ตารางเรียนและรายละเอียดการเรียนการสอน คอร์สครูโยคะเพื่อการพัฒนาจิต (คอร์สครูยาว) 2556 สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบ้าน
t13 ตารางเรียน for student krit 1 6/24/2013
1
รายละเอียดคอร์สครูโยคะเพื่อการพัฒนาจิต (คอร์สครูยาว) สถาบันโยคะวิชาการ ตารางเรียน Su Mo 1 7 8 14 15 21 22 28 29
Tu We Th 2 3 4 9 10 11 16 17 18 23 24 25 30 31
4 11 18 25
5 12 19 26
6 13 20 27
7 14 21 28
1 8 15 22 29
1 8 15 22 29
2 9 16 23 30
3 10 17 24
4 11 18 25
5 12 19 26
6 13 20 27
7 14 21 28
1 8 15 22 29
2 9 16 23 30
3 10 17 24 31
Fr 5 12 19 26
2 9 16 23 30 6 13 20 27
4 11 18 25
Sa 6 13 20 27
AUGUST สรีระวิทยา 2, ปรัชญาอินเดีย 2 3 3 สรีระวิทยา 3, ปรัชญาอินเดีย 3 10 10 สรีระวิทยา 4, ปรัชญาอินเดีย 4 17 17 24 23 24 25 ค่ายกิรยิ า บ้านกานนิษา บางกรวย สรีระวิทยา 5, ตาราดัง้ เดิม 1 31 31 SEPTEMBER ตาราดัง้ เดิม 2 7 7 การใช้ภาษา&เสียง, ตาราดัง้ เดิม 3 14 14 ตาราดัง้ เดิม 4 21 21 ตาราดัง้ เดิม 5 + จิตสิกขา 28 28
5 12 19 26
1
เวลาเรียน วันจันทร์ พุธ พฤหัส วันเสาร์
อ่านตารา – ทาการบ้าน JULY 10 ปฐมนิเทศ ศาสตร์และศิลป์ฯ 12 13 14 ค่ายที่ สวนสันติธรรม ลาลูกกา 11 อาสนะ 20 ประวัตศิ าสตร์ 1, ประวัตศิ าสตร์ 2 บันทึกสาระแห่งอาสนะ ปราณายามะ กริยา 27 ปรัชญาอินเดีย 1, สรีระวิทยา 1 ส่งหัวข้อศึกษา-วิจยั
2
5 7-24 12 19 26-31 2
ปฏิบตั ิ 17.30 – 19.15 8.00 – 11.00
OCTOBER กิจกรรมทัศนะชีวติ 1, ทัศนะชีวติ 2 ฝึกสอน + นาเสนองานศึกษาวิจยั
ตาราดัง้ เดิม 6 + จิตสิกขา ตาราดัง้ เดิม 7 + จิตสิกขา สอบ
สรีรวิทยา แบบฝึกหัดการลงสี I love yoga anatomy ปรัชญาอินเดีย เริม่ ทางานศึกษา-วิจยั
ปตัญชลีโยคะสูตร หฐประทีปิกา เฆรัณฑะ สัมหิตา เริม่ ซ้อมสอน
โยคะกับการพัฒนามนุษย์ พุทธวิธกี ารสอน เทคนิคการสอน โยคะประยุกต์ โยคะบาบัด
NOVEMBER สอบ
ทฤษฎี 19.15 – 20.00 12.00 – 13.30
ทฤษฎี 2 14.00 – 15.30
หมายเหตุ: กาหนดการ รายละเอียดวิชา อาจจะมีการปรับเปลีย่ นตามความเหมาะสมต่อผูเ้ รียน ระยะเวลา และปจั จัยแวดล้อม โดยมิได้แจ้งให้ทราบล่วงหน้า
t13 ตารางเรียน for student krit 1 6/24/2013
2
ตารางเวลาค่ายเปิ ด 12 13 14 กรกฎาคม 2556 สวนสันติธรรม ลาลูกกา คลองกลาง (ระหว่างคลอง 11 – คลอง 12) วันศุกร์ท่ี 12 ก.ค. 7.00 8.30 9.30 – 12.00 12.00 – 13.30 13.30 – 15.30 16.00 – 17.30 17.30 – 19.00 19.00 – 21.00
ออกเดินทางโดยรถตู้ ทีว่ ทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนี อนุสาวรียช์ ยั สมรภูมิ เข้าทีพ่ กั ปฐมนิเทศ อาหารกลางวัน กิจกรรมเพื่อเรียนรูท้ ศั นะชีวติ ฝึก + บรรยาย อาหารเย็น บรรยาย + ถาม – ตอบ
วันเสาร์ท่ี 13 ก.ค. 6.00 - 8.00 ฝึก + บรรยาย 8.00 - 9.00 อาหารเช้า 10.00 – 12.00 ฝึก + บรรยาย 12.00 – 13.30 อาหารกลางวัน 13.30 – 15.30 กิจกรรมเพื่อเรียนรูท้ ศั นะชีวติ 16.00 – 17.30 ฝึก + บรรยาย 17.30 – 19.00 อาหารเย็น 19.00 – 21.00 บรรยาย + ถาม – ตอบ วันอาทิตย์ท่ี 14 ก.ค. 6.00 - 8.00 ฝึก + บรรยาย 8.00 - 9.00 อาหารเช้า 10.00 – 12.00 ฝึก + บรรยาย 12.00 – 13.30 อาหารกลางวัน 13.30 เดินทางกลับโดยรถตู้ มายังอนุสาวรียช์ ยั สมรภูมิ
t13 ตารางเรียน for student krit 1 6/24/2013
3
ตารา–การบ้าน ประกอบการอบรม ให้สรุปสาระสาคัญของหนังสือ จากมุมมองของคุณเอง ด้วยภาษาของคุณเอง เดือนที่ 1 ศาสตร์และศิลป์แห่งโยคะ
บทที่ 1 โยคะในมุมมองทางประวัตศิ าสตร์ บทที่ 2 โยคะและปรัชญา บทที่ 3 อาสนะ: มุมมองทีล่ กึ ซึง้ บทที่ 5 ปราณายามะ อาสนะ บทที่ 5 การศึกษาเชิงวิทยาศาสตร์เกีย่ วกับอาสนะ บันทึกสาระแห่งอาสนะ ปราณ กริย บทที่ 5 อาสนะ บทที่ 6 ท่าทางหรืออาสนะสาหรับปราณายามะและการทาสมาธิ บทที่ 7 การหายใจและปราณายามะ บทที่ 8 การหายใจอย่างลึกและปราณายามะ บทที่ 9 แบบแผนการฝึกสาหรับชัน้ เรียนปราณายามะ เดือนที่ 2 สรีรวิทยา แบบฝึกหัดการลงสี อ่านทาความเข้าใจ I love yoga anatomy อ่าน ทาความเข้าใจ อาสนะ เฉพาะบทที่ 1 ร่างกายของเรา ปรัชญาอินเดีย เฉพาะบทที่ 1 ความรูท้ วไปเกี ั่ ย่ วกับปรัชญาอินเดีย บทที่ 11 ปรัชญาโยคะ เดือนที่ 3 ปตัญชลีโยคะสูตร เฉพาะบทที่ 1 ปฐมบาท บทที่ 2 ทุตยิ บาท หฐประทีปิกา เฆรัณฑะสัมหิตา เฉพาะบทนา ว่าด้วยประวัติ ความเป็ นมาของหนังสือ บทที่ 1 ประถโมปเทศห ว่าด้วยอาสนะ บทที่ 2 ทวิ ตีโยปเทศห ว่าด้วยกิรยิ า และ ปราณายามะ เดือนที่ 4 โยคะกับการพัฒนามนุษย์ บทความที่ 6 ความจาเป็ นของโยคะเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บทความที่ 14 ประวัตศิ าสตร์โยคะ พุทธวิธกี ารสอน เทคนิคการสอน บทที่ 1 ปรัชญาพืน้ ฐาน บทที่ 3 หลักทัวไปในการสอน ่ โยคะประยุกต์ บทที่ 10 โยคะและการปรับใช้ในชีวติ โยคะบาบัด บทที่ 1 นิยามของโรคในโยคะ และหลักการรักษาของโยคะ
