปแบบของปูชนะ(5) หรือหวนะ(6) ควรจะทำดวย ทาทีที่ยอมจำนนหรือออนนอมตอพระอิศวร แตใน ชวงเริ่มตนทาทีแบบนี้ (ออนนอมยอมจำนน) อาจจะ ยังไมไดพัฒนาขึ้นมาไดงายดายนัก อยางไร ก็ตามหากผูปฏิบัติใสใจระลึกรูวา ทาทีของการ ยอมจำนนอยางสิ้นเชิงตอพระอิศวรนั้นจะตองไดรับ การพัฒนาขึ้นมา และนั่นก็คือวัตถุประสงคสำคัญ ของกิจกรรมทางกายในขอนี้ หลังจากนั้นการ กระทำอยางเปนกลไกในตอนแรกจะเปลี่ยนไปสูการ บูชาอยางแทจริง และทาทีของการยอมจำนน อยางสิ้นเชิงตอพระอิศวรก็จะคอยๆ ไดรับการ พัฒนาขึ้น อยางที่ไดเคยชี้ใหเห็นแลววา นี่คือเหตุผลวาทำไมกริยาโยคะจึงไดรับการแนะนำ ใหเปนจุดเริ่มตนของการปฏิบัติของผูฝกโยคะตาม แนวทางของปตัญชลี ไดเนนไปแลววา คำวา เศาจะ ในนิยมะหมายถึง การทำความสะอาดรางกาย เปนหลัก แตจำเปนตองชี้ใหเห็นอีกครั้งหนึ่งวา วัตถุประสงคของการทำความสะอาดรางกายเหลานี้ ในที่สุดแลวไมไดเปนไปเพื่อรางกายเทานั้น แตเพื่อ การชำระลางและการพัฒนาที่ดีขึ้นของอวัยวะทั้ง หลายของมนุษย รวมถึงบุคลิกภาพของผูปฏิบัติดวย กระบวนการชำระลาง ที่เปนรูปแบบการ ปฏิบัติในเบื้องตนของพิธีกรรมทางศาสนาฮินดู เชน มันตราจมนะ(7) อฆมรรสณะ(8) ฯลฯ เปนกระบวน การชำระลางขั้นตนที่เกี่ยวของกับรางกาย แตเมื่อ ไดรับการฝกปฏิบัติในลักษณะที่เปนพิธีกรรม (ทางศาสนา) กระบวนการชำระลางทางกาย เหลานี้อาจทำใหเกิดความบริสุทธิ์ในทางจิต-จิต วิญญาณได ดังนั้นแมวาทั้งยมะและนิยมะ จะเปนกฎ ในการควบคุมพฤติกรรมของบุคคลแตเรื่องทางจิตใจ และผลที่มีตอจิตใจเปนแกนหรือสาระสำคัญหลักของ การปฏิบัติยมะ ในขณะที่กิจกรรมทางกาย และกิจกรรมภายนอกที่คลายๆ กันนับเปนเรื่อง รองหรือมีความสำคัญนอยมาก ตรงกันขามกับ การปฏิบัตินิยมะ ผลทางกายมีความสำคัญมากกวา ในขณะที่ผลทางจิตใจเปนเพียงสวนประกอบที่เสริม เขามา
ÊÒÃѵ¶Ð
๑) Karambelkar, P. V. (1986). PATANJALA YOGA SUTRAS Sanskrta Sutras with Transliteration, Translation & Commentary. Lonavla : Kaivalyadhama, p. 253-257. ๒) Philosophico Literary Research Department, (1991). Yoga Kosa. Lonavla : Kaivalyadhama. ๓) The Linga-purana, เลมที่ 6 [online], ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๖. แหลงที่มา http://books.google.co.th/books?id=H0QqAQAAMAAJ&q=mantracamana&dq= mantracamana&hl=th&sa=X&ei=XtXGUarmGojXrQeujYCwCw&ved=0CDUQ6AE wAQ ๔) Sadguru Sant Keshavadas, Gayatri: the highest meditation [online], ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๖. แหลงที่มา http://books.google.co.th/books?id=rb7fL6oCe0C&pg=PA98&lpg=PA98&dq=mantracamana&source=bl&ots=sqP1IBzg-D& sig=N6YTtLU-UWaQYR_dMLI80kN4YpE&hl=th&sa=X&ei=R8_GUdWUN4TTrQ egpID4Cw&ved=0CCgQ6AEwAA#v=onepage&q=mantracamana&f=false