t13 ตารางเรียน for student krit 1 6/24/2013
รวมกันไม่เกิน 1 หน้า A 4 รวมกันไม่เกิน 1 หน้า A 4 ไม่เกิน 1 หน้า A 4 รวมกันไม่เกิน 1 หน้า A 4
ลงสีระบบต่างๆ ตอบคาถามท้ายบท ไม่เกิน 1 หน้า A 4 รวมกันไม่เกิน 1 หน้า A 4
รวมกันไม่เกิน 1 หน้า A 4 รวมกันไม่เกิน 1 หน้า A 4
ไม่เกิน 1 หน้า A 4 ไม่เกิน 1 หน้า A 4 ไม่เกิน 1 หน้า A 4 ไม่เกิน 1 หน้า A 4
4
ศาสตร์และศิลป์แห่งโยคะ ดร.ฆาโรเตอุทศิ ชีวติ ของท่านทางานโยคะวิชาการ ท่านมีสว่ นทาให้เราเห็นภาพของ 2 วัฒนธรรม ซึง่ มารวมกันเป็ น ศาสตร์โยคะทีเ่ รากาลังศึกษาอยูใ่ นปจั จุบนั โดยทางด้านหลักการ นิยาม เป้าหมาย มาจากตาราโยคะสูตร ของฤาษีปตัญชลี เมื่อ ราวปี พ.ศ. 200 และ ทางด้านเทคนิคการปฏิบตั นิ นั ้ มาจากวัฒนธรรมหฐโยคะซึง่ เฟื่องฟูในยุคกลาง พุทธศตวรรษที่ 12-17 ท่านแต่งตารามากมาย หนังสือแต่ละเล่มทีท่ ่านเขียน แน่นไปด้วยเนื้อหา เต็มไปด้วยสาระอันลึกซึง้ เช่น สารานุกรม อาสนะจากต้นฉบับโบราณ ฯลฯ ในเวลาเดียวกัน ท่านได้ย่อยสาระ เทคนิคการปฏิบตั ขิ องหฐโยคะเป็ นบทความสัน้ ๆ ซึง่ รวบรวมเป็ นหนังสือเล่มนี้ หนังสือมี 8 บท 8 หัวข้ออันเป็ นรากฐานทางด้านหฐโยคะ ทีค่ รูจาเป็ นต้องรู้ 1) ประวัตศิ าสตร์โยคะ 2) ปรัชญาโยคะ 3) เทคนิคอาสนะทีโ่ ดดเด่นของโยคะ 4) กริยา การชาระร่างกายให้สะอาดพอทีอ่ งคาพยพทัง้ หลายภายในจะเคลื่อนไหลเพื่อสือ่ สาร กันได้โดยสะดวก นามาซึง่ ความปกติสมดุลของร่างกาย เพื่อเป็ นฐานในการฝึกเทคนิคอันเป็ นกุญแจสาคัญของโยคะก็คอื 5) ปราณายามะ 6) เทคนิคทีเ่ อือ้ ทีเ่ สริมต่อการฝึกปราณ อันได้แก่ มุทราพันธะ เพื่อไปสูก่ ารฝึกขัน้ สุดท้าย อันเป็ นเป้าหมายสูงสุด ของ หฐโยคะ ก็คอื 7) สมาธิจากการฟงั เสียงภายในหรือ นาทานุสนั ธานะ และ บทสุดท้าย 8) ข้อควรระวังในการฝึกโยคะ เพื่อ ทาให้เราได้รบั ประโยชน์จากโยคะอย่างเต็มที่ ด้วยความปลอดภัย สวามีวเิ วกานันท์ได้แบ่งโยคะเป็น 4 สายหลัก ชญาณ ภักติ กรรม และ ราชโยคะ แม้จะเป็ นการแบ่งทีช่ ่วยให้เราเห็น ั โยคะได้ชดั ขึน้ แต่บางครัง้ เราก็ยงั มีปญหาเพราะไม่ อาจจัดโยคะอันหลากหลายลงใน 4 หมวดนี้ได้อย่างลงตัว ซึง่ ในบทแรก ของหนังสือเล่มนี้ ดร.ฆาโรเตจัดแบ่งโยคะเป็ น 2 หมวดใหญ่ ภาวนาโยคะ และ ปราณสัมยมะโยคะ อันช่วยคลีค่ ลายปญั หาได้ และทาให้เราเข้าใจถึงโยคะทีแ่ ตกย่อยออกมาจานวนมากมาย ว่าล้วนแตกกิง่ ก้านสาขามาจาก 2 หมวดนี้ ทางด้านปรัชญา ขณะทีต่ าราปรัชญาอินเดียส่วนใหญ่ระบุว่า โยคะต่อยอดมาจากปรัชญาสางขยะ โดยโยคะเพิม่ การ นับถือพระอิศวร ขณะทีส่ างขยะไม่ได้กล่าวถึง ซึง่ ดร.ฆาโรเตมีมมุ มองทีต่ ่างไป บทที่ 2 ของหนังสือ ท่านระบุว่า ทัง้ 2 ปรัชญานี้ มีสงิ่ ทีร่ ่วมกันคือ อภิปรัชญา ส่วนทีเ่ หลือนัน้ โยคะต่างจากสางขยะมากมาย ทัง้ ด้าน การปฏิบตั ิ จริยธรรม และปรัชญา ซึง่ เรา ควรตระหนักถึงลักษณะสาคัญเหล่านี้ดว้ ย บทที่ 3 ดร.ฆาโรเตฉายภาพรวมของอาสนะวิชาการ ซึง่ หาอ่านไม่ได้จากหนังสืออาสนะทัวไปในท้ ่ องตลาดทีป่ ิ ดแคบ อยู่แค่ ท่าต่างๆ บทที่ 4 5 6 เป็ นบทสรุปของเทคนิคหฐโยคะทีเ่ ป็ นหัวใจของหฐโยคะคือ ปราณ (บทที่ 5) และองค์ประกอบเพื่อการฝึก ปราณ อันได้แก่ กริยา ในบทที่ 4 และ มุทราพันธะ ในบทที่ 6 ปราณเป็ นกุญแจของสุขภาพในวัฒนธรรมตะวันออกโบราณ แต่ ั บนั ทีน่ าโดยชาติตะวันตก แทบจะไม่มเี รื่อง ไม่ได้รบั ความสนใจจากนักคิดตะวันตก และทาให้โยคะทีฝ่ ึกอย่างแพร่หลายในปจจุ ของปราณอยู่เลย ทาให้โยคะจึงแคะแกรนเหลือแค่อาสนะเพื่อจัดการกล้ามเนื้อเท่านัน้ บทที่ 8 เป็ นการสรุปแนวทางการปฏิบตั เิ ทคนิคโยคะทัง้ หลาย เป็ นประเด็นคาถามซึง่ นักเรียนมักจะถามบ่อย ทาให้ครู มีหลักคิด และสามารถจะอธิบายให้นกั เรียนของเราเข้าใจได้ หนังสือเล่มนี้ยงั มีภาคผนวก คาศัพท์ต่างๆ เกีย่ วกับโยคะทีเ่ ราพบบ่อย รวมทัง้ ผูแ้ ปลได้เพิม่ การสะกดคาศัพท์โยคะ เป็ นภาษาไทย ตามหลักไวยากรณ์ เป็ นมาตรฐานให้ครูโยคะเขียนคาศัพท์เหล่านี้ได้เหมือนๆ กัน
t13 ตารางเรียน for student krit 1 6/24/2013
5
บันทึกสาระแห่งอาสนะ ปราณายามะ และ กริยา หนังสือเล่มนี้ เขียนขึน้ เพื่อครูโยคะโดยตรง เป็ นการสรุปสาระ ประเด็นสาคัญๆ ของเทคนิคการปฏิบตั ทิ งั ้ หลาย เริม่ จากบทที่ 1 การเตรียมสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมก่อนเริม่ ฝึก ซึง่ เน้นไปทีส่ ภาพแวดล้อมภายในจิตใจ โดยใช้การ สวดมนต์เป็ นเครื่องมือ การสวดมนต์เป็ นวัฒนธรรมทีแ่ นบแน่นอยู่ในสังคมอินเดีย เนื้อหาของบทสวดเองก็มคี วามหมาย ซึง่ ครู ผูน้ าสวดก็จะเลือกบทสวดทีส่ อดคล้องกับชัน้ เรียนนัน้ ๆ นอกจากนัน้ ท่วงทานอง คลื่นเสียงของการสวดมนต์ก็ ปรับ เกลาจิตใจ ทัง้ ของผูส้ อนและผูเ้ รียน ให้สงบ มีความพร้อมต่อการเรียน การฝึกโยคะ อย่างไรก็ตาม ในบ้านเรา การสวดมนต์ไม่ใช่สงิ่ ทีเ่ รา ทากันโดยทัวไป ่ ครูจงึ ควรพิจารณาถึงความเหมาะสม บทที่ 2 ข้อมูลพืน้ ฐานในการฝึกโยคะ หนังสือสรุปสาระเป็ นประเด็นๆ ง่ายต่อการอ่าน ต่อการทาความเข้าใจ บทที่ 3 หลักการทีค่ วรจะปฏิบตั ใิ นระหว่างการฝึกเทคนิคโยคะ อาสนะ ปราณ และ สมาธิ สรุปเป็ นข้อๆ บทที่ 4 เข้าสูเ่ นื้อหา โดยเริม่ จากเทคนิคกริยา มีการคัดประโยคสาคัญในตาราโบราณมาย้าให้เห็นแก่นของกริยา แล้ว แจกแจงออกเป็ นหมวดหมู่ เรียงเป็ นหัวข้อใหญ่ แตกเป็ นหัวข้อย่อย ทาให้เราเห็นโครงสร้าง ลาดับ ตาแหน่งแห่งทีข่ องกริยาแต่ ละเทคนิค บทที่ 5 เทคนิคอาสนะ หนังสือดึงประโยคสาคัญจากตาราโบราณหลายเล่ม มาแสดงให้เราประจักษ์ถงึ แก่นของอาสนะ จากนัน้ ก็แสดงว่าเราสามารถจัดหมวดหมู่ของอาสนะได้อย่างไรบ้าง ตอนท้าย อธิบายศัพท์เทคนิค มัสเซิลโทน ทีเ่ ป็ น สาระสาคัญของอาสนะให้เราเข้าใจชัดเจนยิง่ ขึน้ บทที่ 6 - 8 เป็ นการเชื่อมโยงจากอาสนะไปสู่ ปราณและสมาธิ โดยอธิบายสภาวะร่างกายทีเ่ หมาะสม (อาสนะ) ในขณะ นังฝึ ่ กปราณายามะ ฝึกสมาธิ แล้วจึงเข้าสูบ่ ทที่ 7 ปราณายามะ มีการอธิบายสรีรวิทยาของระบบหายใจย่อๆ และอธิบาย ลักษณะของการหายใจแต่ละขัน้ ตอน หายใจเข้า หายใจออก หยุดหายใจ และสรุปลักษณะเด่นๆ ของปราณายามะทัง้ 8 ชนิด เมื่อมีความเข้าใจแล้ว บทที่ 8 จึงชีใ้ ห้เห็นว่า ปราณายามะต่างจากการหายใจอย่างลึกอย่างไร บทที่ 9 เป็ นการปิ ดท้ายปราณา ยามะ ชีใ้ ห้เห็นถึง กุญแจสาคัญของชัน้ เรียน ปราณายามะ อันได้แก่ กระบวนการรับรูภ้ ายใน จะเห็นได้ว่า คู่มอื เล่มนี้ เน้นที่ ปราณายามะ ซึง่ ไกวัลยธรรมเห็นว่าคือ หัวใจของการฝึ กโยคะ เพือ่ นาเราไปสูส่ มาธิอนั ้ เป็ นเปาหมายสูงสุดของการฝึก บทสุดท้ายคือการสวดมนตร์โอม ซึง่ เป็ นธรรมเนียมของชัน้ เรียนในประเทศอินเดีย ทีใ่ ห้ความเคารพในเสียงโอม และ ใช้ในการปิ ดท้ายกิจกรรมต่างๆ ทีท่ า ไม่เพียงในชัน้ เรียนโยคะ แต่กบั ทุกวิชา และไม่เพียงในการเรียน แต่ กบั กิจกรรมอื่นๆ ด้วย เช่นการประชุม การสัมมนา ฯลฯ หนังสืออธิบายให้เราเห็นนัยยะสาคัญของการสวดโอม ซึง่ สาหรับชัน้ เรียนโยคะของไทย การ จบการสอนด้วยบรรยากาศทีส่ งบเป็ นสิง่ ทีค่ วรทา ส่วนจะนากิจกรรมใดมาใช้ ก็ขน้ึ กับความเหมาะสมของชัน้ เรียนนัน้ ๆ
t13 ตารางเรียน for student krit 1 6/24/2013
6
กายวิภาค - สรีรวิทยา โยคะ โลกวัตถุนยิ มในปจั จุบนั ผูค้ นมักให้ความสนใจเฉพาะในสิง่ ทีเ่ ป็ นรูปธรรม เฉพาะสิง่ ทีร่ บั รูไ้ ด้ผ่านประสาทสัมผัสทัง้ 5 ั บนั ก็สนใจแค่เพียงการปฏิบตั ทิ ่าโยคะ โยคะเองก็เช่นกัน แม้จะเป็ นการพัฒนามนุษย์ในทุกๆ ด้านอย่างเป็ นองค์รวม แต่คนปจจุ อาสนะ รวมทัง้ สนใจศึกษากายวิภาคสรีรวิทยาของท่าอาสนะ ในฐานะครูโยคะ เราจึงจาเป็ นอย่างยิง่ ทีต่ อ้ งมีความรูค้ วามเข้าใจ ในหัวข้อนี้ เราสามารถศึกษากายวิภาค สรีรวิทยาได้จากแหล่งความรูม้ ากมาย โดยเฉพาะทุกวันนี้ท่ี google ประกาศตัวเป็ น ห้องสมุดของโลก ขณะเดียวกัน youtube ก็กลายเป็ นหอ audio visual ของมนุษยชาติอะไรทานองนัน้ ซึง่ ในขณะเดียวกัน หนังสือเล่ม ก็ยงั ทาหน้าทีแ่ บบคลาสสิคของมันตามเดิม คือ มีไว้ให้อ่าน ในหัวข้อ กายวิภาคสรีรวิทยาโครงการอบรมครูฯ เลือกแนะนาหนังสือ 2 เล่ม เล่มแรก “กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา ของมนุษย์” ผศ.ราแพน พรเทพเกษมสันต์ 2 บทแรกเป็ นการปูพน้ื ฐานความรูเ้ บือ้ งต้นของวิชานี้ อธิบายเรื่องเซลล์และเนื้อเยื่อ อันเป็ นพืน้ ฐานของชีวติ และจึงไล่เรียงไปแต่ละระบบ 1) โครงกระดูก 2) กล้ามเนื้อ 3) ประสาท – อวัยวะรับความรูส้ กึ 4) ไหลเวียนเลือด 5) หายใจ 6) ย่อยอาหาร 7) ขับถ่ายปสั สาวะ 8) ต่อมไร้ท่อ และ 9) สืบพันธุ์ สาหรับผูท้ ไ่ี ม่ชอบหนังสือทีต่ วั อักษรเยอะ ชอบดูรปู มากกว่า ก็แนะนาให้อ่าน “สรีรวิทยา” จัดพิมพ์โดยชมรมเด็ก ทีว่ ่า ด้วยระบบต่างๆ เหมือนๆ กัน แต่เป็ นหนังสือทีเ่ ดินเรื่องด้วยภาพ โดยตัวอักษรทาหน้าทีแ่ ค่อธิบายภาพต่างๆ นอกจากนัน้ สาหรับครูโยคะ โจทย์ของพวกเราคือ การอธิบายเทคนิคโยคะต่างๆ ให้ได้ตามหลักกายวิภาคสรีรวิทยา แนวทางการศึกษาของพวกเราคือนาความรูเ้ หล่านี้มาเป็ นฐานในการอธิบายว่า ท่าอาสนะต่างๆ ทีเ่ ราฝึกนัน้ เกิดขึน้ ได้อย่างไร ทีว่ ่าได้ประโยชน์จากท่า ได้ประโยชน์อะไร ประโยชน์นนั ้ เกิดขึน้ ได้อย่างไร รวมทัง้ เราจะต้องระวังอันตรายในจุดใดบ้าง เอกสาร “i love yoga anatomy สรีรวิทยากายวิภาคของอาสนะ” เรียบเรียงขึน้ โดย ทพ.สมดุลย์ หมันเพี ่ ยรการ มี เป้าหมายเพื่อตอบโจทย์ทว่ี ่านี้ ในบทแรก เป็ นการปรับฐาน สร้างทัศนคติให้ครูโยคะมีความรัก มีฉนั ทะที่อยากจะรูเ้ รื่องกายวิภาคฯ เห็นว่ามันเป็ น เรื่องของสามัญสานึก มันเป็ นเรื่องใกล้ตวั เรารูเ้ พื่อมาใช้ฝึกโยคะ ซึง่ ไม่ตอ้ งลึกขนาดจะไปเป็ นหมอผ่าตัดคนไข้ อะไรทานองนัน้ เนื้อหาหลักในบทที่ 2 – 5 เป็ นการทาให้เราเข้าใจกายวิภาคฯ ผ่านรูปธรรมก็คอื ท่าอาสนะทีเ่ ราคุน้ เคย เริม่ จากบทที่ 2 ในท่าอาสนะท่าหนึ่ง กล้ามเนื้อเข้ามาเกีย่ วข้องอย่างไรบ้าง บทที่ 3 อธิบายว่า แม้เรากาลังพักผ่อน (ในท่าศพ) ระบบกลไกต่างๆ ก็ยงั คงทางานต่อเนื่องไปนะ มีอะไรบ้าง มันทาอะไรบ้าง และมันมีความสาคัญต่อการมีสขุ ภาพทีด่ เี ช่นกัน สุขภาพดีคงไม่ได้มา จากการการใช้แรงตลอดเวลาแน่ๆ บทที่ 4 ด้วยท่างู ผูเ้ ขียนอธิบายถึงโครงหลักของร่างกายคือ กระดูกสันหลัง ซึง่ เป็ นอวัยวะทีส่ าคัญมาก ทัง้ ในแง่ สุขภาพ และ ในแง่ของโยคะ บทที่ 5 ด้วยท่าเหยียดหลัง เราทาความเข้าใจ จิตหรือประสาท ว่ามันเป็ นอะไรต่างๆ มากกว่าที่ คิด ยกตัวอย่างง่ายๆ คนมักเชื่อไปเองว่า ในท่าอาสนะท่านึง เราเป็ นผูบ้ งการ เราเป็ นผูส้ งการทุ ั่ กอย่าง ทัง้ ๆ ทีจ่ ริงๆ แล้ว เรายัง มีกลไกอัตโนมัตทิ ม่ี ากมาย ซับซ้อน ซ่อนอยู่ และคอยช่วยให้เราทาท่าต่างๆ ได้ โดยทีเ่ ราไม่รตู้ วั บทที่ 6 ปิ ดท้ายด้วยการสรุป ให้เราตระหนักว่า พอเราเข้าใจกายวิภาคฯ เข้าใจอาสนะ เราก็เข้าใจความโดดเด่นของอาสนะ เข้าใจคุณค่าอันเป็ น ลักษณะเฉพาะของอาสนะ ซึง่ ช่วยให้เราฝึกอาสนะอย่างได้ประโยชน์เต็มตามตาราดัง้ เดิม โดยสามารถหลีกเลีย่ งการบาดเจ็บ ใดๆ ซึง่ ไม่ควรเกิดขึน้ เลยแม้แต่นิดเดียว เมื่อเราทาอาสนะด้วยความเข้าใจในกายวิภาค สรีรวิทยา เป็ นเอกสารทีเ่ ขียนให้อ่านง่าย ให้ทาความเข้าใจด้วยตัวเอง แทรกเกร็ด คาอธิบายเสริมเผื่อสาหรับคนไม่มพี น้ื
t13 ตารางเรียน for student krit 1 6/24/2013
7
ปรัชญาอินเดีย อินเดียเป็ นแหล่งกาเนิดอารยธรรมทีส่ าคัญมากแห่งหนึ่งของมนุษย์ คนอินเดียไม่เพียงเป็ นคนช่างคิด แต่ยงั เป็ นนัก ทดลองทีก่ ล้าหาญอย่างยิง่ ด้วย โดยเฉพาะในประเด็นเรื่องของ ชีวติ : ทีม่ า และเป้าหมายสูงสุด ในแต่ละยุคสมัย นักคิด-นัก ปฏิบตั เิ หล่านี้ ต่างก็พยายามแสวงหาคาตอบ แสวงหาวิถที จ่ี ะไปสูส่ ภาวะสูงสุดของความเป็ นมนุษย์ แนวคิดเหล่านี้มอี ยู่อย่าง มากมาย บ้างเป็ นไปในรูปของศาสนา บ้างเป็ นลัทธิ เป็ นความเชือ่ เป็ นปรัชญา ฯลฯ โดยโยคะ ก็เป็ นปรัชญาสายหนึ่งของ อินเดีย การทีพ่ วกเราสนใจสุขภาพ สนใจปฏิบตั โิ ยคะนัน้ เป็ นสิง่ ทีด่ ี แต่จะดียงิ่ ขึน้ ไปอีก หากเราศึกษาทาความเข้าใจแนวคิด ปรัชญาของศาสตร์โยคะด้วย เพราะจะช่วยให้เรามีสขุ ภาวะโดยรวม กว้างกว่า ครอบคลุมกว่าแค่เพียงการมีร่างกายแข็งแรง เราศึกษาปรัชญาโยคะจากหนังสือปรัชญาอินเดีย ซึง่ นอกจากการทาความเข้าใจปรัชญาอินเดียแล้ว การทาความ เข้าใจปรัชญาอื่นๆ ของอินเดียบ้าง ก็ช่วยให้เราเข้าใจโยคะได้ดขี น้ึ หนังสือปรัชญาอินเดียมีมากมาย เราแนะนาให้ครูโยคะ ศึกษา 2 เล่ม คือ ขอให้อ่านเล่มของ รศ.นงเยาว์ ชาญณรงค์ (download ที่ e-book.ram.edu/e-book/p/py223/py223.htm) และ หากมีโอกาส ลองอ่านเล่มทีส่ อง ก็ยงิ่ ได้เห็นมุมชัดเจนมากขึน้ 1) ปรัชญาอินเดียสมัยโบราณ ของ รศ.นงเยาว์ ชาญณรงค์ บทที่ 1 เกริน่ นาความรูท้ วไปเกี ั่ ย่ วกับปรัชญาอินเดีย ซึง่ ปูพน้ื ให้เราเห็นว่ามี 2 สายใหญ่ พวกเชือ่ ในพระพรหม กับ พวกปฏิเสธพระพรหม แล้วอ่านบทที่ 5 ว่าด้วยสายของพวกเชื่อในพระพรหม (อาสติกะ) เพราะโยคะอยู่ในสายนี้ จากนัน้ อ่านบทที่ 10 ต่อด้วยบทที่ 11 ว่าด้วยปรัชญาโยคะ ทีค่ วรอ่านบทที่ 10 ปรัชญาสางขยะก่อน เพราะโยคะมี ความละม้ายคล้ายคลึงกับสางขยะมาก การเข้าใจในสางขยะ ช่วยให้เราเข้าใจในโยคะได้มากขึน้ อย่างไม่ตอ้ งสงสัย สุดท้าย อ่าน บทที่ 12 ในส่วนวิเคราะห์เปรียบเทียบปรัชญาสางขยะกับโยคะ สาหรับผูส้ นใจ อยากแนะนาให้อา่ นบทที่ 4 ปรัชญาพุทธด้วย เหตุผลหนึ่งเป็ นเพราะพวกเราเป็ นชาวพุทธ จะได้มคี วาม เข้าใจมากขึน้ ส่วนอีกเหตุผลหนึ่งก็คอื ปรัชญาพุทธกับปรัชญาโยคะ ก็มลี กั ษณะบางอย่างร่วมกัน การมีความรู้ ความเข้าใจใน ปรัชญาทัง้ สอง ช่วยให้เราเข้าถึงหัวใจของโยคะได้อย่างมาก 2) ปรัชญาอินเดีย ประวัตแิ ละลัทธิ ของ อ.