(5) ปูชนะ คือ การบูชาเทพตางๆ ดวยจิตอันสงบอยางเต็มกำลังศรัทธา (ดูขอมูลจากประโยค ๒:๒ หรือ Yoga Kosa, p.68) (6) หวนะ คือ การบูชาไฟหรือการสวดออนวอน (ดูขอมูลจากประโยค ๒:๑) (7) มันตราจมนะ คือ การสวดมันตราซ้ำๆ ในระหวางวัน (ขอมูลจาก http://books.google.co.th/books?id=H0QqAQAAMAAJ&q=mantracamana&dq= mantracamana&hl=th&sa=X&ei=XtXGUarmGojXrQeujYCwCw&ved=0CDUQ6AE wAQ) (8) อฆมรรสณะ คือ เปนกริยาหรือการปฏิบัติอยางหนึ่งที่จำเปนอยางยิ่งตอการชำระลางบาปที่สะสมอยูทั้ งโดยเจตนาและไมเจตนา มีการสวดมันตราประกอบกริยาดวย (ขอมูลจาก http://books.google.co.th/books?id=rb7fL6oCe0C&pg=PA98&lpg=PA98&dq=mantracamana&source=bl&ots=sqP1IBzg-D& sig=N6YTtLU-UWaQYR_dMLI80kN4YpE&hl=th&sa=X&ei=R8_GUdWUN4TTrQ egpID4Cw&ved=0CCgQ6AEwAA#v=onepage&q=mantracamana&f=false)
16
ÊÒÃѵ¶Ð
º·¡Å͹
ตนไมแหงความวาง 1. “จงทำงานทุกชนิดดวยจิตวาง” ฉันนึกถึงถอยประโยคนี้ จากทานพุทธทาส อินทปญโญ เมื่อยืนอยูตอหนาฝาผนังปูนเปลือยอันวางเปลา.. ในรานกาแฟที่เพิ่งสรางใหม 2. แลวใหนึกยอนไปเมื่อหลายเดือนที่ผานมา.. กับการรับปากดวยมิตรภาพวาจะมาเพนทผนังรานใหพี่คนหนึ่ง หากรานกาแฟของเขาสรางเสร็จ แตแลวเมื่อใกลวัน ความกดดันเริ่มตั้งเคาเหมือนมีมวลเมฆกอนมหึมาลอยอยูเหนือจิตใจฉัน และรองแหงความคุนชินเดิมก็พาฉันเดินไปยังเสนทางแหงความกลัวอีกครั้ง ..กลัววาจะทำไดไมดี แลวเมื่อเมฆที่ตั้งเคาอยูเมื่อครูมีฝนตกลงมา.. ก็เปนอันวาฉันจึงตอบปฏิเสธพี่ไป แตมิตรภาพหาใชวาจะหยุดงอกงามเพียงเพราะการปฏิเสธในครานั้น เพราะเมื่อรานเริ่มเปนรูปเปนรางจริงๆ ในวันที่เพื่อนๆ อีกหลายคนไปชวยกัน ฉันจึงยังเปนหนึ่งในนั้นดวย “ไมเปลี่ยนใจหรือ” พี่เจาของรานถามฉันอีกครั้งถึงการเพนทผนัง ฉัน.. ผูซึ่งแมจะไมไดเตรียมตัวเพื่อมาเพนทเลย แตในเมื่อมันคือสิ่งที่รัก และเมื่อมีคนหยิบยื่นโอกาสมาใหครั้งแลวครั้งเลา ..ฉันจึงเริ่มใครครวญอีกครั้ง 3. ทามกลางความกลัว ความประหมา และอีกหลากหลายความรูสึกที่กระเพื่อมอยูภายใน เมื่อยืนอยูตอหนาผนังอันวางเปลานั้น “ถาฉันทำมันออกมาไดไมดีตองแยแนๆ เลย หนารานเขาดวยนะนี่ จะกระทบกับกิจการเขาไหมนะ” “หากฉันวาดเสียจะทำยังไง เสียก็ลบไมไดดวยสิ” “หากวาดไมสวย แลวพี่เขาไมพอใจ เขาจะตำหนิ จะโกรธเราไหมนะ” “จงทำงานทุกชนิดดวยจิตวาง” “………………………….” “………………………….” ประโยคสุดทายที่กองดังอยูในใจ เปนเหตุใหฉันเรียก ‘สติ’ คืนกลับมา แลวทิ้งทุกสิ่งที่ลอยกระจัดกระจายอยูในความคิดกอนหนา เหลือเพียงใจที่วางๆ และรูสึกถึงสัมผัสของดามพูกันที่อยูในมือ แลวจึงพบวา ณ จุดแรกที่ปลายพูกันแตงแตมลงไปบนผนังนั้น แมความคิดมากมายจะยังคงลอยวนเหนือจิตใจอยู แตเมื่อฉันไมไดใสใจมันอีกตอไป วาอีกเดี๋ยวฝนจะตกลงมาอีกไหม
17
ÊÒÃѵ¶Ð ใจฉันเพียงอยูกับปลายพูกัน ผนัง และกระปองสี แคนั้น.. ลวดลายจะออกมาสวยหรือไม ไมไดสนใจอีกตอไป พี่เขาจะชอบหรือไม ไมไดคำนึงอีกแลวแลวฉันก็พบวาลวดลายตนไมจากปลายพูกันคอยๆ งอกงามขึ้นจนเต็มผนังใหญหนาราน ในโลกที่ยังคงดำเนินไปอยางปกติ แตในขณะนั้น.. ฉันรูสึกมีเพียงฉันและตนไม รูตัวอีกที.. เมื่อพี่เจาของรานมายืนมองจากดานหลังแลวบอกวา “ชอบจัง” และอยากใหเพนทขางๆ รานใหดวย หากเปนยามปกติฉันคงรูสึกวานี่คือรางวัลใหญ เพราะเมื่อเราทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ใหและคนที่รับชอบใจ นั่นหมายความวาเราเองก็สุขใจ ในยามนี้แมวาฉันจะยังคงรูสึกวานั่นคือรางวัล หากแตบางความรูสึกบอก ฉันวามันไมใชรางวัลใหญ เพราะรางวัลใหญที่วา คือบทเรียนที่ทำใหฉันไดเรียนรูที่จะอยูและจัดการกับ ความกลัวภายในใจตัวเองตางหากเลา 4. ฉันหยิบกระปองสีและเดินตอไปยังผนังบริเวณขางราน หันกลับมามองตนไมสูงตระหงานที่ปกคลุมหนารานอีกครั้ง นึกถึงคำที่พี่เจาของรานถามวา “นี่ตนอะไร” ในตอนนั้นฉันตอบพี่ไปพรอมรอยยิ้มวาไมรูเหมือนกัน แตภายในใจแลว.. ฉันรูดี เพราะฉันรูจักทุกเสนสายลายใบแตละใบที่แตกหนออยูบนตนไมชนิดนี้ รู.. วาเปลือกจะแข็งหรือออน จะหนาหรือหยาบไดแคไหน ในเวลาใด ทีสุดแลวฉันรู.. วารากของมันหยั่งรากลึกลงไปในหัวใจฉันแคไหน และไมตนนี้งอกงามไดดวยสิ่งใด ฉันไดแตตอบพี่เจาของรานอยูในใจ “ตนไมแหงความวาง”
อนัตตา
18
ÊÒÃѵ¶Ð
àÃ× ่ Í §àÅ‹ Ò ¨Ò¡ÍÔ ¹ à´Õ Â
µ‹ Í ¨Ò¡©ºÑ º ·Õ ่ á ÅŒ Ç
สวัสดีคะ เตยมาเลาตอเรื่องทริปกับครูฮิโรชิคะ จากโลนาฟลาเรานั่งรถไปสถานีรถไฟที่มุมไบ อดใจหายไมไดเหมือนกันที่ตองจากไกวัลยธรรมไป เตยตองแบกขาวของไปหมดเลยเพราะขากลับมาจะ ไมไดกลับมาที่ไกวัลเหมือนคนอื่นเขา แตจะตรงไปที่ อาศรมนิศาโกปจาร เพื่อเขาคอรสธรรมชาติบำบัด อีกสองอาทิตย นั่นหมายความวาตองแบกกระเปา เดินทางรวมสามสิบโล หอบหิ้วไปตลอดทริป (คือชอปปงเสื้อผาเอย ตัดเสื้อผาเอย ซื้อหนังสือเอย กระเปาเลยใหญเบงมาก) เราเดินทางถึงสถานีรถไฟที่มุมไบสถานีรถไฟ ใหญโตโออา คลายๆ กับหัวลำโพงบานเรา แตใหญ กวา คนเยอะกวา รถไฟเยอะกวายาวกวา สวนเรื่อง ความสะอาดอันนี้คิดวาพอสูสีกันนะโชคดีที่ครูฮิโรชิ ซื้อตั๋วชั้นสอง ซึ่งหมายความวาเราจะไดใชหองพัก รับรองแขก มีทีวีใหชมเพลินๆ มีหองน้ำที่คอนขาง สะอาดทีเดียว การไดเขาใชหองน้ำสะอาดๆ ในอินเดียนี่ทำใหปลื้มปริ่มอิ่มเอมจริงเชียวนะนี่ ไดเวลาเราก็ขนขาวของไปที่รถไฟขบวนราชธานี มุมไบ-เดลี เราเดินกันไปไกลหนอยเพราะรถไฟยาว มาก
19
อยางที่บอกไปขางตนคือ ตูนอนที่จองไวเปน แบบสามชั้น นอนเรียงกันเปนแซนดวิช อยางที่เห็นในรูปครูฮิโรชิอยูชั้นสาม พี่จูนอยูตรง กลาง สวนพี่กลวยอยูอีกฝงนึงเตยอยูฝงตรงขามคะ เปนการเดินทางที่สนุกสนานทีเดียวเชียวถามาเยือน อินเดีย ไดลองขึ้นรถไฟสักครั้งก็เปนประสบการณ ที่นาประทับใจมิใชนอย ครูฮิโรชิบอกวา รถไฟตูนอนดีนะ มีอาหาร เสิรฟตลอด เดี๋ยวแจกอาหารวาง ตอดวยอาหาร คาว ตามดวยไอศกรีม แหม ไมผิดหวังจริงๆคะครู ตอนเรานั่งกันไดครูเดียวก็มีพนักงานมาแจกกาน้ำ รอนใหคนละกาพรอมกับชาหนึ่งถุง น้ำตาลหนึ่ง ซอง ครีมเทียมหนึ่งซอง และถวยพลาสติกหนึ่งใบ วิธีการทำไจหรือชาแบบแขกก็งายมากคะ เอาชา ใสแกว ฉีกซองครีมเทียมกับน้ำตาลเทลงไป หมุนกา น้ำรอนเทน้ำรอนๆ ลงไป เอาชอนพลาสติกคนเปน อันเสร็จสรรพ ชื่นใจ เอ เตยไดบอกไปหรือยังคะวา การเดินทาง ดวยรถไฟของพวกเราในคราวนี้เบ็ดเสร็จแลว 18 ชั่วโมง ใชแลวคะ อานไมผิดหรอก 18 ชั่วโมง เพราะวาระยะทางจากมุมไบไปเดลีประมาณ 1,430 กิโลเมตร ประมาณเชียงรายไปสุราษฎรคะ
ÊÒÃѵ¶Ð ระหวางนั่งรถไฟก็ไดมีโอกาสคุยกับครูฮิโรชิหลาย เรื่อง ครูมาอยูอินเดียนานมาก รูจักอินเดียกวาเรา เยอะ ครูบอกวารูจักไวนะดีใหมีระยะหาง ที่เหมาะสม การที่เรามาจากคนละวัฒนธรรม เรา อาจจะไมเขาใจเขา คอยๆเรียนรูไป สวนเรื่องโยคะ ครูบอกวา คนอินเดียสวนใหญก็ฝกอาสนะ แบบที่ ไกวัลยธรรมสอนหรือแบบที่สถาบันโยคะที่ซานตา ครูซสอน ที่เปนแบบ Relaxation based, Experienced based ใหกลับมารับรูความรูสึกภายใน แบบที่ปจจุบันชาวตะวันตกเอาไปประยุกตก็แพร หลายขึ้นในมุมตางๆ ของโลก แตครูเชื่อวาการ เรียนรูโยคะตามตำราดั้งเดิมนั้นจะยั่งยืนเราจะรู ที่มาที่ไป เพราะการจะเรียนรูอะไรสักอยาง ควรจะเริ่มจากจุดเริ่มตน บรรยากาศการนั่งไปรถไฟไปกับครูและ เพื่อนๆ คราวนี้ตางไปจากการนั่งรถไฟในชีวิต ที่ผานมามีครูเหมือนมีเอ็นไซโคลพีเดียโยคะเดินทาง ไปดวย จำไดวา คุยกันเรื่องภาษาสันสกฤต เตยเคย เขาใจวาภาษาสันสกฤตเปนภาษาที่ตายไปแลว ไมมีคนใช ครูฮิโรชิบอกา เปลาเลย คนยังใชอยู วาแลวครูก็ควักเอาหนังสือมาเปดใหดูพรอมอาน ออกเสียงใหฟง เตยถามไปวาจริงเหรอที่เขาบอกวา ถึงแม จะแปลจากสันสกฤตมาเปนภาษาอังกฤษ หรือภาษาอื่นก็ไมสามารถเก็บความหมายของสิ่งที่ พูดถึงไดหมด ครูบอกวาจริงภาษาสันสกฤตมีความ ลึกซึ้ง หลายคำไมสามารถใชภาษาอื่นอธิบายออก มาไดครบถวนบริบูรณ เพราะแวดลอมดวย บริบทที่เราอาจจะไมมีองคความรูจะทำความ เขาใจไดเลย ภาษาสันสกฤตมีถึงสามเพศ แปลง กริยาไดอยางซับซอน มีตัวอักษร 49 ตัว แบงเปน พยัญชนะ 34 ตัว สระ 14 ตัว เอาเปนวาพอฟง แคนี้ เตยก็เริ่มจะใบกิน คิดวาอานตัวอักษรโรมัน เอา แลวคอยๆ ศึกษาโยคะสูตรไปเรื่อยๆ แลวกัน พอตกค่ำเราเขาแยกยายกันเขานอนบนรถไฟฉึกฉัก ตอนเชาตื่นขึ้นมา มองไปที่หนาตางเห็นหมอกลอย เอื่อยอยูแนวเดียวกับสายตาหมอกฟุงไปทั่วบังตนไม และอาคารบานเรือนจนแทบมองไมเห็น แสดงวาอากาศวันนี้คงหนาวไมนอย ตอน ตื่นมาเลยเดินออกไปแปรงฟน พอเปดประตูตูรถไฟ
รูสึกไดถึงลมเย็นเฉียบ สวนน้ำในกอกไมตองพูดถึง เรียกไดวาอุณหภูมิเดียวกันกับน้ำในตูเย็นยังไงยังงั้น การแปรงฟนโดยยาสีฟนที่มีเมนทอลและลางปากดวย น้ำเย็นเจี๊ยบจึงทำใหตาสวางโดยพลัน ครูฮิโรชิดูชิลๆ มากกับบรรยากาศแบบนี้ ในขณะที่เตยและชาวคณะออกจะตื่นเตน และตื่นเตนขึ้นไปอีกเมื่อรูวารถไฟจะดีเลยออกไปอยา งนอยหนึ่งชั่วโมง แตดูทาครูฮิโรชิคงจะชินกับเรื่อง แบบนี้ในอินเดียแลวกระมังถึงไดสายหัวกระดุก กระดิกแบบแขกไมมีผิดเพี้ยน ครูบอกใหอุเบกขานะ อยูอินเดียนะ ระหวางนั่งรถยามเชาเห็นคุณปาคนหนึ่ง นั่งนับลูกประคำ แตคุณปาเอาผามาบังไวนะ เตยตาดีแอบเห็นมือคุณปาขยุกขยิกอยูใตผาเลยถาม ครู ครูบอกวาเวลาเขาสวดมนต เขาจะไมเลื่อนลูก ประคำใหเห็นกันโตงๆ เขาจะเอาผาบังไวแบบนี้ละ ใกลจะสิบเอ็ดโมงเชา ในที่สุดเราก็เดินทางถึงเดลี บอกไดคำเดียววาหนาวคะ หาองศาเทานั้น ดีที่เตรียมเสื้อหนาวตัวเบงมาจากเมืองไทย ไมงั้นซี้แหงแก พอลงรถไฟแลวก็เดินทางไปYWCAกัน เรามาพักที่เดลีไดสองวัน ทองเที่ยวนิดหนอย พอกรุบกริบแลวเตรียมตัวเดินทางตอนั่งรถไฟไป หริทวาร ซึ่งเปนเมืองที่มีนักแสวงบุญ ชาวฮินดู มาชำระบาปกันมาก เปนเมืองสำคัญ 1 ใน 4 เมือง ของศาสนาฮินดู จะมีพิธีบูชา เรียกวา พิธีอารตีบูชา ที่ทาน้ำในตอนเย็นของทุกวัน พอถึงหริทวารแลว เรายังตองนั่งรถปุเลงๆ ตอไปอีกเพื่อไปอาศรม ดายานันดาที่ษีเกศคะ ระหวางทางเจอฝูงวัวบาง อะไรบางก็รอกันไปตามประสาแตสุดทายเราก็เดิน ทางถึงอาศรมจนได แปลกมากที่พอขามผานประตู รั้วอาศรมก็รูสึกเหมือนเปนอีกโลก ความจอแจขาง นอก พลันหายไป เหลือเพียงความสงบเงียบ ถาพอ ไปขางหนาไกลๆ จะเห็นแมน้ำคงคาอยูขางหนา วิวสวยสุดใจเหมือนอยูอีกโลกนึงเลย เรามีเวลา อยูกับโลกที่เนิบชาแบบนี้หาวันเต็ม ออหลายคนอาจ จะสงสัยวาอาศรมสอนอะไร ที่นี่เขาเนนสอน เวทานตะและสันสกฤต ภควัทคีตาและคัมภีรอุปนิษัท