สุนทร ณ รังสี เริม่ ด้วยบทนาลักษณะทัวไปของปรั ่ ชญาอินเดีย จากนัน้ อ่านบทที่ 1 – 3 ไล่เรียงลาดับความคิดของอารยธรรมอินเดีย สายเชื่อพระพรหม (อาสติกะ) จาก พระเวท อุปนิษทั มาจนถึงภควัทคีตา ซึง่ ล้วนมีความเกีย่ วเนื่องกับโยคะ โดยเฉพาะใน ภควัทคีตา ทีป่ รากฏคาศัพท์โยคะมากมายทัง้ ชญาณโยคะ กรรมโยคะ ภักติโยคะ ทีค่ รูโยคะต้องเข้าใจและสามารถอธิบายให้ นักเรียนรูถ้ งึ ความแตกต่างได้ จากนัน้ จึงมาอ่านบทที่ 10–11 ปรัชญาสางขยะและปรัชญาโยคะ เพื่อให้เข้าใจหลักคิดทีแ่ นบเนื่องอยู่กบั การปฏิบตั ิ โยคะของพวกเรา
t13 ตารางเรียน for student krit 1 6/24/2013
8
ปรัชญาฝา่ ยโยคะ หรือ โยคสูตร ของมหามุนีปตัญชลี โดยศาสตราจารย์สวามี สัตยานันทปุรี ถามว่าครูโยคะต้องอ่านหนังสืออะไรบ้าง หนึ่งในนัน้ ก็คอื โยคะสูตร ของปตัญชลี ถ้าถามว่าทาไม คาตอบก็คอื มัน เป็ นข้อมูลชิน้ ทีเ่ ก่าแก่ทส่ี ดุ เป็ นต้นรากเท่าทีเ่ ราจะค้นได้ ทีอ่ ธิบายโยคะเอาไว้อย่างเป็ นระบบทีส่ ดุ ถึงกับได้รบั การยกย่ องให้ เป็ นตาราแม่บทของโยคะ ครูโยคะบางคนบ่นว่าโยคะสูตรนัน้ เป็ นหนังสืออ่านเข้าใจยาก ประเด็นนี้ คงต้องแยกพิจารณาเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกคือ นันใช่ ่ เหตุผลทีแ่ ท้จริงของการตัดสินใจว่าจะอ่านไม่อ่านหนังสือเล่มนี้หรือ โดยเฉพาะคนทีเ่ ป็ นครูโยคะ สาหรับส่วนทีส่ อง ทุก คนยอมรับว่า โยคะสูตรไม่ใช่ตาราอ่านง่าย ซึง่ เป็ นเพราะมันอธิบายเรื่องจิตทีเ่ ป็ นนามธรรม เป็นเพราะมันเขียนเป็ นประโยคสัน้ กระชับ เพื่อการท่องจา เป็ นเพราะมันเขียนด้วยภาษาสันสกฤต ภาษาทีเ่ ก่าแก่ทส่ี ดุ ภาษาหนึ่งของมนุษย์อนั มีไวยากรณ์ท่ี ซับซ้อนยิง่ เราจึงศึกษาโยคะสูตรด้วยการอ่านมัน ควบคู่ไปกับการอ่านอรรถกถา หรือการตีความทีค่ รูโยคะรุ่นหลังๆ ช่วยเขียน ขยายความไว้ ซึง่ ช่วยให้เข้าใจได้ง่ายขึน้ เมื่อยอมรับว่าเราต้องอ่านโยคะสูตร คาถามต่อมา งัน้ เราจะอ่านโยคะสูตรทีผ่ นวกการตีความฉบับไหนดี คาตอบก็คอื เราคงเลือกพิจารณาครูผเู้ ขียนอรรถกถา ครูโยคะอินเดียร่วมสมัยทีล่ กึ ซึง้ ในโยคะทีไ่ ด้เขียนอรรถกถาของโยคะสูตรนัน้ มีจานวน มาก เช่น ดร.การัมเบลก้าแห่งสถาบันไกวัลยธรรม ท่านไอเยนการ์ Light on Yoga Sutra เทสิคจารย์ Heart of Yoga ฯลฯ อย่างไรก็ตาม ทัง้ หมดทีร่ ะบุมาข้างต้นล้วนเขียนอรรถกถาเป็ นภาษาอังกฤษ ภาษาของชาวตะวันตก ซึง่ ไม่ได้มวี ฒ ั นธรรม ร่วมกับชาติตะวันออก ซึง่ เป็ นผูใ้ ห้กาเนิดโยคะ โยคะสูตรทีเ่ ขียนด้วยศัพท์องั กฤษจึงมีขอ้ จากัดในการสือ่ ความออกมา และพวก เราก็ไม่เข้าใจภาษาฮินดีเสียด้วย จากนัน้ จึงมีการแปลต่อจากภาษาอังกฤษมาเป็ นภาษาไทย ยกตัวอย่างโยคะสูตรที่ครูโยคะไทย เช่น อ.ธีรเดช อุทยั วิทยารัตน์ แปล Heart of Yoga เป็ น “หัวใจแห่งโยคะ” นัน้ แม้จะแปลด้วยความประณีต ด้วยความตัง้ ใจอย่างสูง แต่กเ็ ป็ นการ ตีความถึง 2 ทอด นันเป็ ่ นเหตุผลทีเ่ ราแนะนาให้ครูโยคะอ่าน หนังสือโยคสูตร ทีเ่ ขียนอรรถกถาโดยสวามีสตั ยานันปุรี เพราะเป็ นตารา โยคะสูตรเล่มเดียวของสังคมไทย ทีถ่ ่ายทอดตรงจากต้นฉบับสันสกฤตเป็ นภาษาไทย ไม่เพียงเหตุผลทางด้านภาษา ตัวท่านสวามีสตั ยานันทปุรเี อง ก็เป็ นผูม้ คี วามรู้ ความสามารถ ท่านเป็ นพระนักคิดชาว ฮินดู เข้าร่วมขบวนการกูเ้ อกราชจากจักรวรรดินิยมอังกฤษ จนต้องลีภ้ ยั เข้ามาเมืองไทย (ช่วงรัชกาลที่ 7) ได้แต่งหนังสือภาษาไทย ไว้หลายเล่ม เช่น มหาตมะคานธี ผูป้ ฏิวตั อิ นิ เดีย (พ.ศ.2507), บ่อเกิดแห่งมติพทุ ธศาสนา, ปมด้อย หนังสือจิตวิเคราะห์ (แพร่ พิทยา พ.ศ.2513), หลักการโต้วาที (พ.ศ.2513), ศาสดาโควินทสิงห์ (แพร่พทิ ยา พ.ศ.2514) รวมทัง้ โยคสูตร เล่มนี้ และยังมี นิตยสารรายเดือน Voice of the East ฉบับภาษาไทย และภาษาอังกฤษอีกด้วย ไม่เพียงเท่านัน้ ท่านยังเป็ นผูร้ ่วมก่อตัง้ อาศรม วัฒนธรรมไทย-ภารต ซึง่ มีสว่ นในการสร้างความสัมพันธ์ไทย-อินเดีย ทีส่ ง่ ผลต่อสัมพันธภาพอันดีระหว่าง 2 ประเทศมาถึงยุค ปจั จุบนั ซึง่ บ่งบอกถึงการทีท่ า่ นมีความเข้าใจทัง้ วัฒนธรรมอินเดียและไทย ทาให้อรรถกาทีท่ า่ นเขียนนี้ น่าศึกษาเป็ นอย่างยิง่ ต้นฉบับโยคสูตร ของปตัญชลีนนั ้ เป็ นหนังสือเล่มเล็กๆ เพียง 196 ประโยคสัน้ ๆ เท่านัน้ โดยสวามีสตั ยานันทปุรี เขียนตัวสูตร ด้วยคาอ่านภาษาไทย จากนัน้ เขียนคาแปล แล้วจึงเขียนอธิบาย ซึง่ บางประโยคก็อธิบายสัน้ ๆ ขณะทีบ่ างประโยค อธิบายยาวกว่า 12 หน้า กลายเป็ นหนังสือหนามากเล่มนึง ครูโยคะอย่ากลัว อย่าท้อ ทีจ่ ะอ่านโยคสูตร ยิง่ ถ้าเราเข้าใจว่าโยคะนัน้ เป็ นศาสตร์ทศ่ี กึ ษากันในทัง้ ชีวติ การอ่าน หนังสือเล่มนี้ในเวลา 1 ชีวติ จึงไม่ใช่ภาระทีเ่ หลือบ่ากว่าแรงแต่อย่างใด ยิง่ เมื่อเราตระหนักว่า เส้นทางโยคะเป็ นเส้นทางของ การปฏิบตั ิ โดยมีการอ่านทฤษฎีเป็ นส่วนประกอบ คล้ายแผนทีไ่ ว้คอยสอบทานว่าเรามาถูกทางหรือไม่ โยคสูตรจึงเป็ นหนังสือ ข้างเบาะโยคะทีเ่ ราหยิบอ่านไปเรื่อยๆ ไม่มวี นั จบ โดยนับวันเมื่อมีความก้าวหน้าในการฝึกเพิม่ มากขึน้ ก็มคี วามเข้าใจในเนื้อหา ดีขน้ึ ตามลาดับ และเมื่อเข้าใจเนื้อหามากขึน้ ก็ยงิ่ ส่งเสริมการฝึกให้เจิรญก้าวหน้า จนบรรลุเป้าหมายในทีส่ ดุ
t13 ตารางเรียน for student krit 1 6/24/2013
9
โยคะกับการพัฒนามนุษย์ เป็ นหนังสือรวบรวมบทความทีว่ า่ ด้วยคุณค่า–ประโยชน์ของโยคะต่อมนุษย์อย่างเป็ นองค์รวม โดยเน้นไปยังกลุ่มผูอ้ ่าน ทีเ่ ป็ นครูโยคะ รวมทัง้ ครู อาจารย์ บุคลากรทางด้านการศึกษา โยคะวิชาการทีพ่ วกเรากาลังศึกษานี้ มีทม่ี าจากสวามีกุลวัลยนันท์ (คศ. 1883 – 1966) ผูก้ ่อตัง้ สถาบันไกวัลยธรรม ประเทศอินเดีย พืน้ เพของท่านเป็ นครูทางด้าน physical education (พลศึกษา) ต่อมาท่านมีโอกาสได้เรียนได้ฝึกโยคะจน ั ตระหนักถึงคุณค่าของภูมปิ ญญาโบราณนี ้ ก็พยายามทีจ่ ะผลักดันให้โยคะเข้าไปสูร่ ะบบการศึกษา ผลักดันให้โยคะทาหน้าทีเ่ ป็ น เครื่องมือหนึ่งในการพัฒนามนุษย์ ใช้โยคะเป็ นเครื่องมือสร้างยุวชนอินเดียให้เคารพตนเอง อันเป็ นส่วนหนึ่งของการต่อสู้ เรียกร้องอิสรภาพคืนจากอาณานิคมอังกฤษ โดยสิง่ ทีส่ วามีกุลวัลยนันท์ทาคูข่ นานกันมาตลอดคือ ศึกษาเจาะลึกลงไปถึง เอกสารอ้างอิง-ตาราโบราณภาษาสันสกฤต พร้อมๆ กับความพยายามทีจ่ ะอธิบายศาสตร์โบราณนี้อย่างเป็ นวิทยาศาสตร์ ใช้ ภาษาร่วมสมัยของศตวรรษที่ 20 ไม่ว่าจะเป็ นแพทยศาสตร์ สรีรวิทยา-กายวิภาค ฯลฯ เมื่อสวามีกุลวัลยนันท์จากไป ศิษย์คนสาคัญคือ ดร.กาโรเต้ (ค.ศ. 1931 – 2005) ได้สานต่อภารกิจของท่านกว่า 40 ปี ดร.กาโรเต้มคี รูฮโิ รชิ ฮิเดโกะ ไอคาตะ เป็ นศิษย์คนสาคัญช่วยสืบทอดภารกิจ และ เป็ นผูแ้ นะนาให้สงั คมไทยให้รจู้ กั โยคะ วิชาการ หนังสือประกอบด้วย 16 บทความ แบ่งเป็ นหมวดหมู่ดงั นี้ หมวดว่าด้วย ดร.กาโรเต้ ครูโยคะชาวอินเดียซึง่ เป็ นแบบอย่างของการทาโยะคะวิชาการ knowledge-based yoga บทที่ 1 ราลึกถึง ดร.กาโรเต้ และ บทที่ 2 ชีวประวัตขิ องท่าน หมวดว่าด้วย องค์กรทีท่ าโยคะวิชาการในบ้านเรา บทที่ 4 ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มศว และ บทที่ 5 สถาบันโยคะวิชาการ หมวดว่าด้วย แนวทางการเรียน-การสอนโยคะในสถาบันการศึกษา บทที่ 7 หลักสูตรโยคะในโรงเรียนในมหาวิทยาลัย บทที่ 8 การส่งเสริมการสอนโยคะในสถาบันการศึกษา และ บทที่ 9 การอุดหนุนงบประมาณการสอนโยคะในมหาวิทยาลัยของประเทศอินเดีย หมวดว่าด้วย คุณค่า-ประโยชน์ของโยคะ บทที่ 3 เป็ นปาฐกถาของนพ.ประเวศ วะสี เรื่องโยคะกับสุขภาพและปญั ญา บทที่ 6 ความจาเป็นของโยคะในการ พัฒนาคน และบทที่ 10 โยคะกับการส่งเสริมสุขภาพ หมวดว่าด้วย เทคนิคโยคะ บทที่ 11 หลักการของอาสนะ บทที่ 12 – 13 หลักการฝึกปราณายามะ หมวดว่าด้วย ประวัตศิ าสตร์ บทที่ 14 ประวัตศิ าสตร์โยคะ และแนะนาหนังสือทีน่ ่าสนใจเกีย่ วกับโยคะในบทที่ 15 บทความทัง้ หลายในหนังสือนี้ชว่ ยเปิ ดโลกทัศน์ของครูโยคะ กล่าวคือ ครูโยคะวิชาการจะมองโยคะกว้างกว่าแค่การ ฝึกท่าอาสนะให้สขุ ภาพแข็งแรง เพื่อให้เราได้รบั ประโยชน์จากโยคะอย่างทีค่ วรจะเป็ น การปฏิบตั ติ อ้ งขยายกว้างไปยังเรื่องของ การมีจติ ใจมันคง ่ มีคุณธรรม และ มีวถิ ชี วี ติ ทีง่ ดงาม โดยถึงทีส่ ดุ การฝึกโยคะต้องเป็ นไปเพื่อยกระดับเป้าหมายของมนุษย์ขน้ึ สู่ จุดสูงสุดคือ เป็ นอิสระ หลุดพ้น ในขณะเดียวกัน หนังสือเล่มนี้แนะนาครูโยคะให้ช่วยกันยกระดับศาสตร์น้ใี ห้เป็ นทีย่ อมรับของ นักวิชาการ ยกระดับการเรียนการสอนให้เป็ นระบบ มีมาตรฐาน อันเป็ นหนทางเดียวทีจ่ ะรักษาศาสตร์โบราณนี้ให้อยู่ค่กู บั การ พัฒนามนุษย์ได้อย่างยังยื ่ น
t13 ตารางเรียน for student krit 1 6/24/2013
10