20
ÊÒÃѵ¶Ð
ครูฮิโรชิกับครูฮิเดโกะก็มาลงเรียนที่นี่อยูเปนประจำ พระและเจาหนาที่ที่นี่คุนเคยกับครูทั้งสองทานเปน อยางมาก ทำใหเราก็ไดอานิสงคไปดวย ไดรับการ ดูแลและเอาใจใสอยางดี เรื่องที่สำคัญอีกเรื่อง หนึ่งเลยคือ อากาศ ตอนนี้หนาวมากนาจะต่ำกวา หาองศา อาคารที่พักรางผูคนเพราะไมใชฤดู ทองเที่ยว พื้นในหองทำจากหินออน นัยวาชวย นำความเย็นมาใหในหนารอน แตเมื่อมาอยูในหนา หนาวเรียกไดวาอยูในหองหนาวกวาอยูนอกหองคะ นอนแทบไมไดเลยสุดทายเราตองออกไปซื้อฮีทเตอร แบบที่มีเหล็กสีแดงๆ สองอันนะคะ น้ำรอนก็อาบ มากไมได เพราะมีถังน้ำรอนในหองอาบน้ำ ถาใชน้ำมาก ตอนเพื่อนเราอาบอาจจะเจอน้ำเย็น ระหวางอาบก็เปนไดเพราะน้ำรอนเกลี้ยงถัง พูดถึงอาหาร ถามวาทานไดไหม เตยปลาบปลื้มนะ (จุๆ อยาเอ็ดไป เตยวามีรสชาติกวาที่ไกวัลยธรรม เยอะเลยแหละ) เขาใจวาอากาศทางเหนืออาจจะ ตอง มีเครื่องเทศเยอะหนอยจะไดชวยใหรางกาย รอน สวนที่ไกวัลยธรรมเปน Health care center ที่ตองทำอาหารใหผูปวย อาหารรสชาติคอนขาง ออนทีเดียว แตก็เปนอาหารสัตวิกทั้งสองที่ “อาหารสัตตวิก คืออะไร อาหารสัตตวิก ไดแก
21
อาหารสดใหม รวมไปถึงอาหารที่ปลูกแบบ ไมใชสารเคมี ไมใสปุย อาหารที่ไมปรุงรส ไดแก ผักสด ผลไมสด เมล็ดธัญพืช พืชตระกูลถั่ว ซีรีล และนม อาหารดังกลาวทำใหสมองปลอดโปรง มีปญญา มีสมาธิ ทั้งยังใหพลังงาน เพิ่มความ มีชีวิตชีวา ทำใหเรามีความปติ รื่นรมย และสงบสุข เราควรกินอาหารประเภทสัตตวิกควบคูไป กับการฝกโยคะ ลองลดความหลากหลายของ อาหารในแตละมื้อ ใหตัวเราเองไดมีโอกาส คนพบวา ความสุขไมไดขึ้นกับการกินอาหารอรอย หลายๆอยาง ลองควบคุมความอยากอาหารโดยไม สูญเสียความสมดุล ชวงขณะกินอาหารก็เปน เรื่องสำคัญ โยคะถือวาการกินอาหารเปนพิธีกรรมชนิดหนึ่ง พยายามกินอาหารในที่เงียบๆ ทามกลางบรรยา กาศที่ใหความสงบทางใจมีสติกำหนดรูอยูกับอาหาร ที่กำลังกิน ใหรางกายไดทำการยอยอยางเต็มที่ ความเครียด การไมใสใจในการกิน (เชน กินไปดูโทรทัศนไป) ลวนไมเปนผลดีตอการกิน พื้นฐานความคิดเรื่องอาหารนี้เปนพื้นฐาน เดียวกันกับเรื่องวิถีชีวิต เปาหมายรวมก็เพื่อจัด ชีวิตใหมีระเบียบ ชีวิตที่สงบสุข ทำใหบรรยากาศ รอบตัวเราสะอาด รื่นรมยอยางเรียบงาย” (ขอบคุณขอมูลจากเว็บไซตมูลนิธิหมอชาวบาน)
ÊÒÃѵ¶Ð ชาวคณะมีความสุขดีกับอาหารที่อาศรม ตัวเตยเองชอบไปเขารวมพีธีสวดมนตในตอนเชาตีหา ครึ่ง หองทำพิธีจะอยูติดกับแมน้ำคงคา มีกระจกกั้นไว แต...กั้นไมหมดนะคะ ลมหนาวยังพรูเขามาไดอยางงายดาย เพราะฉะนั้น ยามที่อุณหภูมิต่ำกวาหาองศา สิ่งที่ชวยเราไดนั่นก็คือ ฮีทเตอรนั่นเอง แสงสวางสีสมที่เรืองออกมาจากฮีทเตอรทำใหเรายัง สามารถนั่งไดตลอดพิธี ครูฮิโรชิกับครูฮิเดโกะจะถือหนังสือสวดมนตมาดวย ครูสวดไดหมดเลยคะ สวนเตยฟงไมออกก็ไดแตนั่งเงียบๆ ฟงไป ครูบอกวา เวลาฟงบทสวดใหนั่งหลังตรง รับรูความรูสึกตลอดชวงแนวกระดูกสันหลังดู ก็เปนความรูสึกที่แปลกดีคะ วูบๆวาบๆ ขึ้นๆลงๆ ระหวางทำพิธีพระจะสวดมนตพรอมสั่นกระดิ่งกรุง กริ๊งไปดวย เสร็จพิธีแลวใหเราไปรับน้ำจากพระที่ใสบนมาบนมือ แลวยยกขึ้นดื่ม พรอมกับประสาด คือ อาหารที่ถวายตอเบื้องพระพักตรของเทวรูปหรือ ภาพวาดของพระองค ชาวฮินดูเขาเรียกวา ประสาด (Prasad) ซึ่งเปนอาหารประเภทเดียวที่เทพเจาทรงรับจาก มนุษย คำวา “ประสาด” เปนคำที่มาจากภาษาสันสกฤตที่หมายถึง “ของขวัญแหงพระเจา” ประสาดแตละวันก็แตกตางกันไป บางวันเปนแปงอุนๆ ทานแลวสบายทอง บางวันก็รสชาติแปลกๆ แบบที่เราไมคุนเคย แตครูฮิโรชิบอกวาอรอยดี ทานหมดทุกทีเลยแฮะ สงสัยเรายังไมคุนลิ้น วันรุงขึ้นเราไปเที่ยวกันคะ นั่งกระเชาขึ้นเขาไปวัดฮินดู ขออภัยจำชื่อวัดไมไดจริงๆ รูแตวาหนาวมาก หนาวจนลิงตองนั่งใหไออุนกัน (อันนี้เตยก็มโนไปเอง อันที่จริงนองลิงอาจจะแคนั่งหาเห็บกันอยูก็ได)
เตลอดทางที่ขึ้นกระเชาฝาสายลมหนาว ตองนั่งกอดกันกลม มีผาอะไรพอจะพันหนาปดปากไดก็ตองทำ พอลงจากกระเชาแอบดูอุณหภูมิ เห็นวาลดลงเหลือแคสองจุดเจ็ดองศา แลวแทบอยากกรีดรอง เพราะเราตองถอดรองเทาและถุงเทาเพื่อเขาชมวัด ถอดรองเทานี่ไมเทาไหร พอทำใจได แตถอดถุงเทานี่สิเหลือทน วินาทีแรกที่วางเทาเปลาๆ สัมผัสพื้นแทบดิ้น แตก็ตองเก็บอาการไวอยางแนบเนียนตลอดการเขา ชมวัด ถึงวินาทีนั้นแทบไมมีอารมณถายรูป นิ้วมือไมทำงาน กดปุมไมไหว แตรูสึกถึงศรัทธาของชาวฮินดูจริงๆ อากาศขนาดนี้ยังมีคนมาไมขาดสาย เอาละเขาเรื่องดีกวา เหตุผลที่ทำใหเตยไดมาอยูที่ษีเกศเพราะครูฮิโรชิ และครูฮิเดโกะมารวมพิธีลอยอังคารของเพื่อน ชื่อคุณยูโก ซาโต เปนชาวญี่ปุนและเปนผูกำกับภาพยนตรเรื่อง รามายณะ พอเราถึงบริเวณปากแมน้ำ พราหมณจะเชิญญาติของผูที่จากไปนำอังคารมาทำ พิธี พิธีเปนไปอยางสงบ เรียบงาย ทามกลางอากาศเย็น แมน้ำคงคาใสไหลเย็นและคอนขางเชี่ยว ริมแมน้ำมีตะแกร็งเหล็กกั้นไวไมใหผูที่ลงมาอาบน้ำ หรือทำพิธีพลัดตกลงไปในแมน้ำ ชาวฮินดูถือวาการเดินเพื่อกิน นอน อาบน้ำที่แมน้ำคงคาถือเปนการชำระลางบาปของตน เอง อันเปนความเชื่อที่ไมเคยเปลี่ยนเลยนับพันๆ ป จากนั้นวันรุงขึ้นครูฮิโรชิ ครูฮิเดโกะ และเพื่อนครูชาวญี่ปุนไดเปนเจาภาพงานพันดารา เหมือนกับการนิมนตพระมาตักบาตร จะมีพระรอยรูปมานั่งบริเวณลานกวาง ทางอาศรมจัดอาหารใหเจาภาพมาตักอาหารใหพระ แตละรูป
22
ÊÒÃѵ¶Ð มีเพียงผูชายเทานั้นที่จะตักอาหารใหพระได สวนผูหญิงใหยืนรออยูดานขาง ภาชนะทำดวยใบตองแหงกลัดไม มีแกวน้ำแสตนเลสสำหรับใสน้ำดื่ม และถวยสำหรับบัตเตอรมิลค พิธีเปนไปอยางเรียบงายแลวรวดเร็ว ไมนานนัก พระทั้งรอยรูปก็กลับไป ลานกวางที่เต็มไปดวยผูคนนับรอยก็กลับมาวาง เปลาอีกครั้ง วันรุงขึ้นครูฮิโรชิเปนเจาภาพเลี้ยงอาหาร อาหารเลยเยอะและหนาตาดีกวาทุกวัน เราสามารถเปนเจาอาหารกลางวันได โดยไปแจงความจำนงและจายเงินใหทางอาศรมจัด อาหารใหเรา สวนวันที่เหลือครูพาเตยและชาวคณะ ไปชมบรรยากาศในษีเกศที่นี่มีสตูดิโอสอนโยคะ และอาศรมเยอะมาก มีโยคะหลากหลายรูปแบบ อยางไรก็ตาม ครูฮิโรชิออกจะไมเห็นดวย ครูบอกวาษีเกศเปนที่แหงจิตวิญญาณ เปนเมืองแหงนักพรตมาตั้งแตสมัยโบราณ ตั้งอยูริมฝงแมน้ำคงคา ทามกลางปาเขาที่สงบวิเวก ในอดีตเปนที่รวมของษีและโยคีผูที่สละทางโลก ออกแสวงหาความหลุดพนดวยการบำเพ็ญตบะและ ปฏิบัติโยคะ ปจจุบันผูคนมากมายจากทั่วโลก เดินทางาที่ษีเกศ เพื่อศึกษาเวทานตะ คัมภีรอุปนิษัท และถาเราจะมาษีเกศ ก็ควรเลือกอาศรมใหดี อินเดียไมไดมีสำนักสงฆมา ควบคุมเหมือนเมืองไทย ดังนั้นเราตองพิจารณา จากวัตรปฏิบัติของพระรูปนั้นเอา เอง บายวันหนึ่งครูฮิโรชิพาชาวคณะไปที่อาศรม สวาม ศิวะนันทะ ประวัติโดยคราวๆสวามีศิวะนันทะ เกิดในป ค.