พุทธวิธใี นการสอน โยคะวิชาการ อิงตาราโบราณซึง่ ระบุเป้าหมายชัดเจนคือ การรูจ้ กั และเข้าใจตนเอง ดังนัน้ ลักษณะสาคัญของการศึกษา โยคะจึงไม่ใช่แค่การศึกษาให้รวู้ า่ โยคะคืออะไร ซึง่ เราเรียกว่า วิชา แต่เป็ นการศึกษาให้รจู้ กั ตนเอง หรือทีเ่ ราเรียกว่า ปญั ญา การเป็ นครูสอนโยคะ ทางด้านหนึ่ง เราทาหน้าทีใ่ ห้วชิ า ความรู้ และในเวลาเดียวกัน เราทาหน้าทีส่ ง่ เสริมให้ผเู้ รียน รูจ้ กั ตนเอง ซึง่ การส่งเสริมให้คนเกิดปญั ญานัน้ เป็ นลักษระเด่นของการสอนพุทธศาสนา เราจึงใช้หนังสือ พุทธวิธใี นการสอน มาเป็ นตารา เป็ นแนวทางในการเป็ นครู บทแรก หนังสืออธิบายให้เราตระหนักถึงปรัชญาพืน้ ฐานในการสร้างปญั ญาว่า 1. ปญั ญาเป็ นสิง่ ทีม่ อี ยู่ภายในตัวผูเ้ รียนอยู่แล้ว 2. บทบาทของครูจงึ จากัด ครูทาได้แค่เพียงช่วยชีใ้ ห้นกั เรียนเห็นเท่านัน้ 3. ครูสามารถใช้สอ่ื การเรียนการสอนต่างๆ ได้ แต่พงึ ตระหนักว่า ทัง้ หมดล้วนเป็ นเพียงเครื่องช่วย ไม่ใช่สาระสาคัญ ั 4. สิง่ แวดล้อมทีด่ ที ส่ี ดุ ในการให้นกั เรียนเข้าถึงปญญา คือ อิสรภาพในการได้คดิ ได้ประจักษ์ดว้ ยตนเอง บทต่อมา หนังสือชวนเราพิจารณาคุณสมบัตขิ องผูส้ อน 2 ประการ ก.บุคลิกภาพ และ ข.คุณธรรม ซึง่ แบ่งย่อยเป็ น 1) ั ปญญา ทัง้ ความสามารถ และ ความแตกฉาน 2) การทาตนเป็ นแบบอย่าง และ 3 ความกรุณา ในท้ายบท มีการสรุปเป็ น คุณสมบัตขิ องการเป็ นครู ดังนี้ 1. สอนสิง่ ทีจ่ ริง และ เป็ นประโยชน์ 2. รูแ้ ละเข้าใจสิง่ ทีต่ นเองสอน 3. สอนด้วยเมตตา ไม่หวังผลตอบแทน 4. สอนอยางไร ทาให้ได้อย่างนัน้ ทาตนเป็ นตัวอย่างได้ 5. มีบุคลิกภาพดี โน้มน้าวใจผูร้ บั ให้อยากเรียน 6. มีหลักการสอน วิธกี ารสอนทีด่ ี บทที่ 3 ว่าด้วยหลักการสอน ซึง่ มีสว่ นทีเ่ กีย่ วกับเนื้อหา เกีย่ วกับตัวผูเ้ รียน ได้แก่ 1) รูจ้ กั จริตของผูเ้ รียน 2) ปรับสอน ให้เหมาะกับแต่ละคน 3) คานึงถึงความพร้อมของผูท้ ก่ี าลังเรียน 4) ให้ผเู้ รียนได้ลงมือปฏิบตั ิ 5) ให้ผเู้ รียนรูส้ กึ ว่ามีสว่ นร่วม 6) ใส่ใจบุคคลทีค่ วรได้รบั ความสนใจพิเศษเป็ นรายๆ ไป และ 7) ใส่ใจคนทีอ่ ่อนด้อย และ เกีย่ วกับการสอน คือ 1) มีการเริม่ ต้นที่ ดี สร้างจุดสนใจก่อนเริม่ สอน 2) สร้างบรรยากาศในการสอนให้เพลิดเพลิน 3) สอนมุ่งเนื้อหา โดยหลีกเลีย่ งการกระทบ ความรูส้ กึ ของผูฟ้ งั 4) สอนด้วยความเคารพในการสอน และ 5) ใช้ภาษาสุภาพ บทที่ 4 ลีลาการสอน บทที่ 5 วิธกี ารสอนแบบต่างๆ 1) แบบสนทนา 2) แบบรรยาย 3) แบบตอบปญั หา 4) แบบออกเป็ นกฏ เป็ นข้อบังคับ บทที่ 6 กลวิธแี ละอุบายประกอบการสอน 1) การยกตัวอย่างหรือเล่านิทานประกอบคาอธิบาย 2) การยกเรื่องมา เปรียบเทียบให้เข้าใจ 3) ใช้อุปกรณ์ช่วยสอน 4) การทาให้เห็นเป็นแบบอย่าง 5) การเล่นคา 6) การวางแผนว่าจะสอนใครก่อนหลัง 7) การรูจ้ กั จังหวะและโอกาส 8) มีความยืดหยุ่น 9) การลงโทษและให้รางวัล และ 10) การแก้ปญั หาเฉพาะหน้า โดยในตอนท้ายของหนังสือ มีการยกตัวอย่างรูปธรรมการสอนของพระพุทธเจ้า มาเทียบเคียงให้เห็น
t13 ตารางเรียน for student krit 1 6/24/2013
11
โยคะ และ การประยุกต์ แต่งโดย ศิษย์คนสาคัญของสวามีกุลวัลยนันท์ ดร.ฆาโรเต ผูด้ าเนินชีวติ เป็ นแบบอย่างของการเป็ นครูโยคะทีด่ ี หนังสือเล่มนี้ให้ภาพมุมกว้างของการนาโยคะไปประยุกต์ใช้ มีทงั ้ หมด 6 ภาค แต่ละภาคประกอบด้วยบทต่างๆ 2 – 5 บทความสัน้ ๆ ซึง่ อ่านเข้าใจง่าย เริม่ จากภาคทีห่ นึ่ง ปูพน้ื ฐานว่าโยคะนัน้ แท้จริงเป็ นศาสตร์เพื่อนาพามนุษย์ไปสูอ่ ุดมคติสงู สุด คือการเป็ นอิสระหลุด พ้น ถ้าว่าตามจริง โยคะเป็ นเรื่องของคนเบื่อเรื่องวุ่นวายทางโลก และพยามยามทีจ่ ะยกระดับความเป็ นมนุษย์ของตนให้พน้ ไป จากโลก ไปอยู่เหนือโลก ซึง่ ก็มมี นุษย์ไม่กค่ี นหรอก ทีค่ ดิ เช่นนี้ ภาคทีส่ อง อธิบายต่อว่า โยคีตอ้ งฝึกปฏิบตั อิ ะไรบ้าง ในภาคนี้ ดร.ฆาโรเต นาเสนอ “มรรค 6 สาหรับโยคียุคใหม่” ที่ ท่านเอาอัษฎางคมรรค (8 ประการ) จากปตัญชลีโยคะสูตร มาผสมกับเทคนิคของทางหฐโยคะ (4 ประการ) ตัด-ปรับ-ประยุกต์ ออกมาเป็ น มรรค 6 ภาคทีส่ าม จึงเข้าเนื้อหาของโยคะประยุกต์ ก็คอื นาโยคะศาสตร์โบราณของชนกลุ่มเล็กๆ มาประยุกต์ ให้มหาชนส่วน ใหญ่นาไปใช้เพื่อให้สามารถดาเนินชีวติ ท่ามกลางกระแสสังคมยุคใหม่ทเ่ี ปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ได้อย่างเป็ นปกติสขุ ั มาใช้บาบัดโรคต่างๆ หนังสืออธิบายไว้ในภาคทีส่ ่ี ซึง่ อธิบายเป็นหลักการ สัน้ ๆ ไม่มี ส่วนการนาโยคะมาใช้แก้ปญหา รายละเอียด ซึง่ ครูผสู้ นใจ สามารถนาหลักการจากหนังสือเล่มนี้ ไปใช้กบั คนไข้ ใช้กบั นักเรียนได้ สองภาคสุดท้าย ห้าและหก ผูเ้ ขียนอธิบายถึงการจัดการความรูโ้ ยคะ พูดถึงแนวทางในการนาความรูโ้ บราณนี้ มาสาน ต่อ มาต่อยอด มาวิจยั เพิม่ มาประยุกต์ ให้เกิดประโยชน์รว่ มสมัย ตลอดจนการนาโยคะเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา เพื่อ ทาให้ววิ ฒ ั นาการของศาสตร์น้ี สามารถเติบโตต่อไปได้อย่างเป็ นระบบ มีมาตรฐาน และยังคงรักษาหัวใจของมันไว้ได้ โดยไม่ ผิดเพีย้ น ไม่ถูกนาไปเป็ นเพียงเครื่องมือหาประโยชน์เข้าใส่ตน ของครูโยคะทีข่ าดความเข้าใจ หรือขาดความรับผิดชอบ