ศ. 1887 ในวัยหนุมเขาเลือกเรียน แพทย เพื่อออกมาชวยผูคนผูยากไร แตหลังจากที่ทำหนาที่แพทยอยางทุมเท ไปไดพัก ใหญเขาคนพบวาผูคนของเขาปวยทางจิตวิญญาณ เสียยิ่งกวาการปวยทางกาย ประกอบกับตัวเขา ไดมีประสบการณทางวิญญาณ เมื่ออายุได 37 ป เขาจึงตัดสินใจทิ้งอาชีพหมอ ที่มีอนาคตรุงโรจนรอ อยูขางหนา ผันตัวมาเปน โยคี ที่เมืองษีเกศ
23
ในป ค.ศ. 1924 หลังจากที่ตัวเขาไดทุมเทชีวิตจิตใจ ทั้งหมดของเขา อุทิศใหกับการฝกโยคะ อยางจริงจัง และตอเนื่องเปนเวลาถึงแปดปเต็ม ในที่สุดเขาก็ฝก วิชาโยคะตามแนวทางเวทานตะ (Vedanta) ไดเปนผลสำเร็จในป ค.ศ. 1932 เขาตัดสินใจกอตั้งสำนักปฏิบัติธรรมของเขาชื่อ “ศิวะนันทาศรม” (Sivanandashram) ขึ้นในปเดียวกันนั้น และกอตั้ง “สมาคมชีวิต ศักดิ์สิทธิ์” (The Divine Life Society) อันมีชื่อเสียงไปทั่วโลกขึ้นในป ค.ศ. 1936 เขาเขียนหนังสือเกี่ยวกับโยคะและปรัชญาเวทานตะ ออกมากวา 300 เลม และมีลูกศิษยอยูทั่วโลก กอนเขาไปในฮอลลครูฮิโรชิบอกวา ผูที่มาเรียนที่นี่ ตองเปนผูชายเทานั้น ก็เปนความรูใหมที่เตยเพิ่งเคย ไดทราบ พอเดินเขาไปภายในฮอลล มองเห็นสาธุ นั่งสวดมนตอยูบางเล็กนอย รอบหองจะมีปายบอก เลาประวัติของสวามีศิวะนันทะ และมีรูปใหเราเขา ไปทำความเคารพ หลังจากเยี่ยมชมอาศรมของสวามีศิวะนันทะ แลว ตอนเย็นเราไดไปรวมพิธีคงคาอารตี ริมฝงน้ำคงคาม หานที บริเวณขั้นบันไดคราคร่ำ ไปดวยชาวฮินดูและนักทอง เที่ยวชาติตางๆ พอจับจองที่นั่งไดแลวก็นั่งดื่มด่ำกับบรรยากาศตรง หนา ฟงเสียงสวดมนตแบบฮินดูพรอมกับเครื่อง ดนตรีที่ บรรเลง มีเสียงกระดิ่งประกอบเปนระยะ พราหมณจะใชตะเกียงอารตีในพิธี ตะเกียงอารตีมีหลายรูปแบบ แตตามประเพณี ดั่งเดิมใชถาดใสขาวสาร ใบพลูหรือกลีบดอกไม หรือผงกำยานหรือกำยานเปยก วางดวยการบูรแทง หรือกอน ตะเกียงนี้เรียกวา กรฺปูรฺอารตี จุดไฟที่การบูร อันนี้เปนแบบโบราณประเพณี ถือวา ไฟจากการบูรเปนไฟสะอาดมีกลิ่นหอม เมื่อพราหมณ นำตะเกียงมาให เราเอามือทั้งสองโบกควันไฟ ศักดิ์สิทธิ์ เขาสูตัวเอง โดยโบกเหนือไฟ แลวแตะที่ใบหนา ดวงตาหรือหนาผาก โดยถือวาเปนพรที่พระเปนเจาประทานใหเรา
ÊÒÃѵ¶Ð ในขณะที่นั่งอยูทามกลางชาวฮินดูที่กำลังสวด สรรเสริญพระเจาในพิธีคงคาอารตี เตยรับรูไดถึงพลังอยางหนึ่งที่สะกดผูคนใหรวมใจ เปนหนึ่งเดียวกัน เปนความสุข ความจริงและความงดงามของชีวิต รอยเรียงผานพิธีกรรม ผานบทสวดบทแลวบทเลา ผานทวงทำนองที่งดงาม ซึ่งเพียงแคพูดถึง เสียงหีบเพลงและเสียงที่ออนหวานในวันนั้นยังลอย มากระทบหูจนถึงวันนี้ เหลืออีกหนึ่งวันที่เราจะไดอยูที่อาศรมดายานันดา ครูบอกวาเราจะนาไดสนทนากับพระฮินดูจะไดรูจัก ศาสนาฮินดูมากขึ้น เตยขอไมลงรายละเอียดแลวกันนะคะ แตมีเรื่องหนึ่งที่อยากแบงปนจากการสนทนาในวัน นั้น มีคนถามทานวาถาเราอยากชวยใหคูชีวิต ของเรา แปรเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้นจะทำอยางไร (ในทางที่เราเห็นวาดี) ทานตอบกลับมาวาเปลี่ยน ตัวเองนะยากใชไหม เปลี่ยนคนอื่นนะทั้งยากทั้งเจ็บ ยิ่งถาเขาไมอยากเปลี่ยนเราจะเจ็บอีกหลายเทา แลวเราจะเอาอยางไร ก็ตองหาวิธีสื่อสารดับคนๆ นั้น ไมทิ้งเขา เกื้อกูบกันไป เตยฟงแลวก็คิดตาม เออ จริงนะ เปลี่ยนตัวเองนะยากตองอาศัย แรงใจมหาศาล เปลี่ยนคนอื่นนี่อยาไดคิดเลย เปลี่ยนที่ตัวเราดีกวา และแลวเวลาหาวันก็ผานไปราวกับโกหก แผนที่วางไววาจะนั่งรถไฟไปตอรถยนตก็ไดเปลี่ยน เปนการนั่งรถยนตรวดเดียวแปดชั่วโมงไปขึ้นเครื่อง บินที่เดลีเลยดีกวา ที่จริงระยะทางก็ไมไดไกลมาก แตอยาลืมวาเราอยูอินเดีย ดั้งนั้น กันไวกอนดีกวา เครื่องบินออกตอนเย็นๆ พอไปถึงสนามบินเตยมี อาการเหมือนหายใจไดไมเต็มปอด รูสึกทรมาน เหมือนกลับมาเปนโรคภูมิแพอีกครั้ง อันที่จริงเมื่อคืนกอนก็รูสึกวาอากาศแหงมาก ฮีตเตอรคงดึงเอาความชื้นออกไปหมด ตื่นมา ตอนเที่ยงคืน หายใจแทบไมเขาปอด เลยลุกขึ้นมาดื่มน้ำก็ดีขึ้น แตผื่นก็เริ่มขึ้นที่ขา คันคะเยอ แถมตอนนี้ก็มีอาการก็แยลงหายใจตื้น มาก เลยไปปรึกษาครูฮิโรชิครูบอกวาใหทำ กปาลภาติดู เปนการบริหารกะบังลมดวย
เวลากะบังลมหดเกร็งอาจทำใหเราหายใจไดไมเต็ม ปอดพอลองทำดูไปไดสักพักก็ดีขึ้น หายใจสบายขึ้น เรื่องตางๆ ดูเหมือนจะดำเนินไปดวยดี เพราะเตยกำลังจะไปรักษาตัวแบบธรรมชาติบำบัดที่ จริงไมไดเปนแบบนั้น เพราะแควันที่สองก็เกิดเรื่อง ผื่นขึ้นคันคะเยอะเละเทะ หนาเยินไปหมด รายละเอียดจะเปนยังไง แลวสุดทายจะหายไหม รอติดตามอานฉบับตอไปนะคะ เตย
24
ʶҺѹâ¤ÐÇÔªÒ¡ÒôÓà¹Ô¹¡ÒÃâ´ÂÁÕÃÒÂä´Œ¨Ò¡
คาลงทะเบียนกิจกรรม จากการจำหนายผลิตภัณฑตางๆ สถาบัน ฯ ยินดีรับการสนับสนุนจากผูสนใจรวมเผยแพร เพื่อนำเงินมาใชดำเนินการใหบรรลุวัตถุประสงคตามที่ตั้งไว เชิญบริจาคเขาบัญชีออมทรัพย ธนาคารไทยพาณิชย สาขา The Mall 3 รามคำแหง ชื่อบัญชี มูลนิธิหมอชาวบาน (สถาบันโยคะวิชาการ) เลขบัญชี 173-232-9491
à´×͹ ÁԶعÒ¹ 2556 ÁÕ¼ÙŒºÃԨҤʹѺʹع¡Ò÷ӧҹ¢Í§Ê¶ÒºÑ¹Ï ´Ñ§¹Õ้
คุณอัจฉรา ปรีชา คุณจิรสุภา ชูบุญ ครูสุรียพร ประยงคพันธุ (ครูนายT12) สอนที่สวนโมกข (29/5/56) เงินสมทบกิจกรรมโยคะในสวนธรรม 29/5/56 ครูวราภรณ ดวงมณี (ครูดุT12) สอนที่สวนโมกข (12/6/56) เงินสมทบกิจกรรมโยคะในสวนธรรม 12/6/56 เงินสมทบกิจกรรมจิตสิกขา เดือน พ.ค. ผูไมประสงคออกนาม ครูหญิง สิรินาถ ปนเจริญ ครูวิไลวรรณ สุพรม (ครูเปT12) สอนที่สวนโมกข (13/6/56) เงินสมทบกิจกรรมโยคะในสวนธรรม 13/6/56 บานสวนสุขภาพ อ.กิติ ยิ่งยงใจสุข จากตูบริจาค ในสำนักงาน รวม
àªÔÞÍÒÊÒª‹Ç·ӧҹ
500 540 200 550 50 400 200 3,000 10,000 200 370 5,000 1,000 1,525 23,535
1. ผูมีความถนัดในการติดตอสื่อที่สามารถเปนชองทางในการเผยแพร ประชาสัมพันธหลักสูตร และ กิจกรรมสถาบันฯ 2. ผูสนใจรวมพัฒนา web page ของสถาบันโยคะวิชาการ
Ê¶ÒºÑ ¹ â¤ÐÇÔ ª Ò¡Òà ÁÙ Å ¹Ô ¸ Ô Ë ÁͪÒǺŒ Ò ¹ 201 «ÍÂÃÒÁ¤Óá˧ 36/1 ºÒ§¡Ð» ¡·Á.10240 â·ÃÈÑ ¾ · 02 732 2016-7, 081 401 7744 â·ÃÊÒà 02 732 2811 ÍÕ à ÁÅ yoga.thaiyga@gmail.com àÇ็ º ä«· www.thaiyogainstitute.com