t13 ตารางเรียน for student krit 1 6/24/2013
12
โยคะบาบัด คนพูดถึงโยคะกันมาก แต่คนทีศ่ กึ ษาโยคะลงลึกไปถึงแก่น ทีว่ า่ ด้วยการนาพามนุษย์ไปสูอ่ สิ ระภาพมีน้อย ส่วนใหญ่ แค่เอาเทคนิคของโยคะมาเป็ นเครื่องมือในการออกกาลังกาย ในความรูร้ ะดับผิวเผิน โยคะบาบัดจึงเป็ นเพียง การนาท่าโยคะ ท่านัน้ ท่านี้มารักษาโรคนัน้ โรคนี้ เพียงใช้ท่าโยคะเป็ นยาเม็ด ผูแ้ ต่งซึง่ เป็ นผูแ้ ตกฉานในโยคะโบราณอธิบายว่า โยคะเห็นมนุษย์กบั โลกเป็ นองค์รวม ชีวติ ปกติคอื ความกลมกลืนของ มนุษย์กบั ธรรมชาติ เมื่อสิง่ แวดล้อมภายนอกเปลีย่ นแปลง เช่นมีเชือ้ โรคมากผิดปกติ ชีวติ ภายในก็จดั ปรับ ปญั หาหรือโรคจะ เกิดก็เพียงเมื่อ เราไม่สามารถจัดปรับไปตามสภาพได้ และหากปญั หาอยู่กบั เราเป็ นเวลานานเกินปกติ เราก็เรียกว่า โรคเรือ้ รัง ลักษณะสาคัญของโยคะบาบัดคือ จัดการทีต่ นเอง ซึง่ แบ่งเป็ น 3 ส่วน 1) ทัศนคติทางด้านจิตใจ 2) การทางานสัมพันธ์ กันของประสาท กล้ามเนื้อ ต่อมไร้ท่อ และ 3) โภชนาการกับการขับของเสีย ประการแรก ชีวติ มนุษย์ดาเนินไปภายใต้อทิ ธิพลทัง้ จากจิตสานึกและจิตใต้สานึก โดยเฉพาะจิตใต้สานึกทีเ่ รายอมรับ ว่ามีอทิ ธิพลต่อการตัดสินใจกระทาใดๆ ทัง้ ทางวาจา ทางการกระทา ศีลซึง่ เป็ นตัวขัดเกลาจิตใต้สานึกของเราให้มคี ุณธรรม จึง เป็ นวัตรปฏิบตั แิ รกของโยคะบาบัด นอกจากศีลแล้ว โยคะยังให้ความสาคัญกับอุดมคติซง่ึ คอยประคองให้เราดาเนินชีวติ โดยไม่ เพลีย่ งพล้าตกลงไปจากจริยธรรม ประการทีส่ อง ท่าโยคะอาสนะ มีบทบาทสาคัญในโยคะบาบัด แต่ไม่ใช่ท่าใดท่าหนึ่งเป็ นการเจาะจง โครงสร้างพืน้ ฐาน ของร่างกายคือ สมองส่วนหลัง (cerebellum) ซึง่ คอยกากับดูแลอิรยิ าบถยืน เดิน นัง่ นอน ในชีวติ ประจาวันของเราให้เป็ นปกติ คอยประหยัดไม่ให้เราต้องใช้พลังงานมากเกินไป จนเป็ นคนทีก่ ล้ามเนื้อเกร็งตึงตลอดเวลา ขณะเดียวกัน ก็คอยกระตุน้ ไม่ให้เรา อ่อนปวกเปี ยกเกินไป กลไกนี้ ทางานไปโดยอัตโนมัติ อยู่สว่ นจิตใต้สานึก ซึง่ รับผิดชอบชีวติ เราประมาณ ¾ ของเวลาทัง้ หมด การทาท่าโยคะอาสนะทุกวันเป็นการเอือ้ ให้กลไกประสาท กล้ามเนื้อ ต่อมไร้ท่อนี้ทางานสัมพันธ์ เชื่อมโยงกันได้อย่างเป็ นปกติ โยคะเชื่อว่ามนุษย์มสี ญ ั ชาติญาณ และมีกลไกในการรักษา ซ่อมแซม บาบัด ฟื้นฟูตนเอง และทีส่ าคัญโยคะเชื่อว่า กลไกนี้คอยทาหน้าทีเ่ ป็ นหลัก ไม่ใช่หมอ ไม่ใช่ยา ห้วงขณะทีเ่ รากาลังฝึกท่าโยคะนัน้ เป็ นไปด้วยความ นิ่ง สบาย ใช้แรงน้อย จดจ่อกับความรูส้ กึ ตัว ผูเ้ ขียนคือสวามีกุลวัลยนันท์ระบุว่า เป็ นช่วงทีร่ ่างกายอยู่ในสภาวะผ่อนคลาย (para sympathetic nervous system) ช่วงนี้น่อี ง ทีค่ ุณหมอภายในร่างกายมนุษย์จะมีโอกาสทาหน้าทีซ่ ่อมแซม บาบัดร่างกายได้เต็มที่ เราจึงหาย ปว่ ยจากการทาโยคะ นอกจากนัน้ เทคนิคอื่นๆ ของโยคะ ได้แก่ มุทราพันธะ ช่วยทาหน้าทีก่ ดล็อคอวัยวะภายใน ทาให้เกิดการปรับเปลีย่ น แรงดันภายใน ซึง่ ส่งผลต่อการหลังฮอร์ ่ โมน ส่งผลต่อการทางานของระบบประสาทอัตโนมัติ เอือ้ ต่อการบาบัดร่างกาย ในทานองเดียวกัน การฝึกลมหายใจของโยคีเป็ นการฝึกให้โยคีหายใยจช้าลง ทาให้มชี ว่ งของการไม่หายใจทีน่ านขึน้ ซึง่ สัมพันธ์กบั สภาวะอารมณ์ ผูเ้ ขียนตัง้ ข้อสมมุตฐิ านว่า การฝึกควบคุมลมหายใจมีแนวโน้มทีจ่ ะควบคุมอัตตาของผูฝ้ ึกไป พร้อมๆ กัน ประการทีส่ ามคือ เทคนิคของโยคะทีเ่ รียกว่ากิรยิ า อันเป็ นการทาความสะอาดอวัยวะภายในต่างๆ เช่น การดีทอกซ์ ซึง่ มีผลโดยตรงต่อการฟื้นฟูเยียวยาสุขภาพของผูท้ าเทคนิคชนิดนี้ และทีข่ าดไม่ได้กค็ อื อาหาร ซึง่ โยคะถือเป็ นต้นทางของ สุขภาพ โดยตาราโยคะก็แนะนาหลักในการรับประทานอาหารทีม่ ผี ลโดยตรงต่อสุขภาพของเรา หนังสือปิ ดท้ายด้วยเทคนิคสูงสุดของโยคะ อันได้แก่สมาธิ สภาวะสมาธิน่เี องทีร่ ่างกายก็สงบเพราะการสันดาปลดลง อารมณ์กส็ งบเพราะจิตชะลอความฟุ้งซ่าน ผ่อนคลายกระทังคลื ่ น่ สมอง มีผลโดยตรงต่อสุขภาพของจิตวิญญาณของเรา ซึง่ เป็ น หัวใจสาคัญของการมีสขุ ภาพดี รวมทัง้ การบาบัดโรคภัยไข้เจ็บทีเ่ ป็ นอยู่ โดยสรุป หนังสือชีใ้ ห้เราเห็นว่า โยคะบาบัดได้จริง สามารถอธิบายได้อยางเป็ นวิทยาศาสตร์ ซึง่ การบาบัดนี้ เกิดจาก การสร้างสิง่ แวดล้อมภายในตัวเราให้ผ่อนคลายทัง้ จิตใจและร่างกาย เอือ้ ให้คุณหมอภายในตัวเราทาหน้าที่บาบัดได้เต็มที่
t13 ตารางเรียน for student krit 1 6/24/2